The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูล ศรร02-อู่ทอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nalinee010409, 2021-03-22 19:22:56

ข้อมูล ศรร02-อู่ทอง

ข้อมูล ศรร02-อู่ทอง

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา (ศรร.02) ช-2

เรือ่ งเลา่ ของครใู นการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั การพัฒนาตนเอง และออกแบบนการจัดการเรียนรู้

ตัวอย่างเรื่องเล่าของครูในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรือการ
พฒั นาตนเอง และนำมาใช้ในการจดั การเรียนรู้เพ่ือเสริมสร้างหลกั คิดพอเพียงให้แกน่ ักเรียน ประกอบดว้ ย

1. เรอื่ งเล่าของครูกลั ยา อนุ่ ศิริ กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี (พาณชิ ยกรรม)

2. เร่อื งเล่าของครูจารุวรรณ มนูญโย กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี (เกษตรกรรม)

3. เรอ่ื งเล่าของครูพมิ พธ์ รี า อายวุ ัฒน์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โรงเรยี นอู่ทอง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา (ศรร.02) ช-2

4. เร่อื งเลา่ ของครูทิวารัตน์ มาแสง กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ (พาณชิ ยกรรม)

5. เร่อื งเล่าของครูทิพภาณี คนึงคดิ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

โรงเรยี นอู่ทอง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบรุ ี

เรอ่ื งเลา่ ของครู
การนอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใชใ้ นกิจกรรมการเรยี นรู้
ชอ่ื – สกลุ นางกลั ยา อ่นุ ศิริ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี “พาณิชยกรรม”

แนวคิด/แรงบนั ดาลใจในการนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใชใ้ นกิจกรรมการเรียนรู้
จากการที่ข้าพเจ้าได้รับเชิญให้เข้าร่วมรับการฝึกศึกษาเพื่อเสริมสร้างค่านิยม เรื่อง “ความประหยัด

และการมีวินัยทางการเงิน” ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ.2550
ข้าพเจ้าได้รับความรู้ในเรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในเรื่องความประหยัดและการมีวินัยทางการเงิน
การเรียนรู้ตนเอง และการวางแผนการใช้จ่าย และได้นำความรู้มาใช้ในการทำงานฝ่ายการเงินและบัญชีของ
โรงเรียน ในการเรียนการสอนและขยายผลสู่บุคลากรในโรงเรียน นักเรียนในระดับชั้นต่างๆ ภายในโรงเรียน
เพ่อื ฝึกนิสัยการออม และการฝึกทำบัญชรี ับจ่ายเงินส่วนบุคคล ในชีวิตประจำวัน ฝกึ ใหน้ กั เรียนรู้จักการวางแผน
การใช้จา่ ย ลงบัญชรี บั จ่ายอย่างสม่ำเสมอ เพอื่ ตดั รายจ่ายทไ่ี มจ่ ำเปน็

การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบSMILE Model:
มีความรู้ สู่ความเป็นเลิศ ก่อเกิดคุณธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมิคุ้มกนั เรียนรู้ สู้การเปลี่ยนแปลง สร้างอาชีพ
รจู้ ักใชอ้ ย่างพอประมาณ

1) เงอื่ นไข : ความรู้ (S) และคุณธรรม(M)
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวิชาการจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ให้นักเรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้
ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ที่เป็นวสิ าหกจิ ชุมชน กลมุ่ OTOP หรือกลุม่ ผลติ ภัณฑช์ ุมชนและท้องถิ่น ท่ีมีอยู่ใกล้บ้านของ
นักเรียน ส่งเสริมให้นักเรียนทำกิจกรรม “ผักสวนครัวร้ัวกินได้” โดยแนะนำให้นักเรยี นปลูกผักสวนครวั ท่บี า้ น
เพื่อเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายของครอบครัว ปฏิบัติตนทุกเย็นหลังเลิกทำงานใช้เวลาว่างในปลูกผักสวนครัว
และผลไม้ไว้กินและแจกจ่ายเมื่อมีผลผลิต ถ้ามีเหลือมากก็จำหน่ายหรือแปรรูป เช่น ปลูกผักบุ้ง พริก มะเขือ
ถวั่ ฝักยาว กระเจีย๊ บแดง ฝรัง่ มะมว่ งมะละกอ มะพรา้ ว แกว้ มังกร ชมพู่ เกบ็ ผลผลิตทีม่ ีในไรม่ าเพิม่ มูลค่าด้วย
การแปรรูปและจำหน่ายตามฤดูกาล เช่น ดอกอัญชันอบแห้ง แชมพูสมุนไพร ขนมตาล พุทราเชื่อม ทำอาหาร
แปรรูปจำหน่ายเป็นรายได้เสริม ทำกับข้าวทานกันเองในครอบครัวและนำมาทานท่ีโรงเรียน ในวันหยุดเก็บ
เสื้อผ้าเก่าที่ล้าสมัยหรอื ชำรดุ มาซ่อมแซมเพื่อนำมาใช้ใหม่ลดการซ้ือของใชท้ ีไ่ ม่จำเป็นโดยลดการเดินหา้ งฯ ไม่
เล่นการพนัน ไม่เล่นหวย ไม่ดื่มเหล้า งดดื่มน้ำอัดลม งดกินกาแฟปั่นเพื่อสุขภาพและประหยัดเงิน ยกเลิกการ
ใช้บตั รเครดติ ท้งั หมด และเริม่ เกบ็ ออมโดยเปิดบัญชใี หมไ่ มใ่ ชบ้ ัตร ATM และคอ่ ยๆโอนเงินใส่ออมทลี ะน้อย
2) คุณลักษณะ : ความพอประมาณ (E) มเี หตุผล (I) และภูมิคุ้มกนั (L)
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่มทำ “กิจกรรมโอ่งพอเพียง” โดยให้นักเรียน
ร่วมกันบอกที่มาของรายจ่ายของนักเรียน และร่วมกันวิเคราะห์ความจำเป็น เรียงลำดับความจำเป็นก่อนหลงั
เพื่อตัดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นออกไป การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์
ตา่ งๆ ท่ีคาดว่าจะเกดิ ข้นึ ในอนาคต ในภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ และการแผ่ระบาดของโควิด ให้ความรู้แก่นักเรียน
ในการป้องกันตัวเองไม่ให้อยู่ในที่เสี่ยงต่อโรค ออกกำลังกาย ดูแลสุขภาพ ดูแลเรื่องอาหารการกินเพื่อให้มี
สขุ ภาพแข็งแรง เพื่อท่ีจะลดภาระคา่ ใชจ้ ่ายในการรักษาพยาบาล ปลูกฝังใหน้ ักเรยี นช่วยกันประหยัดค่าใช้จ่าย
คา่ นำ้ ค่าไฟฟา้ คา่ โทรศพั ท์ ไมว่ า่ จะที่บ้านหรือทโี่ รงเรียนกค็ วรปดิ น้ำ ปิดไฟ เมอื่ เลิกใชง้ านทุกครั้ง

ความสำเร็จจากการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ (ด้านเศรษฐกิจ
สงั คม ส่งิ แวดลอ้ มและวัฒนธรรม)

ข้าพเจ้า นางกัลยา อุ่นศิริ ครู โรงเรียนอู่ทอง ได้น้อมนำ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร” ไปใช้ในการดำเนินชีวิต
และการพัฒนาตนเอง โดยนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงของ
นักเรียน เป็นแบบอย่างแก่นักเรียนเริ่มต้นด้วยการปรับพฤติกรรมของตนเอง สร้างวินัยทางการเงิน วาง
แผนการใช้จ่ายเงิน เป็น “ครูบัญชีอาสา” ในโครงการ “ทำบัญชี มีพอใช้ ให้พ่อดู” และ “โครงการเสริมสร้าง
ภูมิปัญญาทางบัญชีแก่เกษตรกรไทย” ของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สุพรรณบุรี ให้ความรู้แก่นักเรี ยนใน
ชั่วโมงส่งเสริมคุณธรรม โดยเสริมสร้างค่านิยม “เรื่องความประหยัดและการมีวินัยทางการเงิน” โดย
จัดกจิ กรรมให้นักเรยี นลงบัญชรี ับจ่ายอย่างสม่ำเสมอ ฝกึ ใหม้ ีนิสัยออมเงิน รจู้ กั การวางแผนการใช้จ่ายเงินและ
ฝากเงินกับโรงเรยี นธนาคารอู่ทอง

การเป็นแบบอย่างและการถา่ ยทอดประสบการณ์ (ภายในและภายนอกสถานศึกษา)
เป็นวิทยากรพิเศษให้กับสถาบนั พัฒนาฝีมือแรงงาน สุพรรณบุรี ประสานงานกับสถาบันฯ เพื่อขอเปิด

ฝึกสอนการแปรรูปอาหาร งานฝีมือ การจักสาน ให้กับชุนชนและผู้ปกครองนักเรียนในพื้นที่อำเภออู่ทองและ
ใกล้เคียง น้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน ร่วมกับชุมชนศรี
สรรเพชร จดั “ถนนคนเดนิ หรรษา วินยานโุ ยค” เพือ่ ให้ชมุ ชนได้มีสถานที่เพ่ือประกอบอาชีพค้าขายเป็นการ
สร้างความเข้มแข็ง ความสามัคคีของชุมชน เข้าร่วมใน “โครงการออมเงินวันละบาท” ของกลุ่มสมาชิกบ้าน
มั่นคง จัดทำ “ตู้ออมสุข” เพื่อแบ่งปันช่วยเหลือผู้ที่มีผลกระทบจากสถานการณ์โควิด และเป็นวิทยากร
โครงการประชารฐั

รูปภาพประกอบ
การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้

ประสานงานวิทยากรชมุ ชนและทอ้ งถิ่นมาเปน็ วิทยากร โครงการจัดการศึกษาเพ่ืออาชพี

จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

บรกิ ารความรสู้ ู่ชมุ ชนเป็นวิทยากรให้การอบรม
ในโครงการยกระดับศักยภาพแรงงานไทยใหม้ ีศักยภาพสงู ขึ้น การเสรมิ สรา้ งศักยภาพตนเอง
เพอื่ การเพ่ิมผลผลติ และดำรงชพี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และโครงการประชารฐั

เป็นวทิ ยากรให้การอบรมรว่ มกับสถาบันพัฒนาฝมี อื แรงงาน สุพรรณบุรี
หลกั สูตรการยกระดบั ฝมี ือ สาขาการประกอบอาชีพตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ

น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาบรู ณาการสอนในวชิ าการจัดการผลติ ภัณฑ์ท้องถิ่น
กจิ กรรม “โอง่ พอเพยี ง”

นกั เรียนชว่ ยกันคดิ วเิ คราะห์รายจา่ ยทจ่ี าเปน็ และรายจ่ายทีไ่ ม่จาเปน็
และเรยี งลาดบั ก่อนหลังรายจา่ ยทจี่ าเป็น เพือ่ วางแผนการใชจ้ า่ ยและตดั รายจ่ายทไี่ มจ่ าเปน็ ออกไป

โครงการสร้างจติ สานึกตอ่ สถาบันพระมหากษตั ริย์

เพอ่ื รณรงค์สรา้ งจิตสานกึ ให้มคี วามเคารพเทดิ ทนู และปกปอ้ งสถาบันพระมหากษัตรยิ ์



บริการความรสู้ ชู่ มุ ชนเปน็ วทิ ยากรให้การอบรม
ในโครงการยกระดบั ศักยภาพแรงงานไทยให้มีศกั ยภาพสงู ขน้ึ การเสรมิ สรา้ งศักยภาพตนเองเพอ่ื การเพิม่

ผลผลติ และดารงชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และโครงการประชารฐั

โครงการบริการความรทู้ างธรุ กจิ สู่ชมุ ชน
ประสานงานและรว่ มเป็นวิทยากรใหก้ ารอบรม โดยความร่วมมอื กับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน สพุ รรณบรุ ี
หลักสตู รการพัฒนาทางด้านภาษาภาษาจนี เพือ่ การสื่อสาร ของกลมุ่ ชมุ ชนถนนคนเดนิ หรรษาวนิ ยานุโยค

เตรียมความพรอ้ มเพื่อเป็นแหล่งทอ่ งเทยี่ วเชิงอนรุ กั ษเ์ มืองโบราณอู่ทอง

โครงการบรกิ ารความรทู้ างธรุ กจิ สชู่ ุมชน
ประสานงานและรว่ มเป็นวิทยากรใหก้ ารอบรม โดยความร่วมมอื กบั สถาบนั พฒั นาฝมี อื แรงงาน สุพรรณบุรี

หลักสตู รการพัฒนาทางด้านภาษาภาษาเกาหลเี พ่อื การสือ่ สาร ของกล่มุ วสิ าหกจิ ชุมชนทุ่งทองยัง่ ยนื
ชมุ ชนต้นแบบ เตรยี มความพร้อมเพือ่ เป็นแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชงิ อนุรักษ์เมืองโบราณอทู่ อง

โครงการบริการความรทู้ างธรุ กจิ สูช่ ุมชน
ประสานงานและร่วมเปน็ วิทยากรใหก้ ารอบรม โดยความร่วมมือกบั สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน สพุ รรณบุรี
หลกั สูตรการพัฒนาทางดา้ นภาษาภาษาอังกฤษเพ่ือการส่อื สาร ของกลมุ่ วิสาหกิจชุมชนวนเกษตรดงเย็น

ชุมชนตน้ แบบ เตรียมความพรอ้ มเพื่อเป็นแหลง่ ท่องเท่ยี วเชงิ อนุรักษเ์ มืองโบราณอทู่ อง

รว่ มกบั โครงการออมเงนิ วันละบาท จัดต้งั ต้อู อมสุข ตทู้ ี่ 2 ถนนวนิ ยานุโยค
เพื่อช่วยเหลือเบ้ืองต้นแก่ผู้ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์ โรคระบาดโควดิ

การนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ปลกู ผกั สวนครวั
และแปรรปู อาหาร ท่เี หลือจากการกิน แจกเพอื่ น นามาแปรรูปขายเพือ่ เป็นรายไดเ้ สริม



เป็นวิทยากรโครงการประชารฐั เป็นวิทยากรรว่ มกับกองทนุ ออมบญุ วนั ละบาทสวสั ดกิ ารชุมชนเทศบาล
ตาบลอู่ทอง ฝึกอบรมโครงการอบรมหลักสตู รการฝึกอาชพี เสริม สาขาแปรรูปอาหารใหก้ ับชมุ ชนสมาชิก

บ้านมนั่ คงอทู่ อง



นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ดว้ ยการปฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice)

กลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี (พาณชิ ยกรรม) โรงเรียนอทู่ อง

เรือ่ ง หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและหลักธรรมาภบิ าล
กับการจดั การผลิตภัณฑท์ อ้ งถิ่น

ระดับช้ัน ประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้นั ปีท่ี 2 สาขาวชิ าการตลาด

ผูร้ บั ผิดชอบ
นางกัลยา อุ่นศริ ิ

ตาแหนง่ ครู

โรงเรียนอทู่ อง
อาเภออู่ทอง จงั หวดั สพุ รรณบุรี
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษาเขต 9

คาช้ีแจงในการใชน้ วัตกรรม

เอกสารนวตั กรรมการจดั การเรยี นรบู้ ูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด้วยการปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลิศ
(Best Practice)เรอ่ื ง หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลักธรรมาภิบาลกบั การจัดการผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถิ่น
ในรายวิชา การจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน สาหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา
การตลาด เพือ่ บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือ
เป็นแนวทางให้แก่ครูนาไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนกา รสอนมุ่งสู่ผู้เรียนนาไปปร ะยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน อย่างพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน โดยมีเง่ือนไขความรู้คู่คุณธรรม พร้อมรับการ
เปลย่ี นแปลง 4 มิติ ดว้ ยความสมดุลและยัง่ ยนื ประกอบด้วย

1. นวตั กรรมการจดั การเรยี นรบู้ ูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้วยการปฏบิ ัติท่เี ป็นเลิศ
(Best Practice)

2. แผนการจดั การเรยี นรู้เรอ่ื ง หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและหลักธรรมาภบิ าล
กบั การจดั การผลิตภัณฑท์ ้องถิน่

3.เรอื่ งเล่าของครกู ารน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นกจิ กรรมการเรยี นรู้

นวัตกรรมการจัดการเรยี นร้บู ูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ดว้ ยการปฏิบัตทิ ่ีเป็นเลศิ (Best Practice)

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (พาณชิ ยกรรม) โรงเรยี นอทู่ อง
เรื่อง หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและหลักธรรมาภิบาล
กบั การจดั การผลิตภัณฑท์ ้องถน่ิ
ระดบั ชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชัน้ ปที ี่ 2 สาขาวิชาการตลาด

ความสาเร็จในการน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

ไปใช้ในกิจกรรมการเรยี นร้เู พื่อประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน
วิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (2 เงือ่ นไข 3 หลักการ 4 มติ )ิ



2 เงอ่ื นไข ความรู้ คณุ ธรรม
3 หลกั การ - ศกึ ษาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งให้ - ลดรายจ่ายในส่งิ ท่ีไมจ่ าเป็น ไม่ซือ้ ของทไ่ี มจ่ าเป็น
เข้าใจ และนาไปใชใ้ นกิจกรรมการเรียนรู้ ไมเ่ ดนิ ห้างฯ ไม่เล่นการพนัน ไมซ่ อ้ื หวย ไมด่ มื่
ของนักเรยี นและจัดกิจกรรมแลกเปล่ียน หลกี เล่ยี งอบายมุขและสง่ิ เสพติดตา่ งๆ
การเรียนรกู้ บั ครแู ละบคุ ลากรในโรงเรียน - ปฏบิ ตั ิธรรม ทาบญุ และพาแม่และญาตพิ ีน่ ้อง
พูดคุยแลกเปลยี่ นความคดิ เห็น และ ครอบครวั ไปทาบุญท่วี ัดในวนั สาคัญๆ ทางศาสนา
วางแผนในการดาเนนิ ชวี ติ - ใหก้ ารชว่ ยเหลือในการจัดทาบัญชีใหว้ ดั เขาพระฯ
- ศึกษาหาความรู้เพมิ่ เติมอยู่เสมอ ในทุกๆ ปีท่ีมีงานประจาปี บรจิ าค และรว่ มกับ
- ศกึ ษาแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผอู้ ื่น เพ่อื นๆ ทาบุญท่วี ดั ตา่ งๆ เท่าท่มี โี อกาส
ในการดาเนินชีวิตแบบพอเพยี ง - ร่วมบรจิ าคและมอบกาลังใจใหท้ หารหาญใน
- วางแผนการใช้จ่ายและวิเคราะหค์ วาม 3 จงั หวัดชายแดนภาคใตใ้ นทกุ ๆ ปี
จาเป็นเพ่อื ลดรายจ่ายของครอบครัว - จัดตอู้ อมสุข เพอื่ ช่วยเหลือเบื้องตน้ ผูท้ ี่มผี ลกระทบ
- เพ่ิมรายไดแ้ ละการลดรายจา่ ยของ จากสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19
ครอบครัวโดยใชเ้ วลาว่างปลูกผกั สวนครัว - เป็นผปู้ ระสานงานใหม้ กี ารบรจิ าคเงนิ สงิ่ ของ ใหแ้ ก่
และไม้ผล และแปรรูปอาหาร และทา ผูพ้ ิการ นกั เรียน และผู้เดอื ดร้อน เชน่ บริจาคทุน
การตลาดออนไลนเ์ พ่ือสร้างรายได้เสรมิ บรจิ าคมุ้ง บริจาครถจักยาน พัดลม และสงิ่ ของ
แกบ่ คุ คล ทั้งในโรงเรียน และในชมุ ชนที่เดือดรอ้ น
พอประมาณ - พอประมาณในการใช้ชีวิต รกู้ นิ รจู้ า่ ย ทากบั ข้าวกิน
กันในครอบครวั สะอาด ถูกอนามัย ไม่ใช้ผงชรู ส และ
มีเหตุผล ประหยดั ทากบั ขา้ วไปและแบ่งไปบา้ นแมท่ กุ วนั
ทากบั ข้าวแต่พอดไี ม่เหลือทิ้ง ทุกวันนาข้าวมาทาน
ทีโ่ รงเรียน ประหยดั และถูกอนามัย
- ปลกู ผักสวนครัว ไว้กนิ และแบง่ เพื่อนบา้ น นามา
ปรุงอาหาร ไม่ต้องซอ้ื จากตลาด
- ในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวันไม่เท่ยี ว ไม่เดนิ หา้ งฯ
ไมซ่ ้อื ของฟุ่มเฟอื ย เก็บของเก่ามาซอ่ มแซมใชเ้ พอื่ ลด
การซื้อใหม่ เช่นเส้ือผ้าที่ลา้ สมยั หรอื ชารดุ กน็ ามาแก้
ปรบั แตง่ ใหม่ใชไ้ ดไ้ มต่ อ้ งซอื้
- คัดแยกขยะรีไซเคิล ลดการใช้โฟม ลดการใช้
ถุงพลาสตกิ เศษอาหารแยกหมกั ทาปุ๋ย ใช้ตะกร้า
แทนถุงพลาสติก ใช่กล่องขา้ ว และกระตกิ น้ามา
โรงเรียน
- ทาแชมพสู ระผม สบู่ จากสมนุ ไพรท่มี ี เช่นจาก
ดอกอญั ชัน บอระเพด็ ว่านหางจระเข้ และนา้ มนั
ใส่ผมจากอัญชนั ใช้เอง และทาเพมิ่ จาหน่ายเพือ่ เป็น
รายไดเ้ สริม

3 หลกั การ มีเหตผุ ล - ประหยดั ไฟฟ้า น้าประปา และค่าโทรศัพท์ โดย
มีเหตผุ ล เลือกใชโ้ ซล่าเซลช่วยในจุดท่ีจาเป็นต้องเปดิ ทิง้ ไว้
มภี ูมิคุ้มกนั ในตวั ทด่ี ี ปดิ ไฟฟ้าทุกครงั้ หลังเลิกใช้ ใชน้ ้าอย่างประหยดั
ไมเ่ ปิดทงิ้ ไว้
- ใชร้ ถยนต์เฉพาะเวลาท่จี าเป็น ใช้จักรยานไปตลาด
หรือไปในท่ีใกล้ๆ
- ในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวันไมเ่ ทีย่ ว ไม่เดนิ ห้างฯ
ไม่ซื้อของฟุม่ เฟือย เก็บของเก่ามาซ่อมแซมใชเ้ พ่ือลด
การซ้ือใหม่ เชน่ เส้ือผา้ ท่ีล้าสมยั หรอื ชารดุ ก็นามาแก้
ปรบั แตง่ ใหม่ใช้ไดไ้ มต่ อ้ งซอ้ื
- คัดแยกขยะรีไซเคิล ลดการใช้โฟม ลดการใช้
ถุงพลาสติก เศษอาหารแยกหมักทาปุ๋ย ใชต้ ะกร้า
แทนถงุ พลาสติก ใชก่ ล่องข้าว และกระตกิ น้ามา
โรงเรยี น
- ทาแชมพูสระผม สบู่ จากสมุนไพรทม่ี ี เช่นจาก
ดอกอัญชนั บอระเพ็ด วา่ นหางจระเข้ และนา้ มนั
ใสผ่ มจากอญั ชนั ใชเ้ อง และทาเพม่ิ จาหนา่ ยเพอ่ื เปน็
รายไดเ้ สรมิ
- ประหยดั ไฟฟา้ นา้ ประปา และคา่ โทรศัพท์ โดย
เลอื กใชโ้ ซล่าเซลช่วยในจุดท่ีจาเป็นตอ้ งเปิดทงิ้ ไว้
ปิดไฟฟ้าทุกครั้งหลังเลกิ ใช้ ใช้นา้ อยา่ งประหยัด
ไมเ่ ปิดทิ้งไว้
- ใชร้ ถยนต์เฉพาะเวลาทจ่ี าเป็น ใช้จักรยานไปตลาด
หรือไปในที่ใกล้ๆ
- ตัดคา่ ใชจ้ า่ ยท่ไี มจ่ าเปน็ ประหยดั อดออม ไม่ใช้
บตั รเครดิต ไม่เดนิ ห้างฯ และระมดั ระวังในการใช้
จา่ ยเงิน ไม่ใช้เงนิ ฟุ่มเฟอื ย
- ศึกษาหาความรู้ และพฒั นาตนเองอยู่เสมอ
เม่ือมเี วลาว่างกจ็ ะดูยูทูปศึกษาวธิ กี ารแปรรปู อาหาร
การปลูกผักสวนครวั การทาปุ๋ย การทาตลาดออนไลน์
ภาษาอังกฤษ ภาษาเกาหลี และใชเ้ วลาวา่ งทา
ผลติ ภณั ฑต์ ่างๆ จาหน่ายในออนไลน์
- ระมัดระวงั ในการปฏบิ ัตติ น เพ่ือเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี
แก่นักเรยี น แกล่ กู หลาน และเปน็ เป็นเกยี รติ
แกว่ งศ์ตระกูล

มีความสมดุลและพรอ้ มรับการเปลีย่ นแปลงทัง้ 4 มติ ิ

- ใชจ้ า่ ยเงินอย่างประหยดั ไมซ่ ื้อของทีไ่ มจ่ าเปน็ ซอ้ื เฉพาะ

ของใชท้ ีห่ มดและจาเปน็ ไม่ซื้อตามโปรโมชั่น

- ซื้อแต่ของใชอ้ ุปโภคบรโิ ภค เช่นช้าวสาร โดยเลือกซอ้ื ข้าวสาร

มติ ิวตั ถุ (มติ เิ ศรษฐกิจ) ทป่ี ลกู แบบเกษตรอินทรีย์ ท่ีปลอดสารพษิ เพอื่ สุขภาพ และพชื ผัก
ปลูกเองเพอื่ หลีกเล่ียงผักทม่ี ีสารเคมี

- เก็บของใช้ เสื้อผา้ เก่ามาดัดแปลงเพือ่ ใช้อกี

- ดูแลรายได้และควบคุมรายจ่ายได้ พยายามตดั รายจ่าย

ที่ไมจ่ าเป็น

- ใชช้ วี ติ อย่างพอเหมาะพอดี พอดี มคี วามสขุ ในการดาเนินชีวิต

แบบพอเพยี ง

- ใช้ชีวิตอย่กู ับครอบครัวและเพม่ิ รายได้ให้พอกบั รายจ่าย

มิตสิ งั คม - ลดการออกสังคม เทีย่ วกับเพอ่ื น ลดการออกไปทานอาหาร

4 มติ ิ นอกบ้าน เพอ่ื ประหยดั รายจ่ายที่ไม่จาเปน็

หลักคดิ - เลอื กไปงานเฉพาะทจี่ าเป็น ลดไปงานบันเทิงท่ีเปน็ ความฟุ่มเฟอื ย
หลกั ปฏบิ ตั ิ
เพื่อความก้าวหน้า เพ่ือตัดรายจา่ ยให้ลดลง
อยา่ งสมดุล
และมั่นคง - มีจติ สานกึ ในการรักษ์สิ่งแวดล้อม นากลับมาใชอ้ ีก เช่น ซ่อมแซม

เสอื้ ผ้าทีช่ ารุดแทนการซ้อื ใหม่

มติ สิ ิ่งแวดล้อม - ใชช้ วี ติ กับครอบครวั แบบประหยัด รักษาและถนอมของใชต้ า่ งๆ
ใหอ้ ยใู่ นสภาพดี ชว่ ยใหป้ ระหยดั รายจ่าย และเปน็ การใช้ทรัพยากร

ใหค้ มุ้ ค่าและประโยชนส์ งู สดุ

- ดแู ลบา้ นให้สะอาดนา่ อยู่

- รกั ษาสถาบันครอบครัว โดยเป็นครอบครวั ใหญท่ มี่ คี วามผกู พนั

กนั ทั้งแม่ พีน่ ้อง ลูก หลาน มคี วามรกั สามัคคีและเอ้ือเฟื้อ เผอ่ื แผ่

ชว่ ยเหลือซ่ึงกันและกนั ในทุกๆ เดือนจะหมุนเวียนกนั กลับมาบ้าน

ยายเพอื่ ดูแล และพบปะ หากจิ กรรมร่วมกนั อยู่เสมอ เช่น

ทาอาหารและกินข้าวเยน็ ร่วมกัน โดยทกุ เดือน พี่ นอ้ ง ลกู หลาน

ทหี่ ยดุ งานจะสลับ หรอื นดั กนั มากนิ ขา้ วกับแม่ อยู่เสมอ

มิตวิ ฒั นธรรม - ทกุ วนั สาคัญ หรือวันทางศาสนา พาแม่และพี่น้อง ครอบครัว

รว่ มกนั ทาบญุ หรือไปทาบญุ ในวนั สาคัญทางศาสนาตลอดเวลา

เท่าท่ีมโี อกาสทาได้

- มีไลน์กลุ่มครอบครัวใหญ่ ท่ีรวมพีน่ ้อง และลกู หลานทุกๆ คน เขา้

รว่ มกัน พูดคุยกันทุกๆ วนั ระยะทางท่ไี กลก็จะเหมือนใกลเ้ พราะมี

การตดิ ตอ่ พดู คุยกนั ทุกวันไม่ห่างกัน ในวนั สาคญั ๆ ต่างๆ กส็ ามารถ

นดั หมายไลน์หาพดู คุยกนั ไดต้ ลอดเวลา

นาไปสู่

ความยั่งยนื

นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ด้วยการปฏิบตั ิที่เปน็ เลิศ (Best Practice)

กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานาอาชพี (พาณิชยกรรม) โรงเรียนอูท่ อง
............................................................................................................................

ชอื่ ผลงาน : เร่อื ง หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและหลักธรรมาภบิ าลกบั การจัดการผลิตภัณฑ์
ท้องถน่ิ ระดบั ชัน้ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั้ ปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด

ผูร้ ับชอบ : นางกัลยา อนุ่ ศิริ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นอู่ทอง

1. ที่มาและความสาคัญ
การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชา การจัดการผลิตภณั ฑ์ท้องถ่ิน ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้ันปี

ที่ 2 สาขาวิชาการตลาด เร่ือง หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล กับการจัดการ
ผลิตภณั ฑ์ท้องถิ่น มาตรฐานการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีความเขา้ ใจเก่ียวกบั หลกั การและกระบวนการจัดการผลิตภณั ฑ์ท้องถ่ิน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรมาภิบาล กฎหมายและองค์การที่เกี่ยวข้องกับการจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน จาก
แนวคิดตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร ให้ประชาชนดารงชีวิต อยู่โดยการพ่ึงพาตนเอง จัดหาทรัพยากรท่ีมีอยู่ในท้องถ่ินมา
ใช้ในการผลิตเพือ่ กนิ ใช้ในครวั เรอื นหากเหลือ จึงนาออกขายเพอ่ื สรา้ งรายไดอ้ ีกทางหน่งึ สอดคลอ้ งกบั โครงการ
หนง่ึ ตาบลหน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ ทด่ี าเนนิ การ เพ่อื ให้ชุมชนใช้วตั ถดุ บิ ในท้องถิน่ ผสานเขา้ กับ อัตลักษณ์และวัฒนธรรม
หมู่บ้าน ผลิตผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญา สู่สากล ซ่ึงสามารถนาผลิตภัณฑ์ที่ชุมชนมีอยู่มาพัฒนาให้ตรงกับความ
ต้องการของผู้บริโภค และในส่วนของ การดาเนินงานการจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นจะต้องอาศัยความร่วมมือ
ของชุมชน ร่วมกันคดิ รว่ มกันผลติ และเติบโตขึน้ อาจขยายเป็นกจิ การธรุ กิจ SMEs การทางานร่วมกันหรือการ
บรหิ ารงานให้ประสบความสาเร็จ จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องนาหลกั ธรรมาภบิ าลเข้ามาใช้ในการดาเนินชีวิต

ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามสมรรถนะรายวิชาท่ีผู้เรียนสามารถแสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการ
และกระบวนการจดั การผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แสดงความรู้เกย่ี วกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง หลัก ธรร
มาภิบาล กฎหมายและองค์การที่เกี่ยวข้องกับการจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน วางแผนและจัดการผลิตภัณฑ์
ท้องถ่ินตามหลักการและสถานการณ์ทางการตลาด ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลัก
ธรรมาภิบาล ในการจัดการผลิตภณั ฑ์ท้องถิ่น ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารกับการจัดการ
ผลติ ภัณฑท์ อ้ งถ่ิน

ดังน้ันการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรม เร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลัก
ธรรมาภิบาลกับการจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีท่ี 2 โดยการเลกเปลี่ยน
เรียนรู้จากิจกรรมการเรียนรู้ โอ่งพอเพียง เกิดการเรยี นรู้ได้โดยการใช้กระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ รว่ มกัน
วเิ คราะห์รายจ่ายและสามารถแยกแยะลาดับความสาคญั ของรายจ่ายท่ีมีความจาเป็นมากน้อยตามลาดับ เกิด
การเรียนรู้รายจ่ายอ่ืนๆ จากครอบครัวของเพ่ือนๆ เรียนรู้ด้วยสถานการณ์จาลองจากแนวคิดในการนามา
บริหารจัดการกับผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยหลักการพ่ึงพาตนเอง ซึ่งเป็นการกระบวนการท่ีส่งเสริมทักษะการคิด
วิเคราะห์ และบูรณาการแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน
ของครู และผู้เรียนสามารถนาหลักพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันท่ีดี โดยการศึกษาห้าข้อมูล มี
ความรู้และยึดม่ันในหลักคุณธรรม เพื่อส่งผล 4 มิติ วัตถุ เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรม อย่าง
สมดแุ ละยงั่ ยนื

2. จุดประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนนิ งาน
1. เพอ่ื สง่ เสริมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไดถ้ กู ตอ้ ง
2. เพอื่ ประยกุ ตใ์ ช้หลักปรชั ญาพอเพียงในชีวติ ประจาวัน และการจดั การผลิตภัณฑท์ ้องถิน่ ได้
3. เพอื่ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับหลกั ธรรมาภบิ าล และประยกุ ต์ใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าลในการจัดการ

ผลติ ภัณฑท์ อ้ งถิน่ ได้

3. ขนั้ ตอนการดาเนินงาน
ศกึ ษาแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรยี น โดยการส่งเสรมิ ความรู้ ความเข้าใจ หลกั 3 หว่ ง 2

เงื่อนไข สกู่ ารเปลีย่ นแปลง 4 มิติ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ “โอ่งพอเพยี ง” โดยส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนไดท้ บทวน
เก่ียวกบั รายรับ-รายจา่ ยในครอบครวั ของตนเองและร่วมแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับรายจ่ายทเ่ี กดิ ขึ้นใน
ครวั เรือนและร่วมกันวเิ คราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหวา่ งรายได้กบั รายจา่ ยท่ีเกดิ ขึ้นในครวั เรอื น ครูจดั การเรียนรู้
โดยให้นกั เรียนทากิจกรรม “โอ่งพอเพยี ง” โดยนักเรยี นช่วยกันหารายจ่ายของครอบครวั และช่วยกนั วเิ คราะห์
รายจา่ ยทจ่ี าเปน็ และไม่จาเปน็ เพือ่ ตัดรายจา่ ยทไ่ี ม่จาเปน็ ออกไป จดั การเรยี นรโู้ ดยใชก้ ารอภปิ รายกล่มุ
ยอ่ ย ใหผ้ เู้ รยี นในกลมุ่ มีโอกาสสนทนาแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ความคดิ เหน็ ประสบการณ์ในประเด็นหรือปัญหาที่
กาหนด และสรปุ ผลการอภปิ รายออกมาเป็นขอ้ สรปุ ของกลุ่ม เกีย่ วกบั หลกั ปรชั ญาพอเพยี งกบั การจัดการ
ผลติ ภัณฑ์ทอ้ งถน่ิ การนาเอาความพอเพียงไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ซง่ึ เปน็ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล
รวมถงึ ความจาเปน็ ท่ตี อ้ งมรี ะบบภูมคิ มุ้ กันในตัวท่ดี พี อสมควรต่อผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลยี่ นแปลง
ทงั้ ภายนอกและภายใน การตัดสินใจและการดาเนนิ กจิ กรรมต่างๆใหอ้ ยูใ่ นระดับพอเพียงนัน้ ตอ้ งอาศัยท้ัง
ความรูแ้ ละคณุ ธรรมเป็นพืน้ ฐาน

กจิ กรรม “โอ่งพอเพยี ง” เพือ่ หารอยร่วั ซ่งึ เปรยี บถึงคา่ ใช้จา่ ยทีม่ ี เพือ่ ใหน้ กั เรยี นรูค้ ิด วเิ คราะห์ การ
ใช้จา่ ยเงนิ เพื่อฝึกนิสัยการใชจ้ ่าของตนเองอยา่ งพอประมาณ อย่างมีเหตุผล และประหยัด ใชจ้ า่ ยเท่าทจี่ าเป็น
เพ่อื สรา้ งนสิ ยั การออมเงนิ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเน้นให้ชมุ ชนนาทรัพยากรที่มีอยใู่ นทอ้ งถ่นิ มาผลติ
สินค้าสาหรับกนิ สาหรบั ใชใ้ นครวั เรือนถือเป็นการพึง่ พาตนเอง หากเหลือกินเหลือใชใ้ หน้ าผลติ ภณั ฑน์ ้นั
จาหน่ายตอ่ เพอ่ื สร้างรายได้ ทาใหช้ มุ ชนเขม้ แขง็ การจดั การผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถนิ่ นาพนื้ ฐานหลกั การพ่งึ พาตนเอง
โดยการนาทรพั ยากรที่มอี ยใู่ นทอ้ งถน่ิ ผสานเขา้ กบั วัฒนธรรมและอัตลกั ษณข์ องชมุ ชน

4. ผลการดาเนนิ งาน/ผลสัมฤทธ์ิ/ประโยชนท์ ี่ได้รบั
จากการใช้ นวัตกรรม เร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาลกับการจัดการ

ผลิตภัณฑ์ ระดับช้ันประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นปที ่ี 2 สาขาวิชาการตลาด เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ
และอธิบายความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาพอเพียงในการดาเนินชีวิต และการ
จัดการผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน และแสดงความรู้เกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาล และประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการ
จดั การผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น พบว่า นักเรียนเปน็ เดก็ ท่ีรู้จักคดิ รบั รู้รายจ่ายของตนเองและครอบครัวและตัดสนิ ใจ
กอ่ นใช้จ่ายรู้ค่าของเงินที่ไดม้ าคิดถงึ ความจาเป็นกอ่ นจะใชจ้ ่าย สามารถแยกระหวา่ งความตอ้ งการแต่ไมจ่ าเป็น
กับความต้องการทีจาเป็นต่อการดารงชีวิต ได้ฝึกนิสัยใช้จ่ายของตนเองมีความภูมิใจท่ีไม่ใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟือย
ซือ่ สตั ย์ สุจรติ มีความเพยี ร ยดึ คุณธรรมเปน็ พ้นื ฐานในการดาเนนิ ชวี ิต

5. ปัจจยั ความสาเรจ็
1. ผูเ้ รียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในการดาเนินชวี ติ

ด้วยอุปนิสัยพอเพียง
2. ครูมคี วามรู้ ความเข้าใจหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนาความรู้ไปขายผลได้อย่างถูกตอ้ ง

และนาไปประยกุ ต์ใชเ้ ป็นผูม้ ีวถิ ชี ีวติ พอเพยี ง
3. เปน็ ครแู กนนาสามารถขายผลภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศกึ ษา สู่ชมุ ชนท่ียัง่ ยืน

6. บทเรียนทีไ่ ด้รับ
นักเรียนรู้รายจ่ายต่างๆของตนเองและครอบครัว วิเคราะห์เกี่ยวกับรายจ่ายท่ีจาเป็นและสามารถ

เรียงลาดับความจาเป็นก่อนหลังเพ่ือวางแผนการใช้จ่ายได้ วางแผนการใช้จ่ายและสามารถวิเคราะห์ความ
จาเป็นเพื่อลดรายจ่ายของครอบครัว มีความรู้เกี่ยวกับการเพม่ิ รายได้และการลดรายจ่ายของครอบครัวโดยใช้
เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และการสร้างรายได้เสริม เรียนรู้การใช้ชีวิตตามหลักความพอประมาณ มีเหตุผล

มีภูมิคุ้มกัน พร้อมความรู้คู่คุณธรรมที่สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติ ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

7. การเผยแพร/่ การไดร้ ับการยอมรบั /รางวัลทไี่ ดร้ บั
ภายในสถานศกึ ษา
1. แลกเปลยี่ นเรียนร้กู บั ครใู นกล่มุ สาระการเรียนรู้การงงานาอาชพี (พาณชิ ยกรรม)
2. นาเสนอผลสาเรจ็ ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตอ่ ครใู นกล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี

(พาณชิ ยกรรม) และในโรงเรียนอ่ทู อง

ภายนอกสถานศึกษา
1. เป็น “ครูบัญชีอาสา” ในโครงการ “ทาบัญชี มีพอใช้ ใหพ้ ่อดู”
2. เปน็ ครูแกนนา “โครงการเสริมสร้างภมู ิปัญญาทางบญั ชแี กเ่ กษตรกรไทย” ของสานักงานตรวจบัญชี
สหกรณ์สพุ รรณบุรี โรงเรียนอู่ทองศกึ ษาลัย
3. เปน็ วทิ ยากรพิเศษให้กับสถาบนั พัฒนาฝีมอื แรงงาน สพุ รรณบุรี ประสานงานกับสถาบันฯ เพ่ือขอเปิด
ฝึกสอนการแปรรปู อาหาร งานฝีมอื การจกั สาน ใหก้ ับชุนชนและผ้ปู กครองนักเรียนในพน้ื ทีอ่ าเภออู่ทองและ
ใกลเ้ คียง น้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเ้ พอื่ สร้างความเขม้ แขง็ และยัง่ ยนื
4. ร่วมกบั ชุมชนศรสี รรเพชร จดั “ถนนคนเดนิ หรรษาวินยานโุ ยค” เพ่ือให้ชุมชนได้มีสถานท่ีเพ่ือประกอบ
อาชีพคา้ ขายเป็นการสรา้ งความเขม้ แข็ง ความสามัคคขี องชมุ ชน
5. เข้ารว่ มใน “โครงการออมเงินวนั ละบาท” ของกลมุ่ สมาชกิ บา้ นมั่นคง จดั ทา “ตอู้ อมสุข” เพื่อแบง่ ปัน
ชว่ ยเหลอื ผู้ท่มี ผี ลกระทบจากสถานการณโ์ ควิด-19
6. เปน็ วทิ ยากรโครงการประชารัฐ เปน็ วิทยากรรว่ มกบั กองทุนออมบุญวันละบาทสวสั ดิการชุมชนเทศบาล

ตาบลอทู่ อง ฝกึ อบรมโครงการอบรมหลักสตู รการฝึกอาชีพเสรมิ สาขาแปรรปู อาหารใหก้ ับชมุ ชนสมาชกิ บ้านมัน่ คงอู่ทอง

ถอดบทเรยี น กิจกรรม “โอง่ พอเพยี ง”

ความสาเร็จในการนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ

วิเคราะห์ความสอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (2 เงอ่ื นไข 3 หลกั การ 4 มิต)ิ



ความรู้ คณุ ธรรม

- นกั เรยี นรู้รายจ่ายตา่ งๆของตนเองและครอบครวั - นักเรยี นลดรายจ่ายในสิง่ ท่ีไม่จาเปน็

- นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์เกยี่ วกบั รายจ่ายท่ี หลกี เลี่ยงอบายมขุ และสิ่งเสพตดิ ตา่ งๆ

จาเปน็ และสามารถเรียงลาดับความจาเป็น - ช่วยทางานบา้ นอย่างขยันและอดทน

ก่อนหลงั เพือ่ วางแผนการใช้จา่ ยได้ รูจ้ ักประหยัด เกบ็ ออมเงนิ และใช้เวลา

2 เงือ่ นไข - นกั เรยี นสามารถวางแผนการใชจ้ ่ายและสามารถ ว่างให้เกดิ ประโยชน์ เพื่อเพิ่มรายได้

3 หลกั การ วิเคราะหค์ วามจาเป็นเพ่อื ลดรายจา่ ยของ - นักเรียนมีความซ่อื สตั ย์ สุจรติ มี

4 มติ ิ ครอบครัว ความเพียร ยึดคุณธรรมเปน็ พ้ืนฐานใน
หลักคิด
หลักปฏบิ ัติ - นกั เรยี นมคี วามรู้เก่ียวกับการเพม่ิ รายได้และการ การดาเนินชีวติ
เพื่อความก้าวหน้า
อย่างสมดุล ลดรายจ่ายของครอบครวั โดยใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ
และมั่นคง
ประโยชนแ์ ละการสร้างรายไดเ้ สริม

- นักเรียนเป็นเด็กท่รี ู้จกั คิด รับรู้

รายจา่ ยของตนเองและครอบครวั และ

พอประมาณ ตดั สนิ ใจก่อนใช้จ่าย

- นักเรยี นรูค้ ่าของเงนิ ที่ไดม้ า และจะ

คดิ ถงึ ความจาเป็นกอ่ นจะใช้จา่ ย

- นกั เรยี นสามารถแยกระหว่างความ

ต้องการแต่ไม่จาเปน็ กับความตอ้ งการ

มีเหตผุ ล ทีจาเปน็ ตอ่ การดารงชวี ิต

- นักเรยี นถามตวั เองถงึ ความจาเป็นทุก

ครั้งก่อนตัดสนิ ใจซ้อื

- นกั เรยี นได้ฝึกนิสยั ใชจ้ ่ายของตนเอง

- นักเรยี นมีความภูมิใจทีไ่ มใ่ ช้จ่ายเงนิ

มีภูมิคุม้ กนั ในตวั ทด่ี ี ฟุม่ เฟอื ย

- นักเรยี นมคี วามภมู ใิ จในตัวเองทีใ่ ช้

จา่ ยเงนิ อยา่ งประหยดั

มคี วามสมดุลและพรอ้ มรับการเปลีย่ นแปลงทงั้ 4 มติ ิ

มติ ิวตั ถุ (มิตเิ ศรษฐกจิ ) - นักเรียนรู้จกั การใช้จ่ายเงินอยา่ งประหยดั ค้มุ ค่า คุ้ม
ประโยชน์ ซื้อตามความจาเปน็
- นักเรียนรู้จกั ใช้ในสงิ่ ท่ีจาเปน็ กอ่ น เชน่ ค่าอาหาร ค่า
อปุ กรณ์การเรียน
- นักเรยี นรู้จกั ใชจ้ ่ายเงนิ อย่างประหยดั ขยัน และอดออม
- นกั เรียนรู้จักใชจ้ ่ายเงนิ อย่างเหมาะสมและดูแลรายได้
และควบคุมรายจา่ ยได้

มิตสิ งั คม - นักเรียนรู้จกั ใชช้ วี ิตอยา่ งพอเหมาะพอดี พอดี มี
มติ ิสง่ิ แวดลอ้ ม ความสขุ ในการดาเนินชวี ติ แบบพอเพียง
- นักเรียนใช้ชวี ิตอยู่กับครอบครัวและชว่ ยทางานท่ีเหมาะ
มติ ิวัฒนธรรม สมวยั ชว่ ยเพิ่มรายได้ใหพ้ อกบั รายจา่ ย
- มจี ิตสานึกในการรกั ษ์สิ่งแวดล้อม ใชจ้ า่ ยอย่างประหยัด
และนากลับมาใช้อกี เช่น ซ่อมแซมเส้ือผา้ ที่ชารดุ แทน
การซอื้ ใหม่
- ใชช้ วี ติ กบั ครอบครวั แบบประหยัด รกั ษาและถนอม
ของใชต้ า่ งๆใหอ้ ย่ใู นสภาพดี ช่วยให้ประหยัดรายจ่าย
และเปน็ การใชท้ รัพยากรให้คมุ้ ค่าและประโยชนส์ ูงสดุ
- วัฒนธรรมครอบครัวไทย มีความรักในครอบครัว ผใู้ หญ่
จะใหอ้ ภยั เดก็ ถา้ หากทางานผิดพลาด นักเรียนเรียนร้ทู ่จี ะ
ชว่ ยครอบครวั ทางาน เป็นโอกาสทจ่ี ะไดม้ ปี ระสบการณ์ที่
จะเป็นประโยชนใ์ นวันข้างหนา้
- นกั เรยี นรับร้ใู นเร่ืองรายจ่ายของครอบครวั รายรบั
รายจา่ ยของพ่อแม่ เพอ่ื ช่วยกนั ในการวางแผนการใช้จา่ ย
ของครอบครวั รว่ มกัน
- นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการคิดวิเคราะหแ์ ละวางแผนการ
ใชจ้ า่ ยในครอบครวั ร่วมกับพ่อแม่ จะทาให้นักเรยี นรู้จัก
การจัดทาบัญชีรับ-จ่าย เพือ่ ในอนาคตจะมชี ีวติ ทดี่ ีขน้ึ
ดว้ ยวธิ ลี ดรายจา่ ย เพิ่มรายได้ โดยการ ฉลาดหา หรอื
ทางานพเิ ศษเพ่อื เพิ่มการเก็บออมดว้ ยตนเอง

นาไปสู่

ความยั่งยนื

ภาคผนวก

แผนการจดั การเรียนรู้ ท่ี 14

รายวชิ า 20202-2109 ชอ่ื วชิ า การจดั การผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถ่นิ (2-2-3) สอนคร้ังท่ี 14 (53-56)

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 7 จานวน 4 คาบ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

ช่ือหนว่ ย หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลกั ธรรมาภบิ าลกบั การจดั การผลิตภณั ฑท์ อ้ งถ่นิ

ระดับชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชน้ั ปที ่ี 2/2 การตลาด

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี (พาณชิ ยกรรม) โรงเรียนอทู่ อง อาเภออู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบุรี

1. สาระท่ี
สาระท่ี 7 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาลกบั การจดั การผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถนิ่

2. มาตรฐานการเรยี นรู้
มีความเข้าใจเกี่ยวกบั หลกั การและกระบวนการจดั การผลติ ภณั ฑท์ ้องถิน่ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพยี ง หลักธรรมาภิบาล กฎหมายและองค์การท่เี ก่ยี วข้องกบั การจัดการผลิตภณั ฑท์ อ้ งถิน่

3. ตัวชว้ี ัด
- สามารถเข้าใจและอธบิ ายความรเู้ ก่ียวกบั เศรษฐกจิ พอเพียง ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรัชญาพอเพียงกับการ

จดั การผลิตภณั ฑท์ อ้ งถิ่น และแสดงความรเู้ ก่ียวกบั หลักธรรมาภิบาล และประยุกตใ์ ชห้ ลักธรรมาภบิ าลในการ
จดั การผลติ ภณั ฑท์ ้องถน่ิ ได้

4. การวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้
มกี ารพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเรจ็ การศกึ ษา

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ทีค่ รูสามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเรือ่ ง

4.1 ความมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ 4.8 การละเว้นส่ิงเสพตดิ และการพนนั
4.2 ความมวี นิ ยั 4.9 ความรักสามัคคี
4.3 ความรับผดิ ชอบ 4.10 ความกตญั ญกู ตเวที

4.4 ความซ่ือสตั ย์สจุ รติ
4.5 ความเชือ่ มน่ั ในตนเอง
4.6 การประหยดั
4.7 ความสนใจใฝ่รู้

5. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. นักเรียนเข้าใจและแสดงความรู้เกี่ยวกบั หลักการและกระบวนการจดั การผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นได้
2. นักเรียนเข้าใจและอธิบายความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรมาภิบาล

กฎหมายและองคก์ ารที่เกี่ยวข้องกบั การจัดการผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถ่ินได้
3. นักเรียนประยกุ ต์ใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและหลักธรรมาภิบาลในการจดั การผลติ ภณั ฑ์

ท้องถิ่นได้
6. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

จากแนวคดิ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอ
ดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรให้ประชาชนดารงชีวิตอยู่โดยการพึ่งพาตนเอง จัดหาทรัพยากรท่ีมีอยู่ใน
ท้องถิน่ มาใช้ในการผลิตเพื่อกนิ ใชใ้ นครวั เรอื น หากเหลือจงึ นาออกขายเพ่ือสร้างรายได้อกี ทางหนึ่ง สอดคลอ้ ง
กบั โครงการหน่งึ ตาบลหน่ึงผลิตภณั ฑ์ ทดี่ าเนินการเพ่อื ให้ชมุ ชนใชว้ ัตถุดบิ ในทอ้ งถ่ินผสานเข้ากับอตั ลักษณแ์ ละ
วฒั นธรรมหมู่บ้าน ผลิตผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาสู่สากล ซ่ึงสามารถนาผลิตภัณฑ์ท่ีชุมชนมีอยู่มาพัฒนาให้ตรง
กับความต้องการของผู้บริโภค และในส่วนของการดาเนินงานการจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถ่ินจะต้องอาศัยความ
ร่วมมือของชุมชน ร่วมกันคิด ร่วมกันผลิตและเติบโตข้ึนอาจขยายเป็นกิจการธุรกิจ SMEs การทางานร่วมกัน
หรือการบริหารงานให้ประสบความสาเรจ็ จาเป็นอยา่ งยงิ่ ที่จะต้องนาหลักธรรมาภบิ าลเขา้ มาใช้

7. สาระการเรยี นรู้
1 ความรเู้ ก่ียวกับเศรษฐกจิ พอเพียง
2 หลักปรัชญาพอเพียงกับการจดั การผลิตภัณฑท์ อ้ งถ่นิ
3 หลักธรรมาภิบาล
4. การประยุกตใ์ ชห้ ลักธรรมาภิบาลในการจดั การผลิตภัณฑ์ท้องถน่ิ

8. รายละเอียดการเรียนรู้
ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น
1.ครูใช้เทคนิคการสอนโดยการสอบถามพ้ืนฐานความรู้ในเร่ืองปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ

นักเรยี น
2.ครกู ล่าวถงึ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ล อดุลย

เดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดารัสชแี้ นะแนวทางการดาเนนิ ชวี ิตของพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด

ทรงเนน้ ย้าแนวทางให้ประชาชนชาวไทยหาทางเพอ่ื ใหร้ อดพ้น และสามารถดารงชวี ติ อยไู่ ดห้ ลงั จากเกดิ
เหตกุ ารณ์วกิ ฤตการณท์ างเศรษฐกิจ

ขนั้ สอน
3.ครูจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย เร่ืองความรู้เก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ปรัชญาทชี่ ีถ้ งึ แนวทางการดารงอยู่และการปฏบิ ตั ติ นของประชาชนทกุ ระดบั ตัง้ แตร่ ะดับ
ครอบครัว จนถึงระดับรัฐ ทั้งการบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือให้

ก้าวหน้าทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์ โดยเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลท่ี 9 ทรงช้ีแนะแนวทางการดารงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับต้ังแต่ระดับครอบครัว
ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพฒั นาและบริหารประเทศใหด้ าเนนิ ไปตาม ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ
เพ่ือให้ทนั ต่อยุค โลกาภวิ ัตน์

คานิยามเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ประกอบด้วยคุณลักษณะ 3 ประการท่ีเป็นห่วงประสานกันเพื่อนาไปสู่
การปฏบิ ัติ และเงื่อนไข 2 ประการ เพื่อการตัดสนิ ใจและดาเนินกจิ กรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดบั พอเพยี ง

4.ครูอภิปรายความสาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการแก้ไขเพื่อให้
ประเทศไทยสามารถดารงชีวติ อยไู่ ด้อย่างยั่งยนื ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงท่จี ะเกิดขน้ึ ใน
ทุกด้าน ดังนั้นจึงเน้นการปฏิบัติที่ไม่ประมาท กล่าวคือ เน้นให้ดาเนินชีวิตบนทางสายกลาง ก็คือ ความ
พอเหมาะพอดี

5. ครูจัดการเรียนรู้โดยให้นักเรียนทากิจกรรม “โอ่งพอเพียง” โดยนักเรียนช่วยกันหารายจ่ายของ
ครอบครวั และชว่ ยกันวิเคราะห์รายจ่ายที่จาเปน็ และไม่จาเป็น เพอื่ ตัดรายจา่ ยทไ่ี มจ่ าเปน็ ออกไป

6.ครูและผู้เรียนจัดการเรียนรู้โดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย คือ กระบวนการเรียนรู้ท่ีผู้สอนจัดกลุ่ม

ผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยประมาณ 4 – 8 คน ให้ผู้เรียนในกลุ่มมีโอกาสสนทนาแลกเปล่ียนข้อมูลความคิดเห็น

ประสบการณ์ในประเด็นหรือปัญหาที่กาหนด และสรุปผลการอภิปรายออกมาเป็นข้อสรุปของกลุ่ม เกี่ยวกับ

หลกั ปรชั ญาพอเพยี งกบั การจดั การผลติ ภัณฑ์ท้องถน่ิ ดังน้ี

กล่มุ ท่ี 1แนวทางการพ่ึงพาตนเอง

กลมุ่ ท่ี 2การจัดการผลิตภัณฑท์ ้องถิ่น

7.ครูและผเู้ รียนจดั การเรียนรู้โดยใช้การอภิปรายกลุม่ ยอ่ ยตอ่ เนอื่ งจากขอ้ 6 เร่อื งหลักธรรมาภบิ าล

กลุ่มที่ 3ความหมายและความสาคัญของธรรมาภบิ าล

กลมุ่ ท่ี 2หลักการพ้นื ฐานของการสร้างธรรมาภบิ าล

8.ครูแนะนาให้ผู้เรียนรู้จักการนาเอาความพอเพียงไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นความพอประมาณ

ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจาเปน็ ที่ต้องมีระบบภูมคิ มุ้ กันในตัวที่ดพี อสมควรต่อผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากการ

เปลี่ยนแปลงทงั้ ภายนอกและภายใน การตัดสินใจและการดาเนนิ กิจกรรมตา่ งๆใหอ้ ยใู่ นระดับพอเพียงนัน้ ต้อง

อาศยั ทง้ั ความรู้และคณุ ธรรมเป็นพื้นฐาน

9.ครูแนะนาให้ผู้เรยี นรู้จักช่วยเหลือสังคมส่วนรวม ร้จู ักประหยัดพลังงาน เช่น เปิดปดิ ไฟฟ้าในเวลาท่ี

เหมาะสม

10.ครูเน้นปฏิบัติการงานด้วยความระมัดระวัง และให้สามารถนาไปใช้ได้จริง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันใน

ตัวเอง และเสนอแนะการนาความรู้ไปประกอบอาชพี เพ่ือสร้างรายไดใ้ ห้แกต่ นเองและครอบครวั ต่อไป

ข้นั สรปุ และการประยุกต์

11.ครูสรุปบทเรียน ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาพอเพียงกับการจัดการผลิตภัณฑ์
ท้องถน่ิ และหลักธรรมาภิบาล โดยการถามตอบ

12.ทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ และประเมินตนเองจากแบบประเมินตนเอง พร้อมทา

กจิ กรรมการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

13.ประเมินผู้เรียน

แบบประเมนิ ประสบการณ์พนื้ ฐานการเรียนรู้

ชอื่ ผู้เรียน ประสบการณพ์ ้ืนฐานการเรียนรู้ วธิ กี ารเรียนรู้
ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน

1.
2.
3.
4.
5.

9. ส่ือการเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้
1.หนงั สอื เรียน วิชาการจดั การผลิตภัณฑท์ ้องถิน่
2.รปู ภาพผลติ ภัณฑท์ อ้ งถ่นิ
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน “โอง่ พอเพยี ง”
4.แผ่นใส
5.สื่ออิเล็กทรอนิกส์ , VDO และสือ่ PowerPoint
6.แบบประเมินผลการเรยี นรู้

หลกั ฐาน
1.บนั ทึกการสอน
2.ใบเชค็ รายชอื่
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

10. การวดั ผลและประเมินผล
วธิ ีวดั ผล

1.สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2.ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
3.สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ
4.ตรวจกจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรมนาความรู้
5.ตรวจใบงาน
6.ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ
7.การสังเกตและประเมินพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

เครื่องมอื วัดผล
1.แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2.แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยคร)ู
3.แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยผูเ้ รียน)
4.แบบประเมินกิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรมนาความรู้
5.แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
6.แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ

7.แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและผู้เรยี นรว่ มกนั
ประเมิน

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1.เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไม่มชี ่องปรบั ปรงุ
2.เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3.เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4.ตอบคาถามในกิจกรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้จงึ จะถือวา่ ผา่ น
เกณฑ์การประเมนิ มเี กณฑ์ 4 ระดบั คอื 4= ดีมาก, 3 = ด,ี 2 = พอใช้ , 1= ควรปรบั ปรงุ
5.กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ ่าน คอื 50%
6.แบบประเมินผลการเรยี น และแบบฝึกปฏบิ ัตริ ูม้ ีเกณฑผ์ า่ น 50%
7แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนข้ึนอย่กู บั การ
ประเมินตามสภาพจริง
กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ทากจิ กรรมใบงาน และแบบฝึกปฏบิ ัติ
2.อา่ นและทบทวนเน้อื หา

11. คุณธรรมทสี่ อดแทรก
ครูแนะนาให้ผู้เรียนรู้จักการนาเอาความพอเพียงไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นความพอประมาณ

ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่ต้องมรี ะบบภูมคิ ุ้มกนั ในตวั ท่ีดพี อสมควรต่อผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากการ
เปล่ียนแปลงทง้ั ภายนอกและภายใน การตัดสินใจและการดาเนนิ กิจกรรมต่างๆให้อยู่ในระดับพอเพียงน้ัน ต้อง
อาศัยท้งั ความรู้และคุณธรรมเป็นพนื้ ฐาน

นักเรียนทากิจกรรม “โอ่งพอเพียง” เพื่อหารอยร่ัว ซึ่งเปรียบถึงค่าใช้จ่ายท่ีมี เพื่อให้นักเรียนรู้คิด
วิเคราะห์ การใช้จ่ายเงิน เพื่อฝึกนิสัยการใช้จ่าของตนเองอย่างพอประมาณ อย่างมีเหตุผล และประหยัด ใช้
จา่ ยเท่าท่จี าเปน็ เพอื่ สร้างนสิ ยั การออมเงิน

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเน้นใหช้ ุมชนนาทรัพยากรท่ีมีอยู่ในท้องถน่ิ มาผลิตสินค้าสาหรับกิน
สาหรับใช้ในครัวเรือนถือเป็นการพึ่งพาตนเอง หากเหลือกินเหลือใช้ให้นาผลิตภัณฑ์นั้นจาหน่ายต่อเพ่ือสร้าง
รายได้ ทาให้ชุมชนเข้มแข็ง โดยมีการพัฒนาสินค้าให้มีคุณภาพให้เหมาะสม มีเอกลักษณ์ผสมผสานกับ
วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน สามารถกระตนุ้ ความตอ้ งการของผ้บู ริโภคได้ โดยในการดาเนนิ การจะต้องรู้จกั ใช้ความรู้ทาง
วิชาการมาพิจารณาประกอบการวางแผน รวมถึงจะต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต อดทนและ
พากเพยี ร

การจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน นาพื้นฐานหลักการพ่ึงพาตนเอง โดยการนาทรัพยากรท่ีมีอยู่ในท้องถิ่น
ผสานเข้ากับวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชุมชน จากการร่วมใช้ความคิดสร้างสรรค์ของชุมชนผลิตผลิตภัณฑ์
เพ่ือจาหน่ายในตลาดภายนอกชุมชนท้ังในและต่างประเทศ มีการนาความรู้ด้านวิชาการมาใช้ในการวางแผน
อีกทั้งปฏบิ ัตหิ น้าทีด่ ้วยความซือ่ สตั ยส์ ุจริต อดทน และพากเพียรเชน่ เดยี วกัน

กิจกรรม “โอง่ พอเพยี ง”

รูรว่ั = รายจา่ ย

ให้พวกเราสารวจรรู ว่ั ของโอ่งพอเพยี งของพวกเรา และคดิ วา่ พวกเราควรจะทาอยา่ งไรที่จะทาให้โอ่งของพวก
เราเตม็ และถา้ เราตอ้ งการใหน้ า้ เต็มโอ่ง พวกเราจะเลอื กทาอยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
.. .........................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ให้พิจารณารายจา่ ยตา่ งๆ ในตารางตอ่ ไปน้ี แล้วทาเครอื่ งหมาย ลงในตารางวา่
รายจา่ ยรายการใดเป็น Need และรายจา่ ยรายการใดเปน็ Want

ท่ี รายการรายจา่ ย รายจา่ ยที่จาเปน็ รายจา่ ยทีไ่ ม่จาเปน็
คา่ อาหาร
คา่ เสือ้ ยืดตัวใหม่
คา่ มือถอื รุน่ ใหม่
คา่ สมาชกิ อินเตอร์เนต็ บ้าน
ค่าสบู่ ยาสฟี นั แชมพสู ระผม
ค่านา้ อัดลม
ค่ารถยนต์รนุ่ ใหม่
ค่าคอมพวิ เตอร์
ค่าไฟฟา้
ค่านาฬกิ าขอ้ มือ
คา่ บัตรเติมเงิน
คา่ หนงั สือเรยี น
คา่ นา้ มนั รถ
ค่าเชา่ บ้าน
กระเปา๋ ใบใหม่
เครอื่ งสาอาง
บตั รคอนเสริ ต์
งานสงั สรรคพ์ บเพือ่ นเก่า
บตั รดูภาพยนตร์
ท่องเทย่ี วในวันหยดุ

ใหน้ กั เรียนบอกคา่ ใช้จา่ ยทม่ี ขี องครอบครวั ในแตล่ ะเดอื น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ให้นกั เรียนแบง่ รายจา่ ยออกเป็นรายจา่ ยท่ีจาเปน็ และรายจ่ายที่ไมจ่ าเปน็

รายจา่ ยท่จี าเป็น รายจา่ ยทไ่ี มจ่ าเป็น
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................
............................................................... ..........................................................................

ประเมนิ ผู้เรยี น “กจิ กรรมโอง่ พอเพียง”

ชื่อผู้เรียน ธรรมชาติของผู้เรียน วิธกี ารเรียนรู้
ความสนใจ สตปิ ัญญา วุฒิภาวะ

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

เรอ่ื งเลา่ การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการจดั การเรียนรูเ้ พอ่ื เสรมิ สร้างอปุ นิสัยพอเพียง
เรอื่ ง ทกั ษะการเกษตรและการปรับตวั ให้ชวี ติ มีสุข

************************************************************
ผู้เขียน/ผ้เู ลา่ นางสาวจารุวรรณ มนูญโย

ตำแหนง่ ครู กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ(งานอาชีพ)
โรงเรยี นอทู่ อง จังหวัดสุพรรณบุรี

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช ทรงมีพระราชดำริชี้แนะ แนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด คำว่า เศรษฐกิจ
พอเพียงตั้งอยู่บนพืน้ ฐานของทางสายกลาง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมคิ ุม้ กันที่ดใี นตวั
มีความรู้คู่คุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิต ปัจจุบันสถานศึกษาต่าง ๆ ได้น้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะของความ
พอเพียงที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตกันมาสักพักแล้ว ซึ่งในขณะนี้ได้เห็นแล้วว่า จาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ส่งผลให้สภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยในปัจจุบันกำลัง
ตกต่ำ คนไทยหลายคนตกงาน ไม่มีงานทำ ครอบครัวเกิดความขัดสน เกิดปัญหาความยากจนและปัญหา
ครอบครวั ตา่ ง ๆ ตามมา แต่คนอกี สว่ นหน่งึ กย็ งั คงใชเ้ งินอยา่ งฟุ่มเฟอื ย ไมเ่ กิดความพอดีในตนเองจนก่อให้เกิด
หนส้ี ินโดยไม่รตู้ วั

จากสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่ข้าพเจ้าได้พบเห็นในปัจจุบันจากครอบครัวของนักเรียนใน
โรงเรียนซ่ึงหลายคนประสบปัญหาที่กล่าวไปข้างต้น การที่ข้าพเจ้าเปน็ ครูสอนในรายวิชาด้านการเกษตรกรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ(งานอาชีพ) ซึ่งเป็นวิชาเกี่ยวกับทักษะการปฏิบัติงานด้านการเกษตรกรรม
ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ให้นักเรียนได้ลงมือฝึก
ปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน เหมาะสมกับเวลาที่กำหนด โดยใช้ตนเองเป็นแบบอย่างในการ
ปฏิบัติงานให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ เกิดทักษะ และรักในการทำปฏิบัติงานเกษตร ออกแบบจัดสรร
พื้นที่เกษตรในโรงเรียนให้ใช้ประโยชน์ในการสาธิตการปฏิบัติงานได้หลายหลาย เช่น การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ
การเลีย้ งสัตว์เศรษฐกิจ การขยายพันธุพ์ ืช การปลูกพืชผัก สมุนไพร ไม่ดอกไมป้ ระดบั ไม้ผล นำไปส่กู ารแปรรูป
อาหาร การทำบรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลผลิตในแปลงเกษตร การสำรวจตลาดและความ
ตอ้ งการบริโภคเพ่ือจัดจำหน่าย การประยกุ ตใ์ ช้ของเสียจจากการทำเกษตรกรรมท่ีเสื่อมสภาพใหเ้ กิดประโยชน์
สงู สุด เชน่ การทำนำ้ หมักชีวภาพ การทำป๋ยุ หมัก การนำกลับไปใช้ใหม่ในงานเกษตรอ่นื ๆ เป็นตน้ การจัดการ
เรยี นการสอนนี้ทำให้นักเรียนเกดิ ความรู้ ทักษะ ความรบั ผิดชอบ รู้จักการแบง่ ปันซ่ึงกนั และกนั และมีความสุข
ในการปฏิบัติงาน นักเรียนนำหลัก “3 ห่วง 2 เงื่อนไข” ไปใช้ในการเรียนรู้ให้เกิดการตัดสินใจปฏิบัติงานใน
ระดับพอเพียงอยา่ งมีเหตุผล รจู้ กั ความพอดที ีไ่ ม่มากไปน้อยไป ไมเ่ บยี ดเบยี นผู้อนื่ และพร้อมรับผลกระทบและ
การเปลี่ยนแปลงในด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม เพื่อเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตและ
ประกอบอาชพี สร้างรายไดใ้ นอนาคตของตนเองและครอบครวั ตอ่ ไปได้

นอกจากการจดั การเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรยี นรู้ในห้องเรียนแล้ว ขา้ พเจา้ ยังได้นำนักเรียน
ไปศึกษาดูงานตามบ้านของเกษตรกรโดยตรง และได้ให้นักเรียนเป็นแกนนำและผู้ช่วยวิทยากรเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ความรู้สู่ชุมชน ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด และเกิดการช่วยเหลือพึ่งพากัน
ระหว่างคนในชุมชน นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการทำงาน กล้าคิดกล้าแสดงออก โดยมีข้าพเจ้า
เป็นผู้คอยเติมเต็มความรู้ด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องและไม่ยึดติดความคิดตัวเองเป็นใหญ่ ทำให้การทำงานร่วมกัน
ระหว่าง ครู นักเรียนมีความสุขมากขึ้น นักเรียนก็สามารถนำการทำงานในส่วนนี้ไปใช้ประโยชน์ในการจัด
กิจกรรมอื่น ๆ ภายในโรงเรียนต่อไปได้อีก เช่น โครงการโรงเรียนปลอดขยะ โครงการTo be Number One
เป็นต้น

************************************************************



นวัตกรรมการจดั การเรียนร้บู ูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้วยวิธีปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ (Best Practice)

กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี (งานอาชพี ) โรงเรียนอู่ทอง

เรอ่ื ง การเพาะเหด็ เศรษฐกจิ และการจัดการผลผลติ สู่นวัตกรรมเหด็ มอื ถือ
ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1

ผรู้ บั ผดิ ชอบ
นางสาวจารวุ รรณ มนูญโย

ตำแหนง่ ครู

โรงเรยี นอู่ทอง
อำเภออู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบุรี
สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 9

นวัตกรรมการจัดการเรียนรูบ้ ูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ดว้ ยวิธีปฏบิ ตั ิทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice)

กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี (งานอาชพี ) โรงเรยี นอทู่ อง

ช่ือผลงาน : การเพาะเห็ดเศรษฐกิจและการจดั การผลผลิตสู่นวตั กรรมเหด็ มือถือ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1
ผรู้ ับผดิ ชอบ : นางสาวจารวุ รรณ มนูญโย

1. ที่มาและความสำคัญ
กลุ่มสาระการงานอาชีพ(งานอาชีพ) โรงเรียนอู่ทอง ได้ดำเนินการการจัดการเรียนการสอนตาม

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1
การดำรงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการ
ทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหา
ความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนสิ ัยในการทำงาน มจี ิตสำนึกในการใชพ้ ลังงาน ทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อม เพือ่
การดำรงชวี ิตและครอบครวั และสาระที่ 4 การอาชีพ มาตรฐาน ง4.1 เข้าใจ มที กั ษะที่จำเปน็ มปี ระสบการณ์
เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ จาก
ประสบการณ์การสอนรายวชิ า การผลติ เชื้อเหด็ (ง20201) และการเพาะเหด็ อยา่ งงา่ ย(ง20202) ช้ันมัธยมศกึ ษา
ปที ่ี 1 พบวา่ นักเรียนทเี่ ข้าเรยี นในรายวชิ าดงั กลา่ วมีความสนใจในรายวชิ าแต่ยงั ไมม่ พี ื้นฐานในการเกษตรกรรม
โดยเฉพาะการเพาะเห็ดเศรษฐกิจ ตั้งแต่ความรู้เรื่องชนิดของเห็ด ขั้นตอนการผลิตเห็ด การดูแล และการ
จัดการผลผลิต เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการปฏิบัติงานการเพาะเห็ดเศรษฐกิจอย่าง
เปน็ ขัน้ ตอนมากขน้ึ จงึ พฒั นาการเรียนการสอนบูรณาการสอดแทรกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งให้ผู้เรียนได้
ลงมือปฏิบัติงานจริงตามข้ันตอนต่าง ๆ รู้จักกระบวนการทำงาน มีความรับผิดชอบ รู้จักคิดแกไ้ ขปัญหาในการ
เพาะเห็ดที่เกิดขึ้นจริง ตลอดจนสามารถคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้ ซึ่งทางผู้สอนได้ทำการคิดค้นนวัตกรรม
“เห็ดมือถือ” เพื่อเป็นนวัตกรรมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้การเพาะเห็ดเศรษฐกิจและการจัดการผลผลิตตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง คือ มีเหตผุ ล มีความพอประมาณ มีภูมิคมุ้ กันในตัวท่ดี ี เพ่อื นักเรยี นสามารถ
นำความรู้และทักษะที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนาและการประกอบอาชีพในอนาคต ก่อให้เกิดรายได้กับตนเอง
ครอบครัว และชุมชน อีกทั้งยังสามารถนำความรู้ทีไ่ ด้รับไปเผยแพร่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคนในชุมชนและ
ผสู้ นใจศึกษาต่อไป

2. จดุ ประสงค์และเปา้ หมายของการดำเนินการ
1) เพอ่ื พฒั นานวตั กรรมดา้ นการจดั การศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับบริบทโรงเรียน
2) เพื่อพัฒนาทักษะในการปฏิบัติงานของผู้เรียนด้านการเพาะเห็ดและการจัดการผลผลิตเห็ดทั้งใน

และนอกหอ้ งเรยี น
3) เพอ่ื เผยแพรแ่ ละแลกเปล่ียนเรยี นรู้ด้านการเพาะเห็ดและการจดั การผลผลิตเห็ดสู่ชมุ ชนและผู้สนใจ

ศกึ ษา

3. ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน
- ก่อนปี พ.ศ. 2560 มีการจัดการเรียนการสอนในวิชาที่เกี่ยวกับเพาะเห็ด ทั้งในภาคทฤษฎีและฝึก

ปฏิบตั ิงาน ในรายวชิ าต่าง ๆ ดังนี้
- รายวิชา ง20201 การผลิตเช้อื เห็ด ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1
- รายวชิ า ง20202 การเพาะเห็ดอย่างงา่ ย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1
- รายวชิ า ง30271 การผลติ เช้ือเหด็ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4
- รายวชิ า ง30272 การเพาะเห็ดอยา่ งงา่ ย ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6
- รายวชิ า ง30272 การเพาะเหด็ อยา่ งงา่ ย ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6
(วิชาเลอื กตามความถนดั )
- กิจกรรมชมุ นุม เห็ดพอเพียง

- ปี พ.ศ. 2560 พัฒนานวัตกรรม “เห็ดมือถือ” เพื่อใช้ในการเพาะเห็ดนางฟ้า เห็ดนางนวล
เห็ดนางรม และเห็ดนางรมสีทอง ติดตั้ง QR Code ไว้ทุกกล่อง เพื่อใช้สมาร์ทโฟนข้อมูลการจัดทำนวัตกรรม
และการใช้ไดง้ ่ายขนึ้

ภาพท่ี 1 นวตั กรรม “เห็ดมอื ถือ” ปี 2560

- ปี พ.ศ. 2561 – 2562 พัฒนาขยายผลนวัตกรรม “เห็ดมือถือ” จากเดิมที่เคยเพาะเห็ด
นางฟ้า เห็ดนางนวล เห็ดนางรม และเห็ดนางรมสีทอง เป็นรูปแบบนวัตกรรม “เห็ดมือถือ” สำหรับเพาะเห็ด
Milky ซึ่งมีการเปิดดอกและการดูแลที่ซับซ้อนกว่าเห็ดทั่วไป และเป็นเห็ดชนิดใหม่ที่น่าสนใจในการศึกษา
เรยี นรู้

ภาพที่ 2 นวัตกรรม “เหด็ มือถอื ” ปี 2562 (เห็ดมิลกี้)
- ปี พ.ศ. 2563 พฒั นาขยายผลนวตั กรรม “เห็ดมือถือ” จำหนา่ ยออกสชู่ มุ ชน มีการออก
เผยแพร่ความรสู้ ชู่ มุ ชนในดา้ นการเพาะเหด็ เศรษฐกิจตา่ ง ๆ เชน่ เหด็ นางฟ้า เหด็ ฟาง เห็ดมิลก้ี และการจดั การ
ผลผลติ ตลอดจนแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเกษตรกรในชุมชน และมกี ารมาศึกษาดูงานการเพาะเหด็ ภายในศนู ย์
ศาสตร์พระราชาของโรงเรยี นอู่ทอง

ภาพที่ 3 การเพาะเห็ดฟางลงทุ่งในชมุ ชน

ภาพท่ี 4 นกั เรยี นอธบิ ายและสาธติ การเพาะเหด็ ต่าง ๆ ในศูนย์ศาสตรพ์ ระราชา

ลำดับขั้นตอนการดำเนินการพัฒนา มีดงั นี้
คดั เลือกสมาชิกและประชุมคณะกรรมการ

ศึกษาทบทวนข้อมลู การเพาะเห็ด

ขออน-มุ ตั ิ ประชมุ วางแผน ระดมทุน
จดั หาวสั ดุอ-ปุ กรณ์ เขียนโครงการ ลงมือปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอน
ออกแบบแบบส-อบถาม ดำเนินการตามโครงการ รายงานหรือจดั แสดงผลงาน
สรุปและประเมินผล
แผนภาพแสดงขนั้ ตอนการดำเนินงาน

ภาพท่ี 5 นักเรียนแกนนำ รุน่ ปี 2561

4. ผลการดาํ เนินงาน/ผลสมั ฤทธ์/ิ ประโยชนทไ่ี ดร้ ับ
1) จากการสร้างและนำนวัตกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งเห็ดเศรษฐกิจและการจัดการผลผลิตสู่อาชพี ที่ยั่งยนื

มาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนใหส้ อดคล้องกับบริบทโรงเรียนตามหลักสูตรต่อเน่อื งเช่ือมโยง พบว่า นักเรียน
ให้ความสนใจในการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติงานด้านอาชีพการเกษตรเพิ่มมากขึ้น มีทักษะกระบวนการตลอดจน
ความรับผิดชอบในการดูแลรักษาผลผลิตได้อย่างเป็นขั้นตอนและมีความต่อเนื่ องส่งผลให้การจัดการเรียนรู้
ประสบความสำเรจ็ มากข้นึ

2) จากการสร้างและพัฒนานวัตกรรม “เห็ดมือถือ” เพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้เรื่องการเพาะเห็ด
เศรษฐกจิ สง่ ผลให้นักเรยี นสามารถเข้าใจขน้ั ตอนวิธีการเพาะเห็ดและการจัดการผลผลติ เห็ดได้มากข้ึน มีความ
สนใจความรับผดิ ชอบ ในการปฏบิ ตั ิงาน กลา้ คดิ กลา้ ทำ กล้าแสดงออกเพื่อดำเนินงานและต่อยอดนวัตกรรม


Click to View FlipBook Version