The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูล ศรร02-อู่ทอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nalinee010409, 2021-03-22 19:22:56

ข้อมูล ศรร02-อู่ทอง

ข้อมูล ศรร02-อู่ทอง

นวตั กรรมการจดั การเรยี นรูบ้ รู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ดว้ ยการปฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลศิ (Best Practice)

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรยี นอูท่ อง

เรอ่ื ง

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งกับทกั ษะการคิดวเิ คราะหผ์ ่านอ่ทู องอู่อารยธรรม

ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑

ผ้รู ับผิดชอบ
นางสาวพมิ พ์ธีรา อายวุ ฒั น์

ตำแหน่ง ครู

โรงเรยี นอทู่ อง
อำเภออทู่ อง จงั หวดั สพุ รรณบุรี
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต ๙

นวัตกรรมการจดั การเรยี นรบู้ ูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ด้วยการปฏบิ ัติทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice)

กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรยี นอทู่ อง
............................................................................................................................
ชอื่ ผลงาน : ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั ทกั ษะการคดิ วิเคราะหผ์ ่านอทู่ องอู่อารยธรรม

ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑

ผูร้ ับชอบ : นางสาวพิมพธ์ รี า อายุวัฒน์ ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นอทู่ อง

๑. ที่มาและความสำคัญ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนอู่ทอง ไดด้ ำเนินการจัดการเรียนการ

สอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และได้จัดให้มีการเรียนการสอนใน
รายวิชาเพิ่มเติม คือรายวิชา ส๒๐๒๕๔ เมืองโบราณอู่ทอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โดยกำหนดผลการ
เรียนรู้ ข้อแรกคือเรียนรู้ความสำคัญของแผนที่และนำมาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงข้อมูลประวัติศาสตร์
และขอ้ สองวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บปจั จัยทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงเมืองอทู่ องจากอดตี สู่ปจั จุบนั ได้

จากการจัดการเรียนการสอนพบว่า การเรียนในห้องเรียนและการเรียนจากใบความรู้ รวมถึงสื่อการ
สอนต่างๆ ยังทำให้นักเรียนเห็นภาพได้ไม่ชัดเจน ดังนั้น ในทุกปีการศึกษา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
โรงเรียนอู่ทองทุกคน จะได้ไปเรียนในแหล่งเรียนรู้ใกล้โรงเรียนคือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง ซ่ึงจะทำให้
นักเรียนเกิดความสนใจและตั้งใจศึกษาในรายวิชาน้ีมากขึ้น และเป็นแนวทางหนึ่งในการดำเนินงานการพัฒนา
ทั้งครูและผู้เรียนที่จะสามารถส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมไทย ที่ได้นำแนวคิด
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการพัฒนาให้สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุก
ดา้ น ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม อยา่ งมั่นคงและย่ังยืน นอกจากนน้ี กั เรียนยังสามารถ
นำความร้แู ละทักษะท่ีได้รบั ไปใช้ในการพฒั นาและการประกอบอาชีพในอนาคตได้ เช่น การเปน็ มคั คเุ ทศก์ ซ่ึง
จะก่อให้เกิดรายได้กับตนเอง ครอบครัว และชุมชน อีกทั้งยังสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่และ
แลกเปล่ยี นเรียนร้กู บั คนในชมุ ชนและผ้สู นใจศึกษาต่อไป
๒. จดุ ประสงค์และเป้าหมายของการดำเนินงาน

๑. เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการวเิ คราะห์ สังเคราะหข์ ้อมูลของนกั เรยี น ท่ไี ดร้ ับมาจากแหล่งต่างๆในชมุ ชน
โดยจัดทำเป็นเรอ่ื งราวเชงิ ประวตั ิศาสตร์ของชมุ ชน

๒. เพอ่ื เผยแพร่ขอ้ มูลและแลกเปล่ยี นเรียนรู้กับชุมชน
๓. เพ่ือให้นกั เรียนมีความรักและภาคภูมิใจในท้องถน่ิ ของตนเอง
๓. ข้นั ตอนการดำเนินงาน
ในการสอนเร่ืองนข้ี าพเจ้ามีวธิ ีการจัดการเรียนรูแบบให้นักเรยี นได้ไปศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน
ควบคู่ไปกับการเรียนในห้องเรียน มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ที่ได้รับมาจากแหล่งต่างๆในชุมชน เพื่อ
จัดทำเป็นเรื่องราวเชิงประวัติศาสตร์ของชุมชน และให้นักเรียนฝึกการทํางานเปนกลุม โดยกำหนดผู้ที่มี
บ้านเรือนใกล้กันอยู่กลุ่มเดียวกัน ซึ่งเป็นการกำหนดขอบเขตการศึกษาพื้นที่เพื่อจัดทำแผนที่ชุมชน(หมู่บ้าน)
ของกลุ่มตนเอง โดยนักเรียนจะไดเรียนรูและปฏิบัติตามหลัก ๓ หวง ๒ เงื่อนไข คือ สามารถทํางานไดตาม
ความสามารถของแตละคน (พอประมาณ) รวมกันคิดตามประเด็นที่กําหนดให (มีเหตุผล) ทํางานกลุมรวม
กนั อยางมคี วามสุข (มีภูมคิ ุมกันทด่ี )ี

๔. ผลการดำเนนิ งาน/ผลสมั ฤทธิ/์ ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั
จากการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนแลวได้วดั และประเมินผลผูเรยี นเปนรายบุคคล โดยประเมินผล

จากการตอบคําถามที่กําหนดเปนการสรุปความรู ซึ่งนักเรียนตองตอบถูก รอยละ ๗๐ จึงจะผานเกณฑ โดยใช
แบบประเมินผลที่ระบุเกณฑการใหคะแนนอยางชัดเจน พรอมทั้งประเมินผลจากการสังเกตการทํางานของ
นักเรียน ผลการดำเนนิ งานพบว่า นกั เรยี นมีทักษะการคิดไตร่ตรอง วิเคราะห์ สังเคราะหข์ ้อมูลอย่างเป็นระบบ
มีความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆของชุมชน มีการเขียนใหอานงาย สะอาด เปนระเบียบ และระบายสี
อย่างสวยงาม ซึ่งเปนการเสริมสรางมารยาทในการเขียน นอกจากนี้ยังทำให้นักเรียนฝึกความอดทนเพียร
พยายามทำงานในหน้าท่ีทรี่ ับผิดชอบ รจู้ ักใชส้ ตปิ ัญญา ใชเ้ หตุผลในการคิดก่อนตัดสินใจทำกจิ กรรมตา่ งๆ และ
ยงั ทำใหน้ ักเรียนเกิดความรักและภาคภมู ิใจในท้องถน่ิ ของตนเองอีกดว้ ย
๕. ปัจจัยความสำเรจ็

๑. นักเรียนเรยี นรโู้ ดยการศึกษาและลงมือปฏบิ ัติ
๒. นักเรียนได้ฝกึ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์และสังเคราะหข์ ้อมูล
๓. นกั เรยี นสามารถนำความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม
๖. บทเรียนทไี่ ด้รบั
การเรียนรู้เกี่ยวกับหลักสูตรท้องถิ่นเมืองโบราณอู่ทอง ช่วยส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เรียนรู้อย่าง
เต็มศักยภาพ ทั้งจากการเรียนรู้ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน นอกจากนั้นจากการที่ข้าพเจ้าได้นำหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยนักเรียนจะได้เรียนรู้และปฏบิ ัติตามหลัก
๓ หว่ ง ๒ เงอื่ นไข คอื สามารถทำงานได้ตามความสามารถของแต่ละคน (พอประมาณ) ร่วมกันคิดตามประเด็น
ท่ีกำหนดให้ (มเี หตผุ ล) ทำงานรว่ มกนั อยา่ งมีความสขุ (มีภมู ิคุ้มกันทดี่ )ี
๗. การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรบั /รางวัลทไี่ ด้รบั
๑. ครผู ู้สอนในระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ทา่ นอ่ืนๆ ได้นำการจดั การเรยี นรู้ไปใช้ในการจดั การเรียนรู้
ของตนเอง
๒. ครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีส่วนเกี่ยวข้องในการ
ดำเนนิ การจดั การเรียนรู้และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนของตนเอง

การวิเคราะห์หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับแผนการจดั การเรียนรู้ เร่ือง เรียนรูเ้ มืองอู่ทองบ้านเรา

วตั ถ(ุ เศรษฐกิจ) การเชอ่ื มโยง ๔ มติ ิ วัฒนธรรม

เห็นคุณคา่ ของ สังคม ส่งิ แวดล้อม มีความรกั และภาคภมู ิใจ
โบราณสถาน ในท้องถิ่นของตนเอง
โบราณวตั ถุ การมีส่วนร่วมของชมุ ชน ไดร้ จู้ ักสภาพพื้นท่ี
ในทอ้ งถน่ิ ทต่ี นเอง
อาศัยอยู่

ความพอประมาณ
- พอประมาณกับเวลาในการทำ
กจิ กรรม
- พอประมาณกับความสามารถ
ในการวเิ คราะห์ของตนเอง

-แ- ลใพชะฒั เ้ปวไอป-นทรลา่รพาะยนาะฒัคววใวแวชตัา่นัตผาเ้ิศงคคาิศวนมใาคววลหาทรสาวสาา้เู้เแ่ีตกกมาวมตลรมดิยี่า่มรมอ์ะงรวปอ์ีเีเใาหู้เกหารหกรับรตะตีย่ยเ้ ยกโุผกุผวธยธิดาลกลรชรรรับรนอมมก์่าไานทรแยผนที่ มีภูมคิ ุ้มกันในตวั ทด่ี ี
ประโยชน์ - มคี วามรอบคอบในการอ่านและ
ตอบคำถาม
- เป็นผ้ใู ฝร่ ู้ใฝ่เรียน
- มีการวางแผนการทำงานอย่าง

เป็นข้นั ตอน

เงื่อนไขความรู้ เง่ือนไขคณุ ธรรม

๑. มคี วามรเู้ ก่ียวกบั การอ่านและเขยี นแผนที่ ๑. ความมวี นิ ยั

๒. รู้จกั ใชท้ กั ษะการวเิ คราะห์ การอา่ น เพอ่ื แสวงหา ๒. ความตรงตอ่ เวลา

ความรู้ ๓. ความอดทน

๓. เขา้ ใจการเปลี่ยนแปลงด้านตา่ งๆของชมุ ชน ๔. รกั และภาคภมู ิใจในท้องถิ่นของตนเอง

แผนการจัดการเรียนรู้เรอ่ื ง เรียนรูเ้ มืองอ่ทู องบา้ นเรา (บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง)

รายวิชา ส20254 เมอื งโบราณอูท่ อง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โรงเรียนอ่ทู อง อำเภออทู่ อง จังหวดั สุพรรณบรุ ี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 อู่ทอง อ่อู ารยธรรม เวลา 5 คาบ

แผนการจดั การเรียนรู้เรื่อง เรียนรู้เมอื งอทู่ องบ้านเรา

1. ผลการเรียนรู้
1. เรยี นรู้ความสำคญั ของแผนทีแ่ ละนำมาวิเคราะหห์ าความสมั พนั ธ์เชิงขอ้ มลู ประวตั ศิ าสตร์
2. วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบปจั จยั ทสี่ ง่ ผลใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงเมืองอ่ทู องจากอดตี สูป่ ัจจบุ ันได้

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถอธิบายความสำคญั ของแผนท่แี ละนำมาวเิ คราะห์หาความสมั พันธเ์ ชงิ ข้อมลู ประวตั ศิ าสตร์
2. สามารถเขียนและอ่านแผนทไ่ี ด้
3. สามารถวิเคราะห์ อธิบายเปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเมืองอู่ทองจากอดีตสู่

ปจั จุบนั ได้
3. สาระการเรยี นรู้

1. ความสำคญั ประโยชน์ สว่ นประกอบและสญั ลักษณ์ท่เี ป็นสากลของแผนที่
2. การอ่านและการแปลความหมายจากขอ้ มูลทร่ี ะบุในแผนท่ี
3. วิธกี ารสำรวจและจัดทำแผนทห่ี มบู่ า้ นของตนเอง
4. วธิ ีการเพอ่ื ใหไ้ ด้มาซงึ่ ข้อมูลและการบนั ทึกข้อมูลที่ได้จากบุคคล แหลง่ ตา่ งๆในชุมชน
5. ปจั จัยท่มี ีอิทธิพลตอ่ การเปลยี่ นแปลงด้านตา่ งๆของชุมชน เชน่ ภมู ศิ าสตร์ วฒั นธรรม อาชีพ ฯ
6. วิธีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ที่ได้รับมาจากเหล่งต่างๆในชุมชน จัดทำเป็นเรื่องราวเชิง
ประวตั ศิ าสตรข์ องชมุ ชน
4. สาระสำคัญ
แผนที่ใช้วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของชุมชนตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยมีข้อมูลหลักฐานที่สามารถ
เชื่อมโยงความสมั พนั ธถ์ งึ ประวตั ศิ าสตรช์ ุมชนได้
5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
5.1 ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 ความสามารถในการคดิ

1) ทักษะการสรา้ งความรู้ 2) ทกั ษะการประยกุ ต์ใชค้ วามรู้
5.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต

6. คณุ ลักษะที่พงึ ประสงค์
1. ใฝ่เรยี นรู้
2. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
3. รักความเป็นไทย

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชวั่ โมงที่ 1 – 3 กจิ กรรมนักสำรวจเพอ่ื การเรยี นรู้แผนท่ี

1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เร่ือง เรียนรู้เมอื งอู่ทองบา้ นเรา
2. แบง่ กลุ่มนกั เรียนกลุม่ ละ 4 – 5 คน ศกึ ษาแผนที่(หลายประเภท) ทคี่ รูนำมาให้นกั เรียนดู เช่น แผน
ที่ประเทศไทย แผนที่เส้นทางคมนาคม แผนที่แสดงภูมิอากาศ แผนที่แสดงพื้นที่ เพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับ
ความสำคญั ประโยชน์ ส่วนประกอบและสญั ลักษณ์ของแผนท่ี
3. นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการจัดทำแผนที่เดินดินและระบุเครื่องหมายแสดงในแผนท่ี
นำเสนอตัวอยา่ งการจัดทำแผนทเ่ี ดนิ ดิน เพื่อใหน้ ักเรยี นได้ศึกษาเปน็ แบบอย่าง
4. แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4 – 5 คน (โดยกำหนดผู้ที่มีบ้านเรือนใกล้กันอยู่กลุ่มเดียวกัน) กำหนด
ขอบเขตการศกึ ษาพนื้ ทเ่ี พ่ือจัดทำแผนท่ชี มุ ชน(หมู่บา้ น)ของกลมุ่ ตนเอง และวธิ กี ารสบื คน้ ขอ้ มูลจากแหลง่ ต่างๆ
ในชมุ ชน เชน่ สภาพทางภมู ศิ าสตร์ แหล่งธรรมชาติ วฒั นธรรม โบราณสถาน การสัมภาษณ์ รปู ภาพ ฯ
5. ปฏบิ ัตกิ ารสำรวจขอ้ มูลเพอื่ จัดทำแผนท่ีชมุ ชนของกลุ่มตนเองจากใบงานท่ี 1 เรือ่ งการทำแผนทเ่ี ดิน
ดินของชุมชน โดยครูควบคุมดูแลให้คำปรึกษา เสนอแนะ ขณะปฏิบัติงานสำรวจ และจัดทำแผนที่ชุมชนของ
แต่ละกลมุ่
6. นำเสนอแผนที่ ผลงานของการจัดทำของแต่ละกลุ่ม พร้อมร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง
ผูเ้ รียนทุกกลุ่ม
ชัว่ โมงท่ี 4 – 5 กิจกรรมเรยี นรู้รอ่ งรอยหลักฐานเมอื งอ่ทู อง
7. ชมวีดีทัศน์เรื่อง อู่ทองอู่อารยธรรม ตอนตำนานเมืองโบราณอู่ทอง และแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ
4 – 5 คน เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของเมืองโบราณอู่ทอง จากวีดีทัศน์ที่ชมไปและจัดทำใบงานเรื่อง
โบราณสถานโบราณวัตถุเมืองโบราณอู่ทอง โดยครูเตรียมภาพโบราณสถานโบราณวัตถุเมืองโบราณอู่ทอง เพื่อ
เป็นแหล่งสบื คน้ เพ่มิ เตมิ ใหก้ บั นักเรียน
8. ให้นักเรียนชมวีดีทัศน์เรื่อง ประวัติศาสตร์อารยธรรมไทยและศึกษาใบความรู้ บทความอู่ทองเป็น
เมอื งชายทะเลจริงหรือ? ใหแ้ ต่ละกลมุ่ รว่ มอภิปรายเพื่อสรุปความรเู้ ร่ืองปจั จัยท่สี ่งผลต่อความรุ่งเรืองของเมือง
โบราณอู่ทอง จากอดีตถงึ ปจั จุบนั ในรูปแบบแผนผงั ความคิด(Mind Mapping) ทีค่ รอบคลมุ ประเด็นตา่ งๆ ดงั น้ี
ทำเลที่ตั้ง ศิลปวัฒนธรรม การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ความเชื่อและศาสนา สถานที่สำคัญ ฯลฯ (หรือ
จัดทำชิ้นงานในรูปแบบอื่นๆที่หลากหลาย เช่น หนังสือเล่มเล็ก เอกสารรายงาน เอกสารภาพประกอบคำ
บรรยาย) (บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในเงื่อนไขคุณธรรม คือ มีความตระหนักใน
คณุ ธรรม มคี วามอดทน มีความเพียรใชส้ ติปัญญาในการดำเนินชวี ิต ใช้เงอ่ื นไขนี้เตือนนักเรียนให้อดทนเพียร
พยายามทำงานในหนา้ ท่ีทร่ี บั ผิดชอบ รูจ้ ักใช้สตปิ ัญญาในการคดิ ก่อนตัดสนิ ใจกอ่ นทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ)
9. นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เรยี นรเู้ มืองอ่ทู องบา้ นเรา

8. ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1. ภาพแผนทป่ี ระเภทตา่ งๆ
2. ใบความรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง วธิ กี ารจดั ทำแผนที่เดินดนิ
3. ใบงานที่ 1 เรือ่ ง การทำแผนท่เี ดนิ ดินของชุมชน
4. ใบงานท่ี 2 เร่ือง โบราณสถานโบราณวตั ถุเมืองโบราณอ่ทู อง
5. วีดีทศั น์ เร่ือง อูท่ องอูอ่ ารยธรรม
6. ภาพโบราณสถานโบราณวัตถเุ มืองโบราณอทู่ อง
8.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1. สำนักงานพืน้ ทพ่ี เิ ศษเมืองโบราณอทู่ อง
2. บริเวณสถานทีส่ ำคญั ในพื้นท่ีเมอื งโบราณอู่ทอง
3. ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ แหล่งสำคัญของชุมชน
4. หมูบ่ า้ น/ชุมชน

9. การวัดและประเมินผล
9.1 วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล
1) การทดสอบ
2) การสังเกต
3) การประเมนิ ชิ้นงาน
9.2 เครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ ผล
1) แบบทดสอบ
2) แบบสังเกต
3) แบบประเมินชนิ้ งาน
9.3 เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล
1) เกณฑ์การประเมินแบบทดสอบ
80% ข้นึ ไป = ดีมาก
70 – 79% = ดี
60 – 69% = เกือบดี
51 – 59% = ปานกลาง
50% = ผ่าน
ตำ่ กว่า 50% = ไม่ผา่ น
2) เกณฑก์ ารประเมนิ ใบงาน
คะแนน 8-10 = ดี
คะแนน 5-7 = พอใช้
คะแนน 1-4 = ปรบั ปรุง

เร่ืองเลา่ ของครู

การนอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้

ชอ่ื – สกลุ นางทิวารตั น์ มาแสง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี (พาณชิ ยกรรม)

แนวคิด/แรงบันดาลใจในการนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ต์ใช้ในกิจกรรมการเรยี นรู้
ข้าพเจ้ามีความภาคภูมิใจที่เกิดเป็นคนไทยมีความจงรัก ภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และ

พระมหากษตั รยิ ์ จากการไดศ้ กึ ษาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พ่อหลวงของชาวไทยที่ท่ัวโลกให้การยกย่อง
ใหเ้ ป็น “King of The Kings” พระราชกรณียกจิ ล้วนแล้วแต่เปน็ ประโยชน์อย่างสูงเพ่ือคนไทย และประเทศ
อ่นื ๆ โดยเฉพาะหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และหลักปรัชญาคำสอน “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ท่ีช้ีถึงแนว
ทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ครอบครัว ระดับชุมชม จนถึงระดับรัฐ ที่ให้
ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ การออมเงิน
ของในหลวง รัชกาลที่ 9 ได้ทรงริเริ่มใช้ตั้งแต่ทรงพระเยาว์ จึงทำให้พระองค์มีเงินสะสมส่วนพระองค์จน
สามารถซื้อรถจักรยาน และกล้องถ่ายรูปได้ด้วยพระองค์ ในขณะที่มีพระชนมพรรษาเพียง 8 พรรษา เท่านั้น
ซึ่งการออมเงินให้เกิดผลสำเร็จนั้น นักออมเงินต้องมีวินัย และความตั้งใจอย่างแท้จริงในการออมเงิน และยัง
ทรงเป็นต้นแบบของการเลือกใช้งานสิ่งของด้วยความพอเพียง ให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์มากที่สุด
ตวั อยา่ งเช่น การไม่โปรดการใชป้ ากการาคาแพง หรอื การใชด้ ินสอของพระองค์ ทท่ี รงใชจ้ นกวา่ ดนิ สอจะส้ันกุด
และทรงเบกิ ดินสอใช้เพยี งปีละ 12 แท่งเทา่ น้ัน ในฐานะทข่ี า้ พเจา้ เปน็ คนไทยคนหนึ่งและมีโอกาสได้รับหน้าท่ี
เป็นหัวหน้าโครงการโรงเรียนธนาคารอู่ทองจึงเกิดเป็นแรงบันดาลใจและความตั้งใจที่แน่วแน่ว่า เราต้องเป็น
ส่วนหน่ึงของการปลูกฝังลักษณะนิสยั การออมให้กับลูกศิษย์ เพ่อื นร่วมงาน หรือบุคคลอ่ืนๆ เทา่ ที่มีโอกาส ให้
เกิดเป็นคุณลักษณะนิสัยการออมอย่างถาวรต่อไป มีความตั้งใจที่จะเป็นผู้ปลูกฝังและสืบทอดตามพระราช
ดำรสั ของพระองคท์ า่ นด้วยความเตม็ ใจและภาคภมู ิใจ

การนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ์ ชใ้ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ ตามรูปแบบ SMILE Model :
มีความรู้ สู่ความเปน็ เลศิ ก่อเกิดคณุ ธรรม ใชเ้ หตุผลหนนุ นำ มีภมู คิ มุ้ กัน เรยี นรู้ สกู้ ารเปลย่ี นแปลง สร้างอาชีพ
ร้จู ักใช้อย่างพอประมาณ

1) เงอื่ นไข : ความรู้ (S) และคณุ ธรรม (M)
ข้าพเจ้าได้เข้ามารับผิดชอบในการดำเนินงานโครงการโรงเรียนธนาคารอู่ทองตั้งแต่ปีการศึกษา

2554 จากครงั้ แรกทค่ี ิดไมว่ ่าจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบดูแลโรงเรียนธนาคาร เป็นเพยี งผู้ประสานงานกับธนาคาร
เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาอู่ทอง จากที่ได้รับมอบหมายให้ไปดำเนินการเปิดบัญชีของ
โรงเรียนธนาคารตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม 2554 หลังจากนั้นทางฝ่ายบริหารจึงมอบหมายใหเ้ ป็นผู้รับผิดชอบ
ในตำแหน่งหัวหน้างานโรงเรียนธนาคารอู่ทอง แต่ไม่กล้าที่จะเริ่มดำเนินงานเพราะมีความกังวลว่าเป็นการ
ทำงานที่ยาก และต้องรับผิดชอบจำนวนเงินของนักเรียนที่มีจำนวนมาก เวลาผ่านไปถึง 4 เดือน จนถึงเดือน
สิงหาคม2554 จากที่ข้าพเจ้าได้ศึกษาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาอย่างเข้าใจและยึดมั่นที่จะ
นำมาใช้ในชีวิตประจำวันและการทำงานอยู่เป็นทุนเดิม จึงตัดสินใจที่จะศึกษาการบริหารจัดการของโครงการ
โรงเรียนธนาคารอยา่ งจริงจัง จึงทำให้พบวา่ ความมุ่งมั่น ตั้งใจในการที่จะทำอะไรสักอยา่ งถ้าเราเป็นผู้ใฝร่ ้ใู ฝ่
เรยี นศึกษาเรยี นรู้อยา่ งจรงิ จัง เรื่องราวตา่ งๆ เหลา่ นน้ั จะไมย่ ากอย่างท่ีเราคิด ข้าพเจา้ จึงเร่มิ ท่จี ะศึกษา และลง

มือปฏิบัติสอบถามทุกเรื่องราวของการทำงานให้เป็นผู้รู้อย่างแท้จริง ถือเป็นความโชคดีของโรงเรียนอู่ทองท่ี
ไดร้ ับการส่งเสรมิ สนบั สนนุ จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาอู่ทอง เป็นอยา่ งดยี ิ่ง เกดิ
จากความสัมพันธ์ที่ดีของโรงเรียนอู่ทอง การใช้ความอ่อนน้อม ความสุภาพในการสื่อสารต่อกันจึงทำให้เกิด
ความสมั พันธท์ ดี่ ีจนถึงปจั จุบัน

จากการเริ่มตัดสินใจในการเปิดดำเนินงานโรงเรียนธนาคารอู่ทองตั้งแต่วันท่ี 4 สิงหาคม 2554
จึงต้องมีความร้ดู า้ นการบรหิ ารจัดการทางการเงินใชว้ ิธีศกึ ษาจากคู่มือ และการลงมอื ปฏิบตั เิ ม่ือพบปัญหาย่ิงทำ
ให้เกิดการเรียนรู้ เราจึงต้องมีความอดทนต่อการเรียนรู้ การรับผิดชอบทางการเงินความซื่อสัตย์จึงเป็นสิ่งที่
ต้องยึดมัน่ ในจิตใจของการทำงานจากตัวเรา ตอ้ งฝึกฝนและปลกู ฝังใหเ้ กดิ ขนึ้ ในจิตใจของนักเรียนจิตอาสาท่ีมา
ช่วยเหลือการทำงานกับโรงเรียนธนาคารอู่ทอง ลูกค้าต้องสำคัญและให้บรกิ ารดว้ ยใจ เมื่อเขาประทับใจเขาจะ
กลับมาใช้บริการของเราอย่างมีความสุข ต้องมีความรู้ถึงลักษณะและบุคลิกภาพที่ดีของการเป็นพนักงาน
โรงเรียนธนาคารสามารถส่ือสารกับผูเ้ ขา้ มารับบริการดว้ ยความรู้ตามหลักการข้ันตอนอย่างถูกต้อง เพื่อให้เกิด
ความมั่นใจของผู้มาใช้บรกิ ารกับโรงเรยี นธนาคารอู่ท่อง ให้บริการที่เสมอภาคตอ่ ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน รัก
และร่วมกันดูแลความสะอาด ความเรียบร้อยของห้องโรงเรียนธนาคาร ใช้วัสดุอุปกรณ์ของสำนักงานอย่าง
ประหยัดและคุ้มค่า ต้องศึกษาหลักและวิธีการออมที่มีหลากหลายวิธีเพื่อนำมาให้เป็นความรู้และแนะนำเป็น
แนวทางใหก้ บั นักเรียนและบคุ คลอืน่ ๆ ที่มีโอกาส จากการทำงานมาตลอด 10 ปี ขา้ พเจ้ามคี วามภาคภูมิใจต่อ
การส่งเสริมคุณลักษณะทีด่ ีให้กับนักเรียนจิตอาสาพนักงานโรงเรียนธนาคารเปน็ ผู้มีความซื่อสัตย์เป็นสิ่งสำคัญ
เขาสามารถให้บริการสมาชิกด้วยจิตบริการทำงานด้วยความเต็มใจเพื่อการมีส่วนร่วมในการปลูกฝังนิสัย
ประหยัดและเก็บออมให้กับนักเรียนทุกคนของโรงเรียนอู่ทอง ส่งเสริมให้นักเรียนเป็นผู้มีวินัยในการออมเป็น
จำนวน 10 ปี ได้พบปะพูดคุยกับนักเรยี นทีเ่ ข้ามาฝากเงินสอบถามแนวคิดและเปา้ หมายของนักเรียน มีโอกาส
แนะนำวิธีการคิด วธิ ีการออมเงินให้กบั เขามาโดยตลอดจนทำให้เกดิ ความสุขในการท่ีได้พูดคุยกบั นักเรียนที่เข้า
มาฝากเงินในทุกๆ วัน เกิดความรักการทำงานในโรงเรียนธนาคารอู่ทองทุ่มเทกำลังกายและกำลังใจในการ
ทำงานมาโดยตลอดเพื่อเป้าหมายวิถีพอเพียงที่จะเกิดขึ้นต่อการดำเนินชีวิตของตนเอง และให้เกิดขึ้นต่อ
บุคลากร และนกั เรยี นทุกคนในโรงเรียนอทู่ อง

2) คณุ ลกั ษณะ : ความพอประมาณ (E) มีเหตุผล (I) และภมู ิคุ้มกนั (L)
หลักสำคัญของกการออมเงินต้องเริ่มต้นจากการตั้งเป้าหมายพอเหมาะพอดีแน่นอนและชัดเจน อย่า
ตั้งเป้าหมายที่สูงเกินไปหรือน้อยเกินไป การตั้งเป้าหมายที่สูงเกินไปก็จะทำให้ตนเองเดือดร้อนต้องออมอย่าง
พอประมาณไมเ่ บียดเบยี นตนเอง และเบยี ดเบียนผู้อื่น ถา้ เรามีนอ้ ยเราก็ออมแต่น้อยแต่ก็ถึงเป้าหมายท่ีเราต้ัง
ไว้อย่างเหมาะสม มมี ากก็ออมมาก การออมเงินขา้ พเจา้ จะแนะนำนักเรยี นอยู่เสมอวา่ อย่างน้อยนักเรียนน่าจะ
มหี ลักคิดการออมในวยั เด็กอย่างนอ้ ยเป็น 2 แหลง่ โดยการออมแหลง่ ที่ 1 กบั โรงเรียนธนาคารอู่ทองซ่ึงมคี วาม
สะดวกและฝากได้ถึงแม้จะเปน็ เงินจำนวนน้อยโดยการออมลืมไมม่ ีการถอนเงิน และแหลง่ ท่ี 2 อาจแบ่งหยอด
กระปุกไวท้ ี่บ้านส่วนน้ีออมเพ่ือเป็นค่าใช้จา่ ยที่จำเปน็ เม่ือมเี หตจุ ำเป็นต้องใช้จ่ายก็นำเงินท่ีเก็บในกระปุกมาใช้
จ่าย ส่วนบัญชีเงินฝากที่โรงเรียนธนาคารอู่ทองเก็บไว้เพื่อเป้าหมาย หรือเมื่อมีภาวะฉุกเฉิน หรือหาวิธีเพ่ิม
รายได้ เช่น นักเรียนสามารถดำเนินธุรกิจพอเพียงซึ่งทางโรงเรียนมีศูนย์ส่งเสริมอาชีพ ที่เรารู้จักคือตลาดนัด
อาชีพ สร้างอาชีพเสริมเพ่ิมรายได้และศูนยแ์ สดงสนิ ค้าที่นักเรียนสามารถผลิตสินค้ามาฝากขายได้ทุกคนและที่
สำคญั การใช้จา่ ยเงนิ ก็ต้องในเกิดความคุ้มค่ามากทีส่ ุดหากเกิดมนี ิสยั ของการออมขึ้นแลว้ จะสง่ ผลต่อการดำเนิน
ชีวิตโดยการใช้สิ่งของหรือทำสิ่งใดก็จะเกิดการประหยัดเลือกใช้อย่างเหมาะสมและคำนึงถึงความคุ้มค่าก็จะ
ตามมา

จากการยดึ มั่นวิถีชวี ติ พอเพียงทเ่ี กิดจากความรักและศรัทธาต่อหลักปรัชญาคำสอนของในหลวงรัชกาล
ท่ี 9 ทำให้เราทำงานและพัฒนากิจกรรมในโครงการโรงเรียนธนาคารอู่ทองอย่างมีความสุข เมื่อทำจนเห็น
ผลสำเรจ็ ส่ิงท่ไี ด้รับคอื ภาพที่เห็นเด็กๆ เก็บเงนิ แลว้ มาออมในบัญชีเงินฝาก ถึงแมเ้ ด็กๆ จะมกี ารถอนเงินในแต่
ละสัปดาห์แต่ก็หมายความว่านักเรียนสามารถเก็บออมและมีเงินไว้ใช้จ่ายยามจำเป็นได้ด้วยตนเอง จากการ
ดำเนินงานโรงเรียนอู่ทองจะได้รับคำชมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรอยู่เสมอว่า ทาง
โรงเรียนให้ความสำคัญและมีความตั้งใจในการส่งเสริมนักเรียนให้มีนิสัยการออมอย่างจริงจังและสามารถ เป็น
แบบอยา่ งใหก้ ับโรงเรียนธนาคารของสถานศกึ ษาอืน่ ๆ ไดอ้ ย่างดีเย่ียม

ความสำเร็จจากการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ (ด้าน
เศรษฐกจิ สงั คม สง่ิ แวดล้อมและวฒั นธรรม)

จากการดำเนินโครงการโรงเรยี นธนาคารอู่ทองส่งเสริมใหน้ ักเรียนเปล่ียนแปลแนวคิดของสมการการออม
จากที่เคยชินเมื่อมีรายได้หักค่าใช้จ่ายเหลือเท่าไรจึงค่อยเก็บ แต่สมการของการออมจากแนวคิดใหม่นั้นคือ
เมื่อมีรายได้ควรหักเก็บออมก่อนตามเป้าหมายเหลือเท่าไรจึงใช้ค่อยใช้จ่าย จะทำให้เกิดนิสัยความประหยัด
ขึ้นมาทันที และมีเงินเก็บออมซึ่งจะต้องอาศัยความมีวินัยการออมอย่างแท้จริงเมื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันก็
จะส่งผลถึงการดำเนนิ ชีวิตในครอบครวั ให้พอกิน พอใช้ ไม่ฟมุ่ เฟือย จนเป็นวฒั นธรรมท่ีดีของการออม หากเริ่ม
จากการปลูกฝงั ตงั้ แตเ่ ป็นเยาวชนตัวน้อยๆ เม่อื นานๆ ไป ร่นุ ตอ่ รุ่นทีเ่ ติบโตขนึ้ ก็จะกลายเป็นสังคมแหง่ การออม
จะเกิดความมั่นคงในครอบครัวและสังคม แต่สิ่งเหล่าน้ีจะเกดิ ขึ้นได้ครูและบุคลากรทุกคนในโรงเรยี นอู่ทองที่
ไดร้ ่วมแรงรว่ มใจส่งเสริมและสร้างนสิ ัยทดี่ ี จากครูผู้เปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี ใหค้ วามรู้ สร้างโอกาสให้เด็กเรียนรู้และ
ปฏิบัติ กระตุ้นปลูกฝังต่อศิษย์ศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่มีบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้จะเกิดทักษะชีวิตที่ดีกับ
โรงเรยี นธนาคารอู่ทอง เผยแพร่ผลงานอยา่ งภาคภูมิใจต่อผู้ปกครอง ชุมชน ในวารสารโรงเรียนอู่ทองทุกภาคเรียน
ผา่ นชอ่ งทางเทคโนโลยีเฟสบุ๊ค โรงเรียนธนาคารอู่ทอง ไดร้ ับความสนใจและมสี ถานศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี
และจังหวัดใกล้เคียงเข้าศึกษาดูงานรูปแบบการดำเนินงานโรงเรียนธนาคารอู่ทองจำนวนหลายแห่ง ได้รับ
รางวัลชนะเลิศโรงเรียนธนาคารดีเด่นระดับจังหวัด รางวัลชนะเลิศโรงเรียนธนาคารดีเด่นระดับภาคกลางและ
ภาคตะวันตก และรางวัลชมเชยโรงเรียนธนาคารดีเดน่ ระดบั ประเทศ

การเป็นแบบอย่างและการถ่ายทอดประสบการณ์ (ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา)
โรงเรียนธนาคารอู่ทองประสบความสำเร็จได้รับการยอมรับและเป็นแบบอย่างที่ดีของการบริหาร

จัดการโรงเรียนธนาคารให้กับสถานศึกษาและหน่วยงานภายนอกเข้าศึกษาดูงาน อาทิ โรงเรียนบางลี่วิทยา
โรงเรียนวัดด่านช้าง โรงเรียนดอนคาวิทยา โรงเรียนทุ่งแฝกพิทยาคม โรงเรียนบ่อสุพรรณวิทยา โรงเรียน
วัดองครักษ์ จังหวัดสุพรรณบุรี โรงเรียนวัดลาดชะโด โรงเรียนวัดนาค โรงเรียนวัดลำตะเคียน (วิริยศึกษา)
โรงเรียนวัดผึ่งแดด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โรงเรียนท่าช้างวิทยาคาร จังหวัดสิงห์บุรี ธนาคารเพื่อการเกษตร
และสหกรณ์การเกษตร สาขาผักไห่ สาขาบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณ์การเกษตร สาขาบ่อสุพรรณ จงั หวดั สพุ รรณบุรี เป็นต้น

พอเพียงอย่างพอดี การยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง รัชกาลที่ 9 ในการดำรงชีวิต
น้ัน ไมม่ ีหลกั การและกฎเกณฑท์ ่ีตายตัว เพราะการยึดหลัก “ความพอเพียง” นนั้ ตอ้ งเลือกปรับใช้ให้เหมาะสม
แกก่ ารดำเนินชวี ิตของแต่ละบคุ คล ซึง่ มกั มีลกั ษณะทีแ่ ตกต่างกันออกไป

การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใชใ้ นกิจกรรมการเรยี นรู้
ฐานศูนยส์ ง่ เสริมอาชีพ



เรื่องเลา่ ของครู
การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้

ช่ือ – สกลุ นางสาวทพิ ภาณี คนงึ คดิ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรม

แนวคดิ /แรงบนั ดาลใจในการนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ในกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผู้เรียนร้จู ักการดำเนินชวี ติ ตามหลกั มชั ฌิมาปฏิปทา หรือการเดนิ ทางสายกลาง
2. ผู้เรียนร้จู กั ประหยดั ใชท้ รัพยากรอย่างพอเพยี งและคมุ้ ค่า
3. ผเู้ รยี นสามารถใชส้ ติ และปัญญาในการแกไ้ ขปญั หาต่างๆ ได้อยา่ งถูกต้องและมีเหตุผล
4. ผู้เรียนมีคุณธรรมและจริยธรรมทีด่ ี

การนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ช้ในกจิ กรรมการเรียนรู้ ตามรปู แบบ SMILE Model
: มีความรู้ สู่ความเป็นเลิศ ก่อเกิดคุณธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมิคุ้มกัน เรียนรู้ สู้การเปลี่ยนแปลง
สร้างอาชีพ ร้จู กั ใช้อย่างพอประมาณ

1) เงอื่ นไข : ความรู้ (S) และคุณธรรม (M)
1. จัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดแทรกคุณธรรม เพ่ือให้ผเู้ รยี นไดต้ ระหนักในคณุ ธรรม และ
หลักธรรม เร่อื ง
อิทธิบาท 4 ซง่ึ เปน็ หนทางสู่ความสำเรจ็
2. จดั กระบวนการเรียนรู้เพ่ือฝึกให้ผู้เรียนเกดิ สตแิ ละปัญญา (การนั่งสมาธิ) เพ่ือให้ผ้เู รยี นได้ใช้
สติปัญญา
ในการแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ

2) คณุ ลักษณะ : ความพอประมาณ (E) มีเหตุผล (I) และภูมคิ ุ้มกัน (L)
1. จดั กระบวนการเรยี นรู้เพ่อื ให้ผเู้ รียนได้ศึกษาหลักธรรมในสถานทีจ่ รงิ พร้อมน้อมนำความ

พอเพียงมาประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ผเู้ รยี นรเู้ หตุผลถึงเปา้ หมายในการเรียนในสถานที่จรงิ (ลานโพธิ์ ลานธรรม)
3. ผู้เรยี นรู้จกั ใช้สถานที่ในโรงเรยี นให้เกิดประโยชน์ และใชส้ ถานท่ีแบบพอเพยี งและคุ้มค่า

ความสำเรจ็ จากการนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นกจิ กรรมการเรียนรู้
(ด้านเศรษฐกจิ สงั คม สิง่ แวดลอ้ มและวัฒนธรรม)

นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างมีความสุข มีนิสัยประหยัดและเห็นคุณค่า
ของการใช้สถานที่ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในโรงเรียนอย่างประหยัดและคุ้มค่า ตระหนักและหวงแหนดูแลรักษา
ความสะอาดบริเวณลานโพธิ์ ลานธรรม และสร้างจิตสำนึก “รักลานโพธิ์ ลานธรรม” พร้อมน้อมนำความ
พอเพียงไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม

การเปน็ แบบอยา่ งและการถา่ ยทอดประสบการณ์ (ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา)
จากการประเมนิ ผลทเ่ี กิดกับผเู้ รียนในการนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการ

เรียนการสอนที่ลานโพธิ์ ลานธรรม พบว่าผู้เรียนรู้จักกระบวนการในการแก้ปัญหา มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ใช้
ทรัพยการที่มีอยู่อย่างพอเพียงเห็นคุณค่าในความเป็นไทย ซึ่งถือว่าการสอนประสบความสำเร็จตาม
วัตถุประสงคท์ ีไ่ ดว้ างไว้

รูปภาพประกอบ
การน้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ต์ใชใ้ นกิจกรรมการเรียนรู้



ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา (ศรร.02) ช-3

ภาคผนวก ค

เรื่องเล่าของนกั เรียน

โรงเรียนอทู่ อง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา (ศรร.02) ช-3

ภาคผนวก ค

๗.3 เร่อื งเลา่ ของนกั เรยี นแกนนำ

โรงเรียนอู่ทอง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบรุ ี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา (ศรร.02) ช-3

เร่ืองเลา่ ของนักเรยี นในการนำปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน และการพฒั นาตนเอง

ตัวอย่างเรื่องเล่านักเรียนในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน ได้แก่
นายฐิติศักดิ์ พักเสียงดี และนางสาวอรัญญา ไฝเพชร ได้เล่าถึงการนำความรู้จากวิชาการเพาะเห็ดมาพัฒนา
เปน็ “เห็ดมอื ถือ” สรา้ งรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว เป็นแกนนำรว่ มกับคุณครูและพัฒนากรชุมชน ขยายผล
ไปสู่ผู้ปกครอง ชุมชน และโรงเรียนอื่น ในโครงการสานฝัน ปันน้ำใจให้น้อง รวมทั้งประชาสัมพันธ์ “เห็ดมือถือ”
ในรูปแบบ QR Code จึงมีหนังสือพิมพ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่อง ๗ สัมภาษณ์และเผยแพร่
ไปยังผู้ที่สนใจได้อย่างกว้างขวาง เรื่องเล่าของนางสาวกัญญารัตน์ ไทยงามศิลป์ เล่าถึงผลจากการเรียน
ในรายวิชางานธุรกิจ ได้มีสว่ นช่วยเหลอื งานโรงเรียนธนาคารอทู่ อง ส่งผลให้เกิดแรงบนั ดาลใจมีนสิ ัยรักการออม
มีเป้าหมายวางแผนการใช้จ่ายเงินในอนาคต นายธีรพล เชื้อดี นักเรียนแกนนำในโครงการฝึกทักษะอาชีพ
ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว และเป็นวิทยากรร่วมกับกลุ่มจักสานบ้านดอนคา เผยแพร่
ทักษะอาชีพสู่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง และเรื่องเล่าของนายศุภโชค รอดแก้ว เล่าถึงการศึกษาหลักสูตรท้องถ่ิน
“อ่ทู อง อ่อู ารยธรรม” ทำให้มีความรู้ เข้าใจความเปน็ มาของท้องถิ่นท่ีอาศัย ประวตั ศิ าสตร์ ชาติพนั ธุ์ เหน็ คุณค่า
ทั้งด้านภาษา การแต่งกาย ประเพณี วัฒนธรรม ส่งผลให้ตนเองได้เปน็ มัคคุเทศก์การทอ่ งเท่ียว “เมืองโบราณอู่ทอง”
ร่วมกบั ชมุ ชนและองค์การบรหิ ารการพฒั นาพนื้ ท่พี เิ ศษเพ่อื การท่องเทีย่ วอย่างยง่ั ยืน (อพท.7) รายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี

1. เรอ่ื งเล่าของนายฐติ ศิ กั ดิ์ พักเสียงดี นกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

2. เรื่องเล่าของนางสาวอรัญญา ไฝเพชร นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4

โรงเรยี นอ่ทู อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศกึ ษา (ศรร.02) ช-3

3. เรือ่ งเลา่ ของนาวสาวกัญญารัตน์ ไทยงามศลิ ป์ นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5

4. เรอื่ งเลา่ ของนายธีรพล เชื้อดี นกั เรยี นระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั้ ปีที่ 3

5. เร่ืองเลา่ ของนายศุภโชค รอดแก้ว นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

โรงเรียนอทู่ อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี

เรือ่ งเล่าของนกั เรยี น
การนอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั
ชื่อ – สกลุ นายฐิติศักด์ิ พักเสียงดี ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 หอ้ ง 2

แนวคดิ /แรงบันดาลใจในการนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
เริ่มมาจากการเรียนเกษตรตอน ม.1 ตอนนั้นผมได้เรียนการเพาะเห็ด คุณครูสอนว่าเราสามารถนำ

เศษวัสดุจากธรรมชาติมาทำเป็นก้อนเชื้อเห็ดได้ เช่น ซากอ้อย ฟางข้าว ขี้เลื่อยจากการตัดต้นไม้ในโรงเรียน
และใบไม้ คุณครูยังสอนให้ผมรู้จักการใช้ของให้มีประโยชน์สูงท่ีสุด จึงทำให้ผมซึมซับการใช้ประโยชน์จากของ
ทเี่ รามีอยู่แบบ zero waste เช่น การนำหลอดน้ำและซองขนมมาประดิษฐ์เป็นดอกไม้ในรายวิชาการประดิษฐ์
ของชำร่วย การนำเปลอื กไข่ทาํ ปุ๋ยและนำเศษอาหารหรือผักท่ีเหลือจากการประกอบอาหารทบี่ ้านมาทำเป็นปุ๋ย
ครบั

การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ตามรูปแบบ SMILE Model :
มคี วามรู้ ส่คู วามเป็นเลิศ ก่อเกิดคณุ ธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมคิ ุ้มกัน เรียนรู้ สู้การเปลี่ยนแปลง สร้างอาชีพ
รจู้ ักใชอ้ ยา่ งพอประมาณ

1) เงื่อนไข : ความรู้ (S) และคณุ ธรรม (M)
ผมจะศึกษาข้อมูลเก่ียวกับส่ิงของที่ผมมีอยู่ เช่น ผมมีซองขนมที่สีสันสวยงามผมก็จะนำมาประดิษฐ์เป็น
ดอกไม้จากซองขนมหรือการนำเศษอาหารมาหมักเป็นน้ำหมกั และนำไปรดผักในสวนที่บ้านครับ ผมจะทำให้ของ
ช้ินน้นั มีประโยชน์มากท่ีสุดสำหรับผมและคนอนื่ ๆ ครบั
2) คณุ ลกั ษณะ : ความพอประมาณ (E) มเี หตุผล (I) และภมู ิคมุ้ กัน (L)
ก่อนท่ีผมจะทำอะไรหรือซ้ืออะไรสักอย่าง ผมมักจะหาข้อมูลก่อนเสมอว่าของสิ่งน้ีมันตรงกับความ
ต้องการของผมมากแค่ไหน และเราสามารถใช้ประโยชนม์ ันไดม้ ากน้อยเพยี งใดผมถึงจะตดั สินใจทำหรือซอื้ ของ
ส่ิงน้ัน เมื่อผมใช้ประโยชน์มันมากท่ีสุดแล้วผมก็จะกลับมาคิดอีกว่ามันสามารถทำอะไรได้อีกบ้างนอกเหนือ
ประโยชนข์ องมัน ก่อนท่ผี มจะทง้ิ เปน็ ขยะ ผมจะทำเปน็ ขยะให้น้อยทสี่ ดุ ครับ

ความสำเร็จจากการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน (ด้านเศรษฐกิจ สังคม
สงิ่ แวดล้อมและวฒั นธรรม)

ผมได้นำความรจู้ ากการเพาะเห็ดมาคิดค้นนวัตกรรมใหม่และสามารถสร้างรายได้จากการขายเหด็ มอื ถือ
และการประดษิ ฐด์ อกไม้ขายในเทศกาลตา่ งๆ ครับ

การเปน็ แบบอย่างและการถ่ายทอดประสบการณ์ (ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา)
ผมได้เป็นวิทยากรในการบรรยายการประดิษฐ์ดอกไม้จากเศษวัสดุท่ีเหลือใช้และการเพาะเห็ด ใน

ชมุ ชนและโรงเรียนต่างๆ ผมยังได้นำมาถ่ายทอดสู่สมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนอู่ทองทุกคน
อกี ด้วยครับ

รูปภาพประกอบ
การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวติ ประจำวนั

เร่อื งเล่าของนักเรียน
การนอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ช่อื – สกลุ นางสาวอรัญญา ไฝเพชร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ห้อง 4

แนวคดิ /แรงบนั ดาลใจในการนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน
เร่ิมจากสมยั เรียนอยชู่ น้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 การเรียนวชิ าเกษตร รายวชิ าการเพาะเห็ด หนูไดเ้ รยี นรกู้ าร

เพาะเห็ดโดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติและวัสดุเหลือใชต้ ามธรรมชาติที่มีอยู่ภายในชุมชน เช่น ขี้เลื่อย ผักตบชวา
แหน กากมัน ฟางข้าว ฯลฯ คุณครูได้สอนให้เรานำวัสดุเหลือใช้กลับมาใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด และเป็น
ทางเลือกในการสร้างรายได้เสริมให้กับตนเองและครอบครัว ทำให้หนูได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง
และสังคม

การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ตามรูปแบบ SMILE Model :
มคี วามรู้ สู่ความเป็นเลิศ กอ่ เกิดคณุ ธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมคิ ุ้มกัน เรียนรู้ สู้การเปล่ียนแปลง สร้างอาชีพ
รู้จกั ใชอ้ ยา่ งพอประมาณ

1) เงือ่ นไข : ความรู้ (S) และคุณธรรม (M)
หนูศึกษาข้อมูลเก่ียวกับการเพาะเห็ดที่หลากหลาย เช่น เห็นนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดมิลก้ี โดย

ประยุกต์ใช้ส่ิงของท่ีมีในชุมชนมาเพาะเห็ด เช่น ผักตบชวา ก้อนเช้ือเห็ดเก่าๆ นำมาทำเห็ดฟางได้ เป็นการนำ
วัสดุเหลือใช้ในชุมชนกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากท่ีสุด หรอื ว่าจะเป็นถุงพลาสติกการนำถงุ พลาสติกกลับมา
ทำเปน็ ดอกไม้ เพื่อลดขยะในสังคมและรถขยะลน้ เมืองการทิ้งขยะลงแม่นำ้ ลำคลองทิ้งขยะ การทิ้งขยะลงทะเล
ทำให้ไม่เกิดมลพิษทางน้ำ การเพาะเห็ดโดยใช้นวัตกรรม “เห็ดมือถือ” ทำให้หนูกล้าคิดกล้าแสดงออกมากขึ้น
ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ หนูมีความมุ่งม่ันต้ังใจทำงาน คิดก่อนทำเพ่ือไม่ให้เกิดความเดือดร้อนต่อตนเองและ
ผูอ้ นื่

1) คณุ ลักษณะ : ความพอประมาณ (E) มีเหตผุ ล (I) และภมู ิค้มุ กัน (L)
กอ่ นที่หนูจะซอ้ื สิง่ ของใดส่ิงของหน่ึงหนูต้องคำนงึ กอ่ นว่าสิ่งของนั้นจะมปี ระโยชน์ต่อหนูจรงิ ๆ และ

หนูจะได้ประโยชน์จากสิ่งของส่ิงน้ันมากน้อยเพียงใด หนูจึงจะตัดสินใจซ้ือสิ่งของน้ันมา การเพาะเห็ดกเ็ ชน่ กัน
ต้องคอยดรู ะยะเวลาทเ่ี หมาะสมกับการทำเห็ด ดูแลเหด็ ใหอ้ อกดอกตามต้องการ คอยควบคุมอุณหภมู ิความชื้น
อยา่ งเหมาะสมเพ่ือไม่ใหเ้ กิดโรคต่าง ๆ นำก้อนเห็ดและดอกเห็ดไปจำหนา่ ยในราคาที่เหมาะสม

ความสำเร็จจากการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน (ด้านเศรษฐกิจ สังคม
ส่ิงแวดลอ้ มและวัฒนธรรม)

หนูได้นำความรู้จากวิชาการเพาะเห็ดนอกจากจะเป็นรายได้ให้กับตนเองและครอบครัวแล้ว หนูยังได้
ไปสอนน้อง ๆ ให้รู้จดั การเพาะเหด็ จากวัสดุเหลือใช้ในชุมชนที่น้อง ๆ อาศยั อยู่ โดยไปช่วยครูเป็นวิทยากรตาม
โรงเรียนต่าง ๆ ในชุมชน และโรงเรียนที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร นำก้อนเห็ดที่ทำในโรงเรียนและนวัตกรรม “เห็ด
มือถือ” ไปมอบให้โรงเรียนเพื่อทำให้น้องได้เรียนรู้การเก็บเกี่ยวผลผลิตเห็นำไปทำเป็นอาหาร ทำให้น้องมี
อาหารกลางวนั รบั ประทานในโรงเรียน และนำกลับไปทำอาหารท่ีบ้าน และให้ความรู้กับชาวบ้านในชุมชนและ
ชาวบ้านทีอ่ ยู่ในถ่ินทุรกันดารเพ่อื ชาวบ้านจะได้มีอาชีพเสริม และมีอาหารทานในครัวเรอื น

การเป็นแบบอยา่ งและการถา่ ยทอดประสบการณ์ (ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา)
หนูได้เป็นแกนนำด้านการทำโครงงานอาชีพการเพาะเห็ดและการทำนวัตกรรม “เห็ดมือถือ” นำ

ความรู้ไปเผยแพร่ แข่งขันศิลปหัตถกรรม และแสดงผลงานตามแหล่งต่าง ๆ เช่น ในโรงเรียนเม่ือมีคนจาก
ภายนอกมาศึกษาดูงาน ให้ความรู้ตามโรงเรยี นตา่ ง ๆ ตามแหลง่ ชมุ ชนต่าง ๆ ได้ออกค่ายอาสาไปให้ความรู้กับ
น้อง ๆ ท่ีอยู่ในถิ่นทุรกันดาร ได้สอนอาชีพเสริมใหก้ ับน้อง ๆ และชาวบ้าน และยังได้รู้จกั กับพ่ที ี่เป็นเกษตรกร
ด้านการเพาะเห็ดคอยให้คำแนะนำปรึกษาด้วย เป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน นอกจากนี้ยังได้
ประชาสัมพันธใ์ นรปู แบบ QR Code เพ่ือให้มีความน่าสนใจมากขึ้น จากการไปแสดงผผลงานในที่ตา่ ง ๆ หนูได้
ลงหนงั สือพิมพ์ และไดอ้ อกรายการทางช่อง 7 ดว้ ย

รูปภาพประกอบ
การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวติ ประจำวนั



เรอ่ื งเลา่ ของนกั เรียน
การน้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั
ช่ือ – สกลุ นางสาวกญั ญารัตน์ ไทยงามศลิ ป์ ชั้น มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 หอ้ ง 2

แนวคดิ /แรงบนั ดาลใจในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
แรงบันดาลใจของการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนนิ ชีวิต ข้าพเจ้าเริ่ม

จากการวางแผนการออมเงินที่มีเป้าหมายเพ่ือเก็บเงินไว้ใช้จ่ายในการเรียนระดับปริญญาตรี เช่น ค่าสมัครสอบ
คา่ อุปกรณก์ ารเรียน ซ่ึงเปน็ การลดภาระให้กับแมแ่ ละเงินสว่ นน้ีสามารถเกบ็ ไว้ใชย้ ามฉุกเฉินโดยไม่ต้องรบกวนแม่

การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ตามรูปแบบ SMILE Model :
มคี วามรู้ สคู่ วามเป็นเลิศ กอ่ เกิดคุณธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมคิ ุ้มกัน เรียนรู้ สู้การเปลี่ยนแปลง สร้างอาชีพ
รู้จกั ใช้อย่างพอประมาณ

1) เงอื่ นไข : ความรู้ (S) และคณุ ธรรม (M)
จุดเริ่มต้นข้าพเจ้าได้เรียนรายวิชา งานธุรกิจ ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีการเรียนรู้ในหน่วยเร่ือง

การออมซึ่งมวี ิธกี ารเก็บออมเงินได้หลายรูปแบบ ข้าพเจ้าเลือกออมเงินเป็น 2 แหล่ง โดยแหลง่ ที่ 1 ออมเงิน
กับโรงเรียนธนาคารอู่ทองมีวัตถปุ ระสงค์ออมยาวตง้ั ใจจะไมถ่ อนเงนิ จนถึงมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ซึ่งสะดวกทสี่ ุดใน
การเกบ็ เงิน และยังเป็นวิธีป้องกนั ในการถอนเงินไดอ้ ีกวธิ ี ซงึ่ ระเบยี บการถอนเงินของโรงเรยี นธนาคารสามารถ
ถอนเงินได้เฉพาะวันศุกร์ และต้องนำบัตรประชาชนมาแสดงทุกคร้ังที่มีการถอน ไม่สามารถถอนเงินได้ทุกวัน
นับเป็นวิธีท่ีดี ส่วนแหล่งที่ 2 เลือกการออมเงินไว้กับกระปุกออมสินที่บ้านหลังจากเหลือเงินในแต่ละวัน โดย
วัตถุประสงค์ออมเพ่ือการใช้จ่ายในระยะสั้นๆ เป็นเหตุผลท่ีไม่ต้องถอนเงินแหล่งออมเงินวิธีแรกจากโรงเรียน
ธนาคาร การฝากเงินทุกๆ วันต้องอาศัยความมุ่งม่ัน และมีความซ่ือสัตย์ต่อตนเองที่ตั้งใจว่าจะเก็บออมทุกวัน
เพื่อให้ถงึ เปา้ หมาย จนสุดทา้ ยจึงเกิดเป็นนิสัยรกั การออม

2) คณุ ลักษณะ : ความพอประมาณ (E) มเี หตผุ ล (I) และภูมคิ ้มุ กัน (L)
ขา้ พเจ้าใชห้ ลักการคิดในการออมเงินโดยเก็บ 20% ของเงินท่ีได้มาเพื่อการใชจ้ ่ายโดยการออมก่อนใช้

วันละ 20 บาท และนำน้ำดืม่ มาจากบ้านเพื่อประหยัดค่าน้ำ และน้ำท่ีเตรียมไปกส็ ะอาด ปลอดภัย ตอ้ งเข้าฝาก
เงนิ ที่โรงเรียนธนาคารทุกวนั อย่างสม่ำเสมอ หากแต่ละวันก็จะเก็บออม ไวเ้ พิ่ม เป้าหมายของการออมเงนิ เม่ือจบ
ช้ัน ม.6 ท่ีเงิน 20,000 บาท เพื่อใช้จ่ายเบ้ืองต้นของการเรียนในระดับมหาวิทยาลัย หรือในยามฉุกเฉินก็มี
สำรองไว้ใช้แก้ปัญหาได้ จากการปฏิบัติจนเป็นนิสัยจึงมีเป้าหมายในการวางแผนการออมในอนาคตท่ีเป้าหมาย
สงู ขนึ้ กว่าเดมิ

ความสำเร็จจากการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน (ด้านเศรษฐกิจ สังคม
สิง่ แวดล้อมและวัฒนธรรม)

จากการฝากเงินเป็นเวลา 5 ปีทำให้มีเงินฝากถึงจำนวน 13,000 บาท ซ่ึงมากกว่าจำนวนเงิน
ครึ่งหนึ่งของเป้าหมายที่ต้ังไว้ ปัจจุบันถึงแม้จะมีรายจ่ายเร่ืองอุปกรณ์การเรียนเพิ่มมากขึ้น แต่ข้าพเจ้าก็
คาดหวังว่าจะเกบ็ ออมเงินให้ได้ตามเป้าหมายท่ีตัง้ ไวซ้ ึ่งเป็นผลดตี ่อการวางแผนดา้ นการเงินในอนาคต ขา้ พเจ้า
ได้เข้าร่วมงานเป็นจิตอาสามาให้บริการกับโรงเรียนธนาคารทำให้พบปะพูดคุยกับผู้มาฝากเงินจำนวนมากและ
ร่วมทำงานกับคุณครูผู้รับผิดชอบโรงเรียนธนาคารและพี่ ๆ พนักงานทำให้มีสังคมที่กว้างข้ึน สามารถทำงาน
ร่วมกับครูและพี่ๆ ได้อย่างมีความสุข รู้สึกมีความภูมิใจและมีความสุขในการได้มีส่วนช่วยเหลืองานโรงเรียน
ธนาคารและเกิดคณุ ลักษณะเปน็ ผ้มู วี ินัยทดี่ ีเยี่ยมในการออม

การเปน็ แบบอยา่ งและการถ่ายทอดประสบการณ์ (ภายในและภายนอกสถานศึกษา)
จากการฝากเงินท่ีเร่ิมจากแรงบันดาลใจและความมุ่งมั่น จนเกิดเป็นความคุ้นชินกลายเป็นนิสัยรักการออม

จนทำให้กลายเป็นส่วนหน่ึงของชีวิตประจำวันที่จะต้องเข้าฝากเงินกับโรงเรียนธนาคารทุกวัน ทำให้เกิด
ความคุ้นเคยจนกลายมาเป็นนักเรียนจิตอาสาในการสมัครเป็นเจ้าพนักงานของโรงเรียนธนาคารในช่วงเวลา
พักกลางวัน มีหน้าท่ีรับฝากเงิน ตรวจสอบจำนวนเงินของลูกค้า และให้คำแนะนำการเข้ามาใช้บริการ
โรงเรียนธนาคาร จากการเป็นผู้มีวินัยในการออมมีความสม่ำเสมอ ของการออมเงินจนได้รับรางวัลยอดนักออม
ยอดเยี่ยมตั้งระดับช้ัน ม.1 – ม.4 เป็นเวลา 4 ปีติดต่อกัน ได้รบั มอบเกียรติบัตร และทุนการศึกษาหน้าเสาธง
เป็นแบบอยา่ งที่ดดี ้านการออมให้กับนกั เรยี นโรงเรยี นอู่ทองมาโดยตลอด

ภาพประกอบ
การน้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั

ออมเงนิ ทุกวันกับโรงเรียนธนาคารอู่ทอง
ได้รบั รางวัลนักออมยอดเยยี่ ม ต้งั แต่ระดับชัน้ ม.1-ม.4

จากผ้อู อม กลายเป็นนักเรียนจติ อาสาพนักงานโรงเรยี นธนาคารอู่ทอง
ช่วยบรกิ ารสมาชิกชว่ งพักกลางวัน



เรอื่ งเลา่ ของนักเรยี น
การนอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั
ชือ่ – สกลุ นายธีรพล เช้อื ดี ช้ันประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั ปที ี่ 3 ห้อง 1 สาขาวิชา การบญั ชี

แนวคดิ /แรงบันดาลใจในการนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในชวี ิตประจำวัน
ข้าพเจ้าได้มีโอกาสเข้าศึกษาในโรงเรียนอู่องตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจนในช่วงของการเลือก

สายการเรยี นในช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จึงเลือกเรียนสายอาชพี สาขาวิชาการบญั ชี ตลอดที่ศึกษาในโรงเรียน
อู่ทองคุณครูได้สอดแทรกเนื้อหาความรู้เร่ืองหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาโดยตลอด จนข้าพเจ้าขึ้น
เรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปีที่ 1 ได้รับการส่งเสริมประสบการณ์ทางด้านอาชีพในรูปแบบธุรกิจ
พอเพียงโดยการจัดตั้งบริษัทจำลองในโครงการส่งเสริมนักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน (สนร.) ประกอบกับ
ครอบครัวของข้าพเจ้ามีรายได้น้อยต้องประหยัดในเรื่องการใช้จ่ายเงิน และต้องหารายได้ด้วยตนเองเพื่อ
นำมาใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ และใช้จ่ายในการเรียน การดำเนนิ ธุรกจิ พอเพยี งจึงเป็นแรงบนั ดาลใจในการวางแผน
เพื่อการมีรายได้เพ่ิมและลดค่าใช้จ่าย ไม่ใช้จ่ายเกินตัว ในทุก ๆ วันศุกร์เราจะมีกลุ่มสมาชิกร่วมลงทุนในการ
ผลิตสินค้าประเภทอาหารจำหน่ายให้กับนักเรียน และครูในโรงเรียนซึ่งเงินลงทุนเป็นเงินออมส่วนตัวของ
นักเรียนแต่ละคน จึงเป็นการเพิ่มรายได้อีกทางหน่ึงที่สามารถทำได้ระหว่างเรียนและนำส่วนที่เป็นกำไรไปเปิด
บัญชีกลุ่มจำหน่ายสินค้าธุรกิจพอเพียงฝากไว้กับโรงเรียนธนาคารอู่ทอง เม่ือจบภาคเรยี นจึงนำผลกำไรมาแบ่ง
เฉล่ยี คนละเท่า ๆ กัน

การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ตามรูปแบบ SMILE Model :
มคี วามรู้ สู่ความเป็นเลิศ กอ่ เกิดคุณธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมคิ ุ้มกัน เรียนรู้ สู้การเปล่ียนแปลง สร้างอาชีพ
รู้จกั ใช้อยา่ งพอประมาณ

1) เงอ่ื นไข : ความรู้ (S) และคณุ ธรรม (M)
ข้าพเจ้าได้มีโอกาสเขา้ ร่วมโครงการฝึกทักษะอาชพี ของกลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ (พาณิชยกรรม)

ในระดับชั้น ปวช.1 ได้เลือกฝึกการทำดอกกุหลาบจากริบบ้ิน หลังจากนั้นข้าพเจ้าจึงเร่ิมฝึกฝนจนเกิดทักษะ
ความชำนาญและเลือกทำเป็นอีกอาชีพเสริม โดยการนำเงินจากการออมไว้กับโรงเรียนธนาคารจากการ
ประหยัดและกำไรจากการทำธุรกิจพอเพียงเป็นเงินออมส่วนตัวมาลงทุนซื้อริบบ้ินและอุปกรณ์ทำดอกกุหลาบ
และนำความรู้มาสอนแม่ซึ่งมีอาชีพหาของป่าขายมีรายได้ไม่แน่นอน จึงมาช่วยกันดอกกุหลาบสะสมไว้ขายใน
เทศกาลวันขึ้นปีใหม่ วันวาเลนไทน์ และงานปัจฉิมนิเทศของนักเรียน ม.3 ม.6 และปวช.3 ร่วมท้ังรับทำช่อ
ดอกไม้จำหน่าย และในระดับ ปวช.2 ได้เข้าร่วมฝึกทักษะอาชีพอีกครั้ง ข้าพเจ้าจึงเลือกเรียนสานตะกร้าจาก
เส้นพลาสติกจึงทำให้มีอาชีพเพิ่มข้ึนมาอีก 1 อาชีพจนถึงปัจจุบันและต่อยอดความรูท้ ักษะโดยศึกษาจากยูทูป
มีลวดลายที่สวยงามให้ลูกค้าได้เลือก และยึดหลักให้ความสำคัญต่อคุณภาพสินค้า ส่งมอบตรงเวลา ไม่เอา
เปรยี บลกู ค้าโดยไมม่ งุ่ หวังแต่เพียงผลกำไร

2) คุณลกั ษณะ : ความพอประมาณ (E) มเี หตผุ ล (I) และภมู คิ ้มุ กนั (L)
เม่ือจำหน่ายดอกกุหลาบริบบ้ินได้ คุณครูแนะนำให้เปิดบัญชีเงินใหม่ใช้ช่ือว่า นายธีรพล เช้ือดี

เพ่ือธุรกิจเพื่อออมเงินได้เพื่อการลงทุนซื้อวัสดุ อุปกรณ์ดอกกุหลาบและตะกร้าพลาสติก โดยแยกเงินเป็น 2
บัญชี คือบัญชีที่ 1 เป็นการออมระยะยาวเพื่อการศึกษาหรือไว้ใช้ยามจำเป็นฉุกเฉิน อีก 1 บัญชีนำเงินกำไร
จากการทำอาชีพเสริมมาออมไว้เพื่อใช้เป็นเงินทุนในการหมุนเวียนให้เกิดรายได้ซ้ือริบบิ้นและเส้นพลาสติกมา
สานตะกร้าซ่ึงมีการส่ังซื้อและขายได้อย่างต่อเน่ือง ในส่วนของดอกกุหลาบนำไว้จำหน่ายตามเทศกาลและ

ศึกษาเพิ่มเติมโดยการทำพวงมาลัยจากรบิ บนิ้ ขายในวันแม่ และนำมาตอ่ ยอดในการทำเปน็ อาชีพโดยการรับทำ
เหรียญโปรยทานจากริบบิ้น ในส่วนของตะกร้าข้าพเจ้าศึกษาลวดลายใหม่ ๆ มานำเสนอลูกค้าจึงได้ยอดส่ังซ้ือเพ่ิม
และทำขายได้อยา่ งต่อเนอื่ งมีรายไดด้ ีสามารถเก็บไว้เปน็ คา่ เทอมในแตล่ ะภาคเรยี นได้

ความสำเร็จจากการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน (ด้านเศรษฐกิจ สังคม
สง่ิ แวดล้อมและวฒั นธรรม)

จากการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจมาใช้ในการดำเนินชีวิตความขยันและใฝ่รู้เพื่อพัฒนาฝีมือ
จนเกิดเป็นอาชีพมีรายได้ คิดหาวิธีลดต้นทุนเพ่ือมีรายได้เพิ่มขึ้นโดยไม่ต้องเพิ่มราคาด้วยความใส่ใจลูกค้า อีก
ทั้งตะกร้าพลาสติกมีส่วนในการรักษาส่ิงแวดล้อมทำให้ลดการใช้ถุงพลาสติกได้ มีรายได้เพ่ิมส่งผลต่อเงินออมท่ี
เพิ่มข้ึน แบ่งปันช่วยดูแลค่าใช้จ่ายให้กับแม่ได้มากขึ้น มีวางการเป้าหมายในการศึกษาต่อท่ีสูงข้ึนใน
ระดับอุดมศึกษา และมีความภาคภูมใิ จที่มสี ่วนช่วยในการสืบสานภมู ิปัญญาไทยจากลวดลายของการสานตะกร้า

การเป็นแบบอยา่ งและการถา่ ยทอดประสบการณ์ (ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา)
จากการฝึกทักษะในอาชีพเราต้องมีความมุ่งมั่นและต่อยอดความรู้ จนเกิดทักษะความชำนาญ

ใฝ่เรียนรู้ด้วยตนเองเพ่ิมเติมจากส่ือต่าง ๆ เพื่อเตรียมความพร้อมของการเปล่ียนแปลงในงานอาชีพและเป็น
ทางเลือกให้เกิดการให้ลูกค้าส่ังซื้อต่อไปในระยะยาว จากที่ข้าพเจ้ามุ่งมั่นต่อยอดอาชีพทำให้ครูได้เห็น
ความสามารถจึงให้โอกาสข้าพเจ้าในการเป็นวิทยากรรว่ มในการสานตะกร้าพลาสติก ดอกกุหลาบริบบ้ินให้กับ
น้อง ๆ ในโรงเรียนจากการเป็นผู้เรียนรู้ กลายเป็นผู้ถา่ ยทอดความรู้ และมีโอกาสในการสาธิตนำเสนอผลงาน
ด้านอาชีพต่อคณะกรรมการประเมิน และคณะกรรมการมาตรวจเย่ียมโรงเรียนอู่ทองอยู่เสมอ ข้าพเจ้ามีหลัก
คิดท่วี ่า “ยิ่งให้ ยง่ิ ได้รับ”

รปู ภาพประกอบ
การนอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน

นำเสนอผลงานการทำดอกกุหลาบจากรบิ บนิ้

รว่ มเปน็ วิทยากรสานตะกรา้ และ สอนเพอื่ นสานตะกร้าจัดทำโครงการธรุ กจิ

นำรายไดม้ าเปิดบัญชีออมเงินกับโรงเรียนธนาคารอู่ทอง
และเป็นพนักงานจิตอาสาโรงเรียนธนาคาร

เรื่องเลา่ ของนกั เรยี น
การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั

ชอื่ – สกลุ นายศุภโภค รอดแกว้ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

แนวคิด/แรงบนั ดาลใจในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
ในช่วงที่ผมกำลงั ศึกษาอยู่ในระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ผมมีโอกาสได้ทำงานด้านการทอ่ งเที่ยวเมือง

โบราณอทู่ อง ผมไดพ้ บเจอกับนกั ทอ่ งเทีย่ วจากต่างจงั หวัดมากมาย และเป็นช่วงเดยี วกันกับทโี่ รงเรียนของผม
มีการจัดทำห้องสำหรับการได้ดูของเก่าที่จัดโชว์ภายในห้อง ว่าของพวกน้ีเราไม่รู้จักเก็บรักษาเอาไว้ก็คงจะ
สญู สลายไปตามกาลเวลา ไม่ใชแ่ คว่ ตั ถแุ ตร่ วมถึงวฒั นธรรม ประเพณีอันดี เราจงึ ควรรู้จักและอนุรักษ์ไว้ให้อยู่
คกู่ ับท้องถ่นิ ต่อไปอีกนานเท่านานเช่นเดยี วกันกับการใชเ้ งินของเราหากเราไม่รู้จักเก็บรกั ษาหรืออดออมไม่นาน
คงหมดไป

การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตามรูปแบบ SMILE Model :
มคี วามรู้ สคู่ วามเป็นเลิศ ก่อเกิดคณุ ธรรม ใชเ้ หตุผลหนุนนำ มีภูมคิ ุ้มกัน เรียนรู้ สู้การเปลี่ยนแปลง สร้างอาชีพ
รูจ้ ักใช้อยา่ งพอประมาณ

1) เงอื่ นไข : ความรู้ (S) และคณุ ธรรม (M)
จากการที่ผมได้ศึกษาความรู้ต่าง ๆ ภายในห้องหลักสูตรท้องถิ่น ผมได้นำความรู้ที่ได้มาต่อยอดใน

การทำงานด้านการท่องเท่ียวภายในพื้นท่ี โดยผมนำมาเผยแพร่แก่นักท่องเท่ียวต่างจังหวัด ไม่ใช่เพื่อให้เขา
ทราบความเป็นมาของพ้ืนที่ท้องถ่ินผม แต่ผมมักจะบอกเสมอถึงคุณค่าในตัววัฒนธรรม วัตถุประเพณีที่ได้
สืบทอดมาในแต่ละท้องท่ี เพื่อหวังอยากให้พวกเขาตระหนักถึงคุณค่าของสิ่งที่สืบทอด และควรรักษาไว้
ภายในท้องถ่ินอีกด้วยและเพื่อเป็นการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเด็กต่างจังหวัดที่มาร่วมฟัง เผ่ือเขาจะอยาก
เผยแพร่แหลง่ ท่องเทีย่ วของตน และต่อยอดเปน็ อาชพี ทร่ี กั ในอนาคตได้

2) คณุ ลักษณะ : ความพอประมาณ (E) มีเหตุผล (I) และภูมิคมุ้ กัน (L)
ในชว่ งท่ีโรคโควดิ -19 ได้ระบาดในไทย เป็นช่วงทีง่ านด้านการทอ่ งเทย่ี วของผมลดลง จนแทบไม่มี

เลยทำให้รายได้ก็น้อยลงตามไปด้วย แต่ผมโชคดีท่ีได้รู้จักอดออมเงินไว้ทำให้ช่วยแบ่งเบาภาระทางการเงินของ
ทางบ้านได้อยู่บ้าง ซ่ึงเหตุการณ์แบบนี้ตัวผมเองก็ไม่คิดว่าจะเกิดข้ึนได้ แต่ผมก็รู้สึกดีที่เหมือนกับเราเตรียม
รับมือกับมันไว้แล้วโดยการออมเงินและเม่ือถึงเวลาท่ีเราลำบาก เราก็สามารถนำออกมาใช้เพ่ือแบ่งเบาภาระ
ดา้ นการเงินของครอบครวั ได้

ความสำเร็จจากการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน (ด้านเศรษฐกิจ สังคม
ส่งิ แวดลอ้ มและวฒั นธรรม)

ผมได้นำแรงบันดาลใจที่ได้จากภายในห้องหลักสูตรท้องถิ่นของโรงเรียนมาเป็นแรงผลักดันให้ผม
ทำงานต่อ และยังทำให้ผมอยากทำให้ทุก ๆ คนตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรม วิถีชีวิต และสิ่งท่ี
สืบทอดภายในชมุ ชนเพราะการท่ีเรารักษาไว้ และเผยแพร่มนั ออกมากส็ ามารถต่อยอดเปน็ ธุรกิจการท่องเที่ยว
ในระดับชุมชนได้

การเปน็ แบบอย่างและการถา่ ยทอดประสบการณ์ (ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา)
ในทุก ๆ คร้ังท่ีผมได้มีโอกาสเป็นผู้บรรยายพาเที่ยวชมให้กับนักท่องเที่ยวต่างพื้นที่ ผมมักจะ

บรรยายสอดแทรกเน้ือหาด้านเศรษฐกจิ พอเพียงลงไปด้วยทุกครัง้ โดยยกตัวอย่างจากชมุ ชนท่ที ำการท่องเที่ยว
เชิงเกษตรที่มีการบูรณาการ หลักเศรษฐกิจพอเพียงพร้อมท้ังพูดให้นักท่องเท่ียวทุกคนเห็นคุณค่าในสิ่งต่างๆ
ภายในชมุ ชนของพวกเขาเอง

รูปภาพประกอบ
การน้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั



ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา (ศรร.02) ช-4

ภาคผนวก ง

ภาพถา่ ยทเ่ี กี่ยวข้อง

โรงเรียนอทู่ อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา (ศรร.02) ช-4

ภาคผนวก ง

ภาพถ่ายที่เกีย่ วขอ้ ง

โรงเรยี นอทู่ อง จังหวดั สุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุพรรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา (ศรร.02) ช-4

ความสำเรจ็ ของสถานศกึ ษา

โรงเรียนอู่ทอง ได้รับการยอมรับและให้ความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ในการขับเคลื่อน
ห ล ั ก ป ร ั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ พ อ เ พ ี ย ง สู่ ภ า ย ใ น ส ถ า น ศ ึ ก ษ า แ ล ะ ข ย า ย ผ ล สู่ ภ า ย น อ ก ส ถ า น ศ ึ ก ษ า อ ย ่ า ง มี
ประสทิ ธภิ าพ สง่ ผลใหเ้ กิดผลสำเร็จเชิงประจกั ษ์ตอ่ สถานศึกษา ดงั นี้

ได้รบั คัดเลือกจากกระทรวงศกึ ษาธิการใหเ้ ป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้และ
การบริหารจัดการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งประจำปี ๒๕๕2 “สถานศึกษาพอเพียง ๒๕๕2”

โรงเรยี นอทู่ อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา (ศรร.02) ช-4

แบบอย่างการจัดฐานการเรียนรู้ “ศูนย์ศาสตร์พระราชา” ที่รองรับการฝึกปฏิบัติในภาคเกษตร
คหกรรม งานช่างอุตสาหกรรม ภายใต้โครงการศาสตร์พระราชา ด้วยการบูรณาการหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาเพิ่มเติมตามความถนัด อาทิ ธุรกิจอาหาร
การถนอมอาหารเบื้องต้น หลักการเกษตร การปลูกผักทั่วไป หลักพืชกรรม การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ
การเพาะเลี้ยงแคคตสั การผลิตพันธไ์ุ ม้นำ้ การปลกู พืชสมุนไพร โรคพชื การขยายพนั ธพ์ุ ชื การผลิตเช้ือเห็ด
การเพาะเห็ด การผสมดินปลูก การเลี้ยงไส้เดือน หลักการเลี้ยงสัตว์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเบื้องต้น
งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ช่างอ๊อก-เชื่อมไฟฟ้า งานเชื่อมซ่อมบำรุง โครงสร้างอาคาร พื้นฐานงานปูน
ความรู้เบื้องต้นทางวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
ปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพทางการหมัก เป็นต้น รวมทั้งรายวิชาอื่น ๆ ใน 8 กลุ่มสาระ สามารถเป็น
แบบอยา่ งท่ดี ีใหก้ ับสถานศึกษา หน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนศึกษาดูงาน

โรงเรยี นอทู่ อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาสุพรรณบรุ ี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา (ศรร.02) ช-4

โรงเรียนเป็นแบบอย่างการพัฒนา “หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษา
และอุดมศึกษา (Advance placement Curriculum on Aptitude)” ร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือ
สถาบันอาชีวศึกษาและ 9 สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน
สถาบันการศกึ ษา หนว่ ยงานภายนอก และรองรบั การศกึ ษาดงู านจากสถาบันการศึกษา อกี ทัง้ เปน็ Best Practice
เข้าประชุมนำเสนอการจัดหลักสตู ร ร่วมกับสำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ สำนักงาน
ศึกษาธิการภาค 3 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโรงเรียนในสำนักงาน
เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี อย่างต่อเนื่อง

โรงเรยี นอูท่ อง จังหวดั สุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา (ศรร.02) ช-4

รางวัล“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” การจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง “การเพาะเหด็ เศรษฐกิจ จดั การผลผลติ สนู่ วตั กรรมเหด็ มอื ถือ” จากครุ ุสภา ปกี ารศกึ ษา 2563

โรงเรียนอู่ทอง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบรุ ี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา (ศรร.02) ช-4

รางวัลการคัดเลอื กนวัตกรรมจัดการศึกษาตอ่ เนอื่ งเชอ่ื มโยงการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
กบั อาชีวศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา จังหวัดสุพรรณบรุ ี
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ประเภทการเรยี นรอู้ าชีพในท้องถิน่ ผา่ นสือ่ Clip video
ชนะเลศิ “เหด็ มือถือ” และรองชนะเลศิ อันดบั 1 “เหด็ มิลคก์ ”้ี

โรงเรียนอูท่ อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศกึ ษา (ศรร.02) ช-4

รางวลั คุณภาพแหง่ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (OBECQA)
จากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ปกี ารศึกษา 2561

รางวัล “โรงเรยี นธนาคารดีเดน่ ” ระดบั ประเทศ ปีการศึกษา 2557

รางวัลระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ระดับทอง ประจำปี 2562
จากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

โรงเรียนอูท่ อง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา (ศรร.02) ช-4

โรงเรยี นวถิ พี ุทธช้นั นำ รุ่นที่ 10

รางวัล “โรงเรยี นปลอดขยะต้นแบบ (Zero Waste School)” ระดับดเี ด่น
ประจำปี 2561

โรงเรยี นอู่ทอง จังหวดั สุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสุพรรณบรุ ี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา (ศรร.02) ช-4

โรงเรยี นอูท่ องรับการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบ 4 ปีการศกึ ษา 2562
ผลการประเมนิ คณุ ภาพอยู่ในระดับ “คุณภาพดเี ยย่ี ม” ทั้ง 3 ดา้ น

โรงเรียนอทู่ อง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสุพรรณบรุ ี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา (ศรร.02) ช-4

รางวลั ดเี ด่น ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ระดับภาคกลางและภาคตะวนั ออก

รางวัลระเบยี บแถว และสวนสนามลูกเสือ 9 ปีติดต่อกนั

โรงเรยี นอทู่ อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา (ศรร.02) ช-4

ความสำเร็จของผ้รู ิหาร

โรงเรียนอู่ทอง ได้รับการยอมรับและให้ความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ในการขับเคลื่อน
บริหารหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ภายในสถานศึกษาและขยายผลสู่ภายนอกสถานศึกษาอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ ส่งผลให้เกดิ ผลสำเรจ็ เชงิ ประจกั ษ์ตอ่ ผ้บู รหิ าร ดังนี้

ผู้บริหาร ได้รับรางวัล MOE AWARDS ปกี ารศึกษา 2557 ระดับดีเด่น
ประเภท บุคคล สาขา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จากกระทรวงศึกษาธิการ

โรงเรยี นอู่ทอง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา (ศรร.02) ช-4

ผบู้ ริหาร ไดร้ ับเคร่อื งหมายเชิดชเู กยี รติ “คุรสุ ดุด”ี จากคุรุสภา

ผู้บรหิ าร ได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติให้เปน็ แบบอยา่ งท่ีดีแกส่ ังคม
“ดา้ นครุ ุชน คนคุณธรรม” ระดับดีเยี่ยม

โรงเรยี นอทู่ อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศกึ ษา (ศรร.02) ช-4

ผ้บู ริหาร ไดร้ ับรางวลั ครดู ีเดน่ ประจำปีการศึกษา 2561
สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 9

ผ้บู รหิ ารได้รบั ยกย่องเชดิ ชเู กียรตใิ นฐานะ กรรมการและเลขานุการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานดเี ด่น
ประจำปีพุทธศกั ราช 2562

โรงเรียนอู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี


Click to View FlipBook Version