The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

Vol.5 No.2 วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

Keywords: วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

เจา ของ สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

ที่ปรกึ ษา ดร.สุเทพ แกง สนั เทียะ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

นายมณฑล ภาคสุวรรณ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

รศ.ดร.ศกั ด์ิ กองสวุ รรณ นายกสภาสถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1

ดร.เฉลิมศกั ดิ์ นามเชยี งใต นายกสภาสถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 3

ดร.ชาญทนงค บุญรักษา ผูอํานวยการสถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 2

นายสมใจ เชาวพ านิช ผอู าํ นวยการสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 3

นายลิขิต พลเหลา ผูอาํ นวยการสถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 4

ดร.กาญจนา เงอื่ นกลาง ผูอํานวยการสถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 5

บรรณาธิการอาวโุ ส ศ.ดร.สัมพนั ธ ฤทธิเดช เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอุดมศึกษา

รองบรรณาธิการอาวโุ ส ศ.ดร.มนตชัย เทียนทอง คณบดบี ณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาพระนครเหนือ

ศ.พล.ต.ต.ดร.เกียรติพงษ มเี พยี ร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม

บรรณาธิการ ดร.วรวทิ ย ศรีตระกูล ผอู าํ นวยการสถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1

รองบรรณาธกิ าร นายพงศว วิ ฒั น ฮงทอง รองผูอาํ นวยการสถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1

นายอุดมภูเบศวร สมบรู ณเ รศ รองผูอํานวยการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1

ดร.สนุ ทรผไท จนั ทระ ผอู าํ นวยการวิทยาลยั บรหิ ารธรุ กิจและการทอ งเท่ียวอดุ รธานี ทําหนาที่

ผชู ว ยผูอํานวยการสถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1

ผชู ว ยบรรณาธิการ ดร.อนริ ุทธ จนั ทมลู สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 3

นายโชค ออ นพรม ผเู ชย่ี วชาญดานการจดั การอาชวี ศกึ ษาบณั ฑติ

นายถาวร ราชรองเมือง ผูอาํ นวยการอาชีวศึกษาบณั ฑติ

นายชชั วาล ปณุ ขันธุ ผูอาํ นวยการสํานกั ยทุ ธศาสตรแ ละความรวมมอื อาชวี ศกึ ษา

กองบรรณาธิการ รศ.ดร.ธเนศ ธนิตยธ รี พนั ธ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาธนบรุ ี

รศ.ดร.ชญาดา สุระวนิชกุล มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน วทิ ยาเขตหนองคาย

ผศ.ดร.สาธติ กระเวนกจิ มหาวิทยาลยั ขอนแกน วทิ ยาเขตหนองคาย

ดร.พทุ ธ ธรรมสนุ า สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1

ดร.จักรี ตน เชอื้ สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 2

ดร.วิบูลย พันธสุ ะอาด สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 3

ดร.รุง สวาง บุญหนา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4

ดร.รวิกร แสงชํานิ สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5

ดร.สนิท หฤหรรษวาสนิ สถาบันเทคโนโลยจี ติ รลดา

ดร.เดชวชิ ยั พิมพโคตร วิทยาลยั เทคนิคหนองคาย

ดร.ยวุ ดี ธรรมสุนา วิทยาลัยบรหิ ารธุรกจิ และการทอ งเที่ยวอุดรธานี

เลขานุการกองบรรณาธกิ าร นางกรรณกิ า สายสญิ จน วทิ ยาลัยเทคนิคหนองคาย

นางปวีณา สมบูรณเรศ วทิ ยาลยั เทคนิคหนองคาย

ผูชว ยเลขานกุ ารกองบรรณาธกิ าร นางปภาภัทร แสงแกว วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาหนองคาย

ดร.พชั ร ออ นพรม วทิ ยาลัยเทคนิคหนองคาย

ที่อยูกองบรรณาธิการ 306 หมู 5 ต.โพธิช์ ัย อ.เมอื งหนองคาย จ.หนองคาย 43000

ผูประสานงาน นางอนสุ รณ พฤกษะศรี สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 โทร. 042-411447 มอื ถอื 084-6029320
โทร. 042-411445 มือถอื 081-7393264
นายขจรศักดิ์ วเิ ศษสุนทร สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 1 โทร. 042-411445 มือถือ 094-5058558
โทร. 042-411445 มอื ถอื 097-3265539
นางสาวชไมพร โมรา สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1

นางสาวภัคชาดา แยมสาขา สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1

Website : https://www.tci-thaijo.org/index.php/ve-irj/index E-mail : [email protected]

กาํ หนดออก ปล ะ 2 ฉบับ (มกราคม – มถิ นุ ายน และ กรกฎาคม - ธนั วาคม)

เร่มิ ตพี มิ พ มกราคม - มถิ ุนายน 2560

หนา

- การสงั เคราะหงานวิจยั ดา นอาชีวศกึ ษาเพ่ือจัดทาํ ขอ เสนอเชงิ นโยบายการจัดการอาชวี ศึกษา 1 - 12

ของสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กลุม อุตสาหกรรม

- การผลติ ถานอัดแทง จากเศษหนอไมเ หลือทิง้ 13 - 20

- ผลกระทบของผงแคลเซียมคารบอเนตตอ สมรรถนะการไหลและกาํ ลงั รบั แรงอดั 21 - 30

ของคอนกรีตมวลรวมเบาทอ่ี ัดแนน ไดดวยตวั เอง

- การพฒั นารั้วซเี มนตมอรต ารสําเรจ็ รูป 31 - 35

- อปุ กรณว งจรบูทแรงดันไฟฟากระแสตรงเพ่ือใหแรงดันท่อี นิ เวอรเ ตอรข ับมอเตอร 36 - 46

- การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชนั่ ระบบฐานขอมูลบณั ฑติ วิทยาลยั หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ) 47 - 56

สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธุรกิจ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาอุดรธานี

- การพฒั นารูปแบบการบริหารโฮมสเตย เพ่ือการทอ งเที่ยวชมุ ชนบนฐานเศรษฐกิจพอเพยี ง 57 - 64

ในพืน้ ทอ่ี าํ เภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี

- การศึกษาความสําเรจ็ ในการจัดทาํ บญั ชขี องวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอมในเขตจงั หวัดอดุ รธานี 65 - 74

- องคป ระกอบการจดั องคกรแหงนวตั กรรมทางการศกึ ษายคุ ดิจิทลั สําหรับสถาบันการอาชีวศกึ ษา 75 - 89

ภายใตสถานการณวิถีปกติใหมใ นประเทศไทย

- การศกึ ษาลกั ษณะการใชอาคารเรยี นและพนื้ ท่ีปฏบิ ตั ิการ สาขาวิชาเครื่องกล

วิทยาลัยในสงั กดั สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 90 - 98

- รปู แบบการบรหิ ารจดั การศูนยทดสอบและรับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพและคุณวฒุ ิวิชาชพี 99 -112

เพื่อพฒั นาคุณภาพผูเรยี นและชมุ ชน วทิ ยาลัยสารพัดชางเพชรบรู ณ

- คาํ ศัพทรว มสมยั : ยุคศตวรรษท่ี 21 ยุคดิจติ อลและยุคไทยแลนด 4.0 113 - 123

- ทบทวนวรรณกรรม เรอื่ ง เทคโนโลยกี ารทอดสุญญากาศ 124 - 136

- การศึกษาพฒั นาชดุ การสอน วิชาการขบั รถยนต รหสั วชิ า 2101-2105 ของนักศึกษา 137 - 149

ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2556 สาขาวิชาชา งยนต วิทยาลยั เทคนคิ หนองคาย

- การสรา งและหาประสิทธภิ าพเอกสารประกอบการสอน 150 - 157

รายวชิ างานเครอ่ื งยนตแกสโซลีน รหสั วิชา 20101-2001

- รายงานการสรางและหาประสิทธภิ าพเอกสารประกอบการสอนวชิ าผลิตช้นิ สวนดวยเครื่องมือกล 1 158 - 175

รหสั วชิ า 20102-2008 หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

- องคป ระกอบและตัวบงชข้ี องคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคส าํ หรบั นกั ศึกษา ครชู า งอุตสาหกรรม 176 - 187

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล

- การพฒั นาหลักสตู รฝกอบรมเพอ่ื พฒั นาสมรรถนะครูดานการจดั การเรยี นรู แบบใชโ ครงงานเปน ฐาน 188 - 199
ของวิทยาลัยการอาชีพปราณบรุ ี 200 -213

- การศึกษารปู แบบการเรยี นรขู องนักศกึ ษาและความคิดเหน็ ตอ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน
ในรายวชิ า ทฤษฎโี ครงสราง กรณีศึกษา: ระดับ ปวส.1 แผนกวชิ าชางกอสราง วทิ ยาลัยเทคนิคนาน

Vocational Education Innovation and Research Journal 1

วารสารวจิ ัยและนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

การสังเคราะห์งานวิจยั ด้านอาชีวศึกษาเพื่อจัดทาขอ้ เสนอเชิงนโยบาย
การจดั การอาชีวศึกษาของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กลุ่มอุตสาหกรรม

เรืออากาศโทสมพร ปานดา1
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

ดร.วรวทิ ย์ ศรีตระกูล2
ผูอ้ านวยการสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 1

บทคัดยอ่
บทความฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือสังเคราะห์งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับด้านอาชีวศึกษาเพ่ือจัดทาข้อเสนอเชิง

นโยบายการจดั การอาชีวศึกษาของสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ของกลุ่มอุตสาหกรรม โดยศึกษารวบรวม
และสังเคราะห์งานวิจัยท้ังสิ้น 26 งานวิจัย โดยสังเคราะห์ใน 6 ประเด็น ประกอบไปด้วย ประเด็นที่ 1 ด้านหลักสูตร
ประเด็นที่ 2 ด้านครู ประเด็นท่ี 3 ด้านผู้เรียน ประเด็นที่ 4 ด้านการจัดการเรียนการสอนจานวน ประเด็นท่ี 5 ด้าน
การบริหารจัดการ ประเด็นท่ี 6 ด้านความร่วมมือ และ ประเด็นที่ 7 เรื่องอื่น ๆ ท่ีเก่ียวนโยบายและแนวโน้มการ
พฒั นา

ผลการสังเคราะห์งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับด้านอาชีวศึกษา สามารถนามาจัดทาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายการ
จัดการอาชีวศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ของกลุ่มอุตสาหกรรม และเป็นแนวทางการปฏิบัติ
รวมทั้งการนาไปประยุกต์ใช้ จัดทาโรงการต่าง ๆ เพื่อการสร้างกาลังคนอาชีวศึกษาให้มีความสามารถผสมผสาน
วิชาการด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมให้เข้ากับทักษะทางด้านช่าง สร้างนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ควบคู่กับ
การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อันจะนาไปสู่การยกระดับความสามารถทางเทคโนโลยี ให้กับภาคการ
ผลติ ของประเทศ
คาสาคัญ : อาชีวศึกษา, อุตสาหกรรม, นโยบาย, ขอ้ เสนอ, สังเคราะห์งานวจิ ยั

1รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
2ผ้อู านวยการสถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 2

2 วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

บทนา
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 ได้กล่าวถึงสาเหตุท่ีทาให้ประเทศไทยต้องมีการปรับตัวให้พร้อม

สาหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการของประเทศให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลง และสามารถแข่งขันกับนานา
ประเทศได้ โดยการเตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน เคร่ืองจักร เทคโนโลยี และกาลังคนให้มีความรู้
ความสามารถ และทักษะ เพื่อเข้าสู่สังคมงานและอาชีพได้อย่างสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ
สังคม และเทคโนโลยี โดยเฉพาะการผลิตกาลังคนให้ตรงตามความต้องการกาลังคนในภาคอุตสาหกรรมและการ
บรกิ าร เนือ่ งจากระบบเศรษฐกิจโลกกาลังเปลย่ี นแปลงไปสู่อตุ สาหกรรมสมัยใหม่ ปัจจุบนั นวตั กรรมและเทคโนโลยี มี
การพฒั นาไปอยา่ งไม่หยดุ ยัง้ สง่ ผลใหเ้ กิดอุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ขึ้นมาเป็นจานวนมากเพื่อตอบสนอง
ความต้องการของตลาด [1] ทั้งน้ีการแปลงของโลกเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านวิทยาการความก้าวหน้าทาง
สนเทศเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง มีแนวโน้มท่ีจะเกิดการเปล่ียนแปลงแบบพลิกผนั (Disruptive change) ยิ่งขน้ึ
สภาวการณ์เปลีย่ นแปลงนี้ของโลกเรียกว่า โลกยุควูก้า หรือ VUCA World โดยคาว่า VUCA เป็นคาที่เกิดจากอักษร
ตัวแรกของคา 4 คาในภาษาอังกฤษ ซึ่งสะท้อนถึงสภาวการณ์ทีม่ ีลักษะพเิ ศษ 4 อย่างดังนี้ ความผันผวน (volatility)
ความไม่แน่นอน (uncertainty) ความสลับซับซ้อน (complexity) และความคลุมเครือ (ambiguity) [2] จาก
สภาวการณด์ งั กล่าวของ WCA World ส่งผลให้นกั วทิ ยาศาสตรแ์ ละผนู้ าโลกไมส่ ามารถคาดการณ์ได้ว่าอะไรจะเกิดขึ้น
ในโลกอนาคต โดยมีการเปลี่ยนแปลงของ 2 ด้านที่สาคญั [3] คอื 1) ในดา้ นที่เกยี่ วกบั การเปลย่ี นแปลงของภูมิอากาศ
1.1) มคี วามผันผวนแบบสดุ ข้ัว เชน่ แล้งจดั น้าทว่ มรนุ แรง 1.2) มสี ง่ิ เล็ก ๆ ทมี่ ีพลงั มหาศาลและสง่ ใหเ้ กิดผลกระทบท่ี
รุนแรงและกว้างขวางได้ ดังที่พบเห็นอยู่ในปัจจุบัน คือ เชื้อไวรัสโควดิ -19 (Covid-19) ท่ีส่งผลกระทบไปทุกระบบทวั่
ทั้งโลก และยังไม่แน่ชัดว่าจะยุติสถานการณ์น้ีได้อย่างไร 2) ในต้นพลังของการขับเคล่ือนสังคม ปัจจุบันโลกสังคม
ออนไลน์ซ่ึงเป็นพลังเล็ก ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อสังคมอย่างมหาศาลเกิดการเผยแพร่วัฒนธรรมและการกระจายข้อมูล
ต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว ซ่ึงทุกภาคส่วนได้รับผลกระทบ รวมถึงภาคการศึกษาที่ต้องรับมือกับกระแสโลกที่ผันผวนนี้ด้วย
นอกจากนี้แล้วยังพบว่า ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทาให้ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI (Artificial Intelligence)
รวมทั้งหุ่นยนต์ที่มีคุณสมบัติและความสามารถคล้ายมนุษย์และยังสามารถทางานหลายอย่างได้ดีกว่ามนุษย์ โดยใน
ปัจจุบนั AI ไดเ้ ข้ามาทางานแทนทีม่ นษุ ย์ในเกือบทุกอุตสาหกรรม [4] ทาใหม้ นษุ ยส์ ะดวกสบายมากยิง่ ขึน้ ซ่งึ ทีผ่ า่ นมา
การศึกษาของไทยเป็นการศึกษาที่การตอบสนองการเรียนรู้ด้วยความรู้ที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อย ซ่ึงไม่สอดคล้องกับ
ปัจจุบันท่ีความรู้เปล่ียนแปลได้อย่างรวดเร็ว ไม่แน่นอน ซับซ้อนและคลุมเครือ [5] ส่ิงเหล่านี้จะย่ิงเพ่ิมความท้าทาย
ให้กับการจัดการศึกษาท่ีความคาดหวังในการเตรียมทรัพยากรมนุษยใ์ นระดบั ต่าง ๆ ให้มีความสามารถในการปรับตวั
และตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงดังกล่าวมากยง่ิ ข้นึ ตามลาดับ สาหรับทศิ ทางการพัฒนาด้านการศึกษาจากประเทศ
ต่าง ๆ ทั่วโลก มีการวางแผนระยะยาวด้านการพัฒนาประเทศเพ่ือให้เกิดความเป็นเอกภาพในการพัฒนาท้ังด้าน
เศรษฐกิจ สังคม การเมืองและส่ิงแวดล้อม [6] ภายใต้แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการศึกษาและการเรียนรู้ท่ี
ตอบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21

ผู้เขียนจึงรวบรวมแนวทางจากการค้นคว้าและสืบค้นงานวิจัยท่ีมีความโดดเด่นด้านการพัฒนาทุนมนุษย์ด้าน
กาลงั คนอาชวี ศึกษา และการพฒั นาทร่ี องรับกบั โลกในศตวรรษท่ี 21 มาสังเคราะห์ เพื่อจัดทาขอ้ เสนอเชิงนโยบายการ
จัดการอาชีวศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ของกลุ่มอุตสาหกรรม โดยมีรายละเอียดประเด็นท่ี
นามาสังเคราะห์งานวิจัยด้านอาชีวศึกษาเพื่อจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการอาชีวศึกษาของสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษากลุ่มอตุ สาหกรรม ดงั น้ี ประเดน็ ที่ 1 หลักสตู รจานวน 3 เรอื่ ง ประเดน็ ที่ 2 ครู จานวน
3 เร่ือง ประเด็นท่ี 3 ผู้เรียน จานวน 3 เรื่อง ประเด็นที่ 4 การจัดการเรียนการสอนจานวน 4 เรื่อง ประเด็นที่ 5
การบริหารจัดการจานวน 4 เร่ือง ประเด็นที่ 6 ความร่วมมือ จานวน 4 เรื่อง และ ประเด็นท่ี 7 เร่ืองอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียว

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 3

วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

นโยบายและแนวโน้มการพัฒนาจานวน 5 เร่ือง เพื่อจัดทาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการอาชีวศึกษาของ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาของกลุ่มอุตสาหกรรม เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ของ
อาชีวศึกษา นาไปสู่เป้าหมายการสร้างกาลังคนอาชวี ศึกษาให้มีความสามารถผสมผสานวิชาการด้านเทคโนโลยี และ
นวัตกรรมให้เข้ากับทักษะทางด้านช่าง เพ่ือสร้างนวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ ควบคู่กับการพัฒนาทักษะการ
เรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 อันจะนาไปส่กู ารยกระดับความสามารถทางเทคโนโลยี ให้กับภาคการผลิตของประเทศ

ผลการสังเคราะหง์ านวิจัยดา้ นอาชวี ศกึ ษา
ประเด็นที่ 1 ดา้ นหลกั สูตร

อุตสาหกรรม 4.0 ความตระหนักด้านส่ิงแวดล้อม [7] และการศึกษาเปรียบเทียบเพื่อยกระดับการพัฒนาช่าง
เทคนิคพรีเม่ียม สาขาเมคคาทรอนิกส์และ หุ่นยนต์กับสาขาเทคนิคควบคุมและซ่อมบารุงระบบขนส่งทางรางให้
สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย [8] โดยมีประเด็นที่น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายที่
ปฏบิ ัติได้ คือ สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา พัฒนาหลกั สตู รการจดั การสงิ่ แวดล้อม เพ่ือเพิม่ ศกั ยภาพในการ
เพิ่มผลผลิต “อุตสาหกรรมสีเขียว 4.0” (Green Industry) ผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green Product) การตลาดสีเขียว
(Green Marketing) การเพมิ่ ผลติ ภาพสเี ขียว (Green Productivity) การประเมินวฏั จักรชวี ติ ผลิตภัณฑ์ (Life Cycle
Assessment : LCA) เทคโนโลยีอัจฉริยะท่ีสอดคล้องกับแนวคิดสีเขียว (Smart is new green) Smart cities,
Smart factories หรือ Smart farms, Innovating to Zero, Future of energy

การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาประเภทช่างอตุ สาหกรรมภายใต้นโยบายประเทศไทย 4.0
[9] และการศึกษาเปรียบเทียบเพื่อยกระดับการพฒั นาชา่ งเทคนคิ พรีเมี่ยมสาขาเมคคาทรอนิกสแ์ ละหุ่นยนต์กบั สาขา
เทคนคิ ควบคุมและซ่อมบารุงระบบขนสง่ ทางรางให้สอดคล้องกับการพฒั นาประเทศในกลุม่ อุตสาหกรรมเป้าหมาย [8]
โดยมีประเด็นท่ีน่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายท่ีปฏิบัติได้ คือ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรส่งเสริม
และจดั อบรมผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ใหเ้ ขา้ ใจในกระบวนการพฒั นาหลักสูตร ทีส่ อดคลอ้ งกับมาตรฐานอาชีพ มาตรฐาน
คุณวุฒิวิชาชีพ และเพ่ิมความร่วมมือกับต่างประเทศ และเร่งพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพ ให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของสถานประกอบการกับนโยบายการพัฒนา และการแข่งขันของประเทศ ควรส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัด
หลกั สูตรพฒั นาเพ่ิมทกั ษะ (Up skill) ใหก้ บั กลุม่ แรงงานในอุตสาหกรรม ยกระดบั ให้เปน็ ช่างเทคนคิ พรเี มยี ม เนอ่ื งจาก
แรงงานท่มี ีการศึกษาไมเ่ กินระดบั มธั ยมตน้ มีสัดส่วนสูงถงึ 61.30%

ความสามารถในการแขงขันของประเทศกบั การพฒั นาอย่างยงั่ ยนื : กรณีศกึ ษาการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยของ
ประเทศสิงคโปรและประเทศไทย [11] โดยมีประเด็นที่น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายที่ปฏิบัติได้ คือ สานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา พัฒนาหลักสูตรใหผ้ ้เู รยี นอาชีวศึกษามที ักษะแห่งอนาคต

1) การวเิ คราะหขอมูล (Data analytics) - การเงิน (Finance)
2) บรกิ ารท่ีใชเทคโนโลยเี ปนฐาน (Tech-enable services)
3) ส่ือดจิ ิทัล (Digital media) - ความปลอดภัยทางไซเบอร (Cyber security)
4) การเปนผู้ประกอบการ (Entrepreneurship)
5) การผลิตขั้นสงู (Advanced manufacturing)
6) การพฒั นาเมือง (Urban solution)

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 4

4 วารสารวจิ ัยและนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ประเด็นท่ี 2 ด้านครู
การสังเคราะห์และพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลครูอาชีวศึกษา เพื่อรองรับนโยบายประเทศไทย 4.0 [12] โดยมี

ประเด็นท่นี ่าสนใจในการนาไปส่นู โยบายท่ปี ฏบิ ตั ิได้ คือ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ควรพฒั นาหลักสตู ร
ฝึกอบรมพัฒนาครูอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะดิจิทัล โดยเฉพาะเร่ืองที่เก่ียวข้องกับการปกป้องข้อมูลส่วนตัว และส่วน
ราชการ เช่น การป้องกันภัยคุกคามข้อมูลระบบเครือข่าย การป้องกันมัลแวร์ การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างถูกต้องและ
ปลอดภยั

โครงการวิจยั เพือ่ พัฒนาต้นแบบคลงั ปัญญาเพอ่ื การผลิตและพัฒนาชา่ งเทคนคิ : กรณีศกึ ษาสาขาปิโตรเคมีและ
เคมภี ัณฑ์ [13] โดยมปี ระเด็นท่นี า่ สนใจในการนาไปส่นู โยบายทีป่ ฏิบัติได้ คือ สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
ควรดาเนินการสร้างระบบการขับเคล่ือนความร่วมมือกับภาคประกอบการ ด้วยนวัตกรรมคลังปัญญา (Intelligence
Center) เพ่ิมช่องทางสอื่ สารระหว่างสถานศกึ ษากับภาคประกอบการ ขยายศูนย์ทดสอบมาตรฐานอาชพี และคุณวฒุ ิ
วิชาชีพ และแสวงหาความร่วมมอื เพิ่มเติมกับสถานประกอบการท่ีมีศักยภาพและพร้อมที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้ ของ
ตน เช่ือมโยงเครอื ข่ายขอ้ มูล องคค์ วามรู้ และการสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นรรู้ ่วมกนั ใหค้ รูในสถานศึกษา และครูฝกึ ใน
สถานประกอบการได้นาองคค์ วามรูไ้ ปใช้ร่วมกัน

การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูในการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพเพื่อพัฒนาทกั ษะการคิดแก้ปัญหางาน [14]
และการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพ่ือส่งเสริมทักษะในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนอาชีวศึกษาตามแนวคิด
ทฤษฎีการสร้างความรู้ [15] โดยมีประเด็นที่น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายที่ปฏิบัติได้ คือ สานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา ควรจัดการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูชา่ งอุตสาหกรรมให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ก่อให้เกิด
“ทักษะการคิดแก้ปัญหา” (Problem solving skills) ของนักศึกษาที่นาไปสู่การแก้ปัญหาในการทางานในสถาน
ประกอบการ และส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมที่พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา ให้มีกระบวนการ
แก้ปัญหาในชีวิตท่ีมีกระบวนการคิด ควบคุมการคิดด้วยตนเอง และมีการถ่ายทอดการคิด หลากหลายช่องทาง
ลดปัญหาการใชค้ วามรุนแรง ทะเลาะวิวาทได้

ประเด็นที่ 3 ดา้ นผูเ้ รยี น
นักศึกษาให้ความสาคัญกับทักษะท่ีจาเป็นในยุคดิจิทัลอย่างไร การศึกษานาร่องโดยใช้การวิเคราะห์เอ็มดีเอส

และเอ็มดียู [16] โดยมีประเด็นที่น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายท่ีปฏิบัติได้ คือ สานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษาควรจัดอบรมครูอาชีวศึกษาเพ่ือพัฒนาความรู้ให้สามารถพัฒนา “ทักษะยุคดิจิทัลในระดับสูง”
ประกอบด้วย 1) ทักษะด้านอารมณ์ 2) ทักษะเก่ียวกับรหัส 3) ทักษะสื่อสังคม 4) ทักษะในการจูงใจตนเอง
5) ทกั ษะความคดิ สร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม 6) ทักษะภาษา และ 7) ทกั ษะด้านการวเิ คราะห์

โครงการศึกษาการพัฒนากาลังคนด้านดิจิทัล (Digital Manpower) เพ่ือรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย
(S-Curve) และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) มูลนิธิ
สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย : TDRI [17] โดยมีประเด็นที่น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายที่ปฏิบัติได้ คือ
รัฐบาลควรมีนโยบายเพ่ือให้เกิดกาลังคนด้านดิจิทัล ที่สามารถพัฒนาและใช้เทคโนโลยีหลักที่เปล่ียนแปลงอย่างพลิก
ผันได้ และสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรจัดทาโครงการ ICT Model Schools ให้สถาบันการศึกษา
สมคั รเขา้ รว่ มโครงการ หลกั สูตรการสอนทเ่ี หมาะสมและความพรอ้ มดา้ น สถานท่ีและอปุ กรณ์วจิ ัย แล้วได้รบั สนบั สนนุ
จากสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาควรจัดหลกั สูตรพัฒนาดา้ น ICT
อย่างเข้มข้นระยะประมาณ 6 เดือน สาหรับผู้สอนสาขาธุรกิจดิจิทัล เพื่อไปสร้างกาลังพลด้านดิจิทัลให้กับประเทศ
ต่อไป และควรสนบั สนนุ ให้มีการสอบวัดระดบั ทกั ษะอาชีพ ICT ตามมาตรฐานสากล

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 5

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

การศึกษาทักษะท่พี ึงประสงคใ์ นศตวรรษที่ 21 ของนกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี ประจาปกี ารศึกษา
2562 [18] การพฒั นาทกั ษะชีวติ ดา้ นทกั ษะทางปัญญาอย่างมีวจิ ารณญาณของนักศึกษาระดบั อาชวี ศึกษา [19] โดยมี
ประเด็นที่น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายท่ีปฏิบัติได้ คือ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรจัดอบรมครู
อาชีวศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ให้สามารถพฒั นาทกั ษะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรียนโดยเฉพาะในเร่ือง 1) ทักษะการสื่อสาร
และเจรจาตอ่ รอง 2) ทกั ษะทางปญั ญาอยา่ งมีวจิ ารณญาณ

ประเดน็ ที่ 4 ด้านการจดั การเรียนการสอน
การพัฒนาทักษะชีวิตด้านทักษะทางปัญญาอย่างมีวิจารณญาณ ของนักศึกษาระดับอาชีวศึกษา [19] โดยมี

ประเด็นท่ีน่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายท่ีปฏิบตั ไิ ด้ คือ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา พัฒนากระบวนการ
เรียนรู้ด้านพฤติกรรมด้วยกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียน ด้วยทักษะชีวิตด้านทักษะทางปัญญาอย่างมีวิจารณญาณ (CCS)
เพือ่ ลดปญั หาการมีพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ในการทางาน และชวี ติ ประจาวัน

การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานออนไลน์ ที่มีการส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยเทคนิคความผูกพันของ
ผู้เรียน สาหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา [20] โดยมีประเด็นที่น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายที่ปฏิบัติได้ คือ สานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษานากลยุทธ์การสร้างความผูกพันธ์ระหว่างเรียน Online เช่น การเรียนรู้ร่วมกัน การ
ติดตามใกล้ชิด การสรา้ งความม่ันใจใหก้ บั ผเู้ รียน ช่วยในการกระตนุ้ การตอบสนองในช้นั เรียน

รปู แบบสมรรถนะครูเกอ้ื หนุนในระบบการเรยี นรู้เชิงบูรณาการร่วมกับ การทางานสาหรับอาชีวศึกษา [21] โดย
มีประเดน็ ที่น่าสนใจในการนาไปสนู่ โยบายทปี่ ฏบิ ตั ิได้ คือ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาพฒั นาสมรรถนะครู
นิเทศติดตามผู้เรียนในสถานประกอบการ เน้นสมรรถนะครูเก้ือหนุน (Facilitators) โดยมีการประเมินสมรรถนะครู
เก้ือหนนุ

การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเปน็ ฐาน (Project Based Learning : PjBL) โดยการใช้ไอซที เี พอื่ พฒั นา
ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้สาหรับนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก
[22] โดยมีประเด็นท่ีน่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายท่ีปฏิบัติได้ คือ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาพัฒนา
ทักษะการสอนแบบ (Project Based Learning : PjBL) ของครูอาชีวศึกษา ในรูปแบบ Online ให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์ในปัจจุบัน รองรับการเปลยี่ นแปลงในอนาคต

ประเดน็ ท่ี 5 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
การจัดการความเส่ียงท่ีส่งผลต่อการบรรลุมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการ

อาชีวศึกษาภาคกลาง 4 [23] โดยมีประเดน็ ที่น่าสนใจในการนาไปส่นู โยบายท่ีปฏบิ ัติได้ คือ สานักงานคณะกรรมการ
การอาชวี ศกึ ษา ส่งเสริมให้สถานศกึ ษามีการจัดการความเสี่ยงด้านการดาเนินงาน โดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการ
ดาเนินงานอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ สอศ. สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดทาแผนบริหารความเส่ียงตาม
มาตรฐานการอาชีวศึกษา

การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชวี ศึกษาเอกชนตามมาตรฐานการ
อาชีวศึกษา พ.ศ.2561 : การประยุกต์ใช้พหุแนวคิด (ณัฐพล ธิตินานันทกูล, 2563) [24] โดยมีประเด็นที่น่าสนใจใน
การนาไปสู่นโยบายท่ปี ฏิบัตไิ ด้ คือ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรกาหนดแนวปฏิบตั ิ หรือจัดหา จัดทา
คู่มือแนวปฏิบัติท่ีดีท่ีเกิดจากการประยุกต์ใช้พหุแนวคิดในการประกันคุณภาพการศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของ
สถานศึกษาและควรสนบั สนุน ส่งเสริมให้มกี ารจดั ทาแผนพัฒนาคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของนกั ศึกษาประจาปีที่เกิด

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 6

6 วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

จากการมีส่วนรว่ มของผู้เรียนและครู พรอ้ มมกี ารกากับ ตดิ ตามรายงานผลการดาเนินการ รวมทงั้ ควรมกี ารบูรณาการ
หลักสูตรใหส้ อดคลอ้ งกบั การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นการอาชวี ศกึ ษา (V-NET)

แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานอาชีวศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาขอนแก่น [25] โดยมีประเด็นท่ี
น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายท่ีปฏิบัตไิ ด้ คอื สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาควรสนบั สนุนส่งเสรมิ ให้มีการ
จัดทาแผนการศึกษาระยะสั้นโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศ ปัจจัยการบริหารจัดการที่มาจาก SWOT ที่สอดรับและ
สอดคล้องกับแผนพัฒนาตนเองของครโู ดยใชผ้ ่านระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการ

การศึกษาการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคระยอง [27] โดยมีประเด็นที่
นา่ สนใจในการนาไปสูน่ โยบายท่ีปฏบิ ตั ไิ ด้ คอื สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ควรมีการพัฒนาบคุ ลากรเพื่อ
สง่ เสริมความเขา้ ใจในการประกันคุณภาพการศึกษาท้ังกล่มุ ผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาอนื่

ประเด็นท่ี 5 ด้านการบรหิ ารจดั การ
การจัดการความเสี่ยงท่ีส่งผลต่อการบรรลุมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการ

อาชีวศึกษาภาคกลาง 4 [24] โดยมีประเด็นท่ีน่าสนใจในการนาไปส่นู โยบายที่ปฏบิ ตั ิได้ คือ สานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา ควรส่งเสรมิ ให้สถานศึกษามีการจัดการความเส่ียงด้านการดาเนินงาน โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศใน
การดาเนินงานอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และ สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงตาม
มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา

การศึกษาแนวปฏิบัติทด่ี ีในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชวี ศึกษาเอกชนตามมาตรฐานการ
อาชีวศึกษา พ.ศ.2561 : การประยุกต์ใช้พหุแนวคิด [25] โดยมีประเด็นท่ีน่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายที่ปฏิบัติได้
คือ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรกาหนดแนวปฏิบัติ หรือจัดหา จัดทาคู่มือแนวปฏิบัติที่ดีท่ีเกิดจาก
การประยุกต์ใช้พหุแนวคิดในการประกันคุณภาพการศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา รวมท้ังควร
สนับสนุน ส่งเสริมให้มีการจัดทาแผนพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของนักศึกษาประจาปี ท่ีเกิดจากการมีส่วนร่วม
ของผู้เรียนและครู พร้อมมีการกากับ ติดตามรายงานผลการดาเนินการ และควรมีการบูรณาการหลักสูตรให้
สอดคลอ้ งกับ

การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการอาชีวศึกษา (V-NET) แนวทางการบริหารสถานศึกษาตาม
มาตรฐานอาชีวศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาขอนแก่น [26] โดยมีประเด็นท่ีน่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายที่ปฏิบตั ิได้ คือ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรสนับสนุนส่งเสริมให้มีการจัดทาแผนการศึกษาระยะส้ันโดยใช้ข้อมูล
สารสนเทศ ปัจจัยการบริหารจัดการที่มาจาก SWOT ท่ีสอดรับและสอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาตนเองของครูโดยใช้ผา่ น
ระบบสารสนเทศในการบรหิ ารจัดการ

การศึกษาการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคระยอง [27] โดยมีประเด็นท่ี
น่าสนใจในการนาไปสนู่ โยบายที่ปฏบิ ตั ไิ ด้ คือ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรมีการพฒั นาบุคลากรเพื่อ
สง่ เสริมความเข้าใจในการประกันคุณภาพการศึกษาทงั้ กลุ่ม ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน

ประเด็นท่ี 5 ดา้ นการบริหารจดั การ
การจัดการความเส่ียงท่ีส่งผลต่อการบรรลุมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการ

อาชีวศึกษาภาคกลาง 4 [24] โดยมีประเด็นท่ีน่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายที่ปฏิบตั ิได้ คือ สานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา ควรส่งเสรมิ ใหส้ ถานศึกษามกี ารจัดการความเส่ียงด้านการดาเนินงาน โดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศใน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 7

วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

การดาเนินงานอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงตาม
มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา

การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชวี ศึกษาเอกชนตามมาตรฐานการ
อาชีวศึกษา พ.ศ.2561 : การประยุกต์ใช้พหุแนวคิด [25] โดยมีประเด็นที่น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายท่ีปฏิบัตไิ ด้
คอื สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ควรกาหนดแนวปฏบิ ัติหรอื จดั หา จดั ทาค่มู อื แนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดีท่เี กดิ จากการ
ประยุกต์ใช้พหุแนวคิดในการประกันคุณภาพการศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา รวมท้ังควรสนับสนุน
ส่งเสริมให้มีการจัดทาแผนพัฒนาคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของนกั ศึกษาประจาปี ท่ีเกิดจากการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
และครู พร้อมมีการกากับ ติดตามรายงานผลการดาเนินการ และควรมีการบูรณาการหลักสูตรให้สอดคล้องกับการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการอาชวี ศกึ ษา (V-NET)

แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานอาชีวศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาขอนแก่น [25] โดยมีประเด็นท่ี
นา่ สนใจในการนาไปสนู่ โยบายทปี่ ฏิบัตไิ ด้ คอื สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรสนบั สนุนสง่ เสริมให้มีการ
จัดทาแผนการศึกษาระยะสั้นโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศ ปัจจัยการบริหารจัดการที่มาจาก SWOT ที่สอดรับและ
สอดคล้องกับแผนพฒั นาตนเองของครโู ดยใชผ้ า่ นระบบสารสนเทศในการบริหารจดั การ

การศึกษาการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคระยอง [26] โดยมีประเด็นท่ี
น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายทีป่ ฏิบัติได้ คือ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาควรมีการพฒั นาบคุ ลากรเพ่ือ
สง่ เสรมิ ความเข้าใจในการประกันคุณภาพการศกึ ษาทัง้ กลุ่ม ผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาอนื่

ประเดน็ ที่ 6 ดา้ นความร่วมมือ
การพัฒนาระบบความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ระหว่างสถานศึกษากับสถาน

ประกอบการ [27] โดยมีประเด็นที่น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายที่ปฏิบัติได้ คือ สานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษาควร จัดงบประมาณ หรือดาเนินการ ฝึกอบรมเตรียมความพร้อมครูผู้สอนอาชีวศึ กษา ก่อนออกฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ รัฐบาลและสอศ. ควรสนับสนุนระบบความร่วมมือกับอาชีวศึกษา
ต่างประเทศมากข้ึน เช่น การแลกเปลี่ยน ครู/นักศึกษาอาชีวศึกษา การส่งครู /นักศึกษาฝึกประสบการณ์ใน
ต่างประเทศ

การพัฒนาความร่วมมือกับภาคประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาเชิงรุก ประเภทวิชาอุตสาหกรรม [28]
รัฐบาล ควรขับเคล่ือนการใช้กฎหมายเฉพาะเพื่อส่งเสริมให้ ภาคประกอบการอุตสาหกรรม ร่วมจัดการอาชีวศึกษา
มากยง่ิ ขึน้ โดยมกี ลไกท่รี ฐั บาลไทยยังไมไ่ ดด้ าเนนิ การ ดังนี้

1) ตรากฎหมายเฉพาะ เพอื่ สร้างมาตรการจูงใจ สิทธปิ ระโยชน์
2) สนับสนนุ การจัดตัง้ กองทนุ สทิ ธปิ ระโยชน์เพ่ือส่งเสริมความร่วมมอื
รูปแบบความร่วมมือการผลติ นกั ศึกษาชา่ งเทคนิควิศวกรรมเคมี : กรณีศึกษาการผลิตช่างเทคนิควิศวกรรมเคมี
สาขาปิโตรเคมี วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด [29] โดยมีประเด็นที่น่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายท่ีปฏิบัติได้ คือ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาควร ควรผลักดันให้เกิดกระบวนการ การบริหารโครงการในรูปแบบ
คณะกรรมการโดยมีภาคเอกชนเปน็ ผนู้ า และ ควรผลกั ดนั ใหเ้ กิดแนวทางการจดั การเรยี นรู้ในสถานประกอบการ เนน้
พ้ืนฐานความรู้ (Background Knowledge) เรียนรู้จากงานจริง Learning by Doing และออกแบบเครื่องมือในการ
เรียนรู้ หรือสรา้ งคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ เช่น Dialogue, Mindfulness
โครงการขับเคลื่อนการจัดการอาชีวศึกษาและระบบทวิภาคีเชิงพื้นท่ี [30] โดยมีประเด็นที่น่าสนใจในการ
นาไปสนู่ โยบายที่ปฏบิ ตั ไิ ด้ คือ สถานศึกษา ต้องวิเคราะห์ความตอ้ งการของสถานประกอบการในพืน้ ที่ ความต้องการ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 8

8 วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ของผู้เรียน ผู้ปกครอง และความพร้อมของสถานศึกษา โดยท่ีผู้บริหาร หัวหน้างาน และครู ที่โยกย้ายมายัง
สถานศึกษาเฉพาะทาง ตอ้ งต่อยอดนโยบายเดิมใหบ้ รรลจุ ดุ หมายปลายทาง และปรบั สาขาวชิ าที่จะเปดิ สอนในระบบ
DVE ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานประกอบการที่ต้งั อย่ใู นพื้นที

ประเด็นที่ 7 อนื่ ๆ : นโยบายและแนวโน้มการพฒั นาดา้ นอุตสาหกรรม
ความสามารถในการแขงขันของประเทศกบั การพัฒนาอยางย่ังยนื : กรณีศึกษาการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยของ

ประเทศสิงคโปรและประเทศไทย [11] โดยมีประเด็นทน่ี ่าสนใจในการนาไปส่นู โยบายทป่ี ฏบิ ัตไิ ด้ คอื รัฐบาลควรศกึ ษา
ข้อมูล“ความสามารถในการแขงขันของภาคอุตสาหกรรมกบั นานาประเทศ (Competitiveness)” โดยเฉพาะประเทศ
ที่พัฒนาด้านอุตสาหกรรมแล้ว เช่น สิงคโปร์ เกาหลีไต้ เวียดนามให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรให้ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามี “ทักษะแห่งอนาคต”
ได้แก่ -การวิเคราะห์ขอมูล (Data analytics) -การเงิน (Finance) -บริการท่ีใชเทคโนโลยีเปนฐาน (Tech-enable
services) -ส่ือดิจิทัล (Digital media) -ความปลอดภัยทางไซเบอร (Cyber security) -การเปนผู้ประกอบการ
(Entrepreneurship) การผลิตขน้ั สูง (Advanced manufacturing) -การพฒั นาเมอื ง (Urban solution)

การพัฒนาอุตสาหกรรมไปสู่ยุค 4.0 [31] รัฐบาลควรมุ่งพัฒนาให้เป็นประเทศอุตสาหกรรมอัจฉริยะ (Smart
Industry) “สู่อุตสาหกรรมที่ขับเคล่ือนด้วยปัญญาและเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก” สานักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศึกษาควรพัฒนากาลงั พล ท่ีมที ักษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพ่มิ มากขึ้นในทุกสาขาวชิ า

แนวทางการป้องกันการออกกลางคันของนักศึกษากลุ่มเสี่ยง กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคอุตรดิตถ์ [32]
รัฐบาลควรสนับสนุนงบประมาณด้านครุภัณฑ์ให้อาชีวศึกษามีเคร่ืองมือเคร่ืองจักรท่ีทันสมัยสาหรับการฝึกทักษะช่าง
อตุ สาหกรรมเพ่อื ลดสาเหตุการออกกลางคนั ของนักศึกษา

การจัดทาแผนปฏิบัติการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาในภาคอุตสาหกรรม เพ่ือก้าวไปสู่อุตสาหกรรม
ฐานความรู้ [33] โดยมีประเด็นท่ีน่าสนใจในการนาไปสู่นโยบายที่ปฏิบัติได้ คือ สานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษาควร ควรส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในภาคอุตสาหกรรม ที่ร่วมจัดการศึกษาระบบทวิภาคี เชน่
สง่ เสรมิ สถานประกอบการใหย้ กระดับครฝู ึกในสถานประกอบการ ใหเ้ ปน็ นกั วิจัยและพฒั นา

บทสรปุ ข้อเสนอเชงิ นโยบาย
สรปุ ประเดน็ ที่ 1 ด้านหลักสูตร

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ควรวางเปา้ หมายในการพัฒนาหลกั สตู ร ท้ังภาคปกติ และ Up Skills
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานอาชพี มาตรฐานคุณวุฒวิ ิชาชีพ และแนวโนม้ ของอุตสาหกรรมในอนาคต โดยใหผ้ ู้เรียนมีทักษะ
อนั หลากหลาย
สรปุ ประเดน็ ที่ 2 ด้านครู

1. เช่ือมโยงเครือข่ายข้อมลู องค์ความรู้ และการสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้รว่ มกนั ใหค้ รใู นสถานศึกษา และ
ครูฝึกในสถานประกอบการไดน้ าองค์ความรู้ไปใช้รว่ มกนั

2. เพม่ิ ช่องทางสอื่ สารระหว่างสถานศึกษากบั ภาคประกอบการ
3. ขยายศูนยท์ ดสอบมาตรฐานอาชพี และคณุ วฒุ วิ ชิ าชพี
4. พฒั นาหลกั สตู รฝกึ อบรมครูชา่ งอุตสาหกรรมใหส้ ามารถจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ีกอ่ ใหเ้ กดิ “ทักษะการคิด
แกป้ ญั หา” และมีสมรรถนะด้านความปลอดภัยทางดจิ ิทลั และทักษะทางวชิ าชพี ให้ทนั ตอ่ สถานการณป์ จั จุบนั (SkillGap)

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 9

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

สรปุ ประเด็นที่ 3 ด้านผ้เู รียน
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา และสถานศกึ ษา ควรใหค้ วามสาคญั กับการพัฒนาครชู า่ งอตุ สาหกรรม

ทั้งทางด้านทักษะวิชาชีพ ทักษะในการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น ทักษะยุคดิจิทัลในระดับสูง ประกอบด้วย 7
ทักษะ และทกั ษะการส่อื สารและเจรจาต่อรอง ทักษะทางปัญญาอย่างมวี ิจารณญาณ ทกั ษะดา้ น ICT
สรปุ ประเด็นท่ี 4 ด้านการจดั การเรยี นการสอน

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรพัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้านพฤติกรรม ด้วยกิจกรรมส่งเสริม
ผู้เรียน ด้วยทักษะชีวิตด้านทักษะทางปญั ญาอย่างมีวจิ ารณญาณ (CCS) การสร้างความผูกพันธ์ระหวา่ งเรียน Online
เน้นการพัฒนาสมรรถนะครูเก้อื หนนุ (Facilitators) การพัฒนาทกั ษะการสอนแบบ (Project Based Learning : PjBL)
ของครอู าชวี ศกึ ษาในรูปแบบOnlineใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณใ์ นปัจจบุ ันรองรับการเปล่ยี นแปลงในอนาคต
สรุปประเดน็ ท่ี 5 ดา้ นการบรหิ ารจัดการ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรส่งเสริมให้มีการจัดทา 1) คู่มือแนวปฏิบัติที่ดีที่เกิดจากการ
ประยุกต์ใช้พหุแนวคิดในการประกันคุณภาพการศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา 2) แผนพัฒนา
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของนักศึกษาประจาปี 3) แผนการศึกษาระยะส้ันโดยใช้ระบบสารสนเทศ 4) แผนบริหาร
ความเสย่ี งตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา และอ่ืน ๆ
สรุปประเดน็ ที่ 6 ดา้ นความร่วมมือ และอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรดาเนินการพลิกโฉมความร่วมมือการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
ให้ความสาคัญกับภาคเอกชนเป็นผู้นา เสนอให้รัฐบาลออกกฎหมายต่าง ๆ ท่ีให้ประโยชน์เกิดขึ้นทั้งฝ่ายสถาน
ประกอบการและผู้เรียน เช่น สนับสนุนการจัดต้ังกองทุนสิทธิประโยชน์เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือ ควรออกแบบการ
เรียนรู้ในสถานประกอบการที่เหมาะสม สมอ.ควรเผยแพร่องค์ความรู้ ในการวิเคราะห์ความต้องการของสถาน
ประกอบการในพ้ืนท่ี รวมถึงของผู้เรียน ผู้ปกครอง และความพร้อมของสถานศึกษา ควรมีการเตรียมความพร้อมครู
ก่อนออกฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ในสถานประกอบการ และเพ่ิมความร่วมมอื กบั อาชวี ศึกษาในต่างประเทศ
สรปุ ประเด็นที่ 7 ด้านอืน่ ๆ ที่เก่ียวกับดา้ นนโยบายและแนวโน้มการพัฒนาดา้ นอตุ สาหกรรม

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรวางภาพฉายอนาคต (Foresight) เพอ่ื เป็นการเปิดมุมมองอนาคต
ที่มีโอกาสจะเป็นเพื่อสร้างแนวคิดในการพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษา ด้านอุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับการ
เปลี่ยนแปลงสาคญั ท่ีคาดวา่ เกดิ ขึน้ ปี 2030 (Global Mega trends) เพอ่ื เพิม่ ความสามารถในการแขงขันของประเทศ
ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์/นโยบาย/ยุทธศาสตร การวิเคราะหกลยุทธ์ในการแข่งขัน และแนวโน้มของการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษยของประเทศ โดยมีเป้าหมายให้กาลังพลอาชีวศึกษามีสมรรถนะในเร่ืองต่าง ๆ เช่นอุตสาหกรรมสีเขียว
อุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อนด้วยปัญญา ทักษะแห่งอนาคต และทักษะด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร รัฐบาล
ควรสนับสนุนให้มีครุภัณฑ์มาตรฐานช่างอุตสาหกรรม เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนคงอยู่ในระบบ และลดปัญหาการ
กลางคนั

กติ ตกิ รรมประกาศ
งานวิจัยท่ีทรงคุณค่าช้ินนี้เกิดข้ึนเพราะมีการร่วมกันสร้างสรรค์ ซึ่งต้องขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา และทีมงาน

วจิ ยั สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1 ท่ีร่วมกนั สังเคราะหง์ านวชิ าการท่ีทรงคุณคา่ ช้นิ นีอ้ อกมา

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 10

10 วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

เอกสารอา้ งอิง
[1] สมพร ปานดา. “ยทุ ธศาสตรก์ ารผลติ กาลงั คนอาชวี ศึกษาดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเภทอุตสาหกรรม

รองรับนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม” วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกลา้ พระนครเหนอื ., ปีที 33 (ฉบบั ที่116), 22-28, 2563.
[2] Giles, Sunnie. (2018). “How VUCA Is Reshaping The Business Environment, And What It Means
For Innovation” [Online]. Available: https://www.forbes.com. [Accessed:April. 27, 2021].
[3] ประสาท มีแตม้ , “ทาใหโ้ ลกของเรายง่ิ ใหญอ่ ีกคร้งั : Make Our Planet GreatAgain” (ออนไลน)์ . เข้าถึงไดจ้ าก
http://www.life.ac.th/2017/index. php/component/k2/item/543-make-our-planet-great-again. 1
ตุลาคม 2564.
[4] ธนาคาร คุ้มภัยและคณะ. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนเร่ืองเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งผ่านการ
เรียนรแู้ บบโครงงานเป็นฐาน. วารสารวชิ าการสถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคใต้1., ปีที 5 (ฉบับท่ี1), 33-41, 2563.
[5] นรรัชต์ ฝันเชียร. การส่งเสริมการศึกษาไทยเพ่ือรับมือกับโลกยุค VUCA. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
https://www.trueplookpanya.com/blog/content/76134/-blog-teaartedu-teaart-. 2 ตลุ าคม 2564
[6] สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี. สรุปสาระสาคัญ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 -2564). (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
http://www.library.coj.go.th/Info/ 48341?c=7236996. 2 ตลุ าคม 2564.
[7] จิตรดา หมายม่ัน และสมบัติ ทีฑทรัพย์,“ อุตสาหกรรม 4.0: ตอนท่ี 1 - ความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อม”,
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ปีท่ี 10 (ฉบับที่ 2), พ.ศ.2560,
หน้า 39-49.
[8] คมกฤตย์ ชมสวุ รรณ และคณะ, การศกึ ษาเปรยี บเทียบเพื่อยกระดบั การพัฒนาช่างเทคนิค พรเี ม่ยี มสาขาแมคคา
ทรอนิกส์และ หุ่นยนต์กับสาขาเทคนิคควบคุมและ ซ่อมบารุงระบบขนส่งทางรางให้สอดคล้องกับการพัฒนา
ประเทศในกลมุ่ อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย, สานกั งานกองทุนสนับสนุนการวจิ ัย (สกว.), พ.ศ.2563
[9] สาโรจน์ ขอจ่วนเต๋ียว,“การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา ประเภทช่างอุตสาหกรรมภายใต้
นโยบายประเทศไทย 4.0”, วารสารพฒั นาเทคนคิ ศกึ ษา.
[10] มนูญกติ ติ์ คาทอง, ขวัญชัย กรพนั ธ์ และ นิชฌานนั ท์ หอ้ งสินหลาก,“การเสริมกาลังเสาคอนกรีต”, วารสารวจิ ัย
ม.ข., ปีท่ี 5, พ.ศ.2554, หนา้ 100-106.
[11] ศักดิ์ดา ศิริภัทรโสภณ,“ความสามารถในการแขงขันของประเทศกับการพัฒนาอยางยั่งยืน : กรณีศึกษาการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย ของประเทศสิงคโปร และประเทศไทย ”, Journal of the Association of
Researchers, ปที ี่ 25 (ฉบับที่ 3), พ.ศ.2563, หน้า 9-27.
[12] ฉันทนา ปาปัดถา และคณะ,“การสังเคราะห์และพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลครูอาชีวศึกษา เพ่ือรองรับนโยบาย
ประเทศไทย 4.0”, วารสารวจิ ยั และนวัตกรรม สถาบนั การอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร, ปที ่ี 4(ฉบับท่ี 1), พ.ศ.
2564, หนา้ 2-17.
[13] ประไพ นาธวัช,“โครงการวิจัยเพ่ือพัฒนาต้นแบบ คลังปัญญาเพ่ือการผลิตและพัฒนาช่างเทคนิค: กรณีศึกษา
สาขาปโิ ตรเคมแี ละเคมีภณั ฑ์”, รายงานการวิจัย. สถาบันปิโตรเลยี มแหง่ ประเทศไทย:กรุงเทพฯ. พ.ศ.2563.
[14] อลงกรณ์ เลศิ ปัญญา และสบสนั ต์ิ อุตกฤษฏ์,“การพฒั นาหลกั สตู รฝึกอบรมครใู นการจดั การเรยี นการสอนวชิ าชพี
เพ่อื พัฒนาทกั ษะการคิดแกป้ ัญหางาน”, วารสารวชิ าการครศุ าสตรอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั พระจอมเกล้าพระ
นครเหนอื , ปีที่ 10(ฉบับที่ 2), พ.ศ.2562, หนา้ 138-147.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 11

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

[15] วรตั ถพ์ ัชร์ ทวีเจริญกิจ,“การพฒั นารปู แบบการเรยี นการสอนเพ่ือสง่ เสริมทกั ษะในการคดิ แก้ปญั หา ของนักเรียน
อาชีวศึกษาตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างความรู้”, วารสารราชพฤกษ์, ปีท่ี 17 (ฉบับที่ 1), พ.ศ.2562, หน้า 86-
93.

[16] วัชรศักด์ิ สุดหล้า,“นักศึกษาให้ความสาคัญกับทักษะที่จาเปน็ ในยุคดิจิทัลอย่างไร? การศึกษานาร่องโดยใช้การ
วเิ คราะหเ์ อม็ ดีเอสและเอ็มดียู”, วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมธิราช, ปีท่ี 13 (ฉบบั ท่ี 1),
พ.ศ.2554, หน้า 114-130.

[17] มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย :TDRI, โครงการศึกษาการพัฒนากาลังคนด้านดิจิทัล (Digital
Manpower) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-Curve) และ การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค
ตะวันออก ( Eastern Economic Corridor: EEC), มูลนิธิสถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย :
กรุงเทพมหานคร, พ.ศ.2563.

[18] ชุติมา ไชยเสน,“การศึกษาทักษะท่ีพึงประสงค์ในศตวรรษท่ี 21 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ประจาปกี ารศกึ ษา 2562”, รายงานการวิจัย (Research reports), มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี, พ.ศ.2562.

[19] กนก พานทอง,“การพัฒนาทักษะชีวิตด้านทักษะทางปัญญาอย่างมีวิจารณญาณ ของนักศึกษาระดับ
อาชวี ศกึ ษา”, วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา, ปีท่ี 27 (ฉบบั ที่ 3), พ.ศ.2562, หน้า 10-22.

[20] รงั สรรค์ ทบวอ,“การพฒั นารปู แบบการเรยี นรู้แบบโครงงานออนไลน์ ท่ีมีการส่งเสริมการเรยี นรู้ด้วยเทกนคิ ความ
ผูกพันของผ้เู รียน สาหรับผู้เรียนอาชวี ศึกษา”, วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ปีท่ี 13 (ฉบบั ที่
3), พ.ศ.2562, หนา้ 183-194.

[21] กุลจิรา ทองย้อย,“ รูปแบบสมรรถนะครูเก้ือหนุนในระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการร่วมกับการทางานสาหรับ
อาชวี ศึกษา”, วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศกึ ษา, ปที ี่ 15 (ฉบับท่ี 3), พ.ศ.2564, หนา้ 41-57.

[22] ภูมิพัฒน์ วนพิพัฒน์พงศ์,“การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning: PjBL)
โดยการใช้ไอซีทีเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ สาหรับนักศึกษาระดับช้ัน ปวส.1 สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดจิ ทิ ลั
วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก”, วารสารวิชาการ T-Vet Journal สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3, ปีท่ี 5
ฉบบั ที่ 9, พ.ศ.2564, หนา้ 156-171.

[23] พงษ์สนิท แสงจินดา,“การจัดการความเสี่ยงท่ีส่งผลต่อการบรรลุมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาของ
สถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 4”, วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, ปีที่ 12 (ฉบับท่ี 2),
พ.ศ.2563, หน้า 126-139.

[24] ณัฐพล ธิตินานันทกูล,“การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
เอกชนตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561 : การประยุกต์ใช้พหุแนวคิด”, Journal of Graduate of
Studies Valaya Alongkorn Rajaphut University, ปีที่ 15 (ฉบับที่ 2), พ.ศ.2564, หน้า 54-66.

[25] กฤษธเนศ จันดาอาจ,“แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานอาชีวศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาขอนแก่น”,
Journal of Roi Kaensarn Academi, ปีท่ี 6 (ฉบบั ท่ี 6), พ.ศ.2564, หนา้ 233-246.

[26] เจริญ ศรีแสง,“การศึกษาการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคระยอง”, หลักสูตร
การศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์, พ.ศ.2562, มหาวทิ ยาลัยบูรพา.

[27] วรรณา ตันประภัสร์,“การพัฒนาระบบความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ระหว่าง
สถานศึกษากับสถานประกอบการ”, วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, ปีท่ี 9 (ฉบับที่ 2), พ.ศ.2559, หน้า
38-45.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 12

12 วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

[28] สมพร ปานดา,“การพัฒนาความร่วมมือกับภาคประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาเชิงรุก ประเภทวิชา
อุตสาหกรรม”, วารสารมหาจฬุ านาครทรรศน์, ปที ่ี 7 (ฉบับที่ 8), พ.ศ.2563, หน้า 381-397.

[29] สุนันทา พลโภชน์, “รูปแบบความร่วมมือการผลิตนักศึกษาช่างเทคนิควิศวกรรมเคมี : กรณีศึกษาการผลิตช่าง
เทคนิควิศวกรรมเคมี สาขาปิโตรเคมี วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด”, สานักอานวยการ สานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศกึ ษา, พ.ศ.2561.

[30] ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์ และคณะ,“โครงการขับเคลื่อนการจัดการอาชีวศึกษา และระบบทวิภาคีเชิงพื้นท่ี”,
สานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมวิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.), พ.ศ.2563.

[31] ชุติระ ระบอบ,“การพัฒนาอุตสาหกรรมไปสู่ยุค 4.0”, วารสาร ธุรกจิ ปรทิ ัศน์, ปีที่ 9 (ฉบับท่ี 2), พ.ศ.2560, หนา้
249-267.

[32] ธัญญ์พิชชา ท้วมทับ และคณะ,“แนวทางการป้องกันการออกกลางคันของนักศึกษา กลุ่มเสี่ยง กรณีศึกษา :
วิทยาลัยเทคนคิ อตุ รดติ ถ์”, วารสารมหาจฬุ านาครทรรศน์, ปีท่ี 7 (ฉบบั ที่ 8), พ.ศ.2563, หนา้ 381-397.

[33] ธรี วุฒิ บุณยโสภณ และคณะ,“การจดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารส่งเสริมการวจิ ยั และพฒั นาในภาคอตุ สาหกรรม เพือ่ ก้าว
ไปสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้”, วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ปีที่ 21 (ฉบับที่ 1), พ.ศ.2554,
หนา้ 148-156.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 13

วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

การผลิตถานอดั แทง จากเศษหนอ ไมเ หลอื ทงิ้
The Production of Charcoal Briquettes from Waste Bamboo Shoots

พงศกร สุรนิ ทร1*, ชูเกยี รติ ธรรมจนิ ดา2, ณรงค คอ มคิรินทร3 และ อดิเรก เฉลยี ว4
Pongsakorn Surin1*, Chookeit Tumjinda2, Narong Komkirin3 and Adirek Chaliew4

*1234สาขาวิชาวศิ วกรรมอตุ สาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลานนา จังหวดั ลําปาง 52000
*1234Department or Industrial Engineering, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Lanna, Lampang 52000

Received : 2021-04-18 Revised : 2021-04-30 Accepted : 2021-05-05

บทคัดยอ Province. Therefore entrepreneurs want to
เศษหนอไมเหลือทิ้งจากกระบวนการแปรรูป find a way to make use of the waste bamboo
shoots. The objectives of this research were
หนอไมซง่ึ นบั วาเปนปญหาดานขยะของผูประกอบการ to: 1) to examine the rate of charcoal
ในจงั หวดั ลาํ ปาง ดงั นน้ั ผปู ระกอบตองการหาแนวการ briquette production from bamboo shoot
ใชประโยชนจากเศษหนอไมเหลือท้ิง การวิจัยนี้มี waste 2) to examine the maximum
วตั ถปุ ระสงค คอื 1) ศกึ ษาอตั ราสวนผสมการผลิตถาน temperature of charcoal briquette production
อัดแทงจากเศษหนอไมเหลือทิ้ง 2) ศึกษาอุณหภูมิ from bamboo shoot waste. Research
สูงสุดถา นอัดแทง จากเศษหนอ ไมเ หลือท้งิ วิธีการวิจัย methodology this was an experimental
เชงิ ทดลองอตั ราสว นผสมการผลิตถานอัดแทง จากเศษ research mixture rate of charcoal briquette
หนอไมเหลือทิ้ง รวมกับผงถาน แปงมันสําปะหลัง production from waste bamboo shoots.
และนํ้า โดยใชกระบวนการอัดข้ึนรูปถานดวยเคร่ือง Together with charcoal powder tapioca starch
อัดแบบเกลียวรูปกรวยและตากแหงถานอัดแทงจาก and water. The charcoal extrusion process is
เศษหนอไมเ หลือทิง้ หลงั จากนั้นจงึ ทดสอบดวยวิธกี าร then used by a conical screw compressor. And
ตมน้ําใหเดือด ผลการวิจัย 1) อัตราสวนที่เหมาะสม dry the charcoal sticks from the remnants of
คือ เศษหนอไม 300 กรัม, ผงถาน 2,500 กรัม, แปง bamboo shoots after that the test was done
มันสําปะหลัง 500 กรัม และน้ํา 2,500 กรัม 2) by boiling water to boil. The results of the
อุณหภูมิสูงสุด 70 องศาเซลเซียส ชวงเวลาที่ใหค วาม study were as follows : 1) the optimum ratio
รอ นสงู สุดทเ่ี วลา 80 นาที รวมเวลาเผาไหม 135 นาที was 300 grams of bamboo shoots 2,500 grams
คําสําคญั :ถานอดั แทง, หนอ ไม, คา ความรอ น of charcoal powder 500 grams of tapioca
starch and 2,500 grams of water. 2) the
Abstract
The Bamboo shoots left over from the maximum temperature is 70 C°, the
maximum heating time is 80 minutes,
process of processing bamboo shoots, which is including the burning time 135 minutes.
a waste problem for entrepreneurs in Lampang Keywords : Charcoal, Heating value,
Province. Therefore entrepreneurs want to
Temperature
*พงศกร สรุ นิ ทร

E-mail : : [email protected].

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 14

14 วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

1. บทนาํ 2. แนวคิดทฤษฎีทเี่ กี่ยวของ
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน [1] 2.1 การผลิตความรอน

ไดป ระเมินศักยภาพชวี มวลจากเศษวัสดุทางการเกษตร ก ร ม พั ฒ น า พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น แ ล ะ อ นุ รั ก ษ
ในประเทศในป พ.ศ.2561 โดยแบงออกเปนชีวมวลท่ี พลังงาน [1] อุตสาหกรรมเกษตรมีการใชพลังงาน
เกิดข้ึนในอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ทดแทนและพลังงานทางเลือกในรูปของพลังงาน
และชีวมวลที่เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่เพาะปลูก ดังน้ี 1) ความรอนอยางแพรหลาย ซ่ึงชวยลดตนทุนคา
ชีวมวลท่ีเกิดข้ึนในอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทาง
การเกษตร อาทเิ ชน กากออ ย จากอุตสาหกรรมนาํ้ ตาล เช้ือเพลิงและเปนการนําของเสียกลับมาใชประโยชน
แกลบจากโรงสีขาว ใยปาลมและทะลายปาลมเปลา ท่ี ไดอกี ดวยท่ีผานมาในป พ.ศ. 2561 ชวี มวลถูกนํามาใช
ไดจากอุตสาหกรรมสกัดน้ํามัน ปาลมดิบ เปนตน 2) ผลิตความรอนมากที่สุดถึงรอยละ 90 ของการผลิต
ชีวมวลที่เกิดขึ้นบริเวณพ้ืนท่ีเพาะปลูกจะเกิดจากชีว พลงั งานความรอ นจากพลงั งานทดแทนท้งั หมดรอยละ
มวลสวนท่ีเหลอื ภายหลงั จากการเก็บเกี่ยวผลผลติ ของ 50 ของชวี มวลมาจากชานออ ยในอุตสาหกรรมนาํ้ ตาล
เกษตรกร ไดแก เหงามันสําปะหลงั ฟางขาว ยอดและ
ใบออ ย ตอและรากไม ยางพารา เปน ตน ชีวมวลเหลา น้ี สวนท่ีเหลือเปนพลังงานความรอนจากกาซชีวภาพ
ไมนิยมนํามาผลิตพลังงาน เนื่องจากมีตน ทุนสูงในการ ขยะ และพลังงานแสงอาทติ ย
รวบรวมและขนสงจากพ้ืนที่เพาะปลูกไปยังสถานที่ใช
งานท่ีอยูหางไกล ชีวมวลเหลานี้จึงมักถกู ท้ิงไวในพนื้ ที่ ตารางที่ 1 การใชพ ลังงานความรอนจากพลงั งาน
เพาะปลูกเพ่ือใหยอยสลายกลายเปนสารปรับปรุงดิน ทดแทนและพลงั งานทางเลอื ก
หรอื ถูกเผาทาํ ลายในพน้ื ทเี่ พาะปลูก
ป พ.ศ.2559–2561
บริษัทอ่ิน-ออง ฟูด จํากัด มีผลิตภัณฑ ไดแก
หนอไมอัดบิ๊ป ชนิดบรรจุลงบิ๊ป กระเทียมดอง ชนิด ประเภท ความรอ น (พันตนั เทียบเทา นํา้ มันดบิ )
บรรจุลงขวดโหลพลาสติก ผักกาดดอง ชนิดบรรจุลง
ขวดโหลพลาสติก และหนอไมเสน ชนิดบรรจุลง เชอ้ื เพลงิ พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561
ถุงพลาสติก โดยหลังจากกระบวนการแปรรูปหนอไม
จะมีเศษหนอไมเหลือทิ้งที่ไมสามารถใชประโยชนได 1.แสงอาทิตย 6.7 9.3 10.1
จํานวน 500–1,000 กิโลกรัมตอวัน ทําใหทางบริษัทฯ
จึงตองนําเศษหนอ ไมเ หลอื ทิ้งไปกําจดั ดว ยวิธีการเททิ้ง 2.ชีวมวล 6,507 6,616 7,152
ในพ้ืนท่ีของตนเอง จากประเด็นของเศษหนอไมเหลือ
ทิ้งดังกลา ว คณะผูวิจยั จึงใหความสาํ คัญตอการนาํ เศษ - ฟน 162 229 272
ห น อ ไ ม เ ห ลื อ ท้ิ ง ซ่ึ ง ถื อ ว า เ ป น ชี ว ม ว ล แ บ บ ห นึ่ ง ซึ่ ง
สามารถใชใหเกิดประโยชนในดานพลังงานเชื้อเพลิง - แกลบ 193 366 429
โดยการวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค คือ 1) ศึกษาอัตราสวน
ผสมการผลิตถานอัดแทงจากเศษหนอไมเหลือท้ิง 2) - ชานออย 3,248 3,824 4,270
ศึกษาอุณหภูมิสูงสุดการผลิตถานอัดแทงจากเศษ
หนอ ไมเหลือทิง้ - วัสดเุ หลือใช 2,904 2,197 2,181

ทางการเกษตร*

3.กา ซชวี ภาพ 593 634 634

4.ขยะ 75 63 123

รวม 7,182 7,322 7,919

*วสั ดุเหลอื ใชท างการเกษตร ไดแ ก ชานออ ย แกลบ เศษไม ใบปาลม

กะลาปาลม และขเ้ี ลื่อย เปนตน

2.2 กระบวนการอัดแทง เช้อื เพลงิ ประกอบดวย
2 . 2 . 1 ก า ร อั ด แ ล ว ทํ า ใ ห เ ป น ถ า น

Carbonization สําหรับการทําวิธีนี้จะตองมีการอัด
วัตถดุ บิ ที่มีอยูใ หละเอียดกอนแลว จึงจะทาํ ใหเปน ถา น
อัดแทง Carbonization ตามข้ันตอนโดยการท่ีใช
เตาเผาตามรปู แบบธรรมดา ซง่ึ มขี อ ดีคือ เมือ่ มีการอัด
ถานใหเปนแทงแลวสามารถใชเปนเช้ือเพลิงไดเลย

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 15

วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

โดยที่ไมตองมีการทําใหเปนถาน Carbonization วัสดุเขาไปในกระบอกอัดเพิ่มข้ึนพรอมกับแรงเสียด
กอนและยังสามารถใชเผาไดในเตาเผาถา นแบบทว่ั ไป ทานท่ีมากขึ้น กาํ ลังในการผลิตของเครือ่ งอดั แทง แบบ
และธรรมดา สวนขอเสยี ของการอัดแลวทาํ ใหเปน ถา น นีอ้ ยูในชวง 500-1,000 กโิ ลกรมั ตอ ชัว่ โมง อตั รากาํ ลงั
คือ ในกระบวนการผลิตเมื่อมีการใหพลังงานสูงสวน ของมอเตอรท่ีใชขับเคล่ือนอัดอยูระหวาง 35-75
ใหญม กั จะเกดิ ความดนั สูงขน้ึ ในการอัดถา น โดยความ กิโลวัตต วัสดุที่ใชทําการอัดควรมีลักษณะเปนเม็ด
ดันที่สูงจะมีผลกระทบตอเคร่ืองสูงมากถึงข้ันทําให ละเอยี ดและมคี วามชน้ื รอ ยละ 8-10
เสยี หายได และกอ นเช้ือเพลิงทยี่ งั ไมผานการจะตองมี
การดูแลในเร่ืองของการแตกราวในระหวางการตาก รูปที่ 1 เครื่องอดั แบบเกลียวรูปกรวย
และดแู ลในเรื่องความชน้ื โดยตองมีโรงเก็บที่เหมาะสม
เพื่อปองกันไมใหถานเกิดความช้ืน เม่ือถานเกิด 2.4 การหาประสิทธิภาพการใหความรอน
ความชื้นจะทาํ ใหต ิดไฟไดยาก สําหรับการใชง านทาง ความรอนของ (Heat
Utilization Efficiency) สามารถหาไดจ ากสมการ [2]
2.2.2 การทําใหเปนถาน Carbonization
แลวจึงอัด วิธีนี้จะมีการทําใหวัตถุดิบเปนถาน ∑ (1)η =Thermal
Carbonization กอน และตองมีการบดถานที่ได ms(t2 − t1) + t3 − t1) x100
เพื่อใหเปนผงถานกอนท่ีจะอัด โดยที่มีการเลือกตัว Wq
ประสานที่เหมาะสมในการผลิต ซึ่งมีขอดีคือ ใช
พลังงานในการอัดนอยกวาวิธีแรก และในการผลิต เมอ่ื ηThermal = ประสทิ ธิภาพการใชงงานทางความ
มักจะไมเกิดของเสีย สวนขอเสียคือ อาจจะมีขนาด รอ นของเช้อื เพลิง (%)
เล็กไมเหมาะในทางการคา ตองมีการมาอัดแทงกอ น
และสัดสวนของถานตอหนวยวัตถุดิบจะไดผลผลิต W = น้าํ หนักของเชือ้ เพลิง (g )
นอ ยกวา วิธีแรก q = คา ความรอ นของแทงเช้อื เพลงิ (J/g)
W = นํ้าหนกั ของเชอ้ื เพลิง (g )
2.2.3 การตากแหงผลผลิต การอัดแทง m = นาํ้ หนักของนา้ํ ในหมอตม (g)
เช้ือเพลิงจากวัสดุเกษตรน้ันหลังจากผสมตัวประสาน
และอัดออกมาเปนแทงแลวมักจะมีความชื้นแฝงอยู S = คาความรอนจาํ เพาะของนํา้ 4.81 J/g (°C)
ดังนั้นกอนท่ีจะนําไปใชงานจะตองทําใหแหงกอนโดย
วิธีที่สะดวกและประหยัดคือ การตากแดดโดยตรงอาจ t1 = คาอณุ หภูมิของน้ําเม่อื เรมิ่ แรก (°C)
ตากบนพ้ืนซีเมนต หรือบนสังกะสีลูกฟูกฯลฯ ก็นับวา
เปนวิธีที่ประหยัดที่สุดนอก และยังมีวิธีการตากหรือ t2 = คาอณุ หภูมขิ องน้ําเดือด (°C)
การทําแหงหลายวิธี คือ อบในตูแสงอาทิตย อบดวย
ความรอนจกเตาผาขยะ อบดวยความรอนที่เหลือทิ้ง t3 = คา อณุ หภมู ขิ องนํา้ สดุ ทา ยของหมอตม (°C)(1 เค
จากโรงงานอุตสาหกรรมและอบดวยความรอนจาก
เคร่ืองทาํ ความรอน เปนตน 3. วธิ ีดําเนินการวิจยั
3.1 วัสดุ อุปกรณ ในการศึกษาอัตราสวนผสม
2.3 เครื่องอัดแบบเกลียวรูปกรวย (Conical
screw press) การผลิตถานอัดแทงจากเศษหนอ ไมเหลือทิ้ง มดี งั นี้
3.1.1 เคร่อื งช่ังแบบตจิ ติ อล
มีหลักการทํางานคือเกรียวรูปกรวยจะดันให
วัสดุเคล่ือนตัวไปขางหนา เม่ือพนเกลยี วไปวัสดุถูกดัน
ผานกระบอกอดั ขนาด 25 มิลลิเมตร การไหลผานของ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 16

16 วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

3.1.2 เทอรโ มมเิ ตอรดจิ ติ อลแบบจมุ 3.2 วิธีการดําเนินงาน ในการศึกษาอัตรา
3.1.3 เศษหนอไมเหลือท้ิง ที่นํามาจาก สวนผสมการผลติ ถานอดั แทงจากเศษหนอไมเหลือท้ิง
โรงงานจะถูกนํามาลดขนาดลงใหมีขนาดเล็กลงกอน มีดังนี้
จากน้ันจะนําเศษหนอไมเหลือทิ้งท่ีลดขนาดแลวไป
ตากใหแหงเพอ่ื ลดความชื้นลงใชเวลาในการทําใหแ หง 3.2.1 การผสมวัตถุดิบสําหรับอดั ถาน โดย
การนําวตั ถุดิบท้งั หมดเทผสมในถงั ผสมจากนั้นทําการ
จาํ นวน 48 ช่ัวโมง เดินเคร่ืองเพื่อใหใบกวนทําการผสมวัตถดุ บิ ใหเ ขากัน
ซ่ึงอัตราสวนเปนองคประกอบที่สําคัญในการอัดถา น
สําหรับการอัดถานในคร้ังนี้ไดศึกษาอัตราสวน ดังที่
ปรากฏในตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 อตั ราสว นการผสมวตั ถุดบิ

ลําดับท่ี วตั ถุดบิ อัตราสวน
1
2 (กรมั )

3 เศษหนอไมเหลอื ท้ิงท่ี 1,000 : 1,000 :

รูปท่ี 2 เศษหนอ ไมเ หลือทง้ิ ทต่ี ากแหง แลว ตากแหง : ผงถานไม : 500 : 2,000

3.1.4 เครื่องอัดถานแทงจากเศษหนอไม แปงมนั สัมปะหลัง : นํา้
เ ห ลื อ ทิ้ ง ร ะ บ บ ส ก รู เ ก ลี ย ว แ บบ รู ป ก ร วย มี
สว นประกอบ สวนหลัก ดังน้ี เศษหนอไมเหลือทิ้งที่ 500 : 2,000 :

4.1) ถังผสม ตากแหง : ผงถา นไม : 500 : 2,500
4.2) ชดุ เกลยี วอดั รูปกรวย
4.3) ชุดควบคมุ เคร่อื ง แปงมนั สมั ปะหลัง : น้าํ
4.4) ชดุ ตนกาํ ลัง
เศษหนอ ไมเหลอื ท้ิงท่ี 300 : 2,500 :

ตากแหง : ผงถานไม : 500 : 2,500

แปงมนั สมั ปะหลัง : น้ํา

รูปท่ี 3 เคร่ืองอดั ถา นแทง เช้ือเพลิงจากเศษ รูปท่ี 4 การชงั่ นาํ้ หนกั สวนผสม (ก) เศษหนอ ไมเหลือ
หนอ ไมเหลอื ทงิ้ ทง้ิ ท่ียอยและตากแหง แลว (ข) ผงถา น

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 17

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

รปู ท่ี 5 การชง่ั น้าํ หนกั สว นผสม (ค) แปง มนั รปู ท่ี 8 อตั ราสวนท่ี 3 (กรมั ) 300 : 2,000 : 500 :
สัมปะหลงั (ง) นํา้ 2,500

3.2.2 การอัดถานและลดความชื้น การอัด 3.2.3 ศึกษาอุณหภูมสิ งู สุดการผลติ ถานอัด
ถานแทงจะใชเกลียวอัดรูปกรวยซ่ึงเปนการข้ึนรูปอดั แทงจากเศษหนอไมเหลือท้ิง สําหรับการใชงานทาง
แบบเย็นซ่ึงถานที่ไดจะเปนลักษณะแทง ทรงกระบอก ความรอนของ (Heat Utilization Efficiency) ของ
ยาวเฉล่ีย 20 เซนติเมตร เสนผาศูนยกลางเฉลี่ย 7.5 ถานอัดแทงจากเศษหนอไม โดยการวัดอุณหภูมิจาก
เซนติเมตร และจะมีรูตรงกลางเสนผาศนู ยกลางเฉลยี่ ท้ัง 3 อัตราสว น อยางละ 500 กรัม เพ่อื ตม น้าํ จาํ นวน
2.3 เซนติเมตร โดยหลังจากน้ีจะนําถานท่ีไดไปตาก 2,000 กรัม ทําการวัดอุณหภูมิดวย Thermometer
แหง เพ่ือไลความชน้ื จํานวน 48 ช่ัวโมง ดิจิตอลแบบจุม โดยจะบันทกึ เวลาและอุณหภมู ิทกุ ๆ
5 นาทีต้ังแตถานเร่มิ ติดไฟไปถงึ ถา นไหมจนมอดดบั

รปู ท่ี 6 อตั ราสวนสว นที่ 1 (กรมั ) 1,000 : 1,000 : รูปที่ 9 การทดสอบตม น้าํ
500 : 2,000
4. ผลการวจิ ัย
รูปท่ี 7 อตั ราสว นสว นที่ 2 (กรัม) 500 : 2,000 : 4.1 อัตราสวนผสมถานอัดแทงจากเศษหนอไม
500 : 2,500
เหลือท้ิง พบวา อัตราสวนผสมที่ 3 เศษหนอไม : ผง
ถาน : แปงมนั สําประหลงั : น้ํา (300 กรมั : 2,500 กรมั
: 500 กรัม : 2,500 กรมั ) เหมาะสมท่ีสดุ เน่อื งจาก มี
ความหนาแนนท่ีดี การคงรูปหลังแหงดี รองลงมา
อัตราสวนผสมท่ี 2 เศษหนอไม : ผงถาน : แปงมันสํา
ประหลัง : น้ํา (500 กรัม : 2,000 กรัม : 500 กรัม:
2,500 กรัม) เน่ืองจาก มีความหนาแนนปานกลาง
การคงรูปหลังแหงดี และอัตราสวนผสมที่ 1 เศษ
หนอไม : ผงถาน : แปงมันสําประหลัง : นํ้า (1,000

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 18

18 วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

กรัม : 1,000 กรัม : 500 กรัม : 2,000 กรัม) มีความ ตารางท่ี 3 การทดสอบดว ยการตม นาํ้ (ตอ )
หนาแนนตาํ่ การคงรูปหลงั แหงปานกลาง
สว นผสมในการทดลอง
4.2 อุณหภูมิสูงสุดการผลิตถานอัดแทงจากเศษ
หนอ ไมเ หลอื ทง้ิ พบวา อตั ราสว นผสมที่ 3 ใชเ วลาการ เวลา อัตราสวน อัตราสวนท่ี อัตราสว นที่
เผาไหมเริ่มตนท่ี 0 นาที โดยอุณหภูมิสูงสุดอยูที่ 70
องศาเซลเซียส ณ เวลาท่ี 80 นาที จากนั้นอุณหภูมิ (นาที) ท1่ี 2 3
คอยๆ ลดลงจนเหลือแตข้ีเถาใชเวลา 135 นาที ซึ่ง
สัมพันธกับอัตราสวนผสมท่ีเหมาะสมที่สุด รองลงมา อณุ หภมู ิ อณุ หภูมิ อุณหภมู ิ
อตั ราสว นผสมท่ี 2 ใชเ วลาการเผาไหมเริม่ ตนที่ 0 นาที
โดยอณุ หภมู ิสงู สุดอยูท่ี 72.8 องศาเซลเซียส ณ เวลาที่ (องศา (องศา (องศา
40 นาที จากนั้นอุณหภมู ิคอ ยๆ ลดลงจนเหลอื แตข เ้ี ถา
ใชเวลา 95 นาที ซึ่งสัมพันธกับอัตราสวนผสมท่ี เซลเซยี ส เซลเซยี ส เซลเซียส
เหมาะสมปานกลางและอัตราสวนผสมที่ 1 ใชเวลา
การเผาไหมเร่ิมตนท่ี 0 นาที โดยอุณหภูมิสูงสุดอยูท ่ี 55 65.3 70.1 66.7
70.7 องศาเซลเซียส ณ เวลาที่ 40 นาที จากน้ัน
อุณหภูมคิ อ ยๆ ลดลงจนเหลอื แตขเ้ี ถา ใชเวลา 85 นาที 60 64.1 69.2 67.2
ซึ่งสัมพันธก ับอตั ราสว นผสมท่ตี ่ําเกินไป
65 62.1 66.3 66.9

70 60.1 64.1 67.1

75 58.5 60.5 69.3

80 56.1 59.2 70

85 52.6 58.6 66.7

90 - 58.1 67.6

95 - 57.4 66.9

100 - - 65.7

ตารางท่ี 3 การทดสอบดวยการตมนํ้า 105 - - 64.3

สวนผสมในการทดลอง 110 - - 63.9

เวลา อัตราสว น อัตราสว นท่ี อตั ราสว นท่ี 115 - - 62.9

(นาท)ี ท1ี่ 2 3 120 - - 62.3

อณุ หภมู ิ อณุ หภูมิ อุณหภูมิ 125 - - 60.7

(องศา (องศา (องศา 130 - - 58.7

เซลเซียส เซลเซยี ส เซลเซียส 135 - - 57.3

0 23 28.2 32.5

5 35.5 38.1 36.5

10 42.5 44.1 41.3

15 50.2 50.5 44.6

20 58.9 58.9 47.9

25 65.7 65.5 52.5

30 69.7 68.2 57

35 70.5 71.8 59

40 70.7 72.8 59.3

45 67.7 70.7 62.8 รูปที่ 10 กราฟประสิทธภิ าพการใชง าน

50 66.9 71.3 65.3

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 19

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

จากรูปท่ี 10 .ประสิทธิภาพการใชง าน อตั รา กรัม : 500 กรัม : 2,500 กรัม) ใหอุณหภูมิสูงสุด 70
สวนผสมท่ี 3 ใหอุณหภูมิสงู สุด 70 องศาเซลเซยี ส องศาเซลเซียส ชวงเวลาท่ีใหความรอนสูงสุดท่ีเวลา
ชวงเวลาทใ่ี หค วามรอนสูงสดุ ท่เี วลา 80 นาที รวม 80 นาที รวมเวลาเผาไหม 135 นาที ซ่ึงก็สอดคลอง
เวลาเผาไหม 135 นาที จะเหน็ ไดวาอตั ราสวนผสมที่ กับงานวิจัยที่มีการหาคาความรอนของเช้ือเพลิงชีว
3 สามารถเผาไหมไดย าวนานกวา อตั ราสว นผสมท่ี 1 มวล ปกรณ อุนไธสง และรชต มณีโชติ [2] ถานอัด
เปนเวลา 50 นาที คดิ เปน 37.03 เปอรเ ซน็ ต และ แทงจากฝกราชพฤกษ ใหคาความรอน 22.58 MJ/kg
สามารถเผาไหมไดย าวนานกวา อัตราสว นผสมท่ี 2 (5,394 kcal/kg) และประสิทธภิ าพการใชง านอณุ หภมู ิ
เปนเวลา 40 นาที คดิ เปน 29.26 เปอรเ ซน็ ต สูงสุดที่ 87.6°C แลวปลอยใหอุณหภูมิลดลงเหลือ
50°C รวมเวลาเผาไหม 451 นาทีประสิทธิภาพทาง
5. อภปิ รายและสรุปผลการวิจัย ความรอน 52.81% ธนิรันต ย อด ดําเนิน และ
เศษหนอไมเหลือทิง้ ทง้ั 3 อัตราสว น ทน่ี ํามาศึกษา เสาวลักษณ ยอดวิญูวงศ [3] ศึกษาการพัฒนา
ผลิตภัณฑถานอัดแทงจากใบออยและชานออยใหคา ความ
จดั อยใู นกลมุ ของชีวมวลท่ีเกดิ ขึ้นในอตุ สาหกรรมแปร รอนเทากับ4,591.80cal/g และมีคาประสิทธิภาพการใช
รูปผลผลิตทางการเกษตร โดยนํามาผสมรวมกับวสั ดุ งานทางความรอ นของถา นอดั แทง จากใบออ ยและชาน
ตัวประสาน ผงถาน แปงมันสําปะหลัง และน้ํา ซึ่งก็ ออยสูงสุดประมาณ 46.5% ศตพล มุงค้ํากลาง [4]
สอดคลองกับงานวจิ ยั ทมี่ ีการนาํ ชวี มวลมาใชป ระโยชน ถา นกะลา มะพรา วผสมกบั วัสดุเหลือใชท างการเกษตร
รวมกับวัสดุตัวประสานตาง ๆ ดังท่ีปกรณ อุนไธสง จากการทดลองพบวา แทงเชื้อเพลิงจากถาน
และรชต มณีโชติ [2] โดยการนําฝกราชพฤกษแกม า ก ะ ล า ม ะ พ ร า ว ผ ส ม ฟ า ง ข า ว มี ค า ค ว า ม ร อ น
ศึกษาสวนประกอบถานฝกราชพฤกษ แปงมัน 6,186.066,014.315,880.265,770.74 แ ล ะ
สําปะหลัง และนํ้า รวม 3 อัตราสวนไดแ ก อัตราสวน 5,667.04 Kcal/Kg โรสลนี า อนันตนุกลู วงศ และคณะ
1 : 1 : 0.75, 2 : 1 : 0.50 แ ล ะ 3 : 1 : 0.25 โ ด ย [5] ถานอัดแทงจากวัสดุเหลือใชกะลามะพราว (พันธุ
นํ้าหนัก ธนิรันต ยอดดําเนิน และเสาวลักษณ ยอด ตนสูง) ใบไมแหง (ใบตนละมุด) ขี้เล่ือย (ตนทุเรียน)
วิญูวงศ [3] ใชอัตราสวนผสมจากใบออยและชาน พบวาคาความรอนจากกะลามะพราว(พันธุตนสูง),
ออย น้ําและแปงมันสาํ ปะหลัง ศตพล มุงคํ้ากลาง [4] ใบไมแหง (ใบตนละมุด),ข้ีเลื่อย(ตนทุเรียน) มีคา
อัตราสวนของถานกะลามะพราวตอ ฟางขาวหรือชาน เ ท า กั บ 4910.82 cal/g 3,195.757 cal/g แ ล ะ
ออย ท่ีอัต ราสวน 9:1 8:2 7:3 6:4 และ 5:5 โดย 5,067.55cal/g และอนุวัตร ศรีนวล และ อัมพวัลย
ปริมาตร โรสลีนา อนันตนุกูลวงศ และคณะ [5] การ ชัยนาวา [6] ศึกษาความสัมพันธของสัดสวนผสม
ผลิตถานอดั แทง จากวัสดเุ หลอื ใชกะลามะพราว (พนั ธุ ระหวางถานหินลิกไนตและใบสนประดิพัทธ ใหคา
ตนสูง) ใบไมแหง (ใบตนละมุด) ขี้เลื่อย (ตนทุเรียน) ความรอน 5,322.25 แคลอรีตอกรัม ขอเสนอแนะที่
ผลติ เปนถา นอัดแทงโดยมีนํ้าหนัก 100 % และอนวุ ตั ร จะนําผลการวิจัยน้ันไปใชประโยชน คือ การเลือกใช
ศรีนวล และอัมพวัลย ชัยนาวา [6] สัดสวนผสม ผงถานทม่ี ีคาความรอ นทเ่ี หมาะสม เพราะจะใหส งผล
ระหวางถานหินลิกไนตและใบสนประดิพัทธ สัดสวน ถึงคาความรอนท่ีจะสูงตามไปดวย นอกจากความ
70:30 และตัวประสานความเขมขน 1% มีคุณสมบัติ ละเอียดของการเตรียมเศษหนอไมเ หลือทิ้งใหมีขนาด
ตามเกณฑม าตรฐานผลติ ภัณฑช มุ ชน จงึ สรุปไดวา เศษ ท่ีละเอียดก็เปนอีกปจจัยหน่ึงท่ีทําใหการอัดมีความ
หนอไมเหลือทิ้งสามารถนํามาใชประโยชนในดา นของ หนาแนน มากขน้ึ ทําใหเชอ้ื เพลงิ เผาไหมไดน านขนึ้
การนาํ มาเปน สวนผสมสาํ หรบั การทําเชอื้ เพลิงชวี มวลได

นอกจากน้ีอัตราสวนผสมท่ี 3 เศษหนอไม : ผง
ถาน : แปงมันสําประหลัง : นํ้า (300 กรัม : 2,500

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 20

20 วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชีวศึกษา [6] อนวุ ัตร ศรีนวล และ อมั พวัลย ชัยนาวา.
(2561). การศึกษาเชื้อเพลงิ อดั แทงจากใบ
ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564 สนประดพิ ทั ธผ สมถานหินลิกไนต. วารสาร
วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต, 8(3), 128-151
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคณุ บริษัทอน่ิ -ออ ง ฟดู จํากัด ที่ใหความ

อนุเคราะหในการรวมทํางานและสนับสนุนในดาน
ตาง ๆ จะใหการดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงค และ
ขอขอบคุณคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลลา นนา ท่ใี หก ารสนบั สนนุ ในดาน
ตาง ๆ

เอกสารอา งองิ
[1] แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน
ทางเลือก พ.ศ.2561-2580. (2563).
กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาพลงั งานทดแทนและ
อนุรักษพลังงาน.
[2] ปกรณ อนุ ไธสง และรชต มณโี ชติ. (2562).
การสรางเคร่อื งและหาประสิทธิภาพถา นอดั
แทงจากฝกราชพฤกษ. วารสารวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธาน,ี
7(2), 147-157.
[3] ธนริ ันต ยอดดาํ เนนิ และเสาวลกั ษณ ยอด
วิญูวงศ. (2563). การพฒั นาผลิตภณั ฑ
ถา นอัดแทงจากใบออ ยและชานออยสู
วสิ าหกจิ ชุมชน. วารสารวิชาการเทคโนโลยี
พลงั งานและสง่ิ แวดลอ ม, 7(2), 12-24.
[4] ศตพล มงุ คาํ้ กลาง. (2559). การหา
ประสทิ ธภิ าพแทง เชือ้ เพลงิ จากถา น
กะลามะพราวและวสั ดเุ หลือใชทางเกษตรใน
การประกอบอาหาร. วารสารวชิ าการคณะ
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม : เทพสตรี I-TECH,
11(1), 59-67.
[5] โรสลนี า อนนั ตนกุ ลู วงศ, รอดียะห เจะ แม
และนรุ มายามีน สาเระน.ุ (2562). การผลติ
ถา นอัดแทง จากวัสดุเหลือใชท างเกษตร.
วารสารวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มรย,
4(1), 47-53.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 21

ǑǥǏǗǥǏǑˡǐǛˏ ǪǖǨLjǑDžˏ ƮǏǏljƮǥǏǣǥƿˣǑǃƮ˥ ǚǥ

Ǚˤdžˣ˒ 5 Ǖǘˏǘdžˣ˒ 2 ƮǏƮƵǥǁlj - ǎˏLjǑǥǁlj 2564

ผลกระทบของผงแคลเซียมคารบ อเนตตอสมรรถนะการไหลและกาํ ลงั รับแรงอดั
ของคอนกรตี มวลรวมเบาทอ่ี ัดแนน ไดด วยตัวเอง

Effect of Calcium Carbonate Powder on Flowing Performances and
Compressive Strength of Lightweight Aggregate Self-Compacting Concrete (LWASCC)

บญุ ญานนั เพ็ญสุวรรณ1, นฤมล พลายทอง2, คงกฤช สมฤดี3 และ มงคล นามลกั ษณ4*
Bunyanun Pensuwan1 Narumon Plaithong2, Kongkrit Somrudee3 and Mongkhon Narmluk4*

*1234ภาควชิ าครศุ าสตรโ ยธา คณะครศุ าสตรอ ุสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี กรงุ เทพฯ 10140
*1234 Department of Civil Technology Education, Faculty of Industrial Education and Technology,
King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangkok 10140

Received : 2021-07-27 Revised : 2021-08-12 Accepted : 2021-08-16

บทคดั ยอ ปูนซีเมนตดวยผงแคลเซียมคารบอเนตรอยละ 20
งานวิจัยนี้นําเสนอผลกระทบของการใชผง ไดร ับกาํ ลงั รับแรงอัดสงู สุด
คาํ สําคัญ : คอนกรตี ทีอ่ ัดแนน ไดด วยตัวเอง,
แคลเซียมคารบอเนตแทนที่ปนู ซีเมนตบางสวน ที่มีตอ
สมรรถนะการไหลและกําลังรับแรงอัดของคอนกรีตท่ี ผงแคลเซยี มคารบ อเนต, สมรรถนะ
อัดแนนไดดวยตัวเองที่ใชเม็ดดินเหนียวขยายตัวเบา การไหล, เม็ดดินเหนียวขยายตัวเบา
เปนมวลรวมหยาบ ในการทดลองไดนําผงแคลเซียม
คารบอเนตแทนที่ปูนซีเมนตปอรตแลนด รอยละ 20, Abstract
35 และ 50 ของปรมิ าตรวัสดุประสานรวม การศกึ ษา This research presents the effect of the
คุณสมบัติของคอนกรีตประกอบดวย คาการไหลแผ
ระยะเวลาไหลแผถึงเสนผานศูนยกลาง 500 มม. use of calcium carbonate powder, as a cement
(T500) ระยะเวลาไหลผานกลองแบนรูปตัววี ดัชนีการ replacement material, on flowing performances
ไหลผานส่ิงกีดขวาง H2/H1 จากการทดสอบ L-box and compressive strength of self-compacting
และกําลังรับแรงอัดของคอนกรีต ผลการวิจัยพบวา concrete incorporating lightweight expanded
ก า ร ใ ช ผ ง แ ค ล เ ซี ย ม ค า ร บ อ เ น ต แ ท น ท่ี ปู น ซี เ ม น ต clay aggregate (LECA) as coarse aggregate. In
บางสวน ลดความสามารถในการไหลของคอนกรีต the experiment, calcium carbonate powder
LWASCC คาการไหลแผและดัชนีการไหลผานส่ิงกีด was used to replace Portland cement by 20,
ขวาง H2/H1 ลง ขณะที่ระยะเวลา T500 และเวลาใน 35 and 50 % of total binder volume. The
การไหลผานกลอ งแบนรูปทรงวีเพม่ิ ข้ึนตามปรมิ าณผง investigated concrete properties included
แคลเซียมคารบอเนต นอกจากน้ีพบวา คอนกรีตที่มี slump flow, flow time to reach a diameter of
สวนผสมของผงแคลเซียมคารบอเนตท่ีสวนผสมมีคา 500 mm (T500), V-funnel flow time, L-box
กําลังรับแรงอัดที่อายุ 7 วัน สูงกวาคอนกรีตควบคุม H2/H1 passing index, and compressive
รอ ยละ 13.3-33.2 และการเลือกใชอัตราการแทนท่ี strength of the concrete. The results revealed
that the replacement of calcium carbonate
*มงคล นามลกั ษณ powder in Portland cement decreased flowing
of LWASCC. The slump flow diameter and
E-mail : [email protected]. H2/H1

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 22

22 ǑǥǏǗǥǏǑˡǐǛˏ ǪǖǨLjǑDžˏ ƮǏǏljƮǥǏǣǥƿˣǑǃƮ˥ ǚǥ

Ǚˤdžˣ˒ 5 Ǖǘǘˏ džˣ˒ 2 ƮǏƮƵǥǁlj - ǎˏLjǑǥǁlj 2564

passing index were decreased, while T500 and มวลรวมน้ําหนักเบาที่ไดรับความนิยมอยางกวางขวาง
V-funnel flow time were increased by of the ในการผลิต LWASCC ในปจจุบัน คือ เม็ดดินเหนียว
volume of calcium carbonate replacement. In ข ย า ย ตั ว เ บ า ( Lightweight Expanded Clay
addition, the concrete containing calcium Aggregate, LECA) เนื่องจากสามารถผลิตขึ้นไดเองใน
carbonate powder had the compressive ปรมิ าณทตี่ อ งการ
strength higher than the control at 7 days, and
the use of cement replacement with calcium จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า พ บ ว า มี ง า น วิ จั ย ทั้ ง ใ น แ ล ะ
carbonate powder of 20% obtained the ตางประเทศ ทีศ่ กึ ษาคณุ สมบตั ดิ า นตา งๆ ของคอนกรีต
highest compressive strength. LWASCC ที่ ใ ช LECA เ ป น ม ว ล ร ว ม ห ย า บ อา ทิ
Keywords : Self-compacting concrete,Calcium Maghsoudi และคณะ [4] รายงานวาคอนกรีตซึ่งใช
LECA ขนาด 4.75-9.5 มม. เปนมวลรวมหยาบใน
carbonate powder, Flowing ปริมาณ 175 กก./ม.3 มคี าความหนาแนน ท่อี ายุ 28 วนั
performances, Lightweight อยูในชวง 1,890-1,870 กก./ม.3 ปานปรียา ขาวเถิน
expanded clay aggregate. และคณะ [5] รายงานวาการแทนที่หินปูนบดยอยดวย
LECA รอยละ 16-47 โดยน้ําหนัก ทําใหคาการไหลแผ
1. บทนาํ สูงขึ้น คาความหนาแนน และกําลังรับแรงอัดลดลง เม่ือ
ค อ น ก รี ต ม ว ล ร ว ม เ บ า ท่ี อั ด แ น น ไ ด ด ว ย ตั ว เ อ ง เปรียบเทียบกับคอนกรีตควบคุม ซึ่งขัดแยงกับ
Alexandre Bogas และคณะ [6] ที่รายงานวาการ
(Lightweight Aggregate Self-Compacting เพิ่มขึ้นของปริมาตร LECA ในสวนผสม ทําใหคอนกรีต
Concrete, LWASCC) คือ คอนกรีตที่มีคุณสมบัติใน มีคาการไหลแผ (Slump flow) ลดลงเล็กนอย ขณะที่
การไหลเขาแบบหลอไดดีและมีความหนาแนนตํ่ากวา ระยะเวลาการไหลแผถึงเสนผานศูนยกลาง 500 มม.
คอนกรีตท่ัวไป ทําใหงายตอการเทและทําใหช้ินสวน (T500) มีคาเพ่ิมขึ้น และดัชนีการไหลผานสิ่งกีดขวาง
โครงสรางที่มีน้ําหนักเบา ซึ่งเหมาะสําหรับอุตสาหกรรม H2/H1 จากการทดสอบ L-box มีคาลดลง
การผลิตชนิ้ สวนโครงสรางคอนกรตี สําเรจ็ รปู ในปจ จบุ ัน
คุณลักษณะพื้นฐานคอนกรีต LWASCC คือ ตองมี นอกจากนี้ยังพบวา สวนผสมของคอนกรีต
สมรรถนะการไหลเปนไปตามเกณฑมาตรฐานของ LWASCC ในงานวิจัยสวนใหญ ยังใชปูนซีเมนตใน
คอนกรีตท่ีอัดแนนไดดวยตัวเอง (Self-Compacting ปริมาณมาก เพื่อเพมิ่ เนื้อซีเมนตเ พสตซง่ึ เปนตัวกลางที่
Concrete, SCC) [1] กลาวคือ 1) สามารถแทรกตัว ทําใหเกิดการไหล ซึ่งทําใหคอนกรีต SCC มีราคาสูง
และอัดแนนในแบบหลอ (Filling ability) ไดดวย และเกิดความรอนสูง [2] ดังนั้นทิศทางการพัฒนา
น้ําหนักตัวเองโดยไมตองใชแรงกระทําจากภายนอก สวนผสมของคอนกรีต LWASCC ที่นาสนใจ คือ การ
2) สามารถไหลผานส่ิงกีดขวางไดโดยไมติดขัด ลดปริมาณปูนซีเมนตโดยใชวัสดุเติมแทรก (Filler)
(Passing ability) และ 3) สามารถตานทานตอการ ทดแทนปนู ซเี มนตบ างสว น
แยกตวั (Segregation resistance) คอื มเี นื้อคอนกรีต
ที่สม่ําเสมอ ไมเกิดการแยกตัวของน้ําปูนหรือเกิดการ ผงแคลเซียมคารบอเนต (Calcium carbonate
ตกตะกอนของมวลรวม [2] แตคุณสมบัติเฉพาะท่ี powder, CC) คือ วัสดุเติมแทรก (Filler) ในงาน
สําคัญของ LWASCC ซึ่งแตกตางจาก SCC ทั่วไป คือ คอนกรีตท่ีไดจากการบดหินปูนจนไดผงสีขาวท่ีมีความ
มีนํ้าหนักเบา (ความหนาแนนตํ่ากวา 2,000 กก./ม.3 ละเอียดสูง โดยทั่วไปผงแคลเซียมคารบอเนตไมมี
[3] ซ่ึ ง ทํ า ไ ด โ ด ย ก า ร ใ ช ม ว ล ร ว ม น้ํ า ห นั ก เ บ า คุณสมบัติเปนวัสดุปอซโซลาน แตสามารถแทรกตัว
(Lightweight aggregate) เปนมวลรวมหยาบ และ ระหวางอนุภาคปูนซีเมนตทําใหโครงสรางจุลภาคของ
ซีเมนตเพสตมีความพรุนตํ่าลง งานวิจัยในอดีตได

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 23

ǑǥǏǗǥǏǑǐˡ Ǜˏ ǪǖǨLjǑDžˏ ƮǏǏljƮǥǏǣǥƿǑˣ ǃƮ˥ ǚǥ

Ǚˤdžˣ˒ 5 Ǖǘˏǘdžˣ˒ 2 ƮǏƮƵǥǁlj - ǎˏLjǑǥǁlj 2564

รายงานอิทธิพลของผงแคลเซียมคารบอเนตที่มีตอ นําไปประยุกตใชในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวน
คุณสมบัติของคอนกรีต SCC อาทิ Sue-iam และ โครงสรา งคอนกรีตสําเร็จรปู ในปจจุบนั
Makul [7] พบวาการใชผงแคลเซียมคารบอเนตท่ีได
จากกระบวนการบดหินปูน เปนวัสดุปรับแตงสวนผสม 2. วิธีดาํ เนินการวิจัย
คอนกรีต SCC ท่ีใชเถาแกลบไมบดแทนที่ทราย 2.1 วัสดุทีใ่ ชในการทดลอง
บางสวน ทําใหคอนกรีตมีคากําลังรับแรงอัดและ งานวิจยั นีใ้ ชป นู ซีเมนตป อรตแลนดป ระเภทท่ี
ความสามารถในการไหลผานส่ิงกีดขวางดีข้ึน John
และคณะ [8] รายงานวาการใชผงแคลเซยี มคารบอเนต 1 ตามมาตรฐาน มอก.15 เลม 1−2555 [10] เปน วัสดุ
รอยละ 2.5-5.0 แทนที่ปูนซีเมนต สามารถปรับปรุง ประสานหลัก และใชผงแคลเซยี มคารบ อเนตทม่ี คี วาม
กําลังและความหนาแนนของคอนกรีต SCC แตทําให ละเอียดสูง รุน CALCRETE F3 จากบริษัทสุรินทร
ความสามารถทํางานไดต่ําลง พงศกร พรมสวัสดิ์ และ ออมยา เคมคิ อล (ประเทศไทย) จํากดั เปนวสั ดแุ ทนท่ี
คณะ [9] รายงานวาในคอนกรีต SCC ที่ใชเถาลอย ปูนซีเมนตบางสวน ซึ่งมีสวนประกอบทางเคมี คือ
รวมกับผงแคลเซียมคารบอเนตแทนท่ปี นู ซเี มนต ทําให CaCO3 มากกวารอยละ 98.5 MgCO3 ไมเกินรอยละ
คาการไหลแผล ดลง เนือ่ งจากคอนกรตี มคี วามหนืดมาก 0.8 FeO3 ไมเกินรอยละ 0.02 และ HCl ที่ไมละลาย
ขึ้น การแทนที่ปูนซีเมนตดวยเถาลอยรอยละ 20 นํ้า ไมเกินรอยละ 1 และมีคา pH 8-10 สมบัติทาง
รวมกับผงแคลเซียมคารบอเนตรอยละ 5 ทําให กายภาพของปูนซีเมนตปอรตแลนดและผงแคลเซียม
คอนกรีตท่ีคากําลังรับแรงอัดสูงกวาคอนกรีตควบคุม คารบอเนต แสดงในตารางที่ 1 สําหรับมวลรวม
(ท่ีใชปูนซีเมนตลวน) เล็กนอย แตเม่ือปริมาณผง ละเอียดใชทรายแมน้ําสะอาด มีคาความถวงจําเพาะ
แคลเซียมคารบอเนตเพิ่มข้ึน เปนรอยละ 10 และ 20 เทากับ 2.61 คาการดูดซึมนํ้าในสภาวะอิ่มตัวผิวแหง
พบวาคากาํ ลังรับแรงอัดมีแนวโนม ตํ่าลง รอยละ 1.10 และมีคาดัชนีความละเอียดเทากับ 2.21
สําหรับมวลรวมหยาบใชเม็ดดินเหนียวขยายตัวเบา
จากขอมูลขางตนจะเห็นวา การรายงาน (LECA) จากบริษัทไซมีส อีโคไลท จํากัด จังหวัด
ผลกระทบของผงแคลเซยี มคารบ อเนตท่มี ตี อสมรรถนะ ราชบุรี ดงั รูปท่ี 1 ซ่ึงมีขนาดเม็ดโตสดุ เทากับ 8 มม. มี
การไหลของคอนกรีต SCC ยังมีนอยและขัดแยงกัน คาความถวงจําเพาะเทากับ 1.16 และมีคาการดูดซึม
และยังไมพบการศึกษาผลกระทบของผงแคลเซียม น้ําในสภาพอ่ิมตัวผิวแหงเทากับรอยละ 14.09 สวน
คารบอเนตตอคุณสมบัติของคอนกรีต LWASCC สารลดนํ้าใชสารลดน้ําพิเศษ (Superplasticizer)
โดยตรง นอกจากน้ีอัตราการแทนที่ปูนซีเมนตดวยผง ประเภทโพลีคารบ็อกซีเลต ADVA® 208 จากบริษัท
แคลเซียมคารบอเนตยงั ใชค อ นขางตาํ่ จีซีพี แอพพลาย เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด มี
ความหนาแนน 1.10 กรัม/ซม.3 และนํ้าท่ีใชในการ
ดงั นัน้ งานวิจยั นมี้ วี ตั ถุประสงคเ พอื่ ศึกษาอทิ ธิพล ผสมคอนกรตี ใชน้ําประปาสะอาด
ของผงแคลเซียมคารบอเนตที่มีตอสมรรถนะการไหล
ของคอนกรีต LWASCC ท่ีใช LECA เปนมวลรวมหยาบ 2.2 อัตราสวนผสมของคอนกรีตที่ใชใ นการวิจัย
ไดแก คาการไหลแผ (Slump flow) ระยะเวลาไหลแผ ค อ น ก รี ต SCC ค ว บ คุ ม ( Controlled
ถึงเสนผานศูนยกลาง 500 มม. (T500) ระยะเวลาไหล
ผานกลองแบนรูปทรงวี (V-funnel flow time) และ concrete) ในงานวิจัยนี้ใชปูนซีเมนตปอรตแลนด
คาดัชนีการไหลผานส่ิงกีดขวางดวยวิธี L-box โดยมุง ประเภทท่ี 1 จํานวน 585 กก./ม.3 อัตราสวนน้ําตอ
ศึกษาการใชผงแคลเซียมคารบอเนตแทนที่ปูนซีเมนต วัสดุประสาน (w/b) เทากับ 0.35 และสารลดน้ําพิเศษ
ในปริมาณในระดับสูงกวางานวิจัยในอดีต คือ รอยละ รอยละ 0.6 ของนํ้าหนักวัสดุประสาน สวนคอนกรีต
20 35 และ 50 โดยปริมาตร ซึ่งผลการวิจัยน้ีสามารถ SCC กลุมทดลองในงานวิจัยน้ี แสดงในตารางที่ 2 มี
รายละเอียดของสว นผสมดงั นี้ สวนผสม CC20, CC35,

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 24

24 ǑǥǏǗǥǏǑǐˡ Ǜˏ ǪǖǨLjǑˏDžƮǏǏljƮǥǏǣǥƿˣǑǃ˥Ʈǚǥ

Ǚˤdžˣ˒ 5 Ǖǘǘˏ džˣ˒ 2 ƮǏƮƵǥǁlj - ǎˏLjǑǥǁlj 2564

และ CC50 ใชผงแคลเซยี มคารบ อเนตแทนท่ปี ูนซีเมนต และนําคอนกรีตอีกสวนหนึ่งเทลงในแบบหลอสําหรับ
ปอรตแลนดประเภทท่ี 1 รอยละ 20, 35 และ 50 โดย การทดสอบกําลังรับแรงอัดโดยไมทําการจ้ีเขยาหรือ
ปริมาตรของวัสดุประสานรวม (ปูนซีเมนต+ผง กระทงุ
แคลเซียมคารบอเนต) ตามลําดับ โดยควบคุมคา w/b ตารางที่ 2 อตั ราสวนผสมคอนกรตี
ใหคงท่ีเทากบั 0.35 (โดยน้าํ หนกั )
อัตราสวนผสมคอนกรีต (กก./ม.3)

ตารางที่ 1 สมบตั ิทางกายภาพของวสั ดปุ ระสาน กลุม ัตวอยางCalciu Superplast
m LE
ตวั อยาง ความถว ง พ้ืนทผ่ี วิ นาํ้ หนกั คางบน Cement icizer (%)
SandCarbo CA
Waternate

วัสดุ จําเพาะ (ซม.2/กรัม) ตะแกรงเบอร - 49 67 20
18 1
325 (รอยละ) Control 585 0.60
0.65
Cement 3.13 3,470 - 49 67 19 0.68
18 9 0.70
CC 2.70 6,000 1.50 CC20 466 101

หมายเหตุ : CC คือ ผงแคลเซียมคารบอเนต CC35 383 179 49 67 19
18 7

CC50 298 258 49 67 19
18 4

หมายเหตุ : CC35 หมายถึง ใชปูนซเี มนต รอ ยละ 65

และ ผงแคลเซยี มคารบ อเนต รอ ยละ 35 และปรมิ าณ

สารลดนาํ้ พเิ ศษ (Superplasticizer) คิดเปน รอยละ

ของน้าํ หนกั วัสดุผง

รูปที่ 1 ลักษณะทางกายภาพของเม็ดดินเหนียว 2.4 วธิ กี ารทดสอบ
ขยายตวั เบา (LECA) การประเมินสมรรถนะการไหลของคอนกรีต

2.3 การผสมคอนกรตี LWASCC ในงานวจิ ยั นี้ ไดทําตามแนวทางการทดสอบ
การผสมคอนกรตี ในงานวจิ ัยน้ี มขี ้ันตอนดงั นี้ ของ EFNARC 2005 [1] ซึ่งประกอบดว ย คอื 1)ความ
สามารถในการไหล (Flow ability) พิจารณาจาก
1) ผสมสารลดนํ้าพเิ ศษกับน้าํ ท่ีตองในการผสมท้งั หมด ขนาดเสนผา นศนู ยก ลางสูงสุดของการไหลแผ (Slump
และแบงเปน 5 สวน 2) เติมมวลรวมหยาบ (LECA) flow) 2) ความสามารถในการเติมแทรกแบบหลอ
ท่ีอยูในสภาพอิ่มตัวผิวแหง ลงในเครื่องผสมคอนกรีต (Filling ability) เปนการประเมินจากความหนืด
พรอมเติมน้ํา 1 สวน แลวเดินเคร่ืองผสม 1 นาที (Viscosity) ของคอนกรีตสด โดยการทดสอบระยะ
3) เติมปูนซีเมนตปอรตแลนด พรอมน้ํา 2 สวน แลว เวลาที่ใชใ นการไหลแผถ ึงขนาดเสน ผา นศูนยก ลาง
เดินเครื่องผสม 5 นาที 4) เติมมวลรวมละเอียด(ทราย) 500 มม. (T500) และระยะเวลาไหลผานกลอ งแบน
พรอมนํ้า 1 สวน แลวเดินเครื่องผสม 5 นาที และ รปู ตัววี และ 3) ความสามารถในการไหลผานสิ่งกีด
5) ใสผงแคลเซียมคารบอเนต พรอมน้ํา 1 สวน แลว ขวาง (Passing ability) พจิ ารณาจากดัชนี H2/H1
เดินเคร่ืองผสม 3 นาที เม่ือผสมคอนกรีตจนเขากันดี ท่ีไดจากการทดสอบ L-box โดยมีเกณฑมาตรฐานท่ี
แลว นําคอนกรีตท่ีไดไปทดสอบสมรรถนะการไหล ยอมรับ ไ ดและการแบง ช้ัน คุณภาพของ คุณ ส ม บัติ
ขา งตน ดงั แสดงในตารางท่ี 3

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 25

ǑǥǏǗǥǏǑˡǐǛˏ ǪǖǨLjǑˏDžƮǏǏljƮǥǏǣǥƿˣǑǃƮ˥ ǚǥ

Ǚˤdžˣ˒ 5 Ǖǘǘˏ džˣ˒ 2 ƮǏƮƵǥǁlj - ǎˏLjǑǥǁlj 2564

2.4.1 วธิ กี ารทดสอบคา การไหลแผและ รปู ท่ี 4 การทดสอบ L-box
ระยะเวลาการไหล T500

วางแผนเหล็กบนพนื้ ทไี่ ดร ะดับและ
ใชกรวยสําหรบั การทดสอบคายบุ ตวั วางหงายให
ปลายกรวยดานแคบสัมผัสกบั แผนเหล็ก จากนั้นเท
คอนกรตี จนเต็มโดยไมตองกระทุง ใหแนน แลวยก
กรวยทดสอบข้ึนในแนวด่ิง ปลอ ยใหคอนกรตี ไหลแผ
อิสระดวยนํ้าหนักตนเอง เริม่ จับเวลาท่ีคอนกรตี ไหล
แผจนถงึ ระยะเสน ผานศนู ยกลาง 500 มม. จึงหยดุ
เวลาและบนั ทกึ เปน คา เวลาการไหล T500 จากนั้น
ปลอ ยใหคอนกรตี ไหลแผจนหยุดนิ่งดังรูปที่ 2 จึงวดั
เสนผานศนู ยก ลางของคอนกรีตทีแ่ ผออกใน 2 แนว
ท่ีตั้งฉากกัน เพือ่ หาคาการไหลแผเฉลี่ย งานวิจัยนี้
รายงานคาเฉลี่ยของคาการไหลแผแ ละระยะเวลาการ
ไหล T500 จากการทดสอบซา้ํ 3 คร้งั

รูปที่ 5 การวดั คา ผลการทดสอบ L-box

ตารางที่ 3 เกณฑม าตรฐานที่ยอมรบั ไดของผลการทด
สอบสมรรถนะการไหล EFNARC2005[1]

รูปท่ี 2 การทดสอบคาการไหลแผและระยะเวลา เกณฑม าตรฐานท่ี
การไหล T500
สมรรถนะ การ ยอมรับ
รูปท่ี 3 การทดสอบระยะเวลาไหลผา น V-funnel ทดสอบ
ความสามารถใน ชน้ั คาที่
การไหล (Flow Slump
ability) flow คุณภาพ ยอมรบั
test
ความสามารถใน Slump Slump
การไหล (Flow Slump
ability) flow test class flow

(mm)

SF1 550-650

SF2 660-750

SF3 760-850

Slump Slump
class flow (mm)
SF1 550-650
SF2
SF3 660-750

760-850

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 26

26 ǑǥǏǗǥǏǑǐˡ Ǜˏ ǪǖǨLjǑˏDžƮǏǏljƮǥǏǣǥƿˣǑǃƮ˥ ǚǥ

Ǚˤdžˣ˒ 5 Ǖǘǘˏ džˣ˒ 2 ƮǏƮƵǥǁlj - ǎLjˏ Ǒǥǁlj 2564

ตารางที่ 3 (ตอ ) เกณฑม าตรฐานท่ยี อมรับไดของผลการทด อยางอิสระจนหยุดไหลดวยตวั เองดังรูปที่ 4 จากน้ันจงึ
สอบสมรรถนะการไหล EFNARC2005[1] วัดความสูงของระดับผิวหนาคอนกรีตท่ีตนรางและท่ี
ปลายราง เพ่ือนําไปคํานวณหาคา H1 และ H2 ดังรูปท่ี
เกณฑม าตรฐานที่ 5 งานวิจัยน้ีรายงานคาเฉล่ียของดัชนี H2/H1 ท่ีไดจาก
การทดสอบซ้ํา 3 ครงั้
สมรรถนะ การ ยอมรบั
ทดสอบ 2.4.4 วิธกี ารทดสอบกําลังรบั แรงอัด
ความสามารถใน ชน้ั คาท่ี การทดสอบหาคากําลังรับแรงอัด ได
การเตมิ แทรก T500
(Filling ability) คณุ ภาพ ยอมรับ ทําตามมาตรฐาน ASTM C39 [11] โดยใชตัวอยาง
V-funnel ทดสอบขนาดเสนผานศูนยกลาง 15 ซม. สูง 30 ซม.
ความสามารถ test Viscosity T500 time ซึ่งถอดแบบที่อายุ 24 ช่ัวโมง แลวบมในนํ้า และนํา
ไหลผานสิง่ กดี class (sec) ตัวอยางทดสอบข้ึนจากนํ้าและปลอยใหแหงในอากาศ
ขวาง (Passing L-box test 24 ช่ัวโมงกอนทดสอบท่ีอายุ 7 วัน และ 80 วัน
VS1/VF1 ≤2 นอกจากนี้ไดชั่งนํ้าหนักและวัดปริมาตรจริงของ
ability) ตัวอยางทดสอบเพ่ือหาคาความหนาแนนกอนทดสอบ
VS2/VF2 >2 กําลงั รบั แรงอัด งานวจิ ัยนีร้ ายงานคา เฉล่ียของกาํ ลังรับ
แรงอัดและความหนาแนนท่ีไดจากการทดสอบซํ้า 3
Viscosity V-funnel ตัวอยา ง
class time (sec)
VS1/VF1 3. ผลการวจิ ยั และอภิปรายผล
≤8 3.1 ความสามารถในการไหล (Flow ability)
จากรูปที่ 6 แสดงผลการทดสอบคาการไหล
VS2/VF2 9-25
แผของคอนกรีต LWASCC ทีใ่ ชเ มด็ ดนิ เหนยี วขยายตวั
Passing H2/H1 เบาเปนมวลรวมหยาบ จากรูปจะเห็นวาโดยภาพรวม
class index คอนกรีต LWASCC ท่ีผลิตขึ้น มีคาการไหลแผอยู
ในชวง 558-567 มม. เม่ือเปรียบเทียบกับตารางท่ี 3
PA1 ≥0.8 with พบวาผานเกณฑที่ยอมรับได และจัดอยูในช้ันคุณภาพ
PA2 2 bars SF1 ซง่ึ เปนชัน้ คุณภาพทมี่ ีความสามารถในการไหลแผ
ต่ําที่สุดท่ียอมรับได เหมาะแกการใชเทในงาน
≥0.8 with โครงสรางทมี่ ีเหล็กเสรมิ นอ ย หรือชิ้นสว นโครงสรางใน
แนวด่ิง เชน เสาและผนัง [12] เม่ือพิจารณาผลของ
3 bars การแทนท่ีปูนซีเมนตดวยผงแคลเซียมคารบอเนต
พบวาการแทนท่ีดวยผงแคลเซียมคารบอเนตท่ีเพิ่มขน้ึ
2.4.2 วิธกี ารทดสอบ V-funnel ทําใหคอนกรีตมีคาการไหลแผต่ําลง โดยคอนกรีต
CC50 มีคาการไหลแผตํ่าสุด เทากับ 558 มม. ขณะที่
ตั้งกลองแบนรปู ทรงวี (V-funnel) บน คอนกรีต Control ท่ีมีคาการไหลแผสูงสุด เทากับ
พื้นใหไดระดับ และปดฝาชองเปดดานลางใหสนิท 567 มม. ซ่ึงมีสาเหตุมากจากผงแคลเซียมคารบอเนต
จากน้ันนําคอนกรีตท่ีผสมเสรจ็ แลวลงใน V-funnel จน ท่ีใชในงานวิจัยน้ีมีความละเอียดสูงมาก สามารถผาน
เต็ม พรอมกับเปดฝาชองเปดดานลาง เพื่อปลอยให
คอนกรตี ไหลผานอยา งอสิ ระ ลงในภาชนะรองรับดังรูป
ที่ 3 พรอมจับเวลาตั้งแตเร่ิมปลอยคอนกรีตจนกระท่ัง
คอนกรีตไหลผานจนหมดและมองเห็นแสงลอดผาน
ดานลาง ทําการทดสอบซ้ํา 3 ครั้ง และคํานวณหา
ระยะเวลา V-funnel flow time เฉล่ียที่วัดไดจ ากการ
ทดสอบ 3 ครง้ั

2.4.3 วิธกี ารทดสอบ L-box
วางกลอ งทดสอบรปู ทรงแอล (L-box)

ชนิดที่มีเหล็กกีดขวาง 3 เสน บนพ้ืนที่ไดระดับ พรอม
ปดแผนปดกั้นการไหลใหสนิท และเทคอนกรีตที่
ผสมเสร็จแลวลงในกลอ ง L- Box ในแนวตั้งจนเตม็ โดย
ไมตองทําใหแนน จากแรงภายนอก จากนั้นเปดแผน ปด
ก้ันเพื่อใหคอนกรีตไหลผานเหล็กกีดขวางท้ัง 3 เสน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 27

ǑǥǏǗǥǏǑǐˡ ˏǛǪǖǨLjǑˏDžƮǏǏljƮǥǏǣǥƿˣǑǃƮ˥ ǚǥ

Ǚˤdžˣ˒ 5 Ǖǘǘˏ džˣ˒ 2 ƮǏƮƵǥǁlj - ǎLjˏ Ǒǥǁlj 2564

ตะแกรงเบอร 325 ไดมากกวารอยละ 98.5 และมี ผลการทดสอบขางตนแสดงใหเห็นวาผงแคลเซียม
พื้นที่ผิวจําเพาะถึง 6,000 ซม.2/กรัม ซ่ึงสูงกวา คารบอเนตมีอิทธิพลทําใหคอนกรีตมีความหนืดมาก
ปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภทที่ 1 ถึง 1.73 เทา ข้ึน จึงทําใหคอนกรีตตองใชเวลาในการไหลแผถึงเสน
(3,470 ซม.2/กรัม) จึงสามารถดูดซับน้ําไวบนผิว ผานศูนยกลาง 500 มม. และระยะเวลาในการไหล
อนุภาคไดมาก คอนกรีตจึงมีความหนืดเพิ่มขึ้นและ ผาน V-funnel ยาวนานมากข้ึน ซึ่งเม่ือเปรียบเทียบ
ไหลแผไดนอยลง สอดคลองกับงานวิจัยของ พงศกร กับเกณฑมาตรฐาน EFNARC 2005 ในตารางท่ี 3
พรมสวัสดิ์ และคณะ [9] ท่ีอธิบายวาผงแคลเซียม พบวาคอนกรีตทุกสวนผสมจัดอยูในช้ันคุณภาพ
คารบอเนตมีลักษณะอนุภาครูปทรงเหล่ียมมุม และมี VS2/VF2 ซึ่งจัดเปนคอนกรีต LWASCC ที่ไหลไมเร็ว
พื้นที่ผิวจําเพาะและคารอยละการสูญเสียน้ําหนัก แตมีขอดี คือ ชวยลดแรงดันของคอนกรีตที่กระทําตอ
เน่ืองจากการเผาไหมท่ีสูง ทําใหเกิดการดูดกลืนน้ํา แบบหลอ และมีความตานทานตอการแยกตัวไดดีขึ้น
มาก สงผลใหความสามารถในการไหลของคอนกรีต เหมาะสําหรับการใชหลอชิ้นสวนโครงสรางในแนวด่ิง
SCC ต่ําลง [12]

3.2 ความสามารถในการเติมแทรกแบบหลอ รูปที่ 6 ผลการทดสอบการไหลแผ (Slumpflowtest)
(Filling ability)
รูปท่ี 7 ผลการทดสอบระยะเวลา T500
ความสามารถในการเติมแทรกแบบหลอ ใน
งานวิจัยน้ีพิจารณาจากระยะเวลาไหลแผถึงเสนผาน
ศูนยก ลาง 500 มม. หรอื T500 และระยะเวลาไหลผา น
กลองแบนรูปทรงวีในรูปที่ 7 และรูปที่ 8 ซ่ึงแสดงถึง
อัตราเร็วในการไหล (Flow rate) ของคอนกรีต
กลาวคือ คอนกรตี ทม่ี คี วามหนืดมาก จะใชเ วลาในการ
ไหลยาวนานมากขน้ึ

จากรูปท่ี 7 จะเห็นวาคอนกรีตทุกสวนผสมมี
ระยะเวลา T500 มากกวา 2 วนิ าที เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั
เกณฑท่ียอมรับไดในตารางท่ี 3 จัดอยูในชั้นคุณภาพ
VS2 โดยคอนกรีต Control มคี า T500 ต่ําท่สี ดุ คือ 2.2
วินาที เมื่ออตั ราการแทนทปี่ ูนซีเมนตดวยผงแคลเซียม
คารบอเนตเพิ่มข้ึน จะทําใหระยะเวลา T500 สูงข้ึน
ตามลําดับ และคอนกรีต CC50 มีคา T500 สูงสุด คือ
4.4 วินาที จากรูปที่ 8 จะเห็นวาคอนกรีตทุกสว นผสม
มีระยะเวลา V-funnel flow time อยูในชวง 9-25
วินาที ซ่ึงจัดอยูในช้ันคุณภาพ VF2 โดยคอนกรีต
Control มีระยะเวลาไหลผาน V-funnel ตํ่าที่สุด คือ
9.3 วินาที เมื่ออัตราการแทนที่ปูนซีเมนตดวยผง
แคลเซียมคารบอเนตเพิ่มข้ึน จะทําใหระยะเวลาไหล
ผาน V-funnel สูงข้ึนตามลําดับ และคอนกรีต CC50
มีระยะเวลาไหลผาน V-funnel สงู สดุ คอื 13.8 วินาที

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 28

28 ǑǥǏǗǥǏǑˡǐǛˏ ǪǖǨLjǑDžˏ ƮǏǏljƮǥǏǣǥƿǑˣ ǃ˥Ʈǚǥ

Ǚˤdžˣ˒ 5 Ǖǘˏǘdžˣ˒ 2 ƮǏƮƵǥǁlj - ǎˏLjǑǥǁlj 2564

รูปท่ี 8 ผลการทดสอบระยะเวลาไหลผา น V-funnel ปฏิกิริยาไฮเดรชั่นของปูนซีเมนต นอกจากนี้พบวา
คอนกรตี ควบคมุ และคอนกรีตทมี่ ีการแทนที่ปนู ซเี มนต
3.3 ความสามารถในการไหลผานสิ่งกดี ขวาง ดวยผงแคลเซียมคารบอเนตรอยละ 20, 35 และ 50
(Passing ability) มีคากําลังรับแรงอัดที่อายุ 7 วัน เทากับ 241, 321,
313 และ 273 กก./ซม.2 ตามลําดับ แสดงใหเห็นวา
จากรูปที่ 9 แสดงผลการทดสอบดัชนีการ คอนกรีตที่มีสวนผสมของผงแคลเซียมคารบอเนตทุก
ไหลผานสิ่งกีดขวาง H2/H1 ท่ีไดจากการทดสอบ L- อัตราสวน มีคากําลังรับแรงอัดที่อายุ 7 วัน สูงกวา
box ของคอนกรีต LWASCC ท่ีใชเม็ดดินเหนียว คอนกรีตควบคุม ในชวงรอยละ 13.3-33.2 ซ่ึงเปนผล
ขยายตัวเบาเปนมวลรวมหยาบ จากรูปจะเห็นวา จากการเติมแทรกของอนุภาคแคลเซียมคารบอเนตใน
คอนกรีตทุกอัตราสวนผสมมีคาดัชนี H2/H1 อยูในชวง ชองวางระหวางอนุภาคปูนซีเมนต (Filler effect) จึง
0.86-0.96 แสดงใหเ ห็นวา เปนคอนกรตี LWASCC ที่มี ทําใหโ ครงสรา งจุลภาคของซีเมนตเพสตในชว งอายุตน
ความสามารถในการไหลผานสิ่งกีดขวางไดดี ผาน มีความอัดแนนสูงกวาคอนกรีตควบคุม โดยคอนกรีต
เกณฑมาตรฐานท่ียอมรับไดใ นตารางที่ 3 จัดอยูในช้นั CC20 มีคากําลังรับแรงอัดท่ีอายุ 7 วันสูงที่สุด เมื่อ
คุณภาพ PA2 เมื่อพิจารณาผลของการแทนที่ พิจารณาคากาํ ลังรบั แรงอัดในระยะยาวพบวาคอนกรตี
ปูนซีเมนตดวยผงแคลเซียมคารบอเนต พบวาการ Control, CC20, CC35 แ ล ะ CC50 มี ค า กํ า ลั งรับ
แทนที่ปูนซีเมนตดวยผงแคลเซียมคารบอเนตใน แรงอัดท่ีอายุ 80 วัน เทากับ 333, 354, 326 และ
ปริมาณเพิ่มขึ้นทําใหคอนกรีตมีคาดัชนีการไหลผาน 310 กก./ซม.2 ตามลาํ ดบั จะเหน็ วาคอนกรตี CC20 มี
ส่ิงกีดขวาง H2/H1 ตํ่าลง ตามลําดับ โดยคอนกรีต คากําลังรับแรงอัดสูงสุด ซ่ึงสูงกวาคอนกรีตควบคุม
CC50 มีคา H2/H1 ตํ่าสุด คือ 0.86 ขณะที่คอนกรีต รอยละ 6.3 ขณะที่คอนกรีต CC35 และ CC50 มีคา
Control มีคา H2/H1 สูงสุด คือ 0.96 แสดงใหเห็นวา กําลังรับแรงอัดนอยลงเล็กนอย รอยละ 2.1 และ 6.9
การแทนที่ปูนซีเมนตดวยผงแคลเซียมคารบอเนตรอย ตามลําดับ เน่ืองจากคอนกรีต CC35 และ CC50 มี
ละ 50 ทําใหคอนกรีตเกิดการสญู เสียความสามารถใน อัตราการแทนที่ดวยผงแคลเซียมคารบอเนตที่สูง ทํา
การไหลผานสิ่งกีดขวาง รอยละ 10.4 ซึ่งเปนผลมา ใหเหลือปริมาณปูนซีเมนตในระบบคอนขางต่ํา สงผล
จากผงแคลเซียมคารบอเนตทมี่ ีพื้นที่ผวิ จําเพาะสูง ทํา ใหเกิดสารประกอบแคลเซียมซิลิเกตไฮเดรตนอย จึง
ใหค อนกรตี มีความหนดื มากขน้ึ จงึ สามารถไหลผานสง่ิ ทาํ ใหมคี ากําลังรับแรงอัดต่าํ ลง
กดี ขวางตา่ํ ลง [7]
รปู ท่ี 9 ผลการทดสอบการไหลผา นสงิ่ กดี ขวาง
3.4 กําลังรับแรงอัด ดวยวิธี L-box
จากรูปที่ 10 แสดงผลการทดสอบกําลังรับ

อัดของคอนกรีต LWASCC ท่ีอายุ 7 วัน และ 80 วัน
จะเห็นไดวาคากําลังรับแรงอัดของคอนกรีตท้ังหมด
เพ่ิมสูงขึ้นตามอายุทดสอบ ซ่ึงเปนผลมาจาก

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

ǑǥǏǗǥǏǑǐˡ ˏǛǪǖǨLjǑˏDžƮǏǏljƮǥǏǣǥƿǑˣ ǃ˥Ʈǚǥ 29

Ǚˤdžˣ˒ 5 Ǖǘǘˏ džˣ˒ 2 ƮǏƮƵǥǁlj - ǎLjˏ Ǒǥǁlj 2564

รปู ที่ 10 ผลการทดสอบกาํ ลงั รบั แรงอัด 4. สรปุ ผลการวิจัย
จากผลการทดลอง สามารถสรุปผลการวจิ ัยไดด ังน้ี
รปู ท่ี 11 ความหนาแนน ของคอนกรตี ท่แี ข็งตวั แลว 4.1 คอนกรีต LWASCC ท่ีผลิตข้ึนในงานวิจัยน้ี มี

3.5 คา ความหนาแนน คาการไหลแผอยูในชวง 558-567 มม. จัดอยูในชั้น
รูปท่ี 11 แสดงคาความหนาแนนของ คุณภาพ SF1 มีระยะเวลา T500 มากกวา 2 วินาที และ
มีระยะเวลาไหลผา น V-funnel อยูในชวง 9-25 วินาที
คอนกรีต LWASCC ที่ใช LECA เปนมวลรวมหยาบ จดั อยูในชนั้ คุณภาพ VS2/VF2 ซ่งึ เปนคอนกรตี SCC ท่ี
จากรูปจะเห็นวาคาความหนาแนนแปรผันอยูในชวง มีความสามารถในการไหลต่ําท่ีสุดที่ยอมรับได และมี
1,817-1,933 กก./ม.3 ซ่ึงใกลเคียงกับผลการวิจัยของ ความสามารถเติมแทรกในแบบหลอไมส ูงนัก เหมาะแก
Maghsoudi และคณะ [4] ซ่ึงเปนคาความหนาแนนที่ การใชเทในงานโครงสรางที่มีเหล็กเสริมนอย หรือ
อยูในชั้นคุณภาพของคอนกรีตมวลเบาสําหรับงาน ช้ินสวนโครงสรางในแนวด่ิง และมีขอดี คือ ชวยลด
โครงสราง (Structural lightweight concrete) [3] แรงดันของคอนกรีตที่กระทําตอแบบหลอ และมีความ
นอกจากนี้พบวาการแทนท่ีปูนซีเมนตด วยผงแคลเซยี ม ตานทานตอการแยกตวั ไดดขี ้นึ
คารบอเนต ไมทําใหคาความหนาแนนของคอนกรีต
แตกตางจากตัวอยางควบคุมอยางชัดเจน ในขณะที่คา 4.2 การแทนที่ปูนซีเมนตดวย ผงแคลเซียม
ความหนาแนนที่อายุ 80 วัน มีคาต่ํากวาอายุ 7 วัน คารบอเนต ทําใหคอนกรีต LWASCC มีสมรรถนะใน
เล็กนอย ซึ่งอาจเปนผลมาจากความช้ืนภายในกอน การไหลโดยรวมตํ่าลง โดยคาการไหลแผและดัชนีการ
ตัวอยางทดสอบทีแ่ ตกตางกนั ไหลผาน L-box ตํ่าลง ในขณะที่ใชเวลาในการไหลแผ
ถึงเสนผานศูนยกลาง 500 มม. (T500) และเวลาในการ
ไหลผาน V-funnel เพ่ิมขึ้นตามปริมาณผงแคลเซียม
คารบอเนต แสดงถึงคอนกรีตมีความหนืดมากข้ึน
เนื่องจากอิทธิพลของความละเอียดของผงแคลเซียม
คารบอเนต

4.3 คอนกรีต LWASCC ท่ีมีสวนผสมของผง
แคลเซยี มคารบ อเนตทุกอตั ราสว น มีคา กําลงั รับแรงอัด
ท่ีอายุ 7 วัน สูงกวาคอนกรีตควบคุม และคอนกรีตซึ่ง
แทนที่ปูนซีเมนตดวยผงแคลเซียมคารบอเนตรอยละ
20 มีคากําลังรับแรงอัดสูงสุด ทั้งท่ีอายุ 7 วัน และ 80
วัน และเม่ือใชผงแคลเซียมคารบอเนตในอัตราสวนที่
มากข้ึน ทําใหคากําลงั รับแรงอัดมีแนวโนม ตาํ่ ลง ดังนั้น
อัตราการแทนที่ปูนซีเมนตดวยผงแคลเซียมคารบอรเนต
ไมค วรเกินรอยละ 20

กิตตกิ รรมประกาศ
ขอขอบคุณ บริษัทสุรินทร ออมยา เคมิคอล

(ประเทศไทย) จํากัด บริษัทไซมีส อีโคไลท จํากัด และ
บริษัท จีซีพี แอพพลาย เทคโนโลยี (ประเทศไทย)
จํากัด ท่ีใหค วามอนุเคราะหวัสดุที่ใชในงานวิจัยนี้

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 30

30 ǑǥǏǗǥǏǑˡǐˏǛǪǖǨLjǑDžˏ ƮǏǏljƮǥǏǣǥƿˣǑǃ˥Ʈǚǥ [7] G. Sua-iam and N. Makul. “Utilization
of limestone powder to improve the
Ǚˤdžˣ˒ 5 Ǖǘǘˏ džˣ˒ 2 ƮǏƮƵǥǁlj - ǎˏLjǑǥǁlj 2564 properties of self-compacting
concrete incorporating high volumes
เอกสารอา งองิ of untreated rice husk ash as fine
[1] EFNARC 2005. “The European aggregate”. Construction and Building
Guidelines for Self-Compacting Materials, 38, pp.455-464, 2013.
Concrete. Free pdf copy
downloadable from [8] W. John, A.O. Oghenekume, T.L.
<http://www.efnarc.org>. Zahemen, “Effect of calcium
[2] ธนธรณ คมั ภรี ย ิ่งเจรญิ และ มงคล carbonate filler on self-compacting
นามลักษณ, “อทิ ธพิ ลของเถา ชวี มวลจาก concrete using different aggregate
โรงไฟฟา ตอ การเกิดความรอ นและการหด sizes”. European Journal of
ตัวของคอนกรตี ชนิดอดั แนนไดดว ยตัวเอง”, Engineering Research and Science, 4,
วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชีวศึกษา, pp.9-16, 2019.
ปท ่ี 4, พ.ศ.2564, หนา 159-167.
[3] K.H. Yang, G.H. Kim, and Y.H. Choi. "An [9] พงศกร พรมสวัสดิ์, บรุ ฉัตร ฉัตรวรี ะ, และ
initial trial mixture proportioning กฤษดา เสือเอี่ยม, “สมบตั ิของคอนกรตี ไหล
procedure for structural lightweight อดั แนนดว ยตวั เองผสมรว มผงแคลเซียม
aggregate concrete". Construction and คารบ อเนตและเถาลอย”, วศิ วกรรมสารฉบับ
Building Materials, 55, pp. 431-439, วิจัยและพฒั นา, ปท ่ี 31, พ.ศ. 2563, หนา
2014. 11-22.
[4] A.A. Maghsoudi, Sh. Mohamadpour,
and M. Maghsoudi. “Mix design and [10] Thai Industrial Standard Institute. "TIS
mechanical properties of self- 15: 2555 Thai standard for Portland
compacting light weight concrete”. cement: Part I specification". TISI,
Int. J. Civ. Eng. 9(3), pp.230–236, 2011. 2012.
[5] ปานปรยี า ขาวเถิน, นบิ สั ซมั เดะแอ และ
มงคล นามลักษณ, “อิทธพิ ลของเมด็ ดนิ [11] ASTM C39 / C39M-21, “Standard Test
เหนียวขยายตวั เบาตอคุณสมบัตขิ อง Method for Compressive Strength of
คอนกรตี ท่ีมคี วามสามารถเทไดสงู ”, วารสาร Cylindrical Concrete Specimens”.
วจิ ัยและนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา, ปท ่ี 5, ASTM International, West
พ.ศ.2564, หนา 159-167. Conshohocken, PA, 2021,
[6] J. Alexandre Bogas, Augusto Gomes, www.astm.org
and M.F.C. Pereira, “Self-compacting
lightweight concrete produced with [12] G. De Schutter, P. Bartos, P. Domone,
expanded clay aggregate”. J. Gibbs. Self-compacting concrete.
Construction and Building Materials, Whittles Publishing, Caithness, 2008.
35, pp.1013–1022, 2012.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 31

วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

การพฒั นาร้วั ซีเมนต์มอร์ตา้ ร์สาเร็จรปู
A DEVELOPMENT OF A READY-MADE CEMENT MORTAR FENCE

พชั ร ออ่ นพรม1*, วนิ ัย ชัยเพชร2 และ เมสิณี นิลทะวชั 3
Patchara Onprom1* , Vinai Chaiphet2 , and Mesinee Nintavat3

*1สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลัยเทคนคิ หนองคาย สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 จงั หวดั หนองคาย 43000
*1Field of Civill Technology, Nongkhai Technical College, Institute of Vocational Education : Northeastern Region 1,

Nongkhai 43000

Received : 2021-05-03 Revised : 2021-05-20 Accepted : 2021-05-20

บทคดั ยอ่ และ 10 วัน ตามลาดับ สาหรับราคาวัสดุและค่าแรง
จุดประสงค์ของโครงการพิเศษด้านเทคโนโลยี ในการก่อสร้างพบว่า ร้ัวอิฐมอญมีราคาวัสดุและ
ค่าแรงมากที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ 10,035 บาท
ก่อสร้างนี้เพ่ือพัฒนาร้ัวซีเมนต์มอร์ต้าร์สาเร็จรูป รองลงมาได้แก่ ร้ัวอิฐบล็อก และรั้วซีเมนต์มอร์ตาร์
สาหรับบ้านพักอาศัยขนาดเล็ก เพ่ือนาข้อมูลจาก สาเร็จรูป โดยมีค่าเท่ากับ 8,588 และ 4,945 บาท
การศกึ ษาทีไ่ ดใ้ ชเ้ ป็นแนวทางการพัฒนา ปรับปรงุ และ ตามลาดับ
แก้ไขคุณภาพงานก่อสร้างร้ัวด้วยระบบโครงสร้าง คาสาคัญ : กาลังรับแรงอัด,ความหนาแนน่ ,ระยะเวลาการ
สาเร็จรูป โดยออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างรั้วสาเร็จรูป
โดยใช้เสาขนาด 30 x 30 x 3 เซนติเมตร ภายในกลวง กอ่ สร้างอฐิ
ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางเสาเท่ากับ 2
เมตร สงู 1.60 ม. โดยเสาหน่งึ ต้นแบง่ ออกเปน็ 2 ท่อน Abstract
ยาวท่อนละ 80 ซม. กาแพงตรงกลาง สูง 60 ซม. The purpose of this construction
กว้าง 1.70 ม. แบ่งออกเป็น 6 ท่อน สูงท่อนละ 30
ซม. ยาวท่อนละ 85 ซม. ทาการทดสอบกาลังรับ project were to develop a ready- made
แรงอัดและความหนาแน่น ท่ีอายุ 7 และ 28 วัน cement mortar fence for small homes and to
ระยะเวลาการก่อสร้าง ราคาการก่อสร้างในเรื่องค่า use information from the study as a guideline
วัสดุและค่าแรงในการก่อสร้าง เปรียบเทียบกับการ for development and improve the quality of
สร้างร้ัวที่ใช้อิฐบล็อกและอิฐมอญเป็นวัสดุในการ fence construction work by prefabricated
ก่อสร้าง ผลการทดสอบพบว่า กาลังรับแรงอัดและ structure. The fence structure is designed as
ความหนาแน่นของมอร์ต้าร์ ท่ีอายุ 7 และ 28 วัน follows: 30 x 30 x 3 cm. The distance between
มีค่าเท่ากับ 212, 326 กก./ตร.ซม. และ 1692, 1658 poles is 2 m, 1. 60 m high, with one pillar
กก./ลบ.ม. ตามลาดับ ในขณะท่ีระยะเวลาในการ divided into 2 pieces of 80 cm each, 60 cm
ก่อสร้างพบว่า รั้วซีเมนต์มอร์ตาร์สาเร็จรูปมีระยะใน wide, 1. 70 m high, divided into 6 sections,
การก่อสร้างน้อยท่ีสุด รองลงมาได้แก่ร้ัวอิฐบล็อกและ each section is 30 cm high, 85 cm long. A
รั้วอิฐมอญ โดยมีระยะเวลาในการกอ่ สร้างที่ 4, 9, project was tested for compressive strength
and density at the ages of 7 days and 28 days,
*พชั ร อ่อนพรม duration of construction, Materials and labor
Eแ-ลmะail1: 0Civวilันmaตnา25ม1ล7า@ดgmบั aสil.cาoหmรบั ราคาวสั ดุและคา่ แรง

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 32

32 วารสารวจิ ัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

cost in construction compared with building ล้าหน้ามักจะก่อให้เกิดปัญหาสภาวะโลกร้อนตามมา
fences using brick blocks and clay brick as a ซึ่งส่งผลโดยรวมมาจากการใช้พลัง งาน แ ล ะ
construction material. The results showed ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง จนก่อให้เกิด
that compressive strength and mortar วิกฤตการณ์ทางธรรมชาติและยังส่งผลกระทบต่อ
densities at 7 and 28 days were 212.02, 325.62 ความผันผวนของกระแสเศรษฐกิจโลกอีกด้วย จาก
kg/ cm2 and 1692. 26, 1746. 33 kg / m3, เหตุดังกล่าวส่งผลให้ธุรกิจงานก่อสร้างด้วยระบบ
respectively, the duration of construction for โครงสร้างสาเร็จรูปมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วและมี
the ready- made cement mortar fence was แนวโน้มจะเติบโตอย่างต่อเนื่อง เน่ืองจากช่วยลด
minimum, compared to brick block and clay ต้นทุนการก่อสร้างและระยะเวลาการทางานให้
brick fence; 4, 9, and 10 days, respectively. For ผู้ประกอบการ ตอบสนองความต้องการท่ีเพิ่มข้ึนของ
the price of materials and labor cost in the ลูกคา้ ในด้านของราคา การพร้อมอยู่ และคณุ ภาพของ
construction, clay brick fence was the most งาน [2]
expensive at 10,035 baht. The brick block
fence and cement mortar ready- made fence มอร์ต้าร์ (Mortar) เป็นอัตราส่วนระหว่าง
were 8,588 and 4,945 baht, respectively. ปูนซีเมนต์ ทราย และน้า ซึ่งเป็นวัสดุหลักท่ีใช้ในงาน
Keywords : Compressive Strength, Density, ด้านวิศวกรรมโยธาควบคู่กับการใชค้ อนกรีตโดยทั่วไป
จะใช้ในงานฉาบผนังอาคาร เคลือบผิวโครงสร้าง งาน
Duration of Construction, Brick เทปรับระดับพื้นผิวคอนกรีต หรืองานท่ีไม่ต้องการ
ความสามารถในการรบั กาลงั มากนกั [3]
1. บทนา
ร้ัวเป็นที่ได้รับความนิยมต่อเน่ืองมาเป็นเวลานาน จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น คณะผู้จัดทาจึงมี
แนวคิดท่ีจะพัฒนาร้ัวซีเมนต์มอร์ต้าร์สาเร็จรูปสาหรับ
โดยใช้บ่งบอกถึงขอบเขตความเป็นเจ้าของ และยัง บ้านพักอาศัยขนาดเล็ก เพ่ือช่วยลดความสูญเสียใน
เปน็ การปอ้ งกันผู้บุกรุกเข้ามาในเขตที่ดนิ อีกทัง้ ยังเปน็ ขั้นตอนการปฏิบัติงานและควบคุมต้นทุนค่าก่อสร้าง
การบ่งบอกถึงบุคลิกภาพ และรสนิยมของผู้ท่ีเป็นเจ้า นอกจากน้ี ยังสามารถนาความรู้เร่ืองการสร้างร้ัว
ของบ้าน โดยทั่วไปการก่อสร้างร้ัวจะใช้อิฐเป็นวัสดุ ซีเมนต์มอร์ต้าร์สาเร็จรูปไปเผยแพร่แก่ชุมชนใน
หลกั ในการทางาน ซงึ่ รวั้ ทีใ่ ชอ้ ิฐเป็นตวั วัสดุต้องใช้เวลา ทอ้ งถน่ิ ต่อไป
ในการปฏิบัติงานจึงส่งผลโดยตรงกับค่าแรงงาน และ
เมอ่ื มีสภาพอากาศทแ่ี ปรปรวนก็จะทาให้งานลา่ ช้ากว่า 2. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
กาหนดการตามแผนงานทีว่ างไว้ 2.1 ศึกษากาลังรบั แรงอัด และความหนาแนน่ รวั้

ระบบการก่อสร้างในประเทศไทยพบว่ายังคงมี ซเี มนตม์ อรต์ า้ ร์สาเร็จรูป
ปัญหาอยู่มากอาทิเช่น ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน 2.2 ศึกษาระยะเวลาการกอ่ สรา้ ง คา่ วสั ดุและ
วัสดุก่อสร้างมีราคาแพง ต้นทุนและค่าขนส่งท่ีสูงข้ึน
ตามราคาน้ามัน รวมถึงแนวโน้มการเกิดภัยพิบัติทาง คา่ แรง การกอ่ สรา้ งรว้ั ซเี มนตม์ อร์ตา้ ร์สาเร็จรูปเปรียบ
ธรรมชาติที่เราไมอ่ าจคาดการณ์ได้ ดังน้ันช่องทางการ เทียบกบั รวั้ อฐิ มอญและอฐิ บล็อก
แก้ไขปัญหาดังกล่าวคงหนีไม่พ้นความเจริญก้าวหน้า
ทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งถือเป็นการพัฒนาที่มักจะสวน 3. วิธีดาเนนิ โครงการ
ทางกับกระแสอนุรกั ษ์โลก ด้วยเหตุผลทีว่ า่ ความเจริญ 3.1 วัสดแุ ละอปุ กรณข์ องโครงการ
3.1.1 ใช้เสาขนาด 30 x 30 x 3 เซนติเมตร

ภายในกลวง ระยะห่างระหวา่ งศูนยก์ ลางถงึ ศนู ย์กลาง

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 33

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

เสาเท่ากบั 2 เมตร สงู 1.60 เมตร ดา้ นขา้ งตรงกลาง 3) การทดสอบระยะเวลาในการ
ทาเปน็ รอ่ งลึก 3 เซนตเิ มตร กวา้ ง 10 เซนติเมตร ไว้ กอ่ สรา้ ง
สาหรบั ใสต่ วั ลอ็ คกาแพง โดยเสาหนงึ่ ตน้ แบง่ ออกเปน็
2 ท่อน ยาวทอ่ นละ 80 เซนตเิ มตร คณะผู้ศึกษาวิจัยจานวน 2 คน ดาเนินการ
กอ่ สรา้ งร้วั ซีเมนต์มอรต์ าร์สาเรจ็ รูปดว้ ยตนเอง โดยทา
3.1.2 กาแพงตรงกลาง สูง 60 เซนตเิ มตร การจับเวลาในการปฏิบัติงานก่อสร้างต้ังแต่เร่ิมต้นจน
กว้าง 1.70 เมตร แบง่ ออกเป็น 8 ท่อน ขนาด 40 แล้วเสร็จ เปรียบเทียบกับระยะเวลาการก่อสร้างรั้วท่ี
x 42.5 x 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใช้รั้วอิฐบล็อกและอิฐมอญเป็นวัสดุก่อสร้าง (รูปที่ 1
A-D)
3.1.3 ตัวล็อคด้านบนและด้านล่าง ขนาด
ยาว 1.70 เมตร หนา 10 x 10 เซนติเมตร มีเดือยยื่น (A) การหลอ่ เสารวั้ (B) นาคานลอ็ กดา้ นลา่ ง
ออกมาข้างละ 1.50 เซนติเมตร ตรงกลางทาเป็นร่อง ประกอบเขา้ กบั เสา
ลกึ 5 เซนตเิ มตร กวา้ ง 4 เซนตเิ มตร เดอื ย 2 ข้างหนา
2.5 เซนติเมตร ตัวล็อคด้านบนเจาะรเู พ่ือทจ่ี ะใสเ่ หลก็ (C) เทมอร์ต้ารเ์ ป็น (D) ประกอบตัวประสาน
ขนาด 1 x 1 นิ้ว ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางเหล็ก 10 ชนิ้ ส่วนเสา
เซนตเิ มตร
รูปที่ 1 ข้นั ตอนการก่อสรา้ งร้ัวมอร์ต้าร์สาเร็จรูป
3.2 ข้นั ตอนการดาเนินงาน
3.2.1 ศึกษาขอ้ มูลรั้วเพื่อใช้ประกอบการ 4) การทดสอบค่าวสั ดแุ ละคา่ แรงใน
การกอ่ สรา้ ง
ออกแบบและเขียนแบบรั้วซีเมนต์มอร์ต้ารส์ าเรจ็ รปู
คณะผู้วจิ ยั ไดศ้ กึ ษาขอ้ มูลเบ้อื งตน้ โดยการ คณะผศู้ กึ ษาวจิ ัยทาการประมาณราคา
ก่อสร้างของรั้วซีเมนต์มอร์ตา้ ร์สาเร็จรูป ร้วั อฐิ บล็อก
สารวจรั้วบา้ นพักอาศัยขนาดเลก็ ในเขตพืน้ ท่อี าเภอ และร้วั อิฐมอญ โดยแบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน ดงั นี้
เมอื ง จงั หวัดหนองคาย เพื่อหาขอ้ มลู เกีย่ วกบั ขนาด
และรูปร่างใช้ประกอบการออกแบบและเขยี นแบบรั้ว 4.1) ค่าวัสดกุ ่อสรา้ ง ดาเนนิ การ
ซีเมนตม์ อร์ตาร์สาเร็จรปู ประมาณราคาคา่ วสั ดุจากรปู แบบรั้วขนาดเดยี วกนั
โดยอ้างองิ ราคาวัสดุภายในเขตพนื้ ที่จังหวัดหนองคาย
3.2.2 การออกแบบและเขยี นแบบ จากกรมบญั ชีกลาง กระทรวงพาณชิ ย์ พ.ศ. 2560 [5]
จากข้อมูลในหวั ขอ้ 2.1 คณะผจู้ ดั ทา
4.2) ค่าแรง โดยท่ีซีเมนต์รั้วมอร์
ได้ทาการออกแบบและเขียนแบบร้ัวซเี มนต์มอร์ตาร์ ต้าร์สาเร็จรูปใช้ระยะเวลาจากการปฏิบัติงานก่อสร้าง
สาเรจ็ รูป โดยแยกเปน็ ชน้ิ สว่ นตา่ งๆ ประกอบดว้ ย เสา
คาน และผนงั โดยใชโ้ ปรแกรม Auto CAD เวอรช์ นั
2013

3.2.3 อตั ราสว่ นผสม
สาหรับอัตราสว่ นผสมซเี มนต์มอร์ตาร์

สาหรับงานวจิ ัยในครัง้ น้ีคือ อัตราส่วนปูนซเี มนต์ต่อ
ทรายเทา่ กบั 1:1 และใชอ้ ตั ราสว่ นนา้ ต่อปูนซเี มนต์
เทา่ กับ 0.5

3.2.4 หัวข้อการทดสอบ
1) การทดสอบกาลังรับแรงอดั ซีเมนต์

มอร์ตาร์ ตามมาตรฐาน ASTM C 109 [4]
2) การทดสอบความหนาแนน่

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 34

34 วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

จริงเพ่ือนามาคิดค่าแรงงาน ในขณะที่ร้ัวอิฐบล็อกและ มาตรฐานงานทางสาหรบั องคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
รั้วอิฐมอญ ใช้วิธีการสอบถามช่างผู้รับเหมาก่อสร้าง ทก่ี าหนดใหก้ าลงั รบั แรงอดั ของคอนกรีตท่ีอายุ 28 วนั
เกีย่ วกบั ขั้นตอนและระยะเวลาในการทางาน ประกอบ ไมน่ อ้ ยกว่า 280 กก./ตร.ซม. [7]
กับการศึกษาข้ันตอนการวางแผนงานก่อสร้างจาก
หนงั สอื ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การบริหารงานก่อสรา้ ง [6] 4.4 ผลการทดสอบความหนาแนน่
ผลการทดลองความหนาแนน่ ซีเมนต์มอรต์ าร์
4. ผลการดาเนนิ โครงการ
4.1 ขอ้ มลู ทใี่ ชใ้ นการออกแบบจากการสารวจ ที่อายุ 7 และ 28 วัน พบว่า ค่าความหนาแน่นมีค่า
จากการสารวจรั้วบ้านพักอาศัยขนาดเล็กใน ใกล้เคียงกัน โดยมีค่าความหนาแน่นทีอ่ ายุ 7 และ 28
วัน เท่ากับ 1,692 และ 1,658 กก./ลบ.ม. ตามลาดับ
เขตพื้นที่อาเภอเมือง จังหวัดหนองคายพบว่า การ ซึ่งค่าความหนาแน่นดังกล่าวเบากว่าคอนกรีตเสริม
ก่อสร้างรั้วโดยทั่วไปมีขนาดความกว้าง 2.00 เมตร เหลก็ โดยท่วั ไปท่มี นี า้ หนักประมาณ 2,400 กก./ลบ.ม.
และ สูง 1.60 เมตร ซึ่งผู้จัดทาโครงการจะใช้ข้อมูลน้ี [8]
เ ป็ น ตั ว ก า ห น ด ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ เ ขี ย น แ บ บ รั้ ว
ซเี มนต์มอรต์ ารส์ าเรจ็ รูป 4.5 ผลการศึกษาระยะเวลาในการก่อสรา้ ง
ผลการศึกษาระยะเวลาในการก่อสร้างร้ัวใน
4.2 การออกแบบและเขยี นแบบ
จากข้อมลู ในหวั ขอ้ 5.1 คณะผจู้ ดั ทาไดท้ าการ รูปแบบตา่ ง ๆ (รั้วอิฐบล็อก ร้ัวอิฐมอญ และรั้วซเี มนต์
มอรต์ ้าร์สาเรจ็ รปู ) จากการปฏิบัตงิ านก่อสรา้ งจริงโดย
ออกแบบและเขียนแบบรั้วซีเมนต์มอร์ตาร์สาเร็จรูป ใช้มาตรส่วนเดียวกัน และผู้ปฏิบัติงานจานวน 2 คน
โดยแยกออกเป็นชิ้นส่วนประกอบด้วย เสา คาน และ เหมือนกัน พบว่า ร้ัวซีเมนต์มอร์ตาร์สาเร็จรูปมีระยะ
ผนัง โดยใช้โปรแกรม Auto CAD เวอร์ชัน 2013 ดัง ในการก่อสร้าง 4 วัน ในขณะท่ีรั้วอิฐบล็อกและรั้วอิฐ
แสดงในรปู ท่ี 2 มอญ ใช้ระยะเวลาในการก่อสร้าง 9 และ 10 วัน
ตามลาดบั ดงั แสดงในรปู ท่ี 3

15 ระยะเวลาการกอ่ สรา้ งระยะเวลาก่อส ้ราง (วัน)

รูปท่ี 2 แบบรัว้ มอรต์ า้ ร์สาเร็จรปู 10

4.3 ผลการทดสอบกาลงั รบั แรงอัด 5
ผลการทดลองกาลังรับแรงอัดของร้ัวซีเมนต์
0
มอรต์ าร์สาเร็จรปู ที่อายุ 7 วันและ 28 พบวา่ กาลงั อัด
ของก้อนมอร์ตาร์ ท่ีอายุ 7 และ 28 วัน มีค่าเฉลี่ย รปู ที่ 3 ระยะเวลาการก่อสร้างร้ัวแบบตา่ ง ๆ
เท่ากับ 212 และ 326 กก./ตร.ซม. ตามลาดับ ซ่ึง
กาลังรับแรงอัดของรั้วรั้วซีเมนต์มอร์ตาร์สาเร็จรูปที่ 4.6 ผลการศึกษาค่าวัสดุและค่าแรงที่ใช้ในการ
อายุ 28 วัน ดังกล่าว สูงกว่ามาตรฐานกาลังรับแรงอัด ก่อสรา้ ง
ของถนนคอนกรีตเสริมเหล็กภายในหมู่บา้ น ตามแบบ
ผลการศึกษาราคาวัสดุและค่าแรงในการ
VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2 ก่อสร้างร้ัวซีเมนต์มอร์ตาร์สาเร็จรูป ร้ัวอิฐบล็อกและ
รั้วอิฐมอญ จากการบันทึกรายการวัสดุและค่าแรงต่อ
วันจากปฏิบัติงานจริงพบว่า รั้วอิฐมอญมีราคาวัสดุ
และค่าแรงทใี่ ชใ้ นการกอ่ สร้างสงู ท่ีสุด รองลงมาได้แก่

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา 35

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ร้ัวอิฐบล็อกและรั้วซีเมนต์มอร์ตาร์สาเร็จรูป โดยมี เอกสารอา้ งองิ
ราคาวัสดุและค่าแรงในการก่อสร้างต่อหนึ่งช่วงเสา [1] คมกฤช ชเู กยี รตมิ ั่น. 2561. กฎหมายควรรู้
เท่ากับ 10035, 8588, และ6145 บาท ตามลาดับ เม่อื จะกอ่ สร้างหรอื ดัดแปลงบา้ น.
ดังแสดงในรูปท่ี 4 www.scgbuildingmaterials.com. [สืบค้น
วันท่ี 30 พฤษภาคม 2561].
10,000.00 ราคาวัสดุและค่าแรงทใ่ี ช้ในการกอ่ สรา้ ง [2] บรษิ ทั ณุศาศิริ จากัด(มหาชน). 2561. ปจั จัย
ความเส่ียงในการดาเนนิ ธรุ กจิ ก่อสรา้ ง
ราคาก่อสร้าง (บาท)8,000.00 www.nusa_th.listedcompany.com.
[สบื คน้ วนั ท่ี 30 พฤษภาคม 2561].
6,000.00 [3] ศตวรรษ หฤหรรษพงศ์ ทวชิ พลู เงนิ และ
สมชาย ชชู พี สกลุ . 2554. ปีท่ี 34 ฉบบั ที่ 3.
4,000.00 กาลงั อดั และโครงสร้างจลุ ภาคของซีเมนต์
มอรต์ า้ ร์ผสมนาโนซลิ กิ า. วารสารวจิ ยั และ
2,000.00 พฒั นา มหาวทิ ยาลัยพระจอมเกลา้ ธนบุร.ี
[4] ASTM C 109. 1997. Standard Test
0.00 Method for Compressive Strength of
Hydraulic Cement Mortar. ASTM Book
รว้ั มอรต์ ารส์ าเรรจ็ วั้ อิฐบลอ็ ก รวั้ อิฐมอญ of Standard. 4(1): 71-75.
[5] กระทรวงพาณิชย.์ 2560. ราคากลางวัสดุ
รปู ท่ี 4 ราคาวัสดุและค่าแรงกอ่ สร้างรว้ั แบบตา่ ง ๆ กอ่ สร้าง. www.indexpr.moc.go.th.
[สบื คน้ วันท่ี 15 ธันวาคม 2560].
5. สรุปผลการดาเนนิ โครงการ [6] กวี หวังนเิ วศนก์ ุล. 2552. การบริหารงาน
5.1 ร้ัวซีเมนต์มอร์ตาร์สาเร็จรูปมีกาลังรับแรงอัด วศิ วกรรมก่อสรา้ ง. พิมพค์ ร้งั ที่ 1.
กรุงเทพมหานคร. สานักพิมพ์ บริษทั ซเี อด็ -
และความหนาแน่น ทส่ี ามารถนาไปใชง้ านได้จรงิ ยูเคชนั จากัด(มหาชน).
5.2 ร้ัวซีเมนต์มอร์ตาร์สาเร็จรูป มีระยะเวลาใน [7] กรมทางหลวงชนบท 2556. แบบมาตรฐาน
งานทางสาหรับ อปท.
การก่อสรา้ งนอ้ ยกว่ารั้วอิฐบล็อก และร้วั อฐิ มอญ www.yotathai.com.
5.3 ร้ัวซีเมนต์มอร์ตาร์สาเร็จรูปมีราคาค่าวัสดุ [สบื คน้ วนั ท่ี 20 พฤษภาคม 2564].
[8] กวี หวังนิเวศนก์ ุล. 2562. การออกแบบ
และค่าแรงในการก่อสร้างน้อยกว่า ร้ัวอิฐบล็อก และ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก.
ร้ัวอิฐมอญ กรงุ เทพมหานคร. สานักพิมพ์ บรษิ ทั ซีเอด็ -
ยเู คชัน จากัด(มหาชน).
6. ขอ้ เสนอแนะ
6.1 ผลการดาเนนิ โครงการครั้งน้เี ป็นเพยี งข้อมูล

เบอ้ื งตน้ เก่ียวกบั แนวทางการนาซเี มนต์มอรต์ าร์มาทา
เปน็ รวั้ สาเรจ็ รปู จึงควรทาการศกึ ษาวิจยั คณุ สมบัติใน
ดา้ นอื่น ๆ เพมิ่ เตมิ เพ่อื ความมน่ั ใจในการนาไปใชง้ าน
ไดจ้ รงิ

6.2 เพ่มิ ระยะเวลาทดสอบ เพื่อดูพฤตกิ รรมการ
ใช้งานในระยะยาว

6.3 ออกแบบลกั ษณะของร้วั ให้มรี ปู แบบที่แปลก
ใหม่และประหยัดวสั ดุมากกว่านี้

6.4 ออกแบบช้ินสว่ นสาเร็จรูปให้มากช้นิ กวา่ นี้
เพอื่ ความสะดวกในการถอดแบบ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 36

36 วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

อปุ กรณว์ งจรบทู แรงดนั ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพื่อใหแ้ รงดันไฟฟา้ ทอ่ี นิ เวอรเ์ ตอร์ขบั มอเตอร์
DC Voltage Boot Circuit Device to Enable the Voltage
on the Inverter Motor Driving

ธนพล แกว้ คาแจ้ง1*, วกร สีสัมฤทธ์ิ2, ปริญญา โพธหิ ลา้ 3 และ พนมเดช นพอาจ4
Thanapon Keokhumcheng1*, Waworn Seesumrit2, Prarinya Phpthila3 and Phanomdet Noppaart4

*1234สาขาวิชาเทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วทิ ยาลยั เทคนิคหนองบวั ลาภู สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1 จงั หวัดหนองคาย 43000
*1234Field of Electronic Technology, Nongbualumphu Technical College, Institute of Vocational Education : Northeastern Region 1,

Nongkhai 43000

Received : 2021-05-01 Revised : 2021-06-05 Accepted : 2021-06-10

บทคดั ย่อ มอเตอร์ อยู่ในระดับมาก มีค่าสถิติดังนี้ ( X =4.73,
การวิจัยครั้งนมี้ ีความมุ่งหมายเพ่ือสรา้ งอปุ กรณ์ S.D. =0.65)

วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพ่ือให้แรงดัน Abstract
ไฟฟา้ ท่อี นิ เวอรเ์ ตอร์ขับมอเตอร์ โดยการควบคุมระดบั This research aims to create a DC
แรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าไฟฟ้าตรงด้วยบอร์ดไมโคร
คอนโทรลเลอร์ตระกูลอาดูโน่นาโน แล้วทาการศึกษา voltage boot circuit device to provide the
ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น เ พื่ อ ใ ห้ แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า ท่ี voltage at the inverter for motor driving by
อินเวอรเ์ ตอร์ขับมอเตอรท์ ่ีได้ออกแบบไว้ ให้มีค่าระดับ controlling the DC voltage level with micro
แรงดันเอาต์พุตคงที่อยู่ที่ระดับแรงดันไฟฟ้ากระแส controller Arduino NANO. In addition, a study
ไฟฟ้าไฟฟ้าตรง 300 โวลต์ โดยที่จะทาการปรับระดบั of satisfaction Satisfied in use was conducted.
รักษาแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเอาท์พุตให้คงที่ To provide the designed motor drive voltage
ตลอดการใช้งาน ในขณะท่ีแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้า keep the output voltage level constant at the
ตรงที่อินพุตอาจมีระดับแรงดันไม่คงที่ หรือ มีระดับ pressure level DC 300 volts, which will adjust
แรงดันอินพุตมีขนาดต่ากว่า 100 โวลต์ อุปกรณ์วงจร the level to keep the output DC voltage
บูทแรงดนั ไฟฟ้ากระแสไฟฟา้ ตรงเพ่อื ให้แรงดนั ไฟฟ้าท่ี constant throughout use. While the DC
อินเวอร์เตอร์ขบั มอเตอรจ์ ะหยุดทางาน voltage at the input may be unstable or the
input voltage level is less than 100 volts. The
งานวิจัยน้ีจะเป็นการหาความพึงพอใจของ DC voltage boot circuit device to provide
อุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพ่ือให้ voltage to the inverter. Drive motor will stop
แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า ที่ อิ น เ ว อ ร์ เ ต อ ร์ ขั บ ม อ เ ต อ ร์ โ ด ย มี ผ ล working.
ออกมาในการทดลองใช้งานของโครงการ การศึกษา
และหาความพึงพอใจอุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้า This research found the satisfaction of
กระแสไฟฟ้าตรงเพือ่ ใหแ้ รงดนั ไฟฟ้าท่ีอินเวอรเ์ ตอรข์ บั the DC voltage boot circuit device to provide
the voltage at the inverter to drive the motor.
คE*าธ-สmนาaพคilลญั: kแpก:oว้nอgคนิtาhเแaวnจอaง้ รpเ์oตnอokร@์มgอmเaตilอ.cรo์m,.ความพงึ พอใจ The results came out in the trial work of the

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 37

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

project; education and satisfaction are in good จึงได้ศึกษาระบบการชดเชยการลดทอนประสิทธภิ าพ
level ( X = 4.73, S.D.= 0.65) การผลิตกระแสไฟฟ้า ที่เกิดข้ึนในกระบวนการผลิต
Keywords : Inverter Motor, Satisfaction ดังกล่าว โดยการศึกษาและออกแบบการทางานจาก
การใช้อุปกรณ์เพาเวอร์อิเล็กทรอนิกส์ควบคุมด้วย
1. บทนา ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุมการจ่ายไฟให้กับไมโคร
1.1 ที่มาและความสาคญั สวิตซิ่ง (Micro Switching) เพื่อรักษาระดับแรงดัน
พลงั งานทดแทนหรอื พลงั งานสะอาด เปน็ อีก ไฟฟา้ ท่ีลดทอนประสิทธิภาพการผลติ

ทางเลือกหน่ึงท่ีกาลังเป็นที่นิยมและหน่วยงานท้ัง จึงได้เกิดเป็นแนวคิดในการศึกษาและหาความ
ภาครัฐและเอกชนให้ความสนใจในหลาย ๆ ปีที่ผ่าน พึ ง พ อ ใ จ [1] อุ ป ก ร ณ์ ว ง จ ร บู ท แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า
มาวิกฤตการโลกร้อนทาให้มีหลายองค์กรท้ังภาครัฐ กระแสไฟฟา้ ตรงเพอ่ื ใหแ้ รงดันไฟฟา้ ท่ีอนิ เวอร์เตอรข์ ับ
และเอกชนได้ส่งเสริมและทาวิจัยเพื่อการอนุรักษ์ ม อ เ ต อ ร์ ท า ง ก า ร เ รี ย น รู้ เ น้ น ใ น ทั ก ษ ะ ด้ า น
พลังงานท่ีมีผลงานวิจัยเป็นที่ยอมรับในหลายรูปแบบ ความสามารถการใช้ และสามารถใชง้ านไดจ้ รงิ อันจะ
โดยเป็นอีกหนึ่งช่องทางของพลังงานทางเลือกเป็น นาไปสกู่ ารลงมือปฏิบตั ิจรงิ ได้ ใช้เป็นสอ่ื การเรียนการ
พลงั งานไฟฟ้าในอนาคต เพื่อทดแทนการใชพ้ ลังงานท่ี สอนแก่นักเรียน นักศึกษา และสามารถใช้งานได้จริง
ใช้กันมาในระยะเวลาท่ียาวนาน โดยเฉพาะพลังงาน อีกท้ังเพื่อศึกษาการพัฒนาและหาความพึงพอใจ[2]
ไฟฟา้ ในปจั จุบนั ประเทศไทย ประสบความสาเร็จเป็น อุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพื่อให้
อย่างดีในการนาเอาความร้อนของแสงอาทติ ย์มาใชใ้ ห้ แรงดนั ไฟฟ้าท่ีมอเตอร์
เป็นประโยชน์ ซ่ึงเป็นการนาเอาพลังงานแสงอาทิตย์
ม า ใ ช้ โ ด ย ต ร ง ท่ี มิ ต้ อ ง อ า ศั ย เ ท ค โ น โ ล ยี สู ง ห รื อ 1.2 ลกั ษณะของงานวิจัย
สลับซับซ้อนนกั และการผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทติ ย์ทา เ พ่ื อ ส ร้ า ง อุ ป ก ร ณ์ ว ง จ ร บู ท แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า
ได้ 2 วิธีคือ 1) การเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นไฟฟ้า
โดยตรง และ 2) ใช้ความร้อนของแสงอาทติ ย์ไปต้มน้า กระแสไฟฟา้ ตรงเพ่ือให้แรงดันไฟฟ้าที่อนิ เวอร์เตอรข์ ับ
หรือทาให้ก๊าซร้อน แล้วใช้ไอน้าร้อนหรือก๊าซร้อนไป มอเตอร์ โดยการควบคุมระดับแรงดันไฟฟ้า
ทาให้เทอร์ไบน์หรือกังหันใบพัดของเครื่องกาเนิด กระแสไฟฟ้าตรงด้วยบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์
ไฟฟ้าหมุนอีกต่อหนึ่ง ในการเลือกใช้พลังงานงานจาก ตระกูลอาดูโน่นาโน แล้วทาการศึกษาความพึงพอใจ
แสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้านั้น จะเป็นการเปลี่ยน ในการใช้งานเพื่อให้แรงดันไฟฟ้าที่อินเวอร์เตอร์ขับ
พลังงานแสงอาทติ ย์เป็นไฟฟ้าโดยตรง ซ่งึ เป็นหลกั การ มอเตอร์ท่ีได้ออกแบบไว้ ให้มีค่าระดับแรงดันเอาต์พุต
สาคัญของเซลล์แสงอาทิตย์หรือโซล่าร์เซลล์ (Solar คงที่อยู่ที่ระดับแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงขนาด
Cell) โดยจะได้พลังงานไฟฟ้าเป็นไฟฟ้ากระแสไฟฟ้า แรงดัน 300 โวลต์ จากกลุ่มตัวอย่าง 20 คน ด้วย
ตรง จากนั้นนาแรงดันไฟฟ้าที่ได้ไปชาร์จเก็บไว้ใน วิธีการสุ่มแบบเจาะจง (purposive sampling) จาก
แบตเตอร์รี่ การนาไปใช้งานจึงต้องนามาแปลงมาเปน็ ประชากร 43 คน
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าสลับเสียก่อน โดยนามาต่อเข้ากับ
อุปกรณ์ท่ีเรียกว่า อินเวอร์เตอร์ ( Inverter ) ซ่ึง 1.3 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย
ก า ลั ง ไ ฟ ฟ้ า ท่ี ไ ด้ ก็ จ ะ มี ก า ร สู ญ เ สี ย จ า ก ก า ร แ ป ล ง 1.3.1 เพ่ือสร้างอุปกรณ์วงจรบูทแรงดัน
ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ไ ฟ ฟ้ า จ า ก ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ต ร ง เ ป็ น
กระแสไฟฟา้ สลับ ทาใหล้ ดทอนประสทิ ธิภาพการผลิต ไ ฟ ฟ้ า ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ต ร ง เ พื่ อ ใ ห้ แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า ท่ี
กระแสไฟฟา้ ไฟฟ้าลงไป จากปญั หาที่เกดิ ขนึ้ ทางผ้วู จิ ัย อนิ เวอร์เตอรข์ บั มอเตอร์ใหส้ ามารถใชเ้ ปน็ สอื่ การเรียน
การสอนในวทิ ยาลยั เทคนิคหนองบวั ลาภู

1.3.2 เพ่ือหาความพึงใจของอุปกรณ์วงจร
บูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพ่ือใหแ้ รงดันไฟฟ้าที่
อนิ เวอร์เตอร์ขับมอเตอร์

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 38

38 วารสารวจิ ัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

1.4 ขอบเขตของการวจิ ัย 1.6.4 ทดสอบการทางาน โดยการนา
อุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้า อุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพื่อให้
แรงดันไฟฟ้าทีอ่ ินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ มาจา่ ยแรงดนั
ตรงเพ่ือให้แรงดันไฟฟ้าท่ีอินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ ไฟฟ้าอินพุต และวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงท่ี
ทางานเต็มประสิทธิภาพ สาหรับใช้เรียนเพ่ิมเติมจาก เอาต์พุต ใหไ้ ด้ตามการออกแบบ
ผู้เรียน และ ผู้ท่ีสนใจ โดยเป็นการสร้างและนาไป
ศึกษาเพ่ือหาความพึงพอใจ ในด้านของอุปกรณ์วงจร 1.6.5 กาหนดกลมุ่ ตวั อยา่ ง จากผู้ทส่ี นใจใน
บูทแรงดนั ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพ่อื ใหแ้ รงดนั ไฟฟ้าท่ี วิทยาลัยเทคนิคหนองบัวลาภู จานวน 43 คน ด้วย
อินเวอรเ์ ตอรข์ ับมอเตอร์ อยใู่ นเกณฑ์ดี วธิ กี ารส่มุ แบบเจาะจง(purposive sampling) จานวน
20 คน
โดยการวิจยั ในครัง้ นไี้ ดแ้ บง่ เกณฑค์ วาม พึง
พอใจออกเปน็ 2 ด้าน คือ 1.6.6 นาไปทดลองใช้ โดยการนาอุปกรณ์
วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพ่ือให้แรงดัน
1.4.1 ดา้ นในการทดลองใชง้ านของ ไฟฟ้าท่ีอินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ ไททดลองต่อกับ
โครงการ อินเวอรเ์ ตอรม์ อเตอร์ทใี่ ช้งานในสภาพจริง

1.4.2 ด้านการอปุ กรณ์วงจรบูทแรงดนั 1.6.7 เกบ็ ข้อมลู หาความพึงพอใจ โดยใช้
ไฟฟ้ากระแสไฟฟา้ ตรงเพ่อื ใหแ้ รงดันไฟฟา้ ที่ แบบสอบถามจากการออกแบบ เก็บข้อมูลจากกลุ่ม
อินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ ตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (purposive
sampling) 20 คน จากจานวนผสู้ นใจ จานวน 43 คน
1.5 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ
1.5.1 สามารถนาอุปกรณ์วงจรบูทแรงดัน 1.6.8 สรุปผลการทดลอง และ แกไ้ ข
ข้อผิดพลาด
ไ ฟ ฟ้ า ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ต ร ง เ พ่ื อ ใ ห้ แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า ที่
อินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ทางานเต็มประสิทธิภาพให้ 1.6.9 นาเสนอเปน็ ตน้ แบบอปุ กรณว์ งจรบทู
สามารถใชเ้ ปน็ สื่อการเรยี นการสอนในวทิ ยาลัยเทคนคิ แรงดันไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ ตรงเพอ่ื ให้แรงดันไฟฟา้ ท่ี
หนองบัวลาภู อินเวอรเ์ ตอรข์ ับมอเตอร์

1.5.2 สามารถนาอุปกรณ์วงจรบูทแรงดัน 2. ทฤษฎี
ไ ฟ ฟ้ า ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ต ร ง เ พ่ื อ ใ ห้ แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า ท่ี 2.1 วงจรบูสตค์ อนเวอรเ์ ตอร์ (BoostConverter)
อินเวอร์เตอร์มอเตอร์ทางานเต็มประสิทธิภาพให้ วงจรบูสต์คอนเวอร์เตอร์ (BoostConverter)
สามารถใชง้ านไดจ้ ริง
เป็นวงจรที่ใช้สาหรับการแปลงแรงดัน ไฟฟ้าทางด้าน
1.5.3 ความพึงพอใจของอุปกรณ์วงจรบูท เอาต์พุตให้มีค่ามากกว่า แรงดันทาง ด้านอินพุต ท่ี
แรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพ่ือให้แรงดันไฟฟ้าท่ี ป้อนเข้ามาในวงจรหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าวงจรทบ
อนิ เวอร์เตอร์ขับมอเตอรท์ างานเต็มประสทิ ธิภาพ ของ ระดับ วงจรบูสต์คอนเวอร์เตอร์จะใช้มอสเฟสกาลัง
ผู้เรยี นและผู้ทสี่ นใจ (MosFET) หรือไอจบี ที ี (IGBT)

1.6 การดาเนนิ การ 2.1.1 โหมด 1 เมอื่ สวิตช์เปิด (Mode 1
1.6.1 ศึกษาขอ้ มลู การทางานของอนิ เวอร์ Switch On)

เตอรแ์ ละการทางานมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสไฟฟา้ ตรง 2.1.2 โหมด 2 สวติ ชป์ ดิ (Mode 2
1.6.2 ทาการศกึ ษาโครงสรา้ งการทางาน Switch Off)

ของ Arduino NANO
1.6.3 ออกแบบวงจรวงจรบทู แรงดันไฟฟา้

กระแสไฟฟา้ ตรงเพื่อใหแ้ รงดนั ไฟฟ้าทมี่ อเตอร์

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา 39

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ผังการทางานอปุ กรณว์ งจรบูทแรงดันไฟฟา้ เมือ่
กระแสไฟฟา้ ตรงเพ่ือใหแ้ รงดันไฟฟา้ ทม่ี อเตอร์ แสดง
ดังรูปท่ี 1 VL = แรงดันไฟฟา้ ท่ตี วั เหน่ียวนา

Vin = แรงดันไฟฟา้ ทีแ่ หล่งจา่ ย

L = คา่ ความเหน่ียวนา

IL = กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวเหน่ยี วนา

2.1.4 ขณะสวติ ช์หยุดนากระแสไฟฟา้

INPUT Arduino NANO MosFET OUTPUT ข ณ ะ ส วิ ต ช์ ห ยุ ด น า ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า

MCU กระแสไฟฟ้าไฟฟ้าในตัวเหน่ียวนาจะเปลี่ยนแปลง

ทันทีทันใดไม่ได้ ไดโอดจะถูกไบอัสไปหน้าให้นา

กระแสไฟฟ้า ทาให้กระแสไฟฟ้าไฟฟ้าไหลผ่านตัว

รูปที่ 1 ภาพโครงสร้างการทางานอุปกรณ์วงจรบทู เหน่ียวนาอย่างต่อเน่ือง สมมุติแรงดันไฟฟ้าเอาต์พุต
แรงดันไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ ตรงเพือ่ ให้
แรงดันไฟฟ้าทม่ี อเตอร์ (Vo) มีค่าคงที่ จากกฎของเคอร์ชอฟฟ์จะได้สมการ

ของแรงดันไฟฟ้าท่ตี กคร่อมตัวเหนีย่ วนาดงั นี้

VL = Vin - Vo (3)

จากการทางานของวงจรท้งั 2 โหมดนีท้ าใหเ้ หน็ เมอ่ื

ไดช้ ดั วา่ วงจรบสู ตค์ อนเวอรเ์ ตอร์ (Boost Converter) VL = แรงดันไฟฟ้าทต่ี วั เหน่ียวนา

จะมีการจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับโหลดอยู่ตลอดเวลา Vin = แรงดนั ไฟฟ้าท่ีแหลง่ จา่ ย

ถึงแม้ว่า จะมีบางส่วนที่สวิตช์ไม่ได้ทางานก็ตามและ VO = แรงดันไฟฟ้าทเ่ี อาท์พตุ

จากความสัมพันธ์ของการทางานของวงจรบูสต์คอน จากวงจรบูสต์คอนเวอร์เตอร์จะมีค่า Duty

เวอร์เตอร์(Boost Converter) ทงั้ 2โหมดนีเ้ ราสามารถ Cycle (D) เป็นตัวกาหนดอัตราขยายแรงดันไฟฟ้า

หาค่าแรงดันไฟฟา้ ขาออกได้จากสมการดงั ต่อไปนี้ เม่ือค่า Duty Cycle เพิ่มข้ึนอัตราขยายแรงดันไฟฟ้า

Va= Vs / (1-D) (1) จะเพ่ิมข้ึนแบบไม่เป็นเชิงเส้น ในทางปฏิบัตินิยมปรับ

เมอื่ อัตราขยายไม่เกิน 4 เท่าเพ่ือให้วงจรสเถียรภาพ

VS = แรงดันของแหล่งจา่ ยไฟฟ้ากระแส ส า ม า ร ถ หาค่า Duty Cycle (D) ไ ด้ ต ามสมการ

ไฟฟา้ ตรง (Dc) ดังต่อไปนี้

D = ดวิ ต้ีไซเคลิ (Duty Cycle) D = [1-(Vin / Vo)] (4)

Va = แรงดันเอาต์พุต (Output) เมอื่

2.1.3 ขณะสวิตชน์ ากระแสไฟฟ้า D = อตั ราการเกิดรูปคลนื่ ส่ีเหลีย่ มใน 1 วนิ าที

การทางานของบสู ตค์ อนเวอร์เตอร์ใน Vin = แรงดันอินพุต

สภาวะสวิตช์เปิด (Switch On) กระแสไฟฟ้าไฟฟ้า VO = แรงดนั เอาทพ์ ตุ

จากแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรง (Vin) จะไหล 2.2 มอสเฟต

ผ่านตัวเหนี่ยวนาโดยผ่านสวิตช์ ขณะเดียวกันไดโอด มอสเฟต (Metal–oxide–semiconductor

จะถูกไบอัสย้อนกลับทาให้ไม่สามารถนากระแสไฟฟ้า field-effect transistor : MOSFET) เป็นทรานซสิ เตอร์

ได้ แรงดันไฟฟ้าท่ีตัวเหน่ียวนา (VL) จะมีค่าเท่ากับ ที่ใชอ้ ิทธพิ ลสนามไฟฟา้ ในการควบคมุ สญั ญาณไฟฟา้

แรงดันไฟฟ้าท่ีแหล่งจ่าย (Vin) ตามกฎแรงดันของ โดยใชอ้ อกไซดข์ องโลหะในการทาสว่ น GATE นิยมใช้

เคอรช์ อฟตามสมการดังตอ่ ไปนี้ ในวงจรดจิ ติ อล โดยนาไปสรา้ งลอจิกเกตต่าง ๆ เพราะ

VL = Vin = L(diL / dt) (2) มีขนาดเล็ก

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 40

40 วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

รูปท่ี 2 ตวั อยา่ ง มอสเฟต 2.6 บอรด์ Arduino nano
บอร์ด Arduino Nano ออกแบบมาให้มี

ขนาดเล็ก และใช้กับงานทั่ว ๆ ไปใช้ชิปไอซี
ไมโครคอนโทรเลอร์เบอร์ ATmega 168 หรือเบอร์
ATmega 328 โดยนาบอร์ดชนิดน้ีมาใช้ในการทางาน
วจิ ยั ให้ไดต้ ามวัตถุประสงคแ์ ละขอบเขตของงานวิจัย

2.3 การทางานวงจร Inductor รูปท่ี 3 แสดงบอร์ด Arduino Nano
ตัวเหนี่ยวนา (Inductor) บางครั้งถูกเรียกว่า
3. การออกแบบ
คอยล์หรือรีแอคเตอร์ (coil หรือ reactor) เป็น การวิจัยคร้ังนี้มีความมุ่งหมายเพ่ือสร้างอุปกรณ์
ชน้ิ ส่วนในวงจรไฟฟ้าแบบพาสซีฟสองข้ัวไฟฟา้ (ขา) มี
คุ ณ ส ม บั ติ ใ น ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ข อ ง วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพื่อให้แรงดัน
กระแสไฟฟ้าที่ไหลผา่ นตวั มัน ประกอบด้วยตัวนา เช่น ไฟฟา้ ท่อี ินเวอร์เตอร์ขบั มอเตอร์ โดยการควบคมุ ระดับ
ลวดทองแดงม้วนกันเปน็ วงกลม เม่ือกระแสไฟฟา้ ไหล แรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงด้วยบอร์ดไมโคร
ผ่านตัวมัน พลังงานจะถูกเก็บไว้ชั่วคราวในรูป คอนโทรลเลอร์ตระกลู อาดูโน่ นาโน แล้วทาการศกึ ษา
สนามแม่เหล็กในคอยล์นั้น เมื่อกระแสไฟฟ้าน้ัน ความพึงพอใจในการใช้งานเพื่อให้แรงดันไฟฟ้าท่ี
เปล่ียนแปลง, สนามแม่เหล็กที่แปรตามเวลาจะทาให้ อินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ท่ีได้ออกแบบไว้ให้มีค่าระดบั
เกิดแรงดันไฟฟ้าในตัวนาน้ัน ตามกฎการเหน่ียวนา แรงดันเอาต์พุตคงท่ีอยู่ท่ีระดับแรงดันไฟฟ้ากระแส
แม่เหล็กไฟฟ้าของฟาราเดย์ ซ่ึงจะต้านกับการ ไฟฟ้าตรง 300 โวลต์ โดยผู้จัดทาโครงการได้ดาเนิน
เปลย่ี นแปลงของกระแสไฟฟ้า โครงการตามข้นั ตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี

2.4 โปรแกรม Proteus 8 Professional 3.1 การออกแบบวงจร
โ ป ร แ ก ร ม Proteus ส า ม า ร ถ ออก แ บ บ ใช้โปรแกรม Proteus ทาการออกแบบลาย

วงจรไฟฟา้ พร้อมท้งั จาลองการทางานของวงจรได้ ท้งั วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพ่ือให้แรงดัน
ยงั สามารถออกแบบลายวงจรพิมพไ์ ด้ ความสามารถท่ี ไฟฟ้าไฟฟ้าที่อินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ให้สามารถ
โดดเด่นของ Proteus นั้น เป็นโปรแกรมที่สามารถ ทางานไดต้ ามแบบท่ไี ดศ้ ึกษาและออกแบบไว้
จาลองพฤติกรรม (Simulator) การทางานของวงจรที่
ใช้ Microcontroller เบอร์ต่าง ๆ ได้มากมาย โดยไม่
ต้องสิ้นเปลืองเวลาในการประกอบวงจร และ
โปรแกรมที่เขียนข้ึนใช้งานได้หรือไม่ โดยวงจรและ
โปรแกรม (Source code) ที่ตรวจสอบด้วยโปรแกรม
Proteus เป็นท่ีเรียบร้อยแล้วว่าถูกต้อง จากน้ันก็
สามารถสรา้ งวงจรจรงิ ไดต้ ามต้องการ

2.5 การออกแบบโปรแกรมดว้ ย Arduino IDE
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนางานสาหรับบอร์ด

Arduino น่ันคือโปรแกรมที่เรียกว่า Arduino IDE ใน
การเขียนโปรแกรมและคอมไพล์ลงบอร์ดให้สามารถ
ทางานได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 41

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

รปู ท่ี 4 วงจรแสดงอปุ กรณ์ก่อนการออกแบบ 3.3 สัญญาณแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรง
ลายวงจร เอาตพ์ ุต

สัญญาณแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรง
เอาต์พุต จะถูกตั้งไว้ที่ระดับแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้า
ตรงขนาด 300 โวลต์ จะมีลักษณะดงั รปู สญั ญาณทจ่ี ับ
ได้ด้วยออสซิโลสโคป โดยออสซิโลสโคปโดยตั้ง
Volt/Div = 100 VDC แ ล ะ Time/Div = 40 uS
(โหมด x10)

รปู ท่ี 5 แสดงลายวงจรทไ่ี ด้จากการออกแบบวงจร รปู ท่ี 7 แสดงสัญญาณแรงดนั ไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ ตรง
3.2 สญั ญาณแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟา้ ตรงอนิ พตุ เอาตพ์ ุต 300 โวลต์

สัญญาณแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงอินพุต จะถูก 3.4 สรา้ งเครื่องมือทใ่ี ช้ในการทดลอง
ต้ังไว้ที่ระดับแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงขนาด 100 3.4.1 การสร้างเคร่ืองมือสาหรับการทดลอง
โวลต์ จะมีลักษณะดังรูปสัญญาณท่ีจับได้ด้วยออส
ซิ โ ล ส โ ค ป โ ด ย ต้ั ง Volt/Div = 1 0 0 VDC แ ล ะ ครั้งน้ี วิจัยได้แบ่งการศึกษาออกเป็นส่วน ๆ คือ
Time/Div = 40 uS (โหมด x10) อุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพื่อให้
แรงดันไฟฟ้าที่อินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ นอกจากน้ียัง
รูปที่ 6 แสดงสญั ญาณแรงดนั ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรง ทาการศึกษาประสิทธิภาพและความพึงพอใจอุปกรณ์
อนิ พตุ 100 โวลต์ ว ง จ ร บู ท แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ต ร ง เ พื่ อ ใ ห้
แรงดันไฟฟ้าท่ีอินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ สาหรับเก็บ
ขอ้ มูลโดยมรี ายละเอียดและขัน้ ตอนในการดาเนนิ การ
สร้างในแต่ละส่วนดังตอ่ ไปน้ี

1) ศึกษาความเปน็ ไปไดข้ องการนาเอา
Arduino NANO มาใช้เปน็ ตัวตรวจสอบสถานะของ
กระแสไฟฟา้ และแรงดัน

2) ออกแบบวงจรวัดแรงดันในสว่ นของ
อนิ พุตและเอาต์พตุ

3) ใช้โมดลู วัดกระแสไฟฟา้ ไฟฟ้า
สาเร็จรูปมาใชใ้ นการวัดกระแสไฟฟ้าทีเ่ กดิ ขึน้

4) ประกอบวงจรภายในและออกแบบ
บรรจภุ ณั ฑ์ ใหส้ ะดวกต่อการใชง้ าน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 42

42 วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

รปู ท่ี 8 วงจรบูทแรงดนั ไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ ตรงเพือ่ ให้ รปู ท่ี 11 ภาพแสดงการตอ่ อุปกรณ์วงจรบทู
แรงดันไฟฟา้ ไฟฟา้ ที่อินเวอร์เตอร์ขบั มอเตอร์ แรงดันไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ ตรงเพ่อื ให้
ขณะออกแบบทดลอง แรงดนั ไฟฟา้ ทีอ่ นิ เวอรเ์ ตอร์ขบั มอเตอร์

รูปที่ 9 วงจรบูทแรงดนั ไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ ตรงเพอ่ื ให้ 3.5 เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวิจยั
แรงดนั ไฟฟา้ ไฟฟา้ ทอี่ นิ เวอรเ์ ตอร์ขับมอเตอร์ ในการวิจัยครั้งน้ี เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย
ประอบสาเรจ็
เป็นแบบสอบถามทผี่ ู้วิจยั สร้างขน้ึ เพอ่ื หาประสิทธิภาพ
รูปท่ี 10 แสดงการทางานของหนา้ ปัดอุปกรณ์วงจร และความพึ่งพอใจอุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้า
บทู แรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟา้ ตรงเพอ่ื ให้ กระแสไฟฟ้าตรงเพ่อื ใหแ้ รงดันไฟฟา้ ที่อนิ เวอร์เตอร์ขับ
แรงดนั ไฟฟา้ ไฟฟา้ ท่อี นิ เวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ มอเตอร์ นาอปุ กรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟา้
ตรงเพ่ือให้แรงดันไฟฟ้าท่ีอินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ที่
VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2 สร้างขึน้ มาทดสอบหาประสิทธภิ าพและความพ่ึงพอใจ
จากน้ันจึงอุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้า
ตรงเพื่อให้แรงดันไฟฟ้าที่อินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์
ตามท่ีได้จากการทดสอบมาทาการปรับปรุงแก้ไข
เพื่อให้ได้อุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้า
ตรงเพ่ือให้แรงดันไฟฟ้าที่อินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ที่
สมบรู ณแ์ บบ

3.5.1 การสร้างแบบประเมินการศึกษาหา
ประสิทธิภาพและความพึงพอใจของอุปกรณ์วงจรบูท
แรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพ่ือให้แรงดันไฟฟ้าที่
อนิ เวอร์เตอรข์ ับมอเตอร์ โดยมีการกาหนดเป็นข้อสอบ
ถามให้เป็นไปตามต้องการ กาหนดระดับเป็นแบบ
มาตราส่วนประมาณค่า ให้น้าหนักคะแนน 5 ระดับ
กลา่ วคอื
ระดบั คะแนน

5 หมายถงึ มีประสทิ ธภิ าพและความพึงพอใจ
ในการทางานระดบั มากทส่ี ุด

4 หมายถึง มปี ระสิทธภิ าพในการทางาน
ระดับ มาก

Vocational Education Innovation and Research Journal 43

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

3 หมายถงึ มปี ระสทิ ธิภาพและความพึงพอใจ ตารางที่ 1 แสดงระดบั ความพงึ พอใจ
ในการทางานระดบั ปานกลาง
ระดับคะแนน ความหมาย
2 หมายถึง มีประสิทธภิ าพและความพงึ ประสิทธภิ าพ
พอใจในการทางานระดบั พอใช้ 4.50 - 5.00
3.50 - 4.49 มากทีส่ ุด
1 หมายถึง มีประสิทธิภาพและความพงึ 2.50 - 3.49 มาก
พอใจในการทางานระดบั ต่าควร 1.50– 2.49
ปรบั ปรุง 1.00– 1.49 ปานกลาง
พอใช้
เมื่อสร้างแบบประเมินการศึกษาหาประสทิ ธภิ าพ
และความพึงพอใจของอุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้า ควรปรบั ปรงุ
กระแสไฟฟา้ ตรงเพอื่ ให้แรงดันไฟฟา้ ทอ่ี นิ เวอรเ์ ตอรข์ ับ
มอเตอร์เรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยได้นาไปทดสอบเพ่ือเกบ็ 3.8 สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ข้อมลู ทาการศกึ ษาหาประสิทธภิ าพและความพงึ พอใจ
ตอ่ ไป 3.8.1 คา่ เฉลี่ย (Arithmetic mean)

3.5.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง X = x / n (5)
ในการวิจัยเพื่อหาประสิทธิภาพและ กาหนดให้

ความพึงพอใจของอุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้า X แทน ค่าเฉลย่ี
กระแสไฟฟา้ ตรงเพ่ือให้แรงดันไฟฟ้าที่อนิ เวอรเ์ ตอร์ขบั
มอเตอร์ จากประชากรกลมุ่ ตวั อย่าง เป็นกลุ่มนักเรียน X แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดในกลมุ่
นกั ศึกษา แผนกวิชาชา่ งอิเลก็ ทรอนกิ ส์ และผทู้ ีส่ นใจ
ด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (purposive sampling) n แทน จานวนครั้งในกลุ่ม
จานวน 20 คน จากกลมุ่ ประชากร 43 คน
3.8.2 ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
3.6 การดาเนินการทดลองและเกบ็ ข้อมลู
การทดลองครง้ั นี้เปน็ การวจิ ยั เชิงทดลอง Deviation)

โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบเจาะจง (purposive S.D. = [(x-x)2]/(N-1)] (6)
sampling) จานวน 20 ตัวอย่าง ทาการทดลอง เมื่อ กาหนดให้ S แทน ความเบยี่ งเบนมาตรฐาน
ทาการทดลองแล้วก็ทาการทดสอบหาสมรรถนะทาง
กายภาพอุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้า x แทน คะแนนแตล่ ะตัว
ตรงเพื่อให้แรงดันไฟฟ้าท่ีอินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์
การทดลองแบบน้ีสามารถทาได้ง่าย รวดเร็ว และ X แทน ค่าเฉล่ีย
ประหยัด ผู้วิจัยได้นาอุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้า n แทน จานวนคะแนนในกล่มุ
กระแสไฟฟ้าตรงเพ่ือให้แรงดนั ไฟฟ้าท่ีอินเวอรเ์ ตอรข์ ับ
มอเตอรไ์ ปดาเนินการทดลองเกบ็ ขอ้ มูล  แทน ผลรวม

3.7 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 4. ผลการวจิ ัย
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยนาเครื่องมือ การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพ่ือสร้างอุปกรณ์

ท่ีสร้างข้ึน ให้กลุ่มตัวอย่างได้ตอบแบบสอบถามและ วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพื่อให้แรงดัน
เก็บข้อมูลด้วยตนเอง เกณฑ์การวิเคราะห์ผล กาหนด ไฟฟ้าท่ีอนิ เวอรเ์ ตอรข์ ับมอเตอร์ โดยการควบคุมระดบั
ไดด้ งั น้ี แรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงด้วยบอร์ดไมโครคอน
โทรลเลอร์ตระกูลอาดูโน่นาโนแล้วทาการศึกษาความ
พึงพอใจในการใช้งานเพื่อให้แรงดันไฟฟ้าไฟฟ้าท่ี
อนิ เวอร์เตอรข์ บั มอเตอร์ทีไ่ ดอ้ อกแบบไว้ ดังต่อไปน้ี

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 44

44 วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

4.1 ได้อุปกรณว์ งจรบูทแรงดันไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ ความพงึ พอใจในการ X S.D. ระดับ
ตรงเพ่อื ใหแ้ รงดนั ไฟฟา้ ไฟฟา้ ทอ่ี ินเวอรเ์ ตอร์ขับมอเตอร์ ทดลองใชง้ าน
1 ชุด มคี ุณภาพภาพการทางานของโครงการ
1. มคี วามปลอดภัยระหวา่ ง 4.75 0.54 มากทส่ี ุด
ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงประสทิ ธภิ าพการทางาน
อุปกรณ์วงจรบทู แรงดันไฟฟา้ กระแส การปฏิบัติงาน
ไฟฟ้าตรงเพ่ือให้แรงดนั ไฟฟา้ ไฟฟา้ ที่
อินเวอรเ์ ตอร์ขับมอเตอร์ 2. มคี วามสะดวกสบายในการ 4.60 0.66 มากทีส่ ุด

ประสิทธิภาพ ใชง้ าน
ครงั้ การทางาน ผลการ คุณภาพ
ที่ แรงดัน แรงดนั ทดลอง (%) 3. เทคนิคการออกแบบและ 4.80 0.51 มากที่สุด

อินพตุ เอาทพ์ ุต ระบบการทางานถกู ต้องตาม
1 100 300.01 ยอมรับได้ 100 %
2 100 304.00 ยอมรบั ได้ 100 % หลักการ
3 100 304.00 ยอมรับได้ 100 %
4 100 304.00 ยอมรับได้ 100 % 4. รปู ร่าง ขนาด น้าหนกั มี 4.80 0.51 มากทสี่ ุด
5 100 304.00 ยอมรบั ได้ 100 %
6 100 304.00 ยอมรบั ได้ 100 % ความเหมาะสม

4.2 ผลการศึกษาหาประสิทธิภาพและความพึง 5. สามารถนาไปใชก้ บั 4.40 1.02 มาก
พอใจอุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรง
เพื่อให้แรงดันไฟฟ้าท่ีอินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ ผลการ อุปกรณ์ไฟฟ้าได้หลายชนิด
ทดลองไดด้ งั น้ี
6. มรี ะบบป้องกันความ 4.60 0.73 มากท่สี ุด
ตารางที่ 4.2 ตารางผลการหาความพงึ ใจในการ
ทดลองใชง้ านของโครงการการศึกษา ปลอดภัยท่ีดี
และหาความพงึ พอใจอุปกรณ์วงจรบทู
แรงดนั ไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ ตรงเพ่ือให้ 7. สามารถใช้ในการทางาน 4.65 0.79 มากที่สุด
แรงดันไฟฟา้ ไฟฟา้ ทอ่ี ินเวอร์เตอรข์ บั
มอเตอร์ ทางไฟฟ้าไดเ้ ป็นอย่างดี

8. ทาให้อุปกรณบ์ ูท 4.45 0.92 มาก

แรงดันไฟฟา้ กระแสไฟฟ้าตรง

ทางานเต็มประสิทธิภาพ

9. โครงการ มคี วาม 4.65 0.79 มากที่สุด

สรา้ งสรรค์ เปน็ ส่งิ ประดษิ ฐท์ ่มี ี

ความแปลกใหม่ 4.80 0.51

10. สามารถนาไปต่อยอดและ มากที่สุด

พฒั นากระบวนการผลิตสู่เชิง

พาณิชยไ์ ด้ 4.75 0.54 มากที่สุด

11. ไม่เป็นอนั ตรายต่อ 4.85 0.48 มากที่สุด

ผใู้ ชง้ าน

12. ไม่เปน็ การทาลาย

ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มหาก 4.85 0.48 มากทส่ี ุด

เลิกใช้งาน 4.65 0.79 มากท่สี ุด

13. สามารถตดิ ต้ังใชง้ านได้งา่ ย

14. มปี ระสิทธิภาพในการใช้

งาน สามารถใช้งานไดเ้ ป็น 4.70 0.78 มากทส่ี ุด

ระยะเวลานาน

15. ทา่ นคิดว่า โครงการ

สามารถสร้างมลู ค่า หรือขาย

ไดห้ รอื ไม่

โดยรวม 4.69 0.66 มาก
ทส่ี ุด

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา 45

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

5. ผลการวิจยั 5.2.2 ควรมีการดดั แปลง เพ่ิมเตมิ ให้
5.1 สรุปผลการทดลอง อุปกรณ์มคี วามคงทน แข็งแรงเพือ่ ป้องกันวงจร
5.1.1 คณุ ภาพภาพการทางานของโครงการ อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ สยี หาย

การศึกษาและหาความพึงพอใจอุปกรณ์วงจรบูท 5.2.3 สร้างชิน้ งานใหม้ นี ้าหนกั เบา หรอื
แรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพื่อให้แรงดันไฟฟ้าที่ สามารถพกพาไปไดท้ กุ ทส่ี ะดวกสบายขณะทางานเปน็
อินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ ขึ้นอยู่กับระดับแรงดัน เวลานาน ๆ
อุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพื่อให้
แรงดันไฟฟ้าท่ีอินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ทางานเต็ม 5.2.4 สร้างอุปกรณใ์ ห้โดดเด่น สามารถตอ่
ประสิทธิภาพ คือ ระดับแรงดันอินพุต 100 VDC ยอดไดม้ ากยง่ิ ขนึ้
แรงดันเอาต์พุตจะต้องได้ 300 VDC จึงจะถือว่าการ
ทดลองสามารถทางานได้ตามเงื่อนไข คุณภาพ 5.2.5 สร้างอุปกรณ์ให้สามารถใช้งานใน
แรงดันไฟฟ้าจะเท่ากับ 100 % แต่จากการทดลองได้ ระยะพ้นื ท่ที ี่ไกลไดม้ ากย่งิ ขึน้
ทาการทดลอง ผลท่ีได้เป็นไปตามเงื่อนไขในการ
ทดลอง 5.3 ประสบการณท์ ีผ่ วู้ จิ ัยได้รบั
จากการทาวิจัยโครงการในคร้ังนี้ทาให้ผู้วิจัย
5.1.2 ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง คือ
นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจ จานวน 20 คน ไ ด้ คิ ด ค้ น ที่ จ ะ ส ร้ า ง อุ ป ก ร ณ์ ว ง จ ร บู ท แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า
มีความพงึ พอใจในการทดลองใชง้ านของโครงการ การ กระแสไฟฟ้าตรงเพอื่ ให้แรงดนั ไฟฟ้าท่อี ินเวอร์เตอรข์ บั
พั ฒ น า แ ล ะ ห า ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ อุ ป ก ร ณ์ ว ง จ ร บู ท มอเตอร์ เป็นการค้นคิดสิ่งท่ีเกิดข้ึนใกล้ๆ ตัว และได้
แรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพื่อให้แรงดันไฟฟ้าท่ี นาเอาความรู้ในวิชาที่ได้ศึกษามาประยุกต์ใช้กับงาน
อินเวอร์เตอรข์ บั มอเตอร์ สามารถสรุปไดว้ า่ มคี วามพึง ฝีมือที่ทาเป็นงานวิจัยชิ้นน้ีขึ้นมา อีกท้ังยังทาให้ผู้วิจัย
พอใจโดยรวมอยูใ่ นระดบั มากที่สุด และมคี วามคิดเห็น ได้เรียนรู้การใช้เครื่องมือและสถิติในการวิจัยเพื่อ
เกี่ยวกับความพึงพอใจในการทดลองใช้งานในแต่ละ เตรยี มพร้อมสู่การวจิ ยั ในเรือ่ งอ่ืน ๆ ตอ่ ไป
ข้อคาถามที่แตกต่างกัน อาทิเช่น ข้อ 5 สามารถ
นาไปใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าได้หลายชนิด ข้อ 8 ทาให้ เอกสารอา้ งอิง
อุปกรณ์บูทแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงทางานเต็ม [1] ธนพล แกว้ คาแจ้ง, 2563. การศึกษาความ
ประสิทธิภาพ ระดับความพึงพอใจมาก ส่วนข้ออื่น ๆ พึงพอใจไมเ้ ทา้ ของผูส้ งู วยั แจง้ เตือนผา่ น
จะอยู่ในระดับมากที่สดุ เป็นต้น ซ่ึงหมายถึง โครงการ แอพพลเิ คชนั่ ไลน.์ วารสารวิจัยและนวัตกรรม
การศึกษาและหาความพึงพอใจอุปกรณ์วงจรบูท การอาชีวศึกษา:สถาบันการอาชวี ศึกษาภาค
แรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าตรงเพ่ือให้แรงดันไฟฟ้าที่ ตะวันออกเฉียงเหนือ1 สานกั งาน
อินเวอร์เตอร์ขับมอเตอร์ สามารถสร้างความพึงพอใจ คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา.
เน่ืองจากมคี ณุ ภาพภาพในการทางาน [2] ธนพล แกว้ คาแจ้ง, 2563. การศกึ ษาความ
พึงพอใจตอ่ มือกลแขนกลเพือ่ คนพิการ
5.2 ขอ้ เสนอแนะและขอ้ คิดเห็น สัง่ งานด้วยเสียง.วารสารวิจัยและนวตั กรรม
5.2.1 อุปกรณ์วงจรบูทแรงดันไฟฟ้า การอาชวี ศึกษา:สถาบนั การอาชีวศึกษาภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ1 สานักงาน
กระแสไฟฟา้ ตรงเพอ่ื ให้แรงดันไฟฟ้าที่อนิ เวอรเ์ ตอรข์ บั คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา.
มอเตอร์ ท่ีมีประสิทธิภาพและอายุการใช้งานที่ [3] บญุ ชม ศรีสะอาด, (2545) หาค่าสว่ น
ยาวนาน มากยงิ่ ขึ้น เบี่ยงเบนมาตรฐาน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 46

46 วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชีวศึกษา [15] ราณี เชาวนปรีชาศ์ (2538, หนา้ 18 อ้างถึง
ใน วฤทธิ์ สารฤทธิคาม, 2548, หนา้ 31)
ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564 ความพงึ พอใจ

[4] พรรณี ลกี ิจวัฒนะ. (2544 : 10) สว่ น [16] วงจรบูสต์คอนเวอรเ์ ตอร์ เขา้ ถงึ เมอ่ื 5
เบีย่ งเบนมาตรฐาน. กมุ ภาพนั ธ์ 2564 เข้าถึงได้จาก
http://dspace.spu.ac.th/bitstream/
[5] พรรณี ลีกจิ วัฒนะ. (2544 : 8) มชั ฌิมเลข
คณติ หรอื คา่ เฉลี่ย. [17] วิรุฬ พรรณเทวี (2542, หน้า 111) ไดใ้ ห้
ความหมายความพงึ พอใจ.
[6] ARDUINO IDE ซอฟต์แวร์สาหรับโปรแกรม
ภาษา C เข้าถงึ เมือ่ 5 กุมภาพันธ์ 2564 . [18] โวลแมน (Wolman, 1973) ความพึงพอใจ
เข้าถึงได้จาก http://www.sbt.ac.th/ [19] สาโรช ไสยสมบัติ (2534, หนา้ 18 อ้างถึงใน
new/sites/.
ปราการ กองแก้ว,2546, หนา้ 17) ความพึง
[7] กดู๊ Good, (1973) กลา่ วว่า ความพงึ พอใจ พอใจ.
[8] ความรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั โปรแกรมProteus8

professional เข้าถึงเมอ่ื 5 กมุ ภาพันธ์
2564. https://sites.google.com/
site/intuonwsw/
[9] เคลิรก์ (Quirk, 1987)ความพงึ พอใจหมายถึง
[10] เชลล่ี (Shelli, 1995, p. 9 อา้ งถึงใน ปราการ
กองแกว้ ,2546, หนา้ 17) ไดศ้ ึกษาแนวคิด
เกย่ี วกบั ความพงึ พอใจตัวเหน่ยี วนา เข้าถงึ
เมอื่ 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 . เข้าถึงได้จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/
[11] พาราสรุ ามาน เซทเฮมท และแบรร่ี
(Parasuraman, Zaithamal & Berry, 1994
อา้ งถึงใน ภูษติ สายกิม้ ซ้วน,2550,
หนา้ 18 -20)
[12] หลกั การบรกิ ารท่ดี มี อเตอร์ เข้าถึงเมื่อ 5
กมุ ภาพนั ธ์ 2564. เข้าถึงไดจ้ าก
https://th.wikipedia.org/wiki/
[13] มอสเพส เขา้ ถึงเมือ่ 5 กมุ ภาพันธ์ 2564 .
เขา้ ถึงไดจ้ ากhttps://th.wikipedia.
org/wiki/
[14] มาสโลว์ (Maslow, 1970 อา้ งถึงใน รังสรรค์
ฤทธ์ิผาด,2550, หน้า 23) ทฤษฎคี วาม
ต้องการตามลาดบั ขน้ั

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2


Click to View FlipBook Version