The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

Vol.5 No.2 วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

Keywords: วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

Vocational Education Innovation and Research Journal 147

วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

กระบวนการขั้นตอนในการจัดทาอย่างเป็นระบบและ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
วธิ กี ารเขียนแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสม ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง น้ี มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ 1) เ พื่ อ
โดยได้ศึกษาหลักสูตร เน้ือหา เทคนิคและวิธีการจาก ออกแบบสร้างชุดฝึกมัลติมิเตอร์ชนิดแอนะลอกท่ีมี
เอกสารที่เกี่ยวข้องรวมถึงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ระบบปอ้ งกนั 2) เพือ่ ออกแบบสรา้ งชดุ ฝึกดจิ ิตอลมลั ติ
แบบ MIAP ท่ีผู้สอนได้จัดประสบการณ์การเรียนรู้โดย มิเตอร์แบบปรับเลือกพิสัยที่มีระบบป้องกัน 3) เพ่ือ
ผ่านขั้นตอนสาคัญ 4 ขั้นตอน เพื่อให้ผู้เรียนได้บรรลุ ออกแบบสร้างชดุ ฝึกดจิ ิตอลมัลตมิ ิเตอร์แบบปรับเลือก
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้ ซึ่งสอดคล้อง พิสัยอัตโนมัติที่มีระบบป้องกัน 4) เพื่อออกแบบสร้าง
กับงานวิจยั ของ แทน [1] ไดท้ าการศกึ ษาวจิ ยั เรือ่ งชุด ชุดฝกึ การใชง้ านมลั ติมเิ ตอร์และทดลองขยายพสิ ัยการ
การสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชางานจักรยานยนต์ วัดแอนะลอกมัลติมิเตอร์ 5) เพื่อออกแบบสร้างชุดฝกึ
เร่ืองระบบไฟฟ้ารถจักรยานยนต์ สาหรับนักศึกษา มาตราวัดกาลังไฟฟ้าและอมิ พแี ดนซเ์ ครื่องมือวดั ไฟฟ้า
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาเคร่ืองกล และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 6) เพือ่ หาประสทิ ธิภาพของชุดการ
วิทยาลัยการอาชีพนครสวรรค์ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่อื สอน วิชาเคร่ืองมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ รหัส
1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชางาน 2105-2004 ตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ 80/80
จักรยานยนต์ เร่ือง ระบบไฟฟ้ารถจักรยานยนต์ 7) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
ส า ห รั บ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร วิ ช า ชี พ นักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ท่ีเรียนจาก
สาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยการอาชีพนครสวรรค์ ให้ การจัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้ชุดการสอนวิชา
มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด 3) ศึกษาความ เคร่ืองมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ รหัสวิชา 2105-
คิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับชุดการสอนแบบอิง 2004 ก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ใน
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ 81.00/82.00 การวจิ ยั คร้งั นี้ คือ นกั เรยี น ปวช.1 กลมุ่ 1 จานวน 20
81.50/82.50 และ 81.00/82.50 ตามลาดับ เป็นไป คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 เคร่ืองมือที่ใช้ใน
ตามเกณฑ์ 80/80 การพัฒนาประกอบด้วย 1) ชดุ การสอน วิชาเครอ่ื งมือ
วัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 2105-2004
7.2 ดัชนีประสิทธิผลของชุดการสอน มีค่าเท่ากับ จานวน 15 หน่วย 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
0.7617 หมายความว่า นักเรียนมีคะแนนเพ่ิมขึ้น คิด ทางการเรียน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของ
เป็นร้อยละ 76.17 เนื่องจากการจัดสภาพแวดล้อมท่ี นักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ชุดการสอน
เหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียน วิชาเครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา
การสอนโดยเนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั 2105-2004 ผลการวิจัยพบว่า 1) ได้ชุดการสอนวิชา
เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย
7.3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ชุดฝึก 5 เคร่ือง 2) ประสิทธิภาพของชดุ การสอน วิชา
นักเรียนที่เรียนรู้ด้วยชุดการสอนน้ี มีผลสัมฤทธิ์ เคร่ืองมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 2105-
ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เพราะการ 2004 มีค่า เฉล่ี ย E1/E2 เท่ า กับ 84.33/85.17 3)
เรียนโดยใช้ชุดการสอนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น สามารถทา นักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอน
ให้ผู้เรียนได้รับการฝึกเปน็ รายบคุ คล และได้ฝึกปฏบิ ตั ิ วิชาเครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา
กจิ กรรมแล้วสรปุ ความคดิ รวบยอด และการใชแ้ บบฝกึ 2105-2004 มีค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบก่อนเรียน
เสริมทักษะเป็นการตอบสนองการเรียนการสอนที่ยึด เท่ากับ 22.77 และค่าเฉล่ียหลังเรียน เท่ากับ 51.10
ผู้เรียนเป็นสาคัญ สอดคล้องกับงานวิจัยของ อังคณา ซึ่งแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติทร่ี ะดบั .05
[8] ได้ออกแบบสร้างและพัฒนาชุดการสอน เพ่ือ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเครื่องมือวัดทาง
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 2105-2004

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

148 Vocational Education Innovation and Research Journal 148

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

7.4 นกั เรียนระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี มคี วาม 8.4 ครูผู้สอนควรแจ้งผลการปฏิบัติกิจกรรมทันที
พึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอน โดย เช่น ผลการตรวจใบงาน การทาแบบทดสอบแตล่ ะชดุ
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.38 ส่วน การสอน และผลประเมินกิจกรรมกลุ่มร่วมมือ การ
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.29 เน่ืองจากการจัด เสนอผลงานท่ีป้ายนิเทศ หน้าช้ันเรียนที่ตัวแทนกลุ่ม
กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดการสอนร่วมกับการจัดการ ต้องให้คะแนนซ่ึงกันและกัน ครูผู้สอนต้องคอยสังเกต
เรียนรู้แบบ MIAP เป็นการจัดกิจกรรมการสอนที่ เพ่ือนอาจไม่เท่ียงตรง ครูให้คะแนนทุกขั้นตอนเพื่อ
นักเรียนได้อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และ เป็นการกระตุ้นนักเรียนให้ความร่วมมือและปรับปรุง
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิดบรรยากาศท่ีดีใน แกไ้ ขในทกุ กจิ กรรม
การเรียน มีเจตคติที่ดีต่อวิชาที่เรียน ส่งผลให้นักเรียน
มีความพึงพอใจในระดับมาก ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจยั ครัง้ ต่อไป
8.5 ควรนาเอาชุดการสอน วิชาการขับรถยนต์
7.5 ความคิดเห็นของครูผู้สอนที่มีต่อชุดการสอน รหัสวิชา 2101-2105 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ภาพรวมมคี ่าเฉล่ยี อย่ใู นระดบั เหมาะสมมาก มคี า่ เฉลย่ี พุทธศักราช 2556 ไปทาการศึกษากับเนื้อหาวิชาอ่ืน
เท่ากับ 4.40 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.55 ผล หรอื ในเรอ่ื งอ่นื ๆ
การประเมินโดยครูผู้สอนเห็นว่ามีประสิทธิภาพ 8.6 ควรมีการศึกษาเชิงเปรียบเทียบการจัด
นาไปใช้ในการสอนเพื่อพัฒนาความสามารถการ กิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาชุดการสอน วิชาการขบั
เรียนรู้ของนักเรียนได้จริง ชุดการสอนท่ีพัฒนาข้ึนมี รถยนต์ รหัสวิชา 2101-2105 ระดับประกาศนียบัตร
การวางแผนและพัฒนาอย่างเป็นระบบ และปรับปรุง วิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับรูปแบบวิธีการสอน
แกไ้ ขหลายคร้ังโดยคาแนะนาจากผู้เช่ียวชาญ อื่น ๆ หรือกับนักเรียนต่างระดับกัน หรือช่วงช้ัน
ต่างกนั
8. ข้อเสนอแนะ 8.7 ควรทาการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบผลการ
ขอ้ เสนอแนะจากการวิจัยคร้ังน้ี เรียนรู้ กับวิชาอื่น ๆ โดยใช้วิธีด้วยแบบกลุ่มร่วมมือ
8.1 ครูผู้สอนวิชาการขับรถยนต์ รหัสวิชา 2101- (Learning Together) กบั วธิ กี ารสอนอ่ืน ๆ

2105 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช เอกสารอา้ งอิง
2556 ควรนา ชุดการสอนที่ผู้วิจัยค้นคว้าสร้างและ
พัฒนาข้ึนนาไปใชจ้ ัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ [1] แทน โมราราย. ชุดการสอนแบบอิง
ประสบการณ์ วชิ างานจักรยานยนต์ เรื่อง
8.2 ครูควรศึกษาวิธกี ารสอนและเทคนิคการสอน ระบบไฟฟา้ รถจกั รยานยนต์ สาหรับ
ให้เข้าใจก่อนนาไปใช้ และควรทาความเข้าใจกับการ นกั ศกึ ษาระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี
เรียนเพ่ือให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีประสิทธิภาพ สาขาวชิ าเครื่องกล วทิ ยาลัยการอาชพี
สูงสดุ นครสวรรค.์ วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญา
ศกึ ษาศาสตร์ มหาบณั ฑติ แขนง
8.3 ครูต้องพยายามให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม วิชาเทคโนโลยีและการสอื่ การศึกษา
ต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั
กระบวนการเรียนรู้ เปิดโอกาสแก่ผู้เรียนทุกคนเท่า ๆ ธรรมมาธริ าช, 2552.
กัน ชี้ให้เห็นความสาคัญของตนเองและผู้อื่น ควร
กระตุ้นและให้กาลังใจนักเรียนให้เกิดความม่ันใจใน
การเรียน และกล้าแสดงความคิดเห็นของตนเองต่อ
กลุม่ และมีความรบั ผิดชอบในภาระงาน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา 149

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

[2] บุญชม ศรสี ะอาด. การวจิ ยั เบอื้ งตน้ . พมิ พ์
คร้ังที่ 7. กรงุ เทพฯ : ชมรมเด็ก, 2545.

[3] ผอ่ งพรรณ ตรัยมงคล และสภุ าพ ฉัตรา
ภรณ์. การออกแบบการวิจยั . พิมพค์ รัง้ ท่ี
4. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, 2545.

[4] สมนึก ภัททยิ ธนี. การวดั ผลการศกึ ษา.
พมิ พค์ รงั้ ท่ี 4. กาฬสินธ์ุ : ประสานการพมิ พ์,
2546.

[5] สมบตั ิ ทา้ ยเรอื คา. เอกสารประกอบการ
สอนวิชาการวิจัยการศึกษาเบอื้ งต้น.
ภาควิชาวจิ ัยและพฒั นาการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
มหาสารคาม, 2547.

[6] สชุ าติ ศิรสิ ขุ ไพบูลย. โครงการสอนวิชา
เทคนคิ และวิธีการสอนวิชาชพี MIAP.
กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาครุศาสตร
เครอ่ื งกล คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรม
สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนคร
เหนือ, 2549.

[7] สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา.
(2556). หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ
พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชา
อุตสาหกรรม, 2556.

[8] องั คณา อตั ถาพร. รายงานการ
ออกแบบสรา้ งและพฒั นาชุดการสอน
เพ่อื พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น วชิ า
เครอ่ื งมอื วัดไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์
รหสั วิชา 2105-2004 หลกั สตู ร
ประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศกั ราช
2556, 2562.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

150 Vocational Education Innovation and Research Journal 150

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

การสร้างและหาประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอนรายวิชางานเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี
รหัสวชิ า 20101-2001

Development and Efficiency of Teaching Materials on Gasoline Engine Job
Subject Code 20101-2001

ธีระพล บุญธรรม1*
Theeraphon Boontham 1*

*1สาขาวิชาเทคโนโลยเี ครื่องกล สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 3 จงั หวัดมหาสารคาม 44000
*1Field of Mechanical Technology, Institute of Vocational Education : Northeastern Region 3, Mahasarakham 44000

Received : 2021-10-07 Revised : 2021-11-03 Accepted : 2021-11-08

บทคดั ยอ่ แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียนของนักเรียน แบบ
ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ ห า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ อ ก ส า ร ประเมินความพึงพอใจ สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล
คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ียส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดัชนี
ประกอบการสอนรายวิชางานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ค่าความสอดคล้อง ค่าอานาจจาแนก ค่าสัมประสิทธิ์
รหัสวิชา 20101-2001 หลักสูตรประกาศนียบัตร ความเชือ่ ม่นั
วิชาชีพ พุทธศักราช 2562มีวัตถุประสงค์ต่อไปนี้ 1)
สร้างและหาประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอน ผลการวิจัย พบว่า เอกสารประกอบการสอน
รายวิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101- วิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101-2001
2001 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช มีประสิทธิภาพ 82.68/81.42 สูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด
2562โดยกาหนดเกณฑ์ระสิทธิภาพไว้ 80/80 2) หา ไว้ 80/80 ดัชนีประสิทธิผลของเอกสารประกอบการ
ค่าดัชนีประสิทธิผลของเอกสารประกอบการสอน สอน วิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101-
รายวิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101- 2001 มีค่าดัชนีประสิทธผิ ล 0.6637 ซ่ึงหมายความวา่
2001 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช นักเรียนมีความรู้เพิ่มข้ึน ร้อยละ 66.37 ผลการ
2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาชา่ งยนต์ มี เ ป รี ย บ เ ที ย บ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น วิ ช า ง า น
ค่าดัชนีประสิทธิผล 0.50 3) ศึกษาความพึงพอใจของ เครื่องยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101-2001 พบว่า
นักเรียนต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน นักเรียนมีคะแนนเฉล่ียจากการสอบแบบทดสอบ
รายวิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101- วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
2001 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช อย่างมีนัยสาคัญทร่ี ะดับ 0.05 และนักเรียนมีความพึง
2562 ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยได้แก่นักเรียนระดับ พอใจต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอนวิชา
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาช่างยนต์ งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101-2001
วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปี หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562
การศึกษา 2562 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยได้แก่ พบวา่ อยใู่ นระดับมาก
แบบฝกึ หัดและใบงาน แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น คาสาคัญ : ประสทิ ธิภาพของเอกสารประกอบการ

*ธรี ะพล บุญธรรม สอน, ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน, รายวชิ า
เครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน
E-mail : [email protected]

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 151

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

Abstract subject code 20101-2001 in Vocational
The purposes of this study were to : 1) Certificate 2019.
Keywords : Effectiveness of teaching
develop and test the efficiency of teaching
materials on Gasoline Engine ; Job subject materials, Learning effectiveness,
code 20101-2001 in Vocational Certificate Gasoline engine course
2019 by setting the standard performance
criterion at 80/ 80 2) test the effectiveness 1. บทนา
index of the Teaching Materials on Gasoline การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา
Engine Job ; subject code 20101-2001 in
Vocational Certificate 2019 by setting the แห่งชาติ มีเป้าหมายเพ่ือพัฒนาคนไทยให้มีลักษณะท่ี
effectiveness index at > 0.50, and 3) study the พึงประสงค์ คือให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย
students’ satisfaction towards a teaching จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม
materials on Gasoline Engine Job ; subject และวัฒนธรรมในการดารงชวี ติ สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผูอ้ ื่น
code 20101-2001 in Vocational Certificate ได้อยา่ งมีความสขุ การศกึ ษาให้มคี ณุ ภาพสูงสดุ เพ่อื ให้
2019. The sampling group were the 1st year เกิดการพัฒนาลักษณะของคนไทยท่ีพึงปรารถนาคือ
certificate students in Auto Mechanic at เก่ง ดี และมีสุข เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยเน้น
Mahasarakham Technical College for 2nd กระบวนการให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้พัฒนาตนเอง
semester of academic year 2019. The tools in ค้นพบประสบการณ์ต่าง ๆ ด้วยตนเอง รับรู้และร่วม
this study were the achievement tests, Pre- กิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดความรู้และนาไปใช้ให้เกิด
test and Post-test and the questionnaire ประโยชน์ต่อสังคมได้ สานักงานคณะกรรมการการ
about student’s satisfactions. The data were อาชีวศึกษา มุ่งเน้นผลิตและพัฒนากาลังคน
analyzed by using Percentage, Mean, Standard อาชีวศึกษาอย่างมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ตรงตาม
Deviation, Discriminant Index, Index of ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม ระดับประเทศ
Consistency and Reliability. และภูมิภาค ส่งเสริมการอาชีวศกึ ษาและการฝกึ อบรม
วิชาชีพ โดยคานึงถึงคุณภาพและความเป็นเลิศทาง
Research findings were : Teaching Materials วิชาชีพ จัดหาส่ือ/หนังสือ วัสดุฝึก อุปกรณ์การเรียน
on Gasoline Engine Job; subject code 20101- การสอน ที่ทันสมัยและเพียงพอ สร้างเสริมทักษะ
2001 in Vocational Certificate 2019 was at อาชีพ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม วิถีประชาธิปไตย
82.68/81.42 in the efficiency, higher than the ความมีวินัย เสริมสร้างทักษะชีวิต หลักสูตร
standard criteria at 80/80. The effectiveness ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาชาวิชา
index of Teaching Materials on Gasoline ช่างยนต์ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม มีจุดประสงค์
Engine Job; subject code 20101-2001 was เพอื่ ใหส้ ามารถประยุกตใ์ ช้ความรู้และทกั ษะด้านภาษา
0.6637, the students had increased of วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา สุขศึกษาและ
knowledge 66.37%. Thestudent’sachievementwas พลศึกษาในการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ เพ่ือให้มี
higher than those before being taught at the ความเข้าใจหลักการบริหารและจัดการวิชาชีพ การใช้
0.05 level if significance. And the student’s เทคโนโลยสี ารสนเทศและหลักการงานอาชีพทส่ี ัมพนั ธ์
satisfactions have rated at high levels for เก่ียวข้องกับการพัฒนาวิชาชีพช่างยนต์ให้ทันต่อการ
Teaching Materials on Gasoline Engine Job เปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าของเศรษฐกิจ สังคม

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

152 Vocational Education Innovation and Research Journal 152

วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

และเทคโนโลยี ให้มีความเข้าใจในหลักการและ และสื่อการเรียนการสอนเป็นปัจจัยสาคัญยิ่งในการ
กระบวนการทางานในกลุ่มงานพ้ืนฐานด้านช่างยนต์ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์
ให้นักเรียนสามารถปฏิบัติงานได้เหมาะสมกับความรู้ สภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา
ความสามารถของตน ให้สามารถปฏิบัติงานด้านช่าง ทฤษฎีนักเรียนจะขาดความสนใจใฝ่ท่ีจะศึกษา การ
ยนต์ ในสถานประกอบการและประกอบอาชีพอิสระ รับรู้ ส่งผลให้เกิดความเบื่อหน่ายและไม่สนใจในการ
รวมท้ังการใช้ความรู้ และทักษะเป็นพื้นฐานใน เรียนในรายวิชาทฤษฎี ในฐานะครูผู้สอนวิชางาน
การศึกษาต่อในระดับสูงข้ึนได้ ให้มีความเข้าใจในการ เคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101-2001 จาก
ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและอนรุ ักษ์ส่งิ แวดล้อม ให้มี เหตผุ ลดังกลา่ ว เพื่อใหก้ ิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปอย่าง
เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีประสิทธิภาพ ผู้วิจัยจึงได้สร้างเอกสารประกอบการ
ซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบต่อ สอน วิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101-
สังคมสิ่งแวดล้อม ต่อต้านความรุนแรงและสารเสพตดิ 2001 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช
มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ คุณภาพของผู้สาเร็จ 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์นี้
การศึกษาระดับคุณวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตร ข้ึนมา เพื่อที่จะได้นาผลท่ีได้จากการศึกษาเอกสาร
วิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ ประกอบการสอนไปพัฒนาคุณภาพการจัดกิจกรรมการ
ประกอบด้วย ด้านคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ คุณธรรม เรียนรู้ วิชางานเครือ่ งยนต์แกส๊ โซลนี รหัสวชิ า 20101-
จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ความเสียสละ 2001 และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ท่ีจะให้เกิดกับ
ความซ่ือสัตย์สุจริต ความกตัญญกู ตเวที ความอดกล้ัน นักเรียน เพ่ือท่ีจะทาให้นักเรียนและครูแผนกวิชาช่าง
การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน การมีจิตสานึกและ ยนต์ในสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและ
เจตคติที่ดีต่อวิชาชีพและสังคม พฤติกรรมลักษณะ ผู้สนใจมีเอกสารประกอบการสอนที่มีมาตรฐานตาม
นิสัย ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความมีมนุษย เกณฑ์ท่ีกาหนด เป็นการเสริมสร้างการศึกษาด้วย
สัมพนั ธ์ ความเช่อื มั่นในตนเอง ความรักสามคั คี ความ ตนเองของนักเรียน ให้มีนิสัยสนใจใฝ่เรียนรู้และ
ขยัน ประหยัด อดทนการพ่ึงตนเอง ทักษะทางปัญญา กระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ย่ิงข้ึนไป ผู้วิจัยจึง
ความรู้ในหลักทฤษฎี ความสนใจใฝ่รู้ ความคิดริเร่ิม ได้จัดทาเอกสารประกอบการสอนโดยศึกษาหลักสูตร
สร้างสรรค์ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ การ จัดทาคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ เอกสาร
พัฒนาผ้เู รียนครูต้องศึกษากระบวนการเรียนรู้โดยการ ประกอบการเรียน ใบเน้ือหา สื่อประกอบการสอน
ใช้การวิจัยซึ่งสอดคล้องกับพิษณุ ฟองศรี ได้กล่าวไว้ แบบฝึกหัด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ว่าการวิจัยเข้ามามีบทบาทในด้านต่าง ๆ มากข้ึนเป็น เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็มตามจุดประสงค์ของ
กลไกหรือเครื่องมือสาคัญในการใช้หาความรู้เพื่อ หลักสูตร สมรรถนะรายวิชา ในการเรียนรู้วิชางาน
แก้ปัญหาหรือเอาชนะอุปสรรค เพราะการพัฒนา เคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101-2001 หลกั สตู ร
ผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ มีคุณลักษณะท่ีพึง ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 เพื่อใช้ใน
ประสงค์ตามหลักสูตร ครูควรนานวัตกรรมและ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้เรียนในการเรียนรู้ให้
เทคโนโลยีต่าง ๆ รูปแบบวิธีการสอนแบบใหม่ ๆ จัด บรรลุวัตถุประสงค์และการพัฒนาการเรียนของ
กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทางานกลุ่มรู้จักกลไก นกั เรยี นให้มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสูงขึ้น
การทางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือเป็น
เครื่องมือในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ 2. วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั
ย่ิงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับวัชรพล วิบูลยศริน [9] ได้ 2.1 สร้างและหาประสิทธิภาพการจัดการเรียน
กล่าวถึงความสาคัญและความจาเป็นของนวัตกรรม
การสอน โดยใช้เอกสารประกอบการสอน วิชางาน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 153

วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

เคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลนี รหัสวชิ า 20101-2001 หลักสูตร 3.3 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 โดย รวบรวมขอ้ มลู มขี ้นั ตอนการสรา้ งดงั นี้
กาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพไว้รอ้ ยละ 80/80
รปู ที่ 1 การสรา้ งและพฒั นาเครอื่ งมือ
2.2 หาดัชนีประสิทธิผลของการเรียนการสอน 3.4 วิธีการดาเนินการทดลองและการเก็บ
โดยใช้เอกสารประกอบการสอนวิชางานเครื่องยนต์ รวบรวมขอ้ มลู มีขน้ั ตอนการสร้างดังน้ี
แ ก๊ ส โ ซ ลี น ร หั ส วิ ช า 20101-2001 ห ลั ก สู ต ร
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี พุทธศักราช 2562 3.4.1 แบบแผนและการดาเนินการทดลอง
การวิจัยครั้งนี้ใช้กลุ่มเดียว มีการทดลองก่อนและหลงั
2.3 ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนทมี่ ีต่อการใช้ การทดลอง ( One Group Pretest Posttest Design [5]
เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องยนต์แก๊ส
โ ซ ลี น ร หั ส วิ ช า 20101-2001 ข อ ง นั ก เ รี ย น 3.4.2 การดาเนนิ การทดลองหาประสิทธภิ าพ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปีที่ 1 กลุ่ม 5 สาขาวิชา ดาเนินการทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง ภาคเรียนท่ี 2 ปี
ชา่ งยนต์ วทิ ยาลัยเทคนคิ มหาสารคาม ท่สี รา้ งข้นึ การศึกษา 2562 ตั้งแต่วันที่ 14 เดือน ตุลาคม พ.ศ.
2562 ถึงวันท่ี 10 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563
3. วิธดี าเนนิ การวจิ ยั
3.1 ประชากรท่ีใชใ้ นการวิจัยครง้ั นี้ ไดแ้ ก่ 3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล
3.1.1 กลมุ่ เป้าหมาย ท่ีใชใ้ นการศึกษาครั้งน้ี ผู้วิจัยได้ทาการวางแผนการจัดทาข้อมูลและ

เป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปที ่ี 1 กลุ่ม ดาเนินการวเิ คราะห์ข้อมูลดังนี้
5 สาขาวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม ที่
ลงทะเบียนเรียนวิชางานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน รหัส รูปท่ี 2 การวางแผนการจดั ทาข้อมลู และดาเนนิ การ
วิชา 20101-2001 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 วเิ คราะห์ขอ้ มูล
จานวน 14 คน ท่ีได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม
(Cluster Random Sampling)

3.2 เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั คร้งั น้ี ได้แก่
เ ค ร่ื อ ง มื อ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล

ประกอบด้วย 3 สว่ น
3.2.1 เอกสารประกอบการสอนวิชางาน

เครือ่ งยนต์แก๊สโซลนี รหสั วชิ า 20101-2001 หลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ที่ผู้วิจัย
ค้นคว้าสร้างข้ึน จานวน 9 หน่วย ระยะเวลาในการ
เรยี นและการสอนจานวน 126 ชัว่ โมง

3.2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน วิชางานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101-
2001 จานวน 120 ข้อ เปน็ ชนิด 4 ตัวเลอื ก

3.2.3 แบบประเมินความพึงพอใจต่อการ
เรียนด้วยวิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา
20101-2001

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

154 Vocational Education Innovation and Research Journal 154

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

4. ผลการวิจัย ตารางท่ี 2 สรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมูลผล
การนาเสนอรายงานวิจัยเรื่อง การสร้างและหา ประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอน
(E1) รวมเอกสารประกอบการสอน
ประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอน รายวิชางาน
เครอื่ งยนต์แกส๊ โซลนี ดังน้ี ผลรวมประสทิ ธิภาพ

4.1 การวิเคราะหห์ าความเชื่อมน่ั ของแบบทดสอบ 11050000
โดยผู้เช่ียวชาญ จานวน 5 ท่าน ข้อสอบจานวน 120 5000
ข้อ พบวา่ มคี ่าความเชื่อม่ัน (IOC)=0.9671
่ชือแกน
่ืชอแกน คะแนน คะแนน รอ้ ยละ
ตารางที่ 1 สรุปผลการประเมินคณุ ภาพของเอกสาร รวม เฉลย่ี
ประกอบการสอน วชิ างานเคร่อื งยนต์ 81.42
แกส๊ โซลนี รหัสวชิ า 20101-2001 ตาม E2 684 48.85 82.68
หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพพุทธศักราช E1 694.55 49.6
2562 โดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ทา่ น
จากตารางท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลรวม
ประเมินคุณภาพ ประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอน (E1/E2) รวม
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 1-9 จานวนนกั เรยี น
1230000 ดา้ น ดา้ น ดา้ น ดา้ น 14 คน พบว่า ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการ
เนือ้ … กิจ… สือ่ การ… สอน มีประสิทธิภาพ 82.68/81.42 สูงกว่าเกณฑ์ท่ีตั้ง
รวม เฉลี่ย ไว้ 80/80

3 0.72 0.61 0.64 0.66 2.63 0.65 4.3 การวิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผลเอกสาร
2 4.51 4.57 4.56 4.55 18.2 4.54 ประกอบการสอน ใช้สูตรดงั น้ี

จากตารางที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพของ ผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผลของวิชา
เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซ งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101-2001
ลี น ร หั ส วิ ช า 20101-2001 ต า ม ห ลั ก สู ต ร พบว่าค่าดัชนีประสิทธิผลมีค่าเท่ากับ 0.6637 ซ่ึง
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 โดย หมายความว่านกั เรียนมคี วามรเู้ พิ่มขน้ึ ร้อยละ 66.37
ผู้เช่ียวชาญ 5 ท่าน ครอบคลุมท้ัง 6 ด้าน พบว่า
โดยรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยท่ีสุด มีค่าเฉล่ียรวมทุก ตารางที่ 3 การเปรยี บเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์
ด้านเท่ากับ ( X =4.58, S.D.= 0.55) เม่ือพิจารณา ทางการเรียนของนกั เรยี นก่อนเรียนและ
เป็นรายดา้ น พบวา่ ด้านสาระสาคญั ด้านเนือ้ หา, ด้าน หลงั เรยี นดว้ ยเอกสารประกอบการสอน
กิจกรรมการสอน, ด้านการประเมินผล ( X =4.60, วิชางานเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีน
S.D.=0.55) ด้านสื่อการสอนมีค่าเฉล่ียน้อยที่สุด ( X
=4.58, S.D.=0.55) และด้านจุดประสงค์การเรียนรมู้ ี การ N X S.D.  D  D2 df t
คา่ เฉลยี่ น้อยทส่ี ดุ ( X =4.50, S.D.=0.55) ทดสอบ

4.2 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของเอกสาร ก่อน 14 26. 2.3
ประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัส เรยี น 85
วิชา 20101-2001 ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/ E2 หลงั 14 48. 2.2 308 6890 13 27.79*
ท่ีต้ังไว้ 80/80 เรยี น 85

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 155

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

จากตารางท่ี 3 พบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 5.1.2 สรุปผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของ
จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ยอมรับเอกสารประกอบการ
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญท่ีระดับ สอนที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน ท้ังด้านเน้ือหา แบบฝึกหัด ใบ
0.05 งานแบบทดสอบ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนและด้านส่ือการสอน มีความเหมาะสมสามารถ
ตารางท่ี 4 การวเิ คราะหค์ วามพึงพอใจของนักเรยี นที่ นาไปใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มตี ่อการเรยี นดว้ ยเอกสารประกอบการ โดยรวมมีคุณภาพอย่ใู นระดับเห็นดว้ ยท่สี ุด
สอน วชิ างานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลีน
5.2 สรปุ ผลของการวจิ ัย
ความพงึ พอใจ 5.2.1 สรุปผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ

25 เอกสารประกอบการสอน พบว่า มีประสิทธิภาพไว้
20 82.68/81.42 สงู กวา่ เกณฑท์ ก่ี าหนดไว้ 80/80
่ชือแกน 15
10 5.2.2 ส รุ ป ผ ล ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ หา ค่ า ดั ช นี
5 ประสิทธิผลของเอกสารประกอบการสอน มีค่าดัชนี
0 ประสิทธิผล 0.6637 ซ่ึงหมายความว่านักเรียนมี
ดา้ น ความรู้เพ่ิมขน้ึ รอ้ ยละ 66.37
ดา้ น ดา้ น ดา้ น การ รวม เฉลี่ย
เนือ้ ห กิจกร ส่ือ ประเ 5.2.3 สรุปผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการ
มนิ … เ รี ย น ก่ อ น เ รี ย น แ ล ะ ห ลั ง เ รี ย น โ ด ย ใ ช้ เ อ ก ส า ร
า รม ประกอบการสอน โดยใช้ t-test พบว่า นักเรียนมี
คะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
S.D. 0.72 0.61 0.64 0.66 2.63 0.65 ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
X 4.51 4.57 4.56 4.55 18.2 4.54 นยั สาคญั ทีร่ ะดบั 0.05

จากตารางท่ี 4 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจ 5.2.4 สรุปผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของ
ต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน วิชางาน นักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน
เคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101-2001 อยู่ใน พบว่า อยใู่ นระดับมาก
ระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ยรวมทุกด้านเท่ากับ ( X
=4.54, S.D.= 0.65)

5. สรปุ ผลการวจิ ยั 6. อภิปรายผล
สรุปผลการสร้างและหาประสิทธิภาพเอกสาร อภิปรายผลการสร้างและหาประสิทธิภาพเอกสาร

ประกอบการสอน รายวิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน ประกอบการสอน ไดด้ ังน้ี
รหัสวิชา 20101-2001 หลักสูตรประกาศนียบัตร 6.1 ผลการศึกษาค่าประสิทธิภาพตัวแรกที่ไดจ้ าก
วิชาชีพพุทธศกั ราช 2562 สรปุ ไดด้ ังนี้
เอกสารประกอบการสอน พบว่าเอกสารประกอบการ
5.1 สรุปผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของ สอนมีประสิทธิภาพ 82.68 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้
ผเู้ ชย่ี วชาญ 80 การใช้เอกสารประกอบการสอน นอกจากมี
ประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดแล้ว ยังสามารถ
5.1.1 สรุปผลการวิเคราะห์หาความเช่ือม่ัน พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ได้แก่
ของแบบทดสอบโดยผู้เช่ียวชาญ จานวน 5 ท่าน กล้าแสดงความคิดเห็นอภิปรายแลกเปล่ียนความรกู้ บั
ข้อสอบจานวน 120 ข้อ พบว่ามีค่าความเชื่อมั่น เพื่อนได้เป็นท่ีน่าพอใจมีทักษะการทางานเป็นกลุ่ม
(IOC)=0.9671

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

156 Vocational Education Innovation and Research Journal 156

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา [2] บุญชม ศรสี ะอาด, การแปลผลเมอ่ื ใช้
เครอ่ื งมอื รวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วน
ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564 ประมาณค่า, สบื ค้นเมือ่ 12 ตลุ าคม 2563
จาก https://edu.msu.ac.th/jem/ home/
มีความรับผิดชอบ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน นักเรียน journal_file/63.pdf , พ.ศ.2563.
สามารถนาไปใชใ้ นการเรียนวิชาปฏิบัติได้อย่างดี
[3] บุญธรรม กจิ ปรีดาบรสิ ทุ ธิ์, เทคนคิ การสรา้ ง
6.2 ดัชนีประสิทธิผลของเอกสารประกอบการ เครื่องมือรวบรวมข้อมลู สาหรับการวิจยั ,
สอนวิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน มี ค่าดัชนี พมิ พ์คร้งั ท่ี 6,กรงุ เทพฯ : จามจุรโี ปรดกั ท์,
ประสิทธิผล 0.6637 ซ่ึงหมายความว่านักเรียนมี พ.ศ.2549.
ความรเู้ พมิ่ ขึน้ รอ้ ยละ 66.37
[4] รุ่งทวิ า สมรกั ษ์, การสรา้ งและหาประสิทธภิ าพ
6.3 การวิจัยแสดงว่าเอกสารประกอบการสอน การเรยี นการสอนโดยใช้ เอกสารประกอบการ
วิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน ช่วยให้นักเรียนมี สอนวชิ างานเครือ่ งมือกลเบอ้ื งตน้ (2100-
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น มีความก้าวหน้าและ 1007) สาขาวชิ างานเคร่ืองมือกลและซอ่ ม
พัฒนาทางการเรียนเพิ่มข้ึน ท้ังนี้เนื่องจากมีการจัด บารุง วิทยาลยั เทคนคิ ภูเกต็ , พ.ศ.2552.
กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม นักเรียนได้
ทราบผลการพัฒนาความก้าวหน้าเป็นรายบุคคล มี [5] ประภาพรรณ เสง็ วงศ์, การพัฒนานวตั กรรม
การเสริมแรงตามกฤษฏีการวางเงื่อนไข การ การเรียนรู้ ด้วยการวจิ ัยในช้ันเรยี น,
เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากคะแนนการ กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั กมลสมัย จากัด, พ.ศ.
ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน 2551.
กับคะแนนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วย
เอกสารประกอบการสอน [6] เปรม เพง็ ยอด, การรายงานการใช้เอกสาร
ประกอบการสอนงานจกั รยานยนต์ รหสั วชิ า
6.4 ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียน 2101-2102 หลักสูตรประกาศนยี บัตร
ดว้ ยเอกสารประกอบการสอน พบว่า อยู่ในระดบั มาก วชิ าชพี พุทธศักราช 2556, แผนกชา่ งยนต์
วิทยาลยั เทคนคิ นครสวรรค์, พ.ศ.2559.
7. ขอ้ เสนอแนะ
7.1 ควรศกึ ษาวจิ ัยการพัฒนาสือ่ ประกอบการสอน [7] สงวน ศรีราม. การสร้างและหาประสิทธิภาพ
เอกสารประกอบการสอนวชิ าทฤษฎี
แบบออนไลน์ วิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา เครอื่ งมอื กล รหัสวิชา 2102-2003 หลักสูตร
20101-2001 ของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศกั ราช 2556.
พทุ ธศักราช 2562 แผนกช่างกลโรงงาน วทิ ยาลยั เทคนิค
สุรินทร์, พ.ศ.2557.
7.2 ควรศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนที่เรียนด้วยเอกสารประกอบการสอนกับการ [8] ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ. เทคนคิ
เรียนดว้ ยวธิ ีสอนแบบอืน่ ๆ การวจิ ัยทางการศึกษา.พิมพ์ครง้ั ท่ี 5.
กรงุ เทพฯ:สุวรี ิยาสาสน์ , พ.ศ.2543.
เอกสารอา้ งอิง
[1] คเชนพงษ์ สมุ าลยโ์ รจน์, ความพึงพอใจของ [9] วัชรพล วิบลู ยศริน. นวตั กรรมและส่ือการ
ผู้ปกครองนกั เรียนต่อการบริหารงาน เรยี นการสอนภาษาไทย .กรุงเทพฯ :
สถานศึกษาในอาเภอหนองม่วงไข่ สงั กัด สานกั พมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ,
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาแพร่ เขต 1. 2556.
วทิ ยานพิ นธ์ ปรญิ ญาครศุ าสตรมหาบัณฑติ ,
สาขาบรหิ ารการศกึ ษา, อตุ รดิตถ์
: มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์, 2550.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 157

วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

[10] สานักงานราชบัณฑติ ยสภา. พจนานกุ รม
การแปลไทยเปน็ ไทย.ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน
,ม.ป.พ., พ.ศ.2554.

[11] สุนนั ทา สนุ ทรประเสรฐิ . การสร้างสอื่ การ
สอนและนวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพฒั นา
ผเู้ รยี น.ราชบุรี : บริษัทธรรมรกั ษก์ ารพมิ พ์,
พ.ศ.2547.

[12] สวุ ทิ ย์ มลู คา และสุนนั ทา สุนทรประเสริฐ.
การพฒั นาผลงานทางวชิ าการสู่การเลอ่ื น
วทิ ยฐานะ.กรุงเทพฯ : บริษัทดวงกมลสมัย
จากัด, พ.ศ.2550.

[13] อนนั ต์ โปดา. การสรา้ งและหาประสิทธิภาพ
เอกสารประกอบการสอนวชิ าวัดละเอยี ด
ช่างยนต์ รหสั วิชา 2101-2114 สาหรบั
นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี สาขา
งานยานยนต์.วิทยาลยั เทคนิคสตูล, พ.ศ.
2550.

[14] อาคม ปาสีโล. การสรา้ งและหาประสิทธภิ าพ
ของเอกสารประกอบการสอนรายวชิ า
โครงการรหสั วิชา 3101-6001 ตาม
หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสูง
พุทธศักราช 2546.สาขางาน
เทคนคิ ยานยนต์ วิทยาลยั เทคนคิ
อุบลราชธานี., พ.ศ.2558.

[15] อานวย เถาตระกลู . คู่มอื การเขยี นแผนการ
สอนการเรยี นรู้ม้งุ เนน้ สมรรถนะอาชีพ.
กรงุ เทพฯ : เอมพนั ธ์, พ.ศ.2552.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

158 Vocational Education Innovation and Research Journal 158

วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

รายงานการสร้างและหาประสทิ ธิภาพเอกสารประกอบการสอน วชิ าผลติ ชน้ิ ส่วนด้วยเครือ่ งมือกล 1
รหัสวิชา 20102-2008 หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

The Creating of Teaching Materials on Machine tool 1 Subject; Subject
Code 20102-2008 Based on The Vocational Certificate Curriculum 2019;

Office of Vocational Education Commission

รรี ะวัฒน์ เสาวภาคย์ไพบูลย์1*
Lerawat Saowapakpiboon1*

*1แผนกวิชาชา่ งกลโรงงาน วิทยาลยั เทคนคิ หนองคาย สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1 จังหวัดหนองคาย 43000
*1Machine Shop Department, Nongkhai Technical College, Institute of Vocational Education : Northeastern Region 1,

Nongkhai 43000

Received : 2021-10-25 Revised : 2021-11-10 Accepted : 2021-11-10

บทคัดย่อ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา
รายงานการวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) ผลิตช้ินส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา 20102-
2008 ในเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 17 คน
เพ่ื อส ร้ า ง แ ล ะ ป ร ะ เมิ น คุ ณ ภ า พ ข อง เอ ก ส า ร ได้มาโดยการเลือกกลมุ่ ตวั อยา่ งแบบเจาะจง เครือ่ งมือ
ประกอบการสอนวิชาผลิตช้ินส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 ที่ใช้ในการศึกษาวิจัย ประกอบด้วย 1) เอกสาร
รหัสวิชา 20102-2008 หลักสูตรประกาศนียบัตร ประกอบการสอนวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 1
วิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม รหัสวิชา 20102-2008 2) แบบประเมินคุณภาพของ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2) เพ่ือหา เอกสารประกอบการสอน 3) แบบทดสอบวัด
ประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอนตามเกณฑ์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 4) แบบประเมินความ
80/80 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน พึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อเอกสารประกอบการสอน
ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ
4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ ค่าเฉลี่ยสว่ นและส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น วิ ช า ผ ลิ ต ช้ิ น ส่ ว น ด้ ว ย
เครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102-2002 ตามหลักสูตร ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1) คุณภาพเอกสาร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภท ประกอบ การสอนวชิ าผลิตช้ินส่วนดว้ ยเครื่องมือกล 1
วิชาอุตสาหกรรม สานักงานคณะกรรมการการ ร หั ส วิ ช า 20102-2008 ต า ม ค ว า ม คิ ด เห็ น ข อ ง
อาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี คือ ผู้เชย่ี วชาญมคี ุณภาพอยู่ในระดับมากที่สดุ ( X = 4.64,
นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปีท่ี 1 กลุ่ม S.D.= 0.49) และตามความคิดเห็นของครูผู้สอนมี
3 สาขาวิชาช่างกลโรงงาน สาขางานเครื่องมือกล คุณภาพอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.61, S.D.=
วทิ ยาลัยเทคนคิ หนองคาย สถาบันการอาชีวศกึ ษา 0.56) 2) เอกสารประกอบการสอนท่ีสร้างขึ้นมี
ประสทิ ธิภาพ เท่ากับ 80.97/80.69 เปน็ ไปเกณฑท์ ต่ี ั้ง
*รีระวฒั น์ เสาวภาคยไ์ พบลู ย์ ไว้ 80/80 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

E-mail : : [email protected]

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 159

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ก่อนเรียนและหลงั เรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน To study, the learning sample group was taken
ที่สรางขึ้น พบว่า คะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน to perform Pretest, then the theory was
อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 และ 4) นกั เรียน instructed by using the teaching materials and
มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการ the exercises were conducted after each
สอน ที่สร้างข้ึนอยู่ในระดับมาก ( X = 4.45, S.D.= lesson completion. The Posttest was used at
0.55) the end of course. the score from the
คาสาคญั : เอกสารประกอบการสอน, เคร่อื งมือกล, exercises and tests were calculated to
evaluate the efficiency. Finally, the students
ประสทิ ธิภาพ are satisfaction to the teaching materials.

Abstract The result of this research found that :
The purposes of this research were 1) to The experts’ commentsonqualityassessmentform
to teaching materials was at the most quality
create and quality evaluate the teaching level ( X = 4.64, S.D. = 0.49), the teaches’
materials on Machine Tool 1, subject code comments on quality assessment form to
20102-2008. Based on the Vocational teaching materials was at the most quality
Certificate Curriculum 2019, Office of level ( X = 4.61, S.D.= 0.56) teachingmaterials on
Vocational Education Commission; 2) to Machine Tool 1, subject code 20102-2008 was
investigate the efficiency of teaching materials at 80.97/ 80.69 in the efficiency, the learning
to the criterion of 80/80; 3) to compare the achievement of students in experimental group,
students’ learning achievement before and after practiced with the lessons ware
after learning with the teaching materials and; significantly at the .05 level and the students’
4) to study the students’ satisfaction towards satisfaction on the teaching materials was at
the teaching materials on Machine Tool 1 high level ( X = 4.45, S.D.= 0.55)
subject, subject code 20102-2008. The sample Keywords : Teaching Materials, Machine
selected by a random purposive sampling in
this study were 17 students from the 1st year Tools, Efficiency of teaching
certificate students group 3 in Machine Shop materials.
field at NongKhai Technical College in 2nd
semester of Academic year 2020. The 1. บทนา
research instruments were 1) the teaching การจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษานบั ได้ว่า
materials on Machine Tool 1, subject code
20102-2008. 2) the questionnaires on quality มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศเป็นอย่างมาก
evaluation of teaching materials. 3) the ดังจะเห็นได้จากรัฐบาลเกือบทกุ สมัยได้ให้ความสาคญั
learning achievement test and 4) the กับผู้เรียนสายอาชีพอย่างมาก เน่ืองจากประเทศไทย
questionnaires on students’ satisfactory. ยังขาดแคลนแรงงานในระดับช่างฝีมือ และระดับช่าง
Statistical analyses used in this research were เทคนิคที่จาเป็นสาหรับภาคอุตสาหกรรมการผลิต การ
descriptive statistics and t-test dependent. บริการ และภาคเกษตรกรรม นอกจากน้ีรัฐบาลก็มี
นโยบายให้กระทรวงศึกษาธิการเพ่ิมสัดส่วนของ
ผู้เรียนสายอาชีพกับสายสามัญให้เพิ่มสูงขึ้นทุก ๆ ปี

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 160

160 วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 2.2 เพ่ือหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบ
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างกลโรงงาน การสอนทส่ี ร้างข้นึ ตามเกณฑ์ 80/80
สาขางานเคร่ืองมือกล เป็นหนึ่ง ในหลักสูตรที่
ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า 2.3 เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พัฒนาข้ึนและไดก้ าหนดรายวชิ า กอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นดว้ ยเอกสารประกอบการสอน
ผลิตชิ้นส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 (Machine Tool 1)
รหัสวิชา 20102-2008 ไว้ในวิชาหมวดสมรรถนะ 2.4 เพ่ือประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ี
วิชาชีพ กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ ซึ่งผู้เลือกเรียน เรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน
สาขาวชิ านีจ้ ะต้องได้เรยี นทุกคน เน่อื งจากเปน็ วชิ าที่มี
ความสาคัญต่อการประกอบอาชีพ และเป็นวชิ าบงั คับ 3. สมมตฐิ านของการวจิ ัย
ที่จะต้องเรียนก่อนจึงจะสามารถเรียนต่อในรายวิชา 3.1 ผู้เชี่ยวชาญและครูผู้สอนมีความคิดเห็นต่อ
อน่ื ๆ ที่เก่ียวข้องได้ [1]
เอกสารประกอบการสอนท่ีสร้างขึ้น โดยเฉลี่ยมี
ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล คณุ ภาพอยใู่ นระดบั มากมาตราส่วนการประมาณคา่ 5
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี น แผนกวชิ าชา่ งกล ระดบั ของลเิ คิรท์ (Likert Scales)
โรงงาน วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย ที่ลงทะเบียนใน
รายวิชาผลติ ช้ินส่วนดว้ ยเคร่ืองมือกล 1 ย้อนหลัง 3 ปี 3.2 เอกสารประกอบการสอนที่สร้างขึ้นมี
การศึกษา คือ ปีการศึกษา 2560-2562 ท่ีผู้วิจัยเป็น ประสิทธิภาพตามเกณฑท์ ่ีตัง้ ไว้ 80/80
ผู้สอน จานวน 47 คน พบว่า มีนักเรียนท่ีมีผลการ
เ รี ย น ต่ า ก ว่ า ค่ า เ ป้ า ห ม า ย คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ที่ 3.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อน
สถานศกึ ษากาหนด คือ มผี ลการเรยี นตา่ กว่าเกรด 2.0 เรียนและหลังเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน
(ไดแ้ ก่ เกรด 1.5, 1, 0, ขร., และ มส.) จานวน 25 คน แตกต่างกนั อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05
คิดเป็นร้อยละ 53.19 ซึ่งเป็นตัวเลขที่มีเปอร์เซ็นต์
ค่อนข้างสูงมาก ผู้วิจัยซึ่งเป็นครูที่ทาการสอนรายวิชา 3.4 นักเรียนมีความพงึ พอใจของตอ่ การเรียนดว้ ย
ดังกล่าวจาเป็นต้องพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และ เอกสารประกอบการสอนโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ปรับเปลย่ี นวิธีการจดั การเรียนการสอนใหม่เพือ่ พัฒนา ตามมาตราส่วนการประมาณค่า 5 ระดบั ของลเิ คิร์ท
นักเรียนให้มีผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มสูงข้ึน
กว่าเดิม ท้ังน้ีเพราะดังกล่าวเปน็ หนง่ึ ในรายวิชาหมวด 4. ตวั แปรทีใ่ ช้ในการวจิ ัย
ทักษะวิชาชพี กลุ่มทักษะวิชาชพี เฉพาะที่มีความสาคญั 4.1 ตัวแปรต้น
ต่อผู้เรียน อีกทั้งเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ 4.1.1 เอกสารประกอบการสอนวชิ าผลติ
และต่อการศึกษาในรายวิชาอ่ืน ๆ ตอ่ ไป
ช้ินสว่ นดว้ ยเครื่องมือกล 1 รหัสวชิ า 20102-2008
2. วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั 4.2 ตวั แปรตาม
2.1 เพ่ือสร้างและประเมินคุณภาพของเอกสาร 4.2.1 คณุ ภาพของเอกสารประกอบการ

ประกอบการสอนวิชาผลิตช้ินส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 สอน
รหัสวิชา 20102-2008 หลักสูตรประกาศนียบัตร 4.2.2 ประสิทธภิ าพของเอกสาร
วิชาชีพ พุทธศักราช 2556 สานักงานคณะกรรรมการ
การอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบการสอน
4.2.3 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรียน

ทเี่ รียนดว้ ยเอกสารประกอบการสอน
4.2.4 ความพงึ พอใจของนกั เรยี นทมี่ ีตอ่

เอกสารประกอบการสอน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 161

วารสารวจิ ัยและนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม 5.2.2 กลุ่มตวั อย่างที่ใชใ้ นการวิจัยครั้งน้ี คอื
นักเรียนระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีท่ี 1
เอกสารประกอบการ 1. คุณภาพของเอกสารประกอบ สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขางานเครื่องมอื กล กล่มุ ที่
สอนวิชาผลิตชน้ิ สว่ น การสอน 3 วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย สถาบันการอาชีวศึกษา
ด้วยเครื่องมอื กล 1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ที่ลงทะเบียนเรียนใน
รหสั วิชา 20102- 2. ประสทิ ธิภาพของเอกสาร รายวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา
ประกอบ 20102-2008 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
2008 จานวน 17 คน โดยการเลอื กกล่มุ ตัวอย่างแบบเจาะจง
การสอน ซึง่ เปน็ นกั เรียนกลุม่ ทผ่ี ู้วิจยั สอน
3. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของ
นักเรียน 5.3 เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวิจยั
4. ระดบั ความพงึ พอใจของ 5.3.1 แบบประเมินคุณภาพของเอกสาร

5. วธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั ประกอบการสอน จานวน 52 ข้อ ตามมาตรวัด 5
5.1 แบบแผนการวิจยั ระดบั ของลเิ คิรท์ ครอบคลุมตัวแปรท่ีศกึ ษา 7 ดา้ น
การวิจัยในครั้งน้ี ใช้แบบแผนการวิจัยเชิง
5.3.2 เอกสารประกอบการสอนวิชาผลิต
ทดลองแบบทดลองกลุ่มเดียว โดยการทดสอบก่อน ช้ินส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102-2008
และหลงั การทดลอง (One-Group Pretest-Posttest หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562
Design) ดงั ตารางที่ 1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม จานวน 3 หน่วยเรียน
ประกอบด้วย
ตารางท่ี 1 แสดงแบบแผนของการวจิ ยั
1) หนว่ ยที่ 1 เคร่อื งเจาะและงานเจาะ
O1 X O2 2) หนว่ ยที่ 2 เครอื่ งกลึงและงานกลึง
(Pretest) (Treatment) (Posttest) 3) หนว่ ยท่ี 3 เคร่อื งกดั และงานกัด
5.3.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ
ทดสอบก่อน ให้ตวั แปร ทดสอบหลงั เรียนวิชาผลิตช้ินส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา
20102-2008 จานวน 60 ขอ้ เป็นแบบทดสอบฯ ชนดิ
ทดลอง ทดลอง การทดลอง 4 ตัวเลือก
5.3.4 แบบประเมินความพึงพอใจของ
เมื่อ O1 หมายถึง การวัดผลกอ่ นการทดลองของกลมุ่ นักเรียน ที่มีต่อการเรียนด้วยวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วย
ทดลอง เคร่อื งมอื กล 1 รหัสวชิ า 20102-2008
5.4 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของ
O2 หมายถึง การวัดผลหลงั การทดลองของกลุ่ม เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการวิจยั มขี น้ั ตอนดงั น้ี
ทดลอง 5.4.1 การศึกษาและการวิเคราะห์หลักสูตร
รายวิชา โดยมีขัน้ ตอนดงั รูปที่ 2 และรายละเอยี ด ดงั น้ี
X หมายถงึ การเรยี นการสอนโดยใหต้ วั แปร 1) ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร
รายวิชาเพ่ือกาหนดหัวข้อเร่ือง (Topic) หัวข้อย่อย
การทดลอง (Elements)
2) กาหนดระดบั ของความรู้ ทกั ษะ
5.2 ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง และจิตพิสัย
5.2.1 ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี คือ

นักเรียนระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีท่ี 1
สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขางานเครื่องมอื กล กลุ่มท่ี
1-6 วทิ ยาลยั เทคนิคหนองคาย สถาบนั การอาชวี ศกึ ษา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ท่ีลงทะเบียนเรียนใน
รายวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา
20102-2008 ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563
จานวน 102 คน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

162 Vocational Education Innovation and Research Journal 162

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

3) กาหนดหวั ขอ้ เรอื่ งและหัวขอ้ ย่อย เรียน ประกอบด้วย หน่วยที่ 1 เคร่ืองเจาะและงาน
4) กาหนดจดุ ประสงค์การสอน เจาะ หน่วยที่ 2 เครื่องกลึงและงานกลึง หน่วยที่ 3
5) ประเมินความสาคัญของหัวข้อ เคร่ืองกัดและงานกัด โดยแต่ละหน่วยเรียนมี
เรอื่ งและงาน สว่ นประกอบ ดังน้ี
6) ผู้ เ ช่ี ย ว ช า ญ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม
สอดคลอ้ งของ หวั ขอ้ เร่ืองกับจดุ ประสงคก์ ารสอน

รปู ที่ 2 แสดงขน้ั ตอนการวิเคราะห์หลกั สตู รรายวิชา รูปที่ 3 แสดงขน้ั ตอนการสรา้ งเอกสารประกอบการสอน

5.4.2 การสร้างเอกสารประกอบการสอน (1) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
วิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา 20102- (2) ช่อื หนว่ ยเรยี น
2008 ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา เช่น (3) สาระสาคัญ คือ ความคิดรวบยอดของ
จดุ ประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบาย แต่หน่วยเรียนที่อธิบายให้ผู้เรียนได้ทราบล่วงหน้าว่า
รายวชิ า โดยมขี นั้ ตอนดงั รปู ที่ 3 และรายละเอียด ดงั น้ี จะตอ้ งศกึ ษาและปฏิบตั ิในเรือ่ งใดบ้าง
(4) สาระการเรียนรู้ คือ หัวข้อเรื่องสาคัญ
1) นาจุดประสงค์การสอนท่ีได้ทาการ ของ แต่ละหน่วยเรียน
วิเคราะห์แตล่ ะหนว่ ยแลว้ ไปสร้างเอกสารประกอบการสอน (5) จุดประสงค์การสอนคือ พฤติกรรม
ปลายทางท่ีคาดหวังไว้ว่าผู้เรียนจะมีความรู้ สามารถ
2) ส ร้ า ง ต้ น แ บ บ ข อ ง เ อ ก ส า ร เรียนรู้และทักษะอะไรบ้างหลังจากจบแต่ละหน่วย
ประกอบการสอน โดยแบ่งเน้ือหาออกเป็น 3 หน่วย เรียนแลว้
(6) ใบเน้อื หาหรอื ใบความรู้ คือ รายละเอยี ด
VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2 ของแต่ละสาระการเรียนรู้หรือหัวข้อเร่ืองที่เรียบเรียง
ขึ้นให้สอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้ หรือ

Vocational Education Innovation and Research Journal 163

วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

จุดประสงค์การสอนท่ีผา่ นกระบวนการศึกษาและการ ห น อ ง ค า ย ส ถ า บั น ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า ภ า ค
วิเคราะห์จากหลักสูตรรายวิชาแล้ว ใบเนื้อหาหรือใบ ตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ท่ีลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
ความรู้แต่ละสาระการเรียนรู้ประกอบด้วย ข้อความ ผลิตช้ินส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา 20102-
บรรยาย รูปภาพประกอบและตารางประกอบ 2008 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 และไม่เคย
เรียนวิชาน้ีมาก่อน จานวน 3 คน โดยการเลือกกลุ่ม
(7) แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน คือ ชุด ตัวอย่างแบบเจาะจง คือ นักเรียนท่ีมีระดับผลการ
คาถาม ที่สร้างข้ึนเพ่ือใช้สาหรับทดสอบความรู้ เรียนดี (เกรดเฉลีย่ มากกวา่ 3.00 ข้นึ ไป) จานวน 1 คน
ความเข้าใจและใช้การประเมินความก้าวหน้าในการ นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนปานกลาง (เกรดเฉลี่ย
เรยี นของผู้เรยี น ซึ่งเป็นแบบทดสอบแบบอัตนยั 2.50-3.00) จานวน 1 คน และนักเรียนท่ีมีระดับผล
การเรียนอ่อน (เกรดเฉล่ียน้อยกว่า 2.50) จานวน 1
(8) แบบทดสอบท้ายหน่วยเรียน คือ ชุด คน เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องของภาษา ความ
คาถามที่สร้างขึ้นเพ่ือใช้สาหรับทดสอบความรู้ ความ ถกู ตอ้ งของเนื้อหา ความยากงา่ ยของเนื้อหา ลาดบั ขัน้
เข้าใจและใช้การประเมินความก้าวหน้าในการเรียน การดาเนินเรื่อง ภาษาท่ีใช้ การจัดพิมพ์ รูปภาพ
ของผ้เู รยี น ซึง่ เปน็ แบบทดสอบแบบปรนยั ประกอบ ขั้นตอนการปฏิบัติงานและความเหมาะสม
ของเวลา จากนน้ั นาคะแนนท่ีไดจ้ ากการทาแบบฝึกหัด
(9) ใบงาน คอื เอกสารทกี่ าหนดรายละเอยี ด แบบทดสอบหลังเรียน และคะแนนจากแบบทดสอบ
ขั้นตอน วิธีการและเง่ือนไขต่าง ๆ ในการปฏิบัติงาน วัด ผ ล สัม ฤ ท ธิ์ท าง ก าร เ รีย นห ลังเ รีย นด้วย เอกสาร
เพื่อฝึกผเู้ รียนให้มสี มรรถนะตามวตั ถุประสงค์การสอน ประกอบการสอนมาคานวณหาประสิทธิภาพ พบว่า
ที่ได้กาหนดไว้ ได้ค่า E1/E2 เท่ากับ 74.22/72.78 และนาข้อมูล ที่
ได้จากการทดลองไปแก้ไขปรับปรุงเอกสารประกอบ
(10) ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน คือ การสอนให้มคี วามสมบรู ณ์มากยง่ิ ขึ้น
เอกสารหรอื เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวัดผลและประเมินผล
การปฏิบัติของผู้เรียนแต่ละใบงาน เป็นการให้คะแนน (2) ทดลองแบบกลมุ่ เล็ก (Small Group
โดยพิจารณา ที่ขนาดของชิ้นงานจากจุดท่ีวัด เช่น Testing) โดยการนาเอกสารประกอบการสอนทีไ่ ดร้ ับ
ขนาดความยาว ความหยาบผวิ ขนาดมมุ เปน็ ตน้ การปรับปรุงแก้ไขจากการทดลองแบบหน่ึงต่อหนึ่ง
แล้ว มาทดลองกับนักเรียนระดับประกาศนียบัตร
3) ประเมินคุณภาพของเอกสารประกอบ วิชาชีพ ชั้นปีท่ี 1 กลุ่ม 2 สาขาวิชาช่างกลโรงงาน
การสอน โดยนาเอกสารประกอบการสอนท่ีสร้างข้ึน สาขางานเคร่ืองมือกล วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย
ไปให้ผู้เช่ียวชาญและครูผู้สอนประเมินผล จานวน 7 สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
ด้าน ได้แก่ ด้านใบเน้ือหาและการดาเนินเรื่อง ด้าน ที่ ล ง ท ะ เ บี ย น เ รี ย น ใ น ร า ย วิ ช า ผ ลิ ต ช้ิ น ส่ ว น ด้ ว ย
แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน ด้านแบบทดสอบท้าย เครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102-2008 ในภาคเรียนท่ี
หน่วยเรียน ด้านใบงาน ด้านรูปภาพประกอบ ด้าน 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 ซึง่ ไมเ่ คยเรยี นวิชานี้มาก่อน และ
ภาษา และดา้ นการจัดพมิ พ์ และรูปเล่ม ไมใ่ ชน่ ักเรียนกลมุ่ ทดลองแบบหน่ึงต่อหนง่ึ จานวน 10
คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง คือ
4) แก้ไข ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอน นักเรียนท่ีมรี ะดบั ผลการเรยี นดี จานวน 3 คน นกั เรียน
ตามข้อเสนอแนะจากผูเ้ ชย่ี วชาญ ที่มีระดับผลการเรียนปานกลาง จานวน 4 คน และ
นักเรียนท่มี ีระดบั ผลการเรียนอ่อน จานวน 3 คน เพ่ือ
5) ทดลองใช้เอกสารประกอบการสอนเบื้องตน้ ตรวจสอบความถูกต้องของภาษา ความถูกต้องของ
โดยมีขั้นตอนดงั น้ี

(1) ทดลองแบบหน่ึงต่อหน่ึง (One to
One Testing) โดยการนาเอกสารประกอบการสอน
ไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม 1 สาขาวิชา
ชา่ งกลโรงงาน สาขางานเครื่องมอื กล วิทยาลยั เทคนิค

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

164 Vocational Education Innovation and Research Journal 164

วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

เน้ือหา ความยากง่ายของเนือ้ หา ลาดับข้ันการดาเนนิ 5.4.3 การสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิ
เร่อื ง ภาษาที่ใช้ การจดั พมิ พ์ รูปภาพประกอบ ขั้นตอน ทางการเรยี น โดยมีขน้ั ตอนดังรูปที่ 4 และรายละเอยี ด
การปฏิบัติงานและความเหมาะสม ของเวลา จากนั้น ดังนี้
นาคะแนนท่ีได้จากการทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบ
หลังเรียนและคะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 1) ศึกษาเอกสาร ตาราและงานวิจัยท่ี
ทางการเรียนหลังเรียนดว้ ยเอกสารประกอบการสอน เกยี่ วขอ้ งกบั การสรา้ งแบบทดสอบฯ
มาคานวณหาประสิทธิภาพ พบว่า ได้ค่า E1/E2
เท่ากับ 76.07/76.33 และนาข้อมูลที่ได้จากการ 2) สร้างแบบทดสอบฯ ตามรูปแบบ
ทดลองไปแก้ไขปรับปรุงเอกสารประกอบ การสอน ของของ ลว้ น สายยศ และบุคคลอน่ื ๆ [3]
ให้มคี วามสมบรู ณ์มากยงิ่ ขึ้น
3) วิเคราะห์วตั ถปุ ระสงค์การสอน
(3) ทดลองใช้เอกสารประกอบการสอน 4) สร้างต้นฉบับของแบบทดสอบฯ ให้
ท่ีได้ ทาการแก้ไขปรับปรุงแลว้ ในขน้ั ตอนทดลองกลุ่มเลก็ สอดคลอ้ งกบั วิเคราะหว์ ตั ถุประสงคก์ ารสอน เปน็ แบบ
โดยนาไปทดลองภาคสนาม (Try out) กับกลุ่มตัวอย่าง ปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 72 ขอ้
คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีท่ี 1
กลุ่มที่ 5 สาขางานเคร่ืองมือกล วิทยาลัยเทคนิค รปู ท่ี 4 แสดงข้ันตอนการสรา้ งแบบทดสอบฯ
ห น อ ง ค า ย ส ถ า บั น ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า ภ า ค 5) วิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบฯ
ตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ท่ีลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102- โดยให้ผู้เช่ียวชาญช่วยตรวจสอบความสอดคล้องกับ
2008 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 และไม่เคย จุดประสงค์การสอน (Index of Item Objective
เรียนวิชานี้มาก่อน จานวน 20 คน โดยการเลือกกลุ่ม Congruence : IOC)
ตัวอย่างแบบเจาะจง แล้วนาผลการทดลองมา
คานวณหาประสิทธิภาพ พบว่า ได้ค่า E1/E2 เท่ากับ 6) แก้ไขปรับปรุงแบบทดสอบตาม
80.76/80.56 จากนั้นนาข้อมูลที่ได้จากการทดลอง ขอ้ เสนอแนะของผู้เช่ียวชาญ
ไปแก้ไขปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนให้สมบูรณ์
มากย่ิงข้ึน

(4) ทดลองใช้เอกสารประกอบการสอน
จริง (Trial run) โดยนาเอกสารประกอบการสอนท่ีได้
ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง คือ
นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1
กลุ่ม 3 สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน สาขางานเคร่อื งมือกล
วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย สถาบันการอาชีวศึกษา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ที่ลงทะเบียนเรียนใน
รายวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา
20102-2008 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 และ
ไม่เคยเรียนวิชานี้มาก่อน จานวน 17 คน โดยการ
เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ซึ่งเป็นกลุ่มที่ผู้วิจัย
สอน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 165

วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

7) ทดลองใช้แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ 1) ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ
ทางการเรียนโดยนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทาง และวิธกี ารสร้างเคร่ืองมอื ประเมนิ ความพงึ พอใจ
การเรียนท่ีสร้างขึ้นไปทดลองกับนักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปีที่ 2 กลุ่ม 1-2 สาขาวิชา 2) เลือกรูปแบบเครื่องมือและกาหนด
ช่างกลโรงงาน สาขางานเครื่องมือกล วทิ ยาลยั เทคนิค เกณฑ์ ในการวัดเจตคติ
หนองคาย สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ1
ที่ลงทะเบียนเรียน 1 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 3) สร้างแบบประเมินความพึงพอใจ
2562 และเคยผ่านการเรียนวิชาผลิชิ้นส่วนด้วยเรื่อง เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนการประมาณค่า
มอื กล 1 รหสั วชิ า 2102-2008 มาแล้ว จานวน30คน (Rating scales) ตามแบบของลิเคริ ์ท (Likert Scales)
แบง่ เป็น 5 ระดบั ดังนี้ [4]
8) วิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบฯ
เช่น ค่าดัชนีความยากง่าย (D) ค่าดัชนีอานาจจาแนก ระดบั 5 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจมากทีส่ ุด
(V) และค่าค่าความเชอื่ ม่นั แล้วคดั เลอื กแบบทดสอบฯ ระดบั 4 หมายถงึ มีความพงึ พอใจมาก
ท่ีมีคุณภาพตามเกณฑ์ไว้ โดยแบบทดสอบฯ จานวน ระดบั 3 หมายถงึ มีความพงึ พอใจปานกลาง
60 ข้อ มีค่าดัชนีความยากง่ายเฉล่ียเท่ากับ 0.58 และ ระดบั 2 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจนอ้ ย
มีค่าดัชนีอานาจจาแนกเฉล่ียเท่ากับ 0.45 และค่า ระดบั 1 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจนอ้ ยทส่ี ดุ
ความเช่ือมั่นตามสูตรของคูเดอร์ริชาร์ดสันสูตรที่ 20
(Kuder-Richardson Kr-20) เทา่ กับ 0.941 4) ปรับปรุงแก้ไขแบบประเมินตาม
ข้อเสนอแนะ และคาแนะนาของผ้เู ช่ยี วชาญ
5.4.4 การสร้างแบบประเมินความพึงพอใจ
ของนักเรียนที่มีต่อเอกสารประกอบการสอน โดยมี 5) จดั พมิ พแ์ บบประเมนิ ความพงึ พอใจ
ขน้ั ตอน ดังรูปท่ี 5 และรายละเอียด ดังนี้ ฉบับรา่ ง

รปู ท่ี 5 แสดงขนั้ ตอนการสรา้ งแบบประเมินความพงึ พอใจ 6) นาแบบสอบถามฉบับร่างไปให้
ผูเ้ ชย่ี วชาญช่วยตรวจสอบ

7) ทดลองใช้แบบสอบถามกับนักเรียน
กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี
ช้ันปีท่ี 2 กลุ่ม 1-2 สาขาวิชาช่างกลโรงงาน สาขางาน
เครื่องมือกล วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย สถาบันการ
อาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ที่ลงทะเบียน
เรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 และเคยผ่าน
การเรียนวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา
20102-2008 มาแลว้ จานวน 30 คน

8) วิเคราะห์หาความเช่ือมั่น พบว่า
แบบสอบถามมีค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค

(Cronbach’s alpha coefficient : ) เทา่ กับ 0.8611
5.5 การดาเนนิ การวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงทดลองเบ้ืองต้น

(Pre-Experiment) แบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียวโดย
การทดสอบก่อนการทดลองและหลังการทดลอง
(One-Group Pretest-Posttest Design) มีขั้นตอน
ดงั นี้

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

166 Vocational Education Innovation and Research Journal 166

วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

5.5.1 ทาการเลอื กกลุ่มตวั อย่าง คอื นักเรยี น 5.6.2 นาคะแนนที่นักเรียนทาได้จากการ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปีที่ 1 กลุ่ม 3 ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หลังเรียน
สาขาวิชาช่างกลโรงงาน สาขางานเคร่ืองมือกล จบทุกหน่วยเรียนมาคานวณหาประสิทธิภาพของ
วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย สถาบันการอาชีวศึกษา ผลลพั ธ์ (E2)
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ท่ีลงทะเบียนเรียนวิชา
ผลิตช้ินส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102- 5.6.3 ทดสอบความก้าวหน้าทางการเรียน
2008 ในภาคเรียนท่ี 2ปีการศึกษา2563จานวน17คน โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนน
ที่นักเรียนได้จากการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
5.5.2 ทดสอบก่อนการทดลอง (Pretest) โดยการทดสอบค่าที (t-test dependent) ทนี่ ยั สาคญั
เ ป็ น ขั้ น ต อ น ใ น นั ก เ รี ย น ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง ใ น ก า ร ท า ทางสถติ ิระดับ .05
แบบทดสอบฯ
5.6.4 น า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร ต อ บ
5.5.3 ดาเนินการทดลอง เป็นขั้นตอนการจัด แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มี
กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเอกสารประกอบการสอนวิชา ตอ่ ตอ่ การเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอนวชิ าผลิต
ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102- ช้นิ ส่วนด้วยเครอื่ งมือกล 1 รหสั วิชา 20102-2008 มา
2008 จานวน 3 หน่วยเรียน เมื่อเรียนจบแต่ละหน่วย วิเคราะหห์ าค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เรียนแล้ว ผู้วิจัยให้นักเรียนทาแบบทดสอบท้ายหน่วย
เรียน เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลไปวิเคราะห์ หา 6. ผลการวิจัย
ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ ก า ร วิ จั ย เพ่ื อส ร้ า ง ป ร ะ เมิ น คุ ณ ภ า พ หา

5.5.4 ทดสอบหลังการทดลอง (Posttest) ประสิทธิภาพ เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
เป็นขั้นตอนหลังจากดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมตี ่อเอกสาร
ด้วยเอกสารประกอบการสอนวิชาผลิตช้ินส่วนด้วย ประกอบการสอนวิชาผลิตช้ินส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1
เครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102-2008 ครบทั้ง 3 รหัสวิชา 20102-2008 หลักสูตรประกาศนียบัตร
หน่วยเรียนแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบฯ อีกครั้ง วิชาชีพพุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลไปใช้วิเคราะห์หาประสิทธิภาพ ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า
ของกระบวนของผลลัพธ์ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ กระทรวงศึกษาธิการ ผู้วิจัยนาเสนอผลการวิเคราะห์
ทางการเรยี น และทดสอบความก้าวหน้าทางการเรียน ข้อมลู ดังน้ี

5.5.5 ประเมินผลความพึงพอใจ ของ 6.1 ผลการประเมินคุณภาพของเอกสารประกอบ
นักเรียนท่ีมีต่อเอกสารประกอบการสอน เป็นข้ันตอน การสอน
สุดท้ายในการทดลอง ใหน้ กั เรียนกลมุ่ ตวั อยา่ งประเมนิ
ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ที่ มี ต่ อ ก า ร เ รี ย น ด้ ว ย เ อก ส า ร 6.1.1 ผลการประเมินคณุ ภาพของเอกสาร
ประกอบการสอนวิชาผลิตช้ินส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 ประกอบการสอนของผ้เู ชยี่ วชาญปรากฏผลดังตารางที่ 2
รหัสวิชา 20102-2008 เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลไป
วิเคราะห์ผลประเมินความพึงพอใจ ตารางท่ี 2 แสดงผลการประเมนิ คุณภาพของเอกสาร
ประกอบการสอนวชิ าผลติ ชน้ิ สว่ นดว้ ย
5.6 วิเคราะห์ข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการทดลอง เคร่ืองมือกล 1 รหัสวชิ า 20102-2008
5.6.1 นาคะแนนที่นักเรียนทาได้จากการทา ของผู้เช่ียวชาญ จาแนกตามรายดา้ น

แบบฝึกหัด และแบบทดสอบท้ายหน่วยเรียนมา
คานวณหาประสิทธภิ าพของกระบวนการ (E1)

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 167

วารสารวจิ ัยและนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

รายการประเมิน X S.D. แปลผล รายการประเมนิ X S.D. แปลผล

ดา้ นใบเนอ้ื หาและการดาเนิน ด้านใบเนอื้ หาและการดาเนิน

เรือ่ ง 4.56 0.54 มากท่สี ุด เรอ่ื ง 4.66 0.54 มากท่สี ุด

ด้านแบบฝึกหัดท้ายหน่วย ด้านแบบฝึกหดั ท้ายหน่วย

เรยี น 4.64 0.51 มากที่สดุ เรยี น 4.69 0.49 มากทส่ี ุด

ด้านแบบทดสอบทา้ ยหนว่ ย 4.70 0.50 มากที่สุด ด้านแบบทดสอบทา้ ยหนว่ ย
เรียน
เรยี น 4.60 0.61 มากที่สดุ

ด้านใบงาน 4.54 0.53 มากที่สดุ ดา้ นใบงาน 4.55 0.61 มากท่ีสุด

ดา้ นรปู ภาพประกอบ 4.67 0.44 มากท่สี ดุ ด้านรปู ภาพประกอบ 4.67 0.54 มากท่สี ุด

ดา้ นภาษา 4.60 0.51 มากทส่ี ดุ ดา้ นภาษา 4.62 0.58 มากที่สุด

ดา้ นการจดั พิมพ์และรูปเลม่ 4.76 0.39 มากทส่ี ุด ดา้ นการจดั พิมพแ์ ละรปู เล่ม 4.49 0.58 มากทส่ี ดุ

เฉลยี่ 4.64 0.49 มากทส่ี ดุ เฉลยี่ 4.61 0.56 มากท่ีสุด

จากตารางท่ี 2 ผลการประเมินคุณภาพของ จากตารางที่ 3 ผลการประเมินคุณภาพของ
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น วิ ช า ผ ลิ ต ชิ้ น ส่ ว น ด้ ว ย เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น วิ ช า ผ ลิ ต ช้ิ น ส่ ว น ด้ ว ย
เ ค รื่ อ ง มื อ ก ล 1 ร หั ส วิ ช า 20102-2008 ข อ ง เคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา 20102-2008 จาแนกตาม
ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่านจาแนกตามรายด้าน พบว่า รายด้านของครูผู้สอน พบว่า มีคุณภาพอยู่ในระดับ
มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.64, S.D. = มากที่สุด ( X = 4.61, S.D. = 0.56) เม่ือพิจารณา
0.49) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มี เป็นรายด้าน พบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ด้าน
ค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ด้านการจัดพิมพ์และรูปเล่ม ( X = แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน ( X = 4.69, S.D.= 0.49)
4.76, S.D. = 0.39) รองลงมา คือ ด้านแบบทดสอบ รองลงมาคือ ด้านรูปภาพประกอบ ( X = 4.67, S.D.
ทา้ ยหนว่ ยเรียน ( X = 4.70, S.D.= 0.50) ส่วนด้านที่ = 0.54) ส่วนด้านที่มีค่าเฉล่ียน้อยที่สุดคือ ด้านการ
มีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด คือ ด้านด้านใบงาน ( X = 4.54, จัดพิมพ์และรปู เลม่ ( X = 4.49, S.D.= 0.55)
S.D.= 0.53)
6.2 ผลการวเิ คราะห์หาประสทิ ธิภาพของเอกสาร
6.1.2 ผลการประเมินคุณภาพของเอกสาร ประกอบการสอน
ประกอบการสอนของผูเ้ ชย่ี วชาญปรากฏผลดังตารางท่ี 3
หลังจากนาเอกสารประกอบ การสอนวิชาผลิต
ตารางท่ี 3 แสดงผลการประเมินคุณภาพของเอกสาร ช้นิ ส่วนดว้ ยเครอ่ื งมือกล 1 รหัสวชิ า 20102-2008 ไป
ประกอบการสอนวิชาผลิตชิน้ ส่วนด้วย ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างแล้ว ผู้วิจัยได้นาข้อมูลท่ีได้
เครือ่ งมอื กล 1 รหัสวชิ า 20102-2008 จากการทดลองทาการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของ
ของครูผู้สอน จาแนกตามรายดา้ น เอกสารประกอบการสอน ปรากฏผลดงั ตารางที่ 4

ตารางที่ 4 แสดงผลการหาประสทิ ธิภาพของเอกสาร
ประกอบการสอนวชิ าผลิตชน้ิ สว่ นด้วย
เครอ่ื งมอื กล 1 รหัสวิชา 20102-2008

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

168 Vocational Education Innovation and Research Journal 168

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

คะแนนทไ่ี ด้ N X X รอ้ ยละ จากตารางที่ 5 และตารางแจกแจงค่าที
จากการทดลอง
( t-Distribution) ท่ี df = N-1 ( 16) ค่ า  (0.05)
ประสิทธภิ าพของ ทดสอบทางเดียว (One tail) มีค่าเท่ากับ 1.7459 แต่
ค่า t ท่ีคานวณได้เท่ากับ 65.3197 มากกว่าค่า t จาก
กระบวนการ (E1) 17 3,400 200.00 80.97 ตาราง แสดงว่าค่าเฉล่ียของคะแนนทดสอบก่อนเรยี น
ประสิทธภิ าพของ และหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
แสดงว่า การเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอนวิชา
ผลลัพธ์ (E2) 17 823 48.41 80.69 ผลิตช้ินส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102-
2008 นท้ี าใหน้ ักเรยี นมคี วามร้เู พ่มิ สูงขนึ้
จ า ก ต า ร างท่ี 4 หลั ง จ า กที่ นาเอกสาร
ประกอบการสอนวิชาผลิตช้ินส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 6.4 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ี
รหสั วชิ า 20102-2008 ไปทดลองสอนกับกลุม่ ตวั อยา่ ง มีตอ่ เอกสารประกอบการสอน
จานวน 17 คน กลุ่มตัวอย่างได้ทาแบบทดสอบหลัง
เรยี นได้ถูกตอ้ งคดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.97 ของคะแนนรวม ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่
ท้ังหมด และกลุ่มตัวอย่างสามารถทาแบบทดสอบ มีต่อเอกสารประกอบการสอนวิชาผลิตช้ินส่วนด้วย
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ถูกต้องคิดเป็น ร้อยละ เครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102-2008 ปรากฏผลดัง
80.69 แสดงว่าการเรียนด้วยเอกสารประกอบการ ตารางท่ี 6
สอนวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา
20102-2008 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเป็นไปตาม ตารางที่ 6 แสดงค่าเฉลีย่ และคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน
เกณฑ์ และเป็นไปตามสมมตฐิ านที่ตงั้ ไว้ ของการประเมนิ ความพึงพอใจของ
นกั เรยี นทีม่ ีตอ่ เอกสารประกอบการสอน
6.3 ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนน วิชางานเคร่ืองมือกลเบอ้ื งต้น รหัสวิชา
ทดสอบกอ่ นเรยี นกับหลังเรียน 20100-1007 จาแนกตามรายข้อ

ผลการทดสอบค่าความแตกตา่ งของคะแนน คาถาม n = 17 ระดบั
ทดสอบก่อนเรียนกับหลังเรียนโดยใช้ค่าที (t-test ความ
dependent) เป็นการวิเคราะห์ความกา้ วหนา้ ทางการ เนอ้ื หาชัดเจน อา่ นแลว้ X S.D. พงึ พอใจ
เรยี น ปรากฏผลดังตารางท่ี 5 เขา้ ใจงา่ ย
เนอื้ หามีความยาวเหมาะสม 4.53 0.51 มากท่ีสุด
ตารางที่ 5 แสดงผลการวิเคราะห์หาความก้าวหน้า ปรมิ าณของเน้อื หาแต่ละ 4.47 0.51 มาก
ทางการเรียนดว้ ยเอกสารประกอบการ หน่วยเรยี นมีความเหมาะสม 4.53 0.51
สอนวชิ าผลติ ชิ้นส่วนกด้วยเคร่อื งมอื กล 1 การนาเสนอเน้ือหามีลาดบั 4.47 0.62 มากท่สี ุด
รหัสวชิ า 20102-2008 ข้ันตอนทีช่ ดั เจน 4.47 0.51
ใช้สานวนภาษาบรรยาย 4.41 0.62 มาก
คะแนน เนอื้ หา เขา้ ใจง่าย ชดั เจน 4.47 0.62
ขนาดของตัวหนังสือมี มาก
ทไ่ี ดจ้ าก N D D2 t ความเหมาะสม
การ แบบตัวอักษรมีความ มาก
สวยงามและอา่ นงา่ ย
ทดลอง มาก

กอ่ นเรียน 17 - - -

หลังเรียน 17 680 27,302 65.3197

ทดสอบความมีนยั สาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั .05

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 169

วารสารวจิ ัยและนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ตารางที่ 6 แสดงค่าเฉลี่ยและคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน มาก ( X = 4.45, S.D. = 0.55) เม่ือพิจารณาเป็นราย
ของการประเมนิ ความพึงพอใจของ ข้อพบว่า ข้อท่ีนักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ
นักเรยี นทมี่ ีตอ่ เอกสารประกอบการสอน ข้อขนาดของภาพประกอบเหมาะสม และดึงดูดความ
วชิ างานเครอื่ งมือกลเบ้ืองตน้ รหัสวชิ า สนใจของผู้เรียน ( X = 4.65, S.D.= 0.49) รองลงมา
20100-1007 จาแนกตามรายข้อ (ต่อ) คือ ข้อการวัดผลและประเมินผลมีความชัดเจน ( X =
4.59, S.D.= 0.51) ส่วนข้อท่ีค่าเฉล่ียน้อยที่สุด คือ
คาถาม n = 17 ระดับ ขอ้ แบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วยเรยี น แบบทดสอบท้ายหนว่ ย
ความ เรียน และใบงานส่งเสริมให้เข้าใจเนื้อหาของหน่วย
รูปภาพประกอบชัดเจน X S.D. พงึ พอใจ เรยี นมากย่ิงข้ึน ( X = 4.18, S.D.= 0.73)
เขา้ ใจง่าย
ขนาดของภาพประกอบ 4.41 0.51 มาก 7. สรุปผลการวิจยั
เหมาะสม และดึงดูด 4.65 0.49 7.1 สรุปผลการหาคุณภาพของเอกสารประกอบ
ความสนใจของผู้เรยี น มากทีส่ ุด
แบบฝึกหัดทา้ ยหน่วยเรยี น 4.18 0.73 การสอนของผู้เช่ียวชาญ และครผู ู้สอน
แบบทดสอบท้ายหน่วยเรยี น มาก ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ข อ ง เ อ ก ส า ร
และใบงานส่งเสริมใหเ้ ข้าใจ 4.24 0.56
เน้ือหาของหน่วยเรยี นมาก 4.47 0.51 มาก ประกอบการสอนวิชาผลิตช้ินส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1
ยิง่ ขึ้น 4.59 0.51 รหัสวิชา 20102-2008 ของผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน พบว่า
ปริมาณของแบบฝกึ หัดท้าย 4.53 0.51 มาก มีคุณภาพอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.64, S.D. =
หนว่ ยเรียนและแบบทดสอบ มากทีส่ ุด 0.49) และผลการประเมินคุณภาพของเอกสาร
ท้ายหน่วยเรียนมคี วาม 4.35 0.49 ประกอบการสอนวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1
เหมาะสมกับเวลาทกี่ าหนด มากทส่ี ุด รหัสวิชา 20102-2008 ของครูผู้สอน 16 คน จาก
ใบงานมคี วามเหมาะสมกับ 4.45 0.55 สถานศึกษาที่ส่งเอกสารประกอบการสอนเผยแพร่
เวลาท่กี าหนด มาก พบวา่ โดยรวมมีคณุ ภาพอยูใ่ น ระดับมากท่สี ดุ (
การวดั ผลและประเมินผล X =4.61, S.D.=0.56)ดงั ตารางท่ี 2และตารางที่ 3
มคี วามชดั เจน มาก
นักเรียนสามารถเรียนรู้ 7.2 สรุปผลการหาประสิทธิภาพของเอกสาร
เนอ้ื หาวิชาจากเอกสาร ประกอบการสอน
ประกอบการสอนได้ทุกเวลา
และเปน็ อยา่ งอิสระ ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ห า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง
การเรียนรู้ด้วยเอกสาร เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น วิ ช า ผ ลิ ต ชิ้ น ส่ ว น ด้ ว ย
ประกอบการสอนนี้ช่วยให้ เคร่อื งมือกล 1 รหัสวชิ า 20102-2008 มีประสิทธิภาพ
นักเรยี นเขา้ ใจเนื้อหาทเ่ี รียน เท่ากับ 80.97/80.69 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้
ง่ายมากขน้ึ 80/80

เฉลย่ี 7.3 สรุปผลการหาค่าความแตกต่างของคะแนน
ก่อนเรยี นกับหลังเรยี น
จากตารางที่ 6 ผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจ
ของนักเรียนท่ีมีต่อเอกสารประกอบการสอนวิชาผลิต ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนน
ชิ้นส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา 20102-2008 ก่อนเรียนและหลงั เรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน
พบว่า โดยรวมนักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ วิชาผลิตช้ินส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา 20102-
2008 พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 170

170 วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

สถิติที่ระดับ .05 แสดงว่า การจัดการเรียนด้วยเอกสาร อาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ผลการวิจัย พบว่า
ประกอบการสอนนีท้ าให้นกั เรยี นมีความรู้เพิ่มสูงขน้ึ เอกสารประกอบการสอนมีผลการประเมินคุณภาพ
โดยผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับมาก ( X = 4.15, S.D.=
7.4 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของ 0.42) และมผี ลการการประเมินคณุ ภาพ โดยครผู ู้สอน
นักเรยี นทมี่ ตี อ่ เอกสารประกอบการสอน อยู่ในระดับมาก ( X = 4.16, S.D.= 0.49) สอดคล้อง
กับงานวิจัยของกฤษฎา กาญจนรัชต์ [6] ได้วิจัยเรื่อง
ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ี การพัฒนาเอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบ
มีต่อเอกสารประกอบการสอนวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วย เทคนิคเบ้ืองต้น รหัสวิชา 2100-1001 หลักสูตร
เครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102-2008 พบว่า โดย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภท
ภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( X วิชาอุตสาหกรรม สานักงานคณะกรรมการการ
= 4.45, S.D.= 0.55) อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ผลการวิจัย พบว่า
เอกสารประกอบการสอนมีผลการประเมินคุณภาพ
8. อภิปรายผลการวิจยั โดยผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับมาก ( X = 4.40, S.D.=
8.1 อภิปรายผลการประเมินคุณภาพของเอกสาร 0.44) และมีผลการการประเมนิ คณุ ภาพโดยครผู ู้สอน
อยู่ในระดับมาก ( X = 4.27, S.D.= 0.47) สอดคล้อง
ประกอบการสอน กับงานวิจัยของชนะ สุทธิประภา [7] ได้วิจัยเร่ืองการ
จากผลการวิจัย พบว่า เอกสารประกอบการ พัฒนาเอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 3102-2002 ตาม
สอนวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช
20102-2008 มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ข อ ง 2557 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ผู้เช่ียวชาญอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.64, S.D.= ผลการวิจัย พบว่า เอกสารประกอบการสอนมีผลการ
0.49) และผลการประเมินคุณภาพของครูผู้สอนอยู่ใน ประเมินคุณภาพของผู้เช่ียวชาญอยู่ในระดับมาก
ระดับมากท่ีสุด ( ̅X = 4.61, S.D.= 0.56) ทั้งนี้เป็น ( X = 4.49) สอดคล้องกับงานวิจัยของกฤษฎา กาญ
เพราผู้วิจัยมีข้ันตอนการจัดทาเอกสารประกอบการ จนรัชต์ [8] ได้วิจัยเรื่องสร้างและหาประสิทธิภาพ
สอนอย่างเป็นระบบ และมีแบบแผนที่ชัดเจน เริ่มต่ัง เอกสารประกอบการสอนวิชาพ้ืนฐานการเขียนแบบ
แต่การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุจากการเรียนการ เพอื่ งานก่อสร้าง (Basic Drawing For Construction
สอน กาหนดองค์ประกอบของเอกสารประกอบการ Work) ร หั ส วิ ช า 20106-1001 ห ลั ก สู ต ร
สอน การศึกษารายละเอียดหลักสูตร การศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภท
ค้ น ค ว้ า แ ล ะ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล เ พื่ อ น า ม า ก า ห น ด เ ป็ น วิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สานักงาน
จุดประสงค์การสอน และเนื้อหาในแต่ละหน่วยหรือ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
แต่ละตอน การจดั ทารปู ภาพโดยการถา่ ยภาพจริงจาก ผลการวิจัย พบว่า เอกสารประกอบการสอนมีผลการ
ฝกึ งาน และภาพถ่ายจากของจริงขณะปฏบิ ตั งิ านขณะ ประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับมากที่สุด
ปฏิบัติงาน สิ่งเหล่าน้ีจึงทาให้เอกสารประกอบการ ( X = 4.75, S.D.= 0.41) และมีผลการการประเมิน
สอนที่สร้างขึ้นนี้จัดได้ว่าเป็นส่ือหรือนวัตกรรมการ คุณภาพโดยครูผู้สอนอยู่ในระดับมากมากที่สุด ( X =
เรียนการสอนท่ีช่วยส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ 4.66, S.D.= 0.51) สอดคล้องกับงานวิจัยของหรรษา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้สอดคล้องกับ เ ส ริ ฐ ผ ล [9] ไ ด้ วิ จั ย เ ร่ื อง ก า ร พั ฒ น า เอก ส า ร
งานวิจัยของปราโมทย์ อุทัยวัฒน์ [5] ได้วิจัยเรื่องการ ประกอบการสอนวิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น รหัส
พัฒนาเอกสารประกอบการสอนวิชางานเช่ือมและ
โลหะแผ่นเบ้ืองต้น รหัสวิชา 2100-1005 หลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภท
วิชาอุตสาหกรรม สานักงานคณะกรรมการการ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 171

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

วิชา 2100-1001 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ เอกสารประกอบการสอนวิชางานระบบฉีดเช้ือเพลิง
พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 2101-2109 ตามหลักสูตร
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผลการวิจัย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 สานักงาน
พบว่า เอกสารประกอบการสอนมีผลการประเมิน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผลการวิจัย พบว่า
คุณภาพโดยผเู้ ชีย่ วชาญอย่ใู นระดบั มาก ( X = 4.36) เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
84.86/81.83 สูงกว่าเกณฑ์ท่ีตั้งไว้ 80/80 สอดคล้อง
8.2 อภิปรายผลการหาประสิทธิภาพของเอกสาร กับงานวิจัยของทองพูน เบ็ญเจิด[12] ได้วิจัยเร่ืองการ
ประกอบการสอน สร้างและหาประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอน
วิชางานเครื่องมือกลเบ้ืองต้น รหัสวิชา 3100-0009
จากผลการวิจัย พบว่า เอกสารประกอบการ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช
สอนวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา 2557 ผลการวิจัยพบว่า เอกสารประกอบการสอนมี
20102-2008 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 80.97/80.69 ประสิทธิภาพ 82.14/81.03 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้
เปน็ ไปตามเกณฑ์ทตี่ ง้ั ไว้ 80/80 ท้ังนี้เน่อื งจากเอกสาร 80/80 และสอดคล้องกับงานวิจัยของชาญ โชติกลาง
ประกอบการสอนมีข้ันตอนการจัดทาที่เป็นระบบและ [13] ได้วิจัยเรื่องการสร้างและหาประสิทธิภาพ
มีแบบแผนที่ชัดเจน เช่น มีการทดลองใช้เบื้องต้นกับ เอกสารประกอบการสอนวชิ างานเชอ่ื มซ่อมบารงุ รหัส
นักเรียนกลุ่มเล็ก และมีการประเมินคุณภาพจาก วิ ช า 2103-2114 ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว่ า เอก ส า ร
ผู้เช่ียวชาญ เพ่ือนาข้อบกพร่องมาแก้ไขปรับปรุงให้ ประกอบการสอนมปี ระสทิ ธิภาพ 82.31/81.83
ถูกต้องสมบูรณ์ก่อนนาไปใช้จริง จึงทาให้เอกสาร
ประกอบการสอนที่สร้างขึ้นน้ีจัดได้ว่าเป็นสื่อหรือ 8.3 อภิปรายผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ
นวัตกรรมการเรียนการสอน ที่ช่วยส่งเสริมให้นักเรียน ทางการเรยี น
เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลงานวิจัยนี้
สอดคล้องกับงานวิจัยของปราโมทย์ อุทัยวัฒน์ [5] ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ได้วิจัยเร่ืองการพัฒนาเอกสารประกอบการสอนวิชา ของนักเรียนท่ีเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการสอน
งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น รหัสวิชา 2100- วิชาผลิตช้ินส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102-
1005 ต า ม ห ลั ก สู ต ร ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร วิ ช า ชี พ 2008 พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนแตกต่างจาก
พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม คะแนนทดสอบหลังเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า ระดับ .05 โดยคะแนนทดสอบหลังเรยี นสูงกว่าคะแนน
กระทรวงศึกษาธิการ ผลการวิจัย พบว่า เอกสาร ทดสอบก่อนเรียนแสดงว่า การเรียนโดยใช้เอกสาร
ประกอบการสอนมปี ระสทิ ธภิ าพเทา่ กับ 81.28/84.00 ประกอบการสอนวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 1
เปน็ ไปตามเกณฑท์ ีต่ ง้ั ไว้ 80/80 สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั รหัสวิชา 20102-2008 น้ีช่วยให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์
ของธนา อ่อนศรี [10] ได้วิจัยเร่ืองการสร้างและหา ทางการเรียนเพิ่มสูงข้ึน ทั้งนี้เน่ืองจากเอกสาร
ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอนวิชางาน ประกอบการสอนมขี น้ั ตอนการจัดทาทเ่ี ป็นระบบ และ
ไ ฟ ฟ้ า ร ถ ย น ต์ ร หั ส วิ ช า 2101-2005 หลั ก สู ต ร มีแบบแผนท่ีชัดเจน เช่น มีการทดลองใช้เบื้องต้นกับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภท นักเรียนกลุ่มเล็ก และมีการประเมินคุณภาพจาก
วิชาอุตสาหกรรม สานักงานคณะกรรมการการ ผู้เช่ียวชาญ เพื่อนาข้อบกพร่องมาแก้ไขปรับปรุงให้
อาชีวศึกษา ผลการวิจัย พบว่า เอกสารประกอบการ ถูกต้องสมบูรณ์ก่อนนาไปใช้จริง จึงทาให้เอกสาร
สอนมีประสิทธิภาพ 81.18/83.05 สูงกว่าเกณฑ์ที่ต้ัง ประกอบการสอนท่ีสร้างข้ึนน้ีจัดได้ว่าเป็นส่ือหรือ
ไว้ 80/80 สอดคล้องกับงานวจิ ัยของเอกศกั ด์ิ สงวนคา นวัตกรรมการเรียนการสอนท่ีช่วยส่งเสริมให้นักเรียน
[11] ได้วิจัยเรื่องการสร้างและหาประสิทธิภาพ เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ี

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

172 Vocational Education Innovation and Research Journal 172

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้เอกสาร สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผลการวิจัย
ประกอบการสอนอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะในข้อท่ี พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนแตกต่าง
นักเรียนมีความพึงพอใจมากท่ีสุด คือ ข้อขนาดของ กนั โดยท่ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลงั เรียนสูงกว่ากอ่ น
ภาพประกอบเหมาะสม และดึงดูดความสนใจของ เรียนอย่างมีนัยสาคัญย่ิงทางสถิติท่ีระดับ .01 และ
ผู้เรียน และข้อการวัดผลและประเมินผล มีความ สอดคล้องกับงานวิจัยของสุธา บัวดา [18] ไดว้ ิจัยเรือ่ ง
ชัดเจน สิ่งเหล่านี้จึงเป็นการส่งเสริมให้นักเรียน การสร้างและหาประสิทธิภาพเอกสารประกอบการ
แสวงหาความรู้และสนใจในการอ่านด้วยตนเอง ช่วย สอนวิชางานเคร่ืองมือกลเบ้ืองต้น รหัสวิชา 2100-
ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1007 สาหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ผ ล ง า น วิ จั ย น้ี ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ง า น วิ จั ย ข อ ง ม า ณ พ วิทยาลัยเทคนิคสตูล ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์
เป ลี่ ย น แ ก้ว [14] ไ ด้ ศึ ก ษ าผลก าร ใ ช้เอกสาร ทางการเรียนของนักเรียนแตกตา่ งกันโดยที่ผลสมั ฤทธ์ิ
ประกอบการสอนวิชางานเช่ือมและโลหะแผ่นเบ้ืองต้น ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
รหัสวิชา 2100-1005 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตร นัยสาคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05
วิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546)
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผลการวิจัย 8.4 อภิปรายผลการประเมินความพึงพอใจของ
พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนแตกต่าง ผู้เรยี น
กันโดยท่ีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลงั เรียนสูงกว่ากอ่ น
เรียนอย่างมีนัยสาคั ญย่ิงทางสถิติท่ีระดับ .01 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรยี นทม่ี ี
สอดคล้องกับงานวิจัยของจงรัตน์ วิสุทธิคุณ [15] ต่อใช้เอกสารประกอบการสอนวิชาผลิตช้ินส่วนด้วย
ได้วิจัยเร่ืองการสร้างและหาประสิทธิภาพเอกสาร เครือ่ งมอื กล 1 รหัสวิชา 20102-2008 พบว่า นกั เรยี น
ประกอบการสอนวิชางานเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( X = 4.45, S.D.=
2102-2106 ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการ 0.55) โดยเฉพาะในข้อท่ีนักเรียนมีความพึงพอใจมาก
เรียนของนักเรียนแตกตา่ งกันโดยท่ีผลสัมฤทธ์ิทางการ ที่สุด คือ ข้อขนาดของภาพประกอบเหมาะสม และ
เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทาง ดงึ ดดู ความสนใจของผ้เู รยี น ( X = 4.65, S.D.= 0.49)
สถิติท่ีระดับ .05 สอดคล้องกับงานวิจัยของวรกร และขอ้ การวดั ผลและประเมนิ ผล มีความชดั เจน ( X =
เวชประสิทธ์ิ [16] ได้วิจัยเร่ืองการสร้างและศึกษาหา 4.59, S.D. = 0.51) ส่ิงเหล่านี้จึงเป็นการส่งเสริมให้
ประสทิ ธิภาพของเอกสารประกอบการสอนวิชางานวัด นักเรียนแสวงหาความรู้ และสนใจในการอ่านด้วย
ล ะ เ อี ย ด ร หั ส วิ ช า 3100-0005 ห ลั ก สู ต ร ตนเอง ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2546 ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับงานวิจัยของปราโมทย์
สาขาวิชาเทคนิคการผลิต วิทยาลัยเทคนิคชัยนาท อุทัยวัฒน์ [5] ได้วิจัยเร่ืองการพัฒนาเอกสาร
ผลการวิจยั พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผ้เู รยี น ประกอบการสอนวชิ างานเชอ่ื มและโลหะแผ่นเบื้องต้น
กลุ่มตัวอย่างหลังการใช้สูงกว่าก่อนการใช้เอกสาร รหัสวิชา 2100-1005 หลักสูตรประกาศนียบัตร
ประกอบการสอนอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ วิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
.05 สอดคล้องกับงานวิจัยของปราโมทย์ พันธ์สว่าง ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า
[17] ได้วิจัยเรื่องการพัฒนาเอกสารประกอบการสอน กระทรวงศึกษาธิการ ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมี
วิชางานเช่ือมและโลหะแผ่นเบ้ืองต้น รหัสวิชา 2100- ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น ท่ี
1005 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช พัฒนาข้ึนโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.35, S.D.
2545 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2546) ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม = 0.53) สอดคล้องกับงานวิจัยของคงศักดิ์ ตัณทรา
วัฒน์พันธ์ [19] ได้วิจัยเรื่อง การสร้างและหา
ประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอนวิชางาน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 173

วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

เครอื่ งมอื กลเบ้อื งตน้ รหัสวชิ า 20100-1007 หลักสตู ร ประสิทธภิ าพในการจดั การเรียนรู้มากยิง่ ข้ึน โดยอาศยั
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภท จังหวะและเวลาในการใช้ส่ือการสอนในแต่ละครั้งให้
วิชาอุตสาหกรรม สานักงานคณะกรรมการการ สัมพนั ธ์กับเนือ้ หาทสี่ อน
อาชีวศึกษา ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมีความความ
พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น วิ ช า ง า น 9.2 ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ครง้ั ต่อไป
เครื่องมือกลเบื้องต้น รหัสวิชา 20100-1007 อยู่ใน 9.2.1 ควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับ
ระดับมาก ( X = 4.33, S.D.= 0.52) สอดคล้องกับ
งานวิจยั ของจติ รา ลือรัตนกุลชยั [20] ได้วิจัยเร่ืองการ พัฒนาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
พัฒนาเอกสารประกอบการสอน วิชาการเขียนแบบ ระหว่างการสอนโดยใช้เอกสารประกอบการสอนกับ
ด้วยคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 2102-2102 ตามหลักสตู ร การสอนแบบปกติ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง
พ.ศ. 2546) ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมีความพึง 9.2.2 ควรมีการศกึ ษาเกย่ี วกับพัฒนาชุดการ
พอใจต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอนอย่ใู น สอนวิชาผลิตช้ินส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1 รหัสวิชา
ระดับมาก ( X = 4.38, S.D.= 0.35) สอดคล้องกับ 20102-2008 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิ ชาชีพ
งานวิจัยของประสิทธ์ิ สุพรรณ์ [21] ที่ได้รายงานผล พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
การศึกษาและการใช้เอกสารประกอบการสอนวิชา ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า
งานฝึกฝีมือ รหัสวิชา 2100-1004 สาหรับนักเรียน กระทรวงศึกษาธิการ โดยพัฒนาส่ือการสอนอ่ืน ๆ
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 เพ่ิมเติมจากเอกสารประกอบการสอน เช่น ส่ือการ
(ปรับปรุง พ.ศ. 2546) ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมี เรียนการสอนด้วยโปรแกรม Microsoft Office
ความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการ Power Point สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และสอื่ ของจริงเปน็ ต้น
สอนอยู่ในระดับมาก ( X = 4.43)
9. 2 . 3 ค ว ร มี ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย เ พื่ อ ห า
9. ข้อเสนอแนะ ประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอนวิชาผลิต
9.1 ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ ชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102-2008
9.1.1 ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สานักงานคณะกรรมการ
การสอนจะสูงหรือต่ากว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไม่ได้ข้ึนอยู่ การอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการในภาคปฏิบัติ
กับเอกสารประกอบการสอนเพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน เพ่ิมเติมจากภาคทฤษฎี หรือทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
หากแต่ข้ึนอยู่กับตัวผู้สอนด้วย ดังนั้นในกรณีที่ผู้สอน รวมกัน
ต้ อ ง ก า ร น า เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น น้ี ไ ป ใ ช้
จาเปน็ ต้องศึกษาเนือ้ หาวชิ า รวมถงึ การจัดทาแผนการ 9.2.4 ควรมีการพัฒนาแบบทดสอบวัด
จัดการเรียนรู้และเตรียมสื่อการเรียนการสอนไว้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเคร่ืองมือกล 1
ล่วงหน้า เพ่ือให้การจัด การเรียนรู้เกิดประสิทธภิ าพ รหัสวิชา 20102-2008 เป็นแบบทดสอบมาตรฐาน ท้ัง
สงู สดุ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และนาไปใช้ทดสอบใน
ร า ย วิ ช า ดั ง ก ล่ า ว อ ย่ า ง ก ว้ า ง ข ว า ง ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า
9.1.2 ผู้สอนควรจัดทาส่ือการสอนเพิ่มเติม อาชีวศึกษา ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการ
นอกจากเอกสารประกอบการสอนนี้ เชน่ สือ่ การเรียน จัดการเรียนรู้และปรับปรุง หลักสูตรรายวิชาให้
การสอนด้วยโปรแกรม Microsoft Office Power เหมาะสมกับในอนาคต ตอ่ ไป
Point สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อของจริง ท้ังน้ีเพ่ือเพ่ิม

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

174 Vocational Education Innovation and Research Journal 174

วารสารวจิ ัยและนวัตกรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

เอกสารอ้างอิง [8] กฤษฎา กาญจนรชั ต์. รายงานผลการสรา้ ง
[1] คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา. สานักงาน. และหาประสทิ ธภิ าพของเอกสาร
หลักสตู รระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ประกอบการสอนวชิ าพื้นฐานการเขียนแบบ
พุทธศักราช 2562 ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม เพื่องานกอ่ สรา้ ง รหัสวชิ า 20106-1001
สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน. (เอกสารอัด หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี
สาเนา)., 2562. พุทธศกั ราช 2562 ประเภทวิชา
[2] ชวลติ ชกู าแพง. การวจิ ยั หลักสตู รและการ อุตสาหกรรม สาขาวชิ าช่างก่อสร้าง
สอน. มหาสารคาม : สานกั พิมพม์ หาวิทยาลยั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
มหาสารคาม., 2553. กระทรวงศึกษาธิการ. ราชบรุ ี: วิทยาลยั
[3] ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ. สารพดั ชา่ งราชบรุ ี, 2562.
เทคนคิ การวจิ ัยการศึกษา. พมิ พค์ รัง้ ที่ 4.
กรงุ เทพฯ : สุวริ สิ าสน.์ , 2538. [9] หรรษา เสรฐิ ผล. รายงานการพฒั นาเอกสาร
[4] อาภรณ์ ใจเทยี่ ง. หลกั การสอน.พมิ พค์ ร้งั ที่ 3. ประกอบการสอน วชิ าขียนแบบเทคนคิ
กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พรินตง้ิ . เฮ้าส.์ , 2546. เบ้ืองตน้ รหสั วิชา 2100-1001 ตามหลักสูตร
[5] ปราโมทย์ อุทยั วฒั น.์ รายงานผลการพฒั นา ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2556
เอกสารประกอบการอนวชิ างานเช่ือมและ ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สานกั งาน
โลหะแผ่นเบื้องตน้ รหัสวิชา 2100-1005 คณะกรรมการการอาชีวศึกษา. กระทรวง
หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช ศึกษาธกิ าร. อดุ รธานี: แผนกวชิ าช่าง
2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สานกั งาน เทคนิคพ้นื ฐาน. วิทยาลยั สารพดั ช่าง
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวง อดุ รธานี, 2556.
ศกึ ษาธิการ.แผนกวชิ าชา่ งเชอ่ื มโลหะ
วทิ ยาลัยการอาชพี สว่างแดนดนิ ., 2559. [10] ธนา ออ่ นศรี. การสรา้ งและหาประสิทธภิ าพ
[6] กฤษฎา กาญจนรัชต์. รายงานผลการพฒั นา ของเอกสารประกอบการสอนวิชางานไฟฟา้
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขยี นแบบ รถยนต์ รหสั วชิ า 2101-2005 ตามหลักสูตร
เทคนคิ เบอ้ื งต้นรหัสวชิ า2100-1001หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี พุทธศกั ราช 2556
ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพพุทธศกั ราช 2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สานักงาน
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สานกั งานคณะ คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวง
กรรมการการอาชีวศึกษากระทรวงศกึ ษาธิการ. ศึกษาธิการ. กรงุ เทพฯ: แผนกวชิ าชา่ งยนต์
ราชบุรี :วิทยาลยั สารพดั ชา่ งราชบุรี,2559 วทิ ยาลยั เทคนคิ กาญจนาภเิ ษกมหานคร,2559.
[7] ชนะ สทุ ธปิ ระภา. รายงานผลการพฒั นา
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบดว้ ย [11] เอกศักด์ิ สงวนคา. รายงานการสร้างและหา
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ หัสวชิ า 3102-2002 ประสิทธิภาพเอกสารประอบการสอน
ตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชน้ั สงู วิชางานระบบฉดี เชื้อเพลงิ อิเล็กทรอนิกส์
พทุ ธศกั ราช 2557 สานกั งานคณะกรรมการ รหสั วชิ า 2101-2109 ตามหลักสตู ร
การอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ประกาศนียบัตรวิชาชพี พุทธศกั ราช 2556
ศรสี ะเกษ : แผนกวชิ าชา่ งกลโรงงาน. สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
วิทยาลยั การอาชพี ศรีษะเกษ, 2559. กระทรวงศกึ ษาธิการ. แผนกวชิ าชา่ งยนต์
วิทยาลยั การอาชพี นครศรีธรรมราช., 2559.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 175

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

[12] ทองพูน เบ็ญเจดิ . การสรา้ งและหา [18] สุธา บวั ดา. การสร้างและหาประสทิ ธิภาพ
ประสิทธภิ าพเอกสารประกอบการสอนวชิ า เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครอ่ื งมอื
งานเคร่อื งมือกลเบอ้ื งตน้ รหสั วิชา 3100- กลเบอ้ื งต้น รหสั วชิ า 2100-1007 สาหรับ
0009 หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชน้ั สูง นกั เรียนระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี .
พุทธศกั ราช 2557. สรุ ินทร์: แผนกวชิ าช่าง สตูล: แผนกวชิ าชา่ งกลโรงงาน.
กลโรงงาน. วทิ ยาลัยเทคนคิ สรุ นิ ทร์, 2558. วิทยาลัยเทคนคิ สตูล, 2554.

[13] วชิ าญ โชตกิ ลาง. การสรา้ งและหาประสทิ ธภิ าพ [19] คงศักด์ิ ตัณทราวฒั นพ์ ันธ์. รายงานการสรา้ ง
เอกสารประกอบการสอนวชิ างานเชื่อมซอ่ มบารงุ และหาประสทิ ธิภาพเอกสารประกอบการ
รหัสวชิ า 2103-2114. แผนกวชิ าชา่ งเชื่อมโลหะ สอนวชิ างานเครือ่ งมือกลเบอื้ งต้น รหัสวชิ า
วิทยาลยั เทคนิคนครราชสมี า., 2558. 20100-1007 หลกั สตู รประกาศนียบตั ร
วิชาชพี พุทธศกั ราช 2562 ประเภทวชิ า
[14] มาณพ เปลย่ี นแก้ว. ผลการใชเ้ อกสาร อุตสาหกรรม สานกั งานคณะกรรมการ
ประกอบการสอนวชิ างานเชอ่ื มและโลหะ การอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
แผ่นเบอ้ื งตน้ รหสั วชิ า 2100-1005 เพอ่ื แผนกวชิ าชา่ งกลโรงงาน วทิ ยาลยั เทคนิค
ส่งเสรมิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี น พงั งา., 2562.
หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช2545
(ปรับปรุง2546).ปราจนี บรุ ี :แผนกวชิ าชา่ งเชอ่ื ม [20] จติ รา ลอื รัตนกุลชยั . การพฒั นาเอกสาร
โลหะ. วทิ ยาลยั เทคนคิ ปราจนี บรุ ี,2556. ประกอบการสอนวชิ าการเขียนแบบด้วย
คอมพิวเตอรร์ หัสวชิ า 2102-2102 ตาม
[15] จงรัตน์ วสิ ุทธคิ ณุ . รายงานการสร้างและหา หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี
ประสทิ ธิภาพเอกสารประกอบการสอน พุทธศกั ราช 2545 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2546).
วิชางานเคร่ืองมือกล 1 รหสั วชิ า 2102- อดุ รธานี : แผนกวิชาชา่ งกลโรงงาน.
2106.สาขาวชิ าเครอื่ งมอื กลและซอ่ มบารงุ วิทยาลัยสารพัดช่างอดุ รธานี, 2554.
วทิ ยาลยั เทคนิคยะลา., 2555.
[21] ประสทิ ธ์ิ สพุ รรณ์. รายงานผลการศึกษาและ
[16] วรกร เวชประสทิ ธ์ิ. รายงานการใชเ้ อกสาร การใชเ้ อกสารประกอบการสอนวชิ างานฝึก
ประกอบการสอนวชิ างานวดั ละเอียด ฝมี อื รหัสวชิ า 2100-1004 สาหรบั นักเรียน
รหัสวิชา 3100-0005 หลกั สตู ร หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี
ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สงู พทุ ธศกั ราช พุทธศักราช 2545 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2546).
2546. สาขาวชิ าเทคนคิ การผลติ ขอนแกน่ : แผนกวชิ าชา่ งกลเทคนิคพ้นื ฐาน.
วทิ ยาลยั เทคนิคชยั นาท, 2555. วทิ ยาลัยสารพัดชา่ งขอนแกน่ , 2554.

[17] ปราโมทย์ พนั ธส์ วา่ ง. การพัฒนาเอกสาร
ประกอบการสอนวชิ างานเชื่อมและโลหะ
แผ่นเบือ้ งต้น รหัสวชิ า 2100-1005 ตาม
หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี
พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546).
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สานกั งาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา. นครปฐม:
แผนกวิชาชา่ งเชอื่ มโลหะ. วทิ ยาลยั เทคนิค
นครปฐม, 2555.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

176 Vocational Education Innovation and Research Journal 176

วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

องคป์ ระกอบและตัวบ่งช้ีของคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคส์ ำหรบั นักศึกษำครูชำ่ งอุตสำหกรรม
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคล

Components and Indicators of Desirable Characteristics of Industrial Teacher
Students at Rajamangala University of Technology

พงศกร คำภำบุตร1*, ศริ ิ ถอี ำสนำ2 และ สมเจตน์ ภูศรี3
Pongsakorn Khampabut1*, Siri Theearsa2 and Somjet Phusri3

*1สาขาวชิ าครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมอุตสาหการ คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดขอนแกน่ 40000
*1Field off Technical Education, Faculty of Technical Education, Rajamangkala University of Technology Isan,
Khon Khen 400000
2,3สาขาวิชาบริหารการจดั การการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม จังหวดั มหาสารคาม 44000

1Field of Educational Management, Faculty of Education, Maha Sarakham Rajabhat University, Maha Sarakham 44000

Received : 2020-12-09 Revised : 2021-01-16 Accepted : 2021-01-19

บทคัดยอ่ วิชาชีพและศาสตร์ทีเ่ กี่ยวข้อง 2.2) มีความรแู้ ละทักษะ
วัตถุประสงค์การวิจัยคือ เพื่อศึกษาและยืนยัน ในการสื่อสารและการถ่ายทอดทั้งภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศ 2.3) มีความรู้และเท่าทันการ
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก แ ล ะ ตั ว บ่ ง ช้ี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ท่ี พึ ง เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.4) มีความรู้
ป ร ะ ส ง ค์ ส า ห รั บ นั ก ศึ ก ษ า ค รู ช่ า ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม และทักษะการใช้เทคโนโลยีในสาขาวิชาชีพ 2.5) มี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล โดยศึกษาข้อมูล ความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา นโยบาย 2.6) มีความรู้ด้านความปลอดภัยและมาตรฐานวิชาชพี
มหาวทิ ยาลัย และงานวิจยั จานวน 26 แหล่ง โดยการ ช่ า ง อุ ต ส า หก ร ร ม 3 ) ด้ า น คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ยธรรม
วิเคราะห์-สังเคราะห์ ความถ่ีของข้อมูลด้วยตาราง ประกอบด้วยตัวบ่งชี้คือ3.1) มีระเบียบวินัย 3.2)
เ ม ต ริ ก แ ล ะ ยื น ยั น ข้ อ มู ล โ ด ย ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ มีความรับผิดชอบ 3.3) มีความซื่อสัตย์สุจริต 3.4)
ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 คน แปลผลด้วยการวิเคราะห์ มีความอดทน ขยันหมั่นเพียร 3.5) มีจรรยาบรรณใน
เนอ้ื หา วิชาชีพ 3.6) มจี ติ อาสา
คำสำคัญ : องค์ประกอบและตวั บง่ ชี้, คณุ ลักษณะที่
ผลการวิจัย พบว่า องค์ประกอบหลักประกอบด้วย
1) ด้านทักษะปัญญา ประกอบด้วยตัวบ่งช้ีคือ 1.1) มี พึงประสงคข์ องนักศึกษา, นักศึกษาครชู ่าง
ความสามารถและทักษะในสาขาวิชาชีพ 1.2) มี อตุ สาหกรรม
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์-สังเคราะห์ 1.3) มี
ภาวะความเป็นผู้นาที่ดี 1.4) มีความสามารถในการ Abstract
ทางานเป็นทีม 1.5) มีความรู้และทักษะในการสร้าง The present study aimed to investigate
นวัตกรรมทางช่างอุตสาหกรรม 1.6) มีทักษะการ
บริหารจัดการงานอุตสาหกรรม 2) ด้านความรู้ major components and indicators of desirable
ประกอบด้วยตัวบ่งช้ีคอื 2.1) มีความรใู้ นศาสตร์สาขา characteristics of industrial teacher students at
Rajamangala University of Technology.
*พงศกร คาภาบุตร Twenty-six sources of data, including Thai

E-mail : [email protected].

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 177

วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

Qualifications Framework for Higher Education, ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะ
university policies, and research, were ทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
examined. The frequency of data was then และความรับผิดชอบ และ 5) ด้านทักษะการคิด
analyzed and synthesized using a matrix table. วิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี
In addition, interviews with five qualified สารสนเทศ [1]
experts were conducted and subsequently
analyzed through content analysis. สถาบันการศึกษาในกลุ่ม มหาวิทยาลั ย
เทคโนโลยีราชมงคล ซงึ่ ประกอบด้วย 1) มหาวทิ ยาลยั
The findings revealed three major เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน 2) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
components : 1) Cognitive Skills which ราชมงคลธัญบุรี 3) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
included six indicators consisting of 1.1) พระนคร 4) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
technical skills, 1.2) analytical and synthetic 5) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
thinking skills, 1.3) leadership, 1.4) teamwork 6) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย และ
skills, 1.5) skills in industrial innovation creation, 7) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ซ่ึงท้ัง 7
and 1.6) industrial management skills; 2) มหาวิทยาลัยนี้มีการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร
Knowledge which consisted of six indicators ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต เป็นหลักสูตรที่มี
including 2.1) knowledge of technical and จุดประสงค์ผลติ ครูวิชาชพี ด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม
relevant fields, 2.2) communication and ที่จะต้องมีความรู้ ทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพ
delivery skills in Thai and foreign languages, คณุ ธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณในวชิ าชีพ [2] ซ่ึง
2.3) information technology literacy, 2.4) skills บัณฑิตท่ีจบการศึกษาจะตอ้ งไปประกอบอาชีพเปน็ ครู
in the use of technical technology, 2.5) skills ช่างอุตสาหกรรม จึงจาเป็นต้องมีคุณสมบัติดังกล่าวนี้
in the application of information technology, หากผู้ที่เป็นครูไม่สามารถ ปฏิบัติหน้าที่ตามท่ี
and 2.6) knowledge of safety and standards รับผิดชอบได้ อาจส่งผลกระทบต่อ ผู้เรียน สังคมและ
for industrial occupations ; 3) Ethics and ชาติบ้านเมือง ได้ เพราะฉนั้นการผลิตครูช่าง
Morals, there were six indicators, including 3.1) อุตสาหกรรมจึงมีความสาคัญในการผลิตบัณฑิตให้มี
discipline, 3.2) responsibilities, 3.3) honesty and คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคก์ อ่ นจบเปน็ ครู
integrity, 3.4) perseverance, 3.5) professional
ethics, and 3.6) the spirit of volunteering. ในยุคปัจจุบันสิ่งแวดล้อมมีการเปล่ียนแปลง
Keywords : components and indicators, อย่างรวดเร็ว มีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทา
ให้ความเจริญทางด้านวัตถุพัฒนาก้าวหน้าไปมาก[3]
student desirable characteristics, ก า ร ป รั บ ตั ว ใ ห้ เ ข้ า กั บ ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ไ ด้ อ ย่ า ง
industrial teacher students. เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ จึงมีความจาเป็นอย่าง
ยิ่ง ผู้เรียนต้องปรับตัวให้สามารถตามทัน การ
1. บทนำ เปลี่ยนแปลง สามารถแข่งขันก้าวสู่การเป็นประเทศท่ี
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตที่จบจาก เจริญ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับความหลากหลาย
ของวัฒนธรรมและเชื้อชาติ [4] จากการศึกษาพบว่า
สถาบันอุดมศึกษาจะต้องมีคุณสมบัติตามประกาศ ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพบัณฑิตไทยมีหลายด้าน
กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ เช่น ปัญหาเกี่ยวกับความสามารถในการใช้ภาษาไทย
ระดับอุดมศึกษาแห งชาติ พ.ศ. 2552 ที่กาหนด และภาษาต่างประเทศ ปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรม
มาตรฐานของผลการเรียนรูครอบคลุม 5 ด้าน คือ 1)

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

178 Vocational Education Innovation and Research Journal 178

วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ปัญหาทางด้านความรู้ความสามารถทางด้านวิชาการ 2. วัตถปุ ระสงคก์ ำรวิจัย
ปัญหาด้านการขาดความสามารถในเชิงการคิด 2.1 เพื่อศึกษาองค์ประกอบหลักและตัวบ่งชี้ของ
วิเคราะห์และการคิดในเชิงบูรณาการ ปัญหาในด้าน
การขาดการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ และ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ท่ี พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ส า ห รั บ นั ก ศึ ก ษ า ค รู ช่ า ง
ปัญหาการขาดนิสัยของการใฝ่รู้ เป็นต้น [5] ในการ อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล
พั ฒ น า ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ส า ม า ร ถ ด า ร ง ชี วิ ต ไ ด้ อ ย่ า ง มี
ความสขุ ทัง้ ดา้ นการดาเนินชวี ิตและดา้ นหน้าทกี่ ารงาน 2.2 เพื่อยืนยันองค์ประกอบหลักและตัวบ่งชี้ของ
สามารถปรับตัวให้รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง สามารถ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่าง
เอาตัวรอด เป็นบัณฑิตที่มีคุณสมบัติพร้อม และ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล
ประสบความสาเร็จในการทางานได้นั้น จาเป็นต้อง
เส ริม ส ร้า ง ให้ นั กศึ กษ า มี คุณ ลั กษ ณ ะ ที่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ 3. ขอบเขตกำรวิจยั
พัฒนาจิตสานึกตอ่ ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม จิตสานกึ 3.1 ขอบเขตด้านกลมุ่ เปา้ หมายที่ทาการศกึ ษา
ต่อการเป็นพลเมืองท่ีดีให้สังคมในอนาคตน่าอยู่มาก 3.1.1 แนวคดิ หลกั การ ทฤษฎี เอกสาร
ยิ่งขึ้น [6] ซ่ึงจะต้องเสริมสร้างผู้เรียนให้มีทักษะการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างนิสัยใฝ่รู้ มีความคิดสร้างสรรค์ บทความ และงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวข้องเป็นจานวน 26
มีคุณธรรม มีระเบียบวินัย มีการเรียนรู้ในศาสตร์ แหล่งข้อมลู
วิทยาการให้สามารถประกอบอาชีพได้อย่าง
หลากหลาย และมีความสามารถในการเข้าถึงองค์กร 3.1.2 ผทู้ รงคุณวุฒิจานวน 5 คน เพื่อยนื ยัน
กลุม่ บุคคล ชุมชน ประชาชน และสือ่ ต่าง ๆ ได้ [3] องค์ประกอบของคุณลักษณะที่พึงประสงค์สาหรับ
นักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
ผ้วู ิจยั จึงสนใจศึกษาวิจยั เร่ือง องค์ประกอบและ ราชมงคล
ตัวบ่งช้ีคุณลักษณะที่พึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครู
ช่างอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 3.2 ขอบเขตดา้ นตวั แปรทที่ าการศกึ ษา
เพ่ือที่จะทาให้ทราบถึงคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ ตวั แปรทีท่ าการศกึ ษาดงั นี้ องคป์ ระกอบหลัก
นักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม เพื่อสามารถนาไปเป็น
แนวทางในการกาหนดนโยบาย การจัดกิจกรรม/ และตัวบ่งชี้ของคุณลักษณะที่พึงประสงค์สาหรับ
โครงการ การปรบั ปรุงหรอื พัฒนาหลกั สตู ร การจดั การ นักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
เรียนการสอนของหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรม ราชมงคล ประกอบด้วย ประกอบด้วย 1. ด้านทักษะ
บัณฑิต ที่เหมาะสมเอ้ือต่อการพัฒนานักศึกษา ปัญญา 2. ด้านความรู้ และ 3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ให้สอดรับกับการ
เปลี่ยนแปลงในสังคมไทยและสงั คมโลก เป็นการสรา้ ง 3.3 ขอบเขตดา้ นสถานท่ี
ความสมดุลระหว่างเทคโนโลยีท่ีทันสมัยกับทรัพยากร ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ม ห า ส า ร ค า ม
มนุษย์ อันเป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมได้
อย่างมั่นใจ และเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต
การศึกษาของสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอน ขอนแก่น และสถานที่ทางานของผูท้ รงคุณวุฒิ
อาชีวศึกษา อันจะนาไปสู่การพัฒนาประเทศไทยให้
เจริญมั่นคงสบื ไป 4. วิธดี ำเนินกำรวิจัย
การดาเนินการวิจัยผู้วิจัยมีกระบวนการในการ

วิเคราะห์ – สังเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
จนนาไปสขู่ ั้นตอนการยืนยันองค์ประกอบหลักและตัว
บ่งชี้คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่าง
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลโดย
ผู้ทรงคุณวฒุ ิ โดยมขี ั้นตอนดังน้ี

4.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง เป็น
กระบวนการที่ผู้วิจัยรวบรวมแนวคิด เอกสาร กรอบ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 179

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา นโยบายการพฒั นา องคป์ ระกอบหลกั แหลง่ ข้อมลู
คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ นั ก ศึ ก ษ า / บั ณ ฑิ ต ข อ ง และตัวบ่งชี้ 1
สถาบันการศึกษาต่าง ๆ และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับ 2
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษา และ 1. ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 3
บัณฑิต จานวน 26 แหล่งข้อมูล [1], [7] – [31] 1) ตวั บ่งชี้ 2) ตัวบ่งช้ี …
26
4.2 การวิเคราะห์ความสอดคล้องข้อมูล เป็น 2. ด้านความรู้
กระบวนการท่ีผู้วิจัยนาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทั้งหมด 1) ตวั บ่งช้ี 2) ตัวบ่งช้ี ความ ่ีถ
ที่รวบรวมมาวิเคราะห์–สังเคราะห์ความถี่ ของ
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก แ ล ะ ตั ว บ่ ง ช้ี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ท่ี พึ ง 3. ดา้ นทกั ษะทางปัญญา
ประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม ด้วย 1) ตวั บง่ ชี้ 2) ตวั บ่งช้ี
ตารางเมตริก โดยมีขน้ั ตอนการดาเนนิ การดังน้ี คือ
จากตารางที่ 1 เป็นการตรวจสอบความ
4.2.1 นากรอบมาตรฐานการเรียนรู้ ท่ี ส อ ด ค ล้ อ ง ข อ ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก แ ล ะ ตั ว บ่ ง ช้ี
กาหนดไว้ในมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขา คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่าง
ครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์อุตสาหกรรม [1] ที่ อุตสาหกรรม โดยการทาเคร่ืองหมาย ✓ในช่องที่
ประกอบด้วย 1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2) ด้าน องค์ประกอบหลักและตัวบ่งช้ีมีความตรงกันหรือ
ความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะ สอดคล้องกับแหล่งข้อมูล
ความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ และ
5) ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร 4.3 สรุปผลการวิเคราะห์– สังเคราะหข์ ้อมูล เป็น
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นตัวตั้งในการ กระบวนการท่ีผู้วิจัยนาเอาองค์ประกอบหลักและตัว
พิจารณา บ่งช้ีคุณลักษณะที่พึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่าง
อตุ สาหกรรม ทมี่ คี วามสอดคล้องกัน ตั้งแต่ 13 ความถี่
4.2.2 พิจารณาองค์ประกอบหลักและตัว (ร้อยละ50) ข้ึนไปผู้วิจัยจะนามาเป็นองค์ประกอบ
บ่งช้ีจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ห ลั ก แ ล ะ ตั ว บ่ ง ช้ี ข อ ง ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่
นโยบายการคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์นักศึกษาหรือ พึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม
บัณฑิตของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ และงานวิจัยท่ี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล
เก่ยี วขอ้ ง ว่ามีความสอดคล้องกับแนวคดิ องค์ประกอบ
ตามข้อ 1) หรือไม่ ด้วยตารางเมตริก แสดงตัวอย่าง 4.4 การสร้างเคร่ืองมือ(แบบสัมภาษณ์) เป็น
การวิเคราะห์-สงั เคราะห์องคป์ ระกอบหลกั และตัวบ่งช้ี กระบวนการที่ผู้วิจัยศึกษาหลักการ ทฤษฎี เก่ียวกับ
คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ท่ี พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ส า ห รั บ นั ก ศึ ก ษ า ค รู ช่ า ง การออกแบบและสร้างแบบสัมภาษณ์ หรือเทคนิค
อตุ สาหกรรม ดงั ตารางที่ 1 วิธีการการสัมภาษณ์ โดยแบบสัมภาษณ์แบบกึ่ง
โครงสร้าง ประกอบด้วย 1) คาช้ีแจงในการสัมภาษณ์
ตำรำงที่ 1 ตัวอยา่ งการวิเคราะห์-สังเคราะห์ งานวิจัย 2) ข้อคาถามในการสัมภาษณ์เกี่ยวกับข้อมูล
องค์ประกอบและตัวบ่งชคี้ ุณลกั ษณะที่ พื้นฐานของผู้ทรงคุณวุฒิ และข้อคิดเห็นของ
พงึ ประสงค์สาหรบั นกั ศึกษาครชู า่ ง ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ใ น ป ร ะ เ ด็ น เ ก่ี ย ว กั บ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่ พึ ง
อุตสาหกรรม ป ร ะ ส ง ค์ ส า ห รั บ นั ก ศึ ก ษ า ค รู ช่ า ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม
ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล แ ล ะ 3)
ข้อเสนอแนะของทรงคุณวุฒิในประเด็นเก่ียวกับ

คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่าง
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 180

180 วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

4.5 การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวฒุ ิ เป็นกระบวนการ 5.3.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอนงค์
ที่ผู้วิจยั ดาเนนิ การเข้าสัมภาษณ์ผู้ทรงคณุ วฒุ ิจานวน 5 ปัญญาศิริรัตน์ สังกัดคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
ค น เพื่ อยื น ยั น อง ค์ ป ร ะ ก อบ หลัก แ ล ะตัวบ่งชี้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่าง
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตาม 5.3.3 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จารุวรรณ
กาหนดเวลาและสถานทต่ี ามท่ีนัดหมาย ธาระศัพท์ สังกัดคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
4.6 สรุปผลการสัมภาษณ์ยืนยันองค์ประกอบ
ห ลั ก แ ล ะ ตั ว บ่ ง ชี้ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ส า หรับ 5.3.4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญชัย
นกั ศึกษาครชู า่ งอุตสาหกรรม เป็นกระบวนการท่ผี ู้วิจยั เหล า หา สั ง กั ด ค ณ ะ ค รุ ศ า สต ร์ อุ ต สาหกรรม
แปลผลของข้อมูลการสัมภาษณ์ด้วยการวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน
เน้อื หา (Content analysis)
5.3.5 นายอานาจ ทองแสน (ครู
5. กลุ่มเป้ำหมำยท่ที ำกำรศกึ ษำ เชีย่ วชาญ) สังกดั วิทยาลัยเทคนิคอดุ รธานี สถาบนั การ
5.1 แนวคิด หลักการ ทฤษฎี เอกสาร บทความ อาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1

และงานวจิ ัยท่เี กีย่ วข้องเปน็ จานวน 26 แหลง่ ข้อมลู 6. เคร่อื งมือกำรวจิ ยั
5.2 ผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ือเปน็ การยืนยนั องค์ประกอบ 6.1 ต า ร า ง เ ม ต ริ ก วิ เ ค ร า ะ ห์ -สั ง เ ค ร า ะ ห์

หลักและตัวบ่งชี้ของคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สาหรับ องค์ประกอบและตัวบ่งช้ีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
นักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี สาหรับนักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย
ราชมงคล ที่ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาวิเคราะห์ – เทคโนโลยีราชมงคล
สังเคราะห์จากแหล่งข้อมูล จากน้ันได้ทาการคัดเลือก
ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง 6.2 แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง เพื่อยืนยัน
(Purposive Sampling) ซึ่งผู้วิจัยได้กาหนดคณุ สมบตั ิ ยืนยันองค์ประกอบหลักและตัวบ่งชี้คุณลักษณะท่ีพึง
ของผูท้ รงคณุ วฒุ ิไว้ดงั น้ี ป ร ะ ส ง ค์ ส า ห รั บ นั ก ศึ ก ษ า ค รู ช่ า ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล
5.1 เป็นผู้ที่มีประสบการณ์สอนในกลุ่มช่าง
อุ ต ส า ห ก ร ร ม ท้ั ง ใ น ส ถ า บั น ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า 7. กำรวเิ ครำะห์ขอมลู
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัย/ การวิจัยคร้ังนี้วิเคราะห์ข้อมูลโดย ความถี่ และ
สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ หรือ
การวเิ คราะหเ์ นื้อหา
5.2 เป็นผทู้ ม่ี วี ฒุ ทิ างการศึกษาตั้งแต่ปริญญา
โทขึ้นไปหรือ 8. ผลกำรวิจัย
ผลการวเิ คราะห์-สังเคราะห์องค์ประกอบหลักของ
5.3 เป็นผู้ที่มีตาแหน่งทางวิชาการเทียบเท่า
ระดับชานาญการพเิ ศษ หรือผชู้ ่วยศาสตราจารยข์ ึน้ ไป คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่าง
แล้วทาการคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิตามคุณสมบัติท่ี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลจาก
กาหนดไวด้ งั ข้างต้นได้จานวน 5 คน ดงั นี้ แหล่งข้อมูล 26 แหล่งข้อมูล โดยใช้ตารางเมตริก
สามารถสรุปองค์ประกอบหลักและตัวบ่งชีด้ งั ตารางที่ 2
5.3.1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนันท์
มูลสระดู่ สังกัดคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ธนบรุ ี

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 181

วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ตำรำงท่ี 2 สรุปองค์ประกอบหลกั และตัวบง่ ช้ี การวิเคราะห์เน้ือหา สามารถ สรุปผล ยืนยัน
คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์สาหรบั นกั ศกึ ษา องคป์ ระกอบดงั แสดงในตารางท่ี 3
ครชู ่างอุตสาหกรรม

องคป์ ระกอบ ตวั บง่ ช้ี ตำรำงท่ี 3 สรปุ การยืนยันองค์ประกอบหลักและ
หลกั ตวั บ่งชขี้ องคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์
1.1) มคี วามสามารถและทักษะในสาขา สาหรับนกั ศกึ ษาครชู ่างอตุ สาหกรรม
1. ด้ำนทักษะ วิชาชีพ
ปัญญำ องคป์ ระกอบ ตัวบง่ ชี้
1.2) มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์- หลกั
2.ด้ำนควำมรู้ สงั เคราะห์ 1.1) มคี วามสามารถและทกั ษะในสาขา
1. ด้ำนทักษะ วิชาชพี
3.ด้ำน 1.3) มภี าวะความเป็นผนู้ าทดี่ ี ปัญญำ
คณุ ธรรม 1.4) มคี วามสามารถในการทางานเปน็ ทมี 1.2) มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์-
จรยิ ธรรม 2.ด้ำนควำมรู้ สังเคราะห์
2.1) มคี วามรใู้ นศาสตรส์ าขาวชิ าชพี
2.2) มีความรใู้ นศาสตรท์ ่เี กีย่ วข้อง 3.ด้ำนคณุ ธรรม 1.3) มภี าวะความเปน็ ผ้นู าทด่ี ี
2.3) มคี วามรู้และทกั ษะในการสอื่ สารและ จริยธรรม 1.4) มคี วามสามารถในการทางานเป็นทมี
1.5) มคี วามรแู้ ละทกั ษะในการสรา้ ง
การถา่ ยทอด
2.4) มคี วามรแู้ ละทักษะในการใช้ นวัตกรรมทางชา่ งอตุ สาหกรรม
1.6) มที ักษะการบรหิ ารจัดการงาน
ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
2.5) มคี วามรู้และเทา่ ทันการเปลย่ี นแปลง อุตสาหกรรม
2.1) มคี วามรู้ในศาสตรส์ าขาวิชาชพี และ
ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.6) มีความรแู้ ละทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีใน ศาสตร์ท่ีเกยี่ วขอ้ ง
2.2) มีความรู้และทักษะในการสอ่ื สาร
สาขาวชิ าชีพ
2.7) มคี วามสามารถในการประยกุ ตใ์ ช้ และการถา่ ยทอดทั้งภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.3) มีความรูแ้ ละเทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลง
3.1) มรี ะเบียบวินัย ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
3.2) มีความรบั ผิดชอบ 2.4) มีความรูแ้ ละทกั ษะการใช้เทคโนโลยี
3.3) มีความซื่อสัตย์สุจรติ ในสาขาวิชาชพี
3.4) มคี วามอดทน ขยัน หม่นั เพียร 2.5) มีความสามารถในการประยกุ ตใ์ ช้
3.5) มจี รรยาบรรณในวิชาชพี เทคโนโลยสี ารสนเทศ
3.6) มีจติ อาสา 2.6) มีความรูด้ ้านความปลอดภยั และ
มาตรฐานวชิ าชพี ช่างอุตสาหกรรม
จากตารางที่ 2 เป็นตวั บ่งช้หี ลกั และตวั บ่งช้ีที่มี 3.1) มีระเบียบวินยั
ความสอดคลอ้ งกนั ต้งั แต่ 13 ความถ่ี (ร้อยละ50) โดย 3.2) มีความรบั ผดิ ชอบ
จะประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก 27 ตัวบ่งช้ี คือ 3.3) มีความซอ่ื สัตยส์ จุ รติ
ด้านทักษะทางปัญญา จานวน 4 ตัวบ่งช้ี ด้านความรู้ 3.4) มีความอดทน ขยันหมนั่ เพยี ร
จานวน 7 ตวั บ่งชี้ และด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม จานวน 3.5) มีจรรยาบรรณในวชิ าชพี
6 ตัวบ่งชี้ และผู้วิจัยนาผลที่ได้จากการวิเคราะห์- 3.6) มีจิตอาสา
สังเคราะห์ไปยืนยันองค์ประกอบหลกั ของคุณลกั ษณะ
ท่ีพึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม จากตารางท่ี 3 ข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล โดยการสัมภาษณ์ สังเคราะห์ด้วยตารางเมตริก (Matrix table) และ
ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดย ยืนยันโดยผู้ทรงคุณวุฒิโดยสามารถสรุปการวิเคราะห์

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

182 Vocational Education Innovation and Research Journal 182

วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

เน้ือหา การสัมภาษณ์ คือ องค์ประกอบหลัก ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ 2.3) มีความรู้และ
คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ส า หรั บ นั ก ศึ ก ษ า ฯ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นสอดคล้องกับการวิเคราะห์ 2.4) มีความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยีในสาขา
เพราะด้านดา้ นทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและ วิชาชีพ 2.5) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้
ความรับผิดชอบ และด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.6) มีความรู้ด้านความ
ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี ที่กาหนดไว้ ปลอดภัยและมาตรฐานวิชาชีพช่างอุตสาหกรรม
เป็นตัวตั้งในการวิเคราะห์เป็นสิ่งที่แทรกอยู่ในตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 3) ด้านคุณธรรมจริยธรรม จาแนกตัว
ย่อยอยู่แล้ว ส่วนตัวบ่งชีข้ องคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ บ่ ง ชี้ ไ ด้ ดั ง น้ี 3.1) มี ร ะ เ บี ย บ วิ นั ย 3.2) มี ค ว า ม
ของนักศึกษาฯ 1) ด้านทักษะปัญญา สรุปได้ว่าจาก รับผิดชอบ 3.3) มีความซื่อสัตย์สุจริต 3.4) มีความ
จานวน 4 ตัวบ่งช้ี ข้อควรเพ่ิมเติมให้นักศึกษาครูช่าง อดทน ขยันหม่ันเพียร 3.5) มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
อุตสาหกรรม มีความสามารถและทักษะในการสร้าง 3.6) มจี ิตอาสา
นวัตกรรมทางช่างอุตสาหกรรม และมีทักษะการ
บริหารจัดการงานอุตสาหกรรม รวมเป็น 6 ตัวบ่งชี้ 10. อภปิ รำยผลกำรวิจยั
2) ด้านความรู้ สรุปได้ว่าจากจานวน 7 ตัวบ่งช้ีควรมี 10.1 ผลการวิจัยพบว่าองค์ประกอบหลัก
การควบรวมตัวบ่งช้ีท่ีมีความคล้ายคลึงกันเช่น มี
ความรใู้ นศาสตร์สาขาวิชาชีพและศาสตรท์ ีเ่ ก่ยี วขอ้ ง มี คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สาหรับนกั ศึกษานกั ศึกษาครู
ความรู้และทักษะในการสื่อสารและการถ่ายทอดทั้ง ช่างอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เป็นต้น และควรให้ ประกอบด้วย 3 ด้านคือ 1) ด้านทักษะปัญญา 2)ด้าน
เพ่ิมการมีความรู้ด้านความปลอดภัยและมาตรฐาน ความรู้ และ 3) ด้านคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งสอดคล้อง
วิชาชีพช่างอุตสาหกรรม รวมเป็น 6 ตัวบ่งชี้ และ กับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ
3) ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม สรุปได้วา่ จากจานวน 6 ตัว ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 [1] ที่กาหนดว่า
บ่งชี้ เห็นว่ามีความเหมาะสมดังท่ีมีการวิเคราะห์- มาตรฐานผลการเรียนรู้ของแต่ละระดับคุณวุฒิใน
สงั เคราะห์ไวแ้ ล้ว ระดับปริญญาตรีของสถาบันอุดมศึกษาต้องกาหนด
เป้าหมายและดาเนนิ การจัดการศึกษาเพอื่ ผลติ บณั ฑิต
9. สรปุ ผลกำรวจิ ยั ให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์อย่างน้อย 5 ด้าน 1)
องค์ประกอบหลักและตัวบ่งช้ีของคุณลักษณะที่ ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะ
ทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คล
พึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม และความรับผิดชอบ และ 5) ทักษะการคิดวิเคราะห์
องค์ประกอบท่ี 1) ด้านทักษะปัญญา จาแนกตัวบง่ ชไ้ี ด้ เชงิ ตวั เลข การสือ่ สารและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ดังน้ี 1.1) มีความสามารถและทักษะในสาขาวิชาชีพ
1.2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์-สังเคราะห์ 10.2 ผลการวิเคราะห์–สังเคราะห์และการ
1.3) มีภาวะความเป็นผู้นาท่ีดี 1.4) มีความสามารถใน ยื น ยั น ก า ร ศึ ก ษ า ตั ว บ่ ง ชี้ ด้ า น ทั ก ษ ะ ปั ญ ญ า
การทางานเป็นทีม 1.5) มีความรู้และทักษะในการ ประกอบด้วย 6 ตัวบ่งช้ี คือ 1) มีความสามารถและ
สร้างนวัตกรรมทางชา่ งอุตสาหกรรม 1.6) มีทักษะการ ทักษะในสาขาวิชาชีพ 2) มีความสามารถในการคิด
บริหารจัดการงานอุตสาหกรรม องค์ประกอบท่ี 2) วิเคราะห์-สังเคราะห์ 3) มีภาวะความเป็นผู้นาท่ีดี 4)
ด้านความรู้ จาแนกตัวบ่งชี้ได้ดังนี้ 2.1) มีความรู้ใน มีความสามารถในการทางานเป็นทีม 5) มีความรู้และ
ศาสตร์สาขาวิชาชีพและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 2.2) มี ทักษะในการสร้างนวัตกรรมทางช่างอุตสาหกรรม 6)
ความรู้และทักษะในการส่ือสารและการถ่ายทอดท้ัง มี ทั ก ษ ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ซึ่ ง
สอดคล้องกับงานวิจัยของ สุรเกียรติ ธาดาวัฒนาวิทย์

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 183

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

[28] ได้ทาการวิจัยเรื่อง คุณลักษณะบัณฑิตท่ี อดทน ขยันหมั่นเพียร 5) มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 6)
ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ต า ม แ น ว มีจิตอาสา ซ่ึงสอดคล้องกับ มาตรฐานคุณวุฒิระดับ
“ ป ร ะ เท ศ ไ ท ย 4.0” โ ด ย ใ น ง า น วิ จั ย ไ ด้ เสนอ ปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์อุตสาหกรรม (หลักสูตรสี่
คุณลักษณะบัณฑิตที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ปี) พ.ศ. 2562) [7] ได้กาหนดคุณลักษณะบณั ฑติ ท่พี งึ
ไทยตามแนว “ประเทศไทย 4.0” มี 12 ประเด็น คือ ประสงค์ สาขาครุศาสตร์อุตสาหกรรม มีวัตถุประสงค์
1) การคิดวเิ คราะห์ 2) การคิดสรา้ งสรรค์ 3) การสร้าง เพื่อผลิตบัณฑิตทางด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ด้าน
ผลงาน 4) ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม 5) ทางานรว่ มกบั เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ประกอบด้วยตัวบ่งช้ี
ผู้อ่ืน 6) ภาวะผู้นา 7) ภูมิใจในความเป็นไทย 8) เช่น มีจรรยาบรรณวชิ าชีพ มคี วามรัก ศรทั ธา ซ่อื สัตย์
ความรู้ด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล 9) เรียนรู้ตลอดชีวิต สุจริต มีความรับผิดชอบ เอาใจใส่ และช่วยเหลือ เห็น
10) ส ม ร ร ถ น ะ ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม 11) ค ว า ม เป็ น แก่ประโยชนผ์ ู้อ่ืน เป็นแบบอยา่ งทด่ี ี
ผู้ประกอบการ และ 12) ทกั ษะการทางาน
11. ขอ้ เสนอแนะจำกงำนวจิ ัย
10.3 ผลการวิเคราะห์ –สังเคราะห์และการ 11.1 ขอ้ เสนอแนะชิงนโยบาย
ยืนยันการศึกษาตัวบ่งชี้ด้านความรู้ ประกอบด้วย 6 ค ณ ะ วิ ช า ที่ จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ น
ตัวบ่งช้ี คือ 1) มีความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาชีพและ
ศาสตร์ท่ีเก่ียวข้อง 2) มีความรู้และทักษะในการ หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต(ครูช่าง
สื่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ท้ั ง ภ า ษ า ไ ท ย แ ล ะ อุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ควร
ภาษาต่างประเทศ 3) มีความรู้และเท่าทันการ นาองค์ประกอบหลักและตัวบ่งช้ีน้ีไปเป็นแนวทางใน
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ 4) มีความรู้ การกาหนดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สาหรับนกั ศึกษา
และทักษะการใช้เทคโนโลยีในสาขาวิชาชีพ 5) มี ครูช่างอุตสาหกรรม โดยส่งเสริมให้ผู้ที่มีส่วนได้เสียมี
ความสามารถในการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนร่วมในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ
6) มีความรู้ด้านความปลอดภัยและมาตรฐานวิชาชีพ นั ก ศึ ก ษ า ค รู ช่ า ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ทั้ ง ค ณ ะ ผู้ บ ริ ห า ร
ช่างอุตสาหกรรม ซึ่งสอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิต อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
ที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม รายวิชา องค์การนักศึกษา ฝ่ายหรือหน่วยงานต่าง ๆ
เกล้าธนบุรี [25] ซ่ึงคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ ของคณะเป็นต้น จะส่งผลให้นักศึกษาและผู้สาเร็จ
ประกอบดว้ ย 1) ค่านยิ มทดี่ ี ประกอบดว้ ยตวั บ่งชี้ เชน่ การศึกษาจากหลั กสูต รค รูช่าง อุตสา ห ก ร ร ม
ความกตัญญูกตเวที รู้จักกาละและเทศะ ให้เกียรติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มีคุณลักษณะ
ผู้อ่ืน มีจิตใจดีงาม อยู่ในกรอบศิลธรรม 2) ศักยภาพ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
และความสามารถ ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ เชน่ มคี วามรู้ วัตถุประสงค์ของคณะ และความต้องการของสังคม
ทางวิชาการ มีระบบการคิดที่มีเหตุผล มีความถนัด ต่อไป
ทางเทคโนโลยี ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีกับการทางาน มี
ทักษะการสื่อสาร และ 3) ความเปน็ ผ้นู า ประกอบดว้ ย 11.2 ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยคร้งั ตอ่ ไป
ตัวบ่งช้ี เช่น สามารถเป็นผู้นา ความสามารถในการ 11.2.1 ควรศกึ ษาสภาพปญั หาและความ
ประสานงาน การปฏิบตั งิ านในวชิ าชีพ
ต้องการในการพฒั นาคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์สาหรับ
10.4 ผลการวิเคราะห์–สังเคราะห์และการ นักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ยื น ยั น ก า ร ศึ ก ษ า ตั ว บ่ ง ช้ี ด้ า น คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม ราชมงคล เพอ่ื ให้ทราบถึงมุมมอง แนวคดิ สภาพความ
ประกอบด้วย 6 ตัวบ่งช้ี คือ 1) มีระเบียบวินัย 2) มี เป็นจริงท้ังในปัจจุบันและอนาคตจาก ผู้บริหาร
ความรับผิดชอบ 3) มีความซื่อสัตย์สุจริต 4) มีความ อาจารย์ นักศึกษา ผู้ที่สาเร็จการศึกษา และผู้ใช้
บัณฑิต เพื่อจะเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุง

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

184 Vocational Education Innovation and Research Journal 184

วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

คุณลักษณะที่พึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่าง เอกสำรอ้ำงอิง
อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตอ่ ไป [1] กระทรวงศึกษาธิการ. สานกั งาน
คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา. (2552).
11.2.2 ควรศึกษารูปแบบการพัฒนา ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์สาหรับนักศึกษาครูช่าง มาตรฐานคณุ วฒุ ิ ระดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลที่ พ.ศ.2552. เขา้ ถึงเมื่อ (10 ตลุ าคม 2562)
เหมาะสม เพื่อท่ีจะสามารถนาไปเป็นแนวทางในการ เข้าถึงได้จาก (http://www.mua.go.th
นาไปใช้ประโยชน์ในการกาหนดนโยบาย การจัด /users/tqf-hed/news/FilesNews/
กิจกรรม/โครงการ การปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตร FilesNews2/news2.pdf.)
การจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรครุศาสตร์ [2] มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
อุตสาหกรรมบัณฑิต ที่เหมาะสมเอ้ือต่อการพัฒนา (2562). หลักสตู รครุศาสตร์อตุ สาหกรรม
นักศึกษา บุคลากรท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในแต่ละด้าน ให้ บณั ฑิต (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)
สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงในสงั คมไทยและสังคมโลก [3] สานกั นายกรฐั มนตรี. สานักงาน
เป็นการสร้างความสมดุลระหว่างเทคโนโลยีที่ทนั สมยั คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คม
กบั ทรัพยากรมนษุ ย์ อนั เปน็ การเตรยี มความพร้อมเข้า แห่งชาติ (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และ
สู่สังคมได้อย่างม่ันใจ และเป็นกาลังสาคัญในการ สังคมแหง่ ชาติฉบบั ที่ 11(2555-2559).
พัฒนาการศึกษาของสถาบันการอาชีวศึกษาและ [4] Ministry of Education. (2011).
ประเทศไทยให้เจรญิ ยิง่ ข้ึนตอ่ ไป Guidelines for Learning
Management Toward ASEAN
12. กิตตกิ รรมประกำศ Community. Bangkok: The
งานวิจัยนี้จะสาเร็จสมบูรณ์ได้ด้วยดี ด้วยความ Agricultural Co-operative Federation
of Thailand, LTD: Printing House.
ช่วยเหลืออย่างย่ิงจากรองศาสตราจารย์ ดร.ศิริ [5] สธุ รรม อารีกลุ . (2540). อดุ มศกึ ษาไทย :
ถีอาสนา รองศาสตราจารย์ ดร.สมเจตน์ ภูศรี ที่ให้ วกิ ฤตและทางออก. กรงุ เทพฯ: สานักงาน
ความช่วยเหลือ สนับสนุน และตรวจทานแก้ไข กองทุน สนบั สนนุ การวจิ ัย.
ขอ้ บกพรอ่ งเพื่อใหง้ านวิจยั นมี้ ีความสมบูรณด์ ว้ ยความ [6] กระทรวงวฒั นธรรม. สานักเฝา้ ระวงั ทาง
เอาใจใส่เป็นอย่างดี ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวฒุ ิทใี่ ห้ความ วฒั นธรรม. (2559). นักเรียน/นกั ศกึ ษา
อนเุ คราะหใ์ ห้สัมภาษณ์งานวิจยั ตลอดจนให้คาแนะนา แสดงพฤติกรรมชสู้ าวในท่สี าธารณะ
อันเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินงานวิจัยในคร้ังนี้ และ ผู้ปกครองอาจถกู เรียกมาตกั เตือน.
ขอขอบคุณท่านอธิการบดี ท่านรองอธิการบดีประจา เขา้ ถึงเมอื่ (10 ตุลาคม 2562) เขา้ ถึงได้จาก
วิทยาเขตขอนแก่น ท่านคณบดีคณะครุศาสตร์ (https://www.mculture.go.th/
อุตสาหกรรม อาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และนักศึกษา surveillance/ewt_news.php?nid=
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน อีกทั้งบิดา 1308&filename=index.)
มารดา ภรรยา เครือญาติและผู้มีพระคุณทุกท่านที่
ช่วยให้กาลังใจในการทางานวจิ ัยให้สาเร็จ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 185

วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

[7] กระทรวงศึกษาธิการ. สานกั งานคณะกรรม [12] จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . (2555).
การการอดุ มศึกษา. (2562). ประกาศกระทรวง คุณลกั ษณะบัณฑติ ทพี่ งึ ประสงคข์ อง
ศกึ ษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. เขา้ ถงึ เมอ่ื (10
ระดับปริญญาตรี สาขาครศุ าสตร์ ตุลาคม 2562) เข้าถึงไดจ้ าก
อุตสาหกรรม (หลักสตู รสีป่ )ี พ.ศ.2562. http://acad.md.chula.ac.th/
เขา้ ถึงเมอื่ (10 ตุลาคม 2562) เขา้ ถึง upload/article/65/11532416023.pdf)
ได้จาก (http://www.mua.go.th/users
/tqf-hed/news/data6/Bachelor% [13] นงลักษณ์ ใจฉลาด. (2559). คณุ ลกั ษณะที่
20of%20Industrial%20 Education-4Y- พึงประสงคข์ องนกั ศึกษาคณะครศุ าสตร์
2562_m1.pdf.) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏในประเทศไทย.
ในวารสารวชิ าการบัณฑิตวทิ ยาลัย
[8] กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. สานักงาน คณะกรรม มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ , ปีที่ 12 ฉบบั ที่ 3 หนา้
การการอุดมศกึ ษา. (2562). ประกาศ 59-78.
กระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง กรอบ
มาตรฐานคณุ วุฒิ ระดบั ปริญญาตรี สาขา [14] ปญั จา ชชู ่วย, ศัจนนั ท์ แกว้ วงศ์ศรี และ
ครุศาสตร์และสาขาศกึ ษาศาสตร์ (หลกั สตู ร วิภาวรรณา ศรใี หม่. (2558). วเิ คราะห์
สีป่ ี) พ.ศ.2562. เขา้ ถึงเมื่อ (10 ตุลาคม องคป์ ระกอบคุณลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ อง
2562) เข้าถงึ ได้จาก ( http://www.mua. บณั ฑิตสถาบนั อดุ มศึกษาในภาคใต.้ การ
go.th/users/tqf-hed/news/data6/ ประชมุ วชิ าการหาดใหญว่ ชิ าการระดบั ชาติ
Bachelor%20of%20 Industrial%20 ครัง้ ที่ 6.สงขลา : มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่.
Education-4Y-2562_m1.)
[15] พิชยั บุญมาหนองคู, ศริ ิ ถอี าสนา และวฒุ กิ ร
[9] กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. สานกั งานคณะกรรม สายแกว้ . (2557). การพฒั นายุทธศาสตร์
การอาชวี ศึกษา. (2561). ประกาศ เพื่อพัฒนาคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ อง
กระทรวง ศึกษาธิการเรือ่ ง มาตรฐานการ นกั เรียนสานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา
อาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561. เข้าถึงเมอื่ (10 ประถมศึกษามหาสารคามเขต 1. วารสาร
ตุลาคม 2562) เข้าถงึ ไดจ้ าก บรหิ ารการศึกษา มศว. ปีที่ 11ฉบบั ที่ 20.
(http://www.ratchakitcha.soc.go.th/
DATA/PDF/2561/E/228/T4.PDF) [16] พสิ ชา บวั ครนื้ . (2558). การพัฒนาเกณฑ์
และตวั บง่ ช้คี ณุ ลกั ษณะบัณฑติ ทพี่ งึ
[10] กระทรวงศึกษาธกิ าร. สานักงานเลขาธิการ ประสงคเ์ พื่อประเมินนกั ศกึ ษาระดับ
สภาการศกึ ษา. (2561) มาตรฐานการศึกษา ปรญิ ญาตรขี องมหาวิทยาลัยในกากบั ของ
ชาติ พ.ศ. 2561. เขา้ ถึงเมอ่ื (10 ตุลาคม รัฐ. ในวารสารพฒั นาเทคนิคศกึ ษา, ปีที่ 27
2562) เขา้ ถึงได้จาก (http://www.sesa17. ฉบบั ที่ 94.
go.th/site/ images/Publish2.pdf.)
[17] มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน.
[11] จนั ทนา ทองประยูร. (2558). คณุ ลกั ษณะ (2562). คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ทพ่ี ึงประสงค.์
บัณฑติ ไทยทพ่ี งึ ประสงคใ์ นบรบิ ทอาเซียน. เข้าถึงเมอื่ (15 ตลุ าคม 2562) เข้าถึงได้จาก
ในวารสารอเิ ล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกล (https://www.rmuti.ac.th/2019/
เชงิ นวัตกรรม, ปที ่ี 5 ฉบับที่ 1 หนา้ 91-110. resolution/)

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

186 Vocational Education Innovation and Research Journal 186

วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

[18] มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ. [23] มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา.
(2562). คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ท่ีพึงประสงค์ (2558). ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ. พระนครศรอี ยธุ ยาเรือ่ งคุณลกั ษณะบณั ฑติ
เขา้ ถึงเม่อื (15 ตุลาคม 2562) เขา้ ถงึ ได้จาก ท่พี ึงประสงคม์ หาวิทยาลัยราชภัฏ
(http://eq.rmutsb.ac.th/policy.php) พระนครศรอี ยธุ ยา พ.ศ. 2559 – 2562.
เขา้ ถงึ เมอื่ (10 ตุลาคม 2562)
[19] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา. เข้าถึงได้จาก (http://regis.aru.ac.th/register
(2559). ประกาศมหาวิทยาลยั เทคโนโลยี /%E0%B8%0%B8%A8%202559-2562.pdf)
ราชมงคลลา้ นนา คณุ ลกั ษณะบัณฑติ ที่พึง
ประสงคม์ หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล [24] มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระ
ล้านนา พ.ศ. 2559. เข้าถงึ เม่อื (15 ตุลาคม นครเหนอื . (2561). คุณลกั ษณะบณั ฑิตที่พงึ
2562) เข้าถึงไดจ้ าก https://webs.rmutl ประสงค์มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอม
. ac.th/assets/upload/files/2016/08/ เกล้าพระนครเหนอื . เข้าถงึ เม่อื (16 ตุลาคม
20160818112112F_95034.PD) 2562) เขา้ ถงึ ได้จาก ( http://acdserv.kmutnb
.ac.th/desirable-characteristics-of-
[20] มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออก graduates)
(2562). ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลตะวนั ออกคณุ ลกั ษณะบณั ฑิตท่ี [25] มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
พงึ ประสงค์มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช (2562). คุณลักษณะบณั ฑิตท่พี งึ ประสงค์
มงคลตะวนั ออก. เข้าถึงเมอ่ื (16 ตุลาคม ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้
2562) เข้าถึงได้จาก (http://student. ธนบุรี. เข้าถึงเม่อื (14 ตลุ าคม 2562) เข้าถึง
rmutto.ac.th/index.php?menu= ไดจ้ าก (http://web.kmutt.ac.th/saffairs/rule/)
pageside&page=13)
[26] วชั รินทร์ จงกลสถิต, พณิ สดุ า สริ ธิ รังศรี และ
[21] มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. (2555) สวุ มิ ล ว่องวาณิช. (2560). คณุ ลักษณะ
ประกาศมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช บัณฑติ ทนั ตแพทยท์ พ่ี งึ ประสงค์ใน
เรอ่ื งคุณลกั ษณะบัณฑติ ท่พี ึงประสงคมหา ประชาคมอาเซียน. ในวารสารสทุ ธปิ รทิ ัศน์,
วิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช พ.ศ. 2555. ปที ่ี 31 ฉบบั ที่ 98 หน้า 137-149.
เข้าถงึ เมื่อ (16 ตุลาคม 2562) เขา้ ถึงไดจ้ าก
(https://www.stou.ac.th/thai/grad_ [27] วิทยาลยั พระยาบาลบรมราชชนนี อตุ รดิตถ.์
stdy/Masters/filedoc/post/%E0%B8% (2562). คุณลกั ษณะบณั ฑติ ท่ีพึงประสงค์
84%E0%B8) ของวทิ ยาลัยพระยาบาลบรมราชชนนี
อตุ รดิตถ์. เข้าถึงเมื่อ (10 ตุลาคม 2562)
[22] มหาวิทยาลยั มหิดล. (2561) คณุ ลกั ษณะ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก (http://www.sabcnu.com
ของบัณฑติ ท่พี ึงประสงค.์ เขา้ ถึงเม่อื (17 /%e0%b8%84%e)
ตุลาคม 2562) เข้าถึงได้จาก
(http://www.student.mahidol.ac.th [28] สรุ เกียรติ ธาดาวฒั นาวทิ ย์. (2561).
/newstudent/manual61/2- mahidol6.html) คุณลกั ษณะบัณฑิตทสี่ อดคลอ้ งกับการ
พฒั นาประเทศไทยตามแนว “ประเทศไทย
4.0”. วารสารวิทยาลัยดสุ ติ ธานี, 12(2),
404-416.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 187

วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

[29] อธิวัฒน์ โพธ์ิพนา และสเุ มธ พลิ กึ . (2559).
คณุ ลกั ษณะบัณฑติ ท่พี งึ ประสงค์ของมหา
วิทยาลยั เจา้ พระยาตามทศั นะของผูใ้ ช้
บณั ฑติ ภาคใต.้ ในการประชมุ วชิ าการ
ระดับชาติ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 12 หน้า
1625. พิษณโุ ลก : มหาวทิ ยาลัยนเรศวร.

[30] Lozano, R. et al. (2017). Connecting
Competences and Pedagogical
Approaches for Sustainable
Development in Higher Education:
A Literature Review and Framework
Proposal. Access (20 October 2019).
Available (http://www.mdpi.com:8080
/2071- 1050/9/10/1889/pdf.)

[31] World Economic Forum. (2016). The
10 Skills You Need to Thrive in the
Fourth Industrial Revolution.
Access (20 October 2019). Available
(https://www.weforum.org/agenda/
2016/01/the-10-skills-you-need-to-
thrive-in-the-fourth-industrial-revolu

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

188 Vocational Education Innovation and Research Journal 188

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

การพัฒนาหลกั สตู รฝึกอบรมเพื่อพฒั นาสมรรถนะครดู า้ นการจดั การเรียนรู้
แบบใชโ้ ครงงานเป็นฐานของวิทยาลยั การอาชพี ปราณบุรี

Training Course Development to Develop Teacher Competencies in Project Base
Learning Management of Pranburi Industrial and Community Education College

ราชนั ทองคา1* และ กาญจนา บญุ ส่ง2
Rachan TongKum1* and Kanchana Boonsong2

*12สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 76000
*12Administration Program, Faculty of Education, Phetchaburi Rajabhat University, Phetchaburi 76000

Received : 2021-03-08 Revised : 2021-03-16 Accepted : 2021-06-23

บทคดั ยอ่ โครงงานของผู้เรียนท่ีผ่านการเรียนรู้แบบใช้
งานวิจัยน้ีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตร โครงานเป็นฐาน มีค่าความสอดคล้องอยู่ระหว่าง
0.80-1.00 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย
เรยี นร้แู บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน และ 2) ผลการทดลอง พบว่า 1. หลักสูตรฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาสมรรถนะครู
ใช้หลักสูตรฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาสมรรถนะครูด้านการ ด้านการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน ของ
จัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงาน เป็นฐานของวิทยาลัย วิ ท ย า ลั ย ก า ร อา ชีพ ปร า ณ บุรี ท่ี สร้ า งขึ้ น มี 6
การอาชีพปราณบุรี วิธีการดาเนินการวิจัย มี 4 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการและเหตุผลของการ
ขั้นตอน คือ 1) การศกึ ษาขอ้ มลู พนื้ ฐาน 2) การพัฒนา ฝึกอบรม 2) วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม 3)
หลักสูตรฝึกอบรม 3) การทดลองใชห้ ลกั สตู รฝกึ อบรม โครงสรา้ งเน้อื หาของการฝกึ อบรม 4) การจดั กจิ กรรม
และ 4) การประเมนิ หลกั สตู รฝกึ กลุม่ เปา้ หมาย ไดแ้ ก่ ฝึกอบรม 5) ส่ือท่ีใช้ในการฝึกอบรม และ 6) การวัด
ครู จานวน 6 คน และ นกั เรยี น นกั ศึกษา ปกี ารศึกษา และประเมินผล สาหรับเนื้อหาการฝึกอบรมมี 4 ด้าน
2563 จานวน 45 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ 1) ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับสมรรถนะและการ
ประกอบด้วย 1) แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ พัฒนาสมรรถนะ 2) ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับการ
เกี่ยวกับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงาน จัดการเรียนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน 3) ความรู้
เป็นฐานและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ พ้ืนฐานเกี่ยวกับการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบ
โครงงานเป็นฐาน มีค่าความสอดคล้อง อยู่ระหว่าง ใช้โครงงานเป็นฐาน และ 4) แนวทางการเขียน
0.80-1.00 2) แบบประเมินความเหมาะสมของ แผนการจัดการเรียนรู้แบบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน 2. ผล
แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน มีค่า การทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาสมรรถนะ
ความสอดคล้อง อยู่ระหว่าง 0.80-1.00 3) แบบ ครดู า้ นการจัดการเรียน รแู้ บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานของ
ประเมินคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ วิทยาลัยการอาชพี ปราณบุรี พบว่า ครูมีความรู้ ความ
โครงงานเป็นฐานของครูผู้สอน มีค่าความสอดคล้อง เข้าใจเกี่ยวกับสมรรถนะและการจัดการเรียนรูแ้ บบใช้
อยรู่ ะหวา่ ง 0.80-1.00 และ 4) แบบประเมินคุณภาพ โครงงานเป็นฐาน หลังการฝึกอบรมมีสูงกว่าก่อน
ฝึกอบรม มีร้อยละความก้าวหน้า เท่ากับ 85.53
*ราชนั ทองคา

E-mail : [email protected]

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 189

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

นักเรียน นักศึกษาที่ผ่านการเรียนรู้แบบใช้โครงงาน objectives of the training, 3. the structure of
เปน็ ฐาน สามารถทาโครงงานได้ และคณุ ภาพโครงงาน the training content, 4. the organization of
โดยรวม อยู่ในระดับมาก training activities, 5. the training materials and
คาสาคัญ : การพฒั นาหลกั สูตรฝึกอบรม, สมรรถนะ 6. Measurement and evaluation.

ครดู า้ นการจดั การเรียนรู้, การจัดการ There are 4 training content areas :
เรยี นรแู้ บบใช้โครงงานเปน็ ฐาน 1) Fundamentals of Competencyand Competency
Development 2) Fundamentals of Project-
Abstract Based Learning Management 3) Basic Knowledge
The research methodologywasconducted in of Writing a Study Plan. Knowledge in project-
based learning 4) guidelines for writing a
4 steps: 1. basic information study, 2. training project-based learning plan Secondly, the
course development, 3. training course trial results of the experiment using the training
and 4. training course evaluation. The target courses for teacher competency development in
group of this research are 6 teachers and 45 project-based learning management of
students in academic year 2020. The research Pranburi Vocational College. It was found that
instruments are as follows: 1) a test to measure teachers had knowledge and understanding of
the knowledge and understanding of the competency and project-based learning
competency of project-based learning management after training is higher than
management and writing a project-based before training. The percentage of progress is
learning management plan. The consistency 85.53 students who have completed project-
value is between 0.80-1.00; and 2) evaluation based learning able to do project and overall
form for project-based learning management project quality very level.
plan. The consistency value is between 0.80- Keywords : Development of training courses,
1.00 third one is the quality assessment form
of project-based learning activitiesforteachers the Teacher competenciesinlearning
consistency value is between 0.80-1.00. The management, Project-based
fourth one is project quality assessment form learning management
of the learner who has been through the
chronological learning have consistency 1. บทนา
between 0.80-1.00. The statistics that use for การจดั การศึกษาต้องยดึ หลักวา่ ผู้เรยี นทุกคนให้มี
data analysis were percentage, mean and
standard deviation. ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า
ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา
The results of this study showed that : ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ
Firstly, There are 6 components of the และเตม็ ตามศักยภาพ พระราชบัญญตั ิการอาชีวศกึ ษา
Pranburi vocational college on the training พ.ศ.2551 ท่ีเน้นการจัดการอาชีวศึกษาและการ
courses for teacher competency development in ฝึกอบรมวิชาชีพให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกจิ
project-based learning management : 1. the และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)
principles and rationale of the training, 2. the และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 เพ่ือ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 190

190 วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ผ ลิ ต แ ล ะ พั ฒ น า ก า ลั ง ค น ท่ี มี ส ม ร ร ถ น ะ วิ ช า ชี พ ใ น ปั จ จุ บั น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง ด้ า น
มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ อาชีวศึกษา ให้ความสาคัญกับการเรียนรู้ แบบ
สามารถนาไปใช้ในการประกอบอาชีพได้โดยตรงตาม โครงงานเป็นฐาน โดยกาหนดเอาไว้เป็นนโยบายการ
ความต้องการของตลาดแรงงาน ท่ีสอดคล้องกับ จัดการเรียนการสอนทางด้านอาชีวศึกษา [3] การ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี หรือประกอบอาชีพ จัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน มีความ
อสิ ระ [1] การตอบสนองการศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 ที่ เหมาะสมกับผู้เรียนอาชีวะเป็นอย่างมากเพราะ
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเกิด มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561 กาหนด
กระบวนการเรียนรู้ ท่ีเกิดจากความรู้เดิมและความ คุณลักษณะของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึง
ความรู้ใหม่ผสมผสานกนั จนเป็นองค์ความรขู้ องตนเอง ประสงค์ ไว้ว่า 1) ด้านความรู้ ผู้สาเร็จการศึกษา ต้อง
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project มีความรู้ตามหลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติต่าง ๆ
Base Learning) เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด ท่ีเก่ียวข้องกับสาขาวิชาท่ีเรียน และ 2) ด้านทักษะ
ชีวิตมีความสอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วย ผู้สาเร็จการศึกษาต้องมีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี
ตนเอง โดยการสร้างสรรค์ช้ินงานและการเรียนรู้แบบ 21 และท่ีสาคญั การจัดการเรยี นรู้แบบใช้โครงงานเป็น
ร่วมมือซึ่งมีขั้นตอนการเรียนรู้ที่เก่ียวข้องกับการ ฐาน มีหน่วยงานทางการศึกษาได้กาหนดเป็น
แสวงหาความรู้ การใช้กระบวนการคิด และทักษะใน นโยบายและขับเคลื่อนให้สถานศึกษาสังกัดสานักงาน
การแก้ปัญหาผู้เรียนจะเรียนรู้ โดยสร้างองค์ความรู้ คณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้จัดการเรียนการ
ด้วยตนเอง โดยใช้โครงงานเป็นฐานซ่ึงการจัดการ สอน มีการรายงานผลนิเทศติดตามโครงการการ
เรียนรู้ลักษณะนี้ ผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้าทดลอง จัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน
ปฏิบัติและแก้ปัญหาเพ่ือสร้างผลงานหรือช้ินงาน เป็น
การฝึกใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรจู้ ากการกระทาเพ่ือสร้างองค์ บุคคลท่ีมีความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
ความรทู้ ีถ่ าวรด้วยตัวผูเ้ รียนเอง การจดั การเรยี นรแู้ บบ คือ ครู เพราะความรคู้ วามสามารถของครูน้ันจะส่งผล
โ ค ร ง ง า น เ ป็ น ฐ า น ( Project-based Learning) โดยตรงต่อคุณภาพการเรียนรู้ของผูเ้ รียน เพราะในยุค
หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นการ ปัจจุบันกระบวนการเรียนรมู้ ีหลากหลายวิธเี พื่อให้เกดิ
ใช้กิจกรรมโครงงาน ประกอบด้วย 6 ข้ันตอน คือ ขั้น ความสอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน
เตรียมความพร้อม ขั้นกาหนดและเลือกหัวข้อ ข้ัน และสถานศึกษาน้ัน ครูต้องยึดมาตรฐานหลักสูตร
เขียนเค้าโครงของโครงงาน ขั้นปฏิบัติงานโครงงาน วิเคราะห์เน้ือหาให้สอดคล้องกับผู้เรียน เพ่ือนาไปสู่
ข้ันนาเสนอผลงาน และข้ันประเมินโครงงาน โดย คุณภาพการเรียนรู้ ฉะนั้นการพัฒนาสมรรถนะครูให้
อาศัยกระบวนการ 6 ขั้นตอน ในการศึกษาหาคาตอบ เป็นบุคคลท่ีมีคุณภาพเป็นส่ิงจาเป็นอย่างยิ่ง ดังความ
ในเร่ืองนั้น ๆ มีครูผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาคอยกระตุ้น หมายของการพัฒนาสมรรถนะ คือ กระบวนการเพ่ิม
แนะนา และให้คาปรึกษาผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ผลจาก ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร โดยใช้
งานวิจัยของ ปริศนา ทองก้อน สะท้อนให้เห็นว่าหาก วิธีการต่าง ๆ ให้ได้มาซ่ึงการพัฒนาองค์กรให้ประสบ
สามารถพัฒนาให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั การ ความสาเร็จและมีประสิทธิภาพ วิธีการพัฒนาสมรรถนะ
เ ขี ย น แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ บคุ ลากร มหี ลากหลายวธิ ขี นึ้ อยู่กับหนว่ ยงานทจ่ี ะต้อง
จัดการเรียนรู้แบบโครงงานได้น้ันจะเป็นการส่งเสริม เลือกใช้วิธีการต่าง ๆ ตามความเหมาะสม สอดคล้อง
ให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิด และทักษะการแก้ปัญหา กับวัตถุประสงค์ นโยบายของหน่วยงานและให้เหมาะสมกับ
ผเู้ รียนจะเรยี นรโู้ ดยการสร้างองคค์ วามรู้ด้วยตนเองได้ [2] ผ้เู ขา้ รบั การพัฒนา เชน่ การฝึกอบรม การศึกษาดงู าน
การสัมมนา และการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นต้น การ
ฝึกอบรมเป็นกระบวนการท่ีสาคัญและจาเป็นสาหรับ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 191

วารสารวจิ ัยและนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

หน่วยงานต่าง ๆ ที่จะต้องบริหารงานบุคคลให้มี วิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี พบข้อสังเกต โดยมีจุดที่
ประสิทธิภาพเป็นการช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลน ควรพัฒนา 2 ด้าน ได้แก่1) วิทยาลัยฯควรส่งเสริม
ฝีมือ รวมถึงผู้ท่ีมีความสามารถเฉพาะในเรื่องต่าง ๆ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนตามแผนการ
ได้ และเป็นการพัฒนาคนให้มีความรู้ทางด้านทฤษฎี จัดการเรยี นรดู้ ้วยเทคนิควิธีที่หลากหลายมากขน้ึ และ
และปฏิบัติควบคู่กันไป ส่งผลให้บุคลากรมีความ 2) ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะการวิจัยเพ่ือ
เข้มแข็งในงานนั้น ๆ มากย่ิงข้ึน อันจะส่งผลนาไปสู่ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ หรือการคิดค้น
การพัฒนาประเทศได้ในท่ีสุด มีงานวิจัยยืนยันหลาย ส่ิงประดิษฐ์ประเภทต่าง ๆ ตามความถนัดและความ
เร่ืองสนับสนุนว่าเป็นการพัฒนาที่เป็นระบบมากท่ีสุด สนใจของผู้เรียน และท้ายที่สุด สถานศึกษาควรมีการ
ผลการวิจัยเร่ือง การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพ่ือ พัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ
พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ค รู ภ า ษ า ไ ท ย ด้ า น ก า ร ส อ น คิ ด เพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนในระดับก่ึงฝีมือ ระดับ
วิเคราะห์ เมื่อนาหลักสูตรมาใช้ฝึกอบรม พบว่า หลัง ฝีมือ ระดับเทคโนโลยีในทุกสาขาวิชาชีพ ให้มีคุณภาพ
ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม มี ค ะ แ น น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด และมาตรฐาน พัฒนาการการจัดการเรียนการสอนให้
วิเคราะห์สูงกว่าก่อนการฝึกอบรมผลการใช้หลักสูตร เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน จากความเป็นมา
ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูภาษาไทยนั้นมี ดังกล่าว จึงเห็นสมควรในการพัฒนาสมรรถนะครูดา้ น
ประสิทธิภาพสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน [4] เช่นเดียวกบั การจดั การเรยี นรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน ในลักษณะ
ผลการวิจัยของอรุณ ผลจิตร เรื่อง การพัฒนาหลัก การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้
สูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะการจัดการชั้นเรียน ค รู พั ฒ น า ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ค ว า ม ส า ม า ร ถ
ของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถม เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน
ศึกษานครศรีธรรมราช ผลการวิจัยพบว่า หลักสูตร โดยหลักสูตรฝึกอบรมที่พัฒนาขึ้นจะส่งผลให้ ผู้เข้ารบั
ฝึกอบรมเพ่ือเสริมสมรรถนะการจัดการช้ันเรียนของ การฝึกอบรมสามารถนาความรู้ ทักษะจากการ
ครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ฝึกอบรมไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผู้เรียนเพ่ือให้
นครศรีธรรมราช หลักสูตรสามารถเสริมสร้าง เกิดความสอดคล้องกับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่
สมรรถนะการจดั การช้ันเรียนของครู หลงั เสร็จส้นิ การ 21 อยา่ งแท้จรงิ
ฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรม ครูท่ีเข้ารับการ
ฝึกอบรมเห็นวา่ หลกั สตู รมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ 2. วตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั
มากท่ีสุด และประการสุดท้าย การติดตามและ 2.1 เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเพ่ือพัฒนา
ประเมินผลหลังการฝึกอบรม 1 เดือน พบว่า ครู
สามารถนาสมรรถนะการจัดการชั้นเรียนไปบรู ณาการ สมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงาน
และประยุกต์ใช้ อยูใ่ นระดบั ดีถึง ระดบั ดมี าก [5] สว่ น เปน็ ฐาน ของวทิ ยาลัยการอาชีพปราณบรุ ี
ผลการวิจัยของธีรกรณ์ พรเสนาเร่ือง การพัฒนา
หลักสูตรฝึกอบรมเพ่ือสร้างสมรรถนะด้านการวิจัยใน 2.2 เพอ่ื ทดลองใชห้ ลักสูตรหลักสตู รฝกึ อบรมเพือ่
ช้นั เรียนของครูวิทยาลัยการอาชีพสตกึ จงั หวดั บรุ ีรัมย์ พัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบใช้
ผลการวิจัยพบว่า ผู้เข้ารับการการฝึกอบรมมีความรู้ โครงงานเปน็ ฐาน ของวิทยาลัยการอาชพี ปราณบรุ ี
ความเข้าใจการวิจัยในช้ันเรียนหลังการฝึกอบรมสูง
กวา่ กอ่ นการฝึกอบรม [6] 3. วิธดี าเนนิ การวิจยั
3.1 ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ครู และนักเรียน
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม
มาตรฐานสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2562 นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี ประจาปี
การศึกษา 2563 แบ่งเป็น ครู จานวน 6 คน ได้มา
โดยได้รับการคดั เลือกจากมติที่ประชมุ ของสถานศกึ ษา

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

192 Vocational Education Innovation and Research Journal 192

วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

เพื่อเป็นครูแกนนาของแต่ละแผนกวิชา และนักเรียน เพ่ือให้ได้หลักสูตรฝึกอบรมที่เหมาะสมก่อนนาไป
จานวน 25 คน นักศึกษา จานวน 20 คน ได้มาจาก ทดลองใช้จริง
คัดเลอื กของครู
ข้ันตอนที่ 3 การใช้หลักสูตรฝึกอบรม ดังนี้
3.2 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย การดาเนินการวิจยั 1) ขั้นการฝึกอบรมภาคทฤษฎี ผู้วิจัยได้นามาใช้
คร้ังนี้ ผู้วิจัยได้สร้างเคร่ืองมือสาหรับเก็บข้อมูล ฝึกอบรมกับครู วิทยาลัยการอาชีพปราณบุรีจังหวัด
ประกอบการวิจัย คือ 1) แบบทดสอบวัดความรู้ความ ประจวบคีรีขันธ์ จานวน 6 คน ซึ่งเป็นครูท่ีได้รับการ
เข้าใจเกี่ยวกับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้แบบใช้ คัดเลือกจากมติท่ีประชุมของสถานศึกษา เพ่ือเป็นครู
โครงงานเป็นฐานและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ แกนนาของแต่ละแผนกวิชาเข้ารับการฝึกอบรมครั้งน้ี
แบบใช้โครงงานเป็นฐาน จานวน 30 ข้อ 2) แบบ การดาเนินการฝึกอบรมมีภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
ประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้ ในภาคทฤษฎีใช้ระยะเวลา 8 ชั่วโมง 30 นาที มีการ
แบบใช้โครงงานเป็นฐาน จานวน 9 หวั ขอ้ การประเมิน ทดสอบวัดความรู้ ความเข้าใจก่อนและหลังการ
3) แบบประเมินคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ฝึกอบรม เคร่ืองมือท่ีใช้คือ แบบทดสอบวัดความรู้
แบบใช้โครงงานเป็นฐานของครูผู้สอน จานวน 4 ความเข้าใจเกี่ยวกับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้แบบ
หัวข้อการประเมิน และ 4) แบบประเมินคุณภาพ ใช้โครงงานเป็นฐานและการเขียนแผนการจัดการ
โครงงานของผู้เรียนที่ผ่านการเรียนรู้แบบใช้โครงงาน เรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เป็นแบบทดสอบชนดิ
เปน็ ฐาน จานวน 3 หวั ข้อการประเมิน เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ขอ ที่ผ่านการ
วิเคราะห์เชิงเน้ือหาจากผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 คน 2)
3.3 การดาเนินการวิจัย มี 4 ตอน รายละเอียด ส่วนภาคปฏบิ ัตใิ ชร้ ะยะเวลา 12 ชัว่ โมง 30 นาที โดย
ดงั นี้ ครูจานวน 6 คน จะต้องเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
แบบใช้โครงงานเป็นฐาน จานวน 1 แผน และมีการ
ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลพ้ืนฐาน ประเมินความเหมาะสมแผนการจัดการเรียนรู้จาก
ดาเนินการดังน้ี ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาข้อมูลท่ีสาคัญ คณะกรรมการ ก่อนท่ีจะนาไปใช้สอนจริง เครื่องมือที่
และจาเป็นสาหรับการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อ ใช้คือ แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการ
พัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบใช้ จัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เป็นแบบ
โครงงานเป็นฐาน ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะ มาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับ ไดแ้ ก่ มากที่สุด มาก
การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเปน็ ฐาน การพฒั นา ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ผู้ประเมิน จานวน 3 คน
หลักสูตรฝึกอบรม และบริบทวิทยาลัยการอาชีพ ไดแ้ ก่ รองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ หัวหน้างานพฒั นา
ปราณบุรี เพ่ือนาผลจากการศึกษามาเป็นข้อมูล หลักสูตร หัวหน้าแผนกวิชา และ 3) ขั้นติดตามผล
พ้นื ฐานสาหรับการยกร่างหลกั สตู รฝกึ อบรม ระยะเวลา 90 วัน ข้ันตอนนี้เป็นการนาแผนการ
จัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เข้าสู่
ข้ันตอนท่ี 2 การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงาน
ดาเนนิ การดังน้ี ผูว้ จิ ยั ได้นาขอ้ มลู พนื้ ฐานทวี่ ิเคราะหไ์ ด้ เป็นฐาน ให้กับนักเรียนจานวน 25 คน และนักศึกษา
ในขั้นตอนที่ 1 มากาหนดเป็นแนวทางในการพัฒนา จานวน 20 คน หลังจากจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปแลว้
หลักสูตรฝึกอบรม โดยองค์ประกอบของหลักสูตร ประมาณ 30 วัน ได้มีการติดตามเพื่อประเมินผล จาก
ได้มาจากการสังเคราะห์ ซง่ึ ผวู้ จิ ัยไดเ้ ลือกองคป์ ระกอบ คณะกรรมการ จานวน 3 ทา่ น ได้แก่ รองผ้อู านวยการ
ของหลักสูตรฝึกอบรมที่มีความถี่ ร้อยละ 50 ข้ึนไป ฝ่ายวิชาการ หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตร และหัวหน้า
มากาหนดเป็นองค์ประกอบและเนื้อหาการฝึกอบรม แผนกวิชา เคร่ืองมือที่ใช้ คือ แบบประเมินคุณภาพ
จากนั้นนาหลักสูตร ที่พัฒนาขึ้นให้ผู้เชี่ยวชาญจานวน
5 ท่าน ประเมินความเหมาะสมของหลักสตู รฝึกอบรม
ประเมินความสอดคล้องระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 193

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน 4. ผลการวจิ ยั
ของครูผู้สอน และหลังจากนั้นอีก 60 วัน ได้มีการ 4.1 หลักสูตรฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาสมรรถนะครู
ตดิ ตามผลการเรียนร้ขู องนักเรยี นและนกั ศกึ ษาจานวน
45 คน มีการจัดแสดงโครงงานในห้องเรียน และ ด้านการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานของ
ประเมินคุณภาพจากคณะกรรมการ จานวน 3 ท่าน วิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี ท่ีผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มี 6
ได้แก่ รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ หัวหน้างานวิจัย องค์ประกอบ คือ 1) หลักการและเหตุผลของการ
สิ่งประดิษฐ์ และหัวหน้าแผนกวิชา เคร่ืองมือที่ใช้ คือ ฝึกอบรม 2) วัตถุประสงค์การฝึกอบรม 3) โครงสร้าง
แบบประเมินคุณภาพโครงงานของผู้เรียนที่ผ่านการ เนื้อหาของการฝึกอบรม 4) การจัดกิจกรรมฝึกอบรม
เรยี นรูแ้ บบใชโ้ ครงานเป็นฐาน 5) สื่อท่ีใช้ในการฝึกอบรม และ 6) การวัดและ
ประเมนิ ผล สาหรับเน้ือหาของหลักสูตรฝกึ อบรม มี 4
ขั้นตอนท่ี 4 ประเมินประสิทธิผลหลักสูตร ด้าน ได้แก่ 1) ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับสมรรถนะและ
ฝึกอบรม ดาเนินการ โดยนาผลข้อมูลหลังการใช้ การพัฒนาสมรรถนะ 2) ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการ
หลักสูตรมาตรวจสอบกับเกณฑ์ประสิทธิผลของ จัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน 3) ความรู้
หลักสูตร ซึ่งผู้วิจัยได้กาหนดเกณฑ์ประสิทธิผลของ พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบ
หลักสูตร ดังนี้ 1) ครูท่ีได้รับการฝึกอบรม มีความรู้ ใช้โครงงานเป็นฐาน และ 4) แนวทางการเขียน
ความเข้าใจ เกี่ยวกับสมรรถนะและจดั การเรียนรูแ้ บบ แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน
ใช้โครงงานเป็นฐานและการเขียนแผนการจัดการ ภาพรวมผลการประเมินความเหมาะสมของหลักสูตร
เรียนรู้แบบใช้โครงานเป็นฐาน หลังการฝึกอบรมสูง คา่ เฉลย่ี อยู่ในระดับเหมาะสมมากทีส่ ุด
กว่ากอ่ นเขา้ รับการฝึกอบรม คิดเปน็ รอ้ ยละ 80 2) ครู
ที่ได้รับการฝึกอบรม สามารถเขียนแผนการจัดการ 4.2 ผลการทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมเพื่อ
เรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน ภาพรวม มีความ พัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบใช้
เหมาะสม ท่ีค่าระดับ มาก 3) ครทู ไี่ ด้รบั การฝึกอบรม โครงงานเป็นฐานของวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี
สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็น พบวา่
ฐาน ภาพรวม มีคุณภาพระดับ มาก และ 4) นักเรียน
ที่ได้รับการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน สามารถ 1) ครูที่เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ความ
ทางานโครงงานได้ และภาพรวมโครงงานมีคุณภาพ เข้าใจ เก่ียวกับสมรรถนะและจัดการเรียนรู้แบบใช้
ระดับ มาก โครงงานเปน็ ฐานและเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้แบบ
ใช้โครงงานเป็นฐาน หลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการ
3.4 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลการดาเนนิ การ ฝึกอบรม คิดเปน็ ร้อยละ 85.53 แสดงดงั ตารางท่ี 1
วิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบนมาตรฐาน รายละเอียด ตารางที่ 1 แสดงขอ้ มูลเปรยี บเทียบผลคะแนนกอ่ น
ดังนี้ 1) ร้อยละใช้สาหรับวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบ และหลงั การฝึกอบรมของครูผ้เู ขา้ รว่ ม
เทียบผลการทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรม ของ การฝกึ อบรมเพ่ือพัฒนาสมรรถนะครูด้าน
ครูท่ีเข้ารับการฝึกอบรม และ 2) ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบน การจัดการเรยี นรู้แบบใชโ้ ครงงานเปน็
มาตรฐาน ใช้สาหรับประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ฐาน จานวน 6 คน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนและโครงงาน
ของ นกั เรยี น นกั ศกึ ษา

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

194 Vocational Education Innovation and Research Journal 194

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ครผู เู้ ข้ารว่ ม ระดับ ตารางท่ี 3 แสดงขอ้ มลู ผลการประเมนิ คณุ ภาพการ
ศึกษา µ  คณุ ภาพ จัดการเรยี นรู้แบบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน
ของครผู ู้เข้าร่วมการฝึกอบรมจานวน 6 คน
ครคู นท่ี 1 3.84 0.057 มาก

ครูคนท่ี 2 3.50 0.079 ปานกลาง รายละเอียด ระดบั
โครงงาน คณุ ภาพ
ครคู นท่ี 3.50 0.83 ปานกลาง จานวน µ 

ครูคนที่ 4 3.40 0.12 ปานกลาง โครงงาน 5 3.86 0.26 มาก

ครคู นท่ี 5 4.40 0.85 มาก ของนักเรยี น

ครคู นที่ 6 4.30 0.21 มาก โครงงานของ 4 3.88 0.35 มาก
นกั ศกึ ษา
รวม 6 คน 3.82 0.44 มาก
รวม 9 3.87 0.14 มาก

2) ครูที่เข้ารับการฝึกอบรม สามารถเขียน และ 4) นักเรียน นักศึกษา ที่ผ่านการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน และ แบบใช้โครงงานเป็นฐาน สามารถจัดทาโครงงานได้
ความเหมาะสมของแผนการจดั การเรียนรู้ ภาพรวมอยู่ คุณภาพโครงงาน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย
ในระดบั มาก คา่ เฉล่ียเท่ากบั 3.81 แสดงดงั ตารางท่ี 2 เทา่ กบั 3.87 แสดงดังตารางท่ี 4

ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลผลการประเมินความเหมาะ ตารางท่ี 4 แสดงขอ้ มลู ผลการประเมนิ คณุ ภาพ
สมของแผนการจดั การเรยี นรู้แบบใช้ โครงงาน จานวน 9 โครงงาน
โครงงาน เป็นฐาน ของครผู ้เู ขา้ ร่วมการ
ฝกึ อบรมเพ่ือพัฒนาสมรรถนะครูดา้ นการ ระดับ
จัดการเรยี นรแู้ บบใช้โครงงานเปน็ ฐาน
จานวน 6 คน ครูผเู้ ข้ารว่ มศกึ ษา µ  ความ

เหมาะสม

การ จานวน เฉลีย่ ครคู นที่ 1 4.02 0.109 มาก
ทดสอบ ผู้เข้า คะแนน
อบรม คะแนน ท่ีได้ คิดเป็น ครคู นที่ 2 3.79 0.132 มาก
เตม็ รอ้ ยละ
ครูคนท่ี 3.59 0.66 มาก

ก่อน 6 30 17.6 58.66 ครคู นที่ 4 3.67 0.13 มาก
ฝึกอบรม
ครคู นท่ี 5 3.86 0.19 มาก
หลงั
ฝกึ อบรม 6 30 25.66 85.53 ครคู นท่ี 6 3.91 0.18 มาก

รวม 6 คน 3.81 0.18 มาก

3) ครูท่ีผ่านการฝึกอบรม สามารถจัด 5. อภปิ รายผลการวจิ ยั
กิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานให้กับ 5.1 จากผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาหลักสูตร
ผู้เรียน และคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนแบบใช้
โครงงานเป็นฐาน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการ
เทา่ กับ 3.82 แสดงดังตารางท่ี 3 เรยี นรูแ้ บบใช้โครงงานเปน็ ฐาน มี 6 องค์ประกอบ คือ
1) หลักการและเหตุผลของการฝึกอบรม 2 )
VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2 วัตถุประสงค์การฝึกอบรม 3) โครงสร้างเนื้อหาของ
การฝึกอบรม 4) การจัดกิจกรรมฝึกอบรม 5) สื่อท่ีใช้

Vocational Education Innovation and Research Journal 195

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ในการฝึกอบรม และ 6) การวัดและประเมินผล และ 85.53 ผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แสดงว่าหลักสูตรฝึกอบรม
ผ ล ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ห ลั ก สู ต ร ฝึ ก อ บ ร ม เ พ่ื อ พั ฒ น า สามารถพัฒนาให้ครู มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
สมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงาน สมรรถนะและจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน
เป็นฐานของวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี จาก และการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงาน
ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน พบว่าโครงร่างหลักสูตร เป็นฐานเพ่ิมขึน้ จริง ทง้ั นเ้ี น่อื งมาจากเปน็ การฝกึ อบรม
ความเหมาะสม มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด และ ที่ส่งเสริมให้ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมได้ปฏบิ ัตจิ ริง เพื่อให้
ผลการประเมินความสอดคล้องขององค์ประกอบของ เกิดการเรียนรู้ รู้จักวิธีการแก้ไขปัญหา เพ่ิมพูน
หลักสูตรฝึกอบรมในแต่ละด้านเป็นไปตามเกณฑ์ท่ี ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและประสบการณ์เพ่ือ
กาหนดคือมีค่าความสอดคล้องมากกว่า 0.50 ทุก นาไปเป็นแนวทางในการปฏิบัตงิ านการฝกึ อบรม เน้น
ประเด็น หมายความว่าองค์ประกอบของร่างหลักสูตร การปฏิบัติ และเน้นทฤษฎีทาให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้
ฝึกอบรมมีความสอดคลอ้ งกัน อันเนอ่ื งมาจากผูว้ ิจยั ได้ ความสามารถในการปฏิบัติงานได้ [9] และผู้วิจัยได้
พฒั นาหลกั สตู รฝกึ อบรม โดยการดาเนินการอย่างเป็น ออกแบบกจิ กรรมการฝึกอบรมท่ีเปดิ โอกาสให้ผู้เข้ารับ
กระบวนการ ผ่านการหาคุณภาพตามข้ันตอน เริ่ม การฝึกอบรมได้เรียนรู้จากวิทยากรที่มีความชานาญ
ตั้งแต่การตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมจาก ด้านการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน มีการ
คณะกรรมการท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์และผู้เช่ยี วชาญที่ ศึกษาใบความรู้และทากิจกรรมในเอกสารประกอบ
มีประสบการณ์ทาให้ได้หลักสูตรฝึกอบรมที่สมบูรณ์ การฝึกอบรม มีการสะท้อนปัญหาและการนาเสนอผล
เหมาะสมนาไปใช้ฝึกอบรม ซึ่งผลการพัฒนาหลักสูตร การปฏิบัติงาน ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ทางานร่วมกัน
น้ี สอดคล้องกับผลการวิจัยเรื่อง การพัฒนาหลักสูตร แลกเปล่ียนความคิด ทาให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมี
ฝกึ อบรมเพ่ือเสรมิ สรา้ งสมรรถนะดา้ นการจดั การเรียน สมรรถนะด้านความรู้ความเข้าใจหลักการจัดการ
การสอนโดยใช้สมองเป็นฐานเพ่ือพัฒนาความสามารถ เรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานรวมไปถึงการเขียน
ด้านภาษาของผู้เรียนสาหรับครูระดับประถมศึกษา แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบใช้โครงงานเป็นฐานมากข้นึ
หลักสูตรฝึกอบรมมีองค์ประกอบดังน้ี ความเป็นมา จึงส่งผลให้การฝึกอบรม ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
หลักการ จุดมุ่งหมาย สมรรถนะสาคัญ โครงสร้าง จัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน บรรลุตาม
เน้ือหา กิจกรรม สื่อและแหล่งเรียนรู้ และการวัดและ วตั ถปุ ระสงค์การฝกึ อบรม
ประเมินผล [7] และสอดคล้องผลการวิจัยของ
นิตรัตน์ โคตะ เรื่องการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม 5.3 จากผลการวิจัย พบว่า ครูที่ผ่านการเข้ารับ
ครูผู้สอนระดับประถมศึกษา เพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการ การฝึกอบรม มีความสามารถเขียนแผนการจัดการ
จัดการเรียนรู้ด้านการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ โดย เรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน และความเหมาะสม
ใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีองค์ประกอบของ ของแผนการจัดการเรียนรู้ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก
หลักสูตรฝึกอบรม ได้แก่ หลักการ จุดมุ่งหมาย ผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แสดงว่าหลักสูตรฝึกอบรมสามารถ
โครงสร้างหลักสูตร การวัดและประเมินผล และสื่อ/ พัฒนาให้ครูมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการเขียน
แหล่งเรียนรู้ [8] แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบใช้โครงงานเปน็ ฐานเพ่ิมข้ึน
ทั้งนี้เนื่องจากผู้เข้าอบรมได้รับความรู้เก่ียวกับการ
5.2 จากผลการวิจัย พบว่า ครูที่เข้ารับการฝึก เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ท้ัง 6 ข้ันตอนอย่างครบ
อบรม มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับสมรรถนะและ ถ้วน ซ่ึงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
จัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานและการเขียน เขียนน้ันมีความเหมาะสมทจี่ ะนาไปใช้จัดกิจกรรมการ
แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน หลัง เรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียน ทั้งน้ีเป็นผลมาจากการเชิญ
การฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรม คิดเป็นร้อยละ วทิ ยากรทมี่ ีความชานาญไดถ้ ่ายทอดความรู้ จึงชว่ ยทา

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

196 Vocational Education Innovation and Research Journal 196

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ให้บรรยากาศในการฝึกอบรมเป็นไปด้วยความต้ังใจ เรียนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน ภาพรวมอยู่ในระดับ
รวมถึงมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เข้ารับ มากผ่านเกณฑ์ที่ต้ังไว้ แสดงว่าหลักสูตรฝึกอบรม
การอบรมทาให้ได้ข้อคิดเห็นที่แตกต่าง ความคิดท่ี สามารถพัฒนาครูให้มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้
สร้างสรรค์ และจากการที่ครูได้เขียนแผนการจัดการ แบบใช้โครงงานเป็นฐานได้จริง ทั้งน้ีเนื่องจากครูท่ี
เรียนรู้แล้วมีการนาเสนอผลงาน ตลอดจนการให้ ผ่ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร อ บ ร ม ใ น ภ า ค ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ ใ น
วิทยากรได้ตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะนามาแก้ไข ภาคปฏิบัติแล้วได้รับความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการ
จึงทาให้ครูสามารถจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ได้ จัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน ทั้ง 6 ขั้นตอน
สมบูรณ์มากย่ิงขึ้น ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ คือ ข้ันตอนท่ี 1 การเตรียมความพร้อม ข้ันตอนที่ 2
พรสวรรค์ ศิริวัฒน์ [10] เรื่อง การพัฒนาครูด้านการ การกาหนดและเลือกหวั ข้อ ข้ันตอนที่ 3 การเขียนเค้า
จัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด โดยใช้หลักการ โครงของโครงงาน ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติโครงงาน
บริหารวงจร PDCA โรงเรียนบ้านโชคนาสาม ขั้นตอนที่ 5 การนาเสนอผลงาน ขั้นตอนที่ 6 การ
สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาสรุ ินทร์เขต 3 ผลการวจิ ยั ประเมินโครงงาน และในขณะทาการการสอนนั้น
พบว่า ผู้เขา้ รับการอบรมทกุ คนสามารถจัดทาแผนการ ได้รับการติดตามเป็นระยะจากหัวหน้าแผนกวิชาเพ่ือ
จัดการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการคิด โดยใช้หลักการ สอบถามปัญหาท่ีเกิดขึ้นในขณะทาการสอน แล้วนา
บริหารวงจร PDCA ได้ และแต่ละแผนมีความ ไปปรับปรุงแก้ไข และท่ีสาคัญครูผู้สอนนั้นได้มีการ
เหมาะสม ท่ีจะนาไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ [10] เตรียมการสอนอย่างเป็นระบบ มีแผนการจัดการ
และสอดคล้องกบั งานวจิ ัยของมยรุ ี นาสมใจ เรอื่ ง การ เรียนรู้ แจ้งจุดประสงค์เนื้อหากับผู้เรียน ความพร้อม
พัฒนาครูด้านการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น ของอุปกรณ์และส่ือการสอน และท่ีสาคัญมีการ
ผู้เรียนเป็นสาคัญ โรงเรียนหนองไผ่ สานักงานเขต วิเคราะห์สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ คาอธิบาย
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 รายวิชา และกระบวนการเรียนรู้ มีการเช่ือมโยง
ผลการวิจัยพบว่า ด้านความสามารถในการเขียน หลักสูตรกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถ ผู้สอนสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ ตาม
ในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ โดยเฉลี่ยความ องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ กาหนด
เหมาะสม อยู่ในระดับมาก [11] และสอดคล้องกับ สาระสาคัญ จุดประสงค์ เน้ือหา เลือกสรรกระบวน
งานวจิ ัยของ ยศวฒั น์ คาภู [12] เรอ่ื ง การพัฒนาครใู น การท่ีผู้เรียน สื่อ การวัดผลและการประเมินผล ท่ีจะ
การจัดการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะโดยใช้โครงงาน ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นฐาน วิทยาลัยการอาชีพพรรณานิคม สังกัด และเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล ซึ่งสอคล้องกับ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผลการวิจัย งานวิจัยของ บุญนา เพชรล้า เร่ืองการพัฒนาครูด้าน
พบว่า ผลการติดตามการพัฒนาศักยภาพครูในการ การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ผลการวิจัยพบว่า
จัดการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะโดยใช้โครงงานเป็น ครูผู้สอนนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปสู่การจัดกัด
ฐานวิทยาลัยการอาชีพพรรณานิคม สังกัดสานักงาน กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานตามกระบวนการ 5
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ครูสามารถเขียน ข้ันตอน และจากการติดตามผลการจัดกิจกรรมด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะโดยใช้ การสังเกตพฤติกรรมการสอน ค่าเฉลีย่ โดยรวมทุกดา้ น
โครงงานเปน็ ฐาน อยใู่ นระดับมากทสี่ ดุ [12] ระดับคณุ ภาพมาก [13]

5.4 จากผลการวิจัย พบว่า ครูท่ีผ่านการฝึกอบร 5.5 จากผลการวิจัย พบว่า นักเรียน นักศึกษา
มคี วามสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบใช้โครงงาน ท่ีผ่านการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน สามารถ
เปน็ ฐานใหก้ บั ผ้เู รยี น และคุณภาพการจดั กิจกรรมการ จัดทาโครงงาน และคุณภาพโครงงาน ภาพรวมอยู่ใน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2


Click to View FlipBook Version