The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

Vol.5 No.2 วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

Keywords: วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา Vocational Education Innovation and Research Journal

Vocational Education Innovation and Research Journal 47

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

การพฒั นาเวบ็ แอพพลิเคชัน่ ระบบฐานข้อมลู บณั ฑติ วทิ ยาลยั หลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ (ทล.บ.)
สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาอุดรธานี

The Development of Web Application Database System ; Graduates Bachelor
of Technology Program in Business computer, Udon Thani Vocational College

วนิดา อนิ ทไชย1, มกุ ดา เหมุทยั 2, คชา โกศลิ า3* และสุทธสิ า ประดิษฐ์4
Wanida Intachai1*, Mookda Hemuthai2, Kacha Kosila3* and Suthisa Pradit4

*1234สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาอุดรธานี สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 1 จังหวัดหนองคาย 43000
*1234Field of Business Computer, Udonthani Vocational College, Institute of Vocational Education : Northeastern Region 1,

Nongkhai 43000

Received : 2020-01-07 Revised : 2021-01-18 Accepted : 2021-01-18

บทคัดย่อ บัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือพัฒนาเว็บ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
อุดรธานี การประเมินความพอใจมีท้ังหมด 4 ด้าน
แอพพลิเคช่ันระบบฐานข้อมูลบัณฑิตวิทยาลัย 2)เพ่ือ พบว่า โดยภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ท่ี มี ต่ อ ก า ร พั ฒ น า เ ว็ บ ( X = 4.33, S.D.= 0.12)
แอพพลิเคชั่นระบบฐานข้อมูลบัณฑิตวิทยาลัย กลุ่ม คาสาคญั : เว็บแอพพลิเคชัน่ , ระบบฐานขอ้ มลู ,บณั ฑติ
ตัวอย่างในการวิจัยคร้ังน้ี คือ คณะอาจารย์ บัณฑิต
และนักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) วทิ ยาลัย
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
อุดรธานี ที่ใช้งานเว็บแอพพลิเคช่ันระบบฐานข้อมูล Abstract
บัณฑิตวิทยาลัย ทั้งหมดจานวน 60 คน เคร่ืองมือที่ใช้ The purposes of this research were : 1) to
ในการวิจัย ได้แก่ 1) เวบ็ แอพพลเิ คช่นั ระบบฐานขอ้ มลู
บัณฑิตวิทยาลัย 2) แบบประเมินความพึงพอใจของ develop web applications and database
ผู้ ใช้ง า น ที่ มีต่ อเว็ บ แอพ พ ลิ เคชั่น ระ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล systems for the graduate school; 2) to assess
บัณฑิตวิทยาลัย โดยการวิเคราะห์ใช้ข้อมูลสถิติ the satisfaction towards the development of
ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D..) web applications, database system, graduate
พบว่า ผลการประเมินคุณภาพเว็บแอพพลิเคชั่น school. The sample group in this research was
ระบบฐานข้อมูลบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยี total 60 of graduate teachers and students of
บัณฑิต (ทล.บ) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย the Bachelor of Technology Program in
อาชีวศึกษาอุดรธานี พบว่าผู้เชี่ยวชาญมีความ Business computer Udon Thani Vocational
ความคิดเห็นต่อระบบที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก College. The research instruments were : 1)
( X =4.25, S.D.= 0.20) ผลการประเมินความ web applications, database system for graduate
พงึ พอใจของผู้ใช้งานเว็บแอพพลิเคชน่ั ระบบฐานขอ้ มลู schools, 2) user satisfaction assessment form.
Jobs towards web applications, database
*คชา โกศิลา system, graduate school The analysis was done

E-mail [email protected]

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 48

48 วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

using statistical data, percentage, mean and บัณฑิตวิทยาลัยที่สาเร็จการศึกษา มีภารกิจในการ
standard deviation. The results of the study กากบั มาตรฐานและคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาในระดับ
were as follows : Evaluation of the quality of บัณฑิตศึกษา สนับสนุนส่งเสริมการขับเคล่ือนการจัด
The development of Web Application การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสู่ความเป็นนานาชาติ
Database System Graduates Bachelor of และเป็นศูนย์กลางในการบริการวิชาการ อีกท้ัง
Technology Program in Business computer for บัณฑิตวิทยาลัยมียุทธศาสตร์ในการสร้างและพัฒนา
Udon Thani Vocational College, It was found เครือข่ายการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท้ังใน
that experts had a high level of opinion on the ประเทศและต่างประเทศ ระบบสารสนเทศ ระบบ
developed system. ( X = 4.25, S.D.= 0.20). The เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารผ่านทาง
results of the evaluation of user’s satisfaction อินเตอร์เน็ตเข้ามาเป็นตัวประสานการทางานร่วมกัน
on The development of Web Application เพื่อสร้างโอกาสและการแข่งขันที่มีมากยิ่งข้ึน ระบบ
Database System Graduates Bachelor of สารสนเทศจาเป็นอย่างย่ิงในการดาเนินงานของ
Technology Program in Business computer for องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงาน
Udon Thani Vocational College. There were 4 รัฐบาลหรือเอกชน เพ่ือช่วยให้องค์กรได้รับข่าวสาร
aspects of the satisfaction assessment, found ข้อมูลท่ีมีอยู่ทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่าง
that overall satisfaction was at a high level. รวดเร็วทาให้เกิดการปรับเปล่ียนการทางานโดยอาศัย
( X = 4.33, S.D.= 0.12) กระบวนข้อมูล ข่าวสารท่ีมีอยู่ กระบวนท่ีทาให้เกิด
Keywords : Web Application, Database สารสนเทศน้ีเรียกว่า การประมวลผลข้อมูล (Data
Processing) และเรียกวิธีการประมวลผลข้อมูล
System, Graduates School. สารสนเทศด้วยเคร่ืองมือทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ นี้ ว่ า เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ
1. บทนา ( Information Technology : IT) เ ท ค โ น โ ล ยี
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้อนุมตั ิ สารสนเทศ เป็นกระบวนการต่าง ๆ และระบบงานท่ี
ช่วยให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ โดยหมายรวมถึง
ให้สถาบันการอาชีวศึกษา 9 แห่งดาเนินการจัด เครื่องมืออุปกรณ์ ต่าง ๆตลอดจนกระบวนการในการ
การศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสาย นาอุปกรณ์และเครื่องมือน้ัน ๆ มาใช้งานเพ่ือรวบรวม
ปฏิบัติการและถัดมาในปีการศึกษา 2557 สานักงาน จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศ
คณะกรรมการการศึกษาอาชีวะศึกษาได้อนุมัติให้ ในรปู แบบตา่ ง ๆ ท่ีสามารถนาไปใชป้ ระโยชนต์ ่อไป[1]
สถาบันการอาชีวะศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
และสถาบันการอาชีวศึกษาอ่ืน ๆ รวมทั้งส้ิน 19 แห่ง จากความสาคญั และประโยชน์ของการใช้ระบบ
ดาเนนิ การจัดการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรีเพ่มิ เตมิ ซง่ึ ใน สารสนเทศต่าง ๆ ทาให้ระบบสารสนเทศเข้ามา
ก า ร ด า เ นิ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า นี้ ท า ง ส ถ า บั น ก า ร มีบทบาทที่สาคัญในวงการศึกษาในปัจจุบันตั้งแต่
อาชีวศึกษาต่าง ๆ ทั่วประเทศจะต้องดาเนินการ ระดับอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา นอกจากจะเป็น
พัฒนาหลักสูตรท่ีจะเปิดสอนให้สอดคล้องกับบริบท ประโยชนก์ ับตัวนักศึกษาในดา้ นของการศกึ ษาค้นควา้
ของแต่ละสถาบันตรงตามความต้องการของสถาน หาความรู้ท่ีนอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียนแล้ว
ประกอบการและให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน ยังช่วย อานวยความสะดวกในเร่ืองการติดต่อหรือ
คุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติพ. ศ. 2556 และกรอบ รับทราบข่าวสารต่าง ๆ จากทางสถานศึกษา งาน
คุ ณ วุ ฒิ ก า ร ศึ ก ษ า วิ ช า ชี พ ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี ส า ย ทะเบียนประวัติเป็นอีกระบบหน่ึงของสถานศึกษาท่ีมี
เทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ตั ิการพ. ศ. 2556 [1]

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา 49

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ความสาคัญ ซึ่งระบบงานเดมิ จะประสบปญั หาในเรื่อง 1.2 สมมตฐิ านของการวิจยั
ของความล่าช้า เพราะยังใช้ระบบการกรอกด้วยมือ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ท่ี มี ต่ อ ก า ร พั ฒ น า เว็ บ
สาหรบั การจดั เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ซง่ึ บางครัง้ อาจทาให้
เอกสารเกดิ การสญู หายระหวา่ งการ เก็บรวบรวม ยาก แ อ พ พ ลิ เ ค ช่ั น ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย
ต่อการตรวจสอบ เน่ืองจากเอกสารมีจานวนมากและ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) สาขาวิชา
ยงั สนิ้ เปลืองแรงงาน พื้นท่ี รวมทัง้ ทรัพยากร กระดาษ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานีอยู่ใน
ทาให้เกิดปัญหากับนักศึกษาในเร่ืองของการกรอก ระดบั มาก
ข้อมูล รวมถึงการเก็บรักษา การแก้ไข การรายงาน
ข้อมูล ประวัตินักศึกษาให้แก่อาจารย์ซ่ึงทาให้เกิด 1.3 ขอบเขต
ความล่าช้า ในการรับทราบรายงานและการค้นหา 1.3.1 ขอบเขตดา้ นเน้ือหา
ขอ้ มูล ซึ่งมคี วาม ความจาเปน็ ทั้งส้ิน ระบบ Admin 1) สามารถจัดเก็บ เพิม่

ดังน้ันผู้วิจัยจึงเกิดแนวคิดในการพัฒนาระบบ ลบ แก้ไข คน้ หาของขอ้ มูลบณั ฑิตได้ 2) สามารถแสดง
ฐานข้อมูลบัณฑิตนักศึกษาขึ้นมา เพ่ือลดปัญหาด้าน ขอ้ มลู ของขอ้ มูลบณั ฑติ ได้
การ ค้นหาเอกสาร แก้ปัญหาความซ้าซ้อน ลด
ระยะเวลาการเข้าถึงข้อมูล และเพ่ิมความถูกต้อง ผู้ใช้งาน 1) บัณฑิตสามารถ เพิ่ม ลบ
ให้กับข้อมูล ระบบฐานข้อมูลยังสามารถ เพิ่ม ลบ แก้ไข้อมูลส่วนตัวได้ 2) บัณฑิตสามารถแก้ไขรหสั ผ่าน
แกไ้ ข และคน้ หา ทาให้บุคลากรเกดิ ความสะดวก ชว่ ย ได้ 3). คณะอาจารย์ นักศึกษา สามารถแสดงข้อมูล
ลดขั้นตอนการทางาน เนื่องจากระบบทพ่ี ฒั นาขนึ้ เปน็ บัณฑิตได้
แบบเว็บแอพพลิเคชั่นทางานรปูแบบออนไลน์บน
ระบบอินเทอร์เน็ต เพ่ือความ สะดวกในใช้งานของ 1.3.2 ขอบเขตประชากร
บุคลากรทั้งยังสามารถเข้าถึงข้อมูลได้จากสถานท่ีที่มี 1) ประชากร คือ คณะอาจารย์
ระบบอินเตอร์เน็ต เป็นการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศในการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ บัณฑิต และนักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร (ทล.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย
บริหารงานในองค์กร อาชีวศึกษาอุดรธานี ท่ีใช้งานเว็บแอพพลิเคช่ันระบบ
ฐานข้อมูลบัณฑติ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ (ทล.บ.)
1.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
1.1.1 เพื่อพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นระบบ อดุ รธานี จานวน 107 คน

ฐานข้อมูลบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยี 2) กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาได้แก่
บัณฑิต (ทล.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะอาจารย์ บัณฑิต และนักศึกษาหลักสูตร
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี เทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี ที่ใช้งาน เว็บ
1.1.2 เพื่อประเมินความพึงพอใจที่มีตอ่ การ แ อ พ พ ลิ เ ค ชั่ น ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย
พัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นระบบฐานข้อมูลบัณฑิต หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) สาขาวิชา
วิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา จานวน 60 คน ซ่ึงได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง
อดุ รธานี (Purposive Sampling)

1.3.3 ตัวแปรท่ใี ช้ในการวจิ ยั ได้แก่
1) ตัวแปรต้น คือ เว็บแอพพลิเคชั่น

ระบบฐานข้อมูลบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยี
บัณฑิต (ทล.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลัย
อาชวี ศึกษาอดุ รธานี

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 50

50 วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

2) ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจที่มี 4.1 work Flow Diagram ระบบงาน
ต่อการพัฒนาเว็บแอพพลิเคช่ันระบบฐานข้อมูล
บัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) ผู้ใชง้ าน ระบบ Admin
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา เข้าสรู่ ะบบ ระบบฐานข้อมลู จดั การข้อมลู
อดุ รธานี
เรยี กดูข้อมูล บัณฑิต
2. วธิ ีดาเนินการวจิ ัย
ผู้วิจัยเว็บแอพพลิเคชั่นระบบฐานข้อมูลบัณฑิต แสดงขอ้ มลู

วิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) จบ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา ผใู้ ช้งาน
อุดรธานี ได้ดาเนินการสร้างเคร่อื งมอื ด้วยกระบวนการ
การพฒั นา SDLC 7 ขั้นตอนของ (Michael Howard, รูปท่ี 1 Work Flow Diagram ระบบงาน
2006 : 12) ดังนี้
4.2 Context Diagram ของการพฒั นาเว็บ
1. ค้นหาและเลือกสรรโครงการ ( Project แ อ พ พ ลิ เ ค ชั่ น ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย
Identification and Selection) หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ) สาขาวิชา
คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาอดุ รธานี

ตารางท่ี 1 ลาดบั การทางาน

2. ผู้จัดทาวิจัยได้สารวจข้อมูลบัณฑิต รูปแบบ รปู ท่ี 2 Context Diagram ของการพฒั นาเวบ็
มีการจัดเก็บขอ้ มูลบัณฑติ ในปัจจุบนั แอพพลิเคช่ันระบบฐานข้อมูลบณั ฑิต
วทิ ยาลยั
2.1 ผ้วู ิจยั ได้ทาการพัฒนาเวบ็ แอพพลเิ คชน่ั
ระบบฐานข้อมูลบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยี 4.3 แผนภาพแสดงการไหลของขอ้ มลู (Data
บณั ฑติ (ทล.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ วทิ ยาลยั Flow Diagram)
อาชีวศึกษาอดุ รธานี
User,Pas
2.2 ทาให้เกิดกระบวนการทางานคล่องตัว
และมีประสิทธิภาพในด้านเว็บแอพพลิเคชั่นระบบ ผูใ้ ชง้ าน ผลการเขา้ สู่ 1 D1 user
ฐานข้อมูลบณั ฑิตวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต
(ทล.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย รูปท่ี 3 Data Flow Diagram Level 1 ในส่วนของ
อาชวี ศึกษาอดุ รธานี เข้าส่รู ะบบ

3. จัดต้ังและวางแผนโครงการ ( Project
Initiating and Planning)

4. วิเคราะหร์ ะบบ (Analysis)

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 51

วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

แสดงผล

ผูใ้ ช้งาน แสดงผล 2 D1 ข้อมูล
บัณฑติ
ขอ้ มูล

รูปท่ี 4 Data Flow Diagram Level 1 ในส่วน
ของขอ้ มลู บณั ฑิต

5. ออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) รปู ท่ี 5 ER-Diagram แสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ ง
5.1 การออกแบบฐานข้อมูล (Database เอนทิต้ี (Entity Relationship Diagram)

Design) ก า ร อ อ ก แ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล เชิ ง สั ม พั น ธ์ 6. ออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design)
(Relation Database System) การจัดการข้อมูล
ต่าง ๆ ให้อยู่ในรูปตารางฐานขอ้ มลู

ตารางท่ี 2 รายละเอยี ดของตารางขอ้ มูลบัณฑิต

Relation : graduates

Attribute Description Attribute Type PK FK Reference

Domain

student_code รหสั นกั ศึกษา varchar(255)

user_id Username Varchar (20)

Passwoed Password Varchar (20)

prefix คานาหน้า varchar(255) รปู ที่ 6 แสดงหนา้ เข้าสู่ระบบ
firstname ชอ่ื varchar(255)
lastname นามสกลุ varchar(255)
profile รูปภาพ varchar(255)
address ทอ่ี ยู่ text
mobile เบอร์โทร varchar(255)
email อเี มล varchar(255)
idcard เลขประชาชน varchar(255)
birthday วนั เดือนปเี กดิ varchar(255)
Created_at เวลาเพิ่มข้อมูล timestamp
Updated_at เวลาแกไ้ ขข้อมูล timestamp

ตารางที่ 3 รายละเอียดของตารางข้อมูลรุน่

Relation : class_ofs

Attribute Description Attribute Type PK FK Reference

Domain

class_on ชอ่ื รุ่น varchar(255)

Created_at เวลาเพิม่ ขอ้ มูล timestamp

Updated_at เวลาแกไ้ ขขอ้ มูล timestamp

ตารางที่ 4 รายละเอยี ดของตารางข้อมลู ผูใ้ ชง้ าน รูปท่ี 7 แสดงหน้าลงทะเบียน

Relation : users รปู ที่ 8 แสดงหนา้ ผู้ใชง้ านเขา้ สรู่ ะบบ

Attribute Description Attribute Type PK FK Reference VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

name Domain
email
Username ชื่อ varchar(255)

อเี มล varchar(255)

เลขประชาชน varchar(255)

type รุ่น varchar(100)

email_verified_at ตรวจสอบอีเมล timestamp

password รหสั ผ varchar(255)

remember_ token เครือ่ งหมายจา varchar(100)

Created_at เวลาเพ่ิมขอ้ มูล timestamp

Updated_at เวลาแก้ไขข้อมลู timestamp

Vocational Education Innovation and Research Journal 52

52 วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

รูปท่ี 9 แสดงหน้าข้อมลู บณั ฑติ แตล่ ะรนุ่ รปู ที่14 แสดงหน้าบณั ฑิตแกไขโปรไฟล์

รูปท่ี 10 แสดงหนา้ การจัดการฐานข้อมูลสาหรบั 7. พฒั นาและตดิ ตงั้ ระบบ (SystemImplement)
Admin 8. ซ่อมบารงุ ระบบSystem( Maintenance)

รปู ท่ี 11 แสดงหนา้ เพมิ่ รนุ่ บณั ฑิต 8.1 เกบ็ รวบรวมคาร้องขอให้ปรับปรงุ ระบบ
8.2 วเิ คราะห์ขอ้ มูลรอ้ งขอใหป้ รับปรุงระบบ
รปู ท่ี 12 แสดงหน้าการเพ่ิมขอ้ มลู บณั ฑิต เป็นขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบงานปัจจุบัน หรือ
ระบบงานเดิมซ่ึงอาจเป็นระบบท่ีใช้คอมพิวเตอร์อยู่
รปู ที่ 13 แสดงหน้าบณั ฑติ เข้าส่รู ะบบ หรือไม่ก็ได้ เพ่ือให้ทราบถึงรายละเอียดระบบงานท่ใี ช้
อยู่ข้อดี ข้อเสีย ทรัพยากร และความเหมาะสมของ
VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2 ระบบงานในแต่ละส่วนเพื่อเตรียม ปรับเปลี่ยนให้เป็น
ระบบสารสนเทศใหม่
8.3 ออกแบบการทางานท่ีตอ้ งการปรบั ปรงุ
ระบบเป็นข้ันตอแรกสุดของการพัฒนา ระบบ
สารสนเทศ ในการวางแผนระบบสารสนเทศนั้นมี
จุดมุ่งหมายเพื่อการตรวจสอบระบบงานเบ้ืองต้น
(Initial Investigation)
9. ขัน้ ตอนการสร้างแบบประเมินความพึงพอใจ
9.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง
9.2 รา่ งแบบสอบถาม
9.3 นาแบบสอบถาม ไปให้ผู้เช่ียวชาญ
จานวน 3 ทา่ นตรวจสอบ
9.4 ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ
ผู้เช่ียวชาญ จากนั้นนาเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม
ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์และความเหมาะสม
ของเนอื้ หา
9.5 วิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา โดย
ใช้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบประเมินกับ
ลั ก ษ ณ ะ ที่ จ ะ วั ด ( Index of Item Objective
Congruence : IOC) เลือกประเด็นสอบถามท่ีมีค่า
IOC ทั้งฉบับเท่ากับ 1.00 ซ่ึงทุกข้อมีค่า IOC เท่ากับ
1.00 สามารถใชป้ ระเมนิ ไดท้ ัง้ ฉบับ

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา 53

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

10. กล่มุ ตวั อย่าง 3.3 แบบประเมนิ คณุ ภาพเวบ็ แอพพลิเคช่ันระบบ
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาได้แก่คณะ ฐานข้อมูลบณั ฑิตวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต
(ทล.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย
อาจารย์ บัณฑิต และนักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยี อาชวี ศกึ ษาอุดรธานี โดยผ้เู ชย่ี วชาญ
บณั ฑิต (ทล.บ.) สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั
อาชีวศึกษาอุดรธานีท่ีใช้งานเว็บแอพพลิเคชั่นระบบ ตารางที่ 6 แบบประเมนิ ประเมนิ คุณภาพเวบ็
ฐานข้อมูลบัณฑิตวิทยาลัยหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต แอพพลเิ คชนั่ ของผ้เู ชีย่ วชาญ
(ทล.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัย
อาชีวศึกษาอุดรธานี จานวน 60 คน ซ่ึงได้มาโดยการ รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ
เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 54321
1. ดา้ นการออกแบบ
3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1.1 ระบบฐานข้อมลู มคี วามเหมาะสม
เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั ครัง้ นี้ประกอบดว้ ย 1.2 ระบบสมาชิกมีความเหมาะสมในการเขา้ ใช้งาน
3.1 เว็บแอพพลิเคชั่นระบบฐานข้อมูลบัณฑิต 1.3 ความสวยงาม ความทันสมัย และความนา่ สนใจ

วิทยาลัย หลกั สตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต (ทล.บ) สาขาวชิ า ของระบบ
คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอดุ รธานี 2. ด้านคณุ ภาพของระบบ

3.2 แบบประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องของ 2.1 ความเหมาะสมของรปู แบบตวั อกั ษร
เว็บแอพพลิเคชั่นระบบฐานข้อมูลบัณฑิตวิทยาลัย 2.2 ความเหมาะสมของการใช้สพี ้ืนหลัง
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) สาขาวิชา 2.3 การเชอ่ื มโยงของส่วนต่าง ๆ มีความสะดวก
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี โดย 3. ด้านการใช้งาน
ผู้เชยี่ วชาญ 3.1 ความเหมาะสมของเมนกู ารใชง้ าน
3.2 ความสะดวกในการใชง้ านระบบ
3.3 ข้อมูลสารสนเทศตอบสนองตรงตามความ
ต้องการของผใู้ ชง้ าน
4. ด้านประโยชนแ์ ละการนาไปใช้
4.1 สามารถนาเอาขอ้ มลู ในระบบไปใช้ไดจ้ ริง
4.2 มีประโยชนใ์ นการเกบ็ ข้อมลู ในการทางาน
4.3 สามารถเปน็ สือ่ ในการเผยแพรแ่ ละ
ประชาสมั พันธ์วทิ ยาลัยได้

ตารางที่ 5 แบบประเมินค่าดชั นคี วามสอดคล้องของ 3.4 แบบประเมินความพึงพอใจท่ีมีต่อการใช้
ผ้เู ชีย่ วชาญ งานเว็บแอพพลเิ คช่นั ระบบฐานข้อมูลบณั ฑติ วิทยาลยั
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) สาขาวิชา
ประเด็นขอ้ คาถามความสอดคล้อง ระดบั ความคิดเหน็ คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี
+1 0 -1 มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating
1. ดา้ นการออกแบบ Scale) 5 ระดับ โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน
1.1 ระบบฐานข้อมลู มีความเหมาะสม
1.2 ระบบสมาชิกมคี วามเหมาะสมในการเข้าใช้งาน ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่วั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
1.3 ความสวยงาม ความทันสมัย และความน่าสนใจของ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจที่มีต่อเว็บ
แ อ พ พ ลิ เ ค ช่ั น ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย
ระบบ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) สาขาวิชา
2. ดา้ นคุณภาพของระบบ คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอดุ รธานี

2.1 ความเหมาะสมของรปู แบบตวั อักษร
2.2 ความเหมาะสมของการใช้สีพ้ืนหลัง
2.3 การเชอ่ื มโยงของส่วนต่าง ๆ มคี วามสะดวก
3. ดา้ นการใชง้ าน
3.1 ความเหมาะสมของเมนูการใช้งาน
3.2 ความสะดวกในการใชง้ านระบบ
3.3 ข้อมูลสารสนเทศตอบสนองตรงตามความต้องการ
ของผ้ใู ช้งาน
4. ดา้ นประโยชนแ์ ละการนาไปใช้
4.1 สามารถนาเอาข้อมลู ในระบบไปใช้ไดจ้ รงิ
4.2 มปี ระโยชนใ์ นการเกบ็ ขอ้ มลู ในการทางาน
4.3 สามารถเป็นสื่อในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
วิทยาลัยได้

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 54

54 วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ตารางท่ี 7 แบบประเมินความพงึ พอใจของผใู้ ชง้ าน จากตารางพบว่า ผลการประเมินค่าดัชนีความ
สอดคล้องของเว็บแอพพลิเคช่ันระบบฐานข้อมูล
รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ บัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
54321 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
1. ด้านการออกแบบ อุดรธานี โดยผู้เช่ียวชาญ พบว่า ผู้เช่ียวชาญ จานวน
1.1 ระบบฐานขอ้ มลู มีความเหมาะสม 3 ทา่ น โดยภาพรวมมีความสอดคลอ้ ง
1.2 ระบบสมาชิกมีความเหมาะสมในการเขา้ ใช้งาน
1.3 ความสวยงาม ความทันสมยั และความน่าสนใจ ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ แ บ บ ป ร ะ เ มิ คุ ณ ภ า พ เ ว็ บ
แ อ พ พ ลิ เ ค ช่ั น ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย
ของระบบ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) สาขาวิชา
2. ดา้ นคุณภาพของระบบ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษา อุดรธานี โดย
ผ้เู ชี่ยวชาญ
2.1 ความเหมาะสมของรูปแบบตัวอกั ษร
2.2 ความเหมาะสมของการใชส้ พี ืน้ หลงั ตารางท่ี 9 ผลการวิเคราะหแ์ บบประเมนิ คณุ ภาพ
2.3 การเชื่อมโยงของสว่ นตา่ ง ๆ มีความสะดวก
3. ด้านการใชง้ าน รายการประเมิน ̅ S.D. แปลผล
3.1 ความเหมาะสมของเมนกู ารใชง้ าน
3.2 ความสะดวกในการใชง้ านระบบ
3.3 ข้อมูลสารสนเทศตอบสนองตรงตามความ
ต้องการของผใู้ ช้งาน
4. ด้านประโยชนแ์ ละการนาไปใช้
4.1 สามารถนาเอาข้อมลู ในระบบไปใชไ้ ด้จริง
4.2 มปี ระโยชนใ์ นการเกบ็ ขอ้ มลู ในการทางาน
4.3 สามารถเป็นสอื่ ในการเผยแพรแ่ ละ
ประชาสมั พนั ธ์วทิ ยาลัยได้

4. ผลการวจิ ยั 1. ดา้ นการออกแบบระบบ 4.25 0.96 มาก
ผลการประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องของเว็บ 1.1 ระบบฐานขอ้ มลู มีความเหมาะสม

แ อ พ พ ลิ เ ค ชั่ น ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย 1.2 ระบบสมาชิกมีความเหมาะสมในการเข้าใช้งาน 4.25 0.96 มาก
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี โดย 1.3 ความสวยงาม ความทนั สมยั และความนา่ สนใจของระบบ 4.50 0.58 มากท่ีสดุ
ผเู้ ชย่ี วชาญ ดงั น้ี 2. ดา้ นคุณภาพของระบบ

2.1 ความเหมาะสมของรูปแบบตัวอกั ษร 4.00 0.82 มาก

2.2 ความเหมาะสมของการใช้สพี นื้ หลัง 4.25 0.50 มาก
2.3 การเชือ่ มโยงของส่วนตา่ ง ๆ มีความสะดวก 4.25 0.96 มาก

3. ดา้ นการใชง้ าน

3.1 ความเหมาะสมของเมนกู ารใชง้ าน 4.00 0.82 มาก

3.2 ความชัดเจนของสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของระบบบน 4.25 0.96 มาก
หนา้ จอ

3.3 ข้อมลู สารสนเทศตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ช้งาน 4.00 0.82 มาก

4. ดา้ นประโยชนแ์ ละการนาไปใช้

ตารางท่ี 8 ผลการประเมินค่าดชั นีของผเู้ ชยี่ วชาญ 4.1 สามารถนาเอาข้อมลู ในระบบไปใชไ้ ด้จรงิ 4.75 0.50 มากทีส่ ุด

4.2 มปี ระโยชนใ์ นการเกบ็ ข้อมลู ในการทางาน 4.25 0.96 มาก

รายการประเมนิ ผ้เู ชี่ยวชาญ คา่ แปลผล 4.3 สามารถเปน็ สอ่ื ในการเผยแพร่และประชาสมั พันธ์ 4.25 0.50 มาก
1 2 3 IOC วทิ ยาลยั ได้

1. ดา้ นการออกแบบ รวม 4.25 0.20 มาก
1.1 ความสะดวกในการเขา้ ใช้งาน
1 1 1 1 สอดคล้อง

1.2 ระบบสมาชกิ มคี วามเหมาะสมในการเข้า 1 1 1 1 สอดคล้อง จากตารางพบว่า ผลการประเมินคุณภาพเว็บ
แ อ พ พ ลิ เ ค ช่ั น ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย
1ใช.3้งาคนวามสวยงาม ความทันสมยั และความ 1 1 1 1 สอดคลอ้ ง หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี
น่าสนใจของระบบ พบว่าผูเ้ ชย่ี วชาญ จานวน 3 ท่าน โดยภาพรวมความ
พึงพอใจอยใู่ นระดับมาก ( X = 4.25)
2. ด้านคณุ ภาพของระบบ 1 1 1 1 สอดคลอ้ ง
2.1 ความเหมาะสมของรูปแบบตัวอักษร ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ค ณ ะ
อาจารย์ บัณฑิต และนักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยี
2.2 ความเหมาะสมของการใช้สพี นื้ หลงั 1 1 1 1 สอดคลอ้ ง บัณฑิต (ทล.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ วทิ ยาลยั
2.3 การเช่อื มโยงของส่วนต่าง ๆ มคี วาม 1 1 1 1 สอดคลอ้ ง อาชีวศึกษาอุดรธานี ที่ใช้งานเว็บแอพพลิเคชั่นระบบ
สะดวก ฐานข้อมูลบัณฑติ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ (ทล.บ.)
3. ด้านการใช้งาน 1 1 1 1 สอดคลอ้ ง
3.1 ความเหมาะสมของเมนกู ารใช้งาน

3.2 ความสะดวกในการใช้งานระบบ 1 1 1 1 สอดคลอ้ ง

3.3 ขอ้ มูลสารสนเทศตอบสนองตรงตาม 1 1 1 1 สอดคลอ้ ง

ความตอ้ งการของผ้ใู ช้งาน

4. ดา้ นประโยชน์และนาไปใช้

4.1 สามารถนาเอาข้อมลู ในระบบไปใชไ้ ดจ้ รงิ 1 1 1 1 สอดคลอ้ ง

4.2 มีประโยชนใ์ นการเก็บข้อมลู ในการ 1 1 1 1 สอดคลอ้ ง

ทางาน

4.3 สามารถเปน็ สื่อในการเผยแพรแ่ ละ 1 1 1 1 สอดคล้อง

ประชาสมั พนั ธว์ ิทยาลัยได้

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชีวศึกษา 55

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา 2) ผลการประเมินความพึงพอใจของ
อุดรธานี จานวน 107 คน ท่ีมีต่อเว็บแอพพลิเคชั่น ผู้ใช้งานเว็บแอพพลิเคช่ันระบบฐานข้อมูลบัณฑิต
ระบบฐานข้อมูลบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยี วิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .)
บณั ฑติ (ทล.บ.) สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
อาชีวศกึ ษาอดุ รธานี อุดรธานี การประเมินความพอใจมีท้ังหมด 4 ด้าน
พบว่า โดยภาพรวมความพึงพอใจอยใู่ นระดับมาก
ตารางที่ 10 ผลการวเิ คราะหค์ วามพึงพอใจของ
ผู้ใช้งาน 5.2 อภปิ รายผล
1) ผลการวิเคราะห์ แบบประเมนิ คณุ ภาพ
รายการประเมนิ ̅ S.D. แปลผล
เว็บแอพพลิเคช่ันระบบฐานข้อมูลบัณฑิตวิทยาลัย
1. ดา้ นการออกแบบระบบ 4.25 0.73 มาก หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) สาขาวิชา
1.1 ระบบฐานขอ้ มลู มีความเหมาะสม 4.60 0.53 มาก คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี โดย
1.2 ระบบสมาชกิ มคี วามเหมาะสมในการเขา้ ใช้งาน 4.33 0.71 ทมส่ีากุด ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 1 ท่าน พบว่าผู้เชียวชาญมคี วาม
1.3 ความสวยงาม ความทนั สมัย และความน่าสนใจของ คิดเห็นต่อเว็บแอพพลิเคชั่นระบบฐานข้อมูลบัณฑิต
4.25 0.82 มาก วิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .)
2ระ. บด2บา้.1นคคณุ วาภมาเพหขมอางะรสะมบขบองรูปแบบตวั อักษร 4.45 0.57 มาก สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
4.37 0.88 มาก อุดรธานที ี่ผู้วิจัยสรา้ งและออกแบบข้นึ อยใู่ นระดับมาก
2.2 ความเหมาะสมของการใช้สพี ้นื หลัง ที่สุด เนื่องจากผู้เช่ียวชาญมีความเช่ียวชาญในการ
2.3 การเช่อื มโยงของส่วนตา่ ง ๆ มคี วามสะดวก 4.22 0.80 มาก พัฒนาระบบเว็บแอพพลิเคช่ันโดยตรง จึงทาให้เว็บ
3. ดา้ นการใชง้ าน 4.28 0.92 มาก แ อ พ พ ลิ เ ค ชั่ น ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย
3.1 ความเหมาะสมของเมนูการใชง้ าน มาก หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) สาขาวิชา
3.2 ความชดั เจนของสว่ นประกอบต่าง ๆ ของระบบบน 4.18 0.79 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี ที่มี
หนา้ จอ คณุ ภาพ
3.3 ขอ้ มูลสารสนเทศตอบสนองความต้องการของผใู้ ช้งาน 4.37 0.66 มาก
4. ด้านประโยชนแ์ ละการนาไปใช้ 4.45 077 มาก 2) ผลการวิเคราะห์ แบบประเมินความ
4.1 สามารถนาเอาข้อมูลในระบบไปใชไ้ ดจ้ รงิ 4.23 0.81 พึงพอใจที่มีต่อเว็บแอพพลิเคชั่นระบบฐานข้อมูล
4.2 มีประโยชนใ์ นการเก็บขอ้ มลู ในการทางาน มาก บัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
4.3 สามารถเปน็ สื่อในการเผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธ์ 4.33 0.12 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
วทิ ยาลัยได้ มาก อดุ รธานี การประเมนิ ความพงึ พอใจมีทั้งหมด 4 ดา้ น
พบว่า โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั ความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ
รวม
กติ ตกิ รรมประกาศ
จากตาราง พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินจานวน ขอขอบพระคณุ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาอุดรธานี
107 ค น มี ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น เ ว็ บ
แ อ พ พ ลิ เ ค ช่ั น ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ทีใ่ ห้การสนับสนนุ การดาเนนิ การวิจยั ในคร้ังนี้
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ .) สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี โดย
ภาพรวมอยู่ในระดบั ความพงึ พอใจมาก ( X = 4.33)

5. สรุปผล
5.1 สรปุ ผลการวจิ ัย มดี ังน้ี
1 ) ผ ล ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ค ุณ ภ า พ เ ว ็บ

แ อ พ พ ล ิเ ค ชั ่น ร ะ บ บ ฐ า น ข ้อ ม ูล บ ัณ ฑ ิต ว ิท ย า ล ัย
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี
พบว่าผู้เชี่ยวชาญมคี วามพึงพอใจตอ่ ระบบท่ี
พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 56

56 วารสารวจิ ัยและนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา [9] อีซ่ี บรา๊ นเชส.( 2559). MySQL.สบื คน้ เม่อื
วนั ท่ี 3 สงิ หาคม 63, จาก
ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564 http://th.easyhostdomain.com/dedica
ted-servers/mysql.html.
เอกสารอา้ งอิง
[1] ดร.วิสทุ ธ์ิ วิจติ รพชั ราภรณ. (2560) :
ความหมายของการพัฒนาระบบ . สืบคน้
เมอื่ 20 กรกฎาคม 2563,จาก
http://doed.edu.ku.ac.th/article/devel
_system.pdf
[2] โยธนิ ศริ เิ อย้ . (2560) : การพฒั นาระบบด้วย
SDLC. สบื คน้ เมอ่ื 21 กรกฎาคม 2563, จาก
https://sites.google.com/
a/thoengwit.ac.th/master_site/sdlc.
[3] Kru Mu (2560) : การจัดการฐานขอ้ มลู .
สบื คน้ เม่อื 23 กรกฎาคม 2563, จาก,
https://sites.google.com/a/nongki.ac.t
h/apinya-punyawut/kar-cadkar-than-
khxmul.
[4] เอ็ม.ดี.ซอฟต์ จากัด M.D.Soft Co.,Ltd.
(2559) : เว็บแอพพลิเคช่ัน Web App.
สบื ค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2563, จาก
https://mdsoft.co.th/ความร/ู้ 359-web-
application.html
[5] Prasert rk.. (2559) : ทฤษฎคี วามพงึ พอใจ.
สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2563, จาก
https://www.gotoknow.org/posts/492
000%20(12).
[6] ดร.ณัฐพล แสนคา.(2563). การใช้งาน
Visual Studio Code.สบื คน้ เม่อื วันที่ 3
สิงหาคม 2563, จาก http://cs.bru.ac.th/
สอนการใช้งาน-visual-studio-code-2/.
[7] Suranart Niamcome.(2556). Bootstrap
คอื อะไร.สบื คน้ เมอื่ วนั ท่ี 3 สิงหาคม 63, จาก
http://www.siamhtml.com/bootstrap/
[8] ลาวณั ย์ นนั ทโววาทย.์ ( 2562). HTML+CSS
.สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 3 สิงหาคม 63, จาก
https://www.w3.org/Style/Examples/0
11/firstcss.th.html.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชีวศึกษา 57

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

การพฒั นารูปแบบการบรหิ ารโฮมสเตย์ เพ่ือการทอ่ งเทยี่ วชุมชนบนฐาน
เศรษฐกจิ พอเพียง ในพื้นที่อาเภอหนองแสง จังหวดั อดุ รธานี

Development of a homestay management model for community
tourism based on sufficiency economy in the area of NongSaeng

District Udon Thani Province

พูนคณติ เขตประทุม1*และ ธนกฤต ทรุ ิสทุ ธ์ิ2
Poonkanit Khatprathum1*and Tanakrit Thurisut2

*12สาขาวชิ ายุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000
*12Udon Thani Rajabhat University, Udon Thani 41000

Received : 2021-02-15 Revised : 2021-04-30 Accepted : 2021-05-06

บทคดั ย่อ รูปแบบการบริหารโฮมสเตย์ เพ่ือการท่องเที่ยวชุมชน
บทความน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ เพื่อศึกษาสภาพ บนฐานเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นท่ีอาเภอหนองแสง
จังหวัดอุดรธานี ได้รูปแบบท่ีเป็นเชิงข้อความ
พัฒนารูปแบบ และประเมินผลการพัฒนารูปแบบการ ประกอบด้วย หลักการพัฒนา วัตถุประสงค์การพัฒนา
บริหารโฮมสเตย์ เพ่ือการท่องเท่ียวชุมชนบน กิจกรรมการพัฒนา ตัวชี้วัดการพัฒนาและการ
ฐานเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่อาเภอหนองแสง ประเมินผลการพัฒนา ซึ่งมีทั้งหมด 3 ด้าน 11 กิจกรรม
จังหวัดอุดรธานี 2 ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพและวิจัยเชิง การพัฒนา 3. ผลการประเมินผลการพัฒนารูปแบบการ
ปริมาณ ดาเนินการวิจัย 3 ระยะ กลุ่มตัวอย่าง 214 บริหารโฮมสเตย์เพื่อการท่องเที่ยวชุมชนบนฐาน
คน กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยเชงิ คุณภาพ จานวน 15 เศรษฐกิจพอเพียง ในพ้ืนที่อาเภอหนองแสง โดย
คน และผู้ที่เก่ียวข้อง 30 คน เครื่องมือวิจัยใช้ ภาพรวม มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ อยู่ใน
แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและ ระดับมาก เปรียบเทยี บกบั เกณฑแ์ ลว้ ปรากฏวา่ ค่าเฉล่ยี
แบบประเมิน สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณ มากกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ คือ 3.51 ทุกด้าน จึงถือว่า
ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบน ก า ร พั ฒ น า รู ป แ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร โ ฮ ม ส เ ต ย์ เ พ่ื อ ก า ร
มาตรฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ ท่องเท่ียวชุมชนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นท่ี
เนอื้ หาและสรปุ ภาพรวม อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ผ่านการประเมิน
สามารถนาไปปฏบิ ัติจรงิ ไดจ้
ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพการ คาสาคัญ : การพฒั นารปู แบบการบริหาร, การบรหิ าร
บริหารโฮมสเตย์ เพื่อการท่องเที่ยวชุมชนบน
ฐานเศรษฐกิจพอเพียง ในพ้ืนท่ีอาเภอหนองแสง โฮมสเตย์, เศรษฐกจิ พอเพียง
จังหวัดอุดรธานี พบว่า ภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง
ได้แก่ 1) ด้านการมีกฎ กติกา การทางานของ Abstract
คณะกรรมการ 2) ด้านการมีระบบการจองล่วงหน้า The purposes of this research were to:
ลงทะเบียน และชาระเงินล่วงหน้า 3) ด้านการมี
คณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มโฮมสเตย์ 2. ผลการพฒั นา 1) study the condition, pattern development
and evaluation of the development of homestay
*พนู คณติ เขตประทุม

E-mail : [email protected].

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 58

58 วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

management for community tourism based 3.51 on all aspects. All aspects were assessed
on sufficiency economy in the area of Nong and practicable.
Saeng District Udon Thani Province, divided in Keywords : Development of management
to 3 phases. Using qualitative research
methods and quantitative research. Thesample model, homestay management,
was 214 people. The target group in qualitative sufficiency economy
research was 15 people and 30 involved
people. The research tool used questionnaires, 1. บทนา
Structured interview form and assessment ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีรับความนิยมในการ
form. The statistics used in quantitative data
analysis were frequency, percentage, mean, เดินทางมาทองเท่ียวเป็นอันดับต้น ๆ ของภูมิภาค
standard deviation. Analyze qualitative data แปซิฟกรองจากประเทศจีนและฮองกง จากการท่ี
by analyzing content and makinganoverview. เปนจุดทองเท่ียวยอดนิยมแหงหน่ึงของโลกมีจานวน
นักท องเที่ยวให ความสนใจเดินทางมาท องเที่ยว
The result of this research wasas follows : เปนจานวนมาก ปญหาที่ตามมาของการทองเท่ียว
1. The condition of homestay management for กระแสหลักคอื เร่อื งของความเสอ่ื มโทรมของแหลง ท
community tourism based on sufficiency องเที่ยว ดังนั้นรัฐบาลจึงไดมีนโยบายดานการทอง
economy in the area of Nong Saeng District เท่ียวเพ่ือส่งเสริมพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวรูปแบบต่าง ๆ
Udon Thani Province. Found that the overall เช่น การท่องเท่ียงเชิงอนุรักษ์ การท่องเพื่อสุขภาพ
was moderate, includes1)the rulesandregulationsof รวมทั้งการท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรม ให้ชุมชนเข้ามามี
the committee 2) the presence of a system for ส่วนร่วมในการจัดการท่องเท่ียวมากขึ้น ทั้งในรูปแบบ
pre-booking, registration and prepayment 3) การจดั สหกรณก์ ารท่องเทยี่ ว การพัฒนาพ้ืนท่ีชมุ ชนเป็น
the presence of a homestay group management แหล่งท่องเท่ียว เพิ่มมาตรการอานวยความสะดวก
committee. 2. The results ofthedevelopment of สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
the homestay management model for community แหงชาติ ไดตระหนักถึงความสาคัญของการทองเที่ยว
tourism based on the sufficiency economy in ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 9
the area of Nong Saeng Udon Thani Province, การท องเที่ ยวได ถู กกล าวถึงในฐานะของธุรกิ จการ
includes development principles, development คาบริการท่ีมีศักยภาพที่สามารถชวย สรางงานใหกับ
objectives Development, activities Development ประชาชนและเพ่ิมรายได้ใหกับประเทศรวมท้ังสงเสริม
indicators and development assessments. ใหการทองเท่ียวมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาคณภาพ
Total 3 aspects, 11 activities. 3. The results of ชีวิตของประชาชนทั่วทุกภูมิภาคตามนโยบายของ
the evaluation of the homestay management รฐั บาล [1]
model for community-based tourism Sufficiency
economy in the area of Nong Saeng Udon ปัจจุบันการตื่นตัวในเรื่องการท่องเที่ยวได้
Thani Province. Overall, it was found that the ข ย า ย ตัว อ ย่า ง ร ว ด เ ร็ว ทั่ว ทุก ภูมิภ า ค ใ น ฐานะที่เป็น
suitability and feasibility were at a high level. กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดรายได้เข้าประเทศ
The mean above the specified criteria was จานวนมาก และมีแนวโน้มการขยายตัวต่อในอนาคต
การท่องเที่ยวทกุ รูปแบบควรคานงึ ถึงธรรมชาติ สามารถ
สร้างแรงจงู ใจต่อนกั ทอ่ งเทีย่ วทชี่ ื่นชมในธรรมชาติ และ
ความซาบซึ้งที่มีต่อวัฒนธรรมท้องถิ่นต่าง ๆ ซึ่ง

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา 59

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

สามารถแปลความหมายและให้ความรู้แก่ผู้มาเยือน สว่าง กลุ่มโฮมสเตย์บ้านทับกุง หมู่ที่ 1 ตาบลทับกุง
ช่วยลดผลกระทบในเชิงลบต่อส่ิงแวดล้อม ทั้งท่ีเป็น กลุ่มโฮมสเตย์บา้ นทบั กุง หมูท่ ่ี 3 ตาบลทบั กุง และกลุ่ม
ธรรมชาติและวัฒนธรรมท้องถิ่นการนา เอาทุนทาง โฮมสเตย์ บ้านแสงทอง หมู่ท่ี 6 ตาบลหนองแสง แต่จาก
ธรรมชาติและทุนทางวัฒนธรรมมาใชป้ ระโยชน์ในการ การติดตามการดาเนินงานของผ้วู ิจัยยังพบวา่ รูปแบบ
ทอ่ งเที่ยวนัน้ สามารถสร้างโอกาสด้านรายได้แกช่ มุ ชน การจัดการยังไม่สมบูรณ์หลายด้านและยังไม่ผ่าน
ท้องถิ่นในแหล่งท่องเที่ยว แต่ต้องพึงระมัดระวังมิให้ ม า ต ร ฐ า น โ ฮ ม ส เ ต ย์ ไ ท ย ข อ ง ก ร ม ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว
เกิดความเสียหายและความเสื่อมถอยของทรัพยากร กระทรวงการท่องเท่ียวและการกีฬา โดยเฉพาะ
ปญั หาสาคญั ประการหน่ึงที่พบในการจัดการท่องเที่ยว มาตรฐานท่ี 9 ดา้ นการบรหิ ารของกลุ่มโฮมสเตยท์ ี่ต้อง
ของไทยก็คือ การขาดผู้สนับสนุน กรมการพัฒนา พึ่งพาภาคเอกชน ผู้นาส่วนราชการ องค์กรอื่น ๆ
ชุมชน มีภารกิจเก่ียวกบั การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ท่ีเก่ียวข้องท้ังภายในและภายนอกชุมชนในเรื่องการ
และการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและพัฒนา บริหารจัดการ คณะกรรมการบริหาร โครงสร้างต่าง ๆ
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ชุ ม ช น ฐ า น ร า ก ใ ห้ มี ค ว า ม ม่ั น ค ง แ ล ะ มี ถ้าปล่อยไว้นานกลุ่มโฮมสเตย์จะไม่มีความเข้มแข็ง ไม่
เ ส ถี ย ร ภ า พ โ ด ย ส นั บ ส นุ น ใ ห้ มี ก า ร จั ด ท า แ ล ะ ใ ช้ มีมาตรฐาน ขาดความมั่นใจในระบบการบริหารจดั การ
ประโยชน์จากขอ้ มลู สารสนเทศชมุ ชน ศกึ ษา วเิ คราะห์ ที่เป็นระบบแบบแผน จึงเห็นสมควร ที่จะหาวิธีการ
วิจัยจัดทายุทธศาสตร์ชุมชน เพื่อให้เป็นชุมชนมี เพ่ือพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการกลุ่มโฮมสเตย์
แนวทางเดียวกันในการจัดการท่องเท่ียวในชุมชนท่ี เพื่อการท่องเท่ียวชุมชนบนพ้ืนฐานเศรษฐกิจพอเพียง
ชดั เจน [2] ในอาเภอหนองแสง จงั หวัดอดุ รธานี ตอ่ ไป

การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ตามรูปแบบการ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจ ทาการวิจัยเรื่อง
ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยเป็นรูปแบบการทอ่ งเที่ยวที่ การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการกลุ่มโฮมสเตย์เพอ่ื
เปิดโอกาสให้นักท่องเท่ียวเลือกพักกับชุมชน เข้าพัก การท่องเท่ียวชุมชน บนพ้ืนฐานเศรษฐกิจพอเพียง ใน
อ า ศั ย เ ส มื อ น เ ป็ น ส ม า ชิ ก ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว เ พื่ อ ใ ห้ พืน้ ทอี่ าเภอหนองแสง จังหวดั อดุ รธานี
นักท่องเที่ยวได้เรยี นรแู้ ลกเปล่ยี นประสบการณม์ คี วาม
ใกล้ชิดกับชาวบ้านและการดาเนินวิถีชีวิต เรียนรู้ 2. วัตถุประสงค์การวิจัย
วัฒนธรรมท้องถ่ิน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ไปพร้อมกับการ 2.1 เพ่ือศึกษาสภาพการบริหารโฮมสเตย์ เพื่อ
ทอ่ งเทย่ี ว [3]
การทอ่ งเท่ยี วชมุ ชนบนฐานเศรษฐกจิ พอเพียง ในพ้ืนที่
อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี มีสถานท่ี อาเภอหนองแสง จงั หวดั อดุ รธานี
ท่องเท่ียว ท่ีสาคัญ ได้แก่ 1) น้าตกคอยนาง ทางขึ้นท่ี
บ้านท่ายม ตาบลแสงสว่าง 2) น้าตกธารงาม ทางข้ึนท่ี 2.2 เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารโฮมสเตย์ เพื่อ
บ้านทับกุง ตาบลทับกุง 3) แหล่งท่องเท่ียวเชิงนิเวศภู การท่องเท่ียวชมุ ชนบนฐานเศรษฐกจิ พอเพียง ในพื้นที่
ฝอยลม ทางข้ึนทีบ่ า้ นทับกุง ตาบลทบั กงุ 4) อ่างเกบ็ น้า อาเภอหนองแสง จงั หวัดอดุ รธานี
ห้วยสามพาด ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตาบลทับกุง
และ พื้นท่ีบางส่วนของตาบลหนองไฮ อาเภอเมือง 2.3 เพอื่ ประเมินผลการพฒั นารปู แบบการบรหิ าร
จังหวัดอุดรธานี 5) อ่างเก็บน้าคาล้ินควาย บริเวณ โฮมสเตย์ เพื่อการท่องเท่ียวชุมชนบนฐานเศรษฐกิจ
บ้านทับไฮ ตาบลแสงสว่าง อาเภอหนองแสง จังหวัด พอเพยี ง ในพนื้ ที่อาเภอหนองแสง จังหวัดอดุ รธานี
อุดรธานี นอกจากน้ันยังมีกลุ่มโฮมสเตย์หลายกลุ่ม ท่ีมี
การพัฒนาเพ่ือรองรับนักท่องเท่ียวได้ อาทิเช่น กลุ่ม 3. วธิ ดี าเนนิ การวิจยั
โฮมสเตย์ โฮมฮักบ้านดนิ บ้านท่าสี หมู่ที่ 3 ตาบลแสง การวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพและ

วิจัยเชงิ ปริมาณ ไดแ้ บง่ การวจิ ยั ออกเป็น 3 ระยะ ดงั น้ี

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 60

60 วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ระยะท่ี 1 การศกึ ษาสภาพการบริหารโฮมสเตย์ ผู้ท ร ง คุณ วุฒิจ า ก ทีม ป ฏิบัติก า ร ร ะ ดับ ตา บ ล
เพ่ือการท่องเที่ยวชุมชนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียง ใน (ประกอบด้วย พัฒนาชุมชน/เกษตร/สาธารณสุข/
พื้นท่ีอาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ประชากรท่ีใช้ การศกึ ษานอกโรงเรยี น/องค์การบริหารส่วนตาบลแสง
ในการศึกษาได้แก่ สมาชิกโฮมสเตย์ คณะกรรมการโฮมส สว่าง/หนองแสง/ทับกุง) รวมท้ังส้ิน จานวน 30 คน
เตย์ ผู้นา คณะกรรมการกลุ่มอาชีพเครือข่ายโฮมสเตย์ เลือกแบบเจาะจง เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย แบบ
ในอาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี จานวน 472 คน ประเมินเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ทาการ
กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของทาโรยามา เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง ค่าความถี่ (Frequency)
เน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 214 คน และทาการสุ่มแบบง่าย ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วน
โดยการจับสลาก เครื่องมือการวิจัยใช้แบบสอบถาม เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) กาหนด
ลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตรวจสอบ เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณารูปแบบการบรหิ ารโฮมสเตย์
ความเท่ียงตรงด้านเน้ือหา (Validity) โดย ผู้ เพ่ือการท่องเที่ยวชุมชนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียง
เชี่ยวชาญ 3 คน โดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้อง มีคา่ เฉลย่ี ตั้งแต่ 3.51 ขึน้ ไปถือว่าใชไ้ ด้
( Index of Item–objective Congruence: IOC)
ไ ด้ค่า IOC อยู่ร ะ หว่าง 0.67-1.00 ทา ก า รเก็บ 4. สรุปผลการวิจยั
รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ ผูว้ จิ ยั ไดส้ รุปผลการวจิ ยั ดังน้ี
ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ 4.1 ผลศึกษาสภาพการบริหารโฮมสเตย์เพื่อการ
(Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation) ท่องเที่ยวชุมชนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียง ในพ้ืนที่
อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี พบว่า ระดับ
ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการบริหารโฮม ดาเนินการโฮมสเตย์เพื่อการท่องเท่ียวชุมชนบน
สเตย์เพ่อื การท่องเทย่ี วชุมชนบนฐาน เศรษฐกิจพอเพียง ฐ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ใ น พ้ื น ที่ อ า เ ภ อ ห น อ ง แ ส ง
ในพื้นที่อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ผู้ให้ข้อมูล จังหวัดอุดรธานี ภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง
สาคัญ คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีความรู้และประสบการณ์ ( X = 3.49, S.D.= 0.734) เรียงลาดับค่าเฉลี่ยจาก
ในการดาเนินงานโฮมสเตย์ เพื่อการท่องเทีย่ วชุมชน นอ้ ยไปมาก ได้แก่ ลาดบั ท่ี 1 ด้านการมกี ฎ กติกา การ
ได้แก่ ตัวแทนสมาชกิ โฮมสเตย์ คณะกรรมการโฮมส ทางานของคณะกรรมการ ( X = 3.39, S.D.= 0.771)
เตย์ ผู้นา คณะกรรมการกลุ่มอาชีพเครือข่ายโฮมส ลาดับท่ี 2 การมีระบบการจองล่วงหน้าลงทะเบียน และ
เตย์ ผู้ทรงคุณวุฒิจากทีมปฏิบัติการระดับตาบล ชาระเงินล่วงหน้า ( X = 3.41, S.D.= 0.812) ลาดับ
องค์การบริหารส่วนตาบลแสงสว่าง ตาบลหนองแสง ท่ี 3 การมีคณะกรรมการบริหารกลุ่มโฮมสเตย์ ( X =
และตาบลทบั กงุ รวมทงั้ สิ้น จานวน 15 คน เลือกแบบ 3 . 4 3 , S.D.= 0.654) ล าดับที่ 4 การกระจาย
เจาะจง เครื่องมือการวิจัยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมี ผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม ( X = 3.55, S.D.= 0.688)
โครงสร้าง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง วิเคราะห์ ลาดับที่ 5 การรวมกลุ่มของชาวบ้าน ( X = 3.56, S.D.
เนอื้ หา (Content Analysis) และสรุปภาพรวม = 0.724) ลาดับท่ี 6 มีรายละเอียดค่าธรรมเนียมและ
บรกิ าร ( X = 3.63, S.D.= 0.757)
ระยะที่ 3 การประเมินผลการพัฒนารูปแบบ
การบริหารโฮมสเตย์เพ่ือการท่องเที่ยวชุมชน บน 4.2 ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารโฮมสเตย์
ฐานเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่อาเภอหนองแสง เพื่อการท่องเที่ยวชุมชนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียง
จังหวัดอุดรธานี กลุ่มเป้าหมายท่ีศึกษา ได้แก่ ตัวแทน ในพื้นที่อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ภาพรวม
สมาชิกโฮมสเตย์ คณะกรรมการโฮมสเตย์ ผู้นา อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.49, S.D.= 0.734) ได้
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก ลุ่ ม อ า ชี พ เ ค รื อ ข่ า ย โ ฮ ม ส เ ต ย์ รูปแบบท่ีเป็นเชิงข้อความ (Semantic Model) ท่ีใช้

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 61

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ภาษาเปน็ ส่อื ในการบรรยาย หรืออธิบายปรากฏการณ์ สืบเนื่องจาก การบริหารโฮมสเตย์เพ่ือการท่องเท่ียว
ท่ีศึกษาด้วยภาษา แผนภูมิ หรือรูปภาพ เพ่ือให้เห็น ชุมชนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่ม ยังไม่ปฏิบตั ิ
โครงสร้างทางความคิดองค์ประกอบ และความสัมพนั ธ์ ตามกฎ กติกาท่ีกาหนดไว้ ระบบการจองยังไม่มี
ขององค์ประกอบของปรากฏการณ์นั้น และใช้ข้อความ ประสิทธิภาพ ไม่มีการเลือกต้ังคณะกรรมการตาม
ใ น ก า ร อ ธ ิบ า ย เ พื ่อ ใ ห ้เ ก ิด ค ว า ม ก ร ะ จ ่า ง ม า ก ขึ้น วาระการดารงตาแหน่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของ
ประกอบด้วย หลักการพัฒนา วัตถุประสงค์การ กนกรัตน์ ดวงพิกุล และ จารุนันท์ เมธะพันธุ์ ได้ศึกษา
พัฒนา กิจกรรมการพัฒนา ตวั ชวี้ ดั การพัฒนาและการ เร่ือง โฮมสเตย์กับการจัดการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนใน
ประเมินผลการพัฒนา ซึ่งมีทั้งหมด 3 ด้าน 11 จังหวัดน่าน ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนมีการจัดการ
กิจกรรมการพฒั นา ท่องเท่ียวเชิงนิเวศ ประกอบด้วย 7 ด้าน ได้แก่ 1) ด้าน
การเข้าถึงพ้ืนที่ทางการท่องเที่ยวของโฮมสเตย์ 2)
4.3 ผลการประเมินผลการพัฒนารูปแบบการ ด้านทีพ่ ักสาหรับนกั ท่องเท่ียว 3) ด้านอาหารสาหรับ
บ ริ ห า ร โ ฮ ม ส เ ต ย์ เ พื่ อ ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ชุ ม ช น บ น ฐาน นักท่องเที่ยว 4) ด้านกิจกรรมและรายการนาเที่ยว
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ในพน้ื ทีอ่ าเภอหนองแสง โดยภาพรวม 5) ด้านทรัพยากร และสภาพแวดล้อม 6) ด้านการ
มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมาก ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย 7) ด้านการบริหาร
( X = 3.70, S.D.= 0.678) และ ( X = 3.66, S.D.= จัดการของกลุ่มโฮมสเตย์ ผู้ประกอบการโฮมสเตย์ให้
0.371) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ความเหมาะสม ความสาคัญกับการจัดการท่องเท่ียวของโฮมสเตย์
และความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากทุก เม่ือนาไป โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
เปรียบเทียบกับเกณฑ์แล้วปรากฏว่า ค่าเฉล่ียมากกว่า เรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก
เกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือ 3.51 ทุกด้าน จึงถือว่า การ ได้แก่ 1) ด้านอาหารสาหรับนกั ท่องเที่ยว 2) ดา้ นทีพ่ ัก
พัฒนารูปแบบการบริหารโฮมสเตย์เพื่อการท่องเที่ยว สาหรับนักท่องเที่ยว 3) ด้านการบริหารจัดการของ
ชุมชนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียง พอเพียง ในพ้ืนที่ กลุ่มโฮมสเตย์ตามลาดับ จากการวิเคราะห์ศักยภาพ
อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ผ่านการประเมิน การจดั การท่องเท่ยี วของโฮมสเตย์
สามารถนาไปปฏิบัตจิ ริงได้
5.2 ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารโฮมสเตย์
5. การอภปิ รายผล เพื่อการท่องเที่ยวชุมชนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียง
จากข้อค้นพบผู้วิจัยจึงอภิปรายผล 3 ประเด็นที่ ในพ้ืนที่อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ได้รูปแบบ
ทเ่ี ปน็ เชิงข้อความ (Semantic Model) ทใี่ ชภ้ าษาเปน็
สาคัญสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั ดงั น้ี ส่ือในการบรรยาย หรืออธิบายปรากฏการณ์ท่ีศึกษา
5.1 ผลการศึกษาสภาพการบริหารโฮมสเตย์ เพ่ือ ด้วยภาษา แผนภูมิ หรือรูปภาพ เพื่อให้เห็นโครงสร้าง
ทางความคิดองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของ
การท่องเท่ียวชุมชนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียง ในพ้ืนที่ องค์ประกอบของปรากฏการณ์นั้น และใช้ข้อความ
อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี พบว่า ระดับ ใ น ก า ร อ ธ ิบ า ย เ พื ่อ ใ ห ้เ ก ิด ค ว า ม ก ร ะ จ ่า ง ม า ก ขึ้น
ดาเนินการโฮมสเตย์เพื่อการท่องเที่ยวชุมชน บน ประกอบด้วย หลักการพัฒนา วัตถุประสงค์การ
ฐานเศรษฐกิจพอเพียง ในพ้ืนท่ีอาเภอหนองแสง พัฒนา กจิ กรรมการพฒั นา ตัวชีว้ ดั การพฒั นาและการ
จังหวัดอุดรธานี ภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง หาก ประเมินผลการพัฒนา ซ่ึงมีท้ังหมด 3 ด้าน 11
พิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง 3 กิจกรรมการพัฒนา อาจสืบเนือ่ งจาก รูปแบบเดิมของ
ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการมีกฎ กติกา การทางานของ การบริหารโฮมสเตย์เพื่อการท่องเท่ียวชุมชนบน
คณะกรรมการ 2) ด้านการมีระบบการจองล่วงหน้า ฐานเศรษฐกิจพอเพียง ในพ้ืนท่ีอาเภอหนองแสง
ลงทะเบียน และชาระเงินล่วงหน้า 3) ด้านการมี
คณะกรรมการบริหารกลุ่มโฮมสเตย์ ตามลาดับ อาจ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 62

62 วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

จังหวัดอุดรธานี ยังขาดความชัดเจนในการกาหนด ใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์จากผู้นากลุ่ม
หลักการ วัตถุประสงค์ กิจกรมการพฒั นา ตัวช้ีวัดและ โฮมสเตย์ฯ และกรรมการบริหาร ทั้งหมดจานวน 3
การประเมินผล จึงต้องมีการพัฒนารูปแบบให้ดีข้นึ มา ราย ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า ชุมชนบ้านบุไทรได้
ใหม่ และทาให้การบริหารมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น มีการรวมกลุ่มสมาชกิ เปดิ ทาท่ีพกั อาศัยแบบโฮมสเตย์
สอดคล้องกับ บุญชม ศรีสะอาด และ นิภา ศรี เพ่ือเป็นกิจกรรมสร้างรายได้เสริมแก่ชุมชน โดยยึด
ไพโรจน์ [4] ให้ความหมายของรูปแบบว่า หมายถึง เอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาแนวทางใน
โครงสร้างที่แส ดงถึง ค ว า ม ส ัม พ ัน ธ ์ร ะ ห ว ่า ง การดาเนินงาน เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากร
องค์ประกอบต่าง ๆ หรือตัวแปรต่าง ๆ ผู้วิจัย ของชุมชนเกิดความสมดุล และอยู่บนพื้นฐานของ
ส า ม า ร ถ ใ ช ้รูป แ บ บ อ ธ ิบ า ย ควา มสัมพัน ธ์ระหว่า ง การพึ่งพาตนเองอย่างแท้จริง ผลจากการใช้หลัก
องค์ประกอบต่าง ๆ หรือตัวแปรต่าง ๆ ท่ีมีใน ความพอประมาณ โฮมสเตย์บ้านบุไทรมีการวางแผน
ปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือในระบบต่าง ๆ อธิบาย ในการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมและเกิดประโยชน์
ลาดับข้ันตอนขององค์ประกอบหรือกิจกรรมในระบบ ต่อชุมชน ท้ังส่วนท่ีเป็นท่ีพัก การให้บริการ และ
สอดคล้องกับงานวจิ ัยของ ยุทธนา สมลา [5] ได้ศกึ ษา กิจกรรมท่องเที่ยว ล้วนเกิดจากการใช้ทรัพยากร
เร่ือง การบริหารจัดการแหล่งพักอาศัยแบบโฮมสเตย์ ภายในท้องถ่ินเป็นหลัก ทาให้ลดต้นทุนในการ
ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษา ดาเนินงานลง รวมถึงในการดาเนินกิจกรรม ต่าง
หมู่บ้านบุไทร อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ๆ นั้น ได้มีการกาหนดบทบาทหน้าที่ให้สอดคล้อง
วิเคราะห์แนวทางการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา กับศักยภาพของแต่ละบุคคล ทาให้การเข้าร่วม
พัฒนาที่พักอาศัยแบบโฮมสเตย์ ร่วมกับการนาภูมิ กิจกรรมนั้นไม่ส่งผลเสียต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน
ปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรท้องถิ่น รวมถึงวิถีชีวิต ของเหล่าสมาชิก การใช้หลักความมีเหตุมีผล ทาให้
ชุมชนมาใช้อย่างเหมาะสม มีการกาหนดพื้นท่ี การวางแผนดาเนินงานของโฮมสเตย์บ้านบุไทร มี
ศึกษาในหมู่บ้านบุไทร อาเภอวังน้าเขียว จังหวัด ความสอดคล้องกับเหตุและปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับชุมชน
นครราชสีมา โดยยึดดัชนีชี้วัด 8 ด้านของโฮมสเตย์ ทั้งในด้านวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ประเพณีท้องถ่ิน โดย
มาตรฐานสาหรับการบริหารจัดการ ได้แก่ ด้านท่ีพัก อาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน รวมถึงการเสนอ
ด้านอาหารและโภชนาการ ด้านความปลอดภัย ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ในการดาเนินงาน การใช้หลัก
ด้านการจัดการ ด้านกิจกรรมท่องเที่ยว ด้าน ภูมิคุ้มกัน ทาให้สมาชิกที่ทาโฮมสเตย์ลดความเสี่ยง
สิ่งแวดล้อม ด้านมูลค่าเพิ่ม และด้านส่งเสริม ทางด้านการเงิน โดยมีสหกรณ์ออมทรัพย์ของ
การตลาด กระบวนการวิจัยได้มีการเก็บข้อมูลจาก ชุมชนเป็นแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่า ช่วยป้องกัน
ขอ้ มลู ทุตยิ ภมู กิ ่อนในเบ้ืองตน้ เพื่อทราบถึงข้อมลู ทั่วไป ผลกระทบต่อวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่นและ
ของพ้ืนที่ศึกษา และการเก็บข้อมูลในภาคสนามท่ีได้ สิ่งแวดล้อม ด้วยการกาหนดกฎระเบียบ รวมถึง
จากการสัมภาษณ์และสังเกต โดยแยกแบบสอบถาม สร้างภูมิคุ้มกันด้านสิ่งแวดล้อมด้วยการปลูกฝัง
ออกเป็น 3 ชุด สาหรับกลุ่มประชากร 4 กลุ่ม คือ 1) เยาวชนให้ช่วยกันดูแลรักษา ส่วนเงื่อนไขด้านความรู้
กลุ่มเจ้าของบ้านพักโฮมสเตย์ จานวน 18 หลัง เก็บ ส่งผลใหเ้ กิดการพฒั นาภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นมาประยุกต์กับ
ข้อมูลได้ 100% 2) กลุ่มสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม ศาสตร์สมยั ใหม่ ออกมาในรปู ของผลิตภัณฑ์เพื่อสร้าง
อื่นของโฮมสเตย์ เก็บข้อมูลได้ 54 ราย จาก 110 รายได้ อีกทั้งยังสร้างความน่าสนใจให้กับโฮมสเตย์
ราย 3) กลุ่มนักท่องเที่ยว มีการเก็บข้อมูลตั้งแต่ ด้วยการเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม สุดท้ายคือ
เดือนตุลาคม พ.ศ.2549-มกราคม พ.ศ.2550 เงื่อนไขด้านคุณธรรม ส่งผลให้การดาเนินงานมีความ
สามารถเกบ็ ข้อมูลได้ 80 ราย และ 4) กลุ่มผู้นาโฮมสเตย์ โปร่งใส และการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม มุ่งไปที่

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชีวศึกษา 63

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ผลประโยชน์โดยรวมของชุมชนเป็นที่ตั้ง ทาให้เกิด โฮมสเตย์ ฝ่ายมัคคุเทศก์ และศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจ
ความสามัคคีข้ึนในกลุ่มสมาชิก ซึ่งปัจจัยสาคัญท่ี พอเพียง 2) การจัดการโฮมสเตย์ ชาวบ้านได้รวมกลุ่มกัน
สร้างความสาเร็จในการทาโฮมสเตย์ของชุมชนบ้าน จดทะเบียนจัดตง้ั กลุม่ วิสาหกิจโฮมสเตย์ตาบลทงุ่ สมอขนึ้
บุไทรนั้น มาจากภาวะความเป็นผู้นาของประธาน ได้ มีรูปแบบเป็นกลุ่มวิสาหกิจ บ้านพักแต่ละหลงั มจี ดุ
กลุ่มฯ ทีเ่ ล็งเหน็ ถงึ ความสามารถของชุมชนในการทจ่ี ะ ขายท่ีแสดงถึงวิถีชนบทแตกต่างกันไป มีจุดท่องเที่ยว
พัฒนาทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดมูลค่าเพิ่ม รวม ถึง ฐานความรู้ คือ ฐานที่ 1 เป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจ
ต้องการยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน และส่วน พอเพียง ฐานที่ 2 เกษตรปลอดสารและการแปรรูป
สาคัญอีกประการหนึ่งคือ การมีส่วนร่วมของเหล่า ผลิตภัณฑ์ทางเกษตร ฐานท่ี 3 แหล่งผลิตปุ๋ยอินทรีย์
สมาชิกที่มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน ในการที่จะพัฒนา อัดเม็ด เตาเผาถ่านแบบเศรษฐกิจพอเพียง และการ
ชุมชนให้มีความก้าวหน้าและเกิดความเข้มแข็ง โดย จัดการพ้ืนทตี่ ามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง
ยึดหลักในการพึ่งพาตนเองเปน็ สาคัญ ซึ่งปัจจยั เหล่าน้ี
จะเป็นรากฐานที่เข้มแข็งให้กับชุมชนในการพัฒนาใน 5.3 ผลการประเมินผลการพัฒนารูปแบบการ
สู่ความย่ังยืนต่อไป ส่วนปัญหาท่ีพบก็คือ ชุมชนยังใช้ บริหารโฮมสเตย์ เพื่อการท่องเที่ยวชุมชนบนฐาน
ทรัพยากรท่ีมีอยู่ยังไม่เต็มความสามารถ ท้ังบุคลากร เศรษฐกจิ พอเพยี ง ในพื้นที่อาเภอหนองแสง โดยภาพรวม
และสถานทท่ี ่องเที่ยวทางธรรมชาติ ชุมชนยังขาดการ มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมาก
วางแผนการใช้ทรัพยากรในระยะยาว โดยเฉพาะ เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ความเหมาะสมและ
แหล่งน้า อันเป็นผลสืบเน่ืองจากนักท่องเทยี่ วโฮมสเตย์ ความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากทุกด้าน เม่ือนาไป
และนักท่องเท่ียว ทีเข้ามาพักในรีสอร์ทใกล้เคียงมี เปรียบเทียบกับเกณฑแ์ ล้วปรากฏว่า ค่าเฉล่ียมากกวา่
จานวนเพ่ิมขึ้นทุกปี ข้อเสนอแนะสาหรับงานวิจัยครั้งนี้ เกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือ 3.51 ทุกด้าน จึงถือว่า การ
คือ ควรสร้างความเข้าใจและกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน พัฒนารูปแบบการบริหารโฮมสเตย์เพื่อการท่องเที่ยว
ในหมู่สมาชิก ควรพัฒนาโฮมสเตย์จากฐานทรัพยากรท่ีมี ชุมชนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียง ในพ้ืนที่อาเภอหนอง
อยู่ให้เกิดความหลากหลายมากขึ้น และควรวางแผนใน แสง จังหวัดอดุ รธานี ผา่ นการประเมิน สามารถนาไป
การบริหารจัดการทรัพยากรของท้องถ่ินในระยะยาว ปฏิบัติจริงได้ อาจสืบเน่ืองจาก การพัฒนารูปแบบการ
โดยอาศยั ความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานราชการในการให้ บริหารโฮมสเตย์ เพ่ือการท่องเที่ยวชุมชนบนฐานเศรษฐกิจ
คาปรึกษาและวางระบบ และสอดคล้องกับงานวิจัย พอเพียง ในพ้ืนท่ีอาเภอหนองแสง มีหลักการวัตถปุ ระสงค์
ของเพญ็ จันทร์ สงั ข์แกว้ [6] ได้ศกึ ษาเรื่อง การจดั การ กิจกรมการพัฒนา ตัวชี้วัดและการประเมินผล ท่ีสอด
การท่องเที่ยวโดยชุมชนบนพ้ืนท่ีสูง อาเภอเขาค้อ คล้อง เชื่อมโยงกันอย่างเป็นเหตุเป็นผล และสอดคล้อง
จังหวัดเพชรบูรณ์ การวิจัยเร่ือง การจัดการโดยชุมชน กับการแก้ปัญหาการบริหารงานของกลุ่มที่ผ่านมาได้
บนพ้ืนที่สูง ตาบลทุ่งสมอ อาเภอเขาค้อ จังหวัด สอดคลอ้ งกบั ศริ ชิ ยั กาญจนวาสี [7] และ สมหวัง พิธยา
เพชรบูรณ์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการวิจัยและ นุวัฒน์ [8] ได้กล่าวถึงมาตรฐานการประเมิน 4 ด้าน
พัฒนาคร้ังนี้ทาให้ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจและ คือมาตรฐานด้านอรรถประโยชน์ (Utility standards)
สามารถจัดการท่องเที่ยวได้ ได้แก่ 1) การกาหนด ประกอบด้วย 8 เกณฑ์ มาตรฐานด้านความเป็นไปได้
รูปแบบการท่องเท่ียวโดยชุมชน ซึ่งมีโครงสร้างการ (feasibility standards) ประกอบด้วย 3 เกณฑ์
บริหารประกอบด้วย ประธานกลุ่มวิสาหกิจโฮมสเตย์ มาตรฐานด้านความเหมาะสม (propriety standards)
รองประธานกลุ่ม งานบริหารท่ัวไปได้แก่ ฝ่าย ประกอบด้วย 8 เกณฑ์ มาตรฐานด้านความถูกต้อง
เลขานุการ ฝ่ายเหรัญญิก ฝ่ายการตลาด ฝ่ายรักษา (accuracy standards) ประกอบด้วย 11 เกณฑ์ รวม
ความปลอดภัย และงานบริหารกิจกรรม ได้แก่ ฝ่าย เกณฑท์ งั้ สิ้น 30 เกณฑ์ มาตรฐานดา้ นความเป็นไปได้
(feasibility standards) เป็นมาตรฐานเน้นความเป็น

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 64

64 วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

จริงของการประเมินประกอบด้วย 3 เกณฑ์ คือวิธีการ เอกสารอ้างองิ
ประเมินสามารถนาไป ใช้ปฏิบตั ิไดจ้ ริง การเปน็ ท่ียอม [1] การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย. (2549). แหลง่
รบั ของผ้ถู ูกประเมินผู้ไดร้ ับผลกระทบจากการประเมิน ทอ่ งเท่ียวแบบโฮมสเตย.์ แหล่งทม่ี า :
ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ผลที่ได้มีความคุ้มคา่ กบั http://www.bangkok bizweek.com/
ผลงาน สามารถนาไปปรับปรุงการปฏิบัติงาน ขยาย (28 ธนั วาคม 2562).
งานหรือล้มเลิก ส่วนมาตรฐานด้านความเหมาะสม [2] กรมการพฒั นาชุมชน. (2552). คมู่ ือแผน
(propriety standards) มุ่งเน้นเกี่ยวกับเร่ือง กฎ ปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี. กรุงเทพฯ : กรมการ
ระเบียบ ศีลธรรม จรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาชมุ ชน.
ประเมิน ประกอบด้วย 8 เกณฑ์ คือ มีการกาหนด [3] กัลยาณี กุลชยั . (2560). การพัฒนารปู แบบ
ข้อตกลงอย่างเป็นทางการ มีการแก้ปัญหาของการ การจัดการการทอ่ งเที่ยวแบบโฮมสเตย์ บ้าน
ประเมินด้วยความซ่ือสัตย์ ไม่บิดเบือนความเป็นจริง ทา่ คา อาเภออมั พวา จงั หวดั สมุทรสงคราม
อย่าง สันติวิธี รายงานการประเมินอย่างตรงไฟตรงมา โดยใช้กระบวนการวิจยั เชงิ ปฏบิ ัติการแบบมี
เปิดเผย และคานึงถึงข้อจากัดของการประเมิน มีการ สว่ นรว่ มของชุมชน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
ให้ความสาคัญต่อสิทธิในการรับรู้ข่าวสารของบุคคล ศรนี ครินทรวโิ รฒ.
ทั่วไปอย่างเปิดเผย มีการเผยแพร่ผลการประเมินและ [4] บุญชม ศรีสะอาด และ นภิ า ศรไี พโรจน์.
เปิดโอกาสให้ผู้สนใจได้ศึกษาผลการประเมิน มีการ (2531). รายงานการวิจัยรูปแบบการสอน
คานึงถึงสิทธิส่วนตัวของกลุ่มตัวอย่าง มีการเคารพใน วิธีการทางสถติ สิ าหรบั การวิจัยทม่ี ี
การปฏิสัมพันธ์ของผู้เก่ียวข้อง รวบรวมข้อมูลจาก ประสทิ ธภิ าพ.มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัย
บุคคลหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีรายงานผลการประเมิน มหาสารคาม.
ท่ีสมบูรณ์ ยุติธรรม และเสนอท้ังจุดเด่น จุดด้วยของ [5] ยุทธนา สมลา. (2549). การบริหารจดั การ
สิ่งที่ประเมิน ผู้ประเมินทาการประเมินด้วยความ แหลง่ พักอาศัยแบบโฮมสเตย์ตามแนวทาง
รบั ผดิ ชอบและมีจรรยาบรรณ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง : กรณีศกึ ษา
หมบู่ า้ นบไุ ทร อาเภอวังน้าเขยี ว จังหวัด
กติ ตกิ รรมประกาศ นครราชสีมา. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์
งานวจิ ัยฉบับนสี้ าเร็จได้ลุลว่ งไปดว้ ยดี เนือ่ งจาก มหาวทิ ยาลัย.
[6] เพ็ญจนั ทร์ สังข์แก้ว และคณะ. (2552).
ได้รับความเมตตาและกรุณาจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รายงานการวิจัยการจัดการการทอ่ งเทย่ี วโดย
ดร.ธนกฤต ทุริสุทธิ์ อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ที่ ชุมชนบนพ้นื ท่สี งู อาเภอเขาค้อ จงั หวัด
ได้ให้คาปรึกษาแนะนาในการปรับปรุงแก้ไขมาโดย เพชรบูรณ์. เพชรบูรณ์ : สถาบนั วจิ ยั และ
ตลอด รวมทั้งได้ให้ข้อคิดท่ีเป็นประโยชน์ และ พฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ.์
ช่วยเหลือเก้ือกูล ดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดใน [7] ศิรชิ ัย กาญจนวาสี. (2537). ทฤษฎกี าร
การศึกษาค้นคว้าวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยจึงขอขอบพระคุณ ประเมนิ . กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์
มา ณ โอกาสน้ดี ว้ ย มหาวิทยาลยั .
[8] สมหวงั พิธยิ านุวฒั น.์ (2541). วิธวี ทิ ยาการ
ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เช่ียวชาญ ประเมนิ ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์
ผู้บรหิ ารและหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ทไี่ ดใ้ ห้ มหาวทิ ยาลยั .
ค ว า ม ก รุ ณ า ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ น ว ท า ง พ ร้ อ ม ใ ห้
ขอ้ เสนอแนะเพื่อนาไปใช้เปน็ ประโยชนต์ อ่ ผวู้ ิจัย ผวู้ ิจยั
จงึ ขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสน้ีด้วย

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศกึ ษา 65

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

การศึกษาความสาเรจ็ ในการจัดทาบัญชีของวสิ าหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อมในเขตจงั หวดั อดุ รธานี

A Study on the Successful Accounting Practice of Small and
Medium sized Eeterprises in Udon Thani

สวุ รรณา พรมทอง¹*, ทัศนยี ์ ธนอนนั ต์ตระกลู ², จุฑามาศ เทพสาร3, นลิ าวัลย์ มชี น้ั ชว่ ง4 และสุภาพร ชินศร5ี
Suwanna Phomthong¹*, Thassanee Thanaanantrakul², Juthamart Thepsarn3
Nilawan Michanchuang4 and Supaporn Chinsri5

*12345สาขาวิชาการบัญชี วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาอดุ รธานี สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1 จงั หวัดหนองคาย 43000
*12345Field of Accounting, Udonthani Vocational College, Institute of Vocational Education : Northeastern Region 1,

Nongkhai 43000

Received : 2020-06-05 Revised : 2021-01-05 Accepted : 2021-01-06

บทคดั ย่อ ปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก พิจารณาจากการบันทึก
การศึกษาความสาเร็จในการจัดทาบัญชีของ รายการ รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนและแม่นยา ความ
ปลอดภัยในการเข้าใช้งาน การจัดทาบัญชี และความ
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในเขต สะดวกและง่ายในการปฏิบัติงาน ทักษะด้านความ
จังหวัดอุดรธานี มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความสาเร็จ ร่วมมือ และประสานงาน อยู่ในระดับมาก พิจารณา
ในการจัดทาบัญชีของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด จาก ความร่วมมือในการส่งเอกสารที่เกี่ยวกับการ
ย่อมในเขตจังหวัดอุดรธานี เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย จัดทาบัญชี ผู้สอบบัญชีได้เข้ามามีบทบาทในการให้
คือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหารวิสาหกิจ คาแนะนาในการจัดทาบัญชีให้ถูกต้อง หัวหน้าฝ่าย
ขนาดกลางและขนาดย่อ (SMEs) ฝ่ายบัญชี ในเขต บัญชีได้ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบัญชีเป็น
อาเภอเมืองอุดรธานี จังหวดั อุดรธานี จานวน 287 ราย อยา่ งและทกั ษะด้านเอกสารและวธิ ีทางการบัญชีอยใู่ น
ผลการวิจัย พบว่า ความเห็นของความเห็นของ ระดับมาก พิจารณาจากการบันทึกรายการบัญชี ลง
ผู้บริหารฝ่ายบัญชีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สมุดรายวันซ้ือ รายวันขาย รายวันรับ และรายวัน
ในเขตจังหวัดอุดรธานี เกี่ยวกับความสาเร็จในการ ทั่วไปและ การผ่านรายการจากสมุดรายวันข้ันต้นไป
จัดทาบัญชขี องวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ใน สมุดบัญชีแยกประเภท และเอกสารที่ใช้ในการ
เขตจังหวัดอุดรธานี โดยรวมอยใู่ นระดับมาก แยกเป็น ประกอบการบันทกึ บัญชีมีปรมิ าณท่ีเหมาะสม
รายด้าน ดังนี้ ทักษะด้านความรู้ความสามารถ อยู่ใน คาสาคญั : ความสาเรจ็ , การจัดทาบัญช,ี วิสาหกิจ
ระดับมาก พิจารณาจากนักบัญชี มคี วามรู้ความเขา้ ใจ
เก่ียวกับการจัดทาบัญชีอย่างถูกต้องครบถ้วนสามารถ ขนาดกลาง และขนาดยอ่ ม
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดทาบัญชีได้และรู้
ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นข้อบังคับขององค์กร มี Abstract
ความเข้าใจในวัตถุประสงค์การจัดต้ังขององค์กร A Study on the Success of Accounting
ร*สอุวงรลรงณมาา พครอื มททกัองษะด้านเครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการปฏบิ ัติ
for Small and Medium Enterprises ( SMEs) in
E-mail : [email protected] Udon Thani Province is intended to study the

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 66

66 วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

success of the accounting of Medium and the ledger account and the documents used
Small enterprises in Udon Thani province. The in the accounting record are appropriate.
research tool was a questionnaire.The sample Keywords : Success,Accounting practice,
group was 287 executives of small and
medium enterprises ( SMEs) accounting Small and medium enterprise
department in Mueang Udon Thani district,
Udon Thani Province amounted to in Udon 1. บทนา
Thani province. Opinion of the Management ผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
Accounting Department staff of Small and
Medium Enterprises in Udon Thani Province (SMEs) ท่ีดาเนนิ การกิจการในรปู แบบนติ ิบคุ คลน้ันเป็นผู้มี
on the success in the accounting of small and หน้าท่ีจัดทาบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.
medium enterprises in Udon Thani, overall at 2543 โดยเมอ่ื ส้ินรอบระยะเวลาบญั ชีตอ้ งมกี ารจดั ทา
a high level separated by each side as follows: งบการเงิน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
Knowledge skills at a high level, considered by ผลการดาเนินงาน ฐานะการเงิน หรือก า ร
an accountant who has complete knowledge เปล่ียนแปลงฐานะการเงินของกิจการ ซึ่งงบการเงิน
and understanding about the preparation of ต้องส่งเสริมการนาเสนอข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการ
accounting. Able to resolve problems arising ตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ เพิ่มความสามารถในการเข้าถงึ
from accounting and know the procedures แหล่งเงินทุนให้ง่ายขึ้น ส่งเสริมให้เกิดความสม่าเสมอ
that are mandatory for the organization. และเปรียบเทียบกันได้ช่วยให้ผู้ใชง้ บการเงินเกิดความ
Understanding the organizational objectives of เช่ือมั่น นาไปสู่การเติบโตของธุรกิจและระบ บ
the organization followed by skills in เศรษฐกิจโดยรวม แต่ด้วยข้อจากัดของ (SMEs) ที่ยัง
operational tools Very level considered by มีปัญหาหลายประการโดยเฉพาะปัญหาด้านการเงินท่ี
recording transactions that are fast, accurate, สาคัญ คอื งบการเงนิ ไม่น่าเช่อื ถอื ขาดระบบบญั ชที ด่ี ี
complete and accurate security of access และไม่เก็บเอกสารการค้าจึงส่งผลให้ความน่าเช่ือถือ
accounting and convenience and ease of ของงบการเงินในกลุ่ม (SMEs) มีแนวโน้มทจี่ ะลดลง
operation. Cooperation and coordination skills
Is at a high level, considering the cooperation ปัจจุบันการดาเนินงานท่ีเป็นธุรกิจขนาดกลาง
in submitting documents related to the และขนาดย่อม SMEs มีเป็นจานวนมาก และการ
accounting. The auditor has played a role in บริหารงานของกิจการต้องมีความคล่องตัว มีความ
giving advice in the preparation of accurate เป็นอิสระ และมีต้นทุนการดาเนินงานต่ากว่าธุรกิจ
accounts. The Chief Accounting Officer has ขนาดใหญ่ จึงมีบทบาทสาคัญในระบบเศรษฐกจิ ไมว่ า่
been very cooperative in providing accounting จะเป็นการพัฒนาความสามารถในการประกอบการ
information and skills in documents and การระดมทุน การจ้างงาน การกระจายอานาจทาง
accounting methods at high level. Considered เศรษฐกิจ และการจัดหาบริการให้กับธุรกิจขนาดใหญ่
from accounting records post a purchase อีกท้ังยังเป็นตลาดจาหนา่ ยสินค้าของธรุ กิจขนาดใหญ่
journal, sales daily, receive daily and general ด้วย กล่าวคือ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SMEs
daily and posting from the primary journal to จะเจริญเติบโตเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ได้น้ัน ต้องอาศัย
การบริหารงานทีม่ ีประสิทธิภาพ และสามารถเอาชนะ
ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ได้ ในปัจจุบันธุรกิจขนาด
กลางและขนาดย่อม SMEs ยังประสบกับปัญหา

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา 67

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

และข้อจากัดในการประกอบธรุ กิจหลายประการไม่ว่า ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม
จะเป็นปัญหาด้านการจัดการการตลาด ด้านแรงงาน
ด้านเทคโนโลยีการผลติ และปัญหาทางด้านบัญชียงั มี ความคดิ เห็นดา้ นความสาเร็จ ความสาเรจ็ ในการ
การจัดทาบัญชที ี่ไม่สมบูรณ์และไม่ได้นาตัวเลขทีไ่ ดม้ า (1) ดา้ นความรู้ความสามารถ จดั ทาบญั ชขี อง
ใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ ธุรกิจSMEs ที่จด (2) ดา้ นเอกสารและวธิ ีการทาง วิสาหกิจขนาด
ทะเบียนในรูปห้างหุ้นส่วน และบริษัทยังมีการ กลางและขนาด
ด า เนิ น ก า ร เป็ น ธุ ร กิ จ ค ร อบ ค รั ว น อก จ า ก น้ี บญั ชี ย่อม
ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการ มีความเชื่อม่ันใน (3) ดา้ นความรว่ มมอื และ
ตนเองสูง ขาดความไว้ใจพนกั งาน ทงั้ นเ้ี พราะบุคลากร
ที่ใช้ยังมีความรู้ความสามารถมารถไม่เพียงพอ จึงไม่ ประสานงาน
สามารถดาเนนิ งานตามข้นั ตอนของการรวบรวมข้อมูล (4) ดา้ นเครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการ
ทางบัญชีได้อย่างถูกต้องในขณะที่เร่ิมธรุ กิจผู้ประกอบ
กิจการส่วนมากไม่ได้เตรียมความพร้อมหรือให้ ปฏบิ ตั งิ าน
ความสาคัญกับการจัดระบบบัญชีของกิจการให้เป็น
ระเบยี บถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชีที่รบั รองเชอื่ ถอื -
กันโดยท่ัวไป เป็นเหตุให้บัญชีของกิจการสับสน ไม่ 3.2 แนวคิดเก่ียวกบั ความสาเรจ็
สามารถตรวจสอบที่มาทีไ่ ปของเงินได้ [3]
คนเราเกิดมาทุกคนต่างมีความต้องการเป็น
ผู้วิจัยจึงมีความสนใจและต้องการทราบถึง ของตวั เอง เป็นไปตามหลกั ของ Maslow’s Hierachy
ความสาเร็จในการจดั ทาบัญชีของวสิ าหกิจขนาดกลาง of need เสมอ ได้แก่ การตอบสนองทางสรีระความ
และขนาดย่อมในเขตจังหวัดอุดรธานีเพื่อใช้เป็น มั่นคงปลอดภัย,ความรักการยอมรับ,การยกย่อง,และ
แนวทางในการพัฒนาจัดทาบัญชีของวิสาหกิจขนาด ความสาเร็จใน ชีวิตตามที่ตนปารถนาสูงสุด แตกต่าง
กลางและขนาดย่อมให้มีประสิทธิภาพและบรรลุผล กันตรงท่ี เนื้อหาเป็นการเฉพาะตน ระดับการยอมรับ
สาเรจ็ ขององค์กรตอ่ ไป การจดจ่อต่อสิ่งที่หวัง ในข้ันใดท่ีตนให้สาคัญจึงเป็น
ตัวกาหนดแรงจูงใจของคนแต่ละคนท่ีต่างกันใน
2. วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั ความสาเร็จในงาน ถือเป็นส่วนหนงึ่ ของความสาเรจ็ ใน
เพ่ือศึกษาความสาเรจ็ ในการจัดทาบัญชขี อง ชีวิต ทุกความสาเร็จจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยปัจจัย
ตอ่ ไปนเี้ ปน็ หลกั ในการดาเนนิ ชีวติ
วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มในเขตจังหวัด
อุดรธานี 3.2.1 ความต้องการ (Personal vision,
need) ตอ้ ง Identify ใหไ้ ด้ว่าคืออะไร คนท่อี ยู่ไปวนั ๆ
3. แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ ง จะไมม่ ขี ้อนี้
3.1 กรอบแนวคิดการวิจยั
การวจิ ัยครัง้ นีไ้ ด้กาหนดกรอบแนวคดิ จาก 3.2.2 แรงจูงใจ (Motivation) แรงบันดาล
ใจ(Inspiration) อาจเกิดเองโดยธรรมชาติของบคุ คลที่
ทฤษฎี และผลการวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ดังน้ี มีความ ปราถณา หรือได้เห็น ได้สัมผัส เรียนรู้
(Telling Moment)

3.2.3 ความสามารถที่จะไปถึงเป้าหมาย
(Competency) ได้แก่

3.2.3.1 ความรู้ ความเช่ียวชาญ
บุคลกิ ภาพ ความเปน็ ผนู้ า

3.2.3.2 ความทุ่มเท วิริยะ ลงมือ
กระทาการไม่ท้อถอย

ผ ล ลั พ ธ์ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ท้ั ง รู ป ธ ร ร ม แ ล ะ
นามธรรม นามาดัดแปลงแก้ไขพัฒนาอย่างต่อเน่ือง
หากบุคคลขาดข้อใดข้อหน่ึง ย่อมจะไปไม่ถึงเปา้ หมาย

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 68

68 วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ท่ีต้องการได้ ดังนั้นบุคคล ที่จะประสพความสาเร็จ ได้ ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยข้อที่ 1
ในชีวิตต้องมีองค์ประกอบครบท้ัง 3 ข้อนิยามของ พบว่า ความร้คู วามสามารถของนักบัญชี เมื่อพิจารณา
ความสาเร็จ “คือการท่ีได้บรรลุถึงเป้าหมาความ รายด้าน พบว่า อยู่ในระดับท่ีมาก โดยเรียงลาดับ
ต้องการท่ีต้ังไว้แล้วเกิดความสุข”แล้วเป้าหมายของ ค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย 3 ลาดับแรกดังนี้ ด้าน
เราคืออะไร “คือส่ิงที่ถูกกาหนดไว้ล่วงหน้าจากความ ความรู้ในวิชาชีพ ด้านคุณค่าทางวิชาชีพ และด้าน
ตอ้ งการของเรา”ความต้องการ”ของเราคืออะไร อนั นี้ ทักษะทางวชิ าชพี 2) ผลการวิจัยตามวัตถปุ ระสงคข์ อง
แหละเป็นตัวปัญหาทาให้คนเราสรุปนิยามแห่ง การวิจัยข้อที่ 2 พบว่า ระดับประสิทธิภาพในการ
ความสาเร็จท่ี แตกต่างกัน ทางานของนักบัญชีอยู่ในระดับที่มากโดยดา้ นคุณภาพ
งานและด้านความตรงตอ่ เวลาในการทางานจะมรี ะดบั
3.3 แนวคิดเกี่ยวกับวิสาหกิจขนาดกลางและ ท่ีเท่ากัน และรองลงมาคือ ด้านคุณภาพผลงาน
ขนาดยอ่ ม
4. วิธีการดาเนินการวิจยั
3.4 ความหมายของวิสาหกิจขนาดกลางและ 4.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
ขนาดยอ่ ม 4.1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ ได้แก่

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Small ผู้บริหารของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
and Medium Enterprises = SMEs) เป็นวิสาหกิจท่ี จานวน 4,742 ราย ในเขตจังหวัดอุดรธานี
มีจานวนมากในประเทศไทย ผู้ประกอบการส่วนมาก
ประกอบการในรูปของบุคคลธรรมดา คณะบคุ คลหรือ 4.1.2 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี
ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจากัด ไดแ้ ก่ ผบู้ รหิ ารของวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
บริษัทจากัด หรือกิจการร่วมค้า ซ่ึงจะประกอบธุรกิจ จานวน 357 คน โดยกาหนดตาราง Krejcie และ
ขายสินค้า ผลิตสินค้า หรือให้บริการ ทุกธุรกิจจะ Morgan และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ
เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ห น้ า ที่ ท า ง ภ า ษี อ า ก ร ต า ม ป ร ะ ม ว ล (Stratified Random Sampling)
รษั ฎากร [4]
4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม
สาหรับกรมสรรพากร ประมวลรัษฎากร (Questionnaire) ซึ่งได้สร้างตามวัตถุประสงค์และ
ไม่ได้มีคานิยาม SMEs ไว้ว่ามีลักษณะอย่างไร แต่ได้ กรอบแนวคิดของการวิจัยที่กาหนดข้ึน โดยแบ่ง
อาศัยอานาจตามประมวลรัษฎากรออกกฎหมายเพ่ือ แบบสอบถามออกเปน็ 4 ตอน ดังน้ี
สนับสนุนส่งเสริมธุรกิจ SMEs เช่น ลดอัตราภาษีเงิน
ได้ ยกเว้นภาษีเงินได้ การหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่อม ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปของผ้บู ริหารฝา่ ยบัญชี
ราคาในอตั ราเร่ง เปน็ ตน้ จานวน 5 ข้อลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบ
ตรวจสอบรายการ (Checklist) ประกอบด้วย เพศ
3.5 งานวิจัยทีเ่ กยี่ วข้อง อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทางานและ
ณัชชา ไชยวงค์ [7] ความรู้ความสามารถ รายไดต้ ่อเดอื น

ของนกั บัญชที ม่ี ีตอ่ ประสิทธิผลการทางานของนักบญั ชี ตอนท่ี 2 ข้อมูลทั่วไปของธุรกิจขนาดกลาง
ในจงั หวัดตากการศกึ ษาวจิ ัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ และขนาดย่อม จานวน 6 ข้อ ลักษณะแบบสอบถาม
ศึกษาความรู้ความสามารถของนักบัญชีและศึกษา เปน็ แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ประกอบด้วย
ผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของนัก รูปแบบธุรกิจ ประเภทธุรกิจระยะเวลาดาเนินงาน
บัญชีในจังหวัดตาก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ จานวนพนักงานทั้งหมดในปัจจุบัน จานวนของทุน
นักบญั ชีในเขตจงั หวัดตาก จานวน 95 คน สถติ ิท่ใี ชใ้ น ด า เ นิ น ง า น แ ล ะ เ ป้ า ห ม า ย ใ น ก า ร บ ริ ก า ร แ ล ะ จั ด
การวิเคราะห์ข้อมูลค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย จาหน่ายของธุรกิจ
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1)

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา 69

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ตอนท่ี 3 ความคิดเห็นความสาเร็จของนัก 5. ผลการวจิ ัย
บัญชี ประกอบดว้ ย ด้านความรู้ความสามารถ จานวน การศึกษาวิจัย เร่ือง ความสาเร็จในการจัดทา
5 ข้อ ด้านเอกสารและวิธีการทางบัญชี จานวน 5 ข้อ
ดา้ นความร่วมมอื และประสานงาน จานวน 5 ข้อ และ บัญชี ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขต
ด้านเคร่ืองมือท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน จานวน 5 ข้อ จังหวัดอุดรธานี พบว่า ผู้บริหารฝ่ายวิสาหกิจขนาด
ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณ กลางและขนาดย่อม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 30–
ค่า (Rating Scale) 35 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประสบการณ์การ
ทางาน 3-6 ปี และมีรายได้ต่อเดือนต่ากว่า 25,000
ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะ บาท วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสว่ นใหญเ่ ปน็
4.3 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรม รูปแบบห้างหุ้นส่วน ประเภทธุรกิจซ้ือขายสินค้า
คอมพวิ เตอรส์ าเร็จรปู ดังนี้ ระยะเวลาดาเนินงาน 5–10 ปี จานวนพนักงาน
ทั้งหมดในปัจจุบันน้อยกว่า 20 คน จานวนทุน
ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของ ดาเนินงานต่ากว่า 5 ล้านบาท และเป้าหมายการ
ผู้บริหารฝ่ายวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดย บริการและจัดจาหนา่ ยของธุรกจิ อยู่ภายในประเทศ
ใช้วิธีการประมวลผลโดยใชส้ ถิติพรรณา (Descriptive
Statistics) ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) ตารางท่ี 1 ข้อมลู เกี่ยวกับความสาเรจ็ ในการจดั ทา
และรอ้ ยละ (Percentage) บัญชขี องวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาด
ยอ่ ม ในเขตจงั หวัดอุดรธานี โดยรวม
ตอนท่ี 2 วิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของ
วิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม โดยใช้วิธีการ ความสาเรจ็ ในการจดั ทา X S.D. ความ
ป ร ะ ม ว ล ผ ล โ ด ย ใ ช้ ส ถิ ติ พ ร ร ณ า ( Descriptive บัญชี เหน็
Statistics) โดยนาข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์หา
ค่าทางสถิติ ซึ่งประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ 1. ทกั ษะด้านความรู้ 4.17 0.47 มาก
(Frequency) และร้อยละ (Percentage)
ความสามารถ
ตอนท่ี 3 วิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของความ
คิดเห็นเกี่ยวกับความสาเร็จในการจัดทาบัญชีของ 2. ทักษะด้านเอกสารและวธิ ี 4.07 0.57 มาก
ธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตจังหวัดอดุ รธานี
โดยใช้วิธีการประมวลผลทางหลักสถิติเชิงพรรณา ทางการบัญชี
ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
( Standard Deviation) น า แ บ บ ส อบ ถ า ม เส น อ 3. ทักษะดา้ นความร่วมมือและ 4.15 0.46 มาก
ต่อผู้เชี่ยวชาญเพ่ือตรวจพิจารณาให้ข้อเสนอแนะ ได้
ปรบั ปรุงแกไ้ ข แลว้ นาเสนอตอ่ ผเู้ ช่ียวชาญชุดเดิม โดย ประสานงาน
การหาค่าความสอดคล้อง (Index of Congruence :
IOC) ได้ค่าเท่ากบั 0.92 4. ทักษะด้านเครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ น 4.17 0.58 มาก

การปฏบิ ตั งิ าน

โดยรวม 4.14 0.41 มาก

จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชี
วิ ส า ห กิ จ ข น า ด ก ล า ง แ ล ะ ข น า ด ย่ อ ม มี ค ว า ม เ ห็ น
เกี่ยวกับความสาเร็จในการจัดทาบัญชีของวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตจังหวัดอุดรธานี
โดยรวมแต่ละด้านอยู่ในระดับมาก ( X = 4.14) โดย
แยกเป็นด้านเรียงผลการวเิ คราะห์ดงั นี้ อันดับแรก คือ
ทักษะด้านความรู้ความสามารถ และทักษะด้าน
เคร่ืองมือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน (  = 4.17) ทักษะ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 70

70 วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ด้านความร่วมมือและประสานงาน ( X = 4.15) และ ตารางที่ 3 ข้อมลู เกี่ยวกบั ความสาเรจ็ ในการจัดทา
ทักษะดา้ นเอกสารและวิธที างการบญั ชี ( X = 4.07) บญั ชขี องวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาด
ยอ่ มในเขตจังหวดั อดุ รธานี
ตารางที่ 2 ข้อมลู เกีย่ วกับความสาเร็จในการจดั ทา ด้านเอกสารและวธิ กี ารทางบญั ชี
บัญชีของวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาด
ยอ่ ม ในเขตจงั หวดั อดุ รธานี ดา้ น ทักษะด้านเอกสารและวธิ กี าร X S.D. ความ
ความรคู้ วามสามารถ ทางบญั ชี เห็น

ทกั ษะด้านความรคู้ วามสามารถ X S.D. ความ 1. เอกสารทใี่ ช้ในการ
เหน็ ประกอบการบนั ทึกบญั ชมี ี
ปรมิ าณท่เี หมาะสม 4.07 0.72 มาก
1. นกั บญั ชีมคี วามรู้ความเข้าใจ 2. การบันทกึ รายการในสมุด 4.17 0.76 มาก
บันทึก รายการข้นั ต้นถกู ต้อง
เก่ียวกบั การจัดทาบัญชีอย่าง ครบถ้วน 4.17 0.69 มาก
3. การผ่านรายการจากสมุด
ถูกต้องครบถว้ น 4.39 0.66 มาก บันทึกรายการข้นั ต้นไปยัง 4.06 0.46 มาก
สมดุ บันทึกรายการขัน้ ปลาย 3.87 0.90 มาก
2. นักบัญชีสามารถแก้ไขปญั หาท่ี ถกู ตอ้ งครบถว้ น
4. ความถูกต้องและขัน้ ตอน
เกิดข้ึนจากการจัดทาบัญชีได้ 4.13 0.69 มาก การอนมุ ตั ิเอกสารเบิกจ่าย
วัตถดุ บิ สินคา้ คงเหลือและ
3. นกั บญั ชรี ู้ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน วสั ดสุ านกั งาน
5. ผงั บญั ชมี ีความถกู ต้องและ
ทเี่ ป็นขอ้ บงั คบั ขององคก์ ร 4.11 0.70 มาก เหมาะสม

4. นักบัญชีไดร้ ับการอบรมความรู้

ใหม่ๆ เก่ียวกบั การจดั ทาบญั ชี

จากวิทยากรผ้เู ชีย่ วชาญ 0.69 มาก
5. นักบญั ชเี ขา้ ใจในวัตถุประสงค์ 4.10

การจดั ตงั้ ขององค์กรเปน็ อย่างดี 4.11 0.12 มาก

รวม 4.17 0.47 มาก

รวม 4.07 0.57 มาก

จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชี จากตารางที่ 3 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชี
วิ ส า ห กิ จ ข น า ด ก ล า ง แ ล ะ ข น า ด ย่ อ ม มี ค ว า ม เ ห็ น วิ ส า ห กิ จ ข น า ด ก ล า ง แ ล ะ ข น า ด ย่ อ ม มี ค ว า ม เ ห็ น
เก่ียวกับทักษะด้านความรู้ความสามารถอยู่ในระดับ เก่ียวกับทักษะด้านเอกสารและวิธีการทางบัญชีอยู่ใน
มาก ( X = 4.17) โดยเรียงลาดับจากมากไปหาน้อย ระดับมาก ( X = 4.07) โดยเรียงลาดับจากมากไปหา
ดังน้ี นักบัญชีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทา น้อย การบันทึกรายการบัญชี ในสมุดรายวันซื้อ
บัญชีอย่างถูกต้องครบถ้วน ( X = 4.39) นักบัญชี รายวันขาย รายวันรับ และรายวันทั่วไปและการผ่าน
สามารถแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการจัดทาบัญชีได้ รายการจากสมุดรายวันขั้นต้นไปบัญชีแยกประเภท
( X = 4.13) นักบัญชีรู้ขั้นตอนการปฏิบัติงานท่ีเป็น ( X = 4.17) เอกสารท่ีใช้ในการประกอบการบันทึก
ข้อบังคับขององค์กร นักบัญชีเข้าใจในวัตถุประสงค์ บัญชีมีปริมาณที่เหมาะสม ( X = 4.07) ความถูกต้อง
การจัดต้ังขององค์กรเป็นอย่างดี ( X = 4.11) และนัก และขั้นตอนการอนุมัติเอกสารเบิกจ่ายวัตถุดิบ สินค้า
บัญชีได้รับการอบรมความรู้ใหม่ๆ เกี่ยวกับการจัดทา คงเหลือและวัสดุสานักงาน ( X = 4.06) และช่ือบัญชี
บัญชจี ากวิทยากรผเู้ ชย่ี วชาญ ( X = 4.10) มีมากเกนิ ไป ( X = 3.87)

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 71

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ตารางท่ี 4 ขอ้ มูลเกยี่ วกับความสาเรจ็ ในการจัดทา ตารางท่ี 5 ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความสาเรจ็ ในการจดั ทา
บญั ชขี องวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาด บญั ชขี องวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อมในเขตจังหวัดอดุ รธานี ดา้ นความ ยอ่ ม ในเขตจงั หวัดอุดรธานี ด้าน
ร่วมมอื และประสานงาน เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน

ทกั ษะด้านความรว่ มมือ X S.D. ความ ทักษะด้านเครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ น X S.D. ความ
และประสานงาน เหน็ การปฏิบตั งิ าน เหน็

1. ความรว่ มมือในการส่ง มาก 1. มีการนาเทคโนโลยที ี่
มาก
เอกสารท่ีเกยี่ วข้องกบั การ ทันสมัยอานวยความสะดวกใน
มาก
จดั ทาบัญชี 4.28 0.62 มาก การปฏิบัตงิ าน 4.13 0.69 มาก

2. ความรว่ มมอื จาก มาก 2. ความปลอดภัยในการเข้าใช้
มาก
พนักงานในการจดั ทาบัญชี 4.09 0.66 งาน การจดั ทาบญั ชี 4.14 0.71 มาก

3. บคุ ลากรให้ความ 3. การบันทกึ รายการ รวดเร็ว

รว่ มมอื ในการให้ขอ้ มลู ทาง ถกู ตอ้ ง รบถ้วนและแม่นยา 4.20 0.71 มาก

บญั ชอี ยา่ งถูกต้อง 4. การเปรยี บเทียบข้อมลู

ครบถว้ น 4.14 0.75 ย้อนหลงั 4.10 0.68 มาก

4. ผู้สอบบัญชมี บี ทบาทใน 5. รปู แบบบญั ชีตรงกบั ความ

การใหค้ าแนะนาในการ 4.21 0.69 ตอ้ งการ 4.08 0.75 มาก

จัดทาบัญชใี หถ้ ูกต้อง รวม 4.17 0.58 มาก

5. การประสานความ

รว่ มมอื กับวิสาหกจิ อืน่ ใน 4.02 0.74 จากตารางท่ี 5 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมี
การจัดทาบัญชี ความเห็นเก่ียวกับทักษะด้านเคร่ืองมือที่ใช้ในการ
ปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก ( X = 4.17) โดย
รวม 4.15 0.46 เรียงลาดับจากมากไปหาน้อย การบันทึกรายการ
รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนและแม่นยา ( X = 4.20)
จากตารางที่ 4 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชี ความปลอดภยั ในการเขา้ ใช้งาน การจัดทาบัญชี ( X =
วิ ส า ห กิ จ ข น า ด ก ล า ง แ ล ะ ข น า ด ย่ อ ม มี ค ว า ม เ ห็ น 4.14) ความสะดวก และง่ายในการปฏิบัติงาน ( X =
เก่ียวกับทักษะด้านความร่วมมือและประสานงาน 4.13) การเปรียบเทียบข้อมูลย้อนหลัง ( X = 4.10)
( X = 4.15) โดยเรียงลาดับจากมากไปหาน้อย ความ และทักษะด้านเคร่ืองมือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ( X =
ร่วมมือในการส่งเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดทาบัญชี 4.08)
( X = 4.28) ผู้สอบบัญชีได้เข้ามามีบทบาทในการให้
คาแนะนาให้ท่านจัดทาบัญชีให้ถูกต้อง ( X = 4.21) 6. สรปุ ผลการวจิ ัย
หัวหน้าฝ่ายบัญชีได้ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูล การวิจัยเรื่อง การศึกษาความสาเร็จในการจัดทา
ทางบัญชีเป็นอย่างดี ( X = 4.14) ความร่วมมือจาก
พนักงานในการจัดทาบัญชี ( X =4.09) และการ บัญชีของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขต
ประสานความร่วมมือกับวิสาหกิจอื่นในการจัดทา อุดรธานี สามารถสรปุ ผลการวิจัยได้ ดังน้ี
บัญชี ( X = 4.02)
6.1 ผู้บริหารฝ่ายบัญชีวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อมมีความเห็นเก่ียวกับความสาเร็จในการ
จัดทาบัญชีของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ใน
เขตจังหวัดอุดรธานี โดยรวมแต่ละด้านอยู่ในระดับ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 72

72 วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

มาก โดยแยกเป็นด้านเรียงผลการวิเคราะห์ดังน้ี รายการ รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนและแม่นยา ความ
อันดับแรกคือ ทักษะด้านความรู้ความสามารถ ปลอดภัยในการเข้าใช้งาน การจัดทาบัญชี มีการนา
รองลงมา ทักษะด้านเคร่ืองมือท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ทั น ส มั ย อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร
ทักษะด้านความร่วมมือและประสานงาน และทักษะ ปฏิบัติงาน การเปรียบเทียบข้อมูลย้อนหลัง และ
ดา้ นเอกสารและวิธีทางการบญั ชี ทกั ษะดา้ นเครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน

6.2 ผู้บริหารฝ่ายบัญชีวิสาหกิจขนาดกลางและ 7. การอภิปรายผลการวิจัย
ขนาดย่อม มีความเห็นเกี่ยวกับทักษะด้านความรู้ การวิจัยเรื่อง การศึกษาความสาเร็จในการจัดทา
ความสามารถอยู่ในระดบั มาก ได้แก่ นักบญั ชมี ีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทาบัญชีอย่างถูกต้อง บัญชีของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขต
ครบถ้วน นักบัญชีสามารถแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นจาก จังหวดั อดุ รธานี สามารถอภิปรายได้ ดังนี้
การจัดทาบัญชีได้ นักบัญชีรู้ขั้นตอนการปฏิบัติงานท่ี
เป็ น ข้ อบั ง คั บ ข อง อง ค์ ก ร นั ก บั ญ ชี เข้ า ใ จ ใ น 7.1 ผู้บริหารฝ่ายบัญชีวิสาหกิจขนาดกลางและ
วัตถุประสงค์การจัดต้ังขององค์กรเป็นอย่างดี และนัก ขนาดย่อมมีความเห็นเก่ียวกับความสาเร็จในการ
บัญชีได้รับการอบรมความรู้ใหม่ ๆ เก่ียวกับการจัดทา จัดทาบัญชีของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ใน
บญั ชีจากวิทยากรผเู้ ช่ียวชาญ เขตจังหวัดอุดรธานี โดยรวมแต่ละด้านอยู่ในระดับ
มาก โดยแยกเป็นด้านเรียงผลการวิเคราะห์ 4 อันดับ
6.3 ผู้บริหารฝ่ายบัญชีวิสาหกิจขนาดกลางและ ดงั นี้ ทักษะด้านความรู้ความสามารถ รองลงมา ทกั ษะ
ขนาดยอ่ ม มีความเหน็ เก่ยี วกับทักษะด้านเอกสารและ ด้านเคร่ืองมือท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน ทักษะด้านความ
วิธีการทางบัญชีอยู่ในระดับมาก ได้แก่ การบันทึก ร่วมมือและประสานงาน และทักษะด้านเอกสารและ
รายการในสมุดบันทึก รายการข้ันต้นถูกต้องครบถ้วน วิธีทางการบัญชี ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาปัจจัย
การผ่านรายการจากสมุดบันทึกรายการข้ันต้นไปยัง ความสาเร็จของการใช้ระบบการเงินและบัญชีภาครัฐ
สมดุ บนั ทึกรายการขนั้ ปลายถูกต้องครบถ้วนเอกสารท่ี ดัวยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้แบบจาลอง
ใ ช้ ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร บั น ทึ ก บั ญ ชี มี ป ริ ม า ณ ที่ ความสาเร็จของระบบสารสนเทศของ DeLone
เหมาะสม ความถกู ตอ้ งและขน้ั ตอนการอนุมัติเอกสาร และ McLean กรณีศึกษากรมตรวจบัญชีสหกรณ์
เบิกจ่ายวัตถุดิบ สินค้าคงเหลือและวัสดุสานักงาน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยท่ีมีผลต่อความสาเร็จในการ
และผังบัญชมี ีความถกู ต้อง และเหมาะสม ใช้ระบบการเงินและบัญชีภาครัฐด้ วย ร ะ บ บ
อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ปัจจัยด้านคุณภาพสารสนเทศ
6.4 ผู้บริหารฝ่ายบัญชีวิสาหกิจขนาดกลางและ ปัจจัยด้านคุณภาพระบบ ปัจจัยด้านคุณภาพของการ
ขนาดย่อม มีความเห็นเก่ียวกับทักษะด้านความ บริการ ปัจจัยด้านการใช้งานระบบและความพึงพอใจ
ร่วมมือและประสานงานอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ความ ของผู้ใช้งาน และปัจจัยด้านประโยชน์ท่ีองคก์ รได้รบั
ร่วมมือในการส่งเอกสารทเ่ี กี่ยวข้องกับการจัดทาบัญชี
ผู้สอบบัญชีมีบทบาทในการให้คาแนะนาในการจัดทา 7.2 ผู้บริหารฝ่ายบัญชีวิสาหกิจขนาดกลางและ
บัญชีให้ถูกต้อง บุคลากรให้ความร่วมมือในการให้ ขนาดย่อม มีความเห็นเก่ียวกับการศึกษาความสาเร็จ
ข้อมูลทางบัญชีอย่างถูกต้องครบถ้วน ความร่วมมือ ในการจัดทาบัญชี ด้านความรู้ความสามารถ อยู่ใน
จากพนักงานในการจดั ทาบญั ชีและการประสานความ ระดับมาก เนื่องจากนักบัญชีมีความรู้ความเข้าใจ
รว่ มมือกับวสิ าหกจิ อ่นื ในการจดั ทาบัญชี เกย่ี วกบั การจัดทาบัญชอี ย่างถกู ตอ้ งครบถว้ น นักบัญชี
สามารถแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการจัดทาบัญชีได้
6.5 ผู้บริหารฝ่ายบัญชีวิสาหกิจขนาดกลางและ นักบัญชีรู้ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นข้อบังคับของ
ขนาดย่อม มีความเห็นเก่ียวกับทักษะด้านเครื่องมือที่ องค์กร นักบัญชีเข้าใจในวัตถุประสงค์การจัดต้ังของ
ใช้ในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก ได้แก่ การบันทกึ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 73

วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

องค์กรเป็นอย่างดี และนกั บัญชีได้รับการอบรมความรู้ ข้อมูลทางบัญชีเป็นอย่างดี ความร่วมมือจากพนักงาน
ใหม่ ๆ เกี่ยวกับการจัดทาบัญชีจากวิท ยากร ในการจัดทาบัญชี และการประสานความร่วมมือกับ
ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งสอดคล้องกับ ณัชชา ไชยวงค์ [7] วิสาหกิจอ่ืนในการจัดทาบัญชี ซ่ึงสอดคล้องกับ
การศึกษาเรื่องความรู้ความสามารถของนักบัญชีท่ีมี ธรรญชนก ศรีทิพย์รัตน์ [9] การวิจัยเรื่องภาวะผู้นา
ต่อประสิทธิผลการทางานของนักบัญชีในจังหวัดตาก กระบวนการในการวางแผน การประสานงานและการ
พบว่า ความรู้ความสามารถของนักบัญชีที่มีต่อ ดาเนินงานท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตในการทางานใน
ประสิทธิผลการทางานของนักบัญชี ในจังหวัดตาก มี องคก์ ร กรณีศกึ ษา : พนกั งานบริษัท เทเลคอม ในเขต
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีความรู้ความสามารถ กรุงเทพมหานคร.พบว่า ภาวะผู้นาด้านลักษณะผู้นา
โดยรวม เป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมาก โดย และภาวะผู้นาด้านการเป็น ผู้กากับดูแลที่ดีภายใต้
เรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับ ดังนี้ กรอบจริยธรรม และคุณธรรม และด้านการจัดระบบ
ดา้ นความรใู้ นวิชาชีพ ด้านคุณค่าทางวิชาชีพ และดา้ น ก ล ไ ก ก า ร บ ริ ห า ร อ ง ค์ ก ร อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
ทกั ษะทางวชิ าชีพ มีความสัมพันธ์กับ คุณภาพชีวิตในการทางานใน
องค์กร
7.3 ผู้บริหารฝ่ายบัญชีวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม มีความเห็นเกี่ยวกับการศึกษาความสาเร็จ 6.5 ผู้บริหารฝ่ายบัญชีวิสาหกิจขนาดกลาง และ
ในการจัดทาบัญชี ด้านเอกสารและวิธีการทางบัญชี ขนาดย่อม มีความเห็นเกี่ยวกับการศึกษาความสาเร็จ
อยู่ในระดับมาก เน่ืองจากการบันทึกรายการในสมุด ในการจัดทาบัญชีด้านเคร่ืองมือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
บันทึก รายการข้ันต้นถูกต้องครบถ้วน การผ่าน อยู่ในระดับมาก เนื่องจากการบันทึกรายการ รวดเร็ว
รายการจากสมดุ บันทกึ รายการขน้ั ตน้ ไปยงั สมุดบนั ทึก ถูกต้อง ครบถ้วนและแม่นยา ความปลอดภัยในการ
รายการข้ันปลายถูกต้องครบถ้วนของเอกสารท่ีใช้ เข้าใช้งาน การจัดทาบัญชี มีการนาเทคโนโลยีท่ี
ประกอบการบันทึกบัญชีมีปริมาณท่ีเหมาะสม ความ ทั น ส มั ย อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น
ถกู ต้องและข้ันตอน การอนุมัตเิ อกสารเบิกจ่ายวัตถุดิบ การเปรียบเทียบข้อมูลย้อนหลัง และทักษะด้าน
สินค้าคงเหลือและวัสดุสานักงาน และผังบัญชีมีความ เครื่องมือท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน ซ่ึงสอดคล้องกับ
ถูกต้องและเหมาะสม ซึ่งสอดคล้องกับ ผาณิต วงศ์ ขนั แกว้ สมบูรณ์ [10] ความค้มุ คา่ ของการใชเ้ ครื่องมอื
ชาร และมาลี กาบมาลา [8] การจัดการเอกสารของ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ ใ น ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ค ณ ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
สานกั งานธนารกั ษพ์ ้นื ที่ขอนแกน่ พบวา่ ด้านการผลติ อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม พบวา่
เอกสารหนังสือภายในเป็นเอกสารที่มีการจัดทามาก ความคุ้มค่าของการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ใน
ที่สุด และเจ้าหน้าที่ เป็นผู้ดาเนินการผลิตด้วยตนเอง หอ้ งปฏิบตั กิ ารโดยภาพรวมมีความคมุ้ ค่าในระดับปาน
ด้านการใช้เอกสาร สัญญาเช่าเป็นเอกสารท่ีมีการใช้ กลาง และมีความคมุ้ ค่าแต่ละดา้ นในระดับปานกลาง
มากที่สุด โดยใช้ เพ่ือเป็นหลักฐานแล ะ ก า ร
ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร 8. ขอ้ เสนอแนะ
8.1 ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจยั ไปใช้
7.4 ผู้บริหารฝ่ายบัญชีวิสาหกิจขนาดกลางและ 8.1.1 สถานศึกษาควรนาผลการวิจัยมา
ขนาดย่อม มีความเห็นเก่ียวกับการศึกษาความสาเร็จ
ในการจัดทาบัญชี ด้านความร่วมมือและประสานงาน ประกอบการปรับปรุงหลักสูตรในการผลิตนักบัญชี
อยใู่ นระดบั มาก เน่อื งจากนกั บญั ชมี ีความรูค้ วามเขา้ ใจ เพ่ือให้ได้นักบัญชีท่ีตรงกับความต้องการของสถาน
เกี่ยวกับการบัญชีการเงิน ผู้สอบบัญชีได้เข้ามามี ประกอบการ
บทบาทในการให้คาแนะนาให้ท่านจัดทาบัญชีให้
ถูกต้อง หัวหน้าฝ่ายบัญชีได้ให้ความร่วมมือในการให้ 8.1.2 ควรมกี ารศกึ ษาวจิ ัยดา้ นอืน่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
กับการจัดทาบัญชี เพื่อศึกษาความสาเร็จในการจัดทา

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 74

74 วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชีวศึกษา บัญชีภาครัฐดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดย
ใชแ้ บบจาลองความสาเรจ็ ของระบบ
ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564 สารสนเทศของ DeLone และ McLean
(2003) กรณศี ึกษา กรมตรวจบญั ชี
บัญชีของ สถานประกอบการ เพ่ือที่จะนามาเป็น สหกรณ์. คณะพาณชิ ยศาสตรแ์ ละการบญั ชี
แนวทางในการพฒั นาการจดั ทาบญั ชี ในองคก์ รให้เกิด มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์
ประโยชน์สงู สุดตอ่ ไป [7] ณชั ชา ไชยวงค์ (2560). ความรู้ความ
สามารถของนกั บญั ชที มี่ ตี ่อประสิทธิผล
8.2 ข้อเสนอแนะสาหรบั การวจิ ยั ครั้งต่อไป การทางานของนกั บัญชใี นจังหวดั ตาก.
8.2.1 ควรมีการศึกษาความสาเร็จในการ คณะบริหารธุรกจิ มหาวทิ ยาลยั นอรท์ เทิรน์ .
[8] ผาณิต วงศช์ าร และมาลี กาบมาลา (2557).
จดั ทาบญั ชีของผปู้ ระกอบการในดา้ นอืน่ ๆ เพ่ือให้สรปุ การจัดการเอกสารของสานักงานธนารกั ษ์
ครอบคลมุ มากขน้ึ พ้ืนที่ขอนแกน่ . คณะมนุษยศาสตรแ์ ละ
สังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ .
8.2.2 ควรมีการศึกษาวิจัยในกลุ่มตัวอย่าง [9] ธรรญชนก ศรีทิพย์รัตน์ (2558). ภาวะผนู้ า
อ่ืนเพื่อศึกษาความสาเร็จในการจัดทาบัญชีของสถาน กระบวนการในการวางแผนการประสาน
ประกอบการ งานและการดาเนนิ งาน ท่ีมีผลต่อคณุ ภาพ
ชวี ิตในการทางานในองค์กร กรณีศึกษา :
เอกสารอ้างองิ พนักงานบรษิ ัท เทเลคอม ในเขต
[1] สภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ กรงุ เทพมหานคร.
(2560). แผนพฒั นาธรุ กิจแห่งชาติฉบับที่ [10] ขนั แกว้ สมบูรณ์. (2554 ). ความคุ้มคา่ ของ
12. [สบื ค้นวันที่ 11 พฤศจกิ ายน 2562] จาก การใชเ้ คร่อื งมอื และอุปกรณใ์ นห้อง
:http://www.ratchakitcha.soc.go.th ปฏิบตั ิการคณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม
[2] สานกั งานส่งเสริมวิสาหกจิ ขนาดกลางและ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม. คณะ
ขนาดยอ่ ม (2562).วสิ าหกจิ ขนาดกลางและ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏ
ขนาดยอ่ ม. [สบื คน้ วันท่ี 11 พฤศจกิ ายน พิบลู สงคราม.
2562] จาก : https://www.sme.go.th
[3] อภญิ ญา วเิ ศษสิงห์ (2562). ธรุ กจิ ขนาด
กลางและขนาดย่อม. [สืบคน้ วนั ที่ 11
พฤศจิกายน 2562] จาก :
http://www.elfms.ssru.ac.th
[4] สานกั งานพฒั นาธรุ กจิ การค้าจังหวัดอดุ รธานี
(2562). ขอ้ มลู บริษทั และห้างหุ้นส่วน.
[สบื คน้ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2562] จาก :
https://www.sme.go.th.
[5] บญุ ชม ศรสี ะอาด (2560 : 121). การวจิ ยั
เบอ้ื งตน้ . พิมพ์ครง้ั ที่ 10. กรงุ เทพฯ : สุวีริยา
สาส์น.

[6] กันทา สะเอยี บคง (2558). การศกึ ษาปัจจยั
ความสาเร็จของการใชร้ ะบบการเงินและ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจยั และนวัตกรรมการอาชีวศึกษา 75

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

องคป์ ระกอบการจัดองคก์ รแห่งนวัตกรรมทางการศึกษายุคดจิ ทิ ัลสาหรับ
สถาบนั การอาชวี ศึกษาภายใตส้ ถานการณว์ ถิ ปี กตใิ หมใ่ นประเทศไทย
An Organizational Elements of Educational Innovation in the Digital Era for
Vocational Education Institutions Under the New Normal Situation in Thailand

ปภาภทั ร แสงแกว้ 1*, ปรางทพิ ย์ เสยกระโทก2, สุริยะ วชริ วงศ์ไพศาล3 และ พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ4
Paphaphat Sangkaew1*, Prangthip Soeykrathoke2,

Suriya Wachirawongpaisarn3 and Phongsak Phakamach4

*1สาขาวชิ าการบญั ชี วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาหนองคาย สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1 จงั หวดั หนองคาย 43000
*1Field of Accounting, Nongkhai Vocational College, Institute of Vocational Education : Northeastern Region 1, Nongkhai 43000

2วทิ ยาลยั ธาตพนม มหาวทิ ยาลยั นครพนม
2That Phanom Collage, Nakhon Phanom University
3สถาบนั นวตั กรรมทางการศึกษา สมาคมสง่ เสริมการศึกษาทางเลือก
3Institute of Educational Innovation, Association for the Promotion of Alternative Education
4วิทยาลยั นวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสนิ ทร์
4College of Innovation Management, Rajamangala University of Technology Rattanakosin

Received : 2021-06-29 Revised : 2021-07-20 Accepted : 2021-07-21

บทคดั ยอ่ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จั ด อ ง ค์ ก ร แ ห่ ง น วั ต ก ร ร ม ท า ง
วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร วิ จั ย ค ร้ั ง น้ี เ พื่ อ ศึ ก ษ า การศึกษายุคดิจิทัลสาหรับสถาบันการอาชีวศึกษา
ภายใต้สถานการณ์วิถีปกติใหม่ในประเทศไทยมี
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จั ด อ ง ค์ ก ร แ ห่ ง น วั ต ก ร ร ม ท า ง องค์ประกอบท่ีสาคัญ 12 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การ
การศึกษายุคดิจิทัลสาหรับสถาบันการอาชีวศึกษา กาหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ท่ีจะนาไปสู่องค์กร
ภายใต้สถานการณ์วิถีปกติใหม่ในประเทศไทย การ แหง่ นวตั กรรมทางการศึกษา 2) การกาหนดโครงสร้าง
วิจัยใช้ระเบียบวิธีเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณเ์ ชิงลึก องค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีเหมาะสม 3)
ผู้บริหารสถาบันการอาชีวศึกษาที่เป็นเลิศในประเทศ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรท่ีสนับสนุนนวัตกรรมทาง
ไทย 40 แห่ง จานวน 40 คน จากการเลือกผู้บริหาร การศึกษาทุกมิติ 4) รูปแบบ กระบวนการ และการ
แบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กาหนด การเก็บรวบรวม ปฏบิ ตั ิทเ่ี ออื้ ต่อการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมทางการศึกษา
ข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างแบบเปิด 5) การกาหนดโครงสร้างทางฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสารัตถภาพและสัมพันธภาพ และแพลตฟอร์มดิจิทัลท่ีเหมาะสมสาหรับการบริการ
วิธีดาเนินการวิจัยมี 4 ข้ันตอน ได้แก่ 1) ข้ันการศึกษา 6) ทีมผู้นาเชิงนวัตกรรมท่ีมุ่งมั่นไปสู่การเป็นองค์กร
เอกสารและรายงานการวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 2) ขัน้ การเก็บ แห่งนวัตกรรมทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ 7)
ข้อมูลและกาหนดองค์ประกอบ 3) ข้ันการวิเคราะห์ ที ม ง า น มี นิ สั ย แ ห่ ง น วั ต ก ร ร ม ใ น ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์
และสงั เคราะห์องค์ประกอบ และ 4) ขน้ั การตรวจสอบ นวัตกรรมระดับอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ 8) การสร้าง
และยืนยันรูปแบบที่เหมาะสมโดยการสัมมนาอิง ระบบนิเวศนวัตกรรมท่ีมีอัตลักษณ์เฉพาะตัว 9)
ผู้เช่ียวชาญ จานวน 9 คน ผลการวจิ ัย พบว่า นวัตกรรมการจัดการความรู้ด้านทักษะอาชีพท่ีมี

*ปภาภทั ร แสงแก้ว

E-mail : [email protected]

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 76

76 วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ประสทิ ธิภาพ 10) การสง่ เสรมิ บคุ ลากรในการคิดริเร่ิม creating an organizational culture that
สร้างสรรค์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้อย่างอิสระ 11) supports all dimensions of educational
การสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ของท่ัวท้ังองคก์ ร innovation; 4) models, processes and
และ 12) การสร้างทางเลือกใหม่เพื่อการเรียนรู้และ practices contributing to educational
การพฒั นาทักษะอาชพี ในยุคดจิ ิทลั innovation; 5) determining the appropriate
คาสาคญั : องคก์ รแหง่ นวตั กรรมทางการศกึ ษา, hardware, software and digital platforms for
service; 6) innovative leadership team
ยุคดิจทิ ัล, สถาบนั การอาชีวศกึ ษา, committed to educational innovation
สถานการณว์ ิถีปกตใิ หม่ organization systematically; 7) the team has
an innovative habit of creating quality
Abstract vocational innovation; 8) creating a unique
The objective of this research was to innovative ecosystem; 9) innovative knowledge
management in effective career skills; 10)
study an organizational element of educational encouraging people to initiate, create and
innovation in the digital era for vocational exchange knowledge freely; 11) inspiring
education institutions under new normal learning across the organization; and 12)
situations in Thailand. Thequalitativemethodology creating new options for learning and skill
was used a in-depth interviews with 40 development in the digital era.
administrators of 40 best practice higher Keywords : Educational Innovative Organization,
education institutions, based on a specific
selection of administrators. Data collection Digital Era, Vocational Education,
using open end structured interview guide. New Normal Situation..
Analysis conducted by emphasis and
coherence data. The research method was 1. บทนา
carried out in 4 stages: 1) study, documents บริบทการจัดการศึกษาของสถาบนั การอาชวี ศกึ ษา
and relevant research reports, 2) conduct data
collection and composition, 3) analysis and ในยุคการปฏิรูปการศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
synthesis of the composition, and 4) อาชีวศึกษา พ.ศ. 2562 ได้กาหนดกรอบคุณภาพของ
appropriate component verification and ผู้ ส า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ทุ กร ะ ดั บ โ ด ย คุ ณ วุ ฒิ อ าชี ว ศึ ก ษ า
confirmation stages using connoisseurship ประเภทวิชาและสาขาวิชาต้องครอบคลุมอย่างน้อย 4
based on 9 experts. The research study ด้าน คือ (1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะ
revealed that an organizational elements of ที่พึงประสงค์ หมายถึง ความเป็น ผู้มีคุณธรรม
educational innovation in the digital era for จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี
vocational education institutions under new ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพ
normal situations in Thailand were consisted กฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบตาม
of twelve elements: 1) stablishing a vision and บทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตย
strategy that will lead to an educational อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ
innovation organization; 2) setting an appropriate และมีจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม (2) ด้านความรู้
educational innovation organizationalstructure; 3) หมายถึง ความรู้เก่ียวกับข้อเท็จจริง หลักการ ทฤษฎี

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 77

วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาท่ีเรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การวัดผลและประเมินผล และ
หรือทางาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎีและหรือ การสร้างส่ือและแหล่งเรียนรู้ ท้ังนี้เพื่อให้การพัฒนา
ข้อเท็จจริงเป็นหลัก (3) ด้านทักษะ หมายถึง คุณภาพผู้เรียนสอดคล้องตามกรอบมาตรฐาน มี
ความสามารถปฏิบัติงานซ่ึงบุคคลน้ันควรทาได้เมื่อ แผนการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ และมีความชัดเจน
ได้รับมอบหมาย โดยสามารถเลอื กใชว้ ิธีการจดั การและ ต่อการนาไปปฏิบัติจรงิ ซ่งึ สานักงานคณะกรรมการการ
แก้ปัญหาการทางานด้วยทักษะด้านกระบวนการคิดที่ อาชีวศึกษาได้กาหนดให้มีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ
เก่ียวข้องกับการใช้ตรรกะ ทักษะการหยั่งรู้และความ สาหรบั เป็นแนวทางการขบั เคลอ่ื นหลักสตู ร การจัดการ
คิดสร้างสรรค์ ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตหรือทักษะ เรยี นรู้ รวมถึงการวัดและประเมินผลสู่การเพม่ิ คุณภาพ
การปฏิบัติหรือวธิ ปี ฏิบัตทิ ่มี ีความคล่องแคลว่ และความ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ [2]
ชานาญในการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ
อาชีวศึกษาแต่ละระดับ และ (4) ด้านความสามารถใน การเรียนการสอนยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงแบบ
การประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ หมายถึง ความ พลิกโฉม (Education Disruption) ได้มีรูปแบบการ
สามารถของบคุ คลท่ีเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ การใช้ จัดการเรียนการสอนที่หลากหลายท่ีใช้นามาส่งเสริม
ความรู้ ทักษะทางสังคมในการทางานหรือการศึกษา และแก้ปัญหาการจัดการศึกษาในด้านต่าง ๆ อย่าง
อบรมเพื่อการพัฒนาวิชาชีพของบุคคล ซึ่งประกอบ ต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการระบาดของโรค
ด้วยความสามารถในการส่ือสารแบบผู้นา ความ ระบาดโคโรนาไวรัส (โควิด-19) ท่ีส่งผลกระทบต่อการ
รับผิดชอบ และความเป็นอิสระในการดาเนินการ จัดการศึกษาเป็นอย่างมากดังท่ีปรากฏและการใช้ชีวิต
ตา่ ง ๆ ได้ดว้ ยตนเอง เชน่ ความสามารถในการตัดสนิ ใจ ในวงจรการศึกษาภายใต้ความปกติใหม่ ( New
และความรับผิดชอบตอ่ ตนเองและผูอ้ ่นื [1] Normal) ยังไม่มีรูปแบบที่ตายตัว [3] การพัฒนา
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาจึงกลายเป็น
สถาบันการอาชีวศึกษาเป็นสถาบันเพ่ือการฝึก เครือ่ งมอื สาคัญในการจัดการเรียนรใู้ นยุคปัจจุบนั ทง้ั น้ี
อาชีพ ผู้บริหารและครูผู้สอนย่อมเป็นตัวจักรสาคัญต่อ เพ่ือมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนในระดับอาชีวศึกษาให้เกิด
แนวทางการปฏิรูปอาทิ การพัฒนางานวิชาการและ คุณลักษณะต่าง ๆ รวมถึงทักษะปฏิบัติการสายอาชีพ
คุณภาพ การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรม การเปดิ โอกาสให้ ให้เป็นท่ีต้องการในยุคปัจจุบันท่ีมีความเจริญก้าวหน้า
หารือร่วมคิดร่วมปฏิบัติงานกับผู้เรียน การส่งเสริมให้ ด้านระบบไอซีที นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการ
ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมนอกหลักสูตร แสวงหา ศึกษา และมีการส่ือสารที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง
ค ว า ม รู้ เ พื่ อ พั ฒ น า ต น เ อ ง แ ล ะ ก า ร ส อ น อ ย่ า ง เ ต็ ม ของแหล่งสารสนเทศและความรู้ในสังคม [4] ดังน้ัน
ศักยภาพ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ จัดหาสื่อการ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น จึ ง ต้ อ ง ป รั บ เ ป ล่ี ย น ใ ห้
เรียนร้ทู ี่เหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพ การสรา้ งสถาบนั สอดคล้องกับกระบวนทัศน์การเรียนรู้ใหม่ เพื่อให้
แห่งนวัตกรรมระดับอาชีวศึกษา และควรมีการติดตาม ผู้เรียนเป็นบุคคลท่ีมีความสามารถแสวงหาความรู้ได้
ผลอย่างเป็นระบบ จัดให้มีการรายงานผลการ ด้วยตนเอง โดยเฉพาะความสามารถในการใช้
ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส ถ า บั น ใ ห้ ผู้ มี ส่ ว น เ ก่ี ย ว ข้ อ ง แ ล ะ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาในการแสวงหา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามสี ว่ นรว่ มรับรู้ ความรู้ได้อย่างเต็มท่ี [5] อยา่ งไรกต็ าม จากสถานการณ์
อย่างตอ่ เนอื่ งทกุ ข้ันตอน ดงั นัน้ การบรหิ ารงานวิชาการ วิกฤติโควิด-19 เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดการ
และการฝึกปฏิบัติการสายอาชีพถือเป็นหัวใจสาคัญ เปล่ยี นแปลงครงั้ สาคัญของการศึกษาระดบั อาชวี ศึกษา
ของการพัฒนา สถาบันการอาชีวศึกษาได้รับการ และส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของ
กระจายอานาจในการบริหารท้ังด้านการพัฒนา ผู้เรียนในระดับอาชีวศึกษาเป็นอย่างมาก โดยวิกฤติใน
หลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนการสอน การจัด ครั้งนี้ทาให้สถาบนั อาชีวศึกษาทุกแห่งตอ้ งปรับรูปแบบ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 78

78 วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

การจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนและผสู้ อนได้มีการ ท่ีมีพื้นฐานจากการเรียนรู้ร่วมกันของครูผู้สอนและผู้
ปรับตัวให้คุ้นชินกับการเรียนและการฝึกปฏิบัติการ ศึกษา ทั้งนี้ก็เพื่อนาผลงานมาทาให้เกิดประโยชน์เชิง
อาชีพแบบออนไลน์หรือการใช้ห้องเรียนปฏิบัติการ วิชาการและนวัตกรรมทางการศึกษาสมัยใหม่ และ
เสมือนจริง (Virtual Classroom) มาอย่างต่อเน่ือง เ ผ ย แ พ ร่ สู่ “ น วั ต ก ร ” ( Innovator) ข อ ง
ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นมา หลายวิชาเริ่มเห็น สถาบันการศึกษาอื่น ๆ และกลุ่มผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ท่ี
ทิศทางความเป็นไปได้ในการจัดการเรียนการสอน สนใจในการพัฒนาสถานศึกษาสมัยใหม่ ตั้งแต่ต้นน้า
ออนไลน์ ซ่ึงเป็นเรื่องท่ีต้องพยายามปรับตัวมาโดย จนถึงปลายน้าท่ีอยู่ในคลัสเตอร์ (Cluster) เป้าหมาย
ตลอดและน่ีอาจเป็นโอกาสในการต่อยอดการศึกษาได้ เดียวกัน โดยมารวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายและมี
ในอนาคต [3] หากมีการสร้างองค์กรแห่งนวัตกรรม นวัตกรรมทางการศึกษาอย่างต่อเนอ่ื งร่วมกัน ทั้งนี้เพอื่
ทางการศึกษาในสถาบันการอาชีวศึกษา ก็จะสามารถ เสริมสรา้ งความแข็งแกรง่ ของวงการศึกษาของประเทศ
บรรเทาผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ไทยร่วมกันและขยายขอบเขตของความรู้ให้กว้างขวาง
ได้เป็นอย่างดี ซ่ึงสถาบันการอาชีวศึกษาทุกแห่งควรมี ออกไป [7]
การปรับรูปแบบการบริหารจัดการองค์กรสู่การเป็น
องค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษาเป็นการเฉพาะตัว การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเ์ พื่อศึกษาองคป์ ระกอบ
อีกดว้ ย การจัดองค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัล
สาหรับสถาบันการอาชีวศึกษาภายใต้สถานการณ์วิถี
กระแสการเปลยี่ นแปลงเชิงดิจทิ ัลทางการศึกษา ปกติใหม่ในประเทศไทย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิง
( Educational Digital Transformation) ต้ อ ง ผ นึ ก คุณภาพเพื่อแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของนวัตกรรม
กาลังกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้ รับผิดชอบทาง ทางการศึกษา ขั้นตอนการสร้างและพัฒนานวัตกรรม
การศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อกาหนดนโยบาย ทางการศึกษา การเผยแพร่นวัตกรรมการศึกษา และ
และระเบียบวิธีปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะหรือ การสรา้ งองค์กรแหง่ นวัตกรรมทางการศึกษาในสถาบัน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามกรอบแห่งการเรียนรู้ยุค การอาชีวศึกษาภายใต้สถานการณ์วิถีปกติใหม่ (New
ใหม่ [6] ดังน้ันการที่องค์กรทางการศึกษาจะประสบ Normal Situation) โดยนาเสนอองค์ประกอบและ
ความสาเร็จและอยู่รอดส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับการมี รูปแบบการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษาใน
ความคิดสร้างสรรค์ การค้นพบสิ่งใหม่ ๆ และการ บริบทของการบริหารจัดการสถาบันการอาชีวศึกษา
สร้างสรรค์นวัตกรรมทางการศึกษา [5] จากองค์กร ท้ังน้ีได้แสดงให้เห็นแนวคิด รูปแบบ วิธีการ และ
แบบการด้ังเดิมไปสู่การเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมทาง กระบวนการเชิงนวัตกรรมที่เหมาะสมและเพียงพอ
การศึกษา (Educational Innovative Organization) สาหรับการมุ่งสู่องค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษา
ท่ีต้องมีการพัฒนารูปแบบการบริหารงานใหม่ ๆ การ เพื่อให้สามารถนาข้อมูลไปใช้ในการศึกษา ออกแบบ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางกา รศึ กษ า พัฒนา และสร้างองค์ความรู้ใหม่สาหรับการสร้าง
รวมไปถึงการสร้างนิสัยนวัตกรรมให้เกิดข้ึนกับคนใน องค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษาในสถาบันการ
องค์กรน่ันก็คือ ครูและบุคลากรในสถานศึกษาต้องมี อ า ชี ว ศึ ก ษ า ใ ห้ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ต า ม
ความคิดริเร่ิม สามารถสรรค์สร้างรูปแบบการทางาน มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 ภายใต้
ใหม่ ๆ การสร้างส่ือและใช้วิธีการจัดการเรียนการสอน สถานการณ์วิถีปกติใหม่ในประเทศไทย โดยสอดคล้อง
แบบใหม่ ๆ อยู่เสมอ ท้ังน้ีเพื่อการพัฒนาสถาบันให้ กับการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20
สอดคล้องกับสภาพการณ์ ของสังคมยุคดิ จิทัล ปี พ.ศ. 2561-2580 และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
สถาบันการศึกษาควรที่จะรับผิดชอบในการสร้าง 2560-2579 เพือ่ การพัฒนาประเทศไทยตอ่ ไป
นวัตกรรมและเครือข่ายแหง่ ความคิดสร้างสรรค์ภายใน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา 79

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

2. วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั 3.2.3 การเผยแพรน่ วตั กรรมทางการศึกษา
เพอื่ ศึกษาองค์ประกอบการจัดองคก์ รแหง่ 3.2.4 การสร้างองค์กรแห่งนวัตกรรมทาง
ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส ถ า บัน ก า ร อาชี ว ศึ ก ษ าภ ายใต้
นวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัลสาหรับสถาบันการ สถานการณว์ ิถปี กตใิ หม่
อาชวี ศกึ ษาภายใตส้ ถานการณ์วิถีปกตใิ หม่ในประเทศไทย 3.2.5 ปัจจัยการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม
ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส ถ า บั น ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า ภ า ย ใ ต้
3. วธิ ีดาเนนิ การวิจยั สถานการณ์วถิ ปี กตใิ หม่
การวจิ ัยครง้ั น้ีใช้ระเบยี บวิธวี ิจัยเชิงคณุ ภาพ 3.2.6 องค์ประกอบการเป็นองค์กรแห่ง
นวัตกรรมทางการศึกษาในสถาบันการอาชีวศึกษา
(Qualitative) เพ่อื ศึกษาองคป์ ระกอบการจัดองค์กร ภายใต้สถานการณว์ ถิ ีปกติใหม่
แหง่ นวตั กรรมทางการศกึ ษายคุ ดิจิทลั สาหรับสถาบัน การสร้างและตรวจสอบเครื่องมือจะเสนอ
การอาชีวศึกษาภายใตส้ ถานการณว์ ิถปี กติใหม่ใน ต่อผู้เช่ียวชาญเพ่ือตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา
ประเทศไทย (Content validity) ตลอดจนความเหมาะสมของ
ภาษาและการใช้ถ้อยคา จากนั้นนามาทดสอบหาค่า
3.1 กลมุ่ ผู้ให้ข้อมูลหลกั (Key Informants) ความเทีย่ งโดยใชส้ ตู รสัมประสทิ ธิอ์ ลั ฟาของครอนบาค
กลมุ่ ผู้ใหข้ ้อมลู หลักท่ีใช้ในการวจิ ยั คร้ังนเ้ี ปน็ (Cronbach’s Alpha Coefficient) และหาค่าอานาจ
จาแนกรายข้อโดยหาค่า Item total Correlation ได้
ผู้บรหิ ารสถาบนั การอาชวี ศึกษาท่เี ป็นเลิศในประเทศ ค่าความเชอื่ ม่นั ของแบบสอบถามทง้ั ฉบบั เทา่ กับ .944
ไทย 40 แหง่ จานวน 40 คน จากการเลือกผู้บรหิ าร 3.3 ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย
แบบก้อนหมิ ะ (Snowball Sampling) โดยเจาะจง ขั้นตอนการดาเนินการวิจัยมี 4 ข้ันตอน
ผบู้ รหิ ารทม่ี ผี ลงานการบริหารเชิงประจักษแ์ ละเคย ได้แก่ 1) ขั้นการศึกษาเอกสารและรายงานการวิจัยที่
ไดร้ ับรางวัลคณุ ภาพในการบริหารงานอาชวี ศึกษาของ เกี่ ย ว ข้ อง 2) ขั้ น ก า ร เก็ บ ข้ อมู ล แ ล ะ ก า หน ด
ประเทศไทยตามคุณสมบตั ิที่กาหนด ได้แก่ องค์ประกอบ 3) ขั้นการวิเคราะห์และสังเคราะห์
รูปแบบ และ 4) ข้ันการตรวจสอบและยืนยัน
3.1.1 ผู้บรหิ ารในระดับผู้อานวยการหรือ องค์ประกอบทีเ่ หมาะสมโดยการสัมมนาองิ ผู้เชยี่ วชาญ
อดตี อานวยการในสถาบันการอาชวี ศึกษาภาครฐั และ ด้านระบบไอซีที นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการ
เอกชน ศกึ ษา (Connoisseurship) จานวน 9 คน
3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
3.1.2 ผู้บริหารท่ีมีประสบการณ์ในการบริหาร ดาเนินการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ทั้ง
สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาครัฐและเอกชนอยา่ งน้อย3ปี แบบออฟไลน์และออนไลน์ โดยเก็บข้อมูลระหว่าง
เดือนมกราคม-มนี าคม พ.ศ. 2564
3.1.3 ผ้บู รหิ ารทีป่ ระสบความสาเรจ็ และมี 3.5 การวิเคราะหข์ ้อมูล
รางวัลคุณภาพเชงิ ประจกั ษใ์ นการสรา้ งองค์กรแหง่ การวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมภาษณแ์ ละสรุปใน
นวัตกรรมทางการศึกษาทุกระดับ ลักษณะเชิงเน้ือหาเชิงอุปนัย (Content Analysis)
โดยนามาสังเคราะห์เพ่ือหารูปแบบของการจัดองค์กร
3.2 เครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย แห่งนวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัลสาหรับการ
ใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างแบบเปิด

โดยการพิจารณาประเด็นที่สอดคล้องและเหมาะสม
กับบริบทของการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมทาง
การศึกษายุคดิจิทัลสาหรับการบริหารจัดการสถาบัน
การอาชีวศึกษา กาหนดประเด็นการวจิ ัยในบรบิ ทของ
องคก์ รแห่งนวตั กรรมทางการศึกษาที่ประกอบด้วย

3.2.1 นวตั กรรมทางการศกึ ษา
3.2.2 ขั้ น ต อน ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า
นวัตกรรมทางการศกึ ษา

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 80

80 วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชวี ศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

บริหารจัดการสถาบันการอาชีว ศึกษาภายใต้ นวัตกรรมดา้ นหลักสตร
สถานการณ์วถิ ีปกตใิ หมใ่ นประเทศไทย (Curriculum)

4. ผลการวิจยั นวัตกรรมดา้ น นวตั กรรมทาง นวัตกรรมดา้ น
จากการศึกษาวิจัยเร่ือง “องค์ประกอบการจัด การบริหารจดั การ การศกึ ษา วิธกี ารเรียน
(Management) การสอน
องค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัลสาหรับ Educational (Instruction)
สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภายใต้สถานการณ์วิถีปกตใิ หม่ Innovation
ในประเทศไทย” สามารถแสดงผลการวิจัยและการ
วิเคราะหข์ ้อมูลตามวัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั ดังนี้ นวตั กรรมดา้ น นวตั กรรมด้าน
การวดั สอการสอน
4.1 นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational (Courseware)
Innovation) และการประเมนิ ผล
(Evaluation)
จ า ก แ น ว คิ ด ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ ค ว า ม เ ห็ น ข อ ง
นักวิชาการสามารถกล่าวได้ว่า นวัตกรรมทาง รปที 1 นวัตกรรมทางการศกึ ษา
การศึกษา หมายถึง นวัตกรรมใหม่ท่ีเกิดจาก
แนวความคิด รูปแบบวิธีการ กระบวนการ หรือ เ มื่ อ พิ จ า ร ณ า ใ น มุ ม ม อ ง ข อ ง น วั ต ก ร ท า ง
เคร่ืองมือต่าง ๆ ท่ีออกแบบด้วยความคิดท่ีสร้างสรรค์ การศึกษา (Educational Innovator) น้ันพบว่า ใน
เพ่ือมาใช้งานในแวดวงการศึกษา มีการทดลองใช้งาน องค์กรทางการศึกษาสามารถผลิตนวัตกรรมได้
และทดสอบประสิทธิภาพอย่างเป็นระบบ ในที่สุดก็ หลากหลายรูปแบบโดยอาจจาแนกเป็น 3 ลักษณะ
กลายเป็นนวัตกรรมที่ได้รับการยอมรับและสามารถ สาคัญ ได้แก่ 1) นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (Product
นาไปใช้กับการพัฒนาระบบการศึกษาให้มีคุณภาพได้ Innovation) ซึง่ อาจหมายถึง การพัฒนาส่ือ วัสดุ และ
ต่อไป ดังนั้นสามารถจาแนกประเภทของนวัตกรรม อุปกรณ์การเรียนการสอน เป็นต้น 2) นวัตกรรม
ทางการศึกษาตามขอบข่ายของการจัดการศึกษาใน กระบวนการ (Process Innovation) ซึ่งอาจหมายถึง
ระดับอาชีวศึกษาโดยมีองค์ประกอบที่สาคัญ 5 ด้าน ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ท า ง วิ ช า ก า ร แ ล ะ ก า ร จั ด
ต่อไปน้ี 1) นวัตกรรมด้านหลักสูตร (Curriculum), 2) กระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้แก่ผู้เรียน ชุมชน และ
นวัตกรรมด้านวิธีการเรียนการสอน (Instructional), ผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง เป็นต้น และท่ีสาคัญสาหรับ
3) นวัตกรรมด้านสื่อการสอน (Courseware), 4) ผู้บริหารสถาบันการอาชีวศึกษาก็คือ 3) นวัตกรรม
น วั ต ก ร ร ม ด้ า น ก า ร วั ด แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ทางการบริหาร (Administrative Innovation) ซ่ึง
(Evaluation) และ 5) นวัตกรรมด้านการบริหาร เป็นส่ิงทีผ่ นู้ าในองคก์ รทางการศกึ ษาระดบั อาชีวศึกษา
จดั การ (Management) [8] แสดงดังรปู ที่ 1 ต้องคิดค้นวิธีการ แนวทางการบริหารจัดการ
อาชีวศึกษาใหม่ ๆ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลในการดาเนินงานในภาพรวมขององค์กร
ให้มีคุณลักษณะที่แตกต่าง เป็นท่ียอมรับของ
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยท่ัวไป โดย
นวัตกรรมทางการบริหารสถาบันการอาชีวศึกษาน้ี
ก ล า ย เ ป็ น ตั ว แ ป ร ต้ น ห รื อ ก ล ไ ก ท่ี ส า คั ญ ใ น ก า ร
ขับเคล่ือนให้เกิดนวัตกรรมอื่น ๆ ในองค์กรให้มี
สมรรถนะสูงข้ึนตามเปา้ หมายท่กี าหนด

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 81

วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

4.2 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนานวัตกรรมทาง นาไปใช้จริงในสถานการณ์จริงของการจัดการเรียน
การศกึ ษา การสอนที่เกิดข้ึน รวมถึงการเก็บข้อมูลการใช้เป็น
ระยะ ๆ
จากการทบทวนแนวคิดและวรรณกรรมที่
เกยี่ วข้องกบั นวตั กรรมทางการศกึ ษาครบทุกมติ ริ วมถงึ 4.2.6 ข้ันตอนที่ 6 การประเมินผลการใช้
การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารสถาบันการอาชีวศึกษา (Evaluation) นนั่ คือ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลที่แสดงถึง
สามารถสรุปขั้นตอนการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ผลการใชน้ วัตกรรมทางการศึกษาดว้ ยเทคนคิ วธิ ีต่าง ๆ
ทางการศึกษาให้มีคณุ ภาพ ประสิทธิภาพ และสามารถ ซงึ่ จะแสดงถงึ คุณภาพตามที่กาหนดและสามารถนามา
นาไปใช้ในการสร้างและพัฒนาได้จริงประกอบด้วย เขียนรายงานผลในรูปแบบของการวิจัยและพัฒนา
ขั้นตอนมาตรฐาน 6 ข้ันตอน แสดงดังภาพที่ 2 โดยมี ขยายผล และเผยแพร่นวัตกรรมทางการศึกษานั้น
รายละเอยี ดที่เก่ยี วขอ้ งดงั ต่อไปนี้ [9] ตอ่ ไป

4.2.1 ข้ันตอนที่ 1 การกาหนดส่ิงท่ีจะ 4.3 การเผยแพรน่ วัตกรรมทางการศึกษา
พัฒนา (Determining) น่ันคือ การต้ังเป้าหมายและ ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ ( Diffusion) ห ม า ย ถึ ง
ประเด็นสาคญั ในการแก้ปญั หาหรือพัฒนาคณุ ลักษณะ
ทพ่ี ึงประสงคข์ องผเู้ รยี น กระบวนการท่ีทาให้นวัตกรรมได้รับการยอมรับและ
ถูกนาไปใช้โดยสมาชิกของชุมชนตามเปา้ หมาย ฉะนนั้
4.2.2 ข้ันตอนที่ 2 การระบุนวัตกรรม การเผยแพร่จึงเป็นกระบวนการซ่ึงนวัตกรรมจะถูก
(Identifying) น่ันคือ การกาหนดเป็นกรอบแนวคิด น า ไ ป ถ่ า ย ท อด ผ่ า น ช่ อง ท า ง ข อง ก า ร สื่ อส า ร
ของกระบวนการเรียนรู้ ซ่ึงจะประกอบด้วย ส่ือการ ( Communication Channels) ใ น ช่ ว ง เว ล า หน่ึ ง
สอน หรือวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เทคนิค วิธีการ และ (Time) กับสมาชิกที่อยู่ในระบบสังคมหนึ่ง (Social
กระบวนการ เป็นต้น ที่คิดว่าเหมาะสมท่ีสุดที่ใช้ System) ให้เกิดการยอมรับ (Adoption) จากการ
แกป้ ญั หาหรอื พฒั นาผเู้ รยี นให้ไดต้ ามความตอ้ งการ วิ เ ค ร า ะ ห์ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ พ บ ว่ า มี สิ่ ง ท่ี
เกี่ยวข้องอยู่ 5 ประการท่ีมีอิทธิพลในการดาเนินการ
4.2.3 ขั้นตอนที่ 3 การสร้างและพัฒนา ของกระบวนการเผยแพร่ ได้แก่ (1) ตัวนวัตกรรมเอง
( Creation and Development) น่ั น คื อ ก า หน ด (2) สารสนเทศหรือข้อมูลท่ีนาไปใช้ในการส่ือสารใน
วิธีการจัดทานวัตกรรมน้ัน ๆ อย่างละเอียด มีการ เร่ืองของนวัตกรรมน้ัน (3) เง่ือนไขด้านเวลา (4)
ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ป ร ะ เ มิ น ธรรมชาติของระบบสังคมหรือชุมชนท่ีนวัตกรรมจะ
ประสิทธิภาพในระหว่างการสร้างและพัฒนา แล้วจึง นาไปเผยแพร่ และ (5) การยอมรับ การวิจัยทางด้าน
จัดทานวัตกรรมให้สมบูรณ์ตามข้อกาหนดโดยใช้ การเผยแพร่นวัตกรรมจะเป็นการศึกษาถึงปัจจัย 5
กระบวนการวจิ ยั และพฒั นา (R&D) ประการนี้ว่ามีผลอย่างไร และมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างไร
ในการส่งเสริมให้มีการยอมรับและใช้ผลผลิตของนวัต
4.2.4 ขั้นตอนที่ 4 การทดลองใช้และ กรรวมถึงนักเทคโนโลยีทางการศึกษา (Teece et al.,
ปรับปรุง (Experimentation and Improvement) 2018)
นั่นคือ การทดลองใช้นวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อ
ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ก่อนนาไปใช้จริง รวมถึงการ การเผยแพร่นวัตกรรมทางการศึกษาเป็น
ตรวจสอบคุณภาพด้วยการหาประสิทธิภาพหรือ กระบวนการท่ีจะนาไปสู่การยอมรับและการใช้
ประสทิ ธิผลของนวตั กรรมทางการศึกษา นวัตกรรมโดยสามารถแบ่งวิธีการเผยแพร่นวัตกรรม
ทางการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพออกเป็น 6 ข้ันตอน
4.2.5 ข้ันตอนท่ี 5 การนาไปใช้ใน ได้แก่
สถานการณ์จริง (Implementation) นั่นคือ การ
ทดลองใช้นวัตกรรมทางการศึกษาและปรับปรุงแก้ไข
จนมั่นใจในคุณภาพของนวัตกรรมทางการศึกษาแล้วก็

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 82

82 วารสารวจิ ัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ขันตอนที 1 การกาหนดสงิ ทจี ะพั นา 4.3.5 Spread: เป็นการกระจายหรือขยาย
(Determining) ผลของนวัตกรรมทางการศึกษาที่ได้รับการทดลองใช้
และได้ผลดีไปสู่ประชากรกลุ่มเป้าหมายในวงกว้าง
ขนั ตอนที 2 การระบุนวตั กรรม โดยเฉพาะกลุ่มท่ีเช่ือถือได้ว่ามีศักยภาพเพียงพอต่อ
(Identifying) ก า ร ใ ช้ น วั ต ก ร ร ม ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า น้ั น โ ด ย มุ่ ง สู่
ประสทิ ธิภาพขององค์กรในภาพรวม
ขนั ตอนที 3 การสรา้ งและพั นา
(Creation and Development) 4.3.6 Institutionalization: นวัตกรรม
ทางการศึกษาน้ันได้รับการยอมรับและมีการนาไปใช้
ขันตอนที 4 การทดลองใช้และปรบั ปรงุ ในการปฏบิ ตั ิงาน กลายเป็นแนวปฏิบตั ทิ แ่ี พร่หลายจน
(Experimentation and Improvement) เป็นปกตวิ สิ ยั ของการปฏบิ ัตโิ ดยสมาชกิ ท้งั หมด

ขันตอนที 5 การนาไปใช้ในสถานการณจ์ ริง 4.4 การสร้างองค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษา
(Implementation) ในสถาบันการอาชีวศึกษาภายใต้สถานการณ์วิถีปกติ
ใหม่
ขันตอนที 6 การประเมินผลการใช้
(Evaluation) จ า ก ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ อ ก ส า ร แ ล ะ ผ ล ก า ร
สัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญพบว่า ความเป็นองค์กรแห่ง
รปที 2 ขั้นตอนการสรา้ งและพฒั นานวัตกรรม นวัตกรรมทางการศึกษาที่ประสบความสาเร็จในการ
ทางการศึกษา บริหารสถาบันการอาชีวศึกษาโดยมีองค์ประกอบท่ี
เก่ยี วขอ้ ง ดงั นี้
4.3.1 Injection: เป็นข้ันตอนการนาเอา
แนวความคิดหรือวิธีการปฏิบัติใหม่ ๆ เข้าไปแนะนา 4.4.1 การกาหนดทิศทางองค์กรในด้าน
ให้สมาชกิ ในองคก์ รหรือสถาบนั แห่งหนึ่งไดร้ บั ทราบ นวตั กรรม ประกอบด้วย

4.3.2 Examination: แนวคิดหรือวิธีการ (1) มีการกาหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันโดย
ปฏิบัติใหม่ ๆ ท่ีนาเสนอได้รับความสนใจจากสมาชิก ผู้นา การนาไปสู่การสร้างนวัตกรรมการเปลี่ยนแปลง
ในองค์กรหรือสถาบันน้ัน ๆ มีการศึกษาค้นคว้า การ เจตนารมณแ์ ละการดาเนนิ การปรับจุดเนน้ ขององคก์ ร
วางแผนวิจัยและพัฒนา ตลอดจนถึงมีการก่อรูป นนั้ องค์กรจะต้องมีวิสยั ทศั น์ มคี วามชัดเจนและแสดง
คณะกรรมการด้านนวัตกรรมทางการศึกษาขึ้นมา ถึงการอุทิศตนให้แก่องค์กร ในการท่ีจะปฏิบัติงาน
พจิ ารณาเปน็ การเฉพาะ ร่วมกันเพ่ือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์กร การ
อุทิศตนของผู้บรหิ ารระดับสูงให้กับองค์กรเปน็ พน้ื ฐาน
4.3.3 Preparation: ผเู้ กี่ยวข้องในสถาบนั ในการสร้างความสาเร็จในการสร้างนวัตกรรม เป็น
หรือองค์กรตัดสินใจที่จะทดลองใช้นวัตกรรมทาง ความท้าทายของผู้บริหารที่จะสามารถแปลงแนวคิด
การศึกษานั้นและนาไปสู่การเตรียมการรวบรวม ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ยอมรับกับความเสยี่ งในนวตั กรรมหรือ
บุคลากรและทรัพยากรต่าง ๆ จนกระทั่งถึงการ ความลม้ เหลวทีอ่ าจเกิดขึน้
ฝกึ อบรมก่อนใชน้ วตั กรรมทางการศกึ ษาท่พี ฒั นาข้นึ
(2) การออกแบบองค์กร การจัด
4.3.4 Sampling: เม่ือมีการทดลองนา โครงสร้างให้มีความเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ของ
นวัตกรรมน้ันไปใช้ในครั้งแรก การใช้ระเบียบวิธีการ องค์กรนับเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญท่ีทาให้องค์กร
วิจัยโดยสุ่มตัวอย่างผู้ใช้บางส่วนมาให้ข้อมูลเพื่อ ปฏิบัติงานได้บรรลุวัตถุประสงค์ นอกจากนี้เครือข่าย
การศึกษาวิเคราะห์ความเป็นไปได้ สมรรถนะ ในองค์กรยังเป็นส่วนสาคัญและเป็นกลไกท่ีทาให้
ผลกระทบ และพจิ ารณาผลการใชท้ ผ่ี า่ นมา

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา 83

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ระบบตา่ ง ๆ ในองค์กรสามารถทางานได้สอดคล้องกัน (4) เปิดรับมุมมองจากภายนอก มีการ
อยา่ งดี กาหนดทิศทางการดาเนินงานขององค์กรจากมุมมอง
ของผู้รับบริการท้ังภายในและภายนอก สารวจโอกาส
(3) บุคคลมีส่วนสนับสนุนและอานวย ภาวะคุกคามต่าง ๆ ที่สามารถเข้าถึงได้ผ่านทางการ
ความสะดวกต่อการเกิดนวัตกรรม ผู้ท่ีเป็นนัก สื่อสารขององค์กร ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้องค์กรได้รับ
สร้างสรรค์นวัตกรรมหรือทีมนาต้องมีความเข้าใจใน มือกับภาวะคุกคามต่าง ๆ พร้อมกับแสวงหาโอกาส
เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ซ่ อ น อ ยู่ ใ น น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ ส า ม า ร ถ ใหม่ ๆ ในการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมให้เกิดข้นึ ในองคก์ ร
แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ ผู้สนับสนุนองค์กร (Sponsor)
อาจไม่จาเป็นต้องรู้เทคโนโลยีแต่มีความเช่ือม่ันใน 4.4.3 การทาให้เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรม
ศักยภาพของนวัตกรรมนั้น ๆ ผู้ดูแลด้านเทคโนโลยีมี อย่างย่งั ยืน ประกอบดว้ ย
ความสาคัญ ในการทาหน้าท่ีเลือกรับข่าวสารและส่ง
ต่อข่าวสารต่าง ๆ ไปยังผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการสร้าง (1) สร้างวัฒนธรรมที่ทาให้ความคิด
นวัตกรรม สร้างสรรค์เป็นความรู้สึกร่วมขององค์กร วัฒนธรรมที่
สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม คือ การสร้างพฤติกรรม
4.4.2 การทาให้เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรม นวัตกรรมให้เกิดข้ึนกับบุคลากร เช่น ความท้าทายใน
อย่างต่อเน่ือง โดยมีความเชื่อมโยงและเกิดข้ึนพร้อม การเร่ิมสิ่งใหม่ ความกล้าคิด กล้าทา และ กล้า
กั น เ พ่ื อ ส ร้ า ง ค ว า ม เ ป็ น อั น ห นึ่ ง อั น เ ดี ย ว ใ น ก า ร แสดงออก เปน็ ต้น
ขับเคลอ่ื นองค์กรนวัตกรรม ประกอบด้วย
(2) สร้างระบบการจัดการความรู้และ
(1) มที มี การทางานท่มี ปี ระสิทธิภาพ มี องค์กรแห่งการเรียนรู้ องค์กรจาเป็นต้องสร้างระบบ
การใช้ทีมการทางานในการแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่าง การจัดการความรู้เพือ่ ใหค้ วามร้ตู ่าง ๆ มีการหมนุ เวยี น
เหมาะสม มีการลงทุนในการคัดเลือกและสร้างทีมใน และสรา้ งให้เกดิ องคก์ รแห่งการเรียนรอู้ ย่างตอ่ เน่ือง
การทางานเพอื่ ให้ไดผ้ ลงานท่ีมคี ณุ ภาพ
(3) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องของ
(2) มีการขยายการพัฒนาและฝึกฝน องค์กร เป็นสิ่งท่ีมีอิทธิพลระดับสูงต่อการสร้าง
ในระยะยาว การฝึกฝนและพัฒนาให้บคุ ลากรมที ักษะ นวัตกรรมและมีผลโดยตรงต่อนวัตกรรมท่ีมาจากการ
ในการปฏิบัติงานจึงเป็นเคร่ืองมือสาคัญต่อการ ดัดแปลงหรือพัฒนาของเดิมท่ีมีอยู่ เนื่องจากการ
ส่งเสริมให้เกิดสร้างนวัตกรรมในองค์กร เน่ืองจากทา ปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเน่ืองทาให้พบข้อบกพร่อง
ให้บุคลากรได้รับรู้เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของสินค้าหรือบริการได้ชัดเจน รวมไปถึงการขยาย
และยังเป็นจุดเร่ิมต้นท่ีแสดงให้เห็นว่า มีการมอบ นโยบายท่ีมีเป้าหมายเฉพาะเจาะจงในงานแต่ละ
อานาจการตัดสินใจส่งผลให้บคุ ลากรมีความเชอื่ มัน่ ใน ประเภทท่ีต้องอาศัยความเข้าใจในนโยบายน้ันอย่าง
การสรา้ งสรรค์นวตั กรรมให้เกิดขึน้ ภายในองคก์ ร เปน็ ลาดับชั้น

(3) มีการติดต่อส่ือสารในทุกทิศทาง กล่าวโดยสรุปได้ว่า การสร้างองค์กรแห่ง
การติดต่อสื่อสารกับภายในองค์กร ระหว่างองค์กร นวัตกรรมทางการศึกษาในสถาบันการอาชีวศึกษาก็
และภายนอกองค์กร โดยเฉพาะภายในองค์กรจะต้อง คือ การทาให้สถาบันมีการกระทาใหม่ การสร้างใหม่
มีการติดต่อท้ัง 3 ทาง คือ ติดต่อกับระดับสูงกว่า หรือการพัฒนาดัดแปลงจากส่ิงใด ๆ แล้วทาให้
ระดับต่ากว่า และระดับเดียวกัน องค์กรสามารถใช้ การศึกษาหรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ
การส่ือสารได้หลายช่องทางและใช้ส่ือหลายประเภท ผู้เรียนสายอาชีพมีประสิทธิภาพดีขึ้นกว่าเดิม ทาให้
เพ่ือลดความแตกตา่ งระหวา่ งภายในองคก์ รทีท่ าหน้าที่ ผู้เรียนเกิดการเปล่ียนแปลงในการเรียนรู้ และ
แตกต่างกันและสร้างความเข้าใจในการดาเนิน ปฏิบัติการให้รวดเร็ว มีแรงจูงใจในการเรียนรู้และฝึก
กจิ กรรมขององค์กรให้เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั ปฏิบัติ ทาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 84

84 วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

กับผู้เรียน ดังนั้น สถาบันจึงต้องมีความสามารถคดิ คน้ ผู้สนับสนุนและประสานให้เกิดความสอดคล้องท่ัวทั้ง
ทาส่ิงใหม่ ๆ เพ่ือการพัฒนาได้ตั้งแต่กระบวนการ องค์กร
ทางาน และการผลิตผลงาน ท้ังในรูปแบบการบริหาร
การจัดทาหลักสูตร การสร้างส่ือหรือวิธีการจัดการ ส่วนแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นาท่ีสาคัญ
เรียนการสอนสายอาชีพ การฝึกปฏิบัติในสถาน ที่ระบุถึงขั้นตอนการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรม
ประกอบการ รวมถึงการวัดและประเมินผล เพื่อ ของผู้บริหารสถาบันการอาชีวศึกษาว่าควรดาเนินการ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนตามศักยภาพ และมี ตามขั้นตอนมาตรฐานดงั ต่อไปน้ี
สมรรถนะพร้อมในการศึกษาต่อในระดับที่สูงข้ึน และ
ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ เ ป็ น ที่ (1) การนาสู่การเรียนรู้ (Leading to
ต้องการของสถานประกอบการตอ่ ไป Learn) เป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการพัฒนาความคิด
เ ชิ ง น วั ต ก ร ร ม ใ น ง า น ที่ มุ่ ง เ น้ น ก า ร เ ปิ ด ใ จ ย อ ม รั บ
4.5 ปจั จยั การเป็นองค์กรแห่งนวตั กรรมทางการ แนวคิด/วิธกี ารทางานใหม่ ๆ และพร้อมท่ีจะเรียนรู้ใน
ศึกษาในสถาบนั การอาชวี ศึกษาภายใตส้ ถานการณ์วิถีปกติใหม่ มุมมองที่หลากหลาย

รูปแบบการเป็นองค์กรแหง่ นวัตกรรมทางการ (2) การนาสู่การคิด ( Leading to
ศึกษาที่ได้รับการพิสจู น์และเป็นท่ียอมรับทางวิชาการ Think) ผู้บรหิ ารจะตอ้ งคดิ อยา่ งมวี ิสยั ทัศนห์ รอื การคดิ
โดยการเชื่อมโยงสู่บริบทขององค์กรทางการศึกษาทกุ เชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking) ท่ีสามารถวิเคราะห์
ระดับของประเทศไทย ซึ่งพบว่าปัจจัยท่ีมีผลต่อการ ถึงจุดเด่นและจุดที่ต้องพัฒนา รวมทั้งโอกาสและ
เ ป็ น อ ง ค์ ก ร แ ห่ ง น วั ต ก ร ร ม ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ อุปสรรค เพ่ือนาผลการวิเคราะห์ไปกาหนดเป็น
อาชีวศึกษานั้นต้องประกอบไปด้วยปัจจัยหลัก ได้แก่ แผนงานและกลยุทธก์ ารพัฒนาสถาบันการศกึ ษา
ภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรม บรรยากาศนวัตกรรม และ
นิสัยนวัตกรรม [10] โดยมีรายละเอียดท่ีเกี่ยวข้อง (3 ) ก า ร น า สู่ ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง
ดังตอ่ ไปนี้ (Leading to Change) การขับเคล่ือนสถาบันการ
ศึกษาด้วยแผนงานหรือกลยุทธ์ใหม่ ๆ จะนามาซง่ึ การ
4.5.1 ภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรม (Innovative เปล่ียนแปลง ดังนั้นการเปล่ียนแปลงท่ีดีจะต้องเร่ิม
Leadership) สามารถสรุปคุณลักษณะของผู้บริหาร จากกระบวนการปรับทัศนคติเชิงบวกเพ่ือให้บุคลากร
องค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษาในประเด็นการมี ทุกคนมีทิศทางการทางานร่วมกันผ่านการส่ือสารเชิง
ภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรมอาทิ 1) ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ สร้างสรรค์ ผู้บริหารมีบทบาทในการโน้มน้าวและ
นโยบาย และกรอบการทางานท่ีชัดเจน 2) ผู้บริหาร เจรจาเพื่อให้บุคลากรทุกคนเข้าใจตรงกันว่าการ
พร้อมรับฟังความคิดเห็นและเป็นตัวอย่างท่ีดีแก่ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นส่งผลกระทบเชิงบวกต่อ
บุคลากร และ 3) ผู้บริหารเอาใจใส่ต่อการพัฒนา บคุ ลากรอยา่ งไร
กระบวนงานเป็นสาคัญ ส่วนบทบาทสาคัญของ
ผู้บริหารดา้ นทรัพยากรมนุษย์ท่ีจะก้าวไปสู่องค์กรแห่ง (4) การนาสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม
นวัตกรรมทางการศึกษาให้ประสบผลสาเร็จสรุป (Leading to Innovate) เม่ือบุคลากรภายในสถาบัน
ประเด็นสาคัญ ได้แก่ 1) ผู้บรหิ ารทรพั ยากรมนุษยต์ อ้ ง การศึกษาตระหนักถึงประโยชน์ของการเปลี่ยนแปลง
ทางานคู่กันกับผู้บริหารองค์กรทางการศึกษาและเป็น ดังกลา่ วแลว้ ผู้บริหารจะต้องสนับสนุนปัจจยั ที่สง่ เสรมิ
หุ้นส่วนธุรกิจกันและสนับสนุนกัน 2) เป็นนักบริหาร ต่อการเรียนรู้เชิงนวัตกรรม เช่น ระบบไอซีที แหล่ง
การเปล่ียนแปลงและความเสี่ยงทางการศึกษา 3) เรียนรู้ออนไลน์ ส่ือและอุปกรณ์ และแพลตฟอร์ม
ผู้บริหารหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์แบบมีกลยุทธ์ ทางการศึกษาต่าง ๆ เป็นต้น เพ่ือนาไปสู่การพัฒนา
และ 4) ผู้บริหารหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ที่เป็น นวตั กรรมการเรียนการสอนให้มคี ณุ ภาพ [11]

(5) การนาสู่การเผยแพร่นวัตกรรม
(Leading to Dissemination) เ ม่ื อ แ น่ ใ จ แ ล้ ว ว่ า

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชีวศึกษา 85

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

นวัตกรรมที่สร้างข้ึนนั้นผ่านการทดลองใช้ได้อย่างมี ท้ังภายในและภายนอกเบ้ืองต้นของการเป็นองค์กร
คุณภาพและประสิทธิภาพตามท่ีต้องการ นวัตกรรม แห่งนวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัลในสถาบันการ
นั้นก็พร้อมที่จะได้รับการเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักและ อาชวี ศกึ ษา 12 องคป์ ระกอบ ได้แก่
ยอมรับนาไปใช้กนั อยา่ งแพร่หลาย ผูบ้ รหิ ารต้องเข้าใจ
ถึงรูปแบบและวิธีการเผยแพร่นวัตกรรมและเป็น 1) การกาหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ที่
ผ้สู นบั สนนุ การเผยแพรอ่ ย่างเปน็ ทางการตอ่ ไป จะนาไปสอู่ งคก์ รแหง่ นวตั กรรมทางการศึกษา

4.5.2 บรรยากาศนวัตกรรม (Innovative 2) การกาหนดโครงสร้างองค์กรแห่ง
Climate) จากการวิเคราะห์แนวทางการจดั การศกึ ษา นวตั กรรมทางการศกึ ษาทเี่ หมาะสม
ในระดับอาชีวศึกษาของไทยเพื่อขับเคล่ือนสู่ยุคไทย
แลนด์ 4.0 โดยเน้นการวิเคราะห์จากนโยบายพบว่า 3) การสร้างวัฒนธรรมองค์กรท่ีสนับสนุน
การสร้างบรรยากาศนวัตกรรมประกอบด้วย 1) การ นวตั กรรมทางการศึกษาทกุ มิติ
พฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์ในกระบวนการจัดการเรียน
การสอนเพือ่ พัฒนานวตั กรรม 2) การพัฒนาความเปน็ 4) รูปแบบ กระบวนการ และการปฏิบัติท่ี
มืออาชีพของบุคลากรทางการศึกษา 3) การส่งเสริม เอื้อต่อการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมทางการศึกษา
และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่ือการศึกษา และ
4) การสรา้ งความรว่ มมือดา้ นการวจิ ัยและพฒั นา [12] 5) การกาหนดโครงสร้างทางฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ และแพลตฟอร์มดิจิทัลที่เหมาะสมสาหรับ
4.5.3 นิ สั ย น วั ต ก ร ร ม ( Innovative การบรกิ าร
Behavior) จากการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับ
องค์กรแห่งนวัตกรรมพบว่า คุณลักษณะบุคลากรของ 6) ทีมผู้นาเชิงนวัตกรรมที่มุ่งมั่นไปสู่การ
องค์กรที่สามารถเป็นนวัตกรควรมีลักษณะนิสยั ได้แก่ เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษาอย่างเป็น
1) มีภาวะผู้นา ทางานอย่างมืออาชีพ มีจิตสานึกและ ระบบ
จริยธรรมในการทางานไปสู่เป้าหมาย 2) มีความคิด
ริเร่ิมสร้างสรรค์ คิดเชิงบวก และเชี่ ยวชาญใน 7) ทีมงานมีนิสัยแห่งนวัตกรรมในการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรม 3) สามารถทางานร่วมกับ สร้างสรรคน์ วตั กรรมระดับอาชวี ศึกษาที่มคี ณุ ภาพ
ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ผลงานได้
ตามมาตรฐาน 4) มีความพร้อมท้ังทักษะหลักและ 8) การสร้างระบบนิเวศนวัตกรรมทีมี
ทักษะรอง ทางานได้หลายอย่าง (Multi-Function) อัตลักษณ์เฉพาะตัว
พร้อมรับการเปล่ียนแปลงและปรับตัวให้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง และ 5) สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่าง 9) นวัตกรรมการจัดการความรู้ด้านทักษะ
กว้างขวางเหมาะสมกบั งาน [10] อาชีพทม่ี ีประสิทธภิ าพ

4.6 องค์ประกอบการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม 10) การส่งเสริมบุคลากรในการคิดริเริ่ม
ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส ถ า บั น ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า ภ า ย ใ ต้ สร้างสรรค์และแลกเปลย่ี นเรยี นร้ไู ด้อยา่ งอสิ ระ
สถานการณ์วถิ ปี กติใหม่
11) การสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้
จากข้อมูลจากข้อ 1-5 สามารถนามากาหนด ของทั่วทง้ั องค์กร และ
เ ป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ท่ี เ กี่ ย ว ข้ อ ง สั ม พั น ธ์ กั บ ผ ล ก า ร
สมั ภาษณเ์ ชงิ ลึกผูบ้ ริหารรวมถงึ การสังเคราะหเ์ อกสาร 12) การสร้างทางเลือกใหม่เพ่ือการเรียนรู้
จากประเด็นงานวิจัยที่เก่ียวข้องพบว่า องค์ประกอบ และการพฒั นาทักษะอาชีพในยคุ ดิจิทลั

นอกจากน้ี ผลการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ
ด้านระบบไอซีที นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการ
ศึกษา จานวน 9 คน สามารถยืนยันได้ถึงรูปแบบของ
การจัดองค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัล
สาหรับการบริหารจัดการสถาบันการอาชีศึกษาใน
ประเทศไทย โดยผูเ้ ชีย่ วชาญเหน็ ดว้ ยกับเนอื้ หาสาระท่ี
ระบุถึงองค์ประกอบและรูปแบบของการจัดองค์กร
แห่งนวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัล แต่ได้ปรับปรุง

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 86

86 วารสารวจิ ัยและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ถ้อยคาและบทวิเคราะห์เพ่ิมเติมเพ่ือให้เน้ือหาสาระมี เหมาะสม และการนากลยุทธ์ที่เก่ียวกับดิจิทัลมาช่วย
ความชัดเจนมากย่ิงข้ึนและสามารถนาไปสู่บทสรุปใน ในการเพ่ิมประสิทธิภาพของสถาบัน นอกจากน้ี
ลาดับถัดไป รูปแบบขององค์กรแห่งนวัตกรรมทาง สถาบันการอาชีวศึกษาต้องสามารถจัดการงานวิจัย
การศึกษายุคดิจิทัลสาหรับสถาบันการอาชีวศึกษา และนวัตกรรมที่คิดค้นได้เป็นอย่างดี ท้ังในด้านการ
ภายใต้สถานการณว์ ถิ ีปกตใิ หมใ่ นประเทศไทยแสดงดัง บริหารจัดการ การจัดการการเรียนรู้ การฝึก
รปู ท่ี 3 ปฏิบัติการสายอาชีพ และการจัดการเชิงวิชาการ
ทาใหผ้ ้ทู างานดา้ นนีม้ คี วามสขุ สนุกกับงาน มี
(Innovation Ecosystem) (Curriculum) มาตรฐานสูงตามท่ีสถาบันต้องการ และได้รับการ
(Instructional) พัฒนาอย่างต่อเน่ืองครบถ้วนทุกด้าน เป็นสถาบันท่ี
Innovative สามารถจัดการงานวิจัยและพัฒนาได้สอดคล้องกับ
Leadership) ความต้องการของนักนวัตกรรม เป็นที่ช่ืนชมของ
สถาบันการศึกษาอื่น ๆ และมีส่วนร่วมในการพัฒนา
Innovative (Elements) (Educational Innovative (Courseware) สังคมแห่งการเรียนรู้ที่ย่ังยืนและไม่สิ้นสุด นอกจากนี้
Climate) Organization) (Evaluation) ผู้นาสถาบันการอาชีวศึกษาควรจะพยายามสง่ เสริมให้
ผู้วิจัย ผู้คิดค้น ผู้ร่วมงานทุกคนท่ีเกี่ยวข้องและมีส่วน
Innovative Vocational Education ร่วมในการกาหนดตัวแบบเชิงนวัตกรรมและการ
Behavior) วางแผนเชิงกลยุทธ์ของสถาบัน รวมทั้งทาให้บุคลากร
1 (Management) รู้สึกว่านวัตกรรมและการสร้างสรรค์ความคิดผา่ นองค์
2 ความรู้ท่ีได้จากงานวิจัยและพัฒนาเป็นหน้าที่และ
3 ความรับผิดชอบของทุกคน ย่ิงไปกว่าน้ัน ผู้นาหรือ
4 ผู้บริหารสถาบันการอาชีวศึกษาควรจะเปิดโอกาสให้
5) การกาหนดโครงสรา้ งทาง ารด์ แวร์ อ ต์แวร์ และแพลต อร์มดจิ ิทัลทเี หมาะสม ทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็น
สาหรบั การบรกิ าร อิสระและมีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางขององค์กร
6 อย่างสร้างสรรค์เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งนวัตกรรมทาง
ระบบ การศึกษายุคดิจิทัลที่สามารถเติบโตได้อย่างย่ังยืน
7 ต่อไปในอนาคต
8) การสร้างระบบนิเวศนวตั กรรมทีมีอัตลักษณ์เ พาะตวั
9) นวตั กรรมการจัดการความร้ด้านทักษะอาชีพทมี ีประสิทธิภาพ นอกจากน้ี ผลการสังเคราะห์ข้อมูลการวิจัยที่
10 ผ่านมารวมถึงผลการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญพบว่า
11 อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จั ด อ ง ค์ ก ร แ ห่ ง น วั ต ก ร ร ม ท า ง
12) การสรา้ งทางเลอกใหม่เพอการเรียนรแ้ ละการพั นาทักษะอาชพี ในยคุ ดิจิทลั การศึกษายุคดิจิทัลสาหรับสถาบันการอาชีวศึกษา
ภายใต้สถานการณ์วิถีปกติใหม่ในประเทศไทยมี
รปที 3 องคป์ ระกอบการจัดองคก์ รแห่งนวตั กรรม โครงสร้างพ้ืนฐานดังภาพท่ี 3 โดยมีองค์ประกอบท่ี
ทางการศึกษายคุ ดจิ ทิ ลั สาหรบั สถาบนั การ สาคัญ 12 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การกาหนด
อาชวี ศกึ ษาภายใต้สถานการณ์วถิ ีปกตใิ หมใ่ น วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ท่ีจะนาไปสู่องค์กรแห่ง
ประเทศไทย นวัตกรรมทางการศึกษา 2) การกาหนดโครงสร้าง
องค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีเหมาะสม 3)
5. สรปุ ผลการวจิ ยั การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่สนับสนุนนวัตกรรมทาง
การศึกษาวิจัยเร่ือง “องค์ประกอบการจัดองค์กร

แห่งนวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัลสาหรับสถาบัน
การอาชีวศึกษาภายใต้สถานการณ์วิถีปกติใหม่ใน
ประเทศไทย” สามารถนามาสรุปและอภิปราย
ผลการวิจัยจากการวิเคราะห์ข้อมูลรอบด้านแบบสา
รัตถภาพและสัมพันธภาพตามวัตถุประสงค์การวิจัย
ร ว ม ถึ ง น า เ ส น อ เ ป็ น บ ท ส รุ ป แ ล ะ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ เ ชิ ง
นโยบายโดยภาพรวมดังนี้

จากผลการวิจัยและการสังเคราะห์ข้อมูล
สามารถสรุปโดยภาพรวมได้ว่า การบริหารจัดการ
สถาบันการอาชีวศกึ ษาภายใต้สถานการณว์ ิถีปกติใหม่
สามารถนาไปสู่การเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมทาง
การศึกษาและก้าวเดินต่อไปได้ โดยเริ่มจากการหา
บุคลากรท่ีเหมาะสมกับงาน การผูกใจคนเก่งให้อยู่กับ
องค์กร การนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้อย่าง

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชีวศึกษา 87

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

การศึกษาทุกมิติ 4) รูปแบบ กระบวนการ และการ โฉม สามารถสร้างบรรยากาศแห่งนวัตกรรม
ปฏิบัตทิ เี่ อื้อต่อการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการศึกษา สร้างสรรค์โดยให้การสนับสนุนอย่างเพียงพอ การ
5) การกาหนดโครงสร้างทางฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ พั ฒ น า ค รู ผู้ ส อ น แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ใ ห้ เ ป็ น ผู้ มี ค ว า ม รู้
และแพลตฟอร์มดิจิทัลที่เหมาะสมสาหรับการบริการ ความสามารถในการสรา้ งสรรคแ์ ละเผยแพรน่ วตั กรรม
6) ทีมผู้นาเชิงนวัตกรรมที่มุ่งมั่นไปสู่การเป็นองค์กร ระดับอาชีวศึกษาท่ีมีคุณภาพระดับสากล มีการสร้าง
แห่งนวัตกรรมทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ 7) แรงจูงใจและความมุ่งม่ันปรารถนาในการสร้างสรรค์
ทีมงานมีนิสัยแห่งนวัตกรรมในการสร้างสร รค์ นวัตกรรมใหม่ให้สาเร็จจนกลายเป็นนวัตกรทาง
นวัตกรรมระดับอาชีวศึกษาท่ีมีคุณภาพ 8) การสร้าง ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส ถ า บั น ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า ยุ ค ดิ จิ ทั ล
ระบบนิเวศนวัตกรรมท่ีมีอัตลักษณ์เฉพาะตัว 9) นอกจากน้ียังสอดคล้องกับงานวิจัยของ [15] ท่ีพบว่า
นวัตกรรมการจัดการความรู้ด้านทักษะอาชีพที่มี ความสาคัญของสถาบันการศึกษาทีต่ ้องสนบั สนุนการ
ประสิทธิภาพ 10) การส่งเสริมบุคลากรในการคิดริเร่ิม ขับเคลื่อนงานวิจัยทางด้านนวัตกรรมการศึกษา ควร
สร้างสรรค์และแลกเปล่ียนเรียนรู้ได้อย่างอิสระ 11) เร่ิมตั้งแต่บ่มเพาะความคิดเชิงนวัตกรรมในระดับ
การสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ของทั่วท้ังองค์กร รากฐานให้กับผูว้ ิจัยและผ้คู ิดค้นของสถาบนั การศึกษา
และ 12) การสร้างทางเลือกใหม่เพื่อการเรียนรู้และ ท้ังในประเทศและต่างประเทศที่สนใจในการนา
การพัฒนาทักษะอาชีพในยุคดิจิทัล อีกท้ังการ ผลผลิตจากงานวิจัยและพัฒนาไปต่อยอดเชิงวิชาการ
ขับเคลื่อนให้องค์กรมุ่งสกู่ ารเปน็ องค์กรแห่งนวัตกรรม โดยมุ่งเน้นเฉพาะงานท่ีสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้
ทางการศึกษายุคดิจิทัลสาหรับการบริหารจัดการ จริงและเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน จากท่ีกล่าวมา
สถาบันการอาชีวศึกษาให้ประสบผลสาเร็จได้นนั้ ควร ทั้งหมดสามารถยืนยันได้ว่า องค์ประกอบการจัด
มีการศึกษาเพื่อนาองคป์ ระกอบท้งั หมดท่ีกลา่ วมาระบุ องค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัลสาหรับ
กาหนดเป็นนโยบาย กลยุทธ์ ระเบียบปฏิบตั ิ และการ สถาบันการอาชวี ศึกษาภายใต้สถานการณ์วิถีปกตใิ หม่
สร้างข้อกาหนดท่ีจาเป็นสาหรับสถาบันกา ร ในประเทศไทยมีความเหมาะสมสาหรับนาไปใชใ้ นการ
อาชีวศึกษาแต่ละแห่ง ท้ังน้ีจะขึ้นอยู่กับการกาหนด จัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาประเทศไท ย ใ ห้ มี
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์กรท่ีต้องสอดรับกับการ คุณภาพภายใต้สถานการณ์วิถีปกติใหม่และวิถีถัดไป
เปลยี่ นแปลงไปสู่องคก์ รทางการศึกษายุคดจิ ทิ ลั ดว้ ย (Next Normal) อยา่ งแท้จริง

จากผลการวิจัยสามารถนามาอภิปรายผลใน 6. ขอ้ เสนอแนะ
ประเด็นสาคัญโดยภาพรวมได้ว่า “องค์กรแห่ง 6.1 ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการวิจัยไปใช้
นวัตกรรมทางการศึกษา” เป็นองค์กรท่ีเกิดจากการ
สร้างสรรคส์ ิ่งใหม่หรือมีการปรับปรุงท้ังรูปแบบวิธกี าร ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เกิดจากการศึกษาวิจัยครั้ง
ท า ง า น แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ดิ ม แ ล้ ว ท า ใ ห้ ก า ร จั ด นี้สามารถอธิบายโดยภาพรวมได้ว่า ผลพวงแห่งการ
การศึกษามีประสิทธิภาพและคุณภาพดีข้ึน โดย ปรับเปล่ียนแบบพลิกโฉมทางการศึกษาเฉกเช่นใน
สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ [13] และ [14] ที่พบว่าการ ปัจจุบัน ทาให้บทบาทและหน้าท่ีหลักของสถาบนั การ
ส ร้ า ง อ ง ค์ ก ร ใ ห้ เ ป็ น อ ง ค์ ก ร แ ห่ ง น วั ต ก ร ร ม ท า ง อาชีวศึกษายุคใหม่ภายใต้สถานการณว์ ิถปี กติใหม่และ
การศึกษานั้นผู้บริหารย่อมมีบทบาทสาคัญในการ วิถีถัดไปมีลักษณะท่ีควรจะเป็นก็คือ การสนับสนุน
กาหนดและควบคุมทิศทางให้บรรลุดงั เปา้ ประสงค์ ซ่ึง เครื่องมือในการคิด การฝึกปฏิบัติที่เล็งเห็นประโยชน์
ต้องเป็นผู้ท่ีมีภาวะผู้นาในลักษณะต่าง ๆ อาทิ ผู้นา จากนวัตกรรมเพื่อสังคม การเป็นท่ีปรึกษาให้แก่
แห่งการเปลี่ยนแปลงมืออาชีพ มีวิสัยทัศน์ในการ บุ ค ล า ก ร ภ า ย ใ น แ ล ะ ห น่ ว ย น วั ต ก ร ร ม ภ า ย น อ ก ท่ี
บริหารงานที่พร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงแบบพลิก มองเห็นความเป็นไปได้ของการสร้างองค์กรแห่ง

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 88

88 วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา [2] พงษ์ศกั ดิ์ ผกามาศ, ชัยวัฒน์ ประสงคส์ ร้าง
และอุษา งามมีศร.ี (2561). คณุ ลกั ษณะของ
ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564 ผู้บริหารสถาบันการอาชวี ศกึ ษาที่มีอิทธิพล
ตอ่ ความท่มุ เทในการทางานของบคุ ลากร
นวัตกรรมทางการศึกษาท่ีเหมาะสม ซึ่งในท่ีสุดแล้ว ทางการศกึ ษาในภาคตะวนั ออกของ
ทิศทางของสถาบนั จะถูกกาหนดจากความเห็นร่วมกัน ประเทศไทย. การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ
ของสถาบันท่ีจะอยู่รอดได้ในอนาคต โดยต้องอาศัย และนานาชาติดา้ นมนษุ ยศาสตร์และสงั คม
ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละสามารถดึงศักยภาพของคนใน วิทยา คร้งั ท่ี 8 (NICHSS2018). 29-30
สถาบันออกมาใชไ้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และไมย่ ึดตดิ พฤศจกิ ายน 2561.
กับกฎเกณฑ์เดิม ๆ ท่ีจากัดจินตนาการของคนในแวด
วงการศกึ ษาอกี ตอ่ ไป [3] Hamdan, K.M., Al-Bashaireh, A.M.,
Zahran, Z., Al-Daghestani, A., AL-
6.2 ข้ อเส น อแ น ะ เพ่ื อก า ร วิ จั ย ค ร้ั ง ต่ อ ไ ป Habashneh, S. and Shaheen, A.M.
ประกอบดว้ ย (2021). University Students'
Interaction, Internet Self-Efficacy,
6.2.1 ควรนาองค์ประกอบ รูปแบบ และ Self-Regulation and Satisfaction
วิธีการท่ีค้นพบไปใช้กับการบริหารจัดการสถาบันการ with Online Education during
อุดมศึกษา โดยทาการวิจัยเชิงลึกเพ่ือศึกษาความ Pandemic Crises of COVID-19
เหมาะสม ความเป็นไปได้ และผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นจาก (SARS-CoV-2). International Journal
การสร้างองค์กรแห่งนวัตกรรมทางการศึกษาในระดบั of Educational Management. Vol. 35
อาชีวศกึ ษายุคดิจิทัล No. 3, pp. 713-725.

6.2.2 ควรศึกษาวิจัยเชิงลึกเพ่ือให้ได้มาซึ่ง [4] พงษ์ศกั ดิ์ ผกามาศ, สาเริง ออ่ นสมั พันธ์ุ,
ระเบียบหรือวิธีปฏิบัติท่ีเหมาะสมสาหรับการสร้าง สุริยะ วชิรวงศไ์ พศาล, ดรณุ ี ปัญจรตั นากร,
อ ง ค์ ก ร แ ห่ ง น วั ต ก ร ร ม ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ ฤทธเิ ดช พรหมดี และเชดิ ศักด์ิ ศุภโสภณ.
อาชีวศกึ ษาท่มี ปี ระสทิ ธิภาพและสามารถเป็นแผนงาน (2564). องค์กรแห่งนวัตกรรมทาง
ที่ประยุกต์ใช้งานได้จริงในการบริหารจัดการสถาบัน การศึกษายคุ ไทยแลนด์ 4.0. การประชุม
การอาชีวศกึ ษาเพ่ือการพฒั นาประเทศไทย วชิ าการระดบั ชาติ พะเยาวจิ ยั ครัง้ ที่ 10.
มหาวิทยาลยั พะเยา. 28-29 มกราคม 2564.
กิตตกิ รรมประกาศ หนา้ 3513-3528.
บทความวิจัยฉบับน้ีได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย
[5] Deng, L. and Ma, W. (2018). New
และตีพมิ พเ์ ผยแพรจ่ ากวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาหนองคาย Media for Educational Change. pp.
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 3-11. New York: Springer.
วิทยาลัยธาตุพนม มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัย
นวัตกรรมการจดั การ สถาบันนวตั กรรมทางการศึกษา
สมาคมส่งเสริมการศึกษาทางเลือก และมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ คณะผู้วิจัย
ขอขอบพระคณุ เปน็ อย่างสูงมา ณ โอกาสน้ี

เอกสารอ้างองิ
[1] สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
(2561). มาตรฐานศกึ ษาระดับการ
อาชวี ศกึ ษา. กรุงเทพฯ: สานกั งาน
คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชวี ศกึ ษา 89

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

[6] Brunetti, F., Matt, D.T., Bonfanti, A., De [12] Reetu, Yadav, A. and Redhu, K.
Longhi, A., Pedrini, G. and Orzes, G. (2020). Organizational Climate and
(2020). Digital Transformation Organizational Effectiveness
Challenges:Strategies Emerging Relationship: Mediating Role of Job
from a Multi-Stakeholder Approach. Satisfaction. International Journal of
The TQM Journal.Vol.32, No.4, Advanced Science and Technology.
pp.697- 724. Vol. 29 No. 4s, pp. 2970-2982.

[7] ดรุณี ปัญจรตั นากร, สาเรงิ ออ่ นสัมพนั ธ์ุ, [13] Fernandez, A.A. and Shaw, G.P.
สุริยะ วชิรวงศไ์ พศาล, ฤทธเิ ดช พรหมดี, (2020). Academic Leadership in a
อุษา งามมศี รี และพงษศ์ ักด์ิ ผกามาศ. Time of Crisis: The Coronavirus
(2564). แนวทางการบริหารงานระบบไอซี and COVID-19. Journal of Leadership
ทเี พอ่ื พัฒนานวตั กรรมการจัดการเรียนการ Studies. Vol. 14 No. 1, pp. 39-45.
สอนในสถาบันอดุ มศึกษา. เอกสารการ
ประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ พะเยาวิจยั ครงั้ ท่ี [14] Sirakaya, M. and Cakmak, E.K., (2018).
10. มหาวิทยาลัยพะเยา. 28-29 มกราคม Effects of Augmented Reality on
2564. หนา้ 3892-3907. Student Achievement and Self-
Efficacy in Vocational Education
[8] Alves, M.F.R., Galina, S.V.R. and and Training. International Journal
Dobelin, S.(2018).Literatureon for Research in Vocational Education
Organizational Innovation: Past and and Training (IJRVET). European
Future. Innovation and Management Educational Research Association.
Review. Vol. 15 No. 1, pp. 2-19. Vol. 5 No. 1, pp. 1-18.

[9] Konst (e. Penttilä), T. and Kairisto- [15] Da'as, R., Watted, A. and Barak, M.
Mertanen, L. (2020). Developing (2020). Teacher's Withdrawal
Innovation Pedagogy Approach. On Behavior: Examining the Impact of
the Horizon. Vol. 28 No. 1, pp. 45-54. Principals' Innovative Behavior and
Climate of Organizational Learning.
[10] พงษศ์ กั ดิ์ ผกามาศ และดรณุ ี ปัญจรัตนากร. International Journal of Educational
(2563). องคป์ ระกอบภาวะผนู้ าเชงิ Management. Vol. 34 No. 8, pp.
นวัตกรรมสาหรับผบู้ รหิ ารสถาบัน 1339-1355.
อดุ มศกึ ษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร. การ
ประชุมวชิ าการ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั คดั
สรร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ระดับชาติ ครัง้ ท่ี
2. 1-2 กมุ ภาพันธ์ 2563.

[11] Zainal, M.A. and Matore, M.E.E.M.
(2019). Factors Influencing
Teachers’ Innovative Behaviour: A
Systematic Review. Creative
Education. Vol. 10, pp. 2869-2886.

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 90

90 วารสารวจิ ยั และนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

การศกึ ษาดา้ นการปรบั ปรุงทางดา้ นกายภาพของอาคารเรยี นและหอ้ งปฏิบัติการ
สาขาวชิ าเครอื่ งกล วิทยาลัยในสังกดั สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1
The Physical improvement studies of School Buildings and Laboratories

of Department of Mechanical Tools under the Institute
of Vocational Education Northeastern Region 1

ปิยะฉัตร ไตรแสง1*, สมชาติ ศรีสมพงษ์2 และ กนกวรรณ พิทกั ษส์ มุทร3
Piyachat Trisang1*, Somchart Srisompong2 and Khanokwan Pitaksmout3

*123สาขาวิชาเทคโนโลยสี ถาปัตยกรรม วทิ ยาลยั เทคนคิ หนองคาย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1 จงั หวดั หนองคาย 43000
*123Field of Architecture Technology, Nongkhai Technical College, Institute of Vocational Education : Northeastern Region 1,

Nongkhai 43000

Received : 2021-09-16 Revised : 2021-09-22 Accepted : 2021-09-28

บทคดั ย่อ ห้องปฏิบัติการสาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยในสังกัด
การศึกษาด้านการปรับปรุงทางด้านกายภาพ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้จัดแบ่งเป็น 4 ส่วน
ของอาคารเรียนและห้องปฏิบัติการ สาขาวิชา 1) ข้อมูลเบ้ืองต้นจากการทบทวนวรรณกรรม และ
เครื่องกลวิทยาลัยในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาค แหล่งข้อมูลอ่ืน ๆ 2) ข้อมูลที่ได้จากการสารวจพ้ืนท่ี
ตะวันออกเฉียงเหนือ 1 จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ และสงั เกตแบบมีสว่ นร่วมโดยผู้วิจัย 3) ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ าก
ดังน้ี 1) เพื่อศึกษาลักษณะการใช้อาคารเรียนและ แบบสอบถามของนักศึกษาและอาจารย์ และ 4)
พื้นที่ปฏิบัติการ สาขาวิชาเคร่ืองกล วิทยาลัยในสังกัด ข้อมลู ที่ได้จากการสัมภาษณ์ตวั แทนนักเรียน นักศกึ ษา
สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1 และอาจารยป์ ระจาสาขาวชิ า ผลการวิจัย พบวา่
2) เพ่ือศึกษาอัตราการใช้ห้องและอัตราการใช้พื้นท่ี
ห้องปฏิบัติการ สาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยในสังกัด นักเรยี น นกั ศึกษา และอาจารย์ มคี วามคิดเห็น
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ด้านปัญหาที่พบในการใช้พ้ืนท่ีอาคาร ได้แก่ด้าน
และ 3) เพื่อจัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการใช้ อาคาร เรียนมากท่ีสุด รองลงมาคือ สภาพแวดล้อม
อาคารเรียน สาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยในสังกัด และด้านการจัดห้องเรียน ความคิดเห็นด้านการ
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ปรับปรุงพื้นที่ภายในอาคาร นักเรียน นักศึกษาและ
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ศึกษา ได้แก่ ครู อาจารย์ นักเรียน ของอาจารย์ มีความคิดเห็นด้านการปรับปรุงพื้นท่ี
นักศึกษา สาขาวิชาเคร่ืองมือกล ทุกระดับชั้นวิทยาลัย ภายในอาคาร ได้แก่ อาคารเรยี น มากทีส่ ุด รองลงมา
ในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 คอื ห้องเรยี น และหอ้ งน้า ตามลาดับ
จานวน 350 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ
แบบสอบถามประสิทธภิ าพของการใช้อาคารเรยี นและ นักเรียนนักศึกษาและอาจารย์มีความคิดเห็น
สอดคล้องกันว่าควรมีอาคารเรียนสาหรับสาขา
*ปิยะฉัตร ไตรแสง เครื่องกล โดยเฉพาะ นักเรียน นักศึกษาและอาจารย์
ส่วนใหญ่คิดว่าอาคารเรียนในปัจจุบันที่ใช้งานอยู่ไม่
E-mail : [email protected] เหมาะสมต่อการใช้งาน สิ่งควรปรับปรงุ หรอื แกป้ ญั หา

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 91

วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

มากที่สุดคือ ห้องเรียนในแต่ละช้ัน รองลงมาคือ ส่วน Data collection ; a researcher divided the
สนับสนุนต่าง ๆ เช่น ห้องน้า/ห้องเก็บอุปกรณ์ และ information into 4 parts : 1) Preliminary data
คิดว่าจานวนช้ันเรียนของอาคารเรียนในปัจจุบันยังไม่ from the literature review and other sources
เพียงพอ ตามลาดับ นักเรียนนักศึกษาและอาจารย์ 2) data obtained from area surveys and
ส่วนใหญ่คิดว่าห้องเรียนต่าง ๆ ท่ีอยู่ภายในอาคาร participants observed by the researcher 3)
เรียนปัจจุบันมีความเหมาะสมต่อการใช้งานและจัด data from questionnaires of students and
กิจกรรมการเรียนการสอนไม่เหมาะสมจะมีแนว teachers and 4) data from interviewed with
ทางการปรับปรุง อุปกรณ์/ส่ือการเรียน รองลงมาคือ students, representative students, and
ขนาดของห้องเรียน และคิดว่าอาคารเรียนสาหรับ professors in the field of study. The results of
สาขาเคร่ืองมือกลควรจัดให้มีห้องเรียนปฏิบตั ิการและ the research found that ;
ห้องเรียนพิเศษ แยกออกจากกัน ตามลาดับ
คาสาคญั : อาคารเรียน , พ้นื ท่ีปฏิบัติการ The students' and teachers' opinions on
problems with the use of school building
Abstract spaces including the building; it was found
The Physical improvement studies of that the school building was at the highest
level, followed by the environment and
School Buildings and Laboratories of classroom arrangement. The students' and
Department of Mechanical Tools under the teachers' opinions on the improvement of
Institute of Vocational Education Northeastern indoor space in the building; it was found that
Region 1 has been prepared with the following improvement of indoor space, the school
objectives : 1) To study the use characteristics building was at the highest level, followed by
of school buildings and operating areas of the classrooms and the bathrooms,
Mechanic 2) To study room utilization rate and respectively.
laboratory space in mechanic of Colleges
under the Institute of Vocational Education The students and teachers have a
Northeastern Region 1 and 3) to establish an consistent opinion that there should be a
information system on the use of school specific building for the mechanic field. Most
buildings and Mechanic. The colleges under students and teachers thought that the
the Institute of Vocational Education current school buildings are unsuitable to use.
Northeastern Region 1. The sample group was What should be improved or solved the most
used in this study was 350 people, there were are classrooms on each floor, followed by
students, teachers, professors, in the field of supporting parts such as toilets/device storage
mechanic at all levels, under the Institute of and the number of classes in the current
Vocational Education Northeastern Region 1. school buildings are not enough respectively.
The research instrument was questionnaires Most activities appropriately. There should be
about the efficiency of the use of mechanical guidelines for improving learning equipment
buildings and laboratories under the Institute and media, followed by the size of the
of Vocational Education Northeastern Region 1. classroom. And they thought that the school
building for the mechanic field should

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 92

92 วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชีวศึกษา

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

separate classrooms for operations and เรียนการสอน อย่างไรก็ตามการวางแผนการก่อสร้าง
special classrooms, respectively. อาคารเรียนเท่าท่ีผ่านมายังประสบปัญหาอยู่ เพราะ
Keywords : school building , operating area ขาดข้อมูลสาหรับนามาใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการ
ตัดสินใจของผู้บริหาร จึงก่อให้เกิดปัญหาหรือข้อ
1. บทนา โต้แยง้ กนั อย่เู สมอวา่ จานวนความต้องการอาคารเรียน
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ1 เป็น ที่แผนกวิชาต่าง ๆ ประสงค์จะดาเนินการใจแต่ละปี
นั้นมีความจาเป็นเร่งด่วนมากเพียงพอใด และพ้ืนท่ี
สถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี จัดต้ัง ปฏิบัติงานที่มีอยู่แล้วน้ันได้นามาใช้ประโยชน์ให้เกิด
ข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้การศึกษา ส่งเสริม ประสิทธิภาพสูงสุดหรือไม่ จนกว่าจะมีระบบข้อมูล
วิชาการและวิชาชีพช้ันสูงท่ีชานาญการปฏิบัติ การ สารสนเทศด้านอาคารเรียนท่ีทันสมัย อีกทั้งความ
สอน การวิจัย การถ่ายทอดวิทยาการและเทคโนโลยี จาเป็นท่ีต้องใช้อาคารตามภาระงานในปัจจุบัน และ
ทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษ์ การคาดคะเนภาระงานในช่วงปีถัดไปเป็นการยาก
สิ่งแวดล้อม รวมทั้งให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่ สาหรับการจัดระบบการเรียนการสอนของวิทยาลยั ใน
สังคม ตามพระราชบัญญตั ิการอาชีวศึกษา พ.ศ.2551 สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก เฉียง
เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ท่ี จั ด ตั้ ง ขึ้ น ม า เ พื่ อ เหนือ 1 จัดให้มีการเรียนการสอนแบบบรรยายในชนั้
ประสานความร่วมมือให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้ เรียนตามพ้ืนท่ีและปฏิบัติตามอาคารต่าง ๆ ดังนั้น
ทรัพยากรร่วมกันในการผลิตและพัฒนากาลังคน เรื่องอาคารเรียน โดยเฉพาะอย่างย่ิงห้องที่ใช้เพ่ือการ
อาชีวศึกษา ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่ม เรียนการสอนจึงนับเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งท่ีจะต้อง
จังหวัด ท้องถิ่นและประเทศ รองรบการกระจาย ดาเนินการจัดสรรให้เหมาะสม
อานาจการบริหารจัดการจากส่วนกลางอีกด้วย[1]
โดยกฎกระทรวงการรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพ่ือ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
จัดต้ังสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ.2555 มีวิทยาลยั ใน ได้ตระหนักถึงความจาเป็นดังกล่าว จึงได้ดาเนินการ
สังกัด 10 วิทยาลัย ใน 5 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส า ร ว จ แ ล ะ ศึ ก ษ า ถึ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร ใ ช้ พ้ื น ท่ี
ประกอบด้วย จังหวัดหนองคาย จังหวัดอุดรธานี ปฏิบัติการ สาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยในสังกัด
จังหวัดหนองบัวลาภู จังหวัดเลย และจังหวัดบึงกาฬ [2] สถาบนั ฯ ทาใหท้ ราบถึงประสทิ ธิภาพของการใช้พ้ืนท่ี
โดยทางสถาบันได้ตระหนักในหน้าท่ีและภาระงาน ปฏิบัตกิ าร รวมทั้งเพ่อื เตรียมการรองรับความต้องการ
ด้านการจัดการศึกษา โดยองค์ประกอบของการจัด ใช้ห้องเรียนที่จะเพิ่มมากขึ้น และเป็นข้อมูลพ้ืนฐาน
การศึกษา ท่ีประกอบด้วยอาจารย์ผู้สอน อุปกรณ์การ เบ้ืองต้นสาหรับผู้บริหารให้ประกอบการวางแผน
เรยี นรแู้ ละผเู้ รียน แล้ว ห้องเรียนรู้และพื้นทีป่ ฏบิ ัตงิ าน เกี่ยวกับการใช้พ้ืนท่ีปฏิบัติการให้เป็นไปอย่างมี
เป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่ง เนื่องจากเป็นสถานท่ี ระเบียบแบบแผนและมีประสิทธิภาพ ประโยชน์ที่
รองรบั การเรียนการสอน ขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นอาคาร สถาบันอุดมศึกษาจะได้รับ [3] 1) สถาบันอุดมศึกษา
เรียนจึงมีความสาคัญมากประการหนึ่ง เนื่องด้วยการ มีแนวทางในการบริหารจัดการอาคาร/สถานท่ีอยา่ งมี
ก่อสร้างอาคารต่าง ๆ ภายในวิทยาลัยได้มีเพิ่มจานวน ประสิทธิภาพสามารถลดค่าใช้จ่ายในภาพรวม และ
มากข้ึนจนถึงปัจจุบัน อีกท้ังไม่มีการปรับปรุงพัฒนา เพิม่ รายได้รวมท้ังสถานศึกษา/หนว่ ยงาน ภายนอกเขา้
ทางด้านอาคารเรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความ ใช้ประโยชน์พื้นที่ในช่วงเวลาท่ีสถาบันไม่ได้ใช้จัดการ
เ ห ม า ะ ส ม กั บ ส ภ า พ ก า ร ใ ช้ แ ล ะ ป ริ ม า ณ จ า น ว น เรียนการสอนและการวิจัย 2) สถาบันอุดมศึกษา
ห้องเรียนอย่างเพียงพอ และสอดคล้องกับจานวน สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีเกณฑ์
นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนแผนกวิชาที่เปิดทาการ มาตรฐานในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการใช้

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจัยและนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา 93

ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ประโยชน์อาคารทาให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ให้ ของนกั เรยี น นกั ศึกษา การร่างแผนผงั ของการใช้งาน
ความสาคัญในการบริหารจัดการอาคาร/สถานท่ีซึ่ง ในพน้ื ท่แี ตล่ ะส่วนของอาคารเรียนและบนั ทกึ ภาพถ่าย
เป็นทรัพย์สินท่ีสาคัญของสถาบันและการพัฒนา
งานวิจัยท่ีเก่ียวช้องกับการบริหารจัดการอาคาร 2) นักเรยี น นักศึกษา สาขาวชิ าเครอื่ งกล
สถานที่ 3) สถาบนั ได้มโี อกาสประเมินตนเองพิจารณา ข้อมูลจากการสมั ภาษณแ์ ละแบบสอบถาม
กาหนดแนวทางปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์
อาคาร และดาเนินการในมิติอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น 3) อาจารย์ประจาสาขาวชิ าเคร่อื งกล ขอ้ มูล
การออกแบบอาคารใหม่ และปรับปรุงอาคารที่มีอยู่ จากการสมั ภาษณ์และแบบสอบถาม
เดิมเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ การ
ประหยัดพลังงานหรือลดการปล่อยก๊าซ Green 3.2.3 ขน้ั ตอนท่ี 3 ผวู้ จิ ยั ออกแบบแบบ
House Gas (GHG) สอบถามดว้ ยตนเอง โดยนาข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการทบทวน
วรรณกรรมและการสารวจพน้ื ทมี่ าใช้ประกอบกบั การ
2. วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย ตัง้ ประเด็นคาถามในแบบสอบถาม
2.1 เพื่อศึกษาลักษณะการใช้อาคารเรียนและ
3.2.4 ข้ันตอนที่ 4 นาแบบสอบถามไป
พ้ืนที่ปฏิบัติการ สาขาวิชาเคร่ืองกล วิทยาลัยในสังกัด ทดสอบเบื้องต้น (Pre-test) หนึ่งครั้งกับกลุ่มตัวอย่าง
สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 จานวน 20 คน โดยแบง่ เป็นนักเรียน นกั ศึกษา 15 คน
และอาจารย์ประจา 5 คน เพ่ือทดสอบความถูกต้อง
2.2 เพื่อศึกษาอัตราการใช้ห้องและอัตราการใช้ และความเข้าใจของผู้ทาแบบสอบถาม ก่อนนามา
พ้ืนที่ห้องปฏิบัติการ สาขาวิชาเคร่ืองกล วิทยาลัยใน ปรบั ปรงุ แก้ไข
สงั กัดสถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1
3.2.5 ข้ันตอนท่ี 5 นาแบบสอบถามทแ่ี ก้ไข
2.3 เพื่อจัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการใช้ แล้วและผ่านการตรวจจากอาจารย์ที่ปรึกษาลงภาค
อาคารเรียน สาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยในสังกัด สนามเพ่ือเก็บข้อมูลจากนักเรียน นักศึกษาและ
สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1 อาจารย์ประจา ในขณะเดียวกันจะทาการสัมภาษณ์
ตัวแทนนกั เรยี น นักศึกษาในแต่ละช้นั ปีไปดว้ ย
3. วธิ ีดาเนินการวิจัย
ประเด็นในการศึกษาของงานวิจัยชนิ้ นี้ ได้แบง่ 3.2.6 ข้ันตอนท่ี 6 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจยั เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากแบบสอบถามด้วยตนเอง
ออกเป็น 2 ประเดน็ หลกั คือ และนามาจัดแยกกลุม่ ข้อมลู ทไ่ี ด้จากนักศึกษา และ
3.1 ปญั หาในการใช้งานพนื้ ท่ภี ายในอาคารเรียน ข้อมลู ที่ไดจ้ ากอาจารย์ เพอื่ นาแบบสอบถามนนั้ ไปสู่
3.2 แนวทางในการแกไ้ ขปญั หา ขนั้ ตอนการวเิ คราะห์ข้อมลู ตอ่ ไป
3.2.1 ข้นั ตอนท่ี 1 ศึกษาข้อมูลทตุ ยิ ภูมิ
3.2.7 ข้ันตอนที่ 7 วิเคราะห์ข้อมูล การ
จากการทบทวนวรรณกรรมเพ่ือหาประเด็นคาถาม วิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่ได้จากแบบสอบถามนาข้อมูล
และข้อมลู เกี่ยวกับงานวิจัยท่เี กย่ี วข้อง มาหาค่าร้อยละทางสถิติ เพอื่ เปรยี บเทียบให้เห็นลาดับ
ของความสาคัญของปัญหาต่าง ๆ ท่ีส่งผลต่อการใช้
3.2.2 ข้ันตอนที่ 2 ศึกษาเกีย่ วกับปัญหาการ พนื้ ท่อี าคารเรยี น ข้อมูลท่ีได้จากการสมั ภาษณ์ นามาสู่
ใชง้ านพน้ื ท่ีภายในอาคารเรยี น รวมไปถงึ ปญั หาอ่นื ๆ วธิ กี ารเสนอแนะเปน็ แนวทางดา้ นการจดั การเรยี นการ
ทีม่ สี ว่ นเกี่ยวข้องกับงานวิจัยช้ินนี้ โดยผวู้ ิจัยไดท้ าการ สอน หรือด้านการออกแบบที่ช่วยให้เกิดประโยชน์
เกบ็ ขอ้ มูลจากแหล่งข้อมูล 3 สว่ น คอื และตอบสนองตอ่ ผ้ใู ช้งานให้ได้มากท่ีสดุ โดยข้อมูลทไ่ี ด้
จากนักศึกษาและอาจารย์ผู้วิจัยจะนามาวิเคราะห์ถึง
1) การสารวจพน้ื ท่โี ดยผู้วจิ ยั ขอ้ มลู ที่ไดจ้ าก ความเหมอื นและความแตกต่างกนั
การสารวจพื้นที่ และสังเกตแบบมีส่วนร่วมกบั ใช้งาน

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 94

94 วารสารวจิ ยั และนวัตกรรมการอาชวี ศึกษา ตารางท่ี 2 แสดงข้อมลู เกี่ยวกบั ประเดน็ ปญั หาต่างๆ

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564

ของปัญหาที่เกิดข้ึน และพิจารณาบนพ้ืนฐานของ
ขอ้ จากัดต่าง ๆ ที่จะส่งผลตอ่ การเสนอแนะวิธีในการ
แก้ปญั หาการใชง้ านพ้ืนทภี่ ายในอาคารเรียนปจั จบุ ัน

3.2.8 ขั้นตอนที่ 8 นาข้อมูลที่ได้จากการ
วิเคราะห์ท้ังหมด มาสรุปและอภิปรายผล เพื่อเสนอ
แนะเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการใช้งานพื้นท่ี
ภายในอาคารเรยี น

4. ผลการวจิ ยั
ตารางที่ 1 แสดงขอ้ มลู ทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม

จากตารางท่ี 4.1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม จากตารางท่ี 4.2 พบว่า ความคิดเห็นด้าน
แบ่งเป็นอาจารย์ทั้งสิ้น 68 คน เป็นชายท้ังหมด คิด ปัญหาที่พบในการใช้พื้นท่ีอาคาร ในส่วนของอาจารย์
เป็นร้อยละ 100.00 เป็นนักเรียน นักศึกษาท้ังสิ้น คือด้านอาคารเรียนมากที่สุด จานวน 31 คน คิดเป็น
จานวน 282 คน เป็นเพศชาย จานวน 274 คน คิด ร้อยละ 45.59 รองลงมาคือ สภาพแวดล้อม จานวน
เป็นร้อยละ 78.28 เพศหญิง จานวน 8 คน คิดเป็น 22 คน คิดเป็นร้อยละ 32.35 และด้านการจัดห้อง
ร้อยละ 2.29 สถานะ ครู อาจารย์ จานวน 47 คน เรียน จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 22.06 ส่วน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 72.72 พนักงานราชการ จานวน 8 คน นักเรียน นักศึกษา ปัญหาที่พบในการใช้พ้ืนท่ีอาคาร
คิดเป็นร้อยละ 10.39 ครูพิเศษสอน จานวน 13 คน มากท่ีสุด คือด้านอาคารเรียน จานวน 176 คน
คิดเป็นร้อยละ 16.89 และนักเรียน นักศึกษา จานวน คิดเป็นร้อยละ 62.41 รองลงมา คือ ด้านการจัด
282 คน คิดเป็นร้อยละ 80.57 มีระดับการศึกษา ห้องเรียน จานวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 26.60 และ
(เฉพาะนักเรียน นักศึกษา) ระดับ ปวช.1 จานวน 58 ด้านสภาพแวดล้อม จานวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ
คน คิดเป็นร้อยละ 20.57 ระดับ ปวช.2 จานวน 51 10.99 ตามลาดับ
คน คิดเป็นร้อยละ 18.09 ระดับ ปวช.3 จานวน 33
คน คิดเป็นร้อยละ 11.70 ระดับ ปวส.1 จานวน 76 ความคิดเห็นด้านการปรับปรุงพ้ืนท่ีภายใน
คน คิดเป็นร้อยละ 26.96 และ ระดับ ปวส.2 จานวน อาคารในส่วนของอาจารย์ คืออาคารเรียนมากท่ีสุด
64 คน คิดเป็นร้อยละ 22.69 ตามลาดบั จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 30.89 รองลงมาคือ
ห้องเรียน จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 27.94 และ
ห้องน้า จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 23.52 ส่วน
นักเรียน นกั ศึกษา ความคดิ เห็นดา้ นการปรบั ปรงุ พนื้ ท่ี
ภายในอาคารมากที่สุด คืออาคารเรียน จานวน 85
คน คิดเป็นร้อยละ 30.14รองลงมา คือ ห้องเรียน
จานวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 26.95 และห้องน้า
จานวน 69 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 24.46 ตามลาดบั

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal

วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชีวศึกษา 95

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ตารางที่ 3 แสดงข้อมลู ดา้ นการจดั การอาคารเรยี น 21 คน คิดเป็นร้อยละ6.00 นักเรียน นักศึกษาและ
และหอ้ งเรียน อาจารย์ส่วนใหญ่คิดว่าอาคารเรียนในปัจจบุ ันทใ่ี ชง้ าน
อยไู่ ม่เหมาะสมต่อการใชง้ าน จานวน 313 คน คิดเปน็
ตารางที่ 4 แสดงขอ้ มูลผลการประเมนิ คณุ ภาพ ร้อยละ 89.43 และคิดว่าเหมาะสม จานวน 37 คน
โครงงาน จานวน 9 โครงงาน คิดเป็นร้อยละ 10.57 นักเรยี น นักศึกษาและอาจารย์
ส่วนใหญ่คิดว่าส่วนที่ควรปรับปรุงหรือแก้ปัญหามาก
5. อภิปรายผลการวิจยั ท่ีสุดคือ ห้องเรียนในแต่ละช้ัน จานวน 108 คน คิด
5.1 จากผลการวิจยั พบวา่ การพฒั นาหลกั สตู ร เป็นร้อยละ 30.86 รองลงมาคือ ส่วนสนับสนุนต่าง ๆ
เช่น ห้องน้า/ห้องเก็บอุปกรณ์ จานวน 73 คน คิดเป็น
ร้อยละ 20.86 นักเรียน นักศึกษาส่วนใหญ่คิดว่า
จ า น ว น ช้ั น เ รี ย น ข อ ง อ า ค า ร เ รี ย น ใ น ปั จ จุ บั น ยั ง ไ ม่
เพียงพอ จานวน 255 คน คิดเป็นร้อยละ 90.43 ส่วน
อาจารย์คิดว่าจานวนช้ันเรียนเพียงพอแล้วทั้ง 21 คน
คิดเป็นร้อยละ 30.88 นักเรียน นักศึกษาและอาจารย์
ส่วนใหญ่คิดว่าควรจัดห้องเรียนต่าง ๆ ให้อยู่ภายใน
อาคารเดียวกัน จานวน 296 คน คิดเป็นร้อยละ 83.57
ตามลาดับ

นักเรียน นักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญ่คิดว่า
ห้องเรียนต่าง ๆ ท่ีอยู่ภายในอาคารเรียนปัจจุบันมี
ความเหมาะสมต่อการใชง้ านและจดั กจิ กรรมการเรียน
การสอน ไม่เหมาะสม จานวน 306 คน คดิ เป็นร้อยละ
87.43 คิดว่าเหมาะสม จานวน 44 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
12.57 นักเรียน นักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญ่คิดว่า
ไม่เหมาะสมจะมีแนวทางการปรับปรุง อุปกรณ์/ส่ือ
การเรียน จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 24.49
รองลงมาคือ ขนาดของห้องเรียน 11 คน คิดเป็นร้อย
ละ 22.45 นกั เรียน นักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญ่คิด
ว่าอาคารเรียนสาหรับสาขาเครื่องมือกลควรจัดให้มี
หอ้ งเรียนปฏิบตั ิการและห้องเรียนพเิ ศษ แยกออกจาก
กัน จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 18.18 ไม่ควรแยก
ออกจากกัน จานวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82
ตามลาดบั

จากตารางที่ 4.3 พบว่า นักเรียนนักศึกษาและ 5. สรุปผลการวิจัย
อาจารย์มีความคิดเห็นสอดคล้องกันว่า ควรมีอาคาร นักเรียน นักศึกษา และอาจารย์ มีความคิดเห็น
เรียนสาหรับสาขาเคร่ืองมือกล โดยเฉพาะ จานวน
329 คน คิดเป็นร้อยละ 94.00 คิดว่าไม่ควร จานวน ด้านปัญหาที่พบในการใช้พื้นท่ีอาคาร ได้แก่ ด้าน
อาคาร เรียนมากที่สุด รองลงมาคือ สภาพแวดล้อม

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2

Vocational Education Innovation and Research Journal 96

96 วารสารวิจยั และนวตั กรรมการอาชีวศกึ ษา

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

และด้านการจัดห้องเรียน ความคิดเห็นด้านการ ห้องเรียน สอดคล้องกับการสารวจและสังเกตใน
ปรับปรุงพ้ืนท่ีภายในอาคาร นักเรียน นักศึกษาและ เบ้ืองต้นท่ี พบว่า ในวิชาท่ีใช้อุปกรณ์ในการทางาน
ของอาจารย์ มีความคิดเห็นด้านการปรับปรุงพื้นที่ มาก พื้นที่ภายในห้องเรียนค่อนข้างจากัด ด้วยขนาด
ภายในอาคาร ได้แก่ อาคารเรยี น มากที่สุด รองลงมา ของหอ้ งเรยี น และครภุ ณั ฑ์ตา่ ง ๆ ทอี่ ย่ภู ายในห้อง จงึ
คือ หอ้ งเรียน และหอ้ งน้า ตามลาดบั ทาให้ในทุกคร้ังต้องมีการจัดพ้ืนท่ีภายในห้องโดยการ
เคลื่อนย้ายโต๊ะ เก้าอี้ หรืออุปกรณ์ที่ไม่จาเป็นออกมา
นักเรียน นักศึกษาและอาจารย์มีความคิดเห็น ไว้ท่ีบริเวณโถงทางเดินเพ่ือทาให้ภายในห้องรองรับ
สอดคล้องกันว่า ควรมีอาคารเรียนสาหรับสาขา การติดตั้งผลงาน รวมถึงจานวนนักเรียน นักศึกษาได้
เคร่ืองกล โดยเฉพาะ นักเรียน นักศึกษาและอาจารย์ เพียงพอ
ส่วนใหญ่คิดว่าอาคารเรียนในปัจจุบันที่ใช้งานอยู่ไม่
เหมาะสมต่อการใชง้ าน ส่ิงควรปรับปรุงหรือแกป้ ัญหา 6.2 ด้านการจัดการอาคารเรียน และ
มากท่ีสุดคือ ห้องเรียนในแต่ละช้ัน รองลงมาคือ ส่วน ห้องเรียน นักเรียน นักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญ่มี
สนับสนุนต่าง ๆ เช่น ห้องน้า/ห้องเก็บอุปกรณ์ และ ความคดิ เหน็ สอดคลอ้ งกันว่าควรมีอาคารเรยี น
คิดว่าจานวนชั้นเรียนของอาคารเรียนในปัจจุบันยังไม่ โดยเฉพาะของสาขาเคร่ืองกล ซึ่งสอดคล้องกับ
เพียงพอ ตามลาดับ สมมติฐานการวิจัยที่ว่า อาคารเรียนที่มีการออกแบบ
จากความต้องการของผู้ใช้งานโดยตรงจะตอบสนอง
นักเรียน นักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญ่คิดว่า การใช้งานได้ดีและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และควรเป็น
ห้องเรียนต่าง ๆ ท่ีอยู่ภายในอาคารเรียนปัจจุบันมี อาคารเรียนเฉพาะสาขา และมีห้องต่าง ๆ ดังน้ี ห้อง
ความเหมาะสมต่อการใชง้ านและจัดกิจกรรมการเรียน เก็บวัสดุ-อุปกรณ์ ห้องอ่านหนังสือ ห้องสมุด ห้องจัด
การสอน ไม่เหมาะสม จะมีแนวทางการปรับปรุง นิทรรศการ ห้องพักครู ห้องปฏิบัติการ เป็นต้น
อุปกรณ์/สื่อการเรียน รองลงมาคือ ขนาดของ เน่ืองจากสาขาเครื่องกล เป็นสาขาวิชาท่ีมีการเรียน
ห้องเรียน และคิดว่าอาคารเรียนสาหรับสาขา การสอนท่ีเฉพาะทาง จาเป็นต้องมีพื้นที่เอื้อเฟ้ือต่อ
เคร่ืองมือกลควรจัดให้มีห้องเรียนปฏิบัติการและ การเรียนรู้ทักษะเฉพาะทางท่ีจะส่งเสริมวิชาชีพ จาก
ห้องเรียนพิเศษ แยกออกจากกนั ตามลาดับ ปัญหาและความต้องการในการใช้งานของผู้ใช้อาคาร
โดยตรง แต่ละส่วนของอาคารเรียนจะช่วยนักเรียน
6. อภิปรายผล นักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่า
จากผลการวจิ ยั ท่ไี ดศ้ กึ ษาผวู้ จิ ยั ได้ทาการอภปิ ราย อาคารเรียนในปจั จุบันของสาขาเครื่องกลไม่เหมาะสม
ต่อการใช้งาน เนื่องจากขาดพ้ืนท่ีท่ีสาหรับกิจกรรมใน
ผลโดยสรปุ ไดด้ ังนี้ ส่วนอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากห้องเรียน เช่น พ้ืนท่ีทา
6.1 ด้านประเด็นปญั หาตา่ ง ๆ นักเรียน นักศึกษา กิจกรรม หรือพ้ืนที่ปฏิบัติงานเฉพาะทางของนักเรียน
นกั ศกึ ษา ซึ่งอาคารเรยี นในปจั จบุ นั ยังพบปัญหาการใช้
และอาจารย์ส่วนใหญ่พบเจอปัญหาเก่ียวกับการใช้ งานอยู่ การปรับปรุงแก้ไขนักเรียน นักศึกษาและ
พื้นท่ใี นสว่ นของอาคารเรียนมากทสี่ ดุ และคดิ วา่ ควรมี อาจารย์ส่วนใหญ่มีความเห็นว่าควรปรับปรุงในส่วน
การปรับปรุงแก้ไขด้านอาคารเรียนและห้องเรียนต่าง ของห้องเรียนแต่ละชั้นมากที่สุด เนื่องจาก ในปัจจุบนั
ๆ ผู้ใช้งานอาคารมักพบปญั หาด้านพื้นท่ภี ายในอาคาร การจานวนห้องเรียนไม่สอดคล้องกับจานวนนักศึกษา
เรียน เช่นพื้นท่ีสาหรับทางาน ทากิจกรรม เม่ือ รวมไปถึงพ้ืนที่ และขนาดของห้องเรียนบางห้องที่ไม่
นักเรียน นักศึกษาส่วนใหญ่โดยเฉพาะชนั้ ปีท่ี 1 มักจะ เพียงพออีกด้วย นักเรียน นักศึกษาและอาจารย์ส่วน
มีกิจกรรมท่ีทาร่วมกันเป็นหมู่คณะซงึ่ จานวนนักศึกษา ใหญ่มีความคิดเห็นว่าจานวนชั้นเรียนในอาคารเรียน
ค่อนข้างมาก และยังขาดพื้นท่ีที่รองรับกิจกรรมน้ัน ๆ
อยู่ ในปัจจุบันหากมีกิจกรรมหรือการจัดงานของ
สาขาวิชา การปรับปรุงในส่วนอาคารเรียนและ

VE-IRJ Thai-Journal Citation Index Centre Tier #2


Click to View FlipBook Version