The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

QR รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by All about your Desing, 2023-05-01 05:58:34

QR รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง

QR รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง

คำนำ ในปัจจุบันพื้นที่ชายฝั่งทะเลทั่วโลกต้องเผชิญกับภัยพิบัติหลายประการ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งเป็นกระบวนการที่ทำให้แนวชายฝั่งถอยร่นเข้าไปในแผ่นดิน ก่อให้เกิดการสูญเสียพื้นที่แผ่นดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ รวมไปถึง ก่อให้เกิดความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจสังคมของมนุษย์อีกด้วย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน พื้นที่ชายฝั่งทะเลเกือบหนึ่งในสี่ของประเทศไทยได้ประสบ ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งมีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในอนาคต อันเนื่องมาจากทั้ง กระบวนการทางธรรมชาติ และกิจกรรมการใช้ประโยชน์พื้นที่ชายฝั่งทะเลของมนุษย์ ดังนั้น การประเมินความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งจึงเป็นหนึ่งในเครื่องมือสนับสนุน การตัดสินใจในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการพื้นที่ชายฝั่งและลดผลกระทบ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการกัดเซาะชายฝั่งต่อไปในอนาคต คณะผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้ที่สนใจ เพื่อให้การบริหารจัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยในอนาคตเป็นไปด้วย ความยั่งยืน


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง II บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้เป็นการประเมินความเปราะบางชายฝั่งทะเล (Coastal vulnerability assessment) เพื่อศึกษาตัวแปรที่ส่งผลต่อดัชนีความเปราะบางชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง และประเมินพื้นที่เปราะบางต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งพื้นที่ศึกษาคลอบคลุม พื้นที่ 7 ตำบล ได้แก่ ตำบลไม้ขาว ตำบลสาคู และตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง ตำบลกมลา และตำบล ป่าตอง อำเภอกะทู้ ตำบลกะรน และตำบลราไวย์ อำเภอเมืองภูเก็ต มีระยะทางแนวชายฝั่งทะเล ประมาณ 84.14 กิโลเมตร และมีระยะทางตั้งฉากกับแนวชายฝั่งทะเลเข้ามาในแผ่นดิน 500 เมตร รวมพื้นที่ศึกษาทั้งหมดประมาณ 37.26 ตารางกิโลเมตร โดยได้จำแนกปัจจัยที่ใช้ในการศึกษาออกเป็น 3 ปัจจัยย่อย รวม 15 ตัวแปร ประกอบด้วย ปัจจัยย่อยด้านลักษณะทางภายภาพ ได้แก่ อัตราการ เปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเล ความลาดชันชายฝั่ง ความกว้างของหาด ธรณีสัณฐานชายฝั่งทะเล พื้นที่ แนวปะการัง พื้นที่ป่าชายเลน และแหล่งหญ้าทะเล ปัจจัยย่อยด้านการเปิดรับสภาพภูมิอากาศ ได้แก่ ความสูงคลื่นนัยสำคัญเฉลี่ย พิสัยระดับน้ำขึ้น-น้ำลงเฉลี่ย และการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล และปัจจัยย่อยด้านเศรษฐกิจสังคม ได้แก่ ความหนาแน่นประชากร การใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงสร้าง ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง อัตราส่วนสิ่งปลูกสร้างและพื้นที่เมือง และโครงสร้างพื้นฐาน ผลการศึกษา พบว่า พื้นที่ศึกษามีความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งตั้งแต่ระดับต่ำมาก - สูงมาก โดยส่วนใหญ่มีความเปราะบางระดับปานกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9.81 ตารางกิโลเมตร รองลงมาเป็น พื้นที่ที่มีความเปราะบางระดับสูง สูงมาก ต่ำ และต่ำมาก มีพื้นที่รวมประมาณ 8.99 7.54 6.78 และ 4.14 ตารางกิโลเมตร ตามลำดับ โดยตำบลเชิงทะเลมีความเปราะบางในระดับสูง - สูงมาก มากที่สุด รองลงมาคือ ตำบลไม้ขาว ตำบลกะรน ตำบลป่าตอง ตำบลสาคู ตำบลกมลา และตำบลราไวย์ ตามลำดับ โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่ ศึกษามากที่สุด คือ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจสังคม ได้แก่ โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง อัตราส่วน สิ่งปลูกสร้างและพื้นที่เมือง และโครงสร้างพื้นฐาน คำสำคัญ: ดัชนีความเปราะบางชายฝั่ง; การกัดเซาะชายฝั่ง; ภูเก็ต


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง III Abstract This study used the coastal vulnerability assessment to examine the variables that influence the coastal vulnerability index and vulnerability of the coastal area to coastal erosion of the west Phuket coastal zone by applying geo-information technology. The study area covered seven sub-districts, including Mai Khao Sub-district to Rawai Sub-district, which has a total length of the coastline of approximately 84.14 kilometers and buffer areas 500 meters from the coastline, totaling a study area of approximately 37.26 square kilometers. A total of 15 variables were considered and divided into three sub-indexes: (1) coastal characteristics sub-index consists of the rate of coastline change, coastal slope, beach width, coastal geomorphology, coral reef, mangrove forest and seagrass bed; (2) coastal forcing sub-index includes mean significant wave height, mean tidal range and mean sea-level rise; and (3) socioeconomy sub-index consists of population density, land use, coastal engineering structures, a ratio of urbanization area and infrastructures. The result found five classes from very low to very high vulnerability. Most of the study area was moderate, high, very high, low and very low vulnerability, which was 9.81, 8.99, 7.54, 6.78 and 4.14 square kilometers, respectively. Choeng Thale Sub-district is the most vulnerable area, followed by Mai Khao, Karon, Patong, Sakhu, Kamala and Rawai, respectively. The variables affecting vulnerability are the socio-economy sub-index, including coastal engineering structures, a ratio of urbanization area and infrastructures. Keywords: coastal vulnerability index; coastal erosion; Phuket


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง IV กิตติกรรมประกาศ โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะ ชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก สามารถดำเนินงานจนประสบความสำเร็จ ลุล่วงไปได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับความอนุเคราะห์และสนับสนุนเป็นอย่างดียิ่งจากหลาย ๆ ฝ่าย คณะผู้วิจัยขอขอบคุณสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ที่ได้เล็งเห็นความสำคัญของโครงการฯ และให้การสนับสนุนงบประมาณสำหรับดำเนินงาน โครงการวิจัยในครั้งนี้ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณ นายปรานต์ ดิลกคุณากุล ผู้อำนวยการกองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง ดร.อนุวัฒน์ นทีวัฒนา ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านอุทกวิทยา และ ดร.เฉลิมรัฐ แสงมณีนักวิชาการประมง ชำนาญการ ที่ได้กรุณาให้คำปรึกษา ความรู้ข้อคิด ข้อแนะนํา และปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนกระทั่งการวิจัยครั้งนี้สำเร็จเรียบร้อยด้วยดี และขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการทุกท่าน ที่ได้สละเวลาให้ความคิดเห็นในแบบสอบถามค่าน้ำหนักตัวแปร ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ เป็นอย่างสูงไว้ณ ที่นี้ การวิจัยในครั้งนี้จะสำเร็จลุล่วงไปไม่ได้หากขาดทีมงานสำรวจภาคสนามและบุคลากร กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง คณะผู้วิจัยขอขอบคุณสำหรับความช่วยเหลือในการเก็บข้อมูลภาคสนาม และการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งความช่วยเหลืออื่น ๆ ที่ทำให้การศึกษาในครั้งนี้สำเร็จลุล่วง ไปได้ด้วยดี สุดท้ายนี้ คณะผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องและผู้ที่สนใจต่อไป คณะผู้วิจัย มีนาคม 2566


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง V สารบัญ หน้า คำนำ I บทคัดย่อ II Abstract III กิตติกรรมประกาศ IV สารบัญ V สารบัญตาราง X สารบัญรูป XIV บทที่ 1 บทนำ 1-1 1.1 ความสำคัญและที่มาของปัญหา 1-1 1.2 วัตถุประสงค์ 1-3 1.3 กรอบแนวคิดการวิจัย 1-3 1.4 ขอบเขตการศึกษา 1-3 1.4.1 ขอบเขตด้านพื้นที่ 1-3 1.4.2 ขอบเขตด้านข้อมูล 1-4 1.4.3 ขอบเขตด้านระยะเวลา 1-6 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1-6 1.6 คณะผู้วิจัย 1-6 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 2-1 2.1 การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเล 2-1 2.1.1 ลักษณะการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเล 2-1 2.1.1.1 ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ (Erosion coast) 2-1 2.1.1.2 ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว (Depositional coast) 2-1 2.1.1.3ชายฝั่งคงสภาพ (Stable coast) 2-2 2.1.2 สาเหตุการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเล 2-2 2.1.2.1 การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งโดยธรรมชาติ 2-2 2.2.2.2 การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งจากกิจกรรมของมนุษย์ 2-4 2.1.3 ผลกระทบของการกัดเซาะชายฝั่ง 2-4


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- VI กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า 2.1.3.1 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ 2-4 2.1.3.2 ผลกระทบด้านสังคม 2-5 2.1.3.3 ผลกระทบด้านระบบนิเวศ 2-5 2.1.3.4 ผลกระทบด้านความมั่นคง 2-5 2.2 การป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย 2-5 2.2.1 แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง 2-6 2.2.2 มาตรการและรูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง 2-7 2.2.3 รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง 2-7 2.3 ระบบกลุ่มหาดประเทศไทย 2-17 2.3.1 ระบบกลุ่มหาดหลัก 2-17 2.3.2 ระบบกลุ่มหาด 2-19 2.3.3 ระบบหาด 2-20 2.4 แนวคิดการประเมินความเปราะบางชายฝั่งทะเล 2-20 2.4.1 แนวคิดการประเมินความเปราะบาง 2-20 2.4.2 การประเมินความเปราะบางชายฝั่งทะเล 2-26 2.5 การวิเคราะห์ทางเลือกแบบหลายปัจจัย (Multi-criteria analysis; MCA) 2-28 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2-31 บทที่ 3 ลักษณะทั่วไปของพื้นที่ศึกษา 3-1 3.1 ที่ตั้ง 3-1 3.2 ลักษณะภูมิประเทศ 3-1 3.3 ลักษณะภูมิอากาศ 3-1 3.4 การปกครอง 3-4 3.5 การคมนาคม 3-5 3.6 ประชากร 3-7 3.7 อาชีพ 3-9 3.8 เศรษฐกิจ 3-10 3.9 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 3-10 3.10 ลักษณะธรณีวิทยา 3-10 3.10.1 ลำดับชั้นหิน (Stratigraphy) 3-13


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง VII หน้า 3.10.1.1 หินตะกอนและหินแปร 3-13 3.10.1.2 หินอัคนี 3-14 3.10.1.3 ตะกอนยุคควอเทอร์นารี 3-14 3.10.2 ธรณีวิทยาโครงสร้าง (Structural Geology) 3-14 3.11 ลักษณะธรณีสัณฐานชายฝั่งทะเล 3-15 3.12 ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 3-16 3.12.1 ป่าชายเลน 3-19 3.12.2 ปะการัง 3-20 3.12.3 หญ้าทะเล 3-20 3.12.4 สัตว์ทะเลหายาก 3-23 3.12.5 สิ่งแวดล้อมทางทะเล 3-23 3.13 อุทกศาสตร์ชายฝั่งทะเล 3-24 3.13.1 กระแสลม 3-25 3.13.2 คลื่น 3-27 3.13.3 กระแสน้ำ 3-32 3.13.4 น้ำขึ้น - น้ำลง 3-34 3.14 สถานภาพชายฝั่งทะเล 3-36 3.15 ระบบหาด 3-39 3.16 แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล 3-41 บทที่ 4 วิธีการศึกษา 4-1 4.1 การทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4-1 4.2 การกำหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษา 4-1 4.3 การคัดเลือกตัวแปร 4-3 4.3.1 ปัจจัยย่อยด้านลักษณะกายภาพ 4-3 4.3.2 ปัจจัยย่อยด้านการเปิดรับสภาพภูมิอากาศ 4-3 4.3.3 ปัจจัยย่อยด้านเศรษฐกิจสังคม 4-6 4.4 การวิเคราะห์ข้อมูล 4-6 4.4.1 การให้ค่าถ่วงน้ำหนักตัวแปร 4-6 4.4.2 การจัดระดับความเปราะบางและจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ 4-7


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- VIII กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า 4.4.2.1 ปัจจัยย่อยด้านลักษณะกายภาพ 4-7 4.4.2.2 ปัจจัยย่อยด้านการเปิดรับสภาพภูมิอากาศ 4-29 4.4.2.3 ปัจจัยย่อยด้านเศรษฐกิจและสังคม 4-36 4.4.3 การวิเคราะห์ดัชนีความเปราะบางชายฝั่งทะเล 4-46 4.4.3.1 การวิเคราะห์ดัชนีของปัจจัยย่อย 4-46 4.4.3.2 การวิเคราะห์ดัชนีความเปราะบางของชายฝั่งทะเล 4-50 4.4.3.3 การจำแนกระดับความเปราะบางของชายฝั่งทะเล 4-50 4.4.4 การวิเคราะห์แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล 4-50 4.4.4.1 การจำแนกพื้นที่เปราะบางต่อการกัดเซาะชายฝั่ง 4-52 4.4.4.2 การจำแนกพื้นที่ที่มีการดำเนินการป้องกันหรือแก้ไขปัญหา การกัดเซาะชายฝั่งโดยใช้โครงสร้างทางวิศวกรรม 4-52 4.4.4.3 การกำหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง 4-52 4.5 การอภิปรายผลและสรุปผลการศึกษา 4-53 บทที่ 5 ผลการศึกษา 5-1 5.1 การถ่วงค่าน้ำหนักตัวแปร 5-1 5.2 ดัชนีความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง 5-2 5.2.1 ระดับความเปราะบางของตัวแปร 5-2 5.2.2 ดัชนีความเปราะบางชายฝั่งทะเล 5-44 5.2.2.1 ดัชนีความเปราะบางของปัจจัยย่อย 5-44 5.2.2.2 ดัชนีความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง 5-53 5.3 แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล 5-66 บทที่ 6 อภิปรายผลและสรุปผลการศึกษา 6-1 6.1 อภิปรายผลและสรุปผลการศึกษา 6-1 6.1.1 ตัวแปรที่ส่งผลต่อดัชนีความเปราะบางชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง 6-1 6.1.2 ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง 6-2 6.1.2.1 ปัจจัยย่อยด้านลักษณะกายภาพ 6-2 6.1.2.2 ปัจจัยย่อยด้านการเปิดรับสภาพภูมิอากาศ 6-3 6.1.2.3 ปัจจัยย่อยด้านเศรษฐกิจสังคม 6-3 6.1.2.4 ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง 6-4


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง IX หน้า 6.2 ข้อเสนอแนะ 6-5 เอกสารอ้างอิง 7-1 ภาคผนวก ก แบบสอบถาม เรื่อง การกำหนดค่าถ่วงน้ำหนักตัวแปรสำหรับการประเมิน ความเปราะบางชายฝั่งทะเล พื้นที่ชายฝั่งทะเลจังหวัดภูเก็ต ก-1 ข ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ข-1 ค ความสูงคลื่นนัยสำคัญเฉลี่ยรายเดือนจากแบบจำลอง MASNUM-WAM บริเวณ พื้นที่จังหวัดภูเก็ต ค-1


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- X กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 2-1 มาตรการและรูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ภายใต้ 4 แนวทาง 2-15 ตารางที่ 2-2 การจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรในการประเมิน ความเปราะบางชายฝั่งทะเลต่อการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล บริเวณชายฝั่งทะเลทางด้านตะวันออกของประเทศสหรัฐอเมริกา 2-31 ตารางที่ 2-3 การจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรด้านเศรษฐกิจสังคม ในการประเมินความเปราะบางชายฝั่งทะเล บริเวณชายฝั่งทางด้านเหนือ ของประเทศไอร์แลนด์ 2-32 ตารางที่ 2-4 การจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรในการประเมินความ เปราะบางชายฝั่งทะเลต่อการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลในอนาคต บริเวณ Cape Cod National Seashore 2-33 ตารางที่ 2-5 ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาความเปราะบางต่อคลื่นพายุซัดฝั่ง (Storm surge) บริเวณชายฝั่งทะเลของมณฑลกวางตุ้ง 2-35 ตารางที่ 2-6 การจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรสำหรับการประเมินภัย และความเปราะบางชายฝั่งทะเลต่อการกัดเซาะชายฝั่ง บริเวณชายฝั่ง ทางด้านใต้ของรัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย 2-36 ตารางที่ 2-7 การจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรสำหรับการประเมิน ความเปราะบางชายฝั่งทะเลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บริเวณ ชายฝั่งของเมือง Apulian ประเทศอิตาลี 2-36 ตารางที่ 2-8 การจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรสำหรับการประเมิน และจัดทำแผนที่ความเปราะบางชายฝั่ง บริเวณชายฝั่งเมือง Southampton ประเทศอังกฤษ 2-37 ตารางที่ 2-9 การจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรในการศึกษา ความเปราะบางชายฝั่งบริเวณชายฝั่งทะเลจังหวัดสมุทรสาคร 2-38 ตารางที่ 2-10การจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรความเปราะบางชายฝั่ง ในการประเมินพื้นที่เปราะบางชายฝั่งโดยใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ จังหวัดสมุทรสงคราม 2-39


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง XI หน้า ตารางที่ 2-11 การจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรในการประเมินหาพื้นที่ เปราะบางชายฝั่งตามฤดูกาล พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี 2-40 ตารางที่ 2-12 ข้อมูลและแหล่งข้อมูลสำหรับการศึกษาเปรียบเทียบค่าน้ำหนักดัชนี ชี้วัดความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งจากคลื่นพายุซัดฝั่ง พื้นที่จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ 2-41 ตารางที่ 2-13 การจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรในการประเมิน ความเปราะบางชายฝั่งต่อการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล พื้นที่จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ 2-42 ตารางที่ 2-14 การจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรสำหรับการประเมิน ความเปราะบางชายฝั่ง บริเวณอ่าวพังงา เกาะยาวน้อย และเกาะยาวใหญ่ จังหวัดพังงา 2-43 ตารางที่ 2-15 ตัวแปรที่ใช้ในการประเมินความเปราะบางชายฝั่งทะเล 2-45 ตารางที่ 3-1 ข้อมูลการปกครองจังหวัดภูเก็ต 3-4 ตารางที่ 3-2 จำนวนประชากรแยกตามเขตการปกครอง จังหวัดภูเก็ต ปี 2564 3-7 ตารางที่ 3-3 พื้นที่ป่าชายเลนรายตำบลในจังหวัดภูเก็ต 3-19 ตารางที่ 3-4 พื้นที่และองค์ประกอบชนิดหญ้าทะเลของจังหวัดภูเก็ต 3-22 ตารางที่ 3-5 ความเร็วลมเฉลี่ยรายเดือนในจังหวัดภูเก็ต ระหว่างปี 2557 – 2565 3-26 ตารางที่ 3-6 รายชื่อและรหัสของระบบหาดและระบบกลุ่มหาดจังหวัดภูเก็ต 3-39 ตารางที่ 4-1 ระยะทางตามแนวชายฝั่งและขนาดพื้นที่ศึกษารายตำบล 4-3 ตารางที่ 4-2 ตัวแปรในการวิเคราะห์ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง 4-5 ตารางที่ 4-3 ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียมที่ใช้ในการวิเคราะห์อัตรา การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเล 4-8 ตารางที่ 4-4 การจัดระดับความเปราะบางของอัตราการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเล 4-11 ตารางที่ 4-5 การจัดระดับความเปราะบางของความลาดชันชายฝั่ง 4-17 ตารางที่ 4-6 การจัดระดับความเปราะบางของความกว้างของหาด 4-17 ตารางที่ 4-7 การจัดระดับความเปราะบางของธรณีสัณฐานชายฝั่งทะเล 4-21 ตารางที่ 4-8 การจัดระดับความเปราะบางของพื้นที่แนวปะการัง 4-25 ตารางที่ 4-9 การจัดระดับความเปราะบางของพื้นที่ป่าชายเลน 4-27 ตารางที่ 4-10การจัดระดับความเปราะบางของแหล่งหญ้าทะเล 4-29


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- XII กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า ตารางที่ 4-11 การจัดระดับความเปราะบางของความสูงคลื่นนัยสำคัญเฉลี่ย 4-31 ตารางที่ 4-12 ข้อมูลพิสัยระดับน้ำขึ้น-น้ำลงเฉลี่ย จากสถานีวัดระดับน้ำทะเลบริเวณ จังหวัดภูเก็ต 4-32 ตารางที่ 4-13 การจัดระดับความเปราะบางของพิสัยระดับน้ำขึ้น-น้ำลงเฉลี่ย 4-34 ตารางที่ 4-14 การจัดระดับความเปราะบางของการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล 4-35 ตารางที่ 4-15 จำนวนและความหนาแน่นของประชากรตำบลชายฝั่งทะเล จังหวัด ภูเก็ต ปี พ.ศ. 2564 4-37 ตารางที่ 4-16 การจัดระดับความเปราะบางของความหนาแน่นประชากร 4-38 ตารางที่ 4-17 การจัดระดับความเปราะบางของการใช้ประโยชน์ที่ดิน 4-39 ตารางที่ 4-18 การจัดระดับความเปราะบางของโครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง 4-43 ตารางที่ 4-19 การจัดระดับความเปราะบางของอัตราส่วนสิ่งปลูกสร้าง 4-45 ตารางที่ 4-20 การจัดระดับความเปราะบางของโครงสร้างพื้นฐาน 4-46 ตารางที่ 4-21 รายละเอียดการจำแนกระดับความเปราะบางของตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา 4-48 ตารางที่ 5-1 ค่าถ่วงน้ำหนักตัวแปรสำหรับการประเมินความเปราะบางชายฝั่ง ต่อการกัดเซาะชายฝั่ง บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก 5-2 ตารางที่ 5-2 สถานภาพชายฝั่งทะเล บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก 5-3 ตารางที่ 5-3 ระดับความเปราะบางของอัตราการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเล 5-9 ตารางที่ 5-4 ระดับความเปราะบางของความลาดชันชายฝั่ง 5-12 ตารางที่ 5-5 ระดับความเปราะบางของความกว้างของหาด 5-15 ตารางที่ 5-6 ตำแหน่งเก็บตัวอย่างและขนาดคละเฉลี่ยกึ่งกลางของตะกอนทรายชายหาด 5-17 ตารางที่ 5-7 ระดับความเปราะบางของธรณีสัณฐานชายฝั่งทะเล 5-21 ตารางที่ 5-8 ระดับความเปราะบางของพื้นที่แนวปะการัง 5-23 ตารางที่ 5-9 ระดับความเปราะบางของพื้นที่ป่าชายเลน 5-25 ตารางที่ 5-10ระดับความเปราะบางของแหล่งหญ้าทะเล 5-27 ตารางที่ 5-11ระดับความเปราะบางของแหล่งหญ้าทะเล 5-29 ตารางที่ 5-12จำนวนและความหนาแน่นของประชากรรายตำบลในพื้นที่ศึกษา 5-34 ตารางที่ 5-13ระดับความเปราะบางของการใช้ประโยชน์ที่ดิน 5-36 ตารางที่ 5-14ระดับความเปราะบางของโครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง 5-39 ตารางที่ 5-15ระดับความเปราะบางของอัตราส่วนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสร้าง 5-41


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง XIII หน้า ตารางที่ 5-16 ระดับความเปราะบางของโครงสร้างพื้นฐาน 5-42 ตารางที่ 5-17 การจำแนกพื้นที่ระดับความเปราะบางของดัชนีย่อยด้านลักษณะ ทางกายภาพรายตำบล 5-46 ตารางที่ 5-18 การจำแนกพื้นที่ระดับความเปราะบางของดัชนีย่อยด้านการเปิดรับ สภาพภูมิอากาศรายตำบล 5-47 ตารางที่ 5-19 การจำแนกพื้นที่ระดับความเปราะบางของดัชนีย่อยด้านเศรษฐกิจสังคม รายตำบล 5-52 ตารางที่ 5-20 การจำแนกพื้นที่ระดับความเปราะบางของดัชนีความเปราะบาง ของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งรายตำบล 5-55 ตารางที่ ค-1 ความสูงคลื่นนัยสำคัญเฉลี่ยรายเดือนจากแบบจำลอง MASNUM-WAM บริเวณพื้นที่จังหวัดภูเก็ต ค-1


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- XIV กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง สารบัญรูป หน้า รูปที่ 1-1 กรอบแนวคิดการวิจัยโครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบาง ของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ต ฝั่งตะวันตก 1-4 รูปที่ 1-2 ขอบเขตพื้นที่ศึกษาโครงการศึกษาและประเมินความเปราะบางของพื้นที่ ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก 1-5 รูปที่ 2-1 มาตรการและรูปแบบในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง 2-7 รูปที่ 2-2 รูปแบบการกำหนดะยะถอยร่นชายฝั่งทะเล 2-8 รูปที่ 2-3 การปักไม้ไผ่ชะลอความรุนแรงของคลื่นในพื้นที่หาดโคลน บริเวณตำบล ปากน้ำแหลมสิงห์ อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี (บันทึกภาพเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2565) 2-9 รูปที่ 2-4 รูปแบบเขือนกันคลื่นนอกชายฝั่ง (ก) โดมทะเล (ข) ไส้กรอกทราย (ค) เสาคอนกรีตป้องกันคลื่นนอกชายฝั่ง และ (ง) เขื่อนป้องกันคลื่น นอกชายฝั่ง 2-10 รูปที่ 2-5 โครงสร้างรอดักทรายรูปตัววาย บริเวณหาดแสงจันทร์ อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง (บันทึกภาพเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2564) 2-11 รูปที่ 2-6 รูปแบบเขื่อนป้องกันตลิ่งริมทะเลที่พบในประเทศไทย (ก) เขื่อนคอนกรีต หล่อรูปสี่ขา (ข) กล่องกระชุหิน (ค) ถุงใยสังเคราะห์ และ (ง) เขื่อนหินทิ้ง 2-12 รูปที่ 2-7 รูปแบบกำแพงกันคลื่นริมชายฝั่ง (ก) กำแพงป้องกันคลื่นประเภทลาดเอียง (ข) กำแพงป้องกันคลื่นประเภทลาดเอียงแบบขั้นบันได และ (ค) กำแพง ป้องกันคลื่นประเภทตั้งตรง 2-12 รูปที่ 2-8 แผนผังแนวคิดการกำหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ ชายฝั่ง 2-13 รูปที่ 2-9 แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล 23 จังหวัด 2-16 รูปที่ 2-10 ระบบกลุ่มหาดหลักประเทศไทย พ.ศ. 2563 มาตราส่วน 1:3,000,000 2-18 รูปที่ 2-11 ตัวอย่างแผนที่การแบ่งระบบกลุ่มหาดบ้านหาดเล็ก-ไม้รูด (T1A) ตำบล หาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด มาตราส่วน 1:250,000 2-19


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง XV หน้า รูปที่ 2-12 ตัวอย่างแผนที่การแบ่งระบบหาดระวางที่ 5532 II (บ้านหาดเล็ก) มาตราส่วน 1:50,000 2-21 รูปที่ 2-13 แนวคิดเกี่ยวกับหลักการและความซับซ้อนของความเปราะบาง 2-23 รูปที่ 2-14 องค์ประกอบของความเปราะบาง 2-24 รูปที่ 2-15 การจำแนกปัจจัยย่อยและตัวแปรในการประเมินความเปราะบางชายฝั่ง ทะเล ด้วยวิธี Multi-scale coastal vulnerability index บริเวณพื้นที่ ชายฝั่งทะเลทางตอนเหนือของประเทศไอร์แลนด์ 2-33 รูปที่ 3-1 แผนที่ภูมิประเทศจังหวัดภูเก็ตและบริเวณใกล้เคียง ดัดแปลงจากแผนที่ ภูมิประเทศ ลำดับชุด L7018 มาตราส่วน 1:50,000 ระวาง 4624I และ 4625II 3-2 รูปที่ 3-2 ระดับความสูงและลักษณะภูมิประเทศจังหวัดภูเก็ต 3-3 รูปที่ 3-3 การคมนาคมจังหวัดภูเก็ต 3-6 รูปที่ 3-4 จำนวนประชากรและหลังคาเรือนแยกตามเขตการปกครองของจังหวัดภูเก็ต ปี 2564 3-8 รูปที่ 3-5 จำนวนประชากรและบ้านในพื้นที่จังหวัดภูเก็ตย้อนหลัง 20 ปี ตั้งแต่ปี 2545 – 2564 3-9 รูปที่ 3-6 สภาพการใช้ที่ดิน จังหวัดภูเก็ต ปี พ.ศ. 2563 3-11 รูปที่ 3-7 แผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดภูเก็ต 3-12 รูปที่ 3-8 คำอธิบายแผนที่ธรณีวิทยา จังหวัดภูเก็ต 3-13 รูปที่ 3-9 ลักษณะธรณีสัณฐานชายฝั่งตามฤดูกาล 3-15 รูปที่ 3-10แผนที่ธรณีสัณฐานชายฝั่งทะเล ระวาง 4625II อำเภอถลาง มาตราส่วน 1:150,000 3-17 รูปที่ 3-11 แผนที่ธรณีสัณฐานชายฝั่งทะเล ระวาง 4624I จังหวัดภูเก็ต มาตราส่วน 1:150,000 3-17 รูปที่ 3-12 ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจังหวัดภูเก็ต 3-18 รูปที่ 3-13 สถานภาพแนวปะการังจังหวัดภูเก็ตในปี 2564 3-21 รูปที่ 3-14 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสถานะคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง จังหวัดภูเก็ต ระหว่างปี 2558 -2564 3-23 รูปที่ 3-15 ลักษณะภูมิประเทศพื้นท้องทะเลของทะเลอันดามัน 3-25


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- XVI กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า รูปที่ 3-16 ค่าเฉลี่ยของความเร็วลมเฉลี่ยรายชั่วโมง (เส้นสีเทาเข้ม) พร้อมด้วย แถบเปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ถึง 75 และ 10 ถึง 90 3-26 รูปที่ 3-17 ร้อยละของชั่วโมงที่ทิศทางลมเฉลี่ยมาจากทิศหลักของลมทั้ง 4 ทิศ โดยไม่รวมถึงจำนวนชั่วโมงที่มีความเร็วลมเฉลี่ยน้อยกว่า 1.6 กิโลเมตร/ ชั่วโมง พื้นที่ที่มีสีอ่อนตรงขอบเขตคือร้อยละของชั่วโมงที่ใช้ไปกับ ทิศระหว่างกลางโดยนัย (ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันออกเฉียงใต้ ตะวันตกเฉียงใต้ และตะวันตกเฉียงเหนือ) 3-27 รูปที่ 3-18 แผนที่ลมนอกชายฝั่งระดับเล็กบริเวณรอบเกาะภูเก็ต ณ ระดับความสูง 120 เมตรเหนือระดับทะเลปานกลาง 3-28 รูปที่ 3-19 ค่าความสูงคลื่นนัยสำคัญเฉลี่ยบริเวณทะเลอันดามัน โดยใช้แบบจำลอง SWAN (จุด P15 ตั้งอยู่บริเวณจังหวัดภูเก็ต) โดย (a) และ (b) แสดง ค่าความสูงคลื่นนัยสำคัญเฉลี่ยในช่วงก่อนฤดูมรสุม (c) และ (d) แสดง ค่าความสูงคลื่นนัยสำคัญเฉลี่ยในช่วงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (e) และ (f) แสดงค่าความสูงคลื่นนัยสำคัญเฉลี่ยในช่วงฤดูมรสุมตะวันออก เฉียงเหนือ 3-29 รูปที่ 3-20 ค่าพลังงานคลื่นเฉลี่ยบริเวณทะเลอันดามัน โดยใช้แบบจำลอง SWAN (จุด P15 ตั้งอยู่บริเวณจังหวัดภูเก็ต) โดย (a) และ (b) แสดงค่าพลังงาน คลื่นเฉลี่ยในช่วงก่อนฤดูมรสุม (c) และ (d) แสดงค่าพลังงานคลื่นเฉลี่ย ในช่วงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (e) และ (f) แสดงค่าพลังงานคลื่นเฉลี่ย ในช่วงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ 3-30 รูปที่ 3-21 ความสูงคลื่นนัยสำคัญของสถานี S1 - S8 บริเวณทะเลอันดามัน ในปี 2557 โดยสถานี S5 ตั้งอยู่บริเวณอุทยานแห่งชาติสิรินาถ จังหวัด ภูเก็ต 3-31 รูปที่ 3-22 ทิศทางกระแสน้ำผิวน้ำบริเวณทะเลอันดามันในช่วงมรสุมตะวันออก เฉียงเหนือ (เดือนธันวาคม–พฤษภาคม) และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (เดือนมิถุนายน–พฤศจิกายน) โดยลูกศรสีดำแสดงถึงความแรง ของกระแสน้ำ 3-33 รูปที่ 3-23ปริมาณการเคลื่อนตัวของมวลทรายขนานชายฝั่งสุทธิในภาพรวมของชายฝั่ง ประเทศไทย 3-34


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง XVII หน้า รูปที่ 3-24 การเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลเฉลี่ยรายเดือนจากสถานีเกาะตะเภาน้อย จังหวัดภูเก็ต ตั้งแต่ปี 2483 – 2552 โดยขีดแสดงความผิดพลาด (Error bar) มีค่าเท่ากับร้อยละ 95 3-35 รูปที่ 3-25 ความผิดปกติของระดับน้ำทะเลเฉลี่ยรายเดือนจากสถานีเกาะตะเภาน้อย จังหวัดภูเก็ต ตั้งแต่ปี 2483 - 2552 ซึ่งแสดงถึงความแตกต่างระหว่าง ค่าเฉลี่ยรายเดือนและระดับน้ำทะเลเฉลี่ยโดยรวม 3-36 รูปที่ 3-26 แผนที่การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเล อำเภอถลาง ระวาง 4625II มาตราส่วน 1:150,000 3-37 รูปที่ 3-27 แผนที่การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเล จังหวัดภูเก็ต ระวาง 4624I มาตราส่วน 1:150,000 3-37 รูปที่ 3-28 สถานภาพแนวชายฝั่งทะเล จังหวัดภูเก็ต ปี 2563 3-38 รูปที่ 3-29 แผนที่ระบบหาดระวางที่ 4625 II (อำเภอถลาง) มาตราส่วน 1:50,000 3-42 รูปที่ 3-30 แผนที่แสดงระบบหาดระวางที่ 4624 I (จังหวัดภูเก็ต) มาตราส่วน 1:50,000 3-43 รูปที่ 3-31 แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล ระบบหาด บริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดกระบี่ 3-44 รูปที่ 4-1 แผนภูมิแสดงวิธีดำเนินการวิจัยในการประเมินความอ่อนไหวเปราะบาง ของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง บริเวณชายฝั่งทะเลจังหวัดภูเก็ต ฝั่งตะวันตก 4-2 รูปที่ 4-2 การกำหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษาโครงการศึกษาและประเมินความเปราะบาง ของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ต ฝั่งตะวันตก 4-4 รูปที่ 4-3 การวิเคราะห์การเปลี่ยนเปลงแนวชายฝั่งทะเลโดยซอฟท์แวร์ DSAS 4-8 รูปที่ 4-4 การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเลด้วยซอฟท์แวร์ DSAS ซึ่งประกอบด้วยเส้นฐาน (สีดำ) เส้นตั้งฉากสมมติ (สีเทา) และเส้นแนวชายฝั่ง และจุดตัดแต่ละปีที่ผ่านเส้นตั้งฉากสมมติ (สีต่าง ๆ) เพื่อแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างอัตราการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเล ได้แก่ การเคลื่อนที่ของ แนวชายฝั่งสุทธิ (NSM) และอัตราการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเล (EPR) 4-10


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- XVIII กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า รูปที่ 4-5 ตัวอย่างการวิเคราะห์อัตราการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเลบริเวณ หาดไม้ขาว จังหวัดภูเก็ต โดยซอฟท์แวร์ DSAS 4-10 รูปที่ 4-6 เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมชนิดสองความถี่ รุ่น CHC I90Pro 4-12 รูปที่ 4-7 การสำรวจข้อมูลภาพตัดขวางชายหาดโดยการสำรวจรังวัดโดยระบบ โครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ 4-13 รูปที่ 4-8 ตำแหน่งแนวสำรวจภาพตัดขวางชายหาดโดยการสำรวจรังวัดโดยระบบ โครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ 4-14 รูปที่ 4-9 การสำรวจภาพถ่ายทางอากาศด้วยอากาศยานไร้คนขับความละเอียดสูง 4-15 รูปที่ 4-10 การวิเคราะห์ข้อมูลภาพตัดขวางชายหาดวัดค่าความสูงของชายฝั่งทะเล (CH) ความกว้างของหาด (BW) และความลาดชันชายหาด (BS ) โดยเส้นสีน้ำตาลแสดงพื้นผิวของหาด 4-16 รูปที่ 4-11 ลักษณะธรณีสัณฐานชายฝั่งบริเวณจังหวัดภูเก็ต 4-19 รูปที่ 4-12 การสำรวจลักษณะธรณีสัณฐานชายฝั่งด้วยการถ่ายภาพมุมสูงโดยอาศัย อากาศยานไร้คนขับบริเวณหาดยะนุ้ย ตำบลราไวย์ อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2565 4-20 รูปที่ 4-13 การเก็บตัวอย่างตะกอนทรายชายหาดเพื่อนำไปวิเคราะห์ขนาดคละเฉลี่ย กึ่งกลาง บริเวณหาดยะนุ้ย ตำบลราไวย์ อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2565 4-20 รูปที่ 4-14 ตำแหน่งการเก็บตะกอนทรายชายหาด 4-21 รูปที่ 4-15 การลดทอนพลังงานคลื่นและการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง จากแนวปะการังภายใต้สถานการณ์การจัดการต่าง ๆ 4-23 รูปที่ 4-16 พื้นที่แนวปะการัง จังหวัดภูเก็ต 4-24 รูปที่ 4-17 ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการลดทอนพลังงานของคลื่น และการกัดเซาะชายฝั่งในป่าชายเลน 4-25 รูปที่ 4-18 พื้นที่ป่าชายเลนจังหวัดภูเก็ต 4-26 รูปที่ 4-19 กระบวนการทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับอิทธิพลของหญ้าทะเล ต่อการลดทอนพลังงานคลื่นและลดการกัดเซาะชายฝั่ง 4-27 รูปที่ 4-20 แหล่งหญ้าทะเล จังหวัดภูเก็ต 4-28


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง XIX หน้า รูปที่ 4-21 ความสูงคลื่นนัยสำคัญจากแบบจำลอง MASNUM-WAM ในวันที่ 12 ธันวาคม 2565 4-30 รูปที่ 4-22 ตำแหน่งสถานีวัดระดับน้ำทะเล บริเวณพื้นที่จังหวัดภูเก็ต 4-33 รูปที่ 4-23 ข้อมูลระดับน้ำทะเลเฉลี่ยจากสถานีวัดระดับน้ำทะเลเกาะตะเภาน้อย จังหวัดภูเก็ต ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2483 – 2564 จากฐานข้อมูลของ Permanent Service for Mean Sea Level (PSMSL) 4-35 รูปที่ 4-24 การใช้ประโยชน์ที่ดิน จังหวัดภูเก็ต 4-40 รูปที่ 4-25 การสำรวจแนวโครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งโดยประยุกต์ใช้ การสำรวจรังวัดโดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ บันทึกภาพเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2565 4-41 รูปที่ 4-26 โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเล บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภูเก็ต ฝั่งตะวันตก 4-42 รูปที่ 4-27 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง จังหวัดภูเก็ต ปี 2563 4-44 รูปที่ 4-28 ตำแหน่งโครงสร้างพื้นฐาน จังหวัดภูเก็ต 4-47 รูปที่ 4-29 แผนผังแนวคิดการกำหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ ชายฝั่งเบื้องต้น 4-51 รูปที่ 5-1 เส้นแนวชายฝั่งทะเลและเส้นตั้งฉากสมมติสำหรับการวิเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเลด้วยซอฟท์แวร์ Digital Shoreline Analysis System (DSAS) 5-4 รูปที่ 5-2 ลักษณะพื้นที่ชายฝั่งบริเวณหาดบางเทา ตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง จังหวัด ภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2564 5-5 รูปที่ 5-3 ลักษณะพื้นที่ชายฝั่งบริเวณหาดลายัน ตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง จังหวัด ภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2565 5-5 รูปที่ 5-4 ลักษณะพื้นที่ชายฝั่งบริเวณหาดในยาง ตำบลสาคู อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2565 5-6 รูปที่ 5-5 ลักษณะพื้นที่ชายฝั่งบริเวณหาดแหลมสน ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัด ภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2564 5-6 รูปที่ 5-6 ลักษณะพื้นที่ชายฝั่งบริเวณหาดยะนุ้ย ตำบลกะรน อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัด ภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2565 5-6


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- XX กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า รูปที่ 5-7 อัตราการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเล บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลจังหวัด ภูเก็ตฝั่งตะวันตก จากการวิเคราะห์ด้วยซอฟท์แวร์ Digital Shoreline Analysis System (DSAS) 5-7 รูปที่ 5-8 สถานภาพชายฝั่งพื้นที่ชายฝั่งทะเล จังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก 5-8 รูปที่ 5-9 แผนภูมิแสดงร้อยละระดับความเปราะบางของอัตราการเปลี่ยนแปลง แนวชายฝั่งทะเล 5-9 รูปที่ 5-10 ระดับความเปราะบางของอัตราการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเล 5-10 รูปที่ 5-11 ลักษณะพื้นที่ชายฝั่งบริเวณหาดลายัน ตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง จังหวัด ภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2565 5-11 รูปที่ 5-12 ลักษณะพื้นที่ชายฝั่งบริเวณหินหน้าหลาม ตำบลสาคู อำเภอถลาง จังหวัด ภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2565 5-11 รูปที่ 5-13 แผนภูมิแสดงร้อยละระดับความเปราะบางของความลาดชันชายฝั่ง 5-12 รูปที่ 5-14 ระดับความเปราะบางของความลาดชันชายฝั่ง 5-13 รูปที่ 5-15 ลักษณะพื้นที่ชายฝั่งบริเวณหาดฟรีด้อม ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้จังหวัด ภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2565 5-14 รูปที่ 5-16 แผนภูมิแสดงร้อยละระดับความเปราะบางของความกว้างของหาด 5-15 รูปที่ 5-17 ระดับความปราะบางของความกว้างของหาด 5-16 รูปที่ 5-18 ตำแหน่งเก็บตัวอย่างและขนาดคละเฉลี่ยกึ่งกลางของตะกอนทรายชายหาด 5-19 รูปที่ 5-19 ลักษณะธรณีสัณฐานชายฝั่งทะเลบริเวณพื้นที่ศึกษา 5-20 รูปที่ 5-20 แผนภูมิแสดงร้อยละระดับความเปราะบางของธรณีสัณฐานชายฝั่งทะเล 5-21 รูปที่ 5-21 ระดับความเปราะบางของลักษณะธรณีสัณฐานชายฝั่งทะเล 5-22 รูปที่ 5-22 แผนภูมิแสดงร้อยละระดับความเปราะบางของพื้นที่แนวปะการัง 5-23 รูปที่ 5-23 ความเปราะบางของพื้นที่แนวปะการัง 5-24 รูปที่ 5-24 ร้อยละระดับความเปราะบางของพื้นที่ป่าชายเลน 5-25 รูปที่ 5-25 แผนภูมิแสดงระดับความเปราะบางของพื้นที่ป่าชายเลน 5-26 รูปที่ 5-26 แผนภูมิแสดงร้อยละระดับความเปราะบางของแหล่งหญ้าทะเล 5-27 รูปที่ 5-27 แผนภูมิแสดงระดับความเปราะบางของแหล่งหญ้าทะเล 5-28 รูปที่ 5-28 แผนภูมิแสดงระดับความเปราะบางของความสูงคลื่นนัยสำคัญเฉลี่ย 5-30 รูปที่ 5-29 ระดับความเปราะบางของพิสัยระดับน้ำขึ้น-น้ำลงเฉลี่ย 5-31


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง XXI หน้า รูปที่ 5-30 แผนภูมิแสดงร้อยละระดับความเปราะบางของพิสัยระดับน้ำขึ้น-น้ำลงเฉลี่ย 5-32 รูปที่ 5-31 ระดับน้ำทะเลเฉลี่ยรายเดือน สถานีเกาะตะเภาน้อย จังหวัดภูเก็ต ระหว่าง ปี พ.ศ. 2483 – 2564 โดยเส้นประสีน้ำเงินแสดงเส้นแนวโน้มของระดับ น้ำทะเลเฉลี่ย มีค่าความชันของเส้นตรงเท่ากับ 2.3188 มิลลิเมตรต่อปี (ฐานข้อมูลจาก PSMSL) 5-32 รูปที่ 5-32 ระดับความเปราะบางของการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล 5-33 รูปที่ 5-33 ระดับความเปราะบางของความหนาแน่นประชากร 5-35 รูปที่ 5-34 แผนภูมิแสดงร้อยละระดับความเปราะบางของการใช้ประโยชน์ที่ดิน 5-36 รูปที่ 5-35 ระดับความเปราะบางของการใช้ประโยชน์ที่ดิน 5-37 รูปที่ 5-36 โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณหาดกะหลิม ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2565 5-38 รูปที่ 5-37 กำแพงกันคลื่นประเภทตั้งตรง บริเวณหาดกะตะใหญ่ ตำบลกะรน อำเภอ เมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต บันทึกภาพเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2565 5-38 รูปที่ 5-38 แผนภูมิแสดงร้อยละระดับความเปราะบางของโครงสร้างป้องกัน การกัดเซาะชายฝั่ง 5-39 รูปที่ 5-39 ระดับความเปราะบางของโครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง 5-40 รูปที่ 5-40 แผนภูมิแสดงร้อยละระดับความเปราะบางของอัตราส่วนพื้นที่เมืองและสิ่ง ปลูกสร้าง 5-42 รูปที่ 5-41 ระดับความเปราะบางของอัตราส่วนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสร้าง 5-43 รูปที่ 5-42 แผนภูมิแสดงร้อยละระดับความเปราะบางของโครงสร้างพื้นฐาน 5-44 รูปที่ 5-43 ระดับความเปราะบางของโครงสร้างพื้นฐาน 5-45 รูปที่ 5-44 แผนภูมิแสดงร้อยละของพื้นที่ระดับความเปราะบางของดัชนีความ เปราะบางของปัจจัยย่อยด้านลักษณะกายภาพ 5-46 รูปที่ 5-45 แผนภูมิแสดงระดับความเปราะบางของดัชนีย่อยด้านลักษณะทางกายภาพ รายตำบล 5-47 รูปที่ 5-46 ดัชนีความเปราะบางของปัจจัยย่อยด้านลักษณะกายภาพ 5-48 รูปที่ 5-47 แผนภูมิแสดงร้อยละของพื้นที่ระดับความเปราะบางของดัชนีความ เปราะบางของปัจจัยย่อยด้านการเปิดรับสภาพภูมิอากาศ 5-49


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- XXII กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า รูปที่ 5-48 แผนภูมิแสดงระดับความเปราะบางของดัชนีย่อยด้านการเปิดรับสภาพ ภูมิอากาศรายตำบล 5-50 รูปที่ 5-49 ดัชนีความเปราะบางของปัจจัยย่อยด้านการเปิดรับสภาพภูมิอากาศ 5-51 รูปที่ 5-50 แผนภูมิแสดงร้อยละของพื้นที่ระดับความเปราะบางของดัชนี ความเปราะบางของปัจจัยย่อยด้านเศรษฐกิจสังคม 5-52 รูปที่ 5-51 แผนภูมิแสดงระดับความเปราะบางของดัชนีย่อยด้านเศรษฐกิจสังคม รายตำบล 5-53 รูปที่ 5-52 ดัชนีความเปราะบางของปัจจัยย่อยด้านเศรษฐกิจสังคม 5-54 รูปที่ 5-53 แผนภูมิแสดงร้อยละของพื้นที่ระดับความเปราะบางของดัชนี ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง 5-55 รูปที่ 5-54 แผนภูมิแสดงระดับความเปราะบางของดัชนีความเปราะบางของพื้นที่ ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งรายตำบล 5-56 รูปที่ 5-55 ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก 5-57 รูปที่ 5-1 ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 5-59 รูปที่ 5-57 ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลตำบลสาคู อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 5-60 รูปที่ 5-58 ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 5-61 รูปที่ 5-59 ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 5-62 รูปที่ 5-60 ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 5-63 รูปที่ 5-61 ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลตำบลกะรน อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 5-64 รูปที่ 5-62 ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลตำบลราไวย์ อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 5-65 รูปที่ ข-1 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 1 ข-1


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง XXIII หน้า รูปที่ ข-2 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 2 ข-1 รูปที่ ข-3 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 3 ข-1 รูปที่ ข-4 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 4 ข-2 รูปที่ ข-5 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 5 ข-2 รูปที่ ข-6 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 6 ข-2 รูปที่ ข-7 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 7 ข-3 รูปที่ ข-8 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 8 ข-3 รูปที่ ข-9 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 9 ข-3 รูปที่ ข-10 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 10 ข-4 รูปที่ ข-11 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 11 ข-4 รูปที่ ข-12 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 12 ข-4 รูปที่ ข-13 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 13 ข-5 รูปที่ ข-14 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 14 ข-5 รูปที่ ข-15 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 15 ข-5 รูปที่ ข-16 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 16 ข-6 รูปที่ ข-17 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 17 ข-6 รูปที่ ข-18 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 18 ข-6 รูปที่ ข-19 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 19 ข-7 รูปที่ ข-20 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 20 ข-7 รูปที่ ข-21 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 21 ข-7 รูปที่ ข-22 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 22 ข-8 รูปที่ ข-23 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 23 ข-8 รูปที่ ข-24 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 24 ข-8 รูปที่ ข-25 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 25 ข-9 รูปที่ ข-26 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 26 ข-9 รูปที่ ข-27 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 27 ข-9 รูปที่ ข-28 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 28 ข-10 รูปที่ ข-29 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 29 ข-10 รูปที่ ข-30 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 30 ข-10


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- XXIV กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า รูปที่ ข-31 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 31 ข-11 รูปที่ ข-32 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 32 ข-11 รูปที่ ข-33 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 33 ข-11 รูปที่ ข-34 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 34 ข-12 รูปที่ ข-35 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 35 ข-12 รูปที่ ข-36 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 36 ข-12 รูปที่ ข-37 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 37 ข-13 รูปที่ ข-38 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 38 ข-13 รูปที่ ข-39 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 39 ข-13 รูปที่ ข-40 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 40 ข-14 รูปที่ ข-41 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 41 ข-14 รูปที่ ข-42 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 42 ข-14 รูปที่ ข-43 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 43 ข-15 รูปที่ ข-44 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 44 ข-15 รูปที่ ข-45 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 45 ข-15 รูปที่ ข-46 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 46 ข-16 รูปที่ ข-47 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 47 ข-16 รูปที่ ข-48 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 48 ข-16 รูปที่ ข-49 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 49 ข-17 รูปที่ ข-50 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 50 ข-17 รูปที่ ข-51 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 51 ข-17 รูปที่ ข-52 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 52 ข-18 รูปที่ ข-53 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 53 ข-18 รูปที่ ข-54 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 54 ข-18 รูปที่ ข-55 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 55 ข-19 รูปที่ ข-56 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 56 ข-19 รูปที่ ข-57 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 57 ข-19 รูปที่ ข-58 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 58 ข-20 รูปที่ ข-59 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 59 ข-20


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง XXV หน้า รูปที่ ข-60 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 60 ข-20 รูปที่ ข-61 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 61 ข-21 รูปที่ ข-62 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 62 ข-21 รูปที่ ข-63 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 63 ข-21 รูปที่ ข-64 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 64 ข-22 รูปที่ ข-65 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 65 ข-22 รูปที่ ข-66 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 66 ข-22 รูปที่ ข-67 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 67 ข-23 รูปที่ ข-68 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 68 ข-23 รูปที่ ข-69 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 69 ข-23 รูปที่ ข-70 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 70 ข-24 รูปที่ ข-71 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 71 ข-24 รูปที่ ข-72 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 72 ข-24 รูปที่ ข-73 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 73 ข-25 รูปที่ ข-74 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 74 ข-25 รูปที่ ข-75 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไม้ขาว แนวที่ 75 ข-25 รูปที่ ข-76 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในทอน แนวที่ 1 ข-26 รูปที่ ข-77 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในทอน แนวที่ 2 ข-26 รูปที่ ข-78 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในทอน แนวที่ 3 ข-26 รูปที่ ข-79 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในทอน แนวที่ 4 ข-27 รูปที่ ข-80 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในทอน แนวที่ 5 ข-27 รูปที่ ข-81 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในทอน แนวที่ 6 ข-27 รูปที่ ข-82 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในทอน แนวที่ 7 ข-28 รูปที่ ข-83 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในทอน แนวที่ 8 ข-28 รูปที่ ข-84 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในทอน แนวที่ 9 ข-28 รูปที่ ข-85 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในทอน แนวที่ 10 ข-29 รูปที่ ข-86 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในทอน แนวที่ 11 ข-29 รูปที่ ข-87 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดลายัน แนวที่ 1 ข-30 รูปที่ ข-88 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดลายัน แนวที่ 2 ข-30


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- XXVI กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า รูปที่ ข-90 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 1 ข-31 รูปที่ ข-91 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 2 ข-31 รูปที่ ข-92 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 3 ข-31 รูปที่ ข-93 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 4 ข-32 รูปที่ ข-94 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 5 ข-32 รูปที่ ข-95 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 6 ข-32 รูปที่ ข-96 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 7 ข-33 รูปที่ ข-97 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 8 ข-33 รูปที่ ข-98 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 9 ข-33 รูปที่ ข-99 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 10 ข-34 รูปที่ ข-100 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 11 ข-34 รูปที่ ข-101 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 12 ข-34 รูปที่ ข-102 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 13 ข-35 รูปที่ ข-103 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 14 ข-35 รูปที่ ข-104 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 15 ข-35 รูปที่ ข-105 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 16 ข-36 รูปที่ ข-106 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 17 ข-36 รูปที่ ข-107 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 18 ข-36 รูปที่ ข-108 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 19 ข-37 รูปที่ ข-109 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 20 ข-37 รูปที่ ข-110 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 21 ข-37 รูปที่ ข-111 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 22 ข-38 รูปที่ ข-112 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 23 ข-38 รูปที่ ข-113 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 24 ข-38 รูปที่ ข-114 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 25 ข-39 รูปที่ ข-115 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 26 ข-39 รูปที่ ข-116 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 27 ข-39 รูปที่ ข-117 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 28 ข-40 รูปที่ ข-118 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 28 ข-40


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง XXVII หน้า รูปที่ ข-119 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 30 ข-40 รูปที่ ข-119 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 30 ข-40 รูปที่ ข-120 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 31 ข-41 รูปที่ ข-121 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 32 ข-41 รูปที่ ข-122 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดบางเทาแนวที่ 33 ข-41 รูปที่ ข-123 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดสุรินทร์แนวที่ 1 ข-42 รูปที่ ข-124 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดสุรินทร์แนวที่ 2 ข-42 รูปที่ ข-125 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดสุรินทร์แนวที่ 3 ข-42 รูปที่ ข-126 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดสุรินทร์แนวที่ 4 ข-43 รูปที่ ข-127 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดสุรินทร์แนวที่ 5 ข-43 รูปที่ ข-128 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดสุรินทร์แนวที่ 6 ข-43 รูปที่ ข-129 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดสุรินทร์แนวที่ 7 ข-44 รูปที่ ข-130 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดสุรินทร์แนวที่ 8 ข-44 รูปที่ ข-131 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดสุรินทร์แนวที่ 9 ข-44 รูปที่ ข-132 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 1 ข-45 รูปที่ ข-133 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 2 ข-45 รูปที่ ข-134 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 3 ข-45 รูปที่ ข-135 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 4 ข-46 รูปที่ ข-136 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 5 ข-46 รูปที่ ข-137 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 6 ข-46 รูปที่ ข-138 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 7 ข-47 รูปที่ ข-139 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 8 ข-47 รูปที่ ข-140 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 9 ข-47 รูปที่ ข-141 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 10 ข-48 รูปที่ ข-142 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 11 ข-48 รูปที่ ข-143 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 12 ข-48 รูปที่ ข-144 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 13 ข-49 รูปที่ ข-145 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 14 ข-49 รูปที่ ข-146 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 15 ข-49


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- XXVIII กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า รูปที่ ข-147 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 16 ข-50 รูปที่ ข-148 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 17 ข-50 รูปที่ ข-149 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 18 ข-50 รูปที่ ข-150 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 19 ข-51 รูปที่ ข-151 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 20 ข-51 รูปที่ ข-152 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 21 ข-51 รูปที่ ข-153 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกมลาแนวที่ 22 ข-52 รูปที่ ข-154 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดหน้าโรงแรม แนวที่ 1 ข-53 รูปที่ ข-155 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดหน้าโรงแรม แนวที่ 2 ข-53 รูปที่ ข-156 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดหน้าโรงแรม แนวที่ 3 ข-53 รูปที่ ข-157 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดหน้าโรงแรม แนวที่ 4 ข-54 รูปที่ ข-158 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดหน้าโรงแรม แนวที่ 5 ข-54 รูปที่ ข-159 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดหน้าโรงแรม แนวที่ 6 ข-54 รูปที่ ข-160 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะหลิม แนวที่ 1 ข-55 รูปที่ ข-161 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะหลิม แนวที่ 2 ข-55 รูปที่ ข-162 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะหลิม แนวที่ 3 ข-55 รูปที่ ข-163 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะหลิม แนวที่ 4 ข-56 รูปที่ ข-164 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะหลิม แนวที่ 5 ข-56 รูปที่ ข-165 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะหลิม แนวที่ 6 ข-56 รูปที่ ข-166 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 1 ข-57 รูปที่ ข-167 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 2 ข-57 รูปที่ ข-168 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 3 ข-57 รูปที่ ข-169 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 4 ข-58 รูปที่ ข-170 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 5 ข-58 รูปที่ ข-171 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 6 ข-58 รูปที่ ข-172 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 7 ข-59 รูปที่ ข-173 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 8 ข-59 รูปที่ ข-174 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 9 ข-59 รูปที่ ข-175 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 10 ข-60


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง XXIX หน้า รูปที่ ข-176 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 11 ข-60 รูปที่ ข-177 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 12 ข-60 รูปที่ ข-178 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 13 ข-61 รูปที่ ข-179 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 14 ข-61 รูปที่ ข-180 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 15 ข-61 รูปที่ ข-181 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 16 ข-62 รูปที่ ข-182 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 17 ข-62 รูปที่ ข-183 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 18 ข-62 รูปที่ ข-184 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 19 ข-63 รูปที่ ข-185 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 20 ข-63 รูปที่ ข-186 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 21 ข-63 รูปที่ ข-187 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 22 ข-64 รูปที่ ข-188 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 23 ข-64 รูปที่ ข-189 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 24 ข-64 รูปที่ ข-190 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 25 ข-65 รูปที่ ข-191 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 26 ข-65 รูปที่ ข-192 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 27 ข-65 รูปที่ ข-193 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 28 ข-66 รูปที่ ข-194 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 29 ข-66 รูปที่ ข-195 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 30 ข-66 รูปที่ ข-196 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดป่าตองแนวที่ 31 ข-67 รูปที่ ข-197 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไตรตรังแนวที่ 1 ข-68 รูปที่ ข-198 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไตรตรังแนวที่ 2 ข-68 รูปที่ ข-199 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไตรตรังแนวที่ 3 ข-68 รูปที่ ข-200 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไตรตรังแนวที่ 4 ข-69 รูปที่ ข-201 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไตรตรังแนวที่ 5 ข-69 รูปที่ ข-202 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไตรตรังแนวที่ 6 ข-69 รูปที่ ข-203 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไตรตรังแนวที่ 7 ข-70 รูปที่ ข-204 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไตรตรังแนวที่ 8 ข-70


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- XXX กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า รูปที่ ข-205 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดไตรตรังแนวที่ 9 ข-70 รูปที่ ข-206 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 1 ข-71 รูปที่ ข-207 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 2 ข-71 รูปที่ ข-208 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 3 ข-71 รูปที่ ข-209 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 4 ข-72 รูปที่ ข-210 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 5 ข-72 รูปที่ ข-211 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 6 ข-72 รูปที่ ข-212 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 7 ข-73 รูปที่ ข-213 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 8 ข-73 รูปที่ ข-214 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 9 ข-73 รูปที่ ข-215 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 10 ข-74 รูปที่ ข-216 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 11 ข-74 รูปที่ ข-217 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 12 ข-74 รูปที่ ข-218 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 13 ข-75 รูปที่ ข-219 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 14 ข-75 รูปที่ ข-220 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 15 ข-75 รูปที่ ข-221 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 16 ข-76 รูปที่ ข-222 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 17 ข-76 รูปที่ ข-223 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 18 ข-76 รูปที่ ข-224 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 19 ข-77 รูปที่ ข-225 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 20 ข-77 รูปที่ ข-226 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 21 ข-77 รูปที่ ข-227 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 22 ข-78 รูปที่ ข-228 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 23 ข-78 รูปที่ ข-229 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 24 ข-78 รูปที่ ข-230 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 25 ข-79 รูปที่ ข-231 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 26 ข-79 รูปที่ ข-232 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 27 ข-79 รูปที่ ข-233 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 28 ข-80


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง XXXI หน้า รูปที่ ข-234 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 29 ข-80 รูปที่ ข-235 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 30 ข-80 รูปที่ ข-236 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 31 ข-81 รูปที่ ข-237 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 32 ข-81 รูปที่ ข-238 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 33 ข-81 รูปที่ ข-239 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 34 ข-82 รูปที่ ข-240 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะรน แนวที่ 35 ข-82 รูปที่ ข-241 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 1 ข-83 รูปที่ ข-242 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 2 ข-83 รูปที่ ข-243 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 3 ข-83 รูปที่ ข-244 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 4 ข-84 รูปที่ ข-245 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 5 ข-84 รูปที่ ข-246 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 6 ข-84 รูปที่ ข-247 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 7 ข-85 รูปที่ ข-248 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 8 ข-85 รูปที่ ข-249 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 9 ข-85 รูปที่ ข-250 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 10 ข-86 รูปที่ ข-251 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 11 ข-86 รูปที่ ข-252 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 12 ข-86 รูปที่ ข-253 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 13 ข-87 รูปที่ ข-254 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 14 ข-87 รูปที่ ข-255 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 15 ข-87 รูปที่ ข-256 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะใหญ่แนวที่ 16 ข-88 รูปที่ ข-257 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะน้อยแนวที่ 1 ข-89 รูปที่ ข-258 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะน้อยแนวที่ 2 ข-89 รูปที่ ข-259 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะน้อยแนวที่ 3 ข-89 รูปที่ ข-260 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะน้อยแนวที่ 4 ข-90 รูปที่ ข-261 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะน้อยแนวที่ 5 ข-90 รูปที่ ข-262 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะน้อยแนวที่ 6 ข-90


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- XXXII กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้า รูปที่ ข-263 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะน้อยแนวที่ 7 ข-91 รูปที่ ข-264 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดกะตะน้อยแนวที่ 8 ข-91 รูปที่ ข-265 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดอ่าวเสน แนวที่ 1 ข-92 รูปที่ ข-266 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดอ่าวเสน แนวที่ 2 ข-92 รูปที่ ข-267 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดอ่าวเสน แนวที่ 3 ข-92 รูปที่ ข-268 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในหาน แนวที่ 1 ข-93 รูปที่ ข-269 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในหาน แนวที่ 2 ข-93 รูปที่ ข-270 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในหาน แนวที่ 3 ข-93 รูปที่ ข-271 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในหาน แนวที่ 4 ข-94 รูปที่ ข-272 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในหาน แนวที่ 5 ข-94 รูปที่ ข-273 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในหาน แนวที่ 6 ข-94 รูปที่ ข-274 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในหาน แนวที่ 7 ข-95 รูปที่ ข-275 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดในหาน แนวที่ 8 ข-95 รูปที่ ข-276 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดยะนุ้ยแนวที่ 1 ข-96 รูปที่ ข-277 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดยะนุ้ยแนวที่ 2 ข-96 รูปที่ ข-278 ภาพตัดขวางชายหาดแนวชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก หาดยะนุ้ยแนวที่ 3 ข-96


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 1-1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล พื้นที่ชายฝั่งทะเลเป็นบริเวณเชื่อมต่อกันระหว่างแผ่นดินและทะเล ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตัว มีความซับซ้อน เป็นแหล่งทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีความสำคัญและมีความอุดมสมบูรณ์สูงที่สุดแห่งหนึ่ง ของโลก โดยมนุษย์ได้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชายฝั่งทั้งในด้านของการเป็นแหล่งอาหาร แหล่งที่อยู่ อาศัย และการพัฒนาเศรษฐกิจ เช่น อุตสาหกรรม การคมนาคม และการท่องเที่ยว เป็นต้น (สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์, 2554) ในปัจจุบัน พื้นที่ชายฝั่งทะเลทั่วโลกต้องเผชิญกับภัยพิบัติหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้แนวชายฝั่งถอยร่นเข้าไปใน แผ่นดิน (Rangel-Buitrago, Neal, & Jonge, 2020) โดยกระบวนการที่ทำให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่ง มาจากทั้งกระบวนการทางธรรมชาติ เช่น คลื่น กระแสน้ำ น้ำขึ้น-น้ำลง การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล เป็นต้น รวมไปถึงกิจกรรมการใช้ประโยชน์พื้นที่ชายฝั่งทะเลของมนุษย์ (กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง, 2561) ทำให้การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งมีความรุนแรงมากขึ้นจนไม่สามารถปรับสภาพ เข้าสู่สมดุลได้ ก่อให้เกิดการสูญเสียพื้นที่แผ่นดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลาย ทางชีวภาพ รวมไปถึงก่อให้เกิดความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจสังคมของมนุษย์อีกด้วย (สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์, 2554; Roy et al., 2021) แนวชายฝั่งทะเลประเทศไทยครอบคลุมพื้นที่ 23 จังหวัด มีระยะทางแนวชายฝั่ง ประมาณ 3,151 กิโลเมตร ประกอบด้วยแนวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย ระยะทางประมาณ 2,040 กิโลเมตร และแนวชายฝั่งทะเลอันดามัน ระยะทางประมาณ 1,111 กิโลเมตร (กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง, 2565) ซึ่งมีประชากรอาศัยอยู่ตามพื้นที่ชายฝั่งทะเลมากกว่า 12 ล้านคน โดยในช่วง สองทศวรรษที่ผ่านมา ได้มีการนำทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งมาใช้มากเกินความจำเป็น รวมไปถึง การเพิ่มขึ้นของประชากร การพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลเพื่อการท่องเที่ยว การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และอุตสาหกรรมที่เพิ่มมากขึ้น ล้วนส่งผลทำให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง และเร่งอัตราการกัดเซาะชายฝั่งมากขึ้น (Department of Mineral Resources, 2555) ทำให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยมีความเปราะบางต่อการกัดเซาะชายฝั่งเพิ่มมากขึ้น จังหวัดภูเก็ตเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ตั้งอยู่ทางด้านทะเลอันดามัน มีระยะทางแนวชายฝั่งทั้งหมดประมาณ 202 กิโลเมตร (เฉพาะเกาะหลักไม่รวมเกาะบริวาร) (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2565) ถือเป็นจังหวัดชายทะเลที่มีความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจ โดยในปี 2562 มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดรายได้ต่อคนต่อปี (GPP per capita) สูงเป็นอันดับ 1


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1-2 กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ของภาคใต้และเป็นอันดับ 7 ของประเทศ (สำนักงานแรงงานจังหวัดภูเก็ต, 2565) เป็นพื้นที่ที่มี ศักยภาพและความพร้อมทางการท่องเที่ยวสูง โดยได้รับการขนานนามว่า “ไข่มุกแห่งอันดามัน” เนื่องจากมีทัศนียภาพที่สวยงาม และแหล่งทรัพยากรท่องเที่ยวที่สมบูรณ์และหลากหลาย มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมาเยือนเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะชายฝั่งทางด้านตะวันตก ของจังหวัดภูเก็ตตลอดระยะทางประมาณ 84 กิโลเมตร ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ และมีชายหาดที่มีชื่อเสียง เช่น หาดไม้ขาว หาดในยาง หาดป่าตอง หาดกะรน หาดในหาน เป็นต้น มีการใช้ประโยชน์พื้นที่ชายฝั่งหลากหลายรูปแบบและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต โดยเป็นที่ตั้งของ สนามบิน อุทยานแห่งชาติ โรงแรม รีสอร์ท และที่อยู่อาศัยของชุมชนริมชายฝั่ง จากการประเมินราคา ที่ดินริมชายฝั่งของจังหวัดภูเก็ตมีมูลค่าสูงสุดถึง 250 ล้านบาทต่อไร่ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง (ประชาชาติธุรกิจ, 2564) อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเลของ จังหวัดภูเก็ต ทั้งจากกระบวนการทางสมุทรศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพ กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ประกอบกับความแปรปรวนของปัจจัยทางธรรมชาติอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทำให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลของจังหวัดภูเก็ตมีความเปราะบางต่อการกัดเซาะชายฝั่งมากขึ้น ดังนั้น จึงควรมีการประเมินความเปราะบางชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง เพื่อเป็นเครื่องมือในการสนับสนุน การตัดสินใจ และการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ ซึ่งจะนำไปสู่การกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ ในการบริหารจัดการและลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการกัดเซาะชายฝั่ง ปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาเทคนิคการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศสำหรับการศึกษา และประเมินความเปราะบางชายฝั่งทะเล ซึ่งสามารถวิเคราะห์การซ้อนทับของข้อมูลได้หลายประเภท และจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงผลลัพธ์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ได้อย่างถูกต้อง (กัทลี คุรุกุล และกาญจนา นาคะภากร, 2557) การศึกษาในครั้งนี้จึงมีการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการประเมินและวิเคราะห์ดัชนีความเปราะบางชายฝั่งต่อการกัดเซาะ ชายฝั่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศึกษาตัวแปรด้านลักษณะกายภาพ การเปิดรับสภาพภูมิอากาศ และเศรษฐกิจสังคมที่ส่งผลต่อดัชนีความเปราะบางชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง และเพื่อประเมินพื้นที่ เปราะบางต่อการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก สำหรับเป็นข้อมูลเบื้องต้น ในการกำหนดแนวทางการบริหารจัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเลจังหวัดภูเก็ตโดยเฉพาะในพื้นที่ที่มี ความเปราะบางต่อการกัดเซาะชายฝั่งสูง นอกจากนี้ ยังสามารถประยุกต์วิธีการศึกษากับพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลบริเวณอื่น ๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพและเศรษฐกิจสังคมที่คล้ายคลึงกันได้อีกด้วย


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 1-3 1.2 วัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาตัวแปรด้านลักษณะกายภาพ การเปิดรับสภาพภูมิอากาศ และเศรษฐกิจ สังคมที่ส่งผลต่อดัชนีความเปราะบางชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ต ฝั่งตะวันตก (2) เพื่อประเมินและวิเคราะห์พื้นที่เปราะบางต่อการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่ชายฝั่ง จังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตกโดยประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 1.3 กรอบแนวคิดการวิจัย แนวคิดของการศึกษาความเปราะบางชายฝั่งทะเลในครั้งนี้มุ่งเน้นการศึกษาตัวแปร ด้านลักษณะกายภาพ การเปิดรับสภาพภูมิอากาศ และเศรษฐกิจสังคมที่ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อม ต่อการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่ศึกษา ซึ่งมีการให้ค่าน้ำหนักตัวแปรด้วยวิธีการวิเคราะห์ทางเลือก แบบหลายปัจจัย (Multi-criteria analysis; MCA) โดยผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อวิเคราะห์ ค่าน้ำหนักตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา โดยการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการคำนวณ และซ้อนทับข้อมูล (Overlay) สำหรับการประเมินดัชนีความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะ ชายฝั่ง จากนั้นจึงทำการจัดระดับความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง โดยแสดงเป็น แผนที่ดัชนีความเปราะบางชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณชายฝั่งทะเลจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ซึ่งสามารถใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนการตัดสินใจในการกำหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา การกัดเซาะชายฝั่งในเบื้องต้นสำหรับพื้นที่ที่มีความเปราะบางต่อการกัดเซาะชายฝั่ง (รูปที่ 1-1) 1.4 ขอบเขตการศึกษา 1.4.1 ขอบเขตพื้นที่ศึกษา พื้นที่ศึกษาในครั้งนี้ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทะเลจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก จำนวน 7 ตำบล ได้แก่ ตำบล ไม้ขาว ตำบลสาคู และตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง ตำบลกมลา และตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ ตำบล กะรน และตำบลราไวย์ อำเภอเมืองภูเก็ต โดยครอบคลุมพื้นที่ 23 ระบบหาด ตั้งแต่ระบบหาดหาดไม้ ขาว (T7E203) ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จนถึงบริเวณแหลมพรหมเทพ ระบบหาด หาดยะนุ้ย (T7E225) ตำบลราไวย์ อำเภอเมืองภูเก็ต ระยะทางตามแนวชายฝั่งประมาณ 84.14 กิโลเมตร และมีระยะทางตั้งฉากกับแนวชายฝั่งทะเลเข้ามาในแผ่นดิน 500 เมตร รวมทั้งหมดประมาณ 37.26 ตารางกิโลเมตร เนื่องจากพิจารณาแล้วเห็นว่าขอบเขตของพื้นที่มีความเหมาะสมกับขนาด ของพื้นที่ศึกษาและระยะเวลาในการศึกษาวิจัย นอกจากนี้ บริเวณดังกล่าวยังอยู่ในเขตอิทธิพล ของพื้นที่ชายฝั่งทะเล รวมไปถึงมีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ส่งผลต่อพื้นที่ชายฝั่งทะเลโดยตรง (รูปที่ 1-2)


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1-4 กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รูปที่ 1-1 กรอบแนวคิดการวิจัยโครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่ง ต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก 1.4.2 ขอบเขตด้านข้อมูล การประเมินความเปราะบางชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่งในครั้งนี้สามารถแบ่งข้อมูล ออกเป็น 3 ปัจจัยย่อย โดยประยุกต์จากงานวิจัยของ Mclaughlin & Cooper (2010) ดังนี้ (1) ปัจจัยย่อยด้านลักษณะกายภาพ หมายถึง สภาพทางกายภาพของชายฝั่ง ซึ่งเกี่ยวข้องถึงความยืดหยุ่น/ความไวต่อการกัดเซาะชายฝั่ง ประกอบด้วย อัตราการเปลี่ยนแปลง แนวชายฝั่งทะเล ความลาดชันชายฝั่ง ความกว้างของหาด ลักษณะธรณีสัณฐานชายฝั่งทะเล พื้นที่ แนวปะการัง พื้นที่ป่าชายเลน และแหล่งหญ้าทะเล (2) ปัจจัยย่อยด้านการเปิดรับสภาพภูมิอากาศ หมายถึง ปัจจัยที่ควบคุมชายฝั่ง ซึ่งเป็นปัจจัยอันเนื่องมาจากสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย ความสูงคลื่นนัยสำคัญเฉลี่ย พิสัยระดับ น้ำขึ้น-น้ำลงเฉลี่ย และการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 1-5 รูปที่ 1-2 ขอบเขตพื้นที่ศึกษาโครงการศึกษาและประเมินความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะ ชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1-6 กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (3) ปัจจัยย่อยด้านเศรษฐกิจสังคม หมายถึง ชุดตัวแปรที่แสดงถึงกิจกรรมทางสังคม เศรษฐกิจ หรือกิจกรรมของมนุษย์ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อการกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งอาจได้รับผลกระทบ ในทางลบจากการกัดเซาะชายฝั่ง ประกอบด้วย ความหนาแน่นประชากร การใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง อัตราส่วนสิ่งปลูกสร้างและพื้นที่เมือง และโครงสร้างพื้นฐาน 1.4.3 ขอบเขตด้านระยะเวลา การศึกษาในครั้งนี้ มีระยะเวลาดำเนินงานโครงการฯ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 31 มีนาคม 2566 รวมระยะเวลาทั้งหมด 1 ปี 6 เดือน 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ฐานข้อมูลการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเล จังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก และทราบถึง ตัวแปรด้านลักษณะกายภาพ การเปิดรับสภาพภูมิอากาศ และเศรษฐกิจสังคมที่ส่งผลต่อ ความเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง ตลอดจนพื้นที่ที่มีความเปราะบางต่อ การกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก และสามารถกำหนดแนวทางการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในเบื้องต้น สำหรับใช้เป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการตัดสินใจ ในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการและลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น จากการกัดเซาะชายฝั่งต่อไปในอนาคต 1.6 คณะผู้วิจัย คณะผู้วิจัยประกอบด้วยเจ้าหน้าที่กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง จำนวน 15 ราย ดังนี้ (1) นางสาวชุติมา บุญฤทธิ์ศรีพงษ์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการส่วนธรณีวิทยาชายฝั่ง (หัวหน้าโครงการฯ) (2) นายนิรันดร์ ชัยมณี ตำแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านธรณีวิทยา (ที่ปรึกษาโครงการฯ) (3) นางสาวณฐมน ติมัน ตำแหน่ง นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ (4) นางสาวพรพรรณ ชุมภูเทพ ตำแหน่ง นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ (5) นายกิตติรัช อินทรศิริ ตำแหน่ง นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ (6) นายอนุชิต คนแคล้ว ตำแหน่ง นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ (7) นางสาวฉัตรนภา บุญยืน ตำแหน่ง วิศวกรโยธาปฏิบัติการ (8) นายปริญญา ต้องกระโทก ตำแหน่ง วิศวกรโยธาปฏิบัติการ


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 1-7 (9) นางสาวณัฐกานต์ จรัสรัตนวงศ์ ตำแหน่ง นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ (10) นางสาวกิ่งดาว นามบุรี ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ (11) นางสาวปวีณา พร้อมมงคล ตำแหน่ง นักวิชาการภูมิสารสนเทศ (12) นางสาวอรธีรา ศรีสวัสดิ์ ตำแหน่ง นักธรณีวิทยา (13) นางสาวอนัญญา ปาลวัฒน์ ตำแหน่ง นักธรณีวิทยา (14) นายนครินทร์ กำเนิดแจ้ง ตำแหน่ง นักธรณีวิทยา (15) นางสาวชนัญญา ประเสริฐทรัพย์ ตำแหน่ง นายช่างสำรวจ


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2-1 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม การศึกษาในครั้งนี้ได้มีการรวบรวมแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษานี้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รายละเอียดดังนี้ 2.1 การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเล 2.1.1 ลักษณะการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเล สิน สินสกุล และคณะ (2546) ได้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเลอันดามัน โดยการศึกษาจากภาพถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน 1:50,000 ในปี 2510 และ 2538 ร่วมกับ การสำรวจในภาคสนาม ซึ่งได้จำแนกลักษณะการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งออกเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ 2.1.1.1 ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ (Erosion coast) เป็นกระบวนการที่ทำให้แนวชายทะเลเปลี่ยนหรือถอยร่นเข้าไปในแผ่นดิน (Shoreline retreat) โดยสามารถจำแนกตามอัตราการกัดเซาะต่อปี ซึ่งพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ เกิดขึ้น ความสำคัญทางเศรษฐกิจและผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรมของพื้นที่นั้น ๆ ดังนี้ (1) ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะรุนแรง (Severe erosion) เป็นพื้นที่ชายฝั่งที่มี อัตราการกัดเซาะมากกว่า 5 เมตรต่อปีขึ้นไป มีการสูญเสียที่ดินมาก และเกิดความเสียหายต่อ ทรัพย์สินของรัฐและประชาชนได้อย่างชัดเจน (2) ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะปานกลาง (Moderate erosion) เป็นพื้นที่ชายฝั่ง ที่มีอัตราการกัดเซาะตั้งแต่ 1 – 5 เมตรต่อปี มีการสูญเสียที่ดินชายฝั่งแบบค่อยเป็นค่อยไป และการ กัดเซาะยังคงเกิดขึ้นและอาจทวีความรุนแรงได้ 2.1.1.2 ชายฝั่งที่มีการสะสมตัว (Depositional coast) เป็นกระบวนการที่ตะกอนถูกพัดพาออกไปจากพื้นที่หนึ่งแล้วไปทับถมอีกที่หนึ่ง โดยมีตัวการหลักที่นำตะกอนไปสะสมตัว ได้แก่ คลื่นและกระแสน้ำ ส่วนมากจะเกิดขึ้นบริเวณที่ราบ น้ำขึ้นถึงมากกว่าบริเวณหาดทราย โดยตะกอนที่แขวนลอยมากับน้ำและคลื่นที่พัดพาตะกอนมาสะสม ตัวใกล้ฝั่ง มีอัตราการสะสมตัวตั้งแต่ 1 – 5 เมตรต่อปีทั้งนี้ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (2565) ได้จำแนกชายฝั่งที่มีการสะสมตัวออกเป็น 2 ระดับ คือ ชายฝั่งสะสมตัวน้อย มีอัตราการสะสม ตัวตั้งแต่ 1 – 5 เมตรต่อปี และชายฝั่งสะสมตัวมาก มีอัตราการสะสมตัวมากกว่า 5 เมตรต่อปี


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2-2 กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2.1.1.3 ชายฝั่งคงสภาพ (Stable coast) เป็นลักษณะชายฝั่งที่มีการปรับสภาพสมดุลธรรมชาติได้ตามฤดูกาล กล่าวคือ ในรอบ หนึ่งปีมีการกัดเซาะในฤดูกาลหนึ่งและมีการสะสมตัวในอีกฤดูกาลหนึ่ง โดยมีอัตราการกัดเซาะ และการสะสมตัวในทั้งสองฤดูที่เกือบเท่ากันหรือเท่ากันประมาณ 1 เมตรต่อปี 2.1.2 สาเหตุการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเล สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเลมีหลายประการ โดยสามารถจำแนก ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งโดยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่ง จากกิจกรรมของมนุษย์ ซึ่งมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน สามารถสรุปได้ ดังนี้ 2.1.2.1 การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งโดยธรรมชาติ (1) ธรณีแปรสัณฐานในระดับภูมิภาค คือ การเปลี่ยนแปลงหรือการเคลื่อนที่ ของพื้นผิวโลกหรือเปลือกโลก โดยเกิดขึ้นเป็นบริเวณกว้างไม่จำกัดขอบเขตเฉพาะพื้นที่ชายฝั่งทะเล ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะทางกายภาพและโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่อยู่ในพื้นที่นั้น โดยแผ่นเปลือกโลก มีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา จึงทำให้เกิดกระบวนการเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นเปลือกโลก (Convergent plate motion) การแยกตัวของแผ่นเปลือกโลก ( Divergent plate motion) และการเคลื่อนที่ผ่านกันของแผ่นเปลือกโลก (Transform plate motion) ซึ่งกระบวนการดังกล่าว ส่งผลให้เกิดการยกตัวหรือทรุดตัวของพื้นที่เป็นบริเวณกว้าง บางพื้นที่ที่เคยโผล่พ้นผิวน้ำอาจจมตัว ลงอยู่ใต้ทะเล การทรุดตัวดังกล่าวทำให้พื้นที่ชายฝั่งมีระดับต่ำลง และเกิดการกัดเซาะได้ง่ายขึ้น (สิน สินสกุล และคณะ, 2546; วิสุทธิพงศ์ ศรีรัตนเสถียร และวราภรณ์ จิตสุวรรณ, 2562) (2) ลักษณะทางกายภาพของชายฝั่ง โดยลักษณะชายฝั่งที่มีความแตกต่างกัน ทำให้มีอัตราการกัดเซาะในแต่ละบริเวณไม่เท่ากัน เช่น หาดทรายง่ายต่อการถูกกัดเซาะมากกว่า หาดหิน บริเวณที่เป็นอ่าวแหลม จะเกิดการกัดเซาะมากกว่าชายฝั่งที่เป็นทะเลเปิด พื้นที่ชายฝั่งที่มี ความลาดชันน้อยจะถูกกัดเซาะได้มากกว่าชายฝั่งที่มีความลาดชันมากกว่า เป็นต้น (กรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง, 2561ค) (3) กระบวนการชายฝั่ง ได้แก่ คลื่น ลม น้ำขึ้นน้ำลง และกระแสน้ำ เป็นตัวการ สำคัญที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของตะกอนและพัดพาตะกอนชายฝั่งทะเล โดยคลื่นและการขึ้นลงของ น้ำทะเลมีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ในสภาวะปกติ หากน้ำขึ้นสูงคลื่นจะกระทบฝั่งมากขึ้น เมื่อน้ำลง คลื่นจะเคลื่อนตัวอยู่ด้านหน้าชายฝั่ง ผลกระทบต่อชายฝั่งก็น้อยลง ในช่วงพายุหรือมรสุม คลื่นที่เกิดขึ้นจะมีพลังงานสูงกว่าปกติ จึงทำให้ชายฝั่งถูกกัดเซาะได้ง่าย (สิน สินสกุล และคณะ, 2546) นอกจากนี้ กระบวนการพัดพาตะกอนออกไปตามแนวชายฝั่ง ทำให้เกิดเป็นสันทรายใต้น้ำนอกชายฝั่ง


โครงการศึกษาและประเมินความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ชายฝั่งต่อการกัดเซาะชายฝั่ง กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งจังหวัดภูเก็ตฝั่งตะวันตก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2-3 หากตะกอนถูกพัดพาออกไปจากชายฝั่งมากกว่าตะกอนที่เข้ามาเติม จะทำให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่งขึ้น (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2561ก) (4) ลมมรสุมและพายุ เมื่อเกิดลมมรสุมหรือพายุเข้าปะทะชายฝั่งโดยตรง ตะกอนทรายที่ถูกพัดพาไปสะสมตัวบนฝั่งหรือหน้าหาดจะถูกพัดพาไปสะสมเป็นสันดอนใต้น้ำ และในช่วงปลอดมรสุม คลื่นเดิ่งจะพัดพาตะกอนทรายเข้าสู่ฝั่งทำให้ชายหาดกลับคืนสู่สภาพปกติ แต่ในกรณีที่เกิดลมมรสุมหรือพายุจนก่อให้เกิดคลื่นม้วนกลับหรือกระแทกชายฝั่งอย่างรุนแรง อาจจะ เกิดการพัดพาตะกอนออกนอกระบบ ไปก่อเป็นสันดอนใต้น้ำในทะเลที่ห่างเกินกว่าคลื่นลมปกติ จะสามารถพัดพาตะกอนกลับมาสะสมบริเวณชายฝั่งได้ หรืออาจเกิดการพังทลายของชายฝั่งในรอบ ฤดูกาลหนึ่ง ซึ่งอาจใช้เวลาในการฟื้นตัวมากกว่าหนึ่งรอบฤดูกาล (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2561ก) โดยจากข้อมูลแบบจำลองการเปลี่ยนแปลงพายุหมุนเขตร้อนที่อาจพัดเข้าสู่อ่าวไทยและทำให้ เกิดคลื่นพายุซัดฝั่ง พบว่า ในช่วงสิ้นศตวรรษนี้ จะมีความถี่ในการเกิดพายุหมุนลดลง แต่จะมี ความรุนแรงเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 - 9 (Redmond et al., 2015) (5) การเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเล การเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลในแต่ละ พื้นที่มีอัตราที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะธรณีแปรสัณฐาน ธารน้ำแข็ง และลักษณะธรณีสัณฐาน ของท้องทะเล (สิน สินสกุล และคณะ, 2546) โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ • การเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลในระยะสั้น (Short-term sea level fluctuations) เป็นการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลเพียงชั่วคราว เนื่องมาจากการกระทำของ สภาพภูมิอากาศ กระบวนการชายฝั่ง หรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยส่งผลกระทบอย่างรุนแรง ต่อชายฝั่งก่อให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่งได้ อาทิเช่น คลื่นพายุซัดฝั่ง (storm surge) การเกิดน้ำขึ้น น้ำลง และแผ่นดินไหวใต้ทะเลซึ่งก่อให้เกิดคลื่นสึนามิ เป็นต้น (สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์, 2554) • การเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลในระยะยาว (Long-term sea level changes) เป็นปรากฏการณ์ของการวิวัฒนาการชายฝั่งที่เกิดขึ้นมาอย่างช้า ๆ ต่อเนื่องตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน สืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์, 2554) ซึ่งส่งผลทำให้ระดับน้ำทะเลทั่วโลกมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากการขยายตัวของน้ำในมหาสมุทร และการละลายของน้ำแข็งจากธารน้ำแข็ง (กรมทรัพยากรธรณี, 2556) โดยตั้งแต่ช่วงกลางศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา พบว่า ระดับน้ำทะเลโลกมีการเพิ่มขึ้นประมาณ 20 เซนติเมตร (Douglas, 2001) ซึ่งการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลในระยะยาวส่งผลกระทบทำให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่งอย่างรุนแรง ในหลายพื้นที่และก่อให้เกิดการสูญเสียแผ่นดิน ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมไปถึงก่อให้เกิดความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจสังคมของมนุษย์อีกด้วย (Roy et al., 2021) โดยมีการคาดการณ์ว่าภายใต้สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปัจจุบัน ในช่วง 50 ปี ข้างหน้า เกือบร้อยละ 30 ของแหล่งที่อยู่อาศัยภายในระยะ 200 เมตรจากชายฝั่งทะเลอาจได้รับ


Click to View FlipBook Version