คำนำ
รายงานประจำปี 2563 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลที่สำคัญตามนโยบายการดำเนินงานสาธารณสุข และผลการดำเนินงาน
ตามแผนงาน/โครงการ ประจำปีงบประมาณ 2563 ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี โดยการรวบรวม
เรียบเรียง และวิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามนโยบายที่สำคัญของกระทรวงสาธารณสุข ผลการดำเนินงาน
ตามยุทธศาสตร์และผลงานเด่น รวมทั้งวิเคราะห์ปัญหาสาธารณสุข สถานะสุขภาพ ตลอดจนสรุปปัญหา
อุปสรรค และข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนาการดำเนินงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ราชบุรี ประจำปี
งบประมาณ 2563
การจัดทำรายงานประจำปีเล่มนี้ สำเร็จได้โดยได้รับความร่วมมือด้วยดีจากกลุ่มงานทุกกลุ่ม
งานของสำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดราชบุรี จึงขอขอบพระคุณไว้ ณ ที่นี้ด้วย และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่ารายงาน
ประจำปี 2563 เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับและห น่วยงานท่ี
เกี่ยวข้อง ในการนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการพัฒนางานสาธารณสุขให้เกิดผลที่ดีต่อสุขภาพอน ามัย และ
คุณภาพชีวิตของประชาชนในจังหวัดราชบุรีให้ดียิ่งขึ้น พร้อมกันนี้ทางคณะผู้จัดทำยินดีน้อมรับคำติชมและ
ข้อเสนอแนะสำหรบั ใช้ในการปรบั ปรุงแก้ไขเพ่ือให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ต่อไป
กลมุ่ งานพฒั นายทุ ธศาสตรส์ าธารณสุข
สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ราชบรุ ี
สารบญั หนา้
เร่ือง 1
5
ขอ้ มูลท่ัวไปและข้อมูลสถานะสขุ ภาพ 8
ขอ้ มูลท่วั ไปจังหวัดราชบุรี 11
ข้อมูลประชากร
ขอ้ มลู ทรัพยากรสาธารณสขุ 18
ขอ้ มลู สถานะสุขภาพ 23
26
แผนยุทธศาสตร์สาธารณสขุ จงั หวัดราชบุรี ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2562 – 2565 27
- โครงสร้างการบรหิ ารงานสำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ราชบุรี 33
- วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์
- แผนที่ยุทธศาสตร์การพฒั นาสาธารณสขุ จังหวดั ราชบุรี 42
- สรุปผลงานตามตัวชี้วดั แผนยุทธศาสตร์ ปี 2563 44
- สรุปผลงานตามตวั ชวี้ ดั PA/KPI กระทรวงสาธารณสุข ปี 2563
45
โครงการในพระราชดำริ
- หนว่ ยแพทย์อาสาสมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) 47
- โครงการ ราชทัณฑ์ปนั สุข ทำความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ จงั หวัดราชบรุ ี
(ด้านทันตกรรม) 48
- โครงการฝกึ อบรม การเลยี้ งดูและการดูแลสขุ ภาพช่องปากเด็ก สำหรับผู้ปกครอง
และผดู้ แู ลเดก็ อายุ 3-5 ปี จังหวัดราชบุรี ปี 2563 (มลู นธิ ิ พอ.สว.) 62
- กิจกรรมรณรงค์ “ฟันสะอาด เหงือกแข็งแรงฯ เพ่ือถวายเป็นพระราชกุศล 75
เน่ืองในวนั คลา้ ยวนั เสดจ็ สวรรคต สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี 79
18 กรกฎาคม 2563 83
- โครงการรณรงคป์ ้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (To be Number one) จังหวัดราชบุรี 84
ผลการดำเนนิ งาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 88
1. กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 90
การดำเนนิ งานส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 92
- กลมุ่ สตรแี ละเด็กปฐมวยั
- กล่มุ วยั เรียน
- กลมุ่ วยั รนุ่
- กลมุ่ วัยทำงาน
- กลุ่มผ้สู งู อายุและผู้พิการ
2. กลุ่มงานทนั ตสาธารณสขุ
- ผลการดำเนนิ งานสง่ เสรมิ ป้องกนั ทนั ตสขุ ภาพในกลุ่มหญิงต้ังครรภ์
- ผลการดำเนนิ งานสง่ เสริมป้องกนั ทนั ตสขุ ภาพในกลุ่มเด็กอายุ 0-2 ปี
- ผลการดำเนินงานสง่ เสริมป้องกนั ทันตสุขภาพในกล่มุ เด็กอายุ 3-5 ปี
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
- ผลการดำเนินงานสง่ เสริมป้องกันทันตสขุ ภาพในกลุ่มเดก็ วัยเรยี นอายุ 6-12 ปี 93
- ผลการดำเนินงานส่งเสรมิ ป้องกนั ทันตสขุ ภาพในกลุม่ วยั ทำงานและโรคไมต่ ดิ ต่อเร้อื รงั 95
- ผลการดำเนินงานสง่ เสริมป้องกนั ทันตสขุ ภาพในกลมุ่ ผสู้ งู อายุ 97
- การจัดบริการสุขภาพชอ่ งปากทมี่ ีคณุ ภาพ ร้อยละของ รพ.สต./ศสม. ท่ีใหบ้ ริการ 98
สุขภาพช่องปากทมี่ ีคุณภาพ
3. กลมุ่ งานควบคุมโรคไมต่ ดิ ตอ่ สขุ ภาพจิต และยาเสพติด
- การดำเนินงานป้องกันควบคมุ โรคไมต่ ดิ ต่อ 101
- งานป้องกนั และควบคมุ โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สูง 108
- สถานีตรวจสุขภาพ (HCP) และศนู ย์ปรับพฤติกรรมเสย่ี ง (DPACrb Ketogenic Diet) 109
ป้องกนั โรคไม่ตดิ ต่อ
- โครงการควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อเร้ือรงั ตามโปรแกรม DPACrb Ketogenic Diet 112
- ผลการดำเนินงานสขุ ภาพจิตและจิตเวช 118
4. กลมุ่ งานคุ้มครองผบู้ ริโภค และเภสชั สาธารณสุข
- ข้อมูลท่วั ไป สถานประกอบการด้านยา สถานพยาบาลเอกชน สถานท่ผี ลิตอาหาร 121
นำเข้าอาหาร สถานประกอบการเพ่ือสขุ ภาพ สถานประกอบการที่เกี่ยวกบั ผลติ ภณั ฑ์
สขุ ภาพประเภทอน่ื ๆ
- ผลการดำเนินงานตามขอบเขตภารกิจ 123
- งานกำกับตรวจสอบผลติ ภัณฑ์และบริการสขุ ภาพกอ่ นออกสู่ทอ้ งตลาด 124
(Pre-marketing control)
- งานกำกบั ตรวจสอบผลิตภัณฑแ์ ละบริการสขุ ภาพหลงั ออกส่ทู อ้ งตลาด 126
(Post-marketing control)
- โรงพยาบาลอาหารปลอดภัย 132
- นมโรงเรยี น ปี 2563 134
- การดำเนนิ การดา้ นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 (กญั ชา) 135
5. กลุ่มงานอนามยั ส่ิงแวดล้อมและอาชวี อนามัย
- การดำเนินงานพัฒนาอนามยั สงิ่ แวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital 137
- การดำเนินงานพัฒนาอนามยั สิง่ แวดลอ้ มได้ตามเกณฑก์ ารประเมนิ รบั รองคุณภาพ 139
ระบบบริการอนามยั สงิ่ แวดลอ้ มองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น (EHA) ปี 2563
- การแก้ไขปญั หาเหตรุ ้องเรียนตามพระราชบญั ญตั ิการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 141
- การดำเนนิ งานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 143
- งานดแู ล เฝ้าระวงั ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคและภยั สุขภาพจากมลพษิ สงิ่ แวดล้อม 145
- การดำเนนิ งานมาตรฐานการจัดบริการอาชวี อนามยั และเวชกรรมส่ิงแวดล้อม 149
ในสถานบริการสาธารณสุข
6. กลมุ่ งานการแพทยแ์ ผนไทย และการแพทย์ทางเลือก
- งานคุ้มครองภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย 152
1. สำรวจหมอพื้นบ้าน จังหวดั ราชบุรี
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
2. การขึน้ ทะเบียนภมู ปิ ญั ญา/การรับรองหมอพนื้ บ้าน 158
3. สำรวจ รวบรวม และบนั ทกึ ขอ้ มลู ตำรับ-ตำราทางการแพทยแ์ ผนไทย
4. ส่งเสรมิ การใชส้ มนุ ไพรและศาสตร์การแพทย์แผนไทย 160
162
- งานพัฒนาและสง่ เสรมิ บรกิ ารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
167
1. การประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การแพทยแ์ ผนไทย
และการแพทยผ์ สมผสาน 174
177
- งานพฒั นาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ผนไทย 191
- งานกญั ชาทางการแพทย์แผนไทย 195
203
1. จัดบริการคลนิ ิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย 206
2. การจดั บรกิ ารคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนปจั จุบันและแผนไทย
209
- งานคลนิ กิ แพทย์แผนไทย 211
1. ตรวจรักษาตามมาตรฐานวชิ าชีพการแพทย์แผนไทย 213
7. กลุ่มงานพัฒนาระบบบริการและการแพทยฉ์ กุ เฉิน 215
217
- งานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉนิ
- การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาอุบัตเิ หตทุ างถนน 220
- ระบบรบั /ส่งตอ่ ผ้ปู ว่ ย 223
- การพฒั นาระบบบริการ (Service Plan)
- งานบรหิ ารจดั การภัยพบิ ัติ 225
- งานเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั เด็กจมน้ำ 226
8. กลุ่มงานพัฒนาคณุ ภาพ
- การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพหนว่ ยบริการ 227
- การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ 231
ตามพระราชบญั ญตั ิระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562
- การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ (PMQA)
- งานจริยธรรมการวิจัยเก่ยี วกับมนษุ ย์
- การพฒั นาคุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลตามเกณฑ์
(รพ.สต.ติดดาว)
- สรปุ ผลการดำเนนิ งานการพัฒนาคุณภาพชีวติ ระดับอำเภอ (พชอ.)
- การดำเนนิ งานสุขภาพภาคประชาชน
9. กลมุ่ งานประกนั สขุ ภาพ
- งานข้นึ ทะเบียนหน่วยบรกิ ารและเครือขา่ ยหนว่ ยบริการ
- การเข้าถึงบรกิ ารของประชาชน
(ความครอบคลมุ การมีหลักประกันสขุ ภาพถว้ นหน้า)
- การพฒั นาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารการเงินการคลังของหน่วยบริการ
- การรบั เร่ืองราวร้องเรียน รอ้ งทุกข์และการดำเนนิ งาน
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ตามมาตรา 41 แหง่ พรบ.หลักประกนั สขุ ภาพ 234
- กองทนุ หลักประกันสุขภาพในระดบั ท้องถิ่นหรือพ้ืนที่ 238
- การขนึ้ ทะเบียนแรงงานตา่ งด้าว
10. กลมุ่ งานบริหารทรัพยากรบุคคล 241
- สรปุ ผลการดำเนนิ งานบริหารทรพั ยากรบุคคล 244
- อตั ราการคงอยขู่ องบุคลากรสาธารณสขุ (Retention rate) 245
- การดำเนนิ งานองค์กรแหง่ ความสุข (Happy Organization)
11. กลมุ่ กฎหมาย 248
- การให้คำปรึกษาและความเหน็ ทางกฎหมาย 249
- งานนติ กิ รรมสัญญาและการบริหารสญั ญา 250
- การดำเนนิ การทางวินัย 251
- การบงั คับใชก้ ฎหมาย 252
- การดำเนนิ คดอี าญา คดแี พง่ และคดปี กครอง 253
- งานความรบั ผิดทางละเมดิ 254
- การประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส (ITA)
12. กล่มุ งานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข 257
- งานศูนย์ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือการจดั การข้อมลู สขุ ภาพ 259
- การดำเนนิ งาน Digital Transformation เพอื่ ก้าวสู่การเป็น Smart Hospital
13. กลุม่ งานบริหารท่วั ไป 265
- สรปุ ผลการดำเนินงาน กลุ่มงานบริหารทว่ั ไป
14. กลมุ่ งานควบคุมโรคตดิ ต่อ 272
- การป้องกันควบคุมวณั โรคจงั หวัดราชบุรี 274
ภาคผนวก
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ข้อมูลทว่ั ไปและขอ้ มูลสถานะสขุ ภาพ
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 1
ข้อมูลท่วั ไปจังหวัดราชบุรี
ประวตั ิความเป็นมาจงั หวัดราชบุรี
"จังหวัดราชบุรี" มีชื่ออันเป็นมงคลยิ่ง หมายถึง “เมือง
พระราชา” เป็นเมืองเก่าแก่ เมืองหนึ่งของประเทศไทย จากการศึกษาและ
ขุดค้นของนักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี พบว่า ดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำ
แม่กลองแห่งนี้เป็นถิ่นฐานที่อยู่อาศัยของคนหลายยุคหลายสมัย และมี
ความรุ่งเรืองมาตั้งแต่อดีต จากหลักฐานทางโบราณสถานและโบราณวัตถุ
จำนวนมาก ทำให้เชื่อได้ว่ามีผู้คนตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้ตั้งแต่ยุคหินกลาง
ตลอดจนได้ค้นพบเมอื งโบราณสมัยทวารวดที ่ีตำบลคบู วั อำเภอเมืองราชบรุ ี
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์
แห่งราชวงศ์จักรี ได้เคยดำรงตำแหน่งหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรีในสมัย
กรงุ ศรอี ยุธยาตอนปลาย ซึง่ ในช่วงปลายสมัย กรุงศรีอยธุ ยาและตอนตน้ กรุง
ด่านท่ีสำคัญเป็นสมรภูมิการรบหลายสมัย โดยเฉพาะในสมยั สมเดจ็ พระพุทธยอด
ฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ยกทัพมาตั้งรับศึกพม่าในเขตราชบุรีหลายครั้ง ครั้งท่ี
สำคัญที่สุด คือ สงครามเก้าทพั
ต่อมา พ.ศ. 2360 ในสมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างกำแพงเมือง
ใหม่ทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำแม่กลองตลอดมาจนถึงปัจจุบัน ครั้นถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ใน พ.ศ.2437 ไดท้ รงเปล่ยี นการปกครองส่วนภูมภิ าค โดยรวมหวั เมืองตา่ งๆ ที่อยูใ่ กล้ชดิ กันตงั้ ข้นึ เป็นมณฑล และ
ได้รวมเมืองราชบุรี เมืองกาญจนบุรี เมืองสมุทรสงคราม เมืองเพชรบุรี เมืองปราณบุรี เมืองประจวบคีรีขันธ์
รวม 6 เมือง ตั้งขึ้นเป็นมณฑลราชบุรี โดยตั้งที่บัญชาการมณฑล ณ เมืองราชบุรี ทางฝั่งขวาของแม่น้ำแม่กลอง
(ต่อมาเป็นทีต่ ั้งของศาลากลางจังหวัดราชบุรีหลงั เก่าและในปัจจบุ ันเป็นทีต่ ้ังของพพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติราชบุร)ี
และในปี พ.ศ. 2440 ได้ย้ายที่บัญชาการจากฝั่งซ้ายกลับมาตั้งรวมอยู่แห่งเดียวกับศาลาว่าการมณฑลราชบุรีทาง
ฝ่ังขวาของแม่นำ้ แม่กลอง จนถึง พ.ศ. 2476 เมอ่ื ได้มกี ารยกเลิกการปกครองแบบมณฑลท้งั หมด มณฑลราชบุรีจึง
ถกู ยกเลิกและคงฐานะเปน็ "จังหวดั ราชบรุ "ี จนถงึ ปจั จุบัน
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 2
ตราประจำจงั หวัดราชบรุ ี
รปู เครอ่ื งราชกกธุ ภัณฑ์ของพระมหากษัตริย์ 2 สิ่ง
คอื พระแสงขรรคช์ ยั ศรี ประดษิ ฐานอยบู่ นบันไดแกว้ และฉลองพระบาทค่ปู ระดิษฐานอยูบ่ นพานทอง
หมายถึง เคร่ืองแสดงถึงความเป็นพระเจ้าแผน่ ดนิ
ดอกไมป้ ระจำจังหวดั ราชบรุ ี ตน้ ไมป้ ระจำจังหวดั ราชบรุ ี
ชื่อดอกไม้ ดอกกลั ปพฤกษ์ ชื่อพรรณไม้ โมกมนั
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Cassia bakeriana Craib ช่ือวิทยาศาสตร์ Wrightiatomentosa
คำขวัญประจำจังหวัดราชบรุ ี
“คนสวยโพธาราม คนงามบา้ นโป่ง เมืองโอ่งมงั กร วัดขนอนหนังใหญ่
ต่ืนใจถำ้ งาม ตลาดน้ำดำเนิน เพลินคา้ งคาวร้อยลา้ น ยา่ นยีสกปลาดี”
ทีต่ ้ังและอาณาเขต
จังหวัดราชบรุ ีตั้งอยู่ในภาคกลางดา้ นทิศตะวนั ตก มีพื้นที่ชายแดนติดกับสาธารณรฐั แห่งสหภาพ
เมียนมาร์ โดยมเี ทือกเขาตะนาวศรเี ปน็ แนวพรมแดนสันปันนำ้ ระยะความยาว 73 กโิ ลเมตร จังหวดั ราชบุรอี ยหู่ ่าง
จาก กรุงเทพมหานครประมาณ 100 กิโลเมตร มีแม่น้ำแม่กลองเป็นแม่น้ำสายหลักไหลผ่านในเขตจังหวัดราชบุรี
ประมาณ 67 กิโลเมตร มีพื้นที่ 5,196.462 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,247,789 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.27 ของเนื้อที่
ภาคตะวนั ตก 8 จังหวดั โดยมอี าณาเขตติดตอ่ ดงั นี้
ทิศเหนือ ติดตอ่ กับจังหวัดกาญจนบุรี
ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับจงั หวดั เพชรบุรี
ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกับจังหวดั นครปฐม สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม
ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 3
แผนที่จงั หวดั ราชบุรี
ภมู ิประเทศ
ลักษณะภูมปิ ระเทศของจงั หวดั ราชบรุ ี แบง่ ไดเ้ ป็น 4 ลกั ษณะ คอื
1. พ้นื ท่ีภเู ขาสงู ไดแ้ ก่ บริเวณเขตแดนด้านทิศตะวันตกตดิ กับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
และเขตแดนด้านทิศใต้ ติดกับจังหวัดเพชรบรุ ี มีสภาพเป็นเทือกเขาสูง อุดมด้วยป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง
และป่าไผ่ ความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ตั้งแต่ 200 เมตร ถึง 1,100 เมตร สภาพเนื้อดินค่อนข้างเป็นดิน
ทราย มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ มีปฏิกิริยาเป็นกรด ดินอุ้มน้ำได้น้อย อยู่ในเขตพื้นที่ อำเภอสวนผึ้ง อำเภอบ้านคา
และดา้ นทศิ ตะวนั ตกของอำเภอปากท่อ
2. พื้นที่ราบสูง ได้แก่ บริเวณถัดจากเทือกเขามาทางด้านทิศตะวันออก จนถึงตอนกลางของ
พ้ืนที่ จังหวดั มลี ักษณะเป็นทรี่ าบสูงและเป็นลอนลาด มแี ม่น้ำภาชี และลำห้วยสาขาเปน็ สายน้ำหลกั สภาพดินเปน็
ดนิ รว่ นปนทราย มีการชะลา้ งพังทลายของหนา้ ดินค่อนข้างสูง สภาพเหมาะกับการปลูกพืชไร่และไม้ผล อยู่ในเขต
พื้นที่อำเภอสวนผึ้ง อำเภอบ้านคา อำเภอจอมบึง และด้านทิศตะวันตกของอำเภอปากท่อ อำเภอเมืองราชบุรี
อำเภอ โพธาราม และอำเภอบ้านโปง่
3. พื้นที่ราบลุ่ม ได้แก่ บริเวณสองฝั่งแม่น้ำแม่กลอง และด้านทิศตะวันออกของจังหวัด มีความ
อุดมสมบรู ณ์ค่อนขา้ งดี มีระบบชลประทานแมก่ ลองท่ีเป็นระบบชลประทานขนาดใหญ่ สภาพดนิ เปน็ ดินรว่ น และ
ดินร่วนปนเหนียว เหมาะแก่การปลูกข้าวและพืชผัก อยู่ในเขตอำเภอจอมบึง อำเภอปากท่อ อำเภอเมืองราชบุรี
อำเภอบางแพ อำเภอโพธาราม และอำเภอบ้านโป่ง
4. พื้นท่ีราบลุ่มตำ่ ไดแ้ ก่ บรเิ วณทิศตะวันออกของจังหวัด บริเวณตอนปลายของแม่น้ำแม่กลอง
ที่เชื่อมต่อกับจังหวัดสมุทรสงคราม เป็นที่ราบลุ่ม มีลำคลองและคูน้ำที่เชื่อมต่อกับแม่น้ำแม่กลอง อยู่สูงจาก
ระดับน้ำทะเลปานกลาง 1-2 เมตร สภาพดินค่อนข้างเป็นเนื้อดินเหนียว ระบายน้ำเลว มีความอุดมสมบูรณ์ตาม
ธรรมชาติปานกลางถึงสูง ใช้ทำนา และยกร่องเพื่อปลูกพืชสวนและพืชผัก อยู่ในเขตอำเภอวัดเพลง และอำเภอ
ดำเนนิ สะดวก
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 4
ภูมอิ ากาศ
จงั หวัดราชบรุ ตี ้ังอยู่ในเขตท่ไี ด้รับอทิ ธิพลจากมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้ สามารถแบ่งได้ 3 ฤดู ดงั น้ี
1. ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคมช่วงนี้ได้รับอิทธิพลจากลม
ตะวันออกและลมฝ่ายใต้พัดผ่านทำให้มีอากาศร้อนอบอ้าวทั่วไป อาจมีพายุฤดูร้อนเกิดขึ้นในช่วงเดือนมีนาคมถึง
เดือนเมษายน
2. ฤดฝู น แบง่ ออกเปน็ 2 ช่วงได้แก่
- ช่วงแรก ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคมช่วงนี้ได้รับอิทธิพลจากมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดเอาความชื้นจากมหาสมุทรอินเดียและทะเลอันดามัน แต่เนื่องจากมีเทือกเขาตะนาวศรี
กน้ั อยู่ จึงทำใหพ้ ้นื ท่ีติดเทือกเขาไดร้ บั ปริมาณฝนไม่มากนัก สว่ นใหญจ่ ะถูกพดั เลยไปตกแถบลุ่มน้ำแม่กลองและ
ด้านตะวนั ออกของจงั หวัด
- ช่วงที่สอง ประมาณเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน ช่วงนี้ไดร้ บั อทิ ธิพลจากร่องมรสุมท่ี
เลื่อนลงมาจากทางภาคเหนือมาปะทะแนวเทือกเขาตะนาวศรี ทำให้มีฝนตกชุกและตกหนักแถบอำเภอสวนผ้ึง
บ้านคา จอมบงึ และอำเภอโพธาราม ทำใหเ้ กิดอทุ กภัยและน้ำปา่ ไหลหลากจากเทือกเขาเป็นประจำทุกปี
3. ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ มีอากาศหนาวเย็น
เนื่องจากได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดนำเอาความหนาวเย็นและแห้งมาปกคลุม ทำให้
พืน้ ที่ตามเชงิ เขา หบุ เขาแถบอำเภอสวนผ้ึง บา้ นคา จอมบึง และอำเภอปากท่อ มีอากาศหนาวถงึ หนาวจัดทุกปี
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 5
ขอ้ มลู ประชากรจงั หวดั ราชบรุ ี
โครงสรา้ งประชากรจังหวดั ราชบรุ ี จำแนกตามเพศและวัย ปี พ.ศ. 2559-2563
อายุ
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 6
ตารางที่ 1 : จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามเพศและกล่มุ อายุ จังหวดั ราชบุรี ปี พ.ศ. 2563
กลุม่ อายุ จำนวนประชากร
ต่ำกว่า 1 ปี ชาย (คน) ร้อยละ หญิง (คน) ร้อยละ รวม (คน) รอ้ ยละ
1-4 ปี 3,707 0.87 3,443 0.77 7,150 0.82
5-9 ปี 18,313 4.30 35,196 4.03
10-14 ปี 25,811 6.07 16,883 3.77 50,415 5.77
15-19 ปี 26,277 6.17 51,101 5.85
20-24 ปี 26,703 6.27 24,604 5.50 52,513 6.01
25-29 ปี 31,939 7.51 60,893 6.97
30-34 ปี 31,968 7.51 24,824 5.55 62,155 7.12
35-39 ปี 29,546 6.94 58,315 6.68
40-44 ปี 32,501 7.64 25,810 5.77 64,281 7.36
45-49 ปี 33,656 7.91 66,964 7.67
50-54 ปี 32,853 7.72 28,954 6.47 67,584 7.74
55-59 ปี 31,076 7.30 65,825 7.54
60-64 ปี 28,768 6.76 30,187 6.74 62,812 7.19
65-69 ปี 23,310 5.48 51,805 5.93
70-74 ปี 18,585 4.37 28,769 6.43 41,819 4.79
75-79 ปี 12,246 2.88 28,401 3.25
80-84 ปี 7,955 1.87 31,780 7.10 18,977 2.17
85-89 ปี 5,703 1.34 14,342 1.64
90-94 ปี 2,954 0.69 33,308 7.44 7,991 0.92
95-99 ปี 1,148 0.27 3,334 0.38
384 0.09 34,731 7.76 976 0.11
100 ปีขนึ้ ไป 151 0.04 363 0.04
ไม่ทราบอายุ 0 0.00 34,749 7.76 0 0.00
425,554 100.00 873,212 100.00
รวม 34,044 7.60
28,495 6.37
23,234 5.19
16,155 3.61
11,022 2.46
8,639 1.93
5,037 1.13
2,186 0.49
592 0.13
212 0.05
0 0.00
447,658 100.00
ที่มา : ศูนยบ์ รหิ ารการทะเบยี นภาค 7 สาขาจังหวัดราชบุรี ณ วันท่ี 1 กรกฎาคม 2563
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 7
ตารางท่ี 2 : จำนวนประชากรจำแนกตามเพศ กลุม่ อายุ รายอำเภอ จังหวดั ราชบุรี ปี พ.ศ. 2563
อำเภอ จำนวนประชากรจำแนกตามกลมุ่ อายุ (ป)ี
เมอื งราชบรุ ี ต่ำกว่า 1 1-4 5-9 10 - 14 15 - 19 20 - 24 25 - 29 30 - 34 35 - 39
บ้านโปง่
โพธาราม 1,601 8,088 11,362 11,426 11,844 16,318 14,611 13,211 14,375
ดำเนนิ สะดวก 1,352 6,505 9,485 9,931 10,392 11,642 12,332 11,296 12,653
จอมบึง 1,019 5,252 7,424 7,715 8,172 8,857 9,575 9,034 10,301
บางแพ 3,363 4,567 5,066 5,256 5,880 6,477 6,437 6,698
ปากทอ่ 743 2,839 4,062 4,132 4,067 4,487 4,593 4,477 4,852
วดั เพลง 622 1,497 2,140 2,462 2,663 3,043 3,183 2,849 3,117
สวนผึ้ง 302 2,770 3,868 4,061 3,994 4,496 4,850 4,480 4,836
บ้านคา 569
75 388 593 591 600 723 847 732 811
รวม 661 3,418 5,390 4,070 3,835 3,754 3,963 4,183 4,504
206 1,076 1,524 1,647 1,690 1,693 1,724 1,616 2,134
7,150 35,196 50,415 51,101 52,513 60,893 62,155 58,315 64,281
จำนวนประชากรจำแนกตามกลมุ่ อายุ (ป)ี 80 ปี
อำเภอ 40 - 44 45 - 49 50 - 54 55 - 59 60 - 64 65 - 69 70 - 74 75 - 79 ข้ึนไป
6,350
เมอื งราชบุรี 14,853 14,965 15,146 14,856 12,680 10,075 6,676 4,368
5,768 3,885 5,428
บา้ นโปง่ 13,493 13,861 13,274 12,496 10,207 8,554 4,704 3,166 4,489
3,342 2,307 3,503
โพธาราม 10,592 10,803 10,025 10,309 8,434 6,829 1,819 1,196 1,485
1,685 1,151 1,715
ดำเนนิ สะดวก 6,894 6,730 7,236 7,248 5,981 4,745 2,213 1,470 2,147
จอมบงึ 5,065 5,229 4,895 4,404 3,495 2,794 489 371 548
992 608 800
บางแพ 3,274 3,480 3,600 3,418 2,747 2,339 713 455 541
28,401 18,977 27,006
ปากท่อ 5,191 5,434 5,453 4,879 4,111 3,217
วดั เพลง 861 1,000 1,084 1,017 806 641
สวนผึ้ง 4,419 3,914 3,234 2,579 2,077 1,528
บา้ นคา 2,322 2,168 1,878 1,606 1,267 1,097
รวม 66,964 67,584 65,825 62,812 51,805 41,819
ทีม่ า : ศนู ยบ์ ริหารการทะเบยี นภาค 7 สาขาจังหวดั ราชบุรี ณ วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2563
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 8
ขอ้ มูลทรพั ยากรสาธารณสขุ จังหวัดราชบรุ ี
ขอ้ มูลหน่วยบรกิ ารสาธารณสุขภาครัฐจงั หวดั ราชบรุ ี ปี 2563
ตารางที่ 3 : การจดั ระดบั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ จงั หวัดราชบรุ ี ตามแผนพฒั นาระบบสาธารณสุข
สว่ นภูมภิ าค
ระดับสถานบริการ
ระดับ A ระดบั S ระดับ M ระดับ F
(Advance & (Standard Level (Mid-Level (First Level Referal Hostital)
Sophisticate Referal Hostital) Referal Hostital)
Technology M1 M2 F1 F2 F3
รพ.ราชบุรี รพ.บ้านโปง่ - รพ.โพธาราม รพร.จอม -รพ.ปากท่อ รพ.บา้ นคา
- รพ.ดำเนนิ ฯ บงึ -รพ.บางแพ
-รพ.เจด็ เสมียน
- รพ.สวนผึ้ง
-รพ.วัดเพลง
1 แหง่ 1 แหง่ 2 แหง่ - 1 แห่ง 5 แหง่ 1 แห่ง
ทม่ี า : ข้อมูลการจดั ระดบั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ตามแผนพัฒนาระบบสาธารณสุขส่วนภมู ิภาค
ลำดับ โรงพยาบาล ประเภท รพ. จำนวนเตียง จำนวนเตียง
ตาม คิดตามกรอบ ของ รพ.
1 ราชบุรี ท่เี ปิดบริการจรงิ (เตียง)
2 บ้านโปง่ Service plan (เตยี ง)
3 โพธาราม 855
4 ดำเนินฯ A 855 350
5 ปากท่อ S 420 340
6 จอมบงึ M1 340 272
7 สวนผงึ้ M1 304 60
8 บางแพ F2 60 60
9 เจด็ เสมยี น F1 60 60
10 วดั เพลง F2 60 48
11 บา้ นคา F2 60 34
F2 30 38
รวม F2 30 30
F3 30 2,147
2,249
ทม่ี า : ข้อมูลจากกลุ่มงานพัฒนายทุ ธศาสตร์สาธารณสขุ สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ราชบรุ ี
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 9
ตารางที่ 5 : จำนวนสถานบรกิ ารสาธารณสุขในพ้นื ที่จังหวดั ราชบรุ ี
ลำดับ อำเภอ รพศ. รพท. รพช. ศสม. รพสต. รพสต. รวม
(ถา่ ยโอน)
29
1 เมอื งราชบรุ ี 1 0 0 2 25 1 17
10
2 จอมบงึ 0 0 1 1 14 1 21
26
3 สวนผงึ้ 0 0 1 0 9 0 10
31
4 ดำเนินสะดวก 0 1 0 1 19 0 19
5
5 บ้านโปง่ 0 1 0 1 24 0 10
178
6 บางแพ 0 0 1 0 9 0
7 โพธาราม 0 1 1 0 27 2
8 ปากท่อ 0 0 1 0 18 0
9 วัดเพลง 0 0 1 0 4 0
10 บ้านคา 00 1 0 9 0
รวม 13 7 5 158 4
หมายเหตุ รพสต.(ถา่ ยโอน) ไดแ้ ก่ อ.เมือง - รพ.สต.หลมุ ดนิ
อ.จอมบงึ – รพ.สต.บา้ นโกรกสงิ ขร,
อ.โพธาราม – รพ.สต.บ้านฆอ้ ง และ รพ.สต.บ้านเกา่
ที่มา : ขอ้ มูลจากกลมุ่ งานพฒั นายุทธศาสตร์สาธารณสขุ สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ราชบุรี
ข้อมลู บคุ ลากรสุขภาพ
ตารางที่ 6 : จำนวนบคุ ลากรในสายงานหลัก ได้แก่ แพทย์ ทนั ตแพทย์ เภสัชกรและพยาบาลวิชาชพี ดังน้ี
ประเภท รฐั บาล เอกชน กระทรวง รวม อัตราสว่ น อตั ราส่วนต่อประชากร
อืน่ ๆ มาตรฐานตอ่ ทะเบียนราษฎร์
ประชากร
แพทย์ 448 163 4 615 1 : 5000 1 : 1,420
ทนั ตแพทย์ 97 0 1 98 1 : 8000 1 : 8,910
เภสัชกร 349 29 1 379 1 : 10,000 1 : 2,304
พยาบาลวิชาชีพ/เทคนิค 1,938 260 12 2,210 1 : 2,500 1 : 395
นวก./จพ.สาธารณสขุ 551 1 0 552 1 : 1,250 1 : 1,582
เจา้ พนักงานทันตสาธารณสุข 90 0 0 90 1 : 8,000 1 : 9,702
ทมี่ า : กลมุ่ งานบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ราชบรุ ี ณ วันที่ 20 มกราคม 2564
ระบบ PIS MOPH และ ระบบสารสนเทศ GIS HEALTH
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 10
ตารางท่ี 7 : จำนวนสถานประกอบการในจงั หวัดราชบุรี จำแนกรายอำเภอ ปี พ.ศ. 2563
สถานประกอบการ เมือง บา้ น โพ ดำเนินฯ ปาก จอม สวน บาง วัด บา้ น รวม
โปง่ ธาราม ท่อ บงึ ผ้งึ แพ เพลง คา
ร้านขายยา
- ขายยาแผนปัจจุบนั 80 39 29 13 8 9 4 5 3 1 191
- ขายยาแผนปัจจบุ นั เฉพาะยา 11 6 4 9 0 2 2 6 1 3 44
บรรจุเสรจ็
- ขายยาบรรจเุ สรจ็ สำหรบั สัตว์ 1 6 5 9 1 2 1 0 0 0 14
- ขายยาแผนโบราณ 10 8 1 9 1 2 1 0 0 0 31
- ผลิตยาแผนโบราณ 13 2 2 4 0 1 0 1 0 0 23
- จำหนา่ ยซ่งึ ยาเสพตดิ 11 2 1 1 1 1 1 1 1 11
ประเภท 2
- จำหนา่ ยวัตถุออกฤทธิ์
ประเภท 2
- ใหม้ ไี ว้ครอบครองหรือใช้ 76 6 3 1 2 0 1 0 0 26
ประโยชน์ซ่งึ วัตถุออกฤทธิ์
ประเภท 3-4
สถานพยาบาลเอกชนที่มีเตียง
- โรงพยาบาล (มีเตยี ง) 32 0 1 0 0 0 0 0 06
สถานพยาบาลเอกชนทไ่ี มม่ ีเตยี ง
- คลนิ ิกเวชกรรม 58 39 15 14 2 2 1 1 2 0 134
- คลนิ ิกเวชกรรมเฉพาะทาง 20 4 2 1 0 0 0 0 0 0 27
- คลินิกทันตกรรม 28 19 8 4 0 1 0 1 0 0 61
- คลินิกการพยาบาลและการ 5 13 6 8 7 9 1 2 0 1 52
ผดงุ
- คลินิกการผดงุ ครรภ์ชัน้ สอง 0 0 0 0 0 0 0 0 0 00
- คลินิกแพทยแ์ ผนไทย 54 2 1 2 0 3 0 0 1 18
- คลินิกเทคนิคการแพทย์ 33 1 1 0 0 0 0 0 08
- สหคลนิ ิก 21 0 0 0 0 0 1 0 04
- คลนิ กิ กายภาพบำบดั 22 2 3 0 0 0 0 0 09
- คลนิ ิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ 0 3 1 1 0 0 1 0 0 06
สถานทีผ่ ลติ อาหาร(ไมร่ วมนำ้ บรโิ ภค)
-รวมทง้ั หมด 127 107 115 77 29 13 17 24 15 9 533
สถานทผี่ ลติ นำ้ บริโภค
-รวมทง้ั หมด 48 40 34 18 15 12 6 8 4 5 190
ทมี่ า : กลุม่ งานคมุ้ ครองผูบ้ ริโภคและเภสชั สาธารณสขุ สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ราชบรุ ี ณ วนั ที่ 20 มกราคม 2564
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 11
ขอ้ มลู สถานะสุขภาพ
อายคุ าดเฉลีย่
ตารางที่ 8 : อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (life expectancy at birth) จังหวัดราชบุรี เปรียบเทียบกับประเทศไทย ปี
พ.ศ. 2559 - 2563
จังหวัด/ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563
ประเทศ ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญงิ
ราชบุรี 70.90 80.42 70.86 79.26 70.94 79.22 73.15 81.49 74.15 82.21
ประเทศ 71.80 78.60 72.00 78.80 72.20 78.90 73.00 81.10 73.20 80.30
แหล่งขอ้ มูล: สถาบันวิจัยประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
พบว่าอายุขยั เฉลี่ยเมื่อแรกเกิดตงั้ แตป่ ี 2559 – 2563 เพศหญงิ มอี ายุขยั เฉลย่ี เม่ือแรกเกิดมากกว่าเพศชาย
สถิตชิ ีพ
ตารางท่ี 9 : ข้อมลู สถานะสุขภาพของประชากรจังหวดั ราชบรุ ปี ี พ.ศ. 2559 – 2563
สถานะ 2559 2560 2561 2562 2563
สขุ ภาพ จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อตั รา
เกดิ มชี พี 8,549 9.85 8,179 9.66 7,530 8.89 7,328 8.65 7,124 8.16
ตาย 6,864 7.91 6,556 7.75 5,565 6.57 6,942 8.19 7,085 8.11
มารดาตาย 0 0.00 2 24.70 1 13.31 1 13.69 1 14.04
ทารกตาย 64 7.52 43 5.26 31 4.12 40 5.46 31 4.35
อตั ราเพ่มิ 0.19 0.19 0.23 0.04 0.0045
ธรรมชาติ
หมายเหตุ : ขอ้ มลู การเกดิ -ตาย ปี 2559-2563
เกิดมชี ีพ : จำนวนเดก็ ทเี่ กิดในโรงพยาบาลภายในจังหวดั ราชบรุ ี
ทารกตาย : จำนวนทารกตายภายใน 7 วนั หลงั คลอด (ตายปริกำเนดิ )
วิเคราะหโ์ ดย : กลมุ่ งานพฒั นายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ราชบุรี
ประชากรกลางปี 2558 เทา่ กับ 837,216 อตั ราเกดิ = จำนวนเกดิ *1,000/จำนวนประชากรกลางปี
2559 เท่ากบั 867,908 อัตราตาย = จำนวนตาย * 1,000/จำนวนประชากรกลางปี
2560 เทา่ กับ 846,266 อัตรามารดาตาย =จำนวนมารดาตาย*100,000/จำนวนเกิดมีชีพ
2561 เทา่ กับ 847,429 อตั ราทารกตาย =จำนวนทารกตาย*1,000/จำนวนเกิดมีชีพ
อตั ราเพิม่ ธรรมชาติ=จำนวนเกดิ -จำนวนตาย*100/จำนวนประชากรกลางปี
2562 เทา่ กบั 847,633
2563 เทา่ กับ 873,212
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 12
สถานการณ์การเจบ็ ป่วยด้วยกลุม่ โรคทต่ี อ้ งเฝา้ ระวงั ทางระบาดวิทยา
การเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของประชาชนจังหวัดราชบุรี 10 ลำดับของ
ปี พ.ศ.2563 ได้แก่ Acute Diarrhea, Pneumonia, Pyrexia, Influenza, D.H.F.-total, Food poisoning,
Sexually Transmitted Disease, Hand, foot and mouth disease, Chickenpox, แ ล ะ Hemorrhagic
conjunctivitis ตามลำดับ จากการพิจารณา 10 ลำดับโรคทางระบาดวิทยาพบว่า โรคอุจาระร่วง มีอัตราป่วยตอ่
แสนประชากรสงู สดุ อย่างต่อเนอื่ ง
ตารางท่ี 10 : จำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝา้ ระวังทางระบาดวิทยา 10 ลำดบั แรก ปี 2562 – 2563
พ.ศ.2562 โรคเฝา้ ระวงั ทาง พ.ศ.2563
ลำดับ ระบาดวทิ ยา
ลำดบั โรคเฝ้าระวงั ทาง อตั รา จำนวน อัตรา
ระบาดวิทยา จำนวน ป่วย/ จำนวนป่วย(ราย) ป่วย ป่วย/แสน
ปว่ ย(ราย) แสน (ราย)
1 Diarrhea 10,702 1262.88 1 Diarrhea 10,217 1,170.05
2 Influenza 3,657 431.54 2 Pneumonia 1,541 176.47
3 Pyrexia 3,649 430.60 3 Pyrexia 1,396 159.87
4 D.H.F.-total 1,387 163.67 4 Influenza 1,291 147.84
5 Pneumonia 1,292 152.46 5 D.H.F.-total 1,024 117.27
6 Food poisoning 763 90.04 6 Food poisoning 685 78.45
7 Hand, foot and 572 67.50 7 S.T.D.total 430 49.24
mouth disease
8 H.conjunctivitis 531 62.66 8 Hand, foot and 321 36.76
mouth disease
9 Chickenpox 478 56.41 9 Chickenpox 306 35.04
10 S.T.D.total 412 48.62 10 H.conjunctivitis 248 28.40
ทีม่ า : กล่มุ งานควบคุมโรคติดตอ่ สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ราชบุรี
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 13
สาเหตุการตาย
เมื่อจำแนกตามบัญชีจำแนกโรคระหวา่ งประเทศ (ICD10) จังหวดั ราชบุรี ปี 2563 พบสาเหตุการ
เสียชีวิตจากกลุ่มโรคเนื้องอก (รวมมะเร็ง) มากที่สุด รองลงมาได้แก่กลุ่มโรคระบบไหลเวียนเลือด, โรคระบบ
ทางเดินหายใจ, กลุม่ โรคติดเชือ้ และปรสติ , และสาเหตภุ ายนอกของการป่วยและการตาย
ตารางที่ 11 : จำนวนและอัตราตายต่อประชากรแสนคน จำแนกตามกลุ่มสาเหตุการตาย (ICD10) จังหวัดราชบุรี
ปี 2562 – 2563
ปี 2562 กล่มุ โรค โรค ปี 2563
ลำดับ จำนวน อตั รา กล่มุ ลำดับ จำนวน อัตรา
1 1,148 135.44 เน้อื งอก (รวมมะเรง็ ) (C00-D48) 2 1 1,172 134.22
2 1,111 131.07 โรคระบบไหลเวียนโลหิต (I00-I99) 9 2 1,107 126.77
3 644 75.98 โรคระบบหายใจ (J00-J99) 10 4 575 65.85
4 688 81.17 กล่มุ โรคตดิ เช้อื และปรสติ (A00-B99) 13 788 90.24
5 529 62.41 สาเหตภุ ายนอกของการป่วยและการตาย (V01-Y89) 20 9 90 10.31
6 362 42.71 โรคระบบประสาท (G00-G99) 65 304 34.81
7 323 38.11 โรคระบบสบื พันธ์แุ ละปัสสาวะ (N00-N99) 14 6 298 34.13
8 261 30.79 โรคระบบย่อยอาหาร (K00-K93) 11 7 226 25.88
9 177 20.88 โรคต่อมไรท้ อ่ โภชนาการและเมตะบอลิซึม(E00-E90) 4 8 212 24.28
10 64 7.55 โรคของผิวหนังและเนอื้ เยอ่ื ใต้ผิวหนัง (L00-L99) 12 10 50 5.73
หมายเหตุ : ขอ้ มูลการตาย ปีงบประมาณ 2563
วิเคราะห์โดย : กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตรส์ าธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดราชบรุ ี
เมื่อพจิ ารณาสาเหตกุ ารตายแตล่ ะกลุ่มสาเหตุการตาย 5 อันดบั แรก พบสาเหตกุ ารตายดว้ ยโรคตา่ ง ๆ ดงั นี้
1. โรคเนื้องอก (รวมมะเรง็ )
ตารางท่ี 12 : จำนวนและอตั ราตายตอ่ ประชากรแสนคน จำแนกตามประเภท จังหวัดราชบุรี ปี 2563
โรค ลำดบั จำนวน อัตรา
เนือ้ งอกร้ายทห่ี ลอดลมหรอื ปอด (C349) 1 202 23.13
เนอ้ื งอกรา้ ยท่ตี ับและท่อน้ำดใี นตบั (C229,C240) 2 170 19.47
เนอ้ื งอกร้ายของเตา้ นม (C509) 3 68 7.79
เนื้องอกร้ายทล่ี ำไส้ใหญ่ (189) 4 67 7.67
เน้อื งอกร้ายท่ีลำไส้เลก็ (C260) 5 62 7.10
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 14
2. โรคระบบไหลเวยี นโลหิต
ตารางท่ี 13 : จำนวนและอัตราตายตอ่ ประชากรแสนคน จำแนกตามประเภท จังหวดั ราชบรุ ี ปี 2563
โรค ลำดบั จำนวน อตั รา
โรคหลอดเลอื ดในสมอง (I60-I69) 1 504 57.72
โรคหวั ใจขาดเลือด (I20-I25) 2 327 37.45
ความดันโลหติ สูง (I10-I15) 3 182 20.84
โรคหัวใจอืน่ ๆ (I30-I52) 4 59 6.76
โรคหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดฝอย (I70-I79) 5 23 2.63
3. โรคกล่มุ ตดิ เชื้อและปรสติ
ตารางท่ี 14 : จำนวนและอตั ราตายตอ่ ประชากรแสนคน จำแนกตามประเภท จงั หวดั ราชบรุ ี ปี 2563
โรค ลำดบั จำนวน อตั รา
ตดิ เชือ้ ในกระแสโลหิต (A419) 1 586 67.11
วัณโรค (A15-A19) 2 74 8.47
โรคติดเชือ้ อื่น B99 3 44 5.04
โรคภูมิคุม้ กันบกพร่องเนือ่ งจากไวรสั HIV (B20-B24) 4 39 4.47
การติดเช้อื แบคทเี รีย A499 5 10 1.15
4. โรคระบบทางเดนิ หายใจ
ตารางที่ 15 : จำนวนและอตั ราตายต่อประชากรแสนคน จำแนกตามประเภท จังหวดั ราชบรุ ี ปี 2563
โรค ลำดับ จำนวน อตั รา
ปอดบวม (J10-J18) 1 425 48.67
โรคเร้อื รังของระบบทางเดินหายใจ (J40-J47) 2 97 11.11
โรคอืน่ ๆ ของเยือ่ หมุ้ ปวด (J90-J94) 3 25 2.86
โรคอน่ื ๆ ของระบบทางเดนิ หายใจ (J95-J99) 4 11 1.26
โรคปอดมสี าเหตุจากภายนอก (J60-J70) 5 10 1.15
5. โรคระบบประสาท
ตารางที่ 16 : จำนวนและอัตราตายต่อประชากรแสนคน จำแนกตามประเภท จังหวดั ราชบุรี ปี 2563
โรค ลำดบั จำนวน อตั รา
โรคความเสือ่ มของระบบประสาท (G30-G32) 1 251 28.74
สมองพกิ ารและกลมุ่ อาการอัมพาต (G80-G83) 2 19 2.18
การอกั เสบของระบบประสาทสว่ นกลาง (G00-G09) 3 12 1.37
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 15
สาเหตุการตายตามเพศ
เพศ สาเหตกุ ารตาย
ชาย โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต, ปอดบวมและปอดอักเสบ, มะเร็งหลอดลมและปอด, อุบัติเหตุจาก
ยานพาหนะ, เลือดตกในสมอง
หญงิ โรคตดิ เช้ือในกระแสโลหติ , ปอดบวมและปอดอักเสบ, โรคความเสื่อมของระบบประสาท, ชรา, เลอื ดตก
ในสมอง
สาเหตกุ ารตายตามกลมุ่ ภมู ิลำเนา
ภมู ลิ ำเนา สาเหตุการตาย
เมอื ง โรคตดิ เช้ือในกระแสโลหติ , ปอดบวมและปอดอักเสบ, โรคความเส่ือมของระบบประสาท, อบุ ัติเหตุจาก
ยานพาหนะ
บ้านโปง่ โรคติดเช้อื ในกระแสโลหิต, ปอดบวมและปอดอกั เสบ, มะเรง็ หลอดลมและปอด, ความดนั โลหติ สงู
โพธาราม ชรา, โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต, ปอดบวมและปอดอักเสบ, โรคหลอดเลือดสมอง, โรคความเสื่อมของ
ระบบประสาท
ดำเนินฯ โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต, ปอดบวมและปอดอักเสบ, มะเร็งหลอดลมและปอด, มะเร็งตับ, โรคหลอด
เลือดสมอง
ปากทอ่ โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต, ปอดบวมและปอดอักเสบ, ชรา, อุบัติเหตุจากยานพาหนะ, โรคความเสื่อม
ของระบบประสาท
จอมบงึ โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต, ความดันโลหิตสูง, ปอดบวมและปอดอักเสบ, เลือดออกในสมอง, มะเร็ง
หลอดลมและปอด
สวนผึ้ง โรคตดิ เชอ้ื ในกระแสโลหิต, ปอดบวมและปอดอักเสบ, โรคความเส่ือมของระบบประสาท, อบุ ัติเหตุจาก
ยานพาหนะ, โรคหลอดเลอื ดสมอง
บางแพ โรคความเสื่อมของระบบประสาท, โรคติดเช้อื ในกระแสโลหิต, โรคเบาหวาน, ปอดบวมและปอดอักเสบ
, โรคหลอดเลอื ดสมอง
วดั เพลง ปอดบวมและปอดอักเสบ, โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต, โรคความเสื่อมของระบบประสาท, มะเร็งตับ,
ชรา
บ้านคา โรคติดเช้ือในกระแสโลหิต, อบุ ัติเหตจุ ากยานพาหนะ, ตงั้ ใจทำร้ายตนเองด้วยการแขวนคอ รัดคอ และ
ทำให้หายใจไม่ออก, ปอดบวมและปอดอักเสบ, มะเร็ง
สาเหตกุ ารตายตามกลุ่มอายุ
อายตุ ่ำกวา่ 1 ปี เสยี ชีวิตจาก ตดิ เช้อื แบคทเี รีย, ความผิดปกติแต่กำเนิดของหวั ใจ, คลอดกอ่ นกำหนด,โรคหัวใจ
, ปอดบวม
อายุ 1-4 ปี เสียชวี ติ จาก ปอดบวม, การกลืนกินวัตถุอื่นทำใหเ้ กิดการอุดตันในระบบทางเดินหายใจ, ติด
เชื้อในกระแสเลอื ด, มะเรง็ เมด็ เลือดขาว, เหตุการณท์ ไี่ มร่ ะบเุ จตนา
อายุ 5-14 ปี เสยี ชีวติ จาก มะเรง็ เมด็ เลือดขาว, อบุ ตั เิ หตุจากยานพาหนะ, , อุบตั ิเหตุจากการจมนำ้
อายุ 15-24 ปี เสียชีวติ จาก อุบตั ิเหตุจากยานพาหนะ, จากการจมนำ้ , เหตกุ ารณไ์ ม่ทราบเจตนา
อุบตั เิ หตุการสมั ผัสกับกระแสไฟฟา้ , อุบัตเิ หตจุ ากการขับข่จี กั รยานยนต์
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 16
สาเหตกุ ารตายตามกลมุ่ อายุ (ตอ่ )
อายุ 25-44 ปี เสยี ชวี ติ จาก อบุ ตั ิเหตุจากยานพาหนะ, โรคตดิ เช้ือในกระแสโลหิต, โรคหลอดเลือดสมอง, ปอด
บวม, เหตุการณไ์ มท่ ราบเจตนา
อายุ 45-59 ปี เสียชวี ติ จาก โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต, โรคหลอดเลือดสมอง, ปอดบวม, อุบัติเหตุจาก
ยานพาหนะ, เนื้องอกรา้ ยท่หี ลอดลมและปอด, มะเรง็ ตับ
อายุ 60-74 ปี เสียชีวิตจาก โรคติดเชื้อในกระแสโลหติ , ปอดบวม, เนือ้ งอกร้ายท่ีหลอดลมและปอด,
มะเร็งตับ, โรคหลอดเลือดสมอง
อายุ 75 ปขี ้ึนไป เสยี ชวี ติ จาก โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต, โรคความจำเสื่อมของประสาท, ปอดบวม, ชรา,
ความดันโลหติ สงู , เนอ้ื งอกร้ายทห่ี ลอดลมและปอด
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 17
แผนยทุ ธศาสตรส์ าธารณสขุ จังหวดั ราชบรุ ี
ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2562 – 2565
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 18
แผนยุทธศาสตรส์ าธารณสขุ จงั หวัดราชบรุ ี
ระยะ 4 ปี พ.ศ. 262-2565
1. โครงสรา้ งการบรหิ ารงานสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ราชบุรี
กลุ่มงานที่อยใู่ นกำกับดูแลของนายแพทยส์ าธารณสุขจังหวัดราชบุรี ดังน้ี
1. กลุ่มงานพัฒนายทุ ธศาสตร์สาธารณสขุ
2. กลุม่ งานพฒั นาระบบบรกิ ารและการแพทยฉ์ ุกเฉิน
นายแพทยส์ าธารณสุขจังหวัดราชบุรี
แพทยห์ ญงิ ปาจรยี ์ อารยี ร์ บ (ผอ.เฉพาะด้าน (แพทย์) ระดบั สูง
กลมุ่ งานพัฒนายทุ ธศาสตรส์ าธารณสุข กลุม่ งานพฒั นาระบบบริการและการแพทยฉ์ กุ เฉิน
นางนศิ าชล ศรหี ร่ิง นวก.สธ.ชพ. นางสรุ ภา ขนุ ทองแกว้ นวก.สธ.ชพ.
1. งานพัฒนายทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาพ 1. งานการแพทยฉ์ ุกเฉนิ
2. งานขอ้ มลู ข่าวสารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. งานอบุ ัติเหตทุ างทอ้ งถนน
3. งานนิเทศและประเมินผล 3. งานพัฒนาระบบส่งต่อ
4. การบรหิ ารงบประมาณ 4. งานสาธารณภัย
5. งานสาธารณสุขพนื้ ที่พิเศษ/พื้นที่เฉพาะ 5. งานบรหิ ารจดั การภัยพิบตั ิ
6. งานนโยบายและโครงการพเิ ศษ เช่น โครงการพระราช 6. งานเฝา้ ระวังปอ้ งกนั เดก็ จมน้ำ
7. งานความปลอดภยั การรบั เสดจ็
ดำรฯิ สมชั ชาสขุ ภาพ งานกระจายอำนาจ ฯลฯ 8. งานพฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพ
7. งานวิจัยและพฒั นาที่เกีย่ วขอ้ งกับงานพฒั นายทุ ธศาสตร์ 9. งานวจิ ัยและพฒั นาท่ีเกีย่ วข้องกับงานพฒั นาระบบ
สาธารณสุข บรกิ ารสุขภาพ และที่เกี่ยวขอ้ งกบั งานการแพทย์ฉกุ เฉิน
และสาธารณภัย
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 19
มอบหมายให้ขา้ ราชการผดู้ ำรงตำแหนง่ หรอื รกั ษาการในตำแหนง่ หรอื ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัตหิ น้าทนี่ ายแพทย์
เชยี่ วชาญ (ดา้ นเวชกรรมป้องกัน) คนที่ 2 รักษาการในตำแหนง่ นายแพทย์เชยี่ วชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกนั ) คนท่ี
1 ตำแหน่งเลขที่ 34238 ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีร่ องนายแพทย์สาธารณสขุ จงั หวดั ราชบรุ ี โดยให้รับผิดชอบกลุ่มงาน ดังน้ี
1. กลุม่ งานควบคมุ โรคติดตอ่ (CD)
2. กลมุ่ งานควบคุมโรคไมต่ ิดต่อ สุขภาพจติ และยาเสพตดิ (NCD)
3. กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพ
นายแพทย์สาธารณสุขจงั หวัดราชบรุ ี
แพทยห์ ญิงปาจรีย์ อารยี ์รบ (ผอ.เฉพาะดา้ น (แพทย์) ระดบั สูง
นายแพทยช์ วนนท์ อ่ิมอาบ ผอ.รพ.วดั เพลง
ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่
นายแพทยเ์ ช่ยี วชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน)
กลมุ่ งานควบคุมโรคตดิ ตอ่ (CD) กลมุ่ งานควบคุมโรคไมต่ ดิ ต่อ สขุ ภาพจติ กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพ
นายอคั รวฒุ ิ ศุภอกั ษร นวก.สธ.ชก. (รก.) และยาเสพตดิ (NCD) นางจริ นาถ บวรธรรมรตั น์ นวก.สธ.ชพ.
1. งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ทวั่ ไป นายเจตนา คันธาทพิ ย์ นวก.สธ.ชก. 1. งานพัฒนาองค์การคุณภาพ
2. งานควบคมุ โรคติดต่อในพน้ื ท่เี ฉพาะ - HA และมาตรฐานวชิ าชีพเฉพาะ
3. งานสอบสวนโรค 1. งานป้องกนั และควบคุมโรคไมต่ ิดต่อ - PMQA
- งานประเมินปญั หาสุขภาพโรคตดิ ตอ่ 2. โครงการรณรงค์ป้องกันและแกไ้ ข - หน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ (ศกั ยภาพ
ในพ้นื ที่ ปัญหายาเสพตดิ (To Be Number บริการและมาตรฐาน)
- พัฒนาระบบเฝ้าระวังและควบคมุ โรค One) 2. งานพฒั นาเครอื ข่ายสาธารณสขุ ดา้ น
4. งานเฝ้าระวังโรคทางระบาดวทิ ยา 3. งานป้องกัน ควบคมุ และบำบดั การ
5. งานวจิ ัยและพฒั นาท่ีเก่ียวข้องกบั งาน บริโภคสุราและยาสบู การสรา้ งสุขภาพ
4. งานสขุ ภาพจิต - อาสาสมคั รสาธารณสขุ
ควบคมุ โรคติดตอ่ 5. งานบริหารจดั การป้องกนั และบำบดั - งานพัฒนาคณุ ภาพชีวติ (พชจ./พชอ./
ยาเสพตดิ
6. งานบงั คบั ใชก้ ฎหมายควบคุมสรุ าและ พชต.)
ยาสบู - ตำบลจดั การสขุ ภาพ
7. งานวจิ ัยและพัฒนาที่เก่ียวขอ้ งกบั งาน 3. งานพฒั นางานวิจยั และนวัตกรรม
ควบคุมโรคไมต่ ดิ ตอ่ สุขภาพจติ และ - มาตรฐานจริยธรรมการวิจัยในมนษุ ย์
ยาเสพตดิ 4. งานสุขศกึ ษาและประชาสมั พนั ธ์
- มาตรฐานสุขศกึ ษา
- หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม
- โรงเรยี นสขุ บัญญตั ิ
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 20
มอบหมายให้ข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่ง หรือรักษาการในตำแหน่ง หรือได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ี
นักวิชาการสาธารณสขุ เชย่ี วชาญ/ชำนาญการพเิ ศษ (ด้านสง่ เสรมิ พฒั นา) ตำแหนง่ เลขท่ี 34239 ปฏิบัติหน้าที่รอง
นายแพทยส์ าธารณสุขจังหวัดราชบรุ ี โดยให้รับผิดชอบกลมุ่ งาน ดงั นี้
1. กลมุ่ งานทนั ตสาธารณสุข
2. กลุ่มงานสง่ เสริมสุขภาพ
3. กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก
นายแพทยส์ าธารณสุขจังหวดั ราชบุรี
แพทยห์ ญิงปาจรีย์ อารยี ร์ บ (ผอ.เฉพาะด้าน (แพทย์) ระดบั สงู
นายไพรัช มโนสารโสภณ
นวก.สาธารณสุข เชยี วชาญ (ดา้ นสง่ เสริมพัฒนา)
กลมุ่ งานทนั ตสาธารณสขุ กลุ่มงานส่งเสรมิ สุขภาพ กลุ่มงานการแพทยแ์ ผนไทยและ
ทพ.นิพัทธ์ สมศริ ิ นางสายสวาท เด่นดวงใจ นวก.สธ.ชพ. การแพทยท์ างเลอื ก
ทนั ตแพทย์เชย่ี วชาญ
1. งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพตามกลมุ่ วัย นางอัญนกิ า งามเจรญิ นวก.สธ.ชก.
1. งานพัฒนากลยุทธ์ดา้ นทันตสาธารณสขุ - สตรแี ละเด็กปฐมวัย
2. งานจดั ระบบทนั ตสุขภาพระดับจังหวัด - วัยเรียน 1. งานพฒั นาระบบบริหารงานแพทยแ์ ผน
3. งานสนบั สนุนบรกิ ารในหน่วยบริการทุก - วยั ร่นุ ไทยและการแพทยท์ างเลอื ก
- วยั ทำงาน
ระดับ - วยั ผ้สู งู อายุ 2. งานพฒั นาและส่งเสรมิ บริการ
4. งานสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั และเฝ้าระวังทันต การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
2. งานพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ ทางเลอื ก
สขุ ภาพตามกลมุ่ เปา้ หมายตา่ งๆ 3. งานพฒั นาพฤติกรรมสขุ ภาพ
5. งานวจิ ัยและพัฒนาท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั งาน 4. หนว่ ยแพทย์ พอ.สว. หน่วยแพทยอ์ นื่ ๆ 3. งานพฒั นาระบบข้อมูลและเทคโนโลยี
ทางการแพทย์แผนไทย
ทนั ตสาธารณสุข ผปู้ ่วยในพระบรมราชานเุ คราะห์
5. งานวจิ ยั และพัฒนาทเี่ กี่ยวข้องกบั งาน 4. งานวชิ าการและพัฒนาบุคลากรแพทย์
แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก
ส่งเสรมิ สุขภาพ
5. งานคมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาแพทยแ์ ผนไทย
6. งานคลนิ ิกแพทย์แผนไทย
7. งานวิจัยและพฒั นาทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั งาน
การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ทางเลอื ก
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 21
มอบหมายให้ข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่ง หรือรักษาการในตำแหน่ง หรือได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ี
นักวิชาการสาธารณสขุ เช่ยี วชาญ (ดา้ นบรกิ ารทางวชิ าการ) ตำแหน่งเลขท่ี 34266 กลุ่มงานประกันสุขภาพ ปฏบิ ัติ
หนา้ ท่ีรองนายแพทยส์ าธารณสขุ จงั หวัดราชบรุ ี โดยใหร้ บั ผดิ ชอบกลุ่มงาน ดงั น้ี
1. กลมุ่ งานบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล
2. กล่มุ งานบริหารทัว่ ไป
3. กลมุ่ งานประกนั สขุ ภาพ
4. นติ ิกรชำนาญการพเิ ศษ
นายแพทยส์ าธารณสุขจงั หวดั ราชบุรี
แพทย์หญงิ ปาจรีย์ อารยี ร์ บ (ผอ.เฉพาะด้าน (แพทย์) ระดบั สูง
นายพสิ ทุ ธิ์ คงขำ
นวก.สาธารณสุขเช่ียวชาญ (ด้านบรกิ ารทางวิชาการ)
กลุ่มงานบริหารทรพั ยากรบุคคล กลมุ่ งานบรหิ ารทว่ั ไป กล่มุ งานประกนั สุขภาพ
น.ส.พรทิพย์ บุตรดาวงค์ นายองั กาศ สิงห์พทิ ักษ์ นายชา่ งโยธา ชง. นางประนอม จติ ต์ทนงศกั ด์ิ พวช.ชก.
นักทรพั ยากรบุคคล ชก.
1. งานการเงนิ และการบัญชี 1. งานบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ผมู้ สี ทิ ธิ
งานบริหารกำลังคน 2. รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณ 2. งานบรหิ ารจดั การกองทุนตา่ งๆ เชน่
3. งานพัสดุ กอ่ สร้างและการซ่อมบำรงุ
1. งานวางแผนกำลงั คน 4. งานธุรการและการบริหารยานพาหนะ กองทนุ หลักประกนั สขุ ภาพ กองทุน
2. งานสรรหาและบรรจแุ ต่งต้ัง 5. งานตรวจสอบ ควบคมุ ภายใน และ ประกันสังคม กองทนุ แรงงานตา่ งดา้ น
3. งานฐานขอ้ มูลทรัพยากรบุคคล เปน็ ตน้
4. ทะเบยี นประวตั ิและ บรหิ ารความเสี่ยง 3. งานเฝา้ ระวงั สถานการณ์การเงนิ การ
6. งานสำนักงานเลขานกุ ารและ คลงั
เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ 4. งานคุ้มครองสทิ ธิ การรบั เรอื่ ง
5. งานสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ อำนวยการ รอ้ งเรยี น
6. งานประเมนิ คุณสมบัตบิ ุคคลและผลงาน 7. งานประชาสัมพันธท์ ่วั ไป 5. งานบริหารการชดเชยและตรวจสอบ
8. งานดแู ลอาคารสถานทแ่ี ละ เวชระเบยี น
ข้ึนดำรงตำแหนง่ ที่สงู ข้นึ และงาน
ประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ส่ิงแวดล้อม
7. งานเงนิ เดอื น
8. งานนักเรียนสายทุน
งานพัฒนาบคุ ลากร
1. งานพัฒนาบุคลากร (ดา้ นบริการ ดา้ น
บรหิ าร ด้านวิชาการ)
2. งานลาศึกษาและฝกึ อบรม
3. งานสง่ เสริมสนบั สนุนการทำงานวจิ ยั
นายเสริมศกั ด์ิ นาคเงนิ นิตกิ ร ชพ. ที่ปรกึ ษาการทำนิติกรรมสญั ญา ตรวจสอบสัญญาและเป็นท่ีปรกึ ษาขอ้ กฎหมาย
ระเบียบปฏิบตั ติ ่างๆ และงานอนื่ ๆ ท่มี อบหมาย
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 22
มอบหมายให้ข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่ง หรือรักษาการในตำแหน่ง หรือได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ (ด้านบริการทางวิชาการ) ตำแหน่งเลขที่ 34240 ปฏิบัติหน้าที่รอง
นายแพทย์สาธารณสุขจงั หวัดราชบุรี โดยใหร้ ับผดิ ชอบกลุ่มงาน ดงั น้ี
1. กลมุ่ งานอนามัยสิง่ แวดลอ้ มและอาชีวอนามยั
2. กลุ่มงานคุ้มครองผู้บรโิ ภคและเภสัชสาธารณสุข
3. กลมุ่ งานนิติการ
นายแพทย์สาธารณสขุ จงั หวดั ราชบรุ ี
แพทยห์ ญิงปาจรยี ์ อารยี ร์ บ (ผอ.เฉพาะดา้ น (แพทย์) ระดับสูง
นายรุ่งเรือง เดน่ ดวงใจ
นวก.สาธารณสขุ ชำนาญการพเิ ศษ (ดา้ นบรกิ ารทางวิชาการ)
กลมุ่ งานอนามัยสง่ิ แวดลอ้ มและอาชวี อนามยั กลุ่มงานคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภคและ กลมุ่ งานนิตกิ าร
นางวลั คุ์วดี โรจนาศรรี ัตน์ นวก.สธ.ชก เภสชั สาธารณสุข นายสาโรจน์ อนิ ทรชาติ นติ ิกร ชก.
1. งานอาชีวอนามัยและควบคมุ โรคจาก ภญ.วรลักษณ์ อนันตกลู เภสชั กร ชพ. 1. การให้คำปรึกษาและความเหน็ ทาง
สงิ่ แวดลอ้ ม (Occupation Health and กฎหมาย
Environmental Disease Control) 1. งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์และสถาน
ประกอบการด้านสุขภาพ 2. งานนติ กิ รรมและสญั ญา
2. งานพัฒนาอนามัยส่ิงแวดล้อม 3. การดำเนินการทางกฎหมาย
(Environmental Health 2. งานค้มุ ครองสทิ ธผิ บู้ ริโภคดา้ น 4. การบังคับใช้กฎหมาย
Development) สาธารณสขุ 5. การดำเนินคดีอาญา คดแี พ่งและคดี
3. งานสุขาภิบาล (Food Sanitation) 3. งานพฒั นาระบบยาและเวชภณั ฑ์ ปกครอง
4. งานตามพระราชบญั ญตั ิการสาธารณสุข 4. งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนธรุ กิจ 6. งานอธุ รณ์ และร้องทกุ ข์
7. งานเกีย่ วกบั ความรับผิดทางละเมดิ
พ.ศ. 2535 และกฎหมายอื่นๆ ท่ี สุขภาพ 8. การเผยแพรใ่ ห้ความร้ทู างกฎหมาย
เกี่ยวขอ้ ง 5. งานมาตรฐานสถานพยาบาลและการ 9. งานศนู ยด์ ำรงธรรม
5. งานประเมินผลกระทบดา้ นสขุ ภาพและ
สิ่งแวดลอ้ ม ประกอบโรคศิลปะ
6. งานวิจัยและพัฒนาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับงาน 6. งานอาหารปลอดภยั
อนามัยส่ิงแวดลอ้ มและอาชวี อนามยั 7. งานวิจัยและพัฒนาท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั งาน
ค้มุ ครองผู้บริโภคและเภสชั
สาธารณสขุ
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 23
2. วิสัยทศั น์ พันธกจิ ประเด็นยทุ ธศาสตร์
“ระบบสขุ ภาพชนั้ นำในเขตสุขภาพท่ี 5 เพื่อประชาชนมีสขุ ภาพดี บุคลากรมีความสขุ
ภายในปี 2565”
โดยกำหนดนิยามวสิ ัยทศั น์ เพื่อเปน็ กรอบในการพฒั นาช่วงปี พ.ศ.2562 – 2565 (ทบทวน ปพี .ศ.2564) ดังน้ี
ระบบสุขภาพชั้นนำในเขตสุขภาพที่ 5 หมายถึง เป็นองค์กรที่มีการจัดการ 5 ด้าน ได้แก่ สร้างเสริมสุขภาพ
ควบคุมป้องกัน รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสมรรถภาพ และคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งการจัดเตรียมความพร้อมด้าน
สาธารณสุขในการรับมือโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และสาธารณภัย เพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้ประชาชน
ประชาชนมีความฉลาดรู้ทางสุขภาพ มีทักษะทางสุขภาพ สามารถพึ่งพาตนเองทางสุขภาพ จัดการสุขภาพ
ครอบครัวและชุมชนได้ โดยทุกหน่วยบริการมีการดำเนินงานตามเกณฑ์รับรองคุณภาพมาตรฐาน และหลัก
ธรรมาภิบาล (เขตสุขภาพที่ 5 ได้แก่ นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี และ
ประจวบคีรขี ันธ์)
KPI
1. ผลการดำเนนิ งานผ่านเกณฑต์ วั ชว้ี ดั ทง้ั PA / KPI มผี ลงานเปน็ อันดับ 1 ของเขตสขุ ภาพที่ 5
2. หนว่ ยงานทกุ ระดบั ผ่านการรบั รองคณุ ภาพและมาตรฐานในระดับดีมาก (สสจ./สสอ.= PMQA Award,
รพ.= HA, รพ.สต.=รพ.สต.ติดดาว)
- สสจ. : ผา่ นเกณฑต์ วั ชวี้ ัด PMQA กระทรวงสาธารณสุข
- สสอ. : ผา่ นเกณฑ์ตวั ช้ีวดั PMQA กระทรวงสาธารณสุข
- รพ. : ผา่ น HA ข้นั 3 ทกุ แห่ง ยกเวน้ รพ.บ้านคา
- รพ.สต. : ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ตดิ ดาว ทกุ แหง่
ประชาชนมสี ขุ ภาพดี หมายถงึ ประชาชนได้รบั การดูแลสุขภาพอย่างมีคุณภาพ 5 ด้าน ไดแ้ ก่ สรา้ งเสริม
สุขภาพ ควบคุมป้องกัน รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสมรรถภาพ และคุ้มครองผู้บริโภค ที่ได้มาตรฐาน ส่งผลให้
ประชาชนจงั หวดั ราชบรุ ีมอี ตั ราป่วย อัตราตายลดลง มีสุขภาพดี
KPI
3. อายคุ าดเฉล่ียของการมสี ุขภาพดี ของประชาชนจงั หวดั ราชบุรี
- ปี 2564 : ชาย ≥ 75 ปี หญงิ ≥ 83 ปี
- ปี 2565 : ชาย ≥ 76 ปี หญงิ ≥ 84 ปี
บุคลากรมีความสุข หมายถึง บุคลากรรู้สึกพึงพอใจในการทำงาน รักและมีความผูกพันต่อองค์กร มีการสร้าง
ผลงานที่ดีขึ้น ทั้งของตนเองและขององค์กร บุคลากรได้รับการพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพ มีสมรรถนะที่พึง
ประสงค์ และมีความสขุ ในการทำงาน
KPI
4. Happinometer > ร้อยละ 80
5. Retention Rate > รอ้ ยละ 90
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 24
คา่ นิยม
RBTH
รับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี เปน็ คนท่ดี กี ว่าเดมิ
สร้างเสริมความสามคั คี ทำงานอยา่ งมีความสขุ
R Responsibility มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ี
B Better Man เปน็ คนทีด่ กี ว่าเดมิ , พฒั นาตนเอง, พัฒนาสมรรถนะ
T Team Work มีความสามคั คี, ทำงานเปน็ ทีม
H Happiness ทำงานอย่างมคี วามสขุ
พนั ธกิจ
1. จัดบรกิ ารด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ทีม่ ีคณุ ภาพในเขตพ้นื ทีจ่ งั หวดั
2. พฒั นาระบบสารสนเทศ และสรา้ งความรอบรู้ดา้ นสุขภาพ
3. บริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขให้สอดคล้องกับนโยบายและความต้องการด้าน
กำลังคนของหนว่ ยงานตลอดจนพัฒนาศกั ยภาพภาคเี ครือข่ายด้านสขุ ภาพ
4. ขับเคล่อื นและบังคับใชก้ ฎหมายดา้ นการแพทย์และการสาธารณสุข
5. ควบคมุ กำกับ ประเมนิ ผล และสนับสนุนการปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานสาธารณสขุ ในเขตพืน้ ที่จังหวัด
6. บูรณาการ สนับสนุน งานด้านการแพทย์และสาธารณสุขกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับ
มอบหมาย
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ความเป็นเลศิ (Excellence)
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 1. Promotion Prevention & Protection Excellence
(ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเป็นเลศิ และคุ้มครองผบู้ รโิ ภค)
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2. Service Excellence (บริการเป็นเลศิ )
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 3. People Excellence (บคุ ลากรเปน็ เลิศ)
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 4. Governance Excellence (บริหารเปน็ เลิศดว้ ยธรรมาภิบาล)
เปา้ ประสงค์รวม (Ultimate Goal)
1. ประชาชนจังหวดั ราชบรุ ี ได้รับการดแู ลสขุ ภาพอยา่ งมคี ุณภาพ
2. มรี ะบบบริการทีม่ ีคุณภาพ ลดความแออัด และลดเวลารอคอยรบั บริการ
3. บคุ ลากรสาธารณสุขเก่ง ดี และมคี วามสุขในการทำงาน
เขม็ มุ่ง ปีงบประมาณ 2564
1. ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิ
2. พฒั นาคณุ ภาพบรกิ ารและระบบสง่ ตอ่ ของโรงพยาบาล
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 25
กลยุทธแ์ ละมาตรการและแนวทางปฏิบัติ (Strategic and Guideline to Implement)
➢ ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1. Promotion Prevention & Protection Excellence (สง่ เสริมสุขภาพ
ป้องกันโรคเป็นเลศิ และคุ้มครองผบู้ ริโภค)
กลยุทธท์ ี่ 1 ส่งเสริมสขุ ภาพป้องกนั โรคเชิงรุก โดยใช้กลไก พชจ., พชอ., พชต.
กลยทุ ธท์ ่ี 2 พฒั นาระบบเฝ้าระวังโรคและภยั สุขภาพ
กลยุทธท์ ่ี 3 สรา้ ง influencer ผลักดนั กระตุ้นใหป้ ระชาชนดแู ลสขุ ภาพตนเอง
กลยทุ ธท์ ี่ 4 สง่ เสรมิ ให้ประชาชนออกแบบวธิ ดี แู ลปัญหาสขุ ภาพตนเอง (Solution Design)
กลยุทธ์ที่ 5 พฒั นารปู แบบการสือ่ สารสาธารณะ
➢ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2. Service Excellence (บรกิ ารเป็นเลศิ )
กลยุทธ์ท่ี 1 ขยาย Health Check Point ให้ครอบคลมุ ทุกหนว่ ยบริการปฐมภูมิ
กลยุทธ์ท่ี 2 พฒั นาคณุ ภาพระบบบริการและการส่งต่อแบบไรร้ อยต่อ
กลยทุ ธท์ ี่ 3 พัฒนา Excellent Center ดา้ นมะเรง็
กลยุทธ์ที่ 4 ลดความแออัดและระยะเวลารอคอยในจุดแรกรับผู้ปว่ ยและจุดบรกิ ารเจาะเลอื ด และจุดรบั ยา
กลยทุ ธท์ ่ี 5 ขยายบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ใน รพ.สต. และ รพช.
กลยุทธ์ท่ี 6 เสรมิ สร้างครือขา่ ยความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพบรกิ ารระหวา่ งหน่วยงานภายใน
➢ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3. People Excellence (บคุ ลากรเปน็ เลิศ)
กลยทุ ธท์ ี่ 1 พฒั นาศกั ยภาพบุคลากรในหนว่ ยปฐมภมู ิ (แพทย์ พยาบาล อสค. และอ่นื ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง)
กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมวัฒนธรรมการให้บริการประชาชนดุจญาติมติ ร บุคลากรมี Service Mind
กลยุทธท์ ี่ 3 สง่ เสริมความเป็นเลศิ ดา้ นวิชาการแก่บุคลากรทุกระดบั
กลยุทธ์ที่ 4 เพมิ่ กิจกรรมสร้างสุขในองคก์ ร 7 ด้าน (Happy Body, Happy Relax, Happy Soul,
Happy Family, Happy Society, Happy Brain, Happy Money)
➢ ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4. Governance Excellence (บริหารเปน็ เลิศดว้ ยธรรมาภบิ าล)
กลยุทธท์ ่ี 1 สง่ เสรมิ การนำแนวคดิ การทำงานแบบ Agile เข้ามาปรบั ใช้ในหน่วยงาน/ทีมงาน
กลยุทธ์ที่ 2 เพิม่ ประสิทธิภาพการทำงานโดยใชร้ ะบบ Lean ในหน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ
(Lean Organization, Lean Hospital)
กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการนำระบบเทคโนโลยมี าใช้ในการปฏิบตั งิ าน และการบริหารราชการ
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 26
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 27
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 28
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 29
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 30
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 31
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 32
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 33
1. สรุปผลงานตามตวั ชีว้ ดั PA/KPI กระทรวงสาธารณสุข ปี 2563
ตัวชว้ี ดั ที่ PA/ ยุทธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ ผลการดำเนนิ งานภาพรวมจงั หวัด
KPI ลำดบั ตวั ชวี้ ัด, ชอ่ื ตวั ช้วี ัด ราชบรุ ี
1. ยุทธศาสตรด์ า้ นส่งเสรมิ สุขภาพ ปอ้ งกนั โรค และค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภคเป็นเลศิ (PP&P Excellence)
แผนงานที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนไทยทุกกลุ่มวยั (ด้านสุขภาพ)
1. โครงการพัฒนาและสรา้ งศกั ยภาพคนไทยทุกกลุ่มวยั
1 PA อตั ราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน (<17/100,000) 17 15.96
2 PA รอ้ ยละของเดก็ อายุ 0-5 ปี ทัง้ หมดตามชว่ งอายุท่กี ำหนด มพี ฒั นาการสมวัย
2.1 รอ้ ยละ 90 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคดั กรองพฒั นาการ (Coverage) 90 93.16
2.2 ร้อยละ 20 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ พบสงสัย 20 27.18
ล่าช้า (detect)
2.3 ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม 90 92.14
(Follower)
2.4 ร้อยละ 60 ของเด็กพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย 60 67.89
TEDA4I
2.5 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพฒั นาการสมวยั 85 97.38
3 KPI รอ้ ยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สงู ดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 60 69.56
3.1) ความครอบคลุมเด็กทไี่ ด้รับการชัง่ น้ำหนกั และวดั ส่วนสงู 85 81.43
3.2) ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปสี ูงดสี มสว่ น 60 69.56
3.3) ส่วนสูงเฉล่ียชายท่อี ายุ 5 ปี 109 110.17
3.4) สว่ นสูงเฉลีย่ หญิงทีอ่ ายุ 5 ปี 108.6 109.10
การพัฒนาและสร้างเสรมิ ศกั ยภาพคนไทยกลุ่มวยั เรยี นและวยั รนุ่
4 KPI เดก็ ไทยมีระดับสติปญั ญาเฉล่ียไม่ต่ำกว่า 100 วัดผลปี 2564
4.2 รอ้ ยละของเด็กปฐมวัยท่ไี ด้รบั การคดั กรองแล้วพบว่ามพี ฒั นาการล่าชา้ ได้รับ 65 67.89
การกระตนุ้ พัฒนาการดว้ ยเครือ่ งมอื มาตรฐาน
5 KPI รอ้ ยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สงู ดีสมส่วน 66 65.72
6 KPI อัตราการคลอดมีชีพในหญงิ อายุ 15 -19 ปี (อัตรา ต่อ 1,000 ) 34 19.40
การพฒั นาและสร้างเสรมิ ศกั ยภาพคนไทยกลมุ่ วยั ผสู้ ูงอายุ
7 KPI รอ้ ยละของผสู้ งู อายทุ ่ีมีภาวะพึง่ พิงไดร้ ับการดูแลตาม care plan 80 89.79
8 PA รอ้ ยละของประชากรสูงอายุท่มี ีพฤตกิ รรมสขุ ภาพที่พึงประสงค์ 60 60.88
9 PA ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) 80 94.23
ในชมุ ชนผา่ นเกณฑ์
แผนงานที่ 2 : การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ระดบั อำเภอ
2. โครงการพฒั นาความรอบรูด้ า้ นสุขภาพของประชากร
10 PA จำนวนครอบครัวไทยมีความรอบรู้สุขภาพเร่ืองกจิ กรรมทางกาย 100 131.64
3. โครงการการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตระดบั อำเภอ (พชอ.)
11 PA รอ้ ยละของอำเภอผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ทม่ี คี ณุ ภาพ 100 100.00
แผนงานที่ 3 : การป้องกันควบคมุ โรคและลดปจั จยั เสย่ี งด้านสขุ ภาพ
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 34
ตัวชี้วดั ท่ี PA/ ยทุ ธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ ผลการดำเนนิ งานภาพรวมจงั หวัด
KPI ลำดบั ตวั ชวี้ ดั , ชือ่ ตวั ชีว้ ดั ราชบรุ ี
4. โครงการพัฒนาระบบการตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ และภัยสุขภาพ
12 KPI ระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงาน 50 100.00
ระดับจงั หวัด
5. โครงการควบคุมโรคและภยั สุขภาพ
13 KPI ร้อยละการตรวจตดิ ตามกลุม่ สงสยั ป่วยโรคเบาหวาน และ/หรอื ความดันโลหติ สูง
13.1 รอ้ ยละการตรวจตดิ ตามกล่มุ สงสยั ปว่ ยโรคเบาหวาน (DM) 30 67.31
13.2 รอ้ ยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสยั ป่วยโรคความดันโลหิตสงู (HT) 52 65.66
14 KPI รอ้ ยละของจังหวัดมกี ารขับเคลอื่ นมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรท่ีมี 100 100.00
อันตรายสูงร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับส่วนกลาง และภูมิภาค
อยา่ งนอ้ ยจงั หวดั ละ 1 เรือ่ ง
15 PA ร้อยละของจังหวัดมีระบบรับแจ้งข่าว การใช้/ป่วยจากการสัมผัส สารเคมีทาง 100 100.00
การเกษตร 3 ชนิด (พาราควอต คลอร์ไพริฟอส ไกลโฟเสต) โดยประชาชน/
อสม. ผ่าน Mobile Application สู่หน่วยบริการ (คลินิกสารเคมีเกษตร/คลินิก
โรคจากการทำงาน)
16 PA ร้อยละของจังหวัดมีการจัดทำฐานข้อมูลอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้ อม 100 100.00
( Occupational and Environmental Health Profile : OEHP) ด ้ า น
เกษตรกรรม และมีการรายงานการเจ็บป่วย หรือเสียชีวิตจากสารเคมีทาง
การเกษตร (รหัสโรค T60)
6. โครงการค้มุ ครองผู้บรโิ ภคด้านผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพและบริการสุขภาพ
17 KPI ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตาม 80 95.72
เกณฑท์ ก่ี ำหนด
17.1. รอ้ ยละของผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพกล่มุ เสีย่ ง "ทเ่ี กบ็ ตวั อยา่ งไดแ้ ล้ว" 80 100.00
แผนงานที่ 4 : การบรหิ ารจดั การสิ่งแวดลอ้ ม
7. โครงการบริหารจดั การส่งิ แวดลอ้ ม
18 KPI 18. ร้อยละของ รพ. ที่พัฒนาอนามยั ส่ิงแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN
Hospital
18.1 ร้อยละของ รพ.สังกัด กสธ.ที่ดำเนินกิจกรรม GREEN&CLEAN 100 100.00
ผา่ นเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ขึ้นไป
18.2 ร้อยละของ รพ.สังกัด กสธ.ที่ดำเนินกิจกรรม GREEN&CLEAN 100 100.00
ผา่ นเกณฑ์ระดับดี ขึ้นไป
18.3 ร้อยละของ รพ.สังกัด กสธ.ที่ดำเนินกิจกรรม GREEN&CLEAN 75 83.33
ผ่านเกณฑร์ ะดับดมี าก ขึ้นไป 75
18.4 ร้อยละของ รพ.สังกัด กสธ.ที่ดำเนินกิจกรรม GREEN&CLEAN 30 33.33
ผ่านเกณฑร์ ะดบั "ดมี าก Plus" 30
19 KPI ร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบ 80 100.00
ต่อสุขภาพ
2. ยทุ ธศาสตรด์ ้านบรกิ ารเป็นเลศิ (Service Excellence)
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 35
ตัวช้วี ัดท่ี PA/ ยุทธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ ผลการดำเนนิ งานภาพรวมจงั หวัด
KPI ลำดับตัวชวี้ ัด, ชอื่ ตวั ชวี้ ัด ราชบรุ ี
แผนงานท่ี 5 : การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภมู ิ (Primary Care Cluster)
8. โครงการพฒั นาระบบการแพทยป์ ฐมภูมิ
20 PA ร้อยละของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิที่เปิด 25 36.00
ดำเนนิ การในพน้ื ที่
21 PA ร้อยละของประชาชนในอำเภอที่เป็นที่ตั้งของ รพศ./รพท. มีแพทย์เวชศาสตร์ 40 23.22
ครอบครัวหรือแพทย์ที่ผ่านการอบรมและคณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิดูแล
ด้วยหลักเวชศาสตร์ครอบครัว "
9. โครงการพัฒนาเครอื ข่ายกำลงั คนดา้ นสขุ ภาพ และ อสม.
22 PA ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจำบ้าน 70 95.13
มีคณุ ภาพชีวติ ที่ดี
22.1 รอ้ ยละ อสม. กลุ่มเปา้ หมายมีศกั ยภาพเป็น อสม. หมอประจำบา้ น 70 100.00
23 PA จำนวน อสม. ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพเปน็ อสม. หมอประจำบ้าน (เป้าหมาย 1,042
กสธ. 80,000 คน)
แผนงานท่ี 6 : การพฒั นาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
10. โครงการพัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาโรคไมต่ ิดต่อเรอื้ รัง
24 PA ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และระยะเวลาที่ได้รับการ
รักษาท่เี หมาะสม
24.1 อตั ราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง (Stroke ;I60-I69) 7 11.35
24.2 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก (Hemorrhagic Stroke 25 25.63
;I60-I62)
24.3 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน (Ischemic Stroke 5 4.87
;I63)
24.4 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตันระยะเฉียบพลัน (I63) ที่มี 60 56.32
อาการไม่เกิน 4.5 ชม.ได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ
ภายใน 60 นาที (door to needle time)
24.5 รอ้ ยละผู้ปว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง(I60-I69) ทมี่ ีอาการไม่เกิน 72 ชม.ไดร้ ับ 50 100.00
การรักษาใน Stroke Unit
24.6 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก (I60-I62) ได้รับการผ่าตัดสมอง 60 7.19
ภายใน 90 นาที (door to operation room time)"
11. โครงการพัฒนาระบบริการโรคติดตอ่ โรคอบุ ตั ิใหม่ และโรคอบุ ตั ซิ ้ำ
25 PA อตั ราความสำเรจ็ การรกั ษาผู้ปว่ ยวัณโรคปอดรายใหม่
25.1 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ที่ขึ้นทะเบียน 85 85.45
ในไตรมาสท่ี 1 ของปงี บประมาณ 2562 (เดือนตลุ าคม – ธันวาคม 2561)
25.2 ร้อยละความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 82.5 54.94
(TB Treatment Coverage) ที่ขึ้นทะเบียนในปีงบประมาณ 2563 (1 ตุลาคม
2562–30 กันยายน 2563)
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 36
ตวั ช้วี ัดที่ PA/ ยทุ ธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ ผลการดำเนนิ งานภาพรวมจังหวดั
KPI ลำดับตวั ช้วี ดั , ชอื่ ตวั ชีว้ ดั ราชบรุ ี
12. โครงการป้องกนั และควบคมุ การดอ้ื ยาตา้ นจุลชพี และการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
26 PA ร้อยละของโรงพยาบาลทใี่ ชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล (RDU)
26.1 RDU ข้นั ที่ 2 รอ้ ยละ 50 54.55
26.2 RDU ขั้นที่ 3 ร้อยละ 20 27.27
26.3 จังหวัดมีการดำเนินการ RDU Community อย่างน้อย 1 อำเภอ 1 -
และผ่านเกณฑ์ระดับ 3
27 PA ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ
(AMR)
27.1 ร้อยละของ รพ.ระดับ A,S,M1 ทุกแห่งมีระบบการจัดการ AMR ระดับ 95 50
Intermediate
27.2 อัตราลดลงของการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด เทียบกับปีปฏิทิน 2561 0 +8.96
(ไมเ่ กินกว่าปี 2561)
13. โครงการพฒั นาศูนย์ความเป็นเลศิ ทางการแพทย์
28 KPI ร้อยละการสง่ ตอ่ ผปู้ ่วยนอกเขตสุขภาพลดลง (ค่าผา่ นเกณฑ์ ตอ้ งเป็นบวก) 10 +26.22
14. โครงการพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ สาขาทารกแรกเกดิ
29 KPI อัตราตายทารกแรกเกดิ น้อยกวา่ 3.7 ตอ่ 1,000 ทารกเกิดมีชีพ 3.7 2.71
15. โครงการการดแู ลผู้ปว่ ยระยะทา้ ยแบบประคับประคองและการดแู ลผปู้ ่วยกง่ึ เฉียบพลนั
30 KPI ร้อยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการต่าง ๆ ด้วย Opioid ในผู้ป่วย 40 54.97
ประคับประคองระยะท้าย อยา่ งมคี ณุ ภาพ
16. โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทยแ์ ผนไทยฯ
31 KPI ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดทีไ่ ด้รับบริการ ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟู 19.5 19.71
สภาพด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
17. โครงการพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ สาขาสุขภาพจติ และจิตเวช
32 KPI ร้อยละของผปู้ ่วยโรคซึมเศร้าเข้าถงึ บรกิ ารสขุ ภาพจิต 68 73.64
33 KPI อตั ราการฆา่ ตวั ตายสำเร็จ ประเมนิ ไตรมาส 4 (อัตรา < 6.3 /แสน)
33.1 อตั ราการฆ่าตวั ตายสำเร็จ 6.3 2.36
33.2 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะ 85 96.41
เวลา 1 ปี
18. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพ 5 สาขาหลัก
34 KPI 34. อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community- 28 22.77
acquired
34.2 อัตราการได้รบั Antibiotic ภายใน 1 ชม.(นับจากเวลาทไี่ ดร้ บั การวินิจฉยั ) 90 93.66
34.3 อตั ราการเจาะ H/C กอ่ นให้ Antibiotic 90 90.30
34.4 อตั ราการไดร้ ับ IV 30 ml/kg ใน 1 ชม.แรก (ในกรณีไม่มีขอ้ ห้าม) 90 83.37
34.5 อตั ราทีผ่ ปู้ ว่ ยได้รบั การดูแลแบบภาวะวิกฤต(ิ ระดบั 2-3) ภายใน 3 ชม. 30 36.44
35 KPI ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีทีม Refracture Prevention ในโรงพยาบาลตั้งแต่ 1
ระดับ M1 ขึ้นไป ที่มีแพทย์ออร์โธปิดิกส์เพิ่มขึ้น ให้ได้อย่างน้อย 1 ทีมต่อ
1 เขตสุขภาพ"
35.1 รพ.ที่มีทีม Refracture Prevention ในโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ M1 5.38 100.00
ขนึ้ ไป ที่มแี พทยอ์ อรโ์ ธปดิ ิกส์เพม่ิ ข้ึน ใหไ้ ดอ้ ยา่ งน้อย 1 ทีมต่อ 1 เขตสุขภาพ"
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 37
ตวั ช้วี ัดท่ี PA/ ยทุ ธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ ผลการดำเนนิ งานภาพรวมจังหวดั
KPI ลำดบั ตวั ชีว้ ัด, ช่ือตวั ช้ีวัด ราชบุรี
35.2 การผา่ ตัดภายใน 72 ชั่วโมง (Early surgery) > ร้อยละ 30 นับตัง้ แต่รบั 30 39.51
ผปู้ ่วยเข้ารักษาในโรงพยาบาล
35.3 Rate Refracture < ร้อยละ 25 *(ตัวชี้วัดนี้ใช้ได้กรณีที่โรงพยาบาลนั้น 25 0.00
ทำโครงการ มาแลว้ 1 ป)ี
19. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ
36 PA อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI และการ
ให้การรกั ษาตามมาตรฐานเวลาทก่ี ำหนด
36.1 อตั ราตายของผปู้ ว่ ยโรคกลา้ มเนือ้ หัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI (<) 9 8.91
36.2 รอ้ ยละของการใหก้ ารรกั ษาผู้ปว่ ย STEMI ไดต้ ามมาตรฐานเวลาท่ีกำหนด 50 89.32
20. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาโรคมะเร็ง
37 KPI รอ้ ยละผ้ปู ว่ ยมะเรง็ 5 อันดบั แรก ได้รบั การรกั ษาภายในระยะเวลาท่กี ำหนด
37.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 70 82.48
4 สัปดาห์
37.2 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 70 89.71
6 สัปดาห์
37.3 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาภายในระยะเวลา 60 78.81
6 สปั ดาห์
21. โครงการพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ สาขาโรคไต
38 KPI ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/ 66 63.25
1.73m2/yr
22. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพ สาขาจกั ษวุ ทิ ยา
39 KPI ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 85 81.71
30 วนั
23. โครงการพฒั นาระบบบริการสุขภาพ สาขาปลูกถา่ ยอวัยวะ
40 KPI อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อจำนวน 0.9 0.20
ผ้ปู ่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล A, S)
24. โครงการพัฒนาระบบบริการบำบดั รักษาผู้ปว่ ยยาเสพตดิ
41 KPI ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้ารับการบำบัดรักษา และ ติดตามดูแลอย่าง 45 57.35
ตอ่ เนอื่ ง 1 ปี (Retention Rate)
42 KPI ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรงได้รับการประเมิน 55 45.68
บำบดั รกั ษาและตดิ ตามดูแลช่วยเหลือตามระดับความรุนแรง อย่างตอ่ เนือ่ ง
25. โครงการการบรบิ าลฟน้ื สภาพระยะกลาง (Intermediate care; IMC)
43 KPI ร้อยละ รพ. ระดับ M และ F ที่ให้การบริบาลฟ้ืนสภาพระยะกลางแบบผู้ป่วยใน 75 100.00
(intermediate bed/ward)
43.1 ผู้ป่วย Stroke, Traumatic Brain Injury และ Spinal Cord Injury 60 88.70
ที่รอดชีวิตและมีคะแนน Barthel index <15 รวมทั้งคะแนน Barthel index
>15 with multiple impairment ได้รับการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลางและ
ติดตามจนครบ 6 เดือน หรอื จน Barthel index = 20
26. โครงการพฒั นาระบบบรกิ าร one day surgery
44 KPI ร้อยละของผ้ปู ว่ ยท่เี ขา้ รบั การผ่าตดั แบบ One Day Surgery 60 92.12
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 38
ตวั ชว้ี ดั ที่ PA/ ยุทธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ ผลการดำเนนิ งานภาพรวมจงั หวดั
ราชบุรี
KPI ลำดบั ตัวชวี้ ดั , ชือ่ ตวั ชว้ี ัด
4
27. โครงการกญั ชาทางการแพทย์
11.76
45 PA จำนวนคลินิกการให้บริการกญั ชาทางการแพทย์นำรอ่ งอย่างน้อย เขตสขุ ภาพละ 1
75.00
1 แหง่
88.34
แผนงานท่ี 7 : การพฒั นาระบบบริการการแพทย์ฉกุ เฉนิ ครบวงจรและระบบการส่งตอ่ 21.90
28. โครงการพฒั นาระบบบริการการแพทย์ฉกุ เฉนิ ครบวงจรและระบบการสง่ ต่อ 100.00
99.98
46 PA อัตราเสียชีวติ ของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน (triagel level 1) ภายใน 24 ชม. ใน รพ. 12 52.55
100.00
A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) น้อยกว่าร้อยละ 12 (Trauma<12%, Non- -32.67
trauma<12%)" จังหวดั ราชบุรไี ม่ใช่
กล่มุ เป้าหมาย
1.1 อัตราของผู้ป่วย trauma triage level 1 และมีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด 80
จังหวดั ราชบรุ ไี มใ่ ช่
ใน รพ. ระดับ A, S, M1 สามารถเข้าห้อง ผ่าตัดได้ภายใน 60 นาที ไม่ต่ำกว่า กลมุ่ เปา้ หมาย
ร้อยละ 80 ตัวช้วี ัดระดับเขต
1.39
1.2 อัตราของผปู้ ่วย triage level 1, 2 อยู่ในหอ้ งฉุกเฉิน <2 ชม. ใน รพ. ระดับ 60
A, S, M1 ไมต่ ำ่ กวา่ รอ้ ยละ 60
2.1 อัตราตายผู้ป่วยบาดเจ็บรุนแรงต่อสมอง (mortality rate of severe 45
traumatic brain injury) (GCS ≤ 8) ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 ไม่เกิน
ร้อยละ 45
3.1 อัตราของ TEA unit ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 ที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน 80
คุณภาพ (ไมต่ ่ำกว่า 20 คะแนน) ไมต่ ่ำกว่าร้อยละ 80
3.2 อัตราของโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน ECS คุณภาพ 80
(ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50) ไมต่ ่ำกวา่ ร้อยละ 80"
47 KPI ร้อยละของประชากรเขา้ ถึงบรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉิน 26
48 PA ร้อยละของ โรงพยาบาลศูนย์ ผ่านเกณฑ์ ER คณุ ภาพ 80
49 PA จำนวนผ้ปู ่วยท่ไี ม่ฉกุ เฉนิ ในหอ้ งฉกุ เฉนิ ระดับ 4 และ 5 (Non trauma) ลดลง -5
แผนงานท่ี 8. การพฒั นาตามโครงการพระราชดำริ โครงการเฉลมิ พระเกยี รติ และพ้ืนทเ่ี ฉพาะ
29.โครงการพระราชดำริ โครงการเฉลมิ พระเกยี รติ และโครงการพน้ื ทีเ่ ฉพาะ
50 PA ร้อยละของจังหวัดเป้าหมายที่มีหน่วยบริการตั้งอยู่ในพื้นที่เกาะมีการจัดระบบ 100
บรกิ ารสุขภาพสำหรับการท่องเท่ยี วทางทะเลทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ
แผนงานท่ี 9. อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร การทอ่ งเท่ียวเชงิ สขุ ภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
30. โครงการพฒั นาการท่องเทย่ี วเชิงสขุ ภาพและการแพทย์
51 PA ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ,ความงาม และแพทย์ 5
แผนไทย
3. ยทุ ธศาสตร์บคุ ลากรเปน็ เลศิ (People Excellence)
แผนงานที่ 10. การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกยี รติ และพ้ืนที่เฉพาะ
31. โครงการผลิตและพัฒนากำลังคนดา้ นสขุ ภาพสูค่ วามเป็นมอื อาชพี
52 KPI ระดับความสำเร็จของเขตสขุ ภาพทม่ี ีการบรหิ ารจัดการระบบการผลติ และ
พัฒนากำลงั คนได้ตามเกณฑ์เปา้ หมาย (เปา้ หมายระดบั เขตสุขภาพ)"
53 KPI ร้อยละของเขตสขุ ภาพท่ีมีการบรหิ ารจดั การกำลงั คนทม่ี ีประสิทธิภาพ(เปา้ หมาย 4
เขต /เก็บขอ้ มูลจงั หวดั )
4. แผนยทุ ธศาสตรบ์ รหิ ารเป็นเลิศดว้ ยธรรมาภบิ าล (Governance Excellence)
แผนงานที่ 11. การพฒั นาระบบธรรมาภบิ าลและองค์กรคุณภาพ
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 39
ตวั ชวี้ ดั ท่ี PA/ ยุทธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ ผลการดำเนนิ งานภาพรวมจังหวดั
KPI ลำดบั ตวั ชี้วัด, ช่อื ตวั ช้ีวัด ราชบุรี
33. โครงการประเมินคณุ ธรรมความโปร่งใส
54 KPI ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ผ่านเกณฑก์ าร 90 90.91
ประเมิน ITA
55 PA ร้อยละความสำเร็จของสว่ นราชการในสังกัดสำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
(PMQA)
55.1 สสจ. ดำเนินการผ่านเกณฑ์ทก่ี ำหนด ระดบั 5 90 100.00
55.2 สสอ. ดำเนินการผ่านเกณฑ์ทกี่ ำหนด ระดบั 5 90 100.00
34. โครงการพัฒนาองค์กรคณุ ภาพ
56 PA ร้อยละของ รพ. สังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคณุ ภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง
HA ข้ัน 3
56.1 รพ. ศนู ย,์ รพ. ท่ัวไป, รพ. สังกดั กรมการแพทย์, กรมควบคุมโรค และกรม 98 100.00
สขุ ภาพจติ
56.2 รพ.ชุมชน 80 100.00
57 PA รอ้ ยละของ รพ.สต. ทีผ่ ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว 75 100.00
35. โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแหง่ ความสขุ
58 PA จำนวนองคก์ รแห่งความสุข ที่มคี ุณภาพมาตรฐาน (Happy Organization)
58.1 รพศ./รพท./สสจ. อย่างน้อยเขตละ 1 แห่ง เป็นองค์กรแห่งความสุขที่มี 1 5
คุณภาพมาตรฐาน
58.2 รพช./สสอ. เป็นองค์กรแห่งความสขุ ท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน ร้อยละ 10 10 100.00
แผนงานท่ี 12 : การพัฒนาระบบขอ้ มลู สารสนเทศด้านสขุ ภาพ
36. โครงการพัฒนาระบบขอ้ มลู ขา่ วสารเทคโนโลยีสุขภาพแห่งชาติ (NHIS)
59 KPI รอ้ ยละของจงั หวดั ท่ผี ่านเกณฑค์ ุณภาพขอ้ มูล 80 100.00
37. โครงการ Smart Hospital
60 PA ร้อยละของหนว่ ยบรกิ ารที่เปน็ Smart Hospital
A11 ร้อยละของ รพ. ระดับ A, S, M1, M2 ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน รพ. Green 100 100.00
and Clean & Digital Look
A12 ร้อยละของ ระดับ F1, F2, F3 ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน รพ. Green and 100 100.00
Clean & Digital Look
A13 ร้อยละของ รพ. นอกสังกัด สป.ฯ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน รพ. Green and 100 100.00
Clean & Digital Look
61 PA จำนวนโรงพยาบาลทีม่ บี รกิ ารรบั ยาท่ีรา้ นยา 11
แผนงานที่ 13 : การบรหิ ารจดั การด้านการเงนิ การคลังสุขภาพ
38. โครงการลดความเหลอ่ื มลำ้ ของ 3 กองทุน
62 KPI ความแตกต่างอัตราการใช้สิทธิ (compliance rate) เมื่อไปใช้บริการผู้ป่วยใน ตัวช้วี ดั ระดับประเทศ
(IP) ของผ้มู ีสิทธิใน 3 ระบบ
63 KPI ระดับความสำเร็จของการจัดทำสิทธิประโยชน์กลางผู้ป่วยใน ของระบบ ตัวช้วี ดั ระดบั ประเทศ
หลักประกนั สุขภาพ 3 ระบบ
39. โครงการบริหารจดั การด้านการเงินการคลงั
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 40
ตัวช้ีวัดท่ี PA/ ยุทธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ ผลการดำเนนิ งานภาพรวมจังหวดั
ราชบรุ ี
KPI ลำดบั ตัวชว้ี ดั , ชือ่ ตวั ชีว้ ดั
4 0.00
64 KPI ร้อยละของหนว่ ยบรกิ ารทีป่ ระสบภาวะวกิ ฤติทางการเงิน (Financial Risk) 8 18.18
64.1 ร้อยละของหนว่ ยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงนิ ระดบั 7 ตัวช้ีวัดระดับประเทศ
ตวั ช้ีวดั ระดบั เขต
64.2 รอ้ ยละของหน่วยบรกิ ารประสบภาวะวิกฤตทิ างการเงนิ ระดับ 6
80 100.00
แผนงานท่ี 14 : การพฒั นางานวจิ ยั และนวัตกรรมด้านสุขภาพ
40. โครงการพฒั นางานวจิ ยั /นวัตกรรม ผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพและเทคโนโลยที างการแพทย์
65 KPI จำนวนนวตั กรรม หรือเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดคน้ ใหม่ หรือท่ีพัฒนาต่อยอด
66 PA ร้อยละของเขตสขุ ภาพมกี ารพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
แผนงานที่ 15 : การปรับโครงสร้างและการพฒั นากฎหมายด้านสขุ ภาพ
41. โครงการปรบั โครงสรา้ งและพฒั นากฎหมายด้านสุขภาพ
67 KPI ร้อยละของกฎหมายที่ควรปรับปรุงไดร้ ับการแกไ้ ขและมีการบงั คบั ใช้
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 41
โครงการในพระราชดำริ
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 42
หน่วยแพทยอ์ าสา
สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี
(พอ.สว.)
บทนำ
จังหวัดราชบุรีได้รับพระราชทานเป็นจังหวัด พอ.สว. ลำดับที่ 17 ของประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512
รวมระยะเวลา 51 ปี ออกให้บริการประชาชนในท้องถิ่นที่อยู่ในพื้นที่ทุรกันดาน ห่างไกลประชาชนมีความ
ยากลำบากในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ หรือมีปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัย และสาธารณสุขท้ัง
10 อำเภอ โดยมีนโยบาย ดำเนินการให้ความช่วยเหลือประชาชนในด้านการแพทย์และสาธารณสุข ซึ่งแบ่ง
อาสาสมัคร พอ.สว. ออกเป็น 2 ประเภท 1) อาสาสมัครสายแพทย์และสาธารณสุข ได้แก่ แพทย์ 207 คน,
ทนั ตแพทย์ 157 คน, เภสัชกร 140 คน, พยาบาล 676 คน และอาสาสมัครสายแพทยแ์ ละสาธารณสุขประเภท
อื่นๆ 946 คน 2) อาสาสมัครสายสนับสนุน ได้แก่ พนักงานขับรถ และข้าราชการประชาชนทั่วไปที่ไม่ใช่
อาสาสมคั รสายแพทย์ และสาธารณสุข 436 คน รวมทัง้ สน้ิ 2,562 คน (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 21 พฤศจิกายน 2563)
วตั ถุประสงคใ์ นการดำเนินงาน
เพื่อช่วยเหลือให้การรักษา ป้องกัน ส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอนามัยของประชาชนและเจ้าหน้าที่ใน
ทอ้ งถิ่นทุรกนั ดาร ห่างไกลคมนาคม
เปา้ หมายในการดำเนินงาน
ประชาชนและเจ้าหน้าที่ในหมู่บ้าน ชุมชน หรือท้องถิ่นทุรกันดานที่อยู่ในพื้นที่ทุรกันดาร ห่างไกล
ประชาชน ของจังหวัดราชบุรี ได้รบั บรกิ ารการรักษาโรค ปอ้ งกนั โรค ส่งเสรมิ และฟนื้ ฟูสุขภาพอนามยั
วิธีการดำเนินงาน
จัดทำแผนปฏบิ ตั งิ าน พอ.สว.ท่สี อดคลอ้ งกบั นโยบายและวัตถปุ ระสงคข์ องมลู นธิ ิ พอ.สว. โดยกจิ กรรม
ดำเนินการประกอบด้วย
1. แผนปฏบิ ตั งิ านหน่วยแพทย์เคลอื่ นท่ี พอ.สว.
แผนปฏิบัติงานพอ.สว. ร่วมกับหน่วยจังหวัดเคลื่อนที่ จำนวน 12 ครั้ง ทั้ง 10 อำเภอ และมี
กิจกรรมวันสำคญั 3 วัน ดังนี้
1.) วันที่ 2 มกราคม ของทกุ ปี วันคลา้ ยวันสิ้นพระชนม์
สมเดจ็ พระเจ้าพีน่ างเธอ เจา้ ฟา้ กัลยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์
2.) วันท่ี 4 กรกฎาคม ของทุกปีวันคลา้ ยวันประสตู ิ
สมเดจ็ พระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟา้ จุฬาภรณวลยั ลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒนวรขัตติยราชนารี
3.) วันท่ี 18 กรกฎาคม ของทุกปี วนั คลา้ ยวนั เสดจ็ สวรรคต
สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี โ ค ร ง ก ำ ร ใ น พ ร ะ ร ำ ช ดำ ริ
ร ำ ย ง ำ น ป ร ะ จำ ปี 2 5 6 3 ห น้ ำ | 43
การออกปฏิบตั ิงานไปแล้วท้ังส้ิน จำนวน 1 คร้งั
คือ วันที่ 6 มกราคม 2563 ออกปฏิบัติงาน ณ วัดหนองใยบัว หมู่ที่ 5 ตำบลหนองกวาง อำเภอ
โพธาราม จงั หวดั ราชบุรี มีผู้มารับบริการ รวมทง้ั ส้นิ 167 ราย ประกอบด้วย การตรวจโรคทั่วไป 65 ราย แพทย์
แผนไทย 10 ราย บรกิ ารทันตกรรม 30 ราย การตรวจคดั กรองมะเร็งเตา้ นม 60 ราย และเยี่ยมบ้าน 2 ราย
** สำหรับแผนปฏิบัติงานอีก 11 ครั้งงดออกปฏิบัติงานเนื่องจากเกิดการแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และเปน็ การชุมนุมของคนจำนวนมาก
2. แผนปฏิบัตงิ านหนว่ ยทนั ตกรรมเคล่ือนทพ่ี อ.สว.ในเรือนจำ
แผนปฏิบตั งิ าน จำนวน 8 ครั้ง และออกปฏบิ ตั ิงานไปแล้วท้ังส้นิ 2 ครั้ง ไดแ้ ก่
1. วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 ณ เรือนจำกลางราชบุรี มีผู้ต้องขังมารับบริการ รวมทั้งสิ้น 277
ราย ประกอบด้วย บรกิ ารถอนฟัน 249 ราย ตรวจฟัน 8 ราย และตรวจฟันร่วมกับจา่ ยยา 20 ราย
2. วันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ เรือนจำกลางเขาบิน มผี ตู้ อ้ งขังมารับบริการ รวมทงั้ สิ้น 246 ราย
ประกอบด้วย บริการถอนฟนั 17 ราย ตรวจฟนั 19 ราย และตรวจฟันรว่ มกับจ่ายยา 10 ราย
** สำหรับแผนปฏิบัติงาน.อีก 6 ครั้ง งดออกปฏิบัติงานเนื่องจากเกิดการแพร่ระบาดของโรคติด
เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) และเป็นการชุมนมุ ของคนจำนวนมาก
3. แผนปฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมเฝา้ ระวงั ทางทนั ตสุขภาพในนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาโรงเรียน ตชด.
- ผรู้ ับผดิ ชอบ งานทนั ตกรรม โรงพยาบาลสวนผ้งึ
4. แผนปฏบิ ัตงิ านโครงการฝึกอบรม การเลยี้ งดูและการดูแลสขุ ภาพช่องปากเดก็ สำหรับผู้ปกครอง
และผู้ดูแลเด็ก อายุ ๓-๕ ปี จังหวัดราชบุรี
- ผูร้ ับผิดชอบ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดราชบุรี
5. กจิ กรรมรณรงค์ “ฟนั สะอาด เหงือกแขง็ ฯ เพอื่ ถวายเปน็ พระราชกศุ ลเนื่องในวันคล้ายวันเสด็จ
สวรรคต สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี 18 กรกฎาคม 2563”
- ผูร้ บั ผดิ ชอบ กลุม่ งานทันตสาธารณสขุ สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ราชบรุ ี
ผลการดำเนนิ งาน
ประชาชนจังหวัดราชบุรีในท้องถิ่นทุรกันดานที่อยู่ในพื้นที่ทุรกันดาร ห่างไกลประชาชน เข้าถึงการ
ให้บริการการรกั ษาโรค ปอ้ งกันโรค สง่ เสริมและฟน้ื ฟูสขุ ภาพอนามยั
ปัญหาอปุ สรรค/ขอ้ เสนอแนะ
เนื่องจากชว่ งนีม้ สี ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อยู่ในช่วง
ของการระบาด ซงึ่ กิจกรรมดงั กลา่ วเปน็ กิจกรรมท่ีมกี ารรวมตัวกันจำนวนมาก ทำใหม้ กี ารเล่อื นแผนปฏิบัติงาน
พอ.สว.ออกไปไมม่ กี ำหนด
สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรำชบุรี โ ค ร ง ก ำ ร ใ น พ ร ะ ร ำ ช ดำ ริ