ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน
เรียบเรยี งโดย: ชาคริต โภชะเรอื ง
จัดทำ�โดย: มลู นธิ ิชมุ ชนสงขลา
73 อาคารชิตตยาแมนชน่ั ถนนเพชรเกษม ซอย 5
อำ�เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 90110
โทรศัพท์ 0 7422 1286 เวบ็ ไซต์ www.scf.or.th
สนบั สนนุ การจัดทำ�โดย: องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั สงขลา
ปก/รูปเล่ม: ฝนพรรษ อนิ ทรนวิ าส
เผยแพร่ในรูปแบบ E-Book: กันยายน 2564
สารบัญ
คำ�เกริ่นนำ� 4
สงขลาในสถานการณ์วกิ ฤตโควิด-19 10
1. Hatyai Sandbox Plus เปิดเมืองอย่างยงั่ ยนื 20
37
เศรษฐกจิ สร้างสรรค์ 38
นยิ ามของเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ 42
2. Platform Green Smile 58
ส่งตอ่ วัตถดุ บิ อาหารปลอดภยั ไปสู่โรงพยาบาล 68
3. OneChat หาดใหญ่: Local Life Platform 78
4. ส้มจุกปลุกจะนะ 89
5. แผนการผลิตส่งตลาดรถเขยี ว 90
สิง่ แวดล้อมยงั่ ยืน 94
การจดั การส่ิงแวดลอ้ มยั่งยนื 100
6. กองทนุ ขยะมีบญุ
7. หอ้ งเรียนสวนผกั คนเมอื ง On Zoom
ความมน่ั คงอาหารในครัวเรอื นส�ำ หรบั คนเมือง
2 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
8. 10 ปี ธรรมนญู ลุ่มน้ำ�ภมู ี 126
9. Save หาดมว่ งงาม: 138
การต่อสู้ บทเรียน และชัยชนะภาคพลเมอื ง 159
สังคมเปน็ สุข 160
คณุ ภาพชีวติ และคณุ ภาพของสังคมต้องไปด้วยกนั 164
10. ปฏบิ ตั กิ ารปนิ่ โตตุม้ ตยุ้ รับมือโควดิ ระลอก 4 178
11. การท�ำ แผนพฒั นาคุณภาพชีวิตรายบุคคล 196
ผ้สู งู อายุ คนพิการ คนยากล�ำ บาก อบต.คหู า 228
12. Platform: iMedCare ดูแลผู้มีภาวะพึ่งพงิ ที่บ้าน 234
“บรกิ ารดว้ ยหัวใจ มอบความห่วงใยถงึ บา้ น” 239
13. ชดุ Care Set สงขลา 240
14. ระบบฐานข้อมลู กลางคนพกิ าร ผู้สูงอายุ
ผอู้ ยใู่ นภาวะพง่ึ พงิ จงั หวัดสงขลา
สำ�นึกพลเมืองภาวะวถิ ีใหม่
15. พัฒนาการองคก์ รภาคพลเมอื งภายใตก้ ระบวนการ
นโยบายสาธารณะแบบมีสว่ นร่วมจังหวัดสงขลา
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 3
ค�ํำ เกร่ินน�ำํ
4 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
Theme หลกั ของการขบั เคลอ่ื นงานปี 2564 คอื Songkhla Smart
& Green สงขลาปลอดภยั อยา่ งย่งั ยนื
1) พระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ.2550 มาตรา 40 ก�ำ หนด
ให้มีการสนับสนุนการจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่และสมัชชาสุขภาพ
เฉพาะประเด็น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการสุขภาพแห่ง
ชาติ (คสช.) กำ�หนด และต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2553 สำ�นักงาน
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ร่วมกับภาคีเครือข่ายในพ้ืนท่ีได้
พัฒนาและยกระดับการจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นท่ีโดยเฉพาะสมัชชา
สุขภาพจังหวัดมาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือเป็นกลไกสำ�คัญในการพัฒนาและ
ขบั เคลอื่ นนโยบายสาธารณะแบบมสี ว่ นรว่ มในระดบั พนื้ ที่ เรม่ิ ตน้ จากการ
ร่วมค้นหาและกำ�หนดประเด็นสาธารณะท่ีเป็นจุดคานงัดของจังหวัด
จากนนั้ มกี ารพฒั นาเอกสารและขอ้ เสนอหรอื รา่ งมตอิ ยา่ งเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน
โดยมีข้อมูลและวิชาการเป็นพื้นฐาน และนำ�เสนอในเวทีสมัชชาสุขภาพ
จังหวัดเพื่อหาฉันทมติเป็นนโยบายสาธารณะเพ่ือสุขภาพและกำ�หนด
แนวทางการขับเคลื่อนมติร่วมกัน แต่เน่ืองจากเป็นกระบวนการใหม่
ภาคส่วนทางราชการและเอกชนจึงมีข้อจำ�กัดในการเข้าร่วมแตกต่างจาก
กระบวนการสมัชชาสุขภาพแห่งชาติท่ีมีการดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง
มากวา่ 13 ปี
2) การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะระดับจังหวัด มุ่งเน้นการ
พัฒนาและขับเคลื่อนประเด็นท่ีเป็นปัญหาสำ�คัญของจังหวัดแตกต่างกัน
ไปตามบริบทของพ้ืนที่ ซ่ึงในสถานการณ์ปัจจุบันท่ีมีการแพร่ระบาดของ
โควิด-19 ทำ�ให้มีการขับเคล่ือนประเด็นนโยบายต่างๆ ท่ีสอดคล้องกับ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 5
วกิ ฤตโควดิ -19 ทงั้ ในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด และการดแู ลฟน้ื ฟคู ณุ ภาพ
ชีวิตผู้ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตโควิด-19 ท่ียังมีความสำ�คัญและควรมี
การดำ�เนนิ การอย่างตอ่ เนื่อง
ปจั จุบนั จังหวัดสงขลาจดั อย่ใู น 29 จังหวัดพื้นทสี่ ีแดงเข้ม มีผปู้ ่วย
สะสมตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 เมษายน 2564 จำ�นวนทง้ั สิ้น 19,985 ราย เสยี ชวี ิต
113 ราย รกั ษาหายแลว้ 16,794 ราย มกี ารฉดี วคั ซนี เข็มแรก รอ้ ยละ
43.76 เขม็ ที่สอง รอ้ ยละ 14.41 เข็มสาม รอ้ ยละ 1.76 จากจำ�นวน
เป้าหมายท้งั สิน้ 1,083,675 รายหรือ 70% (ขอ้ มลู ณ 30 สิงหาคม
2564) การรบั มอื การแพรร่ ะบาดในพนื้ ที่ จ�ำ แนกเปน็ เขตเมอื งทม่ี กี ารแพร่
ระบาดสงู สดุ ไดแ้ ก่ อ�ำ เภอหาดใหญ่ อ�ำ เภอเมอื ง อ�ำ เภอสงิ หนคร รปู แบบ
การแพรร่ ะบาดจากโรงงาน เรม่ิ กระจายไปสู่ครัวเรือน ชมุ ชนตามลำ�ดับ
ทั้งนี้จังหวัดสงขลา นับแต่ปี 2557 เกิดความร่วมมือภายใต้
15 ภาคบี ริหารจดั การ โดยมอี งคก์ รหลักๆ ได้แก่ จงั หวดั สงขลา อบจ.
สงขลา มูลนิธิในเครือของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ 5 มหาวิทยาลัย
หอการค้าจังหวัด สภาอุตสาหกรรมจังหวัด สมาพันธ์สมาคมธุรกิจการ
ท่องเที่ยว มูลนิธิชุมชนสงขลา ร่วมจัดทำ� “วิสัยทัศน์สงขลา 2570”
โดยมียุทธศาสตรส์ �ำ คัญ ไดแ้ ก่ การสร้างเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ ส่ิงแวดล้อม
ย่ังยืน และสังคมเป็นสุข คณะทำ�งานได้นำ�ยุทธศาสตร์ดังกล่าวมาใช้
กำ�หนดทศิ ทางการพฒั นาแบบมสี ่วนร่วมโดยใช้พื้นท่เี ปน็ ฐาน ดำ�เนินการ
คู่ขนานกับยุทธศาสตร์จังหวัด บนฐานความร่วมมือกับองค์กรนิติบุคคล
ของภาคประชาสงั คมใหมๆ่ จ�ำ นวนมาก และตง้ั แตป่ ี 2560 รว่ มกบั ส�ำ นกั งาน
6 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ได้เริ่มกระบวนการ 4P-W ระดบั
จงั หวดั โดยการประสานงานของมลู นธิ ชิ มุ ชนสงขลา ไดช้ กั ชวนภาคคี วาม
ร่วมมือในการพัฒนานโยบายสาธารณะจังหวัดสงขลาแบบมีส่วนร่วม
บนฐานของปัญญา ท้ังภาครัฐส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาควชิ าการ ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม องคก์ รชมุ ชน และมกี ารจดั ท�ำ
แผนงานการพฒั นาและขบั เคลอื่ นนโยบายสาธารณะแบบมสี ว่ นรว่ มอยา่ ง
ต่อเนื่อง โดยยึดหลักการบูรณาการความร่วมมือภายใต้ยุทธศาสตร์
ร่วมดังกล่าว มีข้อสรุปที่จะเป็นจุดเน้นดำ�เนินการตามยุทธศาสตร์ของ
วิสัยทศั นส์ งขลา 2570 ร่วมดำ�เนนิ การใน 3 รูปแบบ ได้แก่ ตา่ งองคก์ ร
ด�ำ เนินการ ร่วมกนั ดำ�เนนิ การ และเสนอแนะเชงิ นโยบาย โดยมีข้อตกลง
ในแตล่ ะปจี ะมกี ารจดั เวทสี าธารณะรว่ มกนั ภายใตช้ อ่ื งานวนั พลเมอื งสงขลา
แต่ละองค์กรความร่วมมือนำ�เสนอเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แผนงาน
กจิ กรรมทจ่ี ะด�ำ เนนิ การในรอบปี จดั กลมุ่ เชงิ ยทุ ธศาสตร์ แตล่ ะกลมุ่ คน้ หา
เป้าหมายร่วม ความร่วมมือ นำ�ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายไปปรับวิธีการ
ทำ�งาน และนำ�ต้นแบบรวมถงึ ผลทีไ่ ดม้ าน�ำ เสนอในปถี ดั ไป โดยในส่วนที่
ขบวนสมัชชาสุขภาพจังหวัดรับผิดชอบ จะมีประเด็นร่วมท่ีสำ�คัญในการ
ขับเคล่ือนงานท่ีเป็นนโยบายสาธารณะ ประกอบด้วย 1.การส่งเสริม
เศรษฐกิจฐานราก ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 2.การจัดการขยะ
ยุทธศาสตร์ส่ิงแวดล้อมย่ังยืน 3.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กลุ่มคน
เปราะบางและยากลำ�บากยุทธศาสตร์สังคมเป็นสุข และได้ดำ�เนินการ
เรื่อยมาจนถงึ ปัจจุบนั
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 7
• เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการดำ�เนินงานประเด็นยุทธ-
ศาสตร์สำ�คัญ ผนวกกับสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด
ระลอกใหม่ คณะทำ�งานจึงนำ�เสนอแนวทางการดำ�เนินงาน
สมัชชาสุขภาพจังหวัด ปี 2564-2565 ภายใต้แนวคิดหลัก
“ปลอดภัย ต่อเนอื่ ง ยัง่ ยืน”
• สรา้ งความรว่ มมอื ภาครฐั สว่ นภมู ภิ าค องคก์ รปกครองทอ้ งถน่ิ
ภาควิชาการ ภาคเอกชน และประชาสังคม ร่วมกันสร้าง
จดุ ทดสอบ Sandbox ระดบั เมืองในจังหวดั สงขลาเพื่อน�ำ ไปสู่
การผลักดันนโยบายท่ีบูรณาการเป้าหมายสำ�คัญ ได้แก่ มิติ
สขุ ภาพ-คนปลอดภยั ลดการแพรเ่ ชอื้ และสญู เสยี ชวี ติ จากโควดิ
มิติด้านเศรษฐกิจ-เปิดเมืองปลอดภัยให้เศรษฐกิจเดินหน้า
ประชาชนพื้นที่ได้รับผลกระทบสามารถฟื้นฟูมีรายได้ และ
มติ ดิ า้ นสงั คม-กลมุ่ เปราะบางไดร้ บั การชว่ ยเหลอื ดแู ล เยยี วยา
• บรู ณาการงบประมาณจากองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั สงขลา/
กองทนุ ฟนื้ ฟสู มรรถภาพจงั หวดั จงั หวดั สงขลา สถาบนั พฒั นา
องค์กรชุมชน (พอช.) องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ /กองทุน
สุขภาพตำ�บล สหภาพยุโรป สำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
(สนช.) กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
สถาบันการศึกษา หอการค้าจังหวัดสงขลา และเครือข่าย
ความรว่ มมือ
• บรู ณาการเครอื่ งมอื การจดั ท�ำ Sandbox ผา่ นธรรมนญู สขุ ภาพ
ธรรมนูญลุ่มนำ้� ธรรมนูญตำ�บลน่าอยู่ การประเมินความ
เปราะบางของเมอื ง และกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัด
8 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
3) Theme หลักของปี 2564-2565 คอื Songkhla Smart &
Green สงขลาปลอดภัยอย่างย่งั ยนื บูรณาการร่วมกนั ท้งั 3 มติ ิ ไดแ้ ก่
ประเดน็ (Agenda) พน้ื ท่ี (Area) และการท�ำ งาน (Function)
เปา้ หมายรว่ ม
มิติด้านสุขภาพ-คนปลอดภัยลดการแพร่เช้ือและสูญเสียชีวิต
จากโควิด
มิติด้านเศรษฐกิจ-เปิดเมืองปลอดภัยให้เศรษฐกิจเดินหน้า
ประชาชนพืน้ ท่ไี ดร้ บั ผลกระทบสามารถฟ้ืนฟูมรี ายได้
มติ ดิ า้ นสงั คม-กลมุ่ เปราะบางไดร้ บั การช่วยเหลอื ดแู ล เยียวยา
ขอบคุณ ผู้เรยี บเรยี งบางส่วนในเอกสาร
ครหู มัด หลขี าหรี ส้มจกุ ปลกุ จะนะ
อภิศักด์ิ ทศั นี SAVE หาดม่วงงาม
ดร.แสงอรณุ อสิ ระมาลัย อ.พิศสมยั บตุ มิ าลย์ iMedCare
บุณย์บังอร ชนะโชติ ปนิ่ โตตุ้มตยุ้
เจษฏาภรณ์ บุญรัตน์ ณัฐวุฒิ หมัดอาดัม ทักษ์ดนัย ชูหว่าง
แผนการผลิตตลาดรถเขียว
นายตะวนั อิสโร ภานเุ มศวร์ อิสโม หอ้ งเรยี นสวนผกั คนเมอื ง
ขอ้ มลู จาก เฟซบุ๊ก OneChat
มูลนธิ ชิ ุมชนสงขลา
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 9
สงขลา
ในสถานการณว์ กิ ฤต
โควดิ -19
โดย นพ.อฏิ ฐผล เอ้ียววงศเ์ จรญิ
นายแพทย์ช�ำ นาญการ
สำ�นกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สงขลา
บรรยายเมอ่ื 28 กนั ยายน 2564
10 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
สถานการณ์ปัจจบุ นั ประเทศไทยผู้ป่วยรวม 28 วนั ติดอนั ดับ 1
ใน 10 ของโลก สถานการณ์ในประเทศไทยตอนนี้ค่อนข้างรุนแรง
สว่ นประเทศมาเลเซียเป็นอันดับที่ 9 ซ่งึ หากดเู ฉพาะพน้ื ที่อาเซียนจะเหน็
ว่าประเทศฟิลิปปินส์ตอนน้ีเป็นอันดับ 1 ตามมาด้วยประเทศมาเลเซีย
ท้ังภูมิภาคอาเซียนสถานการณ์ใกล้เคียงกัน หากมีการเปิดเมืองขึ้นมาฝ่ัง
ดา้ นมาเลเซยี และประเทศไทยไม่ตา่ งกัน
แนวโน้มสถานการณ์พ้ืนที่อื่นๆ จะดีขึ้นมาก แต่ภาคใต้จำ�นวน
เพิ่มขึน้ เรือ่ ยๆ ใน 4 จงั หวัดภาคใต้ ประกอบด้วยจังหวัดสงขลา ปัตตานี
ยะลา และนราธวิ าส จงั หวดั สงขลาในรอบทผี่ า่ นมาตดิ อนั ดบั 12 ซงึ่ คาดวา่
จะขน้ึ มาอยู่อันดับที่ 11 ในไม่กว่ี ันนี้
ทำ�ไมจำ�นวนคนไข้ของเราเพิ่มมากขึ้น หลังจากเปิดล็อกดาวน์
เราอยใู่ นพนื้ ทท่ี เ่ี พม่ิ ขน้ึ มาตลอด จงั หวดั สงขลาขอ้ มลู ในวนั ที่ 27 กนั ยายน
2564 จำ�นวนคนไข้รายวันอยู่ท่ีอันดับ 4 ส่ิงที่ ศบค.ให้ข้อมูลคือหาก
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 11
ปลดล็อกดาวน์และฉีดวัคซีนตรงตามเป้าหมายและดำ�เนินการตาม
มาตรการปอ้ งกนั โรคสว่ นบคุ คล มาตรการทางสงั คม การควบคมุ การเดนิ ทาง
มาตรการทางองค์กรด้วยการคัดกรอง การพยากรณ์ของผู้ป่วยรายวัน
ซง่ึ จะเขา้ ไดก้ บั การจ�ำ ลองในชว่ งกอ่ นหนา้ น้ี ทศิ ทางของประเทศไทยในขณะ
น้ีจะเป็นการเริ่มเปิดล็อกดาวน์ขึ้นเรื่อยๆ แต่ยังไงก็ตามสถานการณ์ของ
พ้ืนที่จะเป็นส่วนตัดสินใจว่าแต่ละพื้นท่ีจะมีมาตรการเหมือนกันหรือไม่
หรือจะเป็นมาตรการเฉพาะของแตล่ ะพ้ืนท่ี
สถานการณจ์ งั หวดั สงขลาจนถงึ วนั ที่ 28 กนั ยายน 2564 ผตู้ ดิ เชอื้
จำ�นวน 281 ราย ผู้ปว่ ยใหม่แยกกระจายตามอำ�เภอต่างๆ เทียบในชว่ ง
สัปดาห์ท่ีผ่านมาถือว่าค่อนข้างน้อยแล้ว ตัวเลขแต่ละอำ�เภอ สะท้อน
สถานการณ์จริง เช่น อำ�เภอหาดใหญ่ เจอผู้ป่วยมากท่ีสุด ต้ังแต่
ช่วงระบาดจนถึงตอนน้ี อาจจะน้อยลงบ้างมากข้ึนบ้าง ตามมาด้วย
อำ�เภอเมือง อำ�เภอจะนะ อำ�เภอเทพา อำ�เภอรัตภูมิ อำ�เภอสะเดา
12 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
อำ�เภอนาทวี อำ�เภอบางกลำ่� อำ�เภอสะบ้าย้อย อำ�เภอควนเนียง
อำ�เภอสงิ หนคร อำ�เภอนาหมอ่ ม และอำ�เภอสทงิ พระ ซง่ึ ลว้ นแลว้ แตม่ ี
เหตผุ ลวา่ เกดิ อะไรข้ึน จะเห็นมีการระบาดจากกจิ กรรมอะไรบ้าง มาจาก
ตรงไหน ในจำ�นวนตรงน้ีเป็นกลุ่มท่ีต้องลงไปจับตาดูคนที่ยังไม่ป่วยแต่
สมั ผสั กลมุ่ กอ้ นตรงนท้ี �ำ การรกั ษาดแู ลเรยี บรอ้ ยแลว้ สว่ นคนทไี่ มร่ ตู้ น้ สาย
ปลายเหตุเลยมีจำ�นวน 35 คน ซ่ึงต้องค้นหาสาเหตุและควบคุมพื้นท่ี
ให้ได้ หากมีตัวเลขเยอะมากในวนั ไหน ก็แปลว่าสถานการณเ์ ร่มิ แยล่ ง
กลุ่มก้อนจากการสัมผัสในชุมชนที่เกิดการระบาด เราจะเห็นว่า
ในกลมุ่ ชมุ ชนมกี ารตดิ กนั ในบา้ น ในเพอ่ื นบา้ นทม่ี กี ารไปมาหาสกู่ นั ตรงนี้
จะบอกวา่ พนื้ ทไ่ี หนมคี วามรนุ แรงมากขน้ึ ซงึ่ ในอ�ำ เภอหาดใหญก่ จ็ ะมกี าร
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 13
ระบาดมาก เปน็ ในชุมชนตา่ งๆ ทมี่ ีการเจบ็ ป่วย ซงึ่ ไม่ได้สัมผัสจากการ
ท�ำ งานแตส่ มั ผสั จากการพดู คยุ กจิ วตั รประจ�ำ วนั ซงึ่ ในชว่ งหลงั ๆ การสมั ผสั
ในระหวา่ งบคุ คล ต้องมีการปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม
ปัจจัยที่ทำ�ให้มีการระบาดในชุมชนจำ�นวนมากคือ การสัมผัส
ผปู้ ว่ ยยนื ยนั ในชมุ ชน ไมว่ า่ จะเปน็ ทบี่ า้ น ลกู หลานทไ่ี ปท�ำ งานจากภายนอก
หรอื กลมุ่ โรงงานและผสู้ มั ผสั กลมุ่ แรกทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ การปว่ ยและแพรก่ ระจาย
ในชุมชนมักเป็นกลุ่มงานรื่นเริงสังสรรค์ โรงงานและผู้สัมผัสในสถาน
บันเทิงเป็นจุดเร่ิมต้น ซ่ึงสถานบันเทิงเป็นจุดแรกที่ทำ�ให้เกิดการแพร่
กระจาย หลงั จากน้นั เกดิ การระบาด คนทป่ี ่วยต่อจากน้ันกต็ ดิ คนในบา้ น
หรือกลุ่มมัรกัส ที่ท�ำ ใหเ้ กิดการสมั ผสั แพรก่ ระจายไปได้มาก
ในช่วงสปั ดาห์ท่ีผ่านมา ติดกนั เองในบา้ นหรอื ในเพ่ือนบา้ น เปน็
กลมุ่ ทแี่ ซงกลมุ่ อ่นื ได้ทง้ั หมด หรือติดในกลุ่มเพือ่ นบา้ น ทำ�ใหเ้ หน็ ภาพว่า
สถานการณ์จงั หวดั สงขลาโดยภาพรวม หากเราจะดำ�เนนิ มาตรการต่างๆ
ตอ้ งพจิ ารณาสงิ่ ตา่ งๆ เหลา่ นด้ี ว้ ย ทม่ี กี ารลอ็ กดาวน์ เคอรฟ์ วิ ปดิ สถานที่
ต่างๆ เพื่อควบคุม ซง่ึ การสมั ผัสกนั เองในบา้ น เปน็ ส่งิ ทค่ี วบคุมได้ยาก
เพราะเป็นพฤติกรรมส่วนบุคคล ต้องให้การศึกษาและปรับพฤติกรรมกัน
ต่อไป
ข้อมูลของโรงงานต่างๆ กลุ่มก้อนเหล่าน้ี เป็นโรงงานท่ีผ่าน
กระบวนการ Bubble and Seal แล้ว ซง่ึ เป็นจรงิ ทป่ี ระกาศและใช้ได้ผล
แต่เมื่อ Bubble and Seal ปัญหาคือคนท่ีอยู่ในโรงงานจะสัมผัสเช้ือ
14 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ได้มากข้ึน มาตรการนี้เราจะใช้เมื่อสถานการณ์รุนแรงมากข้ึน พยายาม
ไม่ให้คนหลุดออกจากโรงงาน ซ่ึงสถานการณ์ที่ทำ�ให้คนหลุดออกจาก
โรงงานและมีคนป่วยมาก เช่น กรณีสงขลาแคนน่ิง กลุ่มน้ีติดเช้ือและ
กลับไปแพร่ที่บ้าน ปัจจุบันนี้เป็นผลกระทบจากการระบาดในโรงงาน
ซ่ึงสถานการณ์ในชุมชนและโรงงานมีการเช่ือมโยงกันอย่างใกล้ชิด
ณ ขณะปจั จบุ นั นห้ี ลงั Bubble and Seal แลว้ มติ ขิ องโรงงานจะดีขึ้น
เกิดเพียงระลอกส้ันๆ และคุมได้ดี แต่อาจมีการแพร่กระจายไปยังกลุ่ม
องค์กรอน่ื ๆ ทมี่ ีคนอยคู่ ่อนขา้ งเยอะ ซึ่งอาจมีมาตรการล็อกดาวน์ในบาง
พ้นื ท่ี
ข้อมูลการฉีดวัคซีน ณ วันที่ 26 กันยายน 2564 ประชาชน
ทีล่ งทะเบียน 1,080,000 กวา่ เปอร์เซ็นต์การฉีดวคั ซีนเขม็ ที่ 1 คดิ เปน็
ร้อยละ 55.14 การฉดี วคั ซนี เขม็ ท่ี 2 คิดเปน็ รอ้ ยละ 34.09 สว่ นใหญ่
เป็นคนที่อายุเกิน 60 ปขี ้นึ ไปและมีประวตั ิเป็นโรคกลมุ่ เสี่ยงต่างๆ เช่น
หัวใจ น�ำ้ หนักมาก เขม็ 3 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.91
ตอนนตี้ อ้ งพยายามใหผ้ ปู้ ว่ ยรายวนั ไมเ่ กนิ 200 ตอ่ วนั เพราะหาก
มากกว่านั้นจะทำ�ให้ระบบสาธารณสุขล่มสลาย จะทำ�ให้บุคลากรด้าน
สาธารณสุขต้องรับดูแลกลุ่มบุคคลเหลา่ น้ี และท�ำ ใหก้ ลมุ่ คนที่มภี าวะต้อง
ได้รับการดูแลโรคอื่นๆ จะได้รับผลกระทบ ซึ่งคนท่ีไม่ได้เป็นโควิดก็ตาย
ซงึ่ มปี ระสบการณใ์ นประเทศอนิ โดนเี ซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ หรอื ในกรงุ เทพชว่ งหนง่ึ
ที่อยู่ในภาวะวิกฤต และพยายามฉีดวัคซีนเพ่ือให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ให้ได้
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 15
70-80 เปอรเ์ ซน็ ต์ ขนึ้ อยกู่ บั สว่ นกลางก�ำ หนดสดั สว่ น ซง่ึ การระบาดจะท�ำ ให้
จำ�กัดวงไดด้ ว้ ยตวั เอง การแพร่กระจายจะแพรไ่ มม่ าก
การเลอื กชนิดวคั ซนี ท่เี ปน็ ปัญหา สถานการณ์ตอนนดี้ ขี ึน้ เพราะ
สว่ นกลางมีการจัดหาวคั ซนี ดีข้นึ ซ่ึงเร่ิมฉีดกนั มากขึน้ ในชว่ งตลุ าคม 2564
ซ่ึงต้องดูต่อไปว่าเร่ืองการจัดสรรวัคซีนเป็นอย่างไร เพราะการหาและ
ฉีดวัคซนี ท�ำ ไดช้ า้
เร่ืองของจำ�นวนเตียง เตียงท่ีรับได้ในโรงพยาบาลใหญ่ประมาณ
97 เตียงและเต็มอยูเ่ สมอ หากควบคมุ โรคได้ดีตวั เลขก็จะนอ้ ยลงไป และ
มกี ารส�ำ รองเตยี งใหก้ บั คนไขท้ ม่ี อี าการเพยี งเลก็ นอ้ ย ในพนื้ ทโี่ รงพยาบาล
สนามมเี ตยี งเหลือ 448 เตียง สามารถรองรับไดเ้ พียงพอ ตอนนี้มกี ลุ่ม
Hospital ตา่ งๆ เปน็ หนงึ่ ในทางรอดของกลมุ่ โรงแรม หรือกลมุ่ ทอ่ งเท่ียว
ในสถานการณท์ ี่ไม่มีนักท่องเท่ียวสามารถน�ำ ผ้ปู ่วยไปกกั ตัวใน Hospital
ดงั กล่าวได้
สถานการณ์ของแต่ละอำ�เภอมีความแตกต่างกัน อัตราการป่วย
หารดว้ ยจ�ำ นวนประชากรแต่ละอ�ำ เภอ บางอ�ำ เภอ เช่น อำ�เภอหาดใหญ่
คิดเป็นอัตราการป่วยยังต่ำ� ซ่ึงต่ำ�กว่าอำ�เภอเมือง อำ�เภอสิงหนคร
อำ�เภอจะนะ หรืออำ�เภอสะบ้าย้อย เพราะจำ�นวนประชากรมีมากกว่า
ในอำ�เภอดังกล่าว สะท้อนถึงความรุนแรงของพ้ืนท่ีและความเข้มข้นของ
มาตรการ ซงึ่ ในพน้ื ทอี่ �ำ เภอสงิ หนคร อ�ำ เภอจะนะ จ�ำ นวนประชากรมไี มม่ าก
ตวั หารนอ้ ยจ�ำ นวนกเ็ ลยมาก อ�ำ เภอหาดใหญ่สถานการณแ์ ย่ลงหลงั จาก
16 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
การเปิดล็อกดาวน์ จำ�นวนเพิ่มข้ึนเพราะมีการไปมาหาสู่ อำ�เภอเมือง
สถานการณแ์ ยล่ งมกี ารตดิ กนั ในชมุ ชน สว่ นอ�ำ เภอรตั ภมู ิ คลสั เตอรเ์ รม่ิ ตน้
คือ การปิดโรงงาน และติดต่อในชุมชน มีกลุ่มก้อนการระบาดเพ่ิมข้ึน
หลายๆ กลุ่ม อำ�เภอจะนะ อำ�เภอสะบ้าย้อยผลลัพธ์จากเทศกาล
ฮารรี ายอ คนเดนิ ทางจากอำ�เภอยะหยงิ่ จังหวดั ยะลา มาพักในพืน้ ทแี่ ละ
แพร่กระจายตอ่ และรับผลกระทบจากงานเทศกาลคร้ังนัน้ มีการปิดพน้ื ที่
ไปหลายชุมชนแล้ว อำ�เภอสะเดาสถานการณ์ดีขึ้นแต่ตำ�บลสำ�นักขาม
และต�ำ บลปรกิ มกี ารกระจายเปน็ กลุ่มก้อน อ�ำ เภอสิงหนคร คนที่ทำ�งาน
ในโรงงานมกี ารแพรก่ ระจายเชอื้ ใหค้ นทบี่ า้ น เพมิ่ ขนึ้ มากแตเ่ มอ่ื ลอ็ กดาวน์
สถานการณ์กด็ ีข้นึ
มาตรการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ศบค. จะมกี ารขยายระยะเวลาภาวะฉกุ เฉนิ
ไปถงึ วันท่ี 30 พฤศจิกายน 2564 และมีการประกาศเปิดสถานทใ่ี นบาง
สถานที่ ซึ่งต้องดูความเป็นจริงในระดับพ้ืนท่ีด้วย การจัดพ้ืนที่สงขลายัง
เป็นพ้นื ทค่ี วบคมุ เข้มข้น มาตรการยงั เคอรฟ์ วิ ช่วง 4 ทมุ่ – ตี 4 การจดั
กจิ กรรมใหม้ กี ารรวมตวั กนั ไดม้ ากขนึ้ ไมเ่ กนิ 25 คน สามารถบรโิ ภคอาหาร
ในร้านได้ หา้ งสรรพสนิ ค้า รา้ นเสริมสวย รา้ นนวด เปดิ ไดไ้ ม่เกิน 3 ทุม่
การเดินทางเข้าในราชอาณาจักร หากมีการฉีดวัคซีนมาก่อน
เดนิ ทางเขา้ ในประเทศกกั ตวั 7 วนั หากไมเ่ คยฉดี วคั ซนี เดนิ ทางทางอากาศ
ทางนำ้� กักตวั 10 วัน เดนิ ทางทางบกกกั ตวั 14 วนั เน่ืองจากทางบกเปน็
ช่องทางท่ที �ำ ให้เกดิ การแพรก่ ระจายเช้ือได้มากกวา่
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 17
พ้นื ท่ีน�ำ รอ่ งการท่องเทย่ี ว แบง่ เป็นระยะ จงั หวดั สงขลาแบง่ เปน็
ระยะที่ 2 คอื วางแผนให้มกี ารผ่อนปรน และเปน็ พนื้ ทน่ี �ำ รอ่ งเพ่ือการ
ท่องเที่ยวได้ในช่วงวันที่ 1 ธันวาคม 2564 เป็นต้นไปท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ
สถานการณ์
เร่ืองวัคซีนมีความพยายามในการฉีดวัคซีนไขว้และวางแผนว่า
จะมีการขอวัคซีนจากนานาประเทศที่ได้ติดต่อไว้และแผนในการจัดหา
วคั ซนี ในเดอื นตลุ าคม-ธนั วาคม 2564 มกี ารจดั หาวคั ซนี ใหไ้ ดค้ รบตามแผน
เปน็ จ�ำ นวน 126.2 ล้านโดส ประชากรประเทศไทย 70 ล้านคน จะไดร้ บั
วัคซนี ทง้ั หมด 62 ล้านคน เปน็ คิดครอบคลุมร้อยละ 90
เป้าหมายการฉดี วัคซีนภายในปี 2564 มีดงั นี้ ใหค้ วามครอบคลุม
ผู้ที่ได้รับการฉีดวัคซีนเข็มที่ 1 อย่างน้อยร้อยละ 70 ภายในเดือน
พฤศจิกายน 2564 อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 80 ภายในเดอื นธันวาคม 2564
ให้ความครอบคลุมผู้ได้รับการฉีดวัคซีนเข็มท่ี 2 อย่างน้อยร้อยละ 70
ภายในเดือนธันวาคม 2564 ให้ผู้ที่ได้รับการฉีดวัคซีนชนิดเช้ือตายครบ
2 เขม็ และผทู้ เี่ คยตดิ เชอื้ โควดิ ไดร้ บั เขม็ กระตนุ้ 1 เขม็ โดยมแี ผนการจดั สรร
ใหม้ ผี ไู้ ดร้ บั การกระตนุ้ เดอื นละ 1-2 ลา้ นโดส ตงั้ แตเ่ ดอื นตลุ าคม-ธนั วาคม
2564
18 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
โดยสรุปคือสถานการณ์ในจังหวัดสงขลายังอยู่ในภาวะวิกฤต
ซง่ึ หากมกี ารแพรร่ ะบาดในชมุ ชนจะเปน็ สง่ิ ทค่ี วบคมุ จดั การไดย้ าก ซงึ่ ตอ้ ง
มีมาตรการในการพูดคุยในการดูแลป้องกัน เพ่ือไม่ให้เกิดการแพร่
กระจายตอ่ โดยตอ้ งสรา้ งใหท้ กุ คนเกดิ ความตระหนกั โดยคดิ วา่ เราตดิ เชอื้
และตอ้ งระวงั ไมใ่ หเ้ ชอ้ื ของเราแพรไ่ ปหาคนอน่ื หากคดิ แบบนก้ี ารกระจาย
การแพร่เชอ้ื จะลดได้มาก
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 19
1
Hatyai Sandbox Plus
เปิดเมือง
อย่างยั่งยืน
20 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
โครงการ Hatyai Sandbox Plus เกดิ ขนึ้ มาจากความคดิ รเิ รม่ิ ของ
ภาคเอกชน น�ำ โดยหอการคา้ จงั หวดั สงขลา สมาพนั ธเ์ อสเอม็ อไี ทยสงขลา
มลู นธิ ิชุมชนสงขลา และเทศบาลนครหาดใหญ่ ภาคประชาสงั คม ภาครัฐ
ภาควชิ าการ องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ สาธารณสขุ จงั หวดั สงขลาและ
จังหวัดสงขลา ซึ่งล้วนตระหนักได้ว่าต่างมีความเป็นหุ้นส่วนและเจ้าของ
เมืองหาดใหญ่ จึงต้องการมีส่วนร่วมกับเทศบาลนครหาดใหญ่ในการแก้
ปัญหาการแพร่ระบาดของโควิด-19 ท่ีกำ�ลังส่งผลกระทบทั้งทางด้าน
สุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคมอย่างหนักชนิดที่ไม่เคยเกิดข้ึนมาก่อน
โดยใช้พ้ืนที่เมืองหาดใหญ่เป็นจุดทดสอบปฏิบัติการ (Sandbox) แต่ละ
ภาคส่วนร่วมกันจัดการตนเอง สร้างความไว้วางใจกันและกัน มีการ
บูรณาการร่วมกัน สมดุลระหว่างด้านสาธารณสุข เศรษฐกิจ สังคม
น�ำ ตัวแบบการรบั มือนำ้�ท่วมหาดใหญ่ (ACCCRN) มาปรบั ใช้ เพื่อนำ�
ผลส�ำ เร็จไปสกู่ ารผลักดนั นโยบายเปิดเมอื งอยา่ งเป็นทางการต่อไป
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 21
ทีมประเมนิ สถานการณ์โควดิ อำ�เภอหาดใหญ่
ทีมอาสาจากสายสุขภาพ (รพ.หาดใหญ่ มอ.สสอ.) เศรษฐกิจ
(หอการคา้ สมาคม สมาพนั ธ์ SME สมาคมโลจสิ ตกิ และขนส่ง) สังคม
(มอ. สมาคมอาสาสรา้ งสุข มลู นิธชิ มุ ชนสงขลา) เมืองหาดใหญร่ ่วมกนั
ประเมนิ สถานการณ์ ระดมแนวคดิ ความรว่ มมอื เสรมิ หนนุ การท�ำ งานของ
สสอ.หาดใหญ่ในการรับมือโควิดระลอก 4 ร่วมประเมินสถานการณ์
มองภาพอนาคตเพ่ือรับมือโควิดในพ้ืนท่ีหาดใหญ่ ภายใต้สถานการณ์ที่
ระบบสาธารณสุขรบั มือเต็มก�ำ ลงั แลว้ วคั ซนี จำ�เปน็ ต้องเนน้ ในกลมุ่ 507
หรือ 508 คือ ผู้มีอายุ 50 ปีข้ึนไปและกลุ่มโรคเรื้อรัง 7-8 กลุ่มโรค
ขณะท่ีด้านเศรษฐกิจรอวันนับถอยหลัง และด้านสังคมมีผู้ต้องการความ
ชว่ ยเหลือในปจั จยั 4 เพิ่มขึน้ ทวีคณู และมองตรงกนั ว่าโควิดยงั จะอยูก่ บั
เราอีกยาวนาน จำ�เป็นจะต้องเปล่ียนแนวคิดให้สามารถอยู่ร่วมกับโควิด
ให้ได้
สถานการณ์การแพร่ระบาด ภาพรวมระดับจงั หวดั ตง้ั แตเ่ มษายน
จนถึงปัจจุบันมีผู้เสียชีวิต 82 ราย (สิงหาคม 2564) อยู่ในหาดใหญ่
20 รายเฉล่ียเดือนละ 4-5 คนต่อเดือน โดยอยู่ในกลุ่มอายุเกิน 60
และเปน็ กลมุ่ เสยี่ ง 7 โรคอนั ตราย และไมไ่ ดฉ้ ดี วคั ซนี การแพรเ่ ชอ้ื ปจั จบุ นั
อยู่ในระดับครอบครัว สถานที่ทำ�งาน และเร่ิมพบกลุ่มผู้ป่วยท่ีสอบสวน
โรคแล้วไม่ทราบว่าติดเช้ือมาจากไหน ขณะที่การตรวจเชื้อเชิงรุกในพื้นที่
ชุมชนแออัด 2 แห่งพบว่า มีผู้ติดเชื้อน้อย ประเมินได้ว่ากลุ่มเสี่ยง
ส่วนใหญไ่ ดถ้ ูกน�ำ เข้าสู่ระบบการรักษาแล้ว
22 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ทีมประเมินสถานการณ์ว่าภายใน 2 ปี เรายังต้องอยู่กับโควิด
ดังน้ันจำ�เป็นต้องปรับแนวคิดการจัดการพร้อมวิเคราะห์กลุ่มเสี่ยงซึ่ง
ปัจจุบันยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยสัมพันธ์กันทั้งผู้ป่วยจากคลัสเตอร์
โรงงานขนาดใหญ่ กล่มุ ท่เี ดินทางกลบั บา้ น น�ำ เชื้อไปส่คู รอบครวั ชมุ ชน
และไดร้ บั เชอ้ื กลบั ไปกระจายในโรงงาน ขณะทกี่ ารคดั กรองเชงิ รกุ ในชมุ ชน
บ้านพกั รถไฟ พบผปู้ ว่ ยเพยี ง 6 คนจากการตรวจ 6-700 คน จำ�เปน็ ตอ้ ง
ตรวจสอบผลการตรวจจากชุดตรวจ ATK ก่อนท่จี ะด�ำ เนินการตอ่ ไป
โครงการ Hatyai Sandbox Plus มีวัตถุประสงคส์ ำ�คัญดังนี้
1. เพื่อทดสอบและเป็นต้นแบบ การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ
อย่างเปน็ รูปธรรม ตามนโยบาย ศบค.
2. เพอื่ ทดสอบและเปน็ ตน้ แบบ การสรา้ งกลไกการเปดิ เมอื งอยา่ ง
ย่ังยืน โดยรักษาสมดลุ ดา้ นสาธารณสขุ เศรษฐกจิ และสังคม
3. เพื่อออกแบบกลไก กระบวนการและมาตการที่เหมาะสม
ส�ำ หรับการเปดิ เมอื งอย่างยงั่ ยนื
โดยมีเปา้ หมายส�ำ คัญ 3 ประการด้วยกนั คอื
1. ด้านสาธารณสขุ : ต้องการลดการแพร่เช้อื และเสยี ชวี ิต
2. ดา้ นเศรษฐกจิ : ใหม้ กี ารฟนื้ ฟแู ละขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ไดอ้ ยา่ ง
ต่อเนือ่ ง
3. ด้านสงั คม: ชุมชนปลอดภัย เราจะไม่ทิ้งใครไว้ขา้ งหลัง
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 23
โดยมกี จิ กรรมแรกทีเ่ รม่ิ ด�ำ เนนิ การ คอื Hatyai Smart & Clean
สถานทป่ี ลอดภัย สำ�หรับคนทีป่ ลอดภยั นำ� 6 รา้ นอาหารและเคร่อื งดม่ื
เฟสที่ 1 ประกอบด้วย 1.ร้านอาหารไทยเจ๊เล็ก 2.ร้านทศั ปณั เบคชอป
3.ร้านเลอริช 4.ร้านป่ายาง 5.ร้านกาแฟพันธุ์ไทย สาขา(เขต 8)
6.ร้านสะหวา มาตรการสร้างความปลอดภัยจะเป็น New Nornal
Service ตัวอยา่ งตน้ แบบพืน้ ที่
สถานบรกิ าร มีการให้บริการแบบ New Normal มกี ารคดั กรอง
สถานะสขุ ภาพ (Health Profile) ในสว่ นผใู้ ชบ้ รกิ าร เจา้ หนา้ ท่ี พนกั งาน
สถานประกอบการ จะต้องผา่ นการฉดี วัคซีนอย่างน้อย 2 เขม็ และมผี ล
24 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
การตรวจเชิงรุก ATK ในรอบ 72 ชวั่ โมง ให้มีจุดบริการ ATK Center
เชื่อมโยงการบริการตรวจ ATK ด้วยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ผ่านการอบรม
จนมน่ั ใจไดว้ ่าสามารถใชอ้ ปุ กรณอ์ ย่างถูกตอ้ ง และสามารถบันทกึ สถานะ
สขุ ภาพลงใน Application OneChat ระบบจะรายงานผลแบบ Realtime
มีผู้ติดตามเฝ้าระวังและส่งต่อข้อมูลจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกรณีพบ
ผตู้ ิดเชื้อ
กิจกรรม Hatyai Care ชุมชนปลอดภัย ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
โดยมีเปา้ หมายระยะสน้ั
1. ชว่ ยเหลอื กลมุ่ เปราะบาง ลดความเหลอ่ื มลา้ำ ทางสงั คม ในกลมุ่
ผู้ประกอบการหรือประชาชนท่ีได้รับผลกระทบจากโควิด ท้ังคนหาดใหญ่
ประชากรแฝง กลมุ่ แรงงานนอกระบบ กลมุ่ ยากจน เปราะบาง กลมุ่ ตกงาน
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 25
จดั ท�ำ แคมเปญคปู องอาหารปนั อมิ่ ทง้ั อาหารปรงุ สกุ อาหารแหง้ สง่ เสรมิ
การแบ่งปันช่วยเหลือคน “จนแจ๊กๆ” และเสี่ยงสูงที่ถูกกักตัวจากโควิด
(HI) ผา่ นแอปพลเิ คชนั OneChat พรอ้ มไรเดอรส์ ่ง เพอ่ื ใหช้ มุ ชนทีไ่ ด้รบั
ผลกระทบสามารถด�ำ รงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมน่ั คง รว่ มกบั ชมุ ชนแออดั รมิ ทางรถไฟ
(เชน่ ป้อมหก โชคสมาน ตน้ โด จันทร์วโิ รจน์ ลงสำ�รวจช่วยเหลือกลุม่ คน
ได้รับผลกระทบ จัดระบบส่งต่อความช่วยเหลือ เช่น ส่งข้อมูลประสาน
ขอวคั ซนี จดั ตงั้ ครวั กลาง ประสานให้เกิดกองทุนกลางของเมอื ง
2. สรา้ งงาน สรา้ งรายได้ ใหก้ บั ประชาชนทว่ี า่ งงาน รบั สมคั รผดู้ แู ล
ท่ีบ้าน (Home Care Giver) เข้าสู่ระบบการดูแลผู้อยู่ในภาวะพึ่งพิง
ทบ่ี า้ น ของ iMedcare เพือ่ ลดชอ่ งวา่ งการใหบ้ ริการผู้อยใู่ นภาวะพึง่ พงิ
ในเขตเมือง และได้รับการพัฒนาศักยภาพผ่านหลักสูตรที่มีมาตรฐาน
ประสานส่งต่อผู้ผลิตอาหารสุขภาพ วัตถุดิบผลิตอาหารสุขภาพ จาก
เกษตรกรรอบพน้ื ทเี่ มอื งหาดใหญเ่ ขา้ สคู่ รวั โรงแรม โรงพยาบาล รา้ นอาหาร
สร้างรายได้ ฟื้นฟูเศรษฐกิจในกลุ่มเกษตรกรและแรงงานนอกระบบ
เป้าหมายระยะยาว สร้างจุดประสานงาน มีระบบข้อมูลกลาง
(Data Center) ท่สี ะทอ้ นความต้องการการชว่ ยเหลือโดยบูรณาการงาน
ขอ้ มลู จากแตล่ ะองคก์ ร (OneChat/iMed@home/TPMap/JHCIS ฯลฯ)
น�ำ เสนอในรูปแบบทเี่ ข้าถึงไดง้ ่าย เช่น แผนที่ (Google Map) รายงาน
ขอ้ มลู ส�ำ คญั เพอ่ื ประกอบการจดั ท�ำ แผนอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม พฒั นาคณุ ภาพ
ชวี ติ ประชาชนในพ้นื ที่ 9 ชมุ ชนตน้ แบบ
26 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ร้านคา้ ตัวอยา่ ง
ตวั อยา่ ง “สะหวา” รา้ นอาหารพน้ื บา้ น เปน็ หนง่ึ ในรา้ นนำ�ร่อง
ท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม Hatyai Smart & Clean สถานทป่ี ลอดภยั สำ�หรับ
คนทีป่ ลอดภยั ภายใตโ้ ครงการ Hatyai Sandbox Plus
โดยพนกั งานในรา้ นและลกู คา้ ทม่ี านง่ั รบั ประทานอาหารตอ้ งไดร้ บั
การฉดี วคั ซนี Covid-19 หรือตรวจคดั กรองด้วยชุดตรวจหาเชือ้ โควดิ -19
แบบ Antigen Test Kit (ATK) ภายใน 72 ชว่ั โมงเทา่ นั้น ส่วนลกู คา้
ที่ไมเ่ ข้าตามเง่อื นไขท่กี �ำ หนด สามารถส่ังอาหารกลบั ไปทานท่ีบ้านได้
เขา้ รบั บรกิ าร ลกู คา้ สามารถตรวจสอบมาตรการการใหบ้ รกิ ารของ
ทางร้าน ผ่านแอปพลเิ คชัน OneChat ง่ายๆ แค่เดินผา่ นเซนเซอร์ ATK
Screening ข้อความจะแสดงสถานะของคุณโดยอัตโนมัติ ว่าคุณอยู่ใน
สถานะใด ถา้ หากไมม่ ผี ลการตรวจ แอป OneChat จะแนะน�ำ สถานทต่ี รวจ
ATK ให้
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 27
จดุ สแกนเซนเซอร์ ATK Screening จะตดิ ต้งั อยบู่ ริเวณหนา้ รา้ น
เมือ่ เดนิ ผา่ นจุดเซนเซอร์ ระบบจะแสดงสถานะผ่านแอป
OneChat ในมือถือของลกู คา้
28 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ในสว่ นของรา้ น จะแสดงชือ่ และสถานะของลกู ค้า ทางรา้ นสามารถกดอนุญาตหรอื ปฏเิ สธได้
ตามสถานะและเง่ือนไขในการเข้ารับบริการของทางรา้ น
ล้างมอื ดว้ ยเจลแอลกอฮอลแ์ ละตรวจวดั อุณหภมู กิ ่อนเข้ารบั บรกิ ารภายในร้าน
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 29
เพียงเท่านก้ี ส็ ามารถเข้าใช้บรกิ ารรา้ นอาหาร ตามนโยบายของโครงการ
Hatyai Sandbox Plus สถานที่ปลอดภยั ส�ำ หรับคนทปี่ ลอดภยั ไดแ้ ลว้
บทบาทท้องถิ่นในการรบั มอื โควดิ
กรณเี ทศบาลเมืองสิงหนคร
น�ำ เสนอโดย นายกอง จนั ทร์สวา่ ง นายกเทศมนตรี
เทศบาลเมืองสิงหนคร ได้มีการเตรียมการในการรับมือโควิด
ตงั้ แตช่ ว่ งเดอื นเมษายน 2564 ซง่ึ เปน็ ชว่ งตน้ ๆ ของการเกดิ โควดิ ระลอกใหม่
หลังจากนน้ั ก็มกี ารระบาดอยา่ งตอ่ เนื่อง อำ�เภอสงิ หนคร คลัสเตอรห์ ลกั
30 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
เกดิ จากโรงงานหลายๆ โรงงาน เพราะประชากรในพ้นื ที่สว่ นใหญม่ อี าชพี
ท�ำ โรงงาน หลังจากมีการปดิ โรงงานท�ำ ให้เกดิ การระบาดลงชุมชน สาเหตุ
ของการระบาดอกี ส่วนเป็นเพราะลักษณะภมู ปิ ระเทศ
ลักษณะของบ้านเรือนที่พี่น้องมุสลิมอยู่เป็นครอบครัวติดๆ กัน
เชน่ บรเิ วณต�ำ บลหวั เขา ท�ำ ใหส้ งิ หนครเปน็ ต�ำ บลอนั ดบั ตน้ ๆ ของจงั หวดั
สงขลาท่มี ีการแพร่ระบาดอยา่ งมาก
บทบาทของเทศบาลเมืองสิงหนคร ได้ทำ�งานร่วมกันทางอำ�เภอ
และสาธารณสุขอำ�เภอ ในการแลกเปลี่ยนการทำ�งานกันทุกสัปดาห์กับ
ปรกึ ษาหารอื กนั ในการรบั มอื และมาตรการตา่ งๆ เพอื่ ใหร้ ฐั บาลชว่ ยเหลอื
บทบาทคือการสนับสนุนการ Swap เต้นท์ อาหาร และเร่ิมโครงการ
“สิงหนครโมเดล” ซึ่งเป็นโครงการท่ีคิดขึ้นมาเพ่ือดำ�เนินการภายใต้
สถานการณ์โควิด เป็นโครงการท่ีเริ่มจากชุมชนและดำ�เนินการในชุมชน
ในเขตเทศบาลสิงหนครซ่ึงมีชุมชนในพ้ืนท่ี 30 ชุมชน 18 หมู่บ้าน
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 31
โดยให้ชมุ ชนหรือประธานชุมชน อสม. จิตอาสา ท�ำ หนา้ ทค่ี ือคอยดแู ล
คนในพื้นที่ว่าใครติดโควิด หรือมีความเส่ียงสูง ซ่ึงเมื่อมีข้อมูลรู้ว่าใคร
สมั ผสั กบั บคุ คลหรอื กลมุ่ เสยี่ งสงู จะมกี ารแบง่ หนา้ ทก่ี นั ดแู ล และท�ำ รายชอ่ื
ว่ามีผู้สัมผัสเสี่ยงสูงกี่คน โดยจะส่งรายช่ือเข้ามาในกลุ่มไลน์ และจะนำ�
ข้อมูลผู้สัมผัสเส่ียงสูงไปมอบให้ทางโรงพยาบาล โดยทางโรงพยาบาล
กจ็ ะรบั ตัวไปรกั ษา
กรณีผกู้ กั ตัว ซ่ึงไม่ได้ออกจากบ้านไมไ่ ดท้ �ำ มาหากนิ เทศบาลจะ
เข้าไปดูแล และมีการระดมกันของคนในชุมชนในการทำ�อาหารไปให้
บทบาทอกี สว่ นคอื หลงั จากการระบาดระลอกใหญ่ เทศบาลมกี ารออกค�ำ สงั่
เพ่ือให้คนในชุมชน Workformhome บทบาทหน้าที่หลักอีกอย่างคือ
การล็อกดาวน์พื้นที่ 2 คร้ังในพ้ืนที่ตำ�บลหัวเขาแดงและตำ�บลสทิงหม้อ
เนอ่ื งจากเกดิ การระบาดรนุ แรงในหมทู่ ี่ 6 คดิ เป็น 30% ของพืน้ ที่ โดย
เทศบาลเข้าไปช่วยเหลอื และท�ำ ความเข้าใจประชาชนในพื้นที่ โดยตอ้ งทำ�
ความเข้าใจกับคนในพื้นที่อย่างละเอียดถ้วนถ่ี การล็อกดาวน์เป็นเร่ือง
ที่ละเอียดอ่อนเพราะเป็นการจำ�กัดสิทธิของประชาชน โดยเริ่มเจรจา
ในการลอ็ กดาวนก์ อ่ นในเบอื้ งตน้ และคอ่ ยๆ ลอ็ กดาวน์อยา่ งเตม็ รปู แบบ
มีการทำ�ความตกลงกับ สสจ. สสอ. และนายอำ�เภอ ส่ิงท่ีได้จากการ
ล็อกดาวน์ส่งผลให้ตัวเลขผู้ติดเช้ือลดลงอย่างมาก หากเปรียบเทียบกับ
ก่อนหน้าที่จะมีการล็อกดาวน์ มีผู้ป่วยที่ทางโรงพยาบาลต้องมารับใน
พ้ืนทวี่ ันละ 20-30 รอบ
32 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ข้ันตอนในการล็อกดาวน์ 1) ทำ�ความเข้าใจกับคนในพื้นที่
2) จำ�กัดพื้นที่ 3) การ Swap โดยคัดแยกคนท่ีติดเช้ือออกจากคน
ไม่ตดิ เช้อื ใครเปน็ บวกก็ดงึ ตวั ออกมารักษา ใครเปน็ ลบจะมกี ารฉีดวคั ซีน
ให้ทั้งหมด และมีการตรวจภูมิคุ้มกันให้ คนไหนมีภูมิคุ้มกันอยู่แล้วก็
ไม่ต้องฉีดวัคซีน โดยดำ�เนินการท้ังหมู่บ้านท่ีมีการล็อกดาวน์ ส่งผลให้
ตัวเลขผู้ปว่ ยในพื้นท่ลี ็อคดาวนล์ ดลงเยอะมาก
ประชาชนตอนแรกมีต่อต้านซ่ึงเป็นเร่ืองธรรมชาติ เพราะต้อง
หยุดงานหยุดทำ�มาหากิน แตก่ ่อนทีจ่ ะล็อกดาวน์ไดม้ ีการพดู คยุ และเชญิ
แกนน�ำ มาแลกเปลย่ี นในประเดน็ ตา่ งๆ เชน่ สงิ่ ทชี่ าวบา้ นจะไดร้ บั คอื อะไร
สาธารณสุขจะดูแลอย่างไร และการทำ�ตามข้ันตอนต่างๆ จะส่งผลดีต่อ
ตวั เองและชมุ ชนอยา่ งไร ซง่ึ หลงั จากนนั้ ประชาชนใหค้ วามรว่ มมอื มากขนึ้
ทำ�ให้ตัวเลขผู้ติดเชื้อลดลง คนเร่ิมมีความเข้าใจในการดูแลป้องกันตัวเอง
มากข้ึน
ขณะน้ีเทศบาลเมืองสิงหนครได้จัดต้ังโรงพยาบาลสนามร่วมกับ
โรงพยาบาลในพ้ืนที่ โดยใชโ้ รงเรียนเทศบาลสิงหนคร ซึ่งสามารถรองรับ
ผู้ป่วยได้จำ�นวน 200 คน โดยเปิดให้บริการท้ังคนในพื้นท่ีและคนนอก
พืน้ ที่
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 33
ชุมชนจดั การตนเองรับมอื โควดิ
กรณีอ�ำ เภอจะนะ
โดย นายแพทย์สุภัทร ฮาสุวรรณกจิ
อ�ำ เภอจะนะ เปน็ พน้ื ทที่ นี่ า่ สนใจมาก ตอนนผ้ี ทู้ ต่ี รวจแลว้ มผี ลบวก
99 คน ความยากคอื 99 คนจะใหน้ อนรกั ษาตวั ทไี่ หน มที างเลอื กใหเ้ ลอื ก
2 แนวทางคือ 1) นอนบา้ น 2) นอนโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนาม
ค�ำ ตอบของภาคชมุ ชนในอ�ำ เภอจะนะ การนอนบา้ นคอื จะท�ำ ใหก้ ารระบาด
หนกั กวา่ เดมิ เพราะคนปว่ ยจะไมอ่ ยนู่ งิ่ กบั ท่ี เนอ่ื งจากมคี วามกงั วลในเรอ่ื ง
การทำ�มาหากิน กลัวจะขาดรายได้ อีกทั้งบ้านก็หลังเล็ก ซ่ึงต้องหา
โรงพยาบาลหรอื โรงพยาบาลสนามเพอ่ื รองรบั ซงึ่ เป็นโจทยท์ โี่ รงพยาบาล
34 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
จะนะต้องคิด ตอนนีใ้ นโรงพยาบาลมีผูป้ ว่ ย 600 คน และมีเพยี ง 140
เตยี ง เพ่ือรองรับผู้ปว่ ยกล่มุ ผปู้ ว่ ยสีเหลือง และผ้สู งู อายทุ ม่ี โี รคประจำ�ตวั
ทำ�ใหไ้ มส่ ามารถรองรบั ผ้ปู ว่ ยไดอ้ ยา่ งเพียงพอ
นำ�มาสู่การเปิดโรงพยาบาลสนามท่ีชุมชนต้องช่วยเหลือกัน
โดยมโี รงพยาบาลสนามแหง่ แรกทโี่ รงเรยี นตาดกี านรู ลุ อมี าน ซง่ึ ตง้ั อยทู่ บี่ า้ น
โคกเค็ดหลังสถานีรถไฟ ตอนนั้นในพ้ืนท่ีระบาดหนักมาก จนไม่มีที่ให้
คนนอนรักษาตัว สุดท้ายพีน่ อ้ งในชมุ ชนจึงมีการเจรจาคุยกับโต๊ะอหิ มา่ ม
จนโต๊ะอิหม่ามเห็นชอบและเปิดเป็นโรงพยาบาลสนาม รองรับผู้ป่วยได้
80 เตยี ง ปัจจุบันโรงพยาบาลสนามแหง่ นป้ี ดิ ไปแลว้ หรอื ในพนื้ ท่ีโรงเรียน
รงุ่ โรจนว์ ทิ ยา ไดม้ กี ารเปดิ โรงเรยี นใหค้ รพู กั รกั ษาจ�ำ นวน 34 คน รวมทง้ั คน
ในชุมชนบางสว่ น ปัจจุบันก็ปิดตัวไป นอกจากนีย้ ังมีการเปดิ โรงพยาบาล
สนามในชมุ ชนอีก 3 แห่ง คือ โรงเรียนจะนะวิทยา รองรบั ได้ 120 เตียง
โรงเรยี นศาสนบ�ำ รงุ ซงึ่ เปน็ โรงเรยี นของเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม รองรบั
ได้ 150 เตยี ง เปน็ โรงเรยี นทรี่ บั เฉพาะผหู้ ญงิ และเดก็ ผอู้ �ำ นวยการโรงพยาบาล
สนามก็คือผอู้ ำ�นวยการโรงเรียน โดยเดือนพฤศจกิ ายน 2564 น้ี โรงเรียน
ก็จะเปิดเรียนต้องคืนพื้นท่ีให้กับโรงเรียน ซ่ึงต้องหาโรงพยาบาลสนาม
แห่งใหม่ อีกแห่งคือคา่ ย ตชด.ซึง่ เป็นโรงพยาบาลสนามผ้ชู ายลว้ น ซง่ึ ใน
การจดั โรงพยาบาลสนามจะพยายามจัดแยกเพศเพ่ือแกป้ ญั หาตา่ งๆ
ที่ผ่านมามีผู้ป่วยโควิดท่ีติดยาเสพติดหนีกลับบ้าน ทำ�ให้เกิดการ
แพรก่ ระจายออกไปอกี จ�ำ นวนมาก โดยมมี ตใิ นการเปดิ โรงพยาบาลสนาม
ศนู ยจ์ นิ ดาพร ซง่ึ เปน็ ศนู ยอ์ บรมเรอื่ งยาเสพตดิ อยแู่ ลว้ ประมาณ 30 เตยี ง
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 35
รบั ผชู้ ายโดยเฉพาะทเ่ี ปน็ ผใู้ ชย้ า โดยมมี าตรการทเ่ี ขม้ ขน้ มากขน้ึ นอกจาก
นี้มีโรงพยาบาลสนามที่โรงเรียนท่าคลอง ซ่ึงถือว่าเป็นความร่วมมือของ
ชุมชนเปน็ อย่างดยี งิ่ โดยชุมชนช่วยกนั ในเร่ืองขา้ วปลาอาหาร และมกี าร
รวมตัวของภาคประชาชนโดยมองว่าโควิดไม่ใช่เร่ืองของหมออย่างเดียว
จงึ มกี ารเปดิ ศนู ยก์ ภู้ ยั โควดิ ภาคประชาชน โดยใชส้ มนุ ไพรในการชว่ ยเหลอื
เชน่ ฟา้ ทะลายโจร กระชาย ท�ำ สตู รอาหารเผยแพร่ ตม้ น�ำ้ สมนุ ไพรใหช้ าวบา้ น
ในพ้ืนที่ระบาดเพ่ือป้องกันโรค และให้ความรู้ไปด้วย มีการใช้สูตรที่
ทางการแพทย์ทางเลือกใช้ในการสู้พิษโควิด ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีเป็นการสร้าง
บทบาทของภาคประชาชนร่วมกับหน่วยงานรัฐในการดูแลช่วยเหลือกัน
และเป็นการสร้างความตระหนักของผู้คนที่เข้ามาร่วมกระบวนการของ
ชุมชน ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีช่วยแบ่งเบาภาระหน้าท่ีของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้
เป็นอย่างมาก
36 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
เศรษฐกิจ
สร้างสรรค์
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 37
นยิ ามของ
เศรษฐกิจ
สร้างสรรค์
โดย ดร.สินาด ตรีวรรณไชย
คณะเศรษฐศาสตร์ ม.สงขลานครนิ ทร์
38 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
เศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นเศรษฐกิจท่ีใช้สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม
หรือทุนทางวัฒนธรรมหรือทุนท่ีอยู่ในคนหรือชุมชนมาใช้ประโยชน์เชิง
พาณิชย์ โดยใช้ความสร้างสรรค์ไปเพิ่ม คือนวัตกรรมหรือความคิด
สร้างสรรค์ในสิ่งท่ีผลิตอยู่เป็นพ้ืนฐาน เพื่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ที่สงู ขน้ึ ในเชิงมลู คา่ ทส่ี ูงข้ึน เพ่อื ใหช้ ีวิตของเราดขี นึ้ สิ่งท่ีเราท�ำ มมี ูลคา่
ทสี่ งู ขนึ้ มคี วามสขุ ไมล่ ำ�บากจนเกินไป
นิยามของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สำ�นักงานเศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาตใิ ห้นยิ ามไว้ว่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เปน็ ตวั รว่ มระดบั ประเทศหรอื
ระดับสากล เชน่ การโฆษณา สถาปตั ยกรรม การออกแบบ แฟช่นั ฟลิ ม์
และวิดีโอ ฮาร์ดแวร์ (อุปกรณ์) บริการท่องเที่ยว วรรณกรรม ดนตรี
พิพธิ ภัณฑ์ หอ้ งแสดง ห้องสมดุ การพิมพ์สอ่ื ส่ิงพิมพ์ ซอฟทแ์ วร์ กีฬา
ศิลปะการแสดง (ละครเวทีและเต้นรำ�) การกระจายเสียง วิดีโอเกมส์
ทัศนศิลป์การแสดงภาพและงานฝีมือ อาหารไทย การแพทย์แผนไทย
ซง่ึ คดิ วา่ หลายชมุ ชนอาจใชป้ ระโยชนป์ ระยกุ ตใ์ นสง่ิ ทตี่ วั เองมเี ปน็ ทางเลอื ก
ในท้องถ่ิน เน่ืองจากในระยะยาว เราอยากให้เศรษฐกิจท้องถ่ินมีการ
ขยายตัว จึงอยากให้ผู้ซ้ือที่ขยายวง จำ�เป็นต้องเข้าถึงกลุ่มผู้ใช้บริการ
ที่หลากหลายมากขึ้นโดยต้องใช้ส่ือท่ีเข้าถึงกลุ่มดังกล่าวได้มากข้ึน เช่น
การสอ่ื สารผ่าน Tiktok
เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ มแี นวโนม้ มคี วามตอ้ งการมากยงิ่ ขน้ึ มขี อ้ มลู
ความตอ้ งการในระดับ 10% ซ่งึ หากจะใชเ้ ชือ่ มโยงเศรษฐกิจฐานรากและ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยมีกรอบดังนี้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการผลิต
ทรี่ กั ษาสิ่งแวดล้อมทใ่ี ช้ทรัพยากรของท้องถ่ิน เรอื่ งของการเกษตร การใช้
OneChat ซึ่งเป็นลักษณะของนวัตกรรมที่เพิ่มศักยภาพเข้าไปในท้องถ่ิน
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 39
เรามวี ฒั นธรรมภมู ปิ ญั ญา ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาและทรพั ยากรของทอ้ งถนิ่
ในหลากหลายรูปแบบท้ังจับต้องได้และไม่ได้ หากเราบวกความคิด
สร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรมเขา้ ไปจะเกดิ สินคา้ บริการรูปแบบใหม่ ทตี่ ่อยอด
มีมูลคา่ สงู ขึ้น เราทำ�มากแต่เราได้กลับมาน้อย เราไมค่ อ่ ยประเมนิ ความ
คุ้มคา่ ของส่ิงทเ่ี ราเลือกทำ� เช่น การประเมนิ คา่ เสยี โอกาสท่ีชมุ ชนเข้ามา
ทำ�กิจกรรมตา่ งๆ ให้กับภาคี ซึง่ มีคา่ เสียโอกาสของเวลามาก ซง่ึ ระยะยาว
ต้องคิดแผนให้รอบคอบ ต้องเลือกว่าจุดเด่นของชุมชนแต่ละชุมชนเป็น
อยา่ งไร เชน่ ในพนื้ ทลี่ มุ่ น�ำ้ ทะเลสาบสงขลา เราจะเลอื กพนื้ ทไ่ี หนท�ำ เชงิ ลกึ
อย่างไรดี บางคนท่ีพร้อมก็เร่ิมได้ก่อน แต่ไม่ให้สิ่งท่ีทำ�น้ันกระจุกอยู่กับ
ประโยขนข์ องบางรายแต่กระจายให้ชมุ ชนหรอื กลุ่มอ่นื ๆ ไดร้ บั ประโยชน์
ด้วย สิ่งท่ีนอกเหนือจากสิ่งใหม่ที่เป็นเอกลักษณ์ท่ีมีความประทับใจมาก
คอื เราไมไ่ ด้คิดแตเ่ รอ่ื งอย่ดู กี นิ ดี อาจจะไดม้ ูลคา่ น้อยบา้ งแตส่ ิง่ แวดลอ้ ม
และสงั คมดขี นึ้ เศรษฐกิจเป็นเรอื่ งองคร์ วม เมื่อสังคมแย่ คนไม่ได้เรยี นรู้
ไมม่ คี นดูแลสขุ ภาพท�ำ ใหเ้ ศรษฐกจิ แย่เพราะคนไมพ่ ร้อม ด้านสิ่งแวดล้อม
กเ็ ช่นกนั หากแมน่ ำ้�เน่าเสีย ผลประโยชน์ท่ีจะแบ่งปนั ให้กับทุกคนก็ได้รบั
ประโยชน์น้อยลง สิง่ นเ้ี ราจะมีการบริหารจดั การดูแลร่วมกันอย่างไร
เวลาเรามปี ญั หาประเด็นทตี่ อ้ งพดู ให้ชัด ปัญหาของเราจริงๆ คอื
อะไร เช่น ในชุมชนไม่มีรายได้จากการท่องเท่ียว และรู้สึกว่าอยากมี
การท่องเที่ยว ชมุ ชนเรามีของดีจริงๆ หรอื ไม่ ในการทำ�สิ่งใดส่งิ หนง่ึ เรามี
โอกาสในการท�ำ สิ่งใดส่ิงหนงึ่ เสมอ เรามีค่าเสยี โอกาสเสมอ ชมุ ชนทไ่ี ม่มี
แหล่งท่องเที่ยวแต่เป็นชุมชนที่เป็นแหล่งของการให้วัตถุดิบทางอาหาร
แทนในพื้นทท่ี ่องเทย่ี ว หากเรารู้ความถนัดความชำ�นาญทเี่ ป็นเอกลกั ษณ์
40 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
เฉพาะถนิ่ หลายครง้ั เราอยากท�ำ เรามใี จแตส่ ง่ิ หนงึ่ ทเ่ี ราตอ้ งตง้ั ตน้ ใหช้ ดั คอื
ความชำ�นาญ จุดเด่นที่มีอัตลักษณ์เพียงพอหรือไม่ ซึ่งทั้งน้ีบทบาทของ
มหาวทิ ยาลยั ภาครฐั เครือขา่ ยภาคี สามารถช่วยประเมินศกั ยภาพของ
ชุมชนได้ โดยส่งิ สำ�คัญของชุมชนคอื จะเป็นชมุ ชนเด่นหรือชุมชนส่งเสริม
ในภาพใหญ่ก็ได้ แต่ต้องชดั เจนในเรื่องของการแบ่งปันผลประโยชน์
ส�ำ หรบั การเตรยี มความพรอ้ มระยะสนั้ เปน็ เรอื่ งของพนื้ ทโ่ี ดยดวู า่
พนื้ ทม่ี ศี กั ยภาพหรอื ไม่ หากไมม่ ศี กั ยภาพพจิ ารณาวา่ เราตอ้ งท�ำ อะไรบา้ ง
เช่น หากจังหวัดสงขลาพร้อมที่จะเป็นแหล่งท่องเท่ียว แต่ในพ้ืนที่ยังมี
ปญั หาน�ำ้ เนา่ เสยี จะมอี ะไรทจี่ ะท�ำ ในการแกป้ ญั หารว่ มกนั บา้ ง นอกเหนอื
จากความปลอดภยั การมขี องขายทมี่ คี ณุ ภาพดยี งั่ ยนื และยาวนานเปน็ สง่ิ
ทคี่ วรตอ้ งท�ำ เรามกั จะเลอื กท�ำ กจิ กรรมทอ่ งเทยี่ วภายใตข้ องดที เ่ี รามี แตเ่ รา
ตอ้ งตโี จทยใ์ หแ้ ตกวา่ เรามปี ญั หาเรอื่ งอะไร เพอื่ จะไดแ้ กไ้ ขรว่ มกบั ภาคตี า่ งๆ
ไดต้ รงจดุ โดยบางเรอ่ื งอาจเรม่ิ จากเรือ่ งเล็กๆ กอ่ น
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 41
2
Platform Green Smile
ส่งต่อวัตถุดิบ
อาหารปลอดภัย
ไปสู่โรงพยาบาล
42 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
จากปัญหาด้านสุขภาพของผู้บริโภคท่ีมีต้นเหตุมาจากอาหารท่ีมี
การปนเป้ือนสารพิษ ทำ�ให้ความต้องการอาหารปลอดภัยเพิ่มสูงทวีคูณ
ขณะเดียวกัน กลุ่มเกษตรกรท่ีทำ�การเกษตรและผลิตอาหารปลอดภัย
พบวา่ มปี ญั หาในการวางแผนการผลติ และจดั สง่ ผลผลติ ซง่ึ ปจั จบุ นั ประสบ
ปญั หามวี ตั ถดุ บิ ไมเ่ พยี งพอ และไมต่ อ่ เนอื่ ง ขาดการรวมกลมุ่ กลมุ่ เกษตรกร
ปลูกผลผลิตแบบแยกส่วน ต่างคนต่างทำ� ขณะตลาดวัตถุดิบอาหาร
ปลอดภยั หนว่ ยงานภาครฐั ทม่ี นี โยบายในการรบั ซอ้ื วตั ถดุ บิ ปลอดภยั อาทิ
โรงพยาบาล โรงเรยี น เปน็ ต้น โดยมกี ารส่งั ซือ้ วัตถุดบิ ล่วงหนา้ จากผู้ค้า
ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว ไม่สามารถท่ีจะจัดหาวัตถุดิบอาหารปลอดภัยได้อย่าง
เพียงพอและต่อเนื่อง จึงมีการซื้อวัตถุดิบจากตลาดสดซึ่งมีการผลิตจาก
เกษตรกรนอกพ้ืนที่ มีการปนเป้ือนสารพิษจากกระบวนการผลิต จาก
ปัญหาดังกล่าวหากสามารถบริหารจัดการห่วงโซ่วัตถุดิบอาหารปลอดภัย
ขน้ึ มาได้ เพอ่ื ใหก้ ลมุ่ เกษตรกรสามารถท�ำ การผลติ วตั ถดุ บิ อาหารปลอดภยั
ใหแ้ ก่หน่วยงานทต่ี ้องการไดต้ ลอดทั้งปีผ่านระบบตลาดล่วงหน้า
Platform Green Smile สร้างระบบเชื่อมโยงห่วงโซ่การผลิต
และสนับสนุนการเกษตรและผลิตอาหารสุขภาพแบบครบวงจร (ต้นนำ้�
กลางนำ้� ปลายนำ้�) เพื่อช่วยให้กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์และ
อาหารปลอดภยั จ�ำ นวนมากในพน้ื ทส่ี ามารถรวมกลมุ่ และท�ำ แผนการผลติ
ใหเ้ พยี งพอกบั ความตอ้ งการ ซึง่ ผู้ซอ้ื (โรงพยาบาล โรงแรม รา้ นอาหาร
โรงเรยี น) จะเปน็ ผเู้ ปดิ รบั วตั ถดุ บิ ลว่ งหนา้ ท�ำ ใหส้ ามารถน�ำ ขอ้ มลู ดงั กลา่ ว
มาวางแผนเพาะปลกู และแจกจา่ ยแผนใหแ้ กเ่ กษตรกรในพน้ื ทต่ี า่ งๆ ท�ำ ให้
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 43
ทราบถงึ เมลด็ พนั ธห์ุ รอื ตน้ กลา้ ทจ่ี ะใช้ ปยุ๋ และวสั ดสุ นิ้ เปลอื งตา่ งๆ รวมถงึ
การบรหิ ารความเสย่ี งในการเพาะปลกู ใหแ้ กก่ ลมุ่ เกษตรกรอกี ดว้ ย โดยมกี าร
นำ�เทคโนโลยีท่ีใช้ในการพัฒนาแพลตฟอร์มด้านการบริหารจัดการห่วงโซ่
วตั ถดุ บิ อาหารปลอดภยั ในรปู แบบ Application ทสี่ ามารถใชง้ านในลกั ษณะ
Matching ความต้องการวัตถุดิบอาหารปลอดภัยจากโรงพยาบาล กับ
ความสามารถตอบสนองการผลิตของกลุ่มเกษตรกร ประกอบดว้ ย
1) การจดั การฐานขอ้ มลู กลาง เกบ็ รวบรวมและประมวลผลขอ้ มลู
เกษตรกรรายบุคคล www.communeinfo.com ส่งเสริมการรวมกลุ่ม
การพฒั นามาตรฐานการผลิต GAP, PGS
2) การจัดการวัตถุดิบอาหารปลอดภัยและการซื้อขายวัตถุดิบ
ในตลาดลว่ งหนา้ น�ำ เสนอขอ้ มลู ความตอ้ งการวตั ถดุ บิ ลว่ งหนา้ การสงั่ จอง
วัตถุดบิ ล่วงหนา้ การรวบรวมและส่งผลผลิต
3) การวางแผนการผลิต ให้เกษตรกรรวมกลุ่มและวางแผนการ
ผลิตร่วม การแกป้ ญั หาการผลิต
4) การรบั ส่งผลผลติ รวบรวมบรรจุภณั ฑ์ ควบคุมคณุ ภาพ ณ จุด
คดั แยก และสง่ ผลผลิตสโู่ รงครวั ของโรงพยาบาล
ทั้งนี้มูลนิธิชุมชนสงขลาในฐานะองค์กรพัฒนาเอกชน ได้พัฒนา
ระบบเบ้ืองต้น และเปิดใช้งานมาต้ังแต่ปี 2563 ต้องการต่อยอดการ
ด�ำ เนินงาน โดยพฒั นา Platform Green Smile สรา้ งระบบเชือ่ มโยง
หว่ งโซก่ ารผลติ รว่ มกบั เครอื ขา่ ยเกษตรสขุ ภาพจงั หวดั สงขลา และหนว่ ยงาน
ส�ำ คญั ไดแ้ ก่ คณะกรรมการเขตสขุ ภาพเพอ่ื ประชาชน เขต 12 สนง.เกษตร
และสหกรณจ์ งั หวดั สงขลา องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สงขลา และเครอื ขา่ ย
44 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
สมชั ชาสขุ ภาพจงั หวัดในพนื้ ทภ่ี าคใตต้ อนล่าง 7 จงั หวัดและธนาคารเพือ่
การเกษตรและสหกรณ์ ฝา่ ยกจิ การสาขาภาคใตต้ อนลา่ ง ท�ำ ใหม้ ศี กั ยภาพ
ทีจ่ ะผลิต วางแผนการผลิต การตลาด/การท�ำ แผนธรุ กิจ ไดร้ ับมาตรฐาน
อาหารปลอดภยั และเกษตรอนิ ทรีย์ (GAP, ออรแ์ กนิคไทยแลนด,์ PGS)
นำ�เสนอข้อมูลห่วงโซ่การผลิตของตน และทำ�งานร่วมกับลูกค้าในส่วน
ของโรงพยาบาล โรงแรม ร้านอาหารเพ่ือจัดส่งวัตถุดิบอาหารปลอดภัย
ไปถงึ มอื ผบู้ รโิ ภคเขา้ ถงึ ผลผลติ ทเ่ี พยี งพอ และมกี ารรบั รองความปลอดภยั
ปราศจากสารไล่แมลง ยาปราบวัชพชื ปนเป้อื น และสนบั สนนุ การทำ�งาน
ของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในระดับจังหวัดท่ีมีปัญหาต่างคนต่างทำ�
ให้สามารถประสานทรัพยากรวางแผนการสนับสนุนได้ตรงความตอ้ งการ
จัดเป็นระบบบริหารจัดการแพลตฟอร์มด้านการบริหารจัดการ
ห่วงโซ่วัตถดุ บิ อาหารปลอดภัยในรปู แบบ Application ทีส่ ามารถใชง้ าน
ในลักษณะ Matching ความต้องการวัตถุดิบอาหารปลอดภัยจาก
โรงพยาบาล กบั ความสามารถตอบสนองการผลติ ของกลุ่มเกษตรกร โดย
แพลตฟอร์มจะประกอบดว้ ย 1.การจดั การฐานข้อมูลกลาง 2.การจดั การ
วัตถุดิบอาหารปลอดภัยและการซ้ือขายวัตถุดิบในตลาดล่วงหน้า 3.การ
วางแผนการผลติ 4.การรบั ส่งผลผลติ เพอ่ื ให้สามารถบรหิ ารจดั การข้อมูล
ที่ถกู ต้อง และตอบสนองความต้องการของตลาดวัตถดุ ิบอาหารปลอดภัย
และสนับสนนุ เกษตรกรผูผ้ ลิตผัก ผลไม้ ข้าว สง่ วัตถดุ ิบไปถงึ ผูบ้ ริโภคผ่าน
โรงพยาบาล โรงแรม รา้ นอาหาร และอ�ำ นวยความสะดวกใหห้ น่วยงาน
ท่ีเก่ียวข้องในการส่งเสริมเกษตรและอาหารเพ่ือสุขภาพในพื้นที่ภาคใต้
ตอนล่างใหท้ �ำ งานร่วมกันบน Platform เดียวกนั
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 45
ความแตกตา่ งระหวา่ งสง่ิ ที่มีอยแู่ ลว้ ในปจั จบุ นั
กับแนวคิดหรอื เทคโนโลยีใหมท่ ี่ใชใ้ นโครงการ
รายการ ปจั จบุ นั แนวคิดที่ใช้ในโครงการ
1. การจดั การ มีฐานข้อมูลเกษตรกรของ
หนว่ ยงานต่างๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง - ประสานเชงิ นโยบายจัดตัง้
ฐานข้อมลู อยู่ในระบบในกระดาษ หรอื คณะกรรมการระดับจงั หวัด
กลาง เปน็ ไฟลด์ จิ ติ อล และเปน็ เพยี ง
ข้อมลู พ้นื ฐาน ต่างคนต่างทำ� - มีระบบฐานขอ้ มลู กลางของ
2. การจัดการ หลากหลายรปู แบบ ยังไม่มี เกษตรกรรายบคุ คลและ
วัตถุดบิ และ ระบบฐานขอ้ มลู กลาง กล่มุ ของพนื้ ที่ หน่วยงาน
การซื้อขาย ท่ีทกุ ฝ่ายจะแชร์ข้อมลู ทเ่ี กี่ยวข้องสามารถน�ำ ไปส่กู าร
ในตลาด และดรู ว่ มกัน จัดท�ำ แผนงานระดบั จังหวดั
ลว่ งหนา้ ในการสนับสนุน
มกี ารดำ�เนินการกันเอง
ระหวา่ งผ้ผู ลิต (ข้าว ผกั - การรวมกลุ่มของเกษตรกร
ผลไม้) กบั ลกู คา้ ทีมงานจะประสานหน่วยงาน
(โรงพยาบาล/โรงแรม/ และร่วมกนั ด�ำ เนินการรบั รอง
ร้านอาหาร) หน่วยงาน มาตรฐาน (GAP, PGS)
ไม่สามารถบรหิ ารจัดการ ด�ำ เนนิ การผ่าน www.com-
วตั ถุดิบร่วมกนั ในภาพรวมได้ muneinfo.com และ
Application GreenSmile
*ดำ�เนนิ การไปแลว้ ในบางสว่ น
การสั่งจองสนิ ค้าลว่ งหนา้
เพ่ิมโอกาสในการผลติ และจัดสง่
วัตถุดบิ ให้ครอบคลุมปรมิ าณ
ความตอ้ งการ และบรหิ ารปรมิ าณ
ความต้องการรว่ มกบั เครือขา่ ย
ในแต่ละพ้นื ที่ อยู่ใน Platform
46 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
รายการ ปจั จบุ นั แนวคดิ ท่ีใช้ในโครงการ
3. การวางแผน
เกษตรกรทวั่ ไปไมม่ กี ารบนั ทกึ ระบบวางแผนการผลิตของกลมุ่
การผลิต ข้อมลู การผลิตทเ่ี ปน็ ปัจจบุ นั การประสานของการสนบั สนนุ
หรือบนั ทึกในกระดาษ และ เพ่อื ลดตน้ ทุนปัจจัยการผลิต
4. การรบั สง่ ผลผลติ พนื้ ท่กี ารผลติ กระจดั กระจาย และสินเช่ือสนบั สนุนการผลิต
ผลผลิตที่ต้องการในตลาด การติดตามการผลิต และระบบ
มีความหลากหลาย แต่ไมม่ ี ชว่ ยเหลือเกษตรกรแกป้ ญั หา
การบริหารจดั การร่วมกัน การผลิตอยใู่ น Platform
ในภาพรวม
Platform จะอำ�นวยความสะดวก
ไปซอ้ื ผลผลิตจากตลาดสด ในการบันทึกบัญชผี ลผลิตของ
ที่ไมส่ ามารถรับรู้ทม่ี า สมาชิกในกลุม่ ท่ีมาจดั สง่
และมัน่ ใจในคุณภาพได้ ณ โรงคัดแยก พร้อมระบบ
บางคร้งั มวี ิสาหกจิ /บริษทั / บันทึกการตรวจสอบคุณภาพ
สหกรณ์คนกลางรวบรวม และมาตรฐานการผลติ
ผลผลิตมาจัดสง่ ใหก้ ับ รพ. ณ โรงคัดแยก และการรับส่ง
แตย่ ังมีวัตถุดิบไม่เพียงพอ ผลผลิตไปยงั ลกู ค้า พร้อมระบบ
รายงาน
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 47
ร�ยละเอยี ดของแนวคดิ หรือเทคโนโลยใี หมท่ ใ่ี ช้
ขน้ั ตอนท ี่ 1 การจดั การฐานขอ้ มลู กลาง ระบบฐานขอ้ มลู กลางของ
เกษตรกรรายบคุ คลและกลมุ่ ของพน้ื ทรี่ ะดบั หมบู่ า้ น/ชมุ ชน ตาำ บล อาำ เภอ
จังหวดั เขต และภาค ที่สามารถให้ภาคส่วนรฐั ท้องถ่ิน เอกชน วชิ าการ
เครือข่ายเกษตรกรเข้ามาใช้ในการทำางานส่งเสริมการผลิตและการตลาด
เกษตรและอาหารเพอ่ื สขุ ภาพรว่ มกนั โดยคณะกรรมการระดบั จงั หวดั ทจี่ ะ
มกี ารจดั ตง้ั รว่ มกนั ในการบริหารจัดการ และเข้าใชง้ าน Platform www.
communeinfo.com ผ่านระบบสมาชิกและอนุมัติสิทธ์ิในการเข้าถึง
ขอ้ มูลกลางตามอาำ นาจหนา้ ท่ีของ User ข้อมลู ทไี่ ด้จะนำาไปสู่การกาำ หนด
นโยบายการส่งเสรมิ ตอ่ ไป
และใช้ Application Green Smile สนบั สนนุ การใชร้ ะบบขอ้ มลู
กลางเป็นเครื่องมือส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกร เกษตรอินทรีย์
48 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9