กล่มุ ตดิ เตยี ง: ตอ้ งมผี ู้ดูแลประจ�ำ 5 แสนคน อย่ใู นระบบ LTC
ประมาณ 1 แสนคน (เปา้ หมาย 1.5 แสนคน) คงเหลอื 4 แสนคน
กลุ่มติดบา้ น: ตอ้ งการการฟื้นฟู 1 ลา้ น ระบบ Intermediated
Care ให้การดูแลเฉพาะในโรงพยาบาลก่อนจำ�หน่ายกลับบ้าน คงเหลือ
1 ล้านคน
จากจำ�นวนท้งั หมด ประมาณการรอ้ ยละ 50 ญาตดิ ูแลเอง หรือ
ใช้บริการหน่วยบริบาลของเอกชน จึงคาดว่ามีโอกาสทางการตลาด
ประมาณ 7 แสนคนท่ัวประเทศ ส�ำ หรับภาคใต้ 14 จังหวัด ท่จี ะเป็นพน้ื ท่ี
เป้าหมายในระยะแรก มีประมาณร้อยละ 8 ของท้ังประเทศ คิดเป็น
56,000 ราย
Platform iMedCare
Platform iMedCare เปน็ สว่ นหนง่ึ ของโครงการพฒั นานวตั กรรม
การแพทย์ดิจิทัลสำ�หรับการแก้ปัญหากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมการแพทย์ดิจิทัลไทยอย่างยั่งยืน
โดยได้รบั ทุนสนบั สนุนจากกองทุนพฒั นาดจิ ิทลั เพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม
รบั ผดิ ชอบโดย ผศ.ดร.แสงอรณุ อสิ ระมาลยั คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ร่วมกับมูลนธิ ิชุมชนสงขลา
เปา้ หมาย พฒั นาการใหบ้ ริการผูป้ ่วยโรคเรื้อรังทบี่ า้ น โดยผูด้ แู ล
ผู้ป่วยที่บ้าน (Home Care Giver) ในเขตเมือง ผ่าน Platform
iMedCare แบบครบวงจร ลดชอ่ งว่างของระบบบริการ สร้างมาตรฐาน
การให้บริการรว่ มกัน
บรกิ ารหลกั ไดแ้ ก่ ท�ำ ความสะอาดรา่ งกาย ท�ำ ความสะอาดทน่ี ง่ั /
ทีน่ อน ให้อาหาร พลิกตะแคงตวั ยืดเหยยี ดข้อและกลา้ มเนื้อ เคาะปอด
และดดู เสมหะ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 199
บรกิ ารอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ 1) พดู คยุ เปน็ เพอื่ น 2) พาไปพบแพทยต์ ามนดั
3) พาไปวดั /พบเพอ่ื น/ไปซอ้ื ของ/ออกก�ำ ลงั กาย ฯลฯ 4) ชว่ ยเหลอื ในกจิ วตั ร
ประจำ�วัน เช่น อาบน้ำ� เปล่ียนเส้อื ผ้า ปอ้ นข้าว พาเดิน เขา้ นอน
มกี ารบนั ทกึ ประวตั กิ ารใหบ้ รกิ ารรายบคุ คล ทสี่ ามารถสง่ ตอ่ ขอ้ มลู
และออกแบบการให้บริการร่วมกับ CM (Care Manager หมายถึง
ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข) ในแต่ละพื้นท่ีจาก
สปสช.
พ้นื ทกี่ ารใหบ้ รกิ าร ระยะแรก จ.สงขลา
กลุ่มเป้าหมายหลัก 1) ผู้ป่วยโรคเร้ือรังที่บ้านที่อยู่นอกเหนือ
ระบบ LTC (ดูแลผู้ป่วยระยะยาว) ที่ต้องการรับบริการและจ่ายค่า
บรกิ ารในราคาทเี่ ข้าถงึ ได้ 2) ผสู้ งู อายุทั่วไป ที่ตอ้ งการบรกิ าร
กลุม่ เปา้ หมายรอง 1) ผปู้ ว่ ยโรคเรอื้ รงั ทีบ่ ้านท่ีอยู่ในระบบ LTC
ที่ตอ้ งการบริการเพ่ิมเตมิ และสามารถจ่ายค่าบรกิ าร
รปู แบบการคดิ คา่ บรกิ าร การดแู ลแบบชดุ ไดแ้ ก่ การดแู ลรายเดอื น
(เหมาจา่ ย) การดแู ลรายสัปดาห์ การดูแลรายวนั (20-24 ชม.) การดแู ล
ครง่ึ วัน (กลางวัน หรอื กลางคืน) การดแู ลช่วงเชา้ /บา่ ย และการดแู ลแบบ
รายคร้ัง เน้นกลุ่มเป้าหมายให้อยู่ในพื้นท่ีตำ�บลเดียวกัน มีการเบิกจ่าย
งบประมาณ การรับจ่ายเงิน จะใช้ระบบพร้อมเพย์ เพ่ือความสะดวก
ทีมกลางจะโอนคา่ ตอบแทนใหก้ ับผู้ให้บรกิ ารรายสปั ดาห/์ รายเดอื น
iMedCare ต่อยอดจาก iMed@home เป็นแอปพลิเคชันท่ี
ตอ่ ยอดจากการพฒั นาระบบเย่ียมบา้ นเพือ่ ดแู ลคนพกิ าร ผู้สงู อายุ ผูป้ ่วย
และคนยากล�ำ บากในพนื้ ทร่ี ว่ มกบั คณะกรรมการเขตสขุ ภาพเพอื่ ประชาชน
เขต 12 โดยท�ำ งานร่วมกับกองทุนฟืน้ ฟูสมรรถภาพจงั หวดั สงขลา สปสช.
200 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
เครือข่ายภาคประชาสังคมและเครือข่ายท้องถ่ิน บันทึกข้อมูลพ้ืนฐาน
การช่วยเหลือ การจัดทำ�แผนในการดูแลคุณภาพชีวิตกลุ่มเป้าหมาย
ลดปญั หาการทำ�งานซ�้ำ ซอ้ นและเสรมิ หนนุ การทำ�งานกนั และกัน และได้
รับการประสานร่วมงานกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา-
นครินทร์ ท่ีมีหลักสูตรและบุคลากรผู้ให้บริการที่ผ่านการอบรม จึงเห็น
โอกาสทจ่ี ะพฒั นาระบบการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื รงั ทบี่ า้ น มขี อ้ มลู ผรู้ บั บรกิ าร
อยู่ราว 6 หมืน่ ราย มี User ใชร้ ะบบอยู่ 5,491 คน
หัวใจส�ำ คญั คือ พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การผ้ดู แู ลผูป้ ว่ ยท่ีบ้าน
Home Care Giver ให้สามารถบริการผู้ปว่ ยทบ่ี ้าน ซ่ึงตอ้ งการรับบรกิ าร
และสามารถจ่ายค่าบริการที่อยู่นอกเหนือจากสิทธิ์พื้นฐานจากระบบ
บริการของภาครัฐ ให้สามารถส่งต่อข้อมูล ประสานเชื่อมต่อบุคลากร
ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง และลดชอ่ งวา่ งของระบบ
ผู้รบั บริการ คอื ผู้ปว่ ยติดเตียง ผปู้ ว่ ยในภาวะพ่ึงพงิ โดยเฉพาะ
ในพน้ื ทเ่ี ขตเมอื ง/ชานเมือง กลุ่มหลักคอื กลมุ่ ที่อยู่นอกเหนอื จากระบบ
LTC (ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำ�หรับผู้สูงอายุและผู้ที่
อย่ใู นระยะพงึ่ พิง) กล่มุ รองคือ ผตู้ อ้ งการรบั บริการนอกเหนอื จากบริการ
ตามสทิ ธิ์ LTC และสามารถจา่ ยคา่ บรกิ ารในราคาทเ่ี ขา้ ถงึ ได้ และยนิ ยอม
ใช้บริการของระบบ
พนื้ ทด่ี �ำ เนนิ การ ระดบั ต�ำ บลในเขตเมอื ง ผรู้ บั บรกิ ารสามารถเลอื ก
ผู้ให้บริการในพื้นที่ตำ�บลเดียวกัน เลือกประเภทการบริการ นัดหมาย
ลว่ งหนา้ และประเมินความพึงพอใจในแต่ละครง้ั ของการบรกิ าร
ผู้ใหบ้ ริการ คือผ้ทู ี่ผา่ นการอบรม ผ่านการทดสอบมาตรฐานการ
ใหบ้ รกิ ารทจี่ ะเปดิ ใหบ้ รกิ ารจากโครงการ กลมุ่ เหลา่ นอ้ี าจตอ่ ยอดจาก อสม.
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 201
CG (Care Giver หมายถึง ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง)
หรอื นักบรบิ าล หรอื ผูท้ ผี่ ่านการอบรมจากคณะพยาบาล ฯลฯ จัดทำาแผน
บริการรายบุคคล รายงานกจิ กรรมการให้บรกิ ารแตล่ ะครัง้
ประเภทบรกิ าร ไดแ้ ก่ ทาำ ความสะอาดรา่ งกาย ทาำ ความสะอาดทนี่ ง่ั /
ทน่ี อน ใหอ้ าหาร พลิกตะแคงตัว ยืดเหยียดข้อและกลา้ มเนอื้ เคาะปอด
และดดู เสมหะ และบริการอ่นื ๆ ไดแ้ ก่ 1) พดู คยุ เปน็ เพื่อน 2) พาไปพบ
แพทย์ตามนัด 3) พาไปวัด/พบเพื่อน/ไปซ้ือของ/ออกกำาลังกาย ฯลฯ
4) ชว่ ยเหลือในกจิ วตั รประจำาวัน เช่น อาบนำา้ เปลี่ยนเสื้อผ้า ปอ้ นขา้ ว
พาเดิน เข้านอน โดยจะมีการบันทึกประวัติการให้บริการรายบุคคล
สามารถส่งต่อข้อมูลและออกแบบการให้บริการร่วมกับ CM (Care
Manager หมายถึง ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข)
ในแตล่ ะพน้ื ท่ี
202 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
การออกแบบตวั แอปพลเิ คชนั จะค�ำ นงึ ถงึ การรกั ษาความปลอดภยั
ท้ังผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ให้เข้าถึงข้อมูลพื้นฐานเท่าท่ีจำ�เป็น (ชื่อ
ท่ีอยู่ เบอร์ติดตอ่ ภาพถา่ ย เลข 13 หลัก เพื่อยืนยนั ตัวตน โดยผา่ นการ
ยินยอม) และพิทักษ์สทิ ธข์ิ ้อมูลส่วนบคุ คลผ่านระบบสมาชิกและข้อตกลง
ร่วมทจ่ี ะกำ�หนดเอาไว้
รูปแบบการใชง้ าน หนา้ หลักจะระบุชอ่ื ต�ำ แหนง่ ท่ีอย่ผู ู้ใช้บริการ
ประกอบดว้ ย 4 เมนหู ลกั คอื 1) บรกิ ารของเรา ผใู้ ชส้ ามารถเขา้ ดปู ระเภท
บริการและข้ันตอนการใช้บริการเพ่ือประกอบการตัดสินใจก่อนสมัคร
สมาชิก 2) ผรู้ บั บริการ (แยกออกเป็น 2 ประเภทคือช่วยตัวเองไดแ้ ละ
ชว่ ยตวั เองไมไ่ ด้ ระบขุ อ้ มลู พนื้ ฐานทจี่ �ำ เปน็ เลอื กประเภทบรกิ ารทตี่ อ้ งการ
เข้าดูข้อมูลราคา มาตรฐานบริการท่ีจะได้รับ เลือกผู้ให้บริการในพ้ืนที่
นดั หมายการรบั บรกิ าร การประเมนิ ความพงึ พอใจ การจา่ ยคา่ บรกิ ารและ
เงื่อนไขกำ�กับ หากเคยใช้บริการแล้วจะมีรายงานประวัติการให้บริการ)
3) ผู้ให้บริการ (ข้อมูลพ้ืนฐาน ประวัติและความสามารถในการบริการ
แผนการใหบ้ รกิ ารรายบคุ คล บนั ทกึ กจิ กรรมการบรกิ ารพรอ้ มภาพ เงอ่ื นไข
การใหบ้ รกิ าร) และ 4) ทมี iMedCare (ขอ้ มลู พน้ื ฐาน รายงานการใหบ้ รกิ าร
รายงานการประเมนิ รายงานการรบั จา่ ยเงิน เงื่อนไขการใช้งาน)
การรบั จ่ายเงนิ จะใช้ระบบพรอ้ มเพย์ เพ่อื ความสะดวก ทมี กลาง
จะโอนค่าตอบแทนให้กบั ผู้ให้บริการรายเดือน
จุดเด่นของ Platform นี้เป็นการลดช่องว่างการให้บริการผู้ป่วย
โรคเรื้อรังที่เป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก ตอบสนองผู้รับบริการที่ต้องการ
การดแู ลทบ่ี า้ น และเขา้ ไมถ่ งึ ระบบบรกิ ารทส่ี าธารณสขุ จดั ให้ โดยเชอื่ มตอ่
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 203
กับผู้ให้บริการที่ผ่านการอบรม มีระบบการควบคุมมาตรฐานการบริการ
และเป็นสว่ นหน่ึงของระบบสาธารณสขุ ในพืน้ ที่ อีกท้ังเป็นการดำ�เนินการ
ในรปู แบบธรุ กจิ เพอื่ สงั คม ไมไ่ ดแ้ สวงหาก�ำ ไร มมี าตรฐานในราคาเปน็ ธรรม
เปน็ หนุ้ สว่ นรว่ มกนั ชว่ ยลดรายจา่ ยและเพม่ิ รายไดใ้ หก้ บั บคุ ลากรในระบบ
อีกทั้งเรามีศูนย์อบรมและหลักสูตร มีงบประมาณจากภาครัฐรองรับการ
ขับเคล่ือนตอ่ เนอื่ งทกุ ปี
โดยระยะแรกจะพัฒนาต้นแบบทีจ่ ังหวัดสงขลา พัฒนาระบบการ
บรกิ ารดงั กลา่ ว กอ่ นทจี่ ะขยายผลตอ่ ไปในระดบั เขตรว่ มกบั คณะกรรมการ
เขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป.)
การบรหิ ารจดั การ จะมกี ารท�ำ MOU รว่ มกนั ระหวา่ งมลู นธิ ชิ มุ ชน
สงขลา คณะพยาบาลศาสตร์ มอ. กองทนุ ฟนื้ ฟสู มรรถภาพจงั หวดั สปสช.
คณะกรรมการเขตสุขภาพเพอื่ ประชาชน เขต 12 ระยะพัฒนาต้นแบบจะ
จัดต้ังกองทุน iMedCare ข้ึนมาดูแลทีมงาน โดยรายได้จะมาจากการ
หกั ค่าบริการ การระดมทุน และการสนับสนนุ จากองคก์ รภาครัฐและภาคี
ความรว่ มมือ ก่อนทจ่ี ะจดั ตง้ั ธุรกิจเพื่อสงั คมในปีท่ี 3 ของการดำ�เนนิ งาน
โดยปี 2564 มงี บประมาณจากองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สงขลา ส�ำ นกั งาน
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุนการประสานการขับเคล่ือน
การน�ำ Platform นไี้ ปใชป้ ระโยชน์
และระยะต่อไป จะขยายการใหบ้ ริการไปยังกลุ่มอนื่ ๆ ทต่ี ้องการ
ฟ้นื ฟสู ุขภาพหลังเจบ็ ป่วย การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ การรับส่งไป
ตรวจตามนัด การบริการอาหารสำ�หรับผู้ป่วย และขยายผลในระดับ
ประเทศร่วมกบั คณะกรรมการเขตสขุ ภาพเพอื่ ประชาชนเขตอนื่ ๆ
204 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
หลักสตู รการพฒั นาศักยภาพผู้ดแู ลผปู้ ่วยท่ีบ้าน
(Home Care Giver)
เพ่ือให้การบริการดังกล่าวมีมาตรฐานท่ีดี คณะพยาบาลศาสตร์
มอ. จงึ ไดพ้ ฒั นาหลกั สตู รนขี้ นึ้ ส�ำ หรบั ผใู้ หบ้ รกิ าร หรอื ทเี่ รยี กวา่ ผดู้ แู ลทบี่ า้ น
(Home Care Giver) โดยปรับปรุงจากหลักสูตรของอาจารย์พิศมัย
บุตมิ าลย์
สัปดาหท์ ่ี 1 ผู้สมคั รเขา้ เรียนรผู้ า่ น E-Learning และผ่านการ
E-Testing ในระบบและช่องทางทผี่ ้รู ับผิดชอบเตรยี มไว้
สัปดาห์ที่ 2 ผู้สมัครเข้าฝึกภาคปฏิบัติในห้อง Lab ของคณะ
พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
สัปดาห์ที่ 3 ผู้สมัครลงพ้ืนที่ฝึกภาคสนามในพ้ืนที่ตำ�บลท่ีตน
อาศัยอยหู่ รือพ้ืนท่ีซ่ึงทีมกำ�หนดให้
หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายการพัฒนาผู้ให้บริการ 50 คนแรก
ทางมูลนิธิชุมชนสงขลาและองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาให้การ
สนับสนุน
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 205
ตารางฝกึ ทกั ษะในห้องปฏิบตั ิการ 4-18 ก.ย.2564
อบรมออนไลนก์ ารใช้ iMedCare 15 ก.ย.2564
ฝกึ ภาคสนาม 19 และ 25-26 ก.ย.2564
วนั เดือน เวลา กจิ กรรม วัสดอุ ปุ กรณ/์ จ�ำ นวน ผเู้ ข้า จ�ำ นวน
ปี กลุ่ม 1 ครุภณั ฑ์ กลมุ่ อบรม หอ้ ง
9.00-12.00 น.
4/09/64 กลุม่ 2 ตอ่ กลมุ่
13.00-16.00 น.
4/09/64 (p) ฝึกในหอ้ ง กจิ กรรมท่ี 1 การดแู ล 2 6-7 2
กลมุ่ 1 ปฏิบตั กิ าร ผวิ หนงั /การดแู ลและ
9.00-12.00 น. ปอ้ งกันแผลกดทับ
กล่มุ 2 ( ) สอบทกั ษะ - หุน่ 1 ตัวและ
13.00-16.00 น. กอ่ นขึน้
ฝกึ ฯ โมเดลฝึกท�ำ แผล
เปิด
(p) ฝกึ ปฏิบัติ - ถงุ มอื สะอาดเบอร์ 7
ด้วยตนเอง จำ�นวน 20 คู่
- Face Shield
10 อนั
- ผ้าปทู นี่ อน ผา้ ยาง
และผ้าวางเตียง
3 ชดุ
- หมอนรองในการ
จัดท่า 4 ใบ
- ชุดท�ำ แผลเปดิ
5 ชุด
(p) ฝกึ ในหอ้ ง กจิ กรรมท่ี 2 การ 2 6-7 2
ปฏิบัติการ บริหารกล้ามเนือ้ และ
ขอ้ /การปอ้ งกนั ขอ้ ตดิ
( ) สอบทกั ษะ และกลา้ มเนอ้ื ลีบ
กอ่ นขน้ึ - หนุ่ 1 ตวั และโมเดล
ฝึกฯ
ฝกึ บริหารขอ้ ตา่ งๆ
(p) ฝกึ ปฏบิ ัติ - Face Shield
ดว้ ยตนเอง - กระดานปอ้ งกัน
เทา้ ตก 1 ชุด
206 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
วันเดือน เวลา กจิ กรรม วัสดุอุปกรณ/์ จ�ำ นวน ผ้เู ข้า จ�ำ นวน
ปี ครุภณั ฑ์ กลุ่ม อบรม ห้อง
กลมุ่ 1 (p) ฝกึ ในหอ้ ง
5/09/64 9.00-12.00 น. ปฏบิ ัติการ กจิ กรรมที่ 3 การดแู ล ตอ่ กลมุ่
กลมุ่ 2 ชอ่ งปากและคอ/การ 2 6-7 2
13.00-16.00 น. ( ) สอบทกั ษะ ป้องกันการติดเชื้อ
กอ่ นขึ้น ระบบหายใจ
ฝึกฯ - หุ่น 1 ตัว
(p) ฝกึ ปฏิบัติ ใส่ Tracheostomy
ด้วยตนเอง Tube ทมี่ ที ่อ
ชน้ั นอก (Outer
Tube) และ
ทอ่ ชั้นใน
(Inner Tube)
- อปุ กรณ์ท�ำ แผล
เจาะคอชามรปู ไต
- โมเดลฝึกทำ�ความ
สะอาดชอ่ งปาก
และฟัน
- เครอ่ื งดดู เสมหะ
1 เครื่อง สายดดู
นำ้�ลาย (Saliva)
และสายดูดเสมหะ
10 ชดุ
- ถงุ มือปลอดเชอ้ื
เบอร์ 7 จำ�นวน
20 คู่
- Face Shield
- เตียงปรบั ทา่
นั่งนอนได้
- หมอนรองในการ
จัดท่าเคาะปอด
2 ใบ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 207
วนั เดือน เวลา กิจกรรม วัสดุอปุ กรณ/์ จ�ำ นวน ผู้เข้า จ�ำ นวน
ปี ครุภัณฑ์ กลุ่ม อบรม หอ้ ง
กลุ่ม 1
5/09/64 9.00-12.00 น. (p) ฝกึ ในห้อง กจิ กรรมท่ี 4 การท�ำ ตอ่ กลมุ่
กล่มุ 2 2 6-7 2
13.00-16.00 น.
ปฏบิ ตั ิการ ความสะอาดรา่ งกาย/
( ) สอบทกั ษะ การป้องกนั การ
ก่อนขึน้ ติดเช้ือในระบบ
ทางเดนิ ปสั สาวะ
ฝกึ ฯ - หุ่นครง่ึ ตัวสำ�หรับ
(p) ฝึกปฏิบัติ
ฝึกช�ำ ระอวัยวะ
ดว้ ยตนเอง สืบพนั ธท์ุ ้งั หญิง
และชาย 1 ชุด
- ถุงมือสะอาด
เบอร์ 7
จำ�นวน 20 คู่
- น�้ำ ยาชำ�ระอวยั วะ
สบื พันธ์ุ และสบู่
1 ชุด
- ชดุ ช�ำ ระอวยั วะ
สบื พนั ธ์ุ 20 ชุด
- สายสวนปสั สาวะ
Foley Catheter
พรอ้ มถุง 1 ชดุ
- ถงุ รองรบั
ปัสสาวะเพศชาย
ขนาด 1 กก.
20 ถงุ
- สายยางรัด
ถงุ ปัสสาวะ
เพศชาย 20 เสน้
- ผา้ ยางรองเตยี ง
2 ชดุ
- ผา้ ขวางเตียง
2 ชุด
208 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
วนั เดือน เวลา กิจกรรม วัสดอุ ุปกรณ/์ จ�ำ นวน ผเู้ ข้า จ�ำ นวน
ปี ครุภัณฑ์ กลุ่ม อบรม หอ้ ง
ตอ่ กลมุ่
11/09/64 กลุม่ 1 (p) ฝึกในห้อง กจิ กรรมที่ 5 การดแู ล 2 6-7 2
9.00-12.00 น. ปฏิบตั ิการ ด้านอาหาร/การ
กล่มุ 2 ( ) สอบทักษะ ปอ้ งกนั ภาวะซมึ เศร้า
13.00-16.00 น. กอ่ นขึน้ - หนุ่ 1 ตัวท่สี ามารถ
จัดทา่ นั่งได้
ฝกึ ฯ - สายยางให้อาหาร
(p) ฝึกปฏบิ ตั ิ
(NG Tube 2 สาย)
ดว้ ยตนเอง - พลาสเตอรต์ ิดสาย
ให้อาหารกบั จมกู
1 ม้วน
- เตียงปรับท่า
นงั่ นอนได้
- หมอนรองในการ
จัดท่า 2 ใบ
- ผา้ ยางรองเตียง
2 ชุด
- ผา้ ขวางเตียง
2 ชุด
- Face Shield
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 209
มาตรฐานการใหบ้ ริการภายใต้ Platform iMedCare
มาตรฐานท่ี 1 การทำ�ความสะอาดร่างกาย iMedCare
V 01.01
โครงการการพฒั นา Platform iMedCare ส�ำ หรับธรุ กจิ เพ่อื สังคม วนั ทป่ี ระกาศใช้
ในการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคเร้อื รังท่บี า้ น 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อำ�เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 90110 หน้า 117
โทร.074-221286 จาก 2 หนา้
1. วตั ถุประสงค์
การชะลา้ งท�ำ ความสะอาดสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย เพอ่ื ปอ้ งกนั การ
ตดิ เชอื้ จากการหมกั หมมคราบเหงอื่ ไคล หรอื สง่ิ สกปรกบนผวิ หนงั ซอกอบั
และชอ่ งต่างๆ บนร่างกายของผู้ปว่ ยทีบ่ า้ น
2. ขอบเขต
การท�ำ ความสะอาดล�ำ ตวั แขนขา หู ตา ปากฟัน ระบบขบั ถา่ ย
สระผม* โกนหนวด* ตัดเล็บ* นวดหลัง และเปลย่ี นเสอื้ ผ้า เช้า-เยน็
และเมอ่ื จ�ำ เปน็ (*ตามเหมาะสม)
3. ความรับผดิ ชอบของผูด้ ูแล
1) จดั เตรยี มอปุ กรณส์ �ำ หรบั เชด็ ตวั ท�ำ ความสะอาดรา่ งกาย โดยใช้
น้ำ�ธรรมดา (อุณหภูมิห้อง) สบู่อ่อนสำ�หรับทารก แปรงสีฟัง ยาสีฟัน
และผา้ ขนหนู
210 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
2) ท�ำ ความสะอาดรา่ งกายดว้ ยการเชด็ ตวั ใหท้ ว่ั ทง้ั รา่ งกายอยา่ ง
ออ่ นโยน โดยเชด็ ด้วยน�ำ้ ผสมสบอู่ อ่ นสำ�หรับทารกกอ่ น แลว้ ค่อยเปลยี่ น
ไปเช็ดตัวด้วยน�้ำ เปล่า
3) ทำ�ความสะอาดภายในช่องปาก และฟันอย่างน้อยวันละ
2 คร้งั
4) กรณเี จาะคอเพอื่ ชว่ ยในการหายใจ ใหท้ �ำ ความสะอาดทอ่ เหลก็
ภายใน (ถอดลา้ งและตม้ ) วนั ละ 1-2 ครงั้ หรอื เมอ่ื มเี สมหะอดุ ตนั มากๆ
5) เช็ดก้นหลังขับถ่ายทุกคร้ังอย่างนุ่มนวล จนสะอาด และซับ
ให้แห้งด้วยสำ�ลีหรือกระดาษชำ�ระ พร้อมทั้งทาวาสลีนที่รอบๆ รูทวาร
ทุกครั้งหลงั ทำ�ความสะอาด โดยเฉพาะเม่ือถา่ ยเหลว
6) กรณีเพศชายใส่ถุงพลาสติกรองรับน้ำ�ปัสสาวะ ให้เปล่ียนถุง
พลาสติกใหม่ทันทีหลังการขับถ่ายปัสสาวะหรือไม่เกิน 30 นาที โดยท่ี
ระวงั ไมใ่ หถ้ งุ พลาสตกิ บรเิ วณองคชาตแิ นน่ เกนิ ไป และหา่ งจากโคนองคชาติ
ประมาณ 0.5 เซนติเมตร
7) กรณีใส่สายสวนปัสสาวะ เทนำ้�ปัสสาวะออกจากถุงเก็บ
ปสั สาวะเมอ่ื มปี ระมาณ 3 สว่ น 4 ของถงุ ตอ้ งตรวจดใู หส้ ายสวนปสั สาวะ
อยูใ่ นระบบปิด ดแู ลใหป้ ัสสาวะไหลสะดวก สายไม่หกั พับ งอ บบี รดู สาย
สวนปัสสาวะอย่างน้อยวันละ 1 คร้ัง และแขวนถุงเก็บปัสสาวะไว้กับ
ขอบเตียง
8) ใชแ้ ผน่ ปดิ แผลไฮโดรคอลลอยด์ มาปดิ ทบั บรเิ วณกน้ กบส�ำ หรบั
คนทผ่ี อมมาก เพ่อื ปอ้ งกนั การระคายเคอื งและลดแรงเสียดสี
9) ทาโลช่นั ท่บี ริเวณผวิ ท่ีแหง้ 3–4 ครงั้ /วนั หรือทานำ�้ มันทาผิว
1–2 คร้ัง/วัน หลงั จากเชด็ ตัวเสรจ็
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 211
มาตรฐานที่ 1 การทำ�ความสะอาดรา่ งกาย iMedCare
V 01.01
โครงการการพฒั นา Platform iMedCare ส�ำ หรบั ธรุ กิจเพอ่ื สังคม วนั ทป่ี ระกาศใช้
ในการดูแลผปู้ ว่ ยโรคเรือ้ รังทบ่ี ้าน 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อ�ำ เภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 90110 หนา้ 2
โทร.074-221286 จาก 2 หนา้
4. แผนภมู ิข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ กรณีใชส้ ายสวน ตรวจสอบ
สายสวนปัสสาวะ และถุงเกบ็ ปัสสาวะ
เตรยี มอปุ กรณท์ ำ�ความสะอาดรา่ งกาย ใหพ้ รอ้ มใช้งาน บบี รดู สายสวนปัสสาวะ
เรม่ิ ทำ�ความสะอาดตามส่วนตา่ งๆ
ของร่างกายและชอ่ งปาก อยา่ งนอ้ ยวันละ 1 คร้งั
ท�ำ ความสะอาดอวยั วะเพศ กรณใี ช้ถุงพลาสตกิ รองรบั น�ำ้ ปสั สาวะ
และกน้ หลังขับถา่ ย ในเพศชาย ให้เปลย่ี นถงุ ใหม่ทนั ที
ท�ำ แผลบริเวณทเี่ ป็นแผลกดทับ หลังขับปัสสาวะหรอื ไมเ่ กนิ 30 นาที
โดยใหห้ ่างจากโคนองคชาตปิ ระมาณ
และทาโลช่นั นำ�้ มนั ทาผวิ หรือวาสลีน 0.5 เซนติเมตร ไม่แน่นจนเกินไป
เพื่อปอ้ งกนั ผิวแห้ง
ทำ�ความสะอาดแผลเจาะคอ
และท่อเหล็กภายใน (ถอดลา้ งและต้ม)
สวมเสอื้ ผา้ ใหผ้ ปู้ ว่ ย
และจัดเส้ือผา้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย
212 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
มาตรฐานท่ี 2 ทำ�ความสะอาดทนี่ ั่ง/ท่ีนอน iMedCare
(เปล่ยี นผ้าปู เบาะหมอน และเคร่ืองนอน) V 01.01
โครงการการพฒั นา Platform iMedCare ส�ำ หรับธุรกิจเพื่อสงั คม วันที่ประกาศใช้
ในการดูแลผ้ปู ่วยโรคเรือ้ รังท่บี ้าน 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อ�ำ เภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 90110 หน้า 119
โทร.074-221286 จาก 2 หน้า
1. วตั ถปุ ระสงค์
การท�ำ ความสะอาดทน่ี ง่ั หรอื ทนี่ อน เพอ่ื ปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ จากการ
หมักหมมคราบเหงื่อไคล หรือส่ิงสกปรกบนผิวหนังท่ีติดหรือเปื้อนบน
พน้ื ผวิ และการจัดให้พ้ืนผิวหรอื ผ้าใหเ้ รยี บตงึ น้นั ป้องกันการเกิดแผลจาก
กดทับบรเิ วณรอยยบั
2. ขอบเขต
เปลย่ี นและท�ำ ความสะอาด ผา้ ปทู น่ี อน เบาะหมอน และเครอื่ งนอน
ทกุ วนั และเม่ือจ�ำ เป็น (*ตามเหมาะสม)
3. ความรับผิดชอบของผดู้ ูแล
1) จัดเสอ้ื ผ้า ผา้ ปูทน่ี อนให้แหง้ สะอาด และเรียบตงึ
2) ใชเ้ ตยี งลมรองนอน ดูแลให้เตยี งลมอยู่ในสภาพทสี่ มบรู ณ์
3) จดั หมอนหรอื เบาะรองใหอ้ ยใู่ นต�ำ แหนง่ ทร่ี องรบั สรรี ะรา่ งกาย
ห้ามใช้ห่วงยางเป่าลม หรือหมอนรูปโดนัทรองบริเวณปุ่ม
กระดูก
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 213
มาตรฐานท่ี 2 ท�ำ ความสะอาดทนี่ ง่ั /ทีน่ อน iMedCare
(เปลี่ยนผ้าปู เบาะหมอน และเครือ่ งนอน) V 01.01
โครงการการพัฒนา Platform iMedCare ส�ำ หรบั ธรุ กจิ เพ่ือสังคม วนั ที่ประกาศใช้
ในการดูแลผ้ปู ว่ ยโรคเรอื้ รังท่บี า้ น 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อ�ำ เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 หน้า 2
โทร.074-221286 จาก 2 หน้า
4. แผนภูมขิ ั้นตอนการปฏิบตั ิ
จัดเตรยี มเสอื้ ผา้ ผา้ ปทู นี่ อน แผ่นยางรองนอน
ตรวจดเู บาะลมให้อยใู่ นสภาพสมบรู ณ์
เปลย่ี นเส้อื ผา้ ผา้ ปูทนี่ อน แผน่ ยางรองนอนใหม่
และจัดใหผ้ ้าปูทีน่ อนและแผน่ ยางรองนอนใหเ้ รยี บตงึ
ตรวจดูเบาะลมให้อย่ใู นสภาพสมบรู ณ์
จดั หมอนหรือเบาะรองให้อย่ใู นตำ�แหน่ง
ทีร่ องรบั สรีระรา่ งกาย
214 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
มาตรฐานท่ี 3 ให้อาหาร iMedCare
(ทางสายยาง/ป้อนทางปาก) V 01.01
โครงการการพฒั นา Platform iMedCare สำ�หรับธุรกิจเพื่อสงั คม วนั ทป่ี ระกาศใช้
ในการดแู ลผ้ปู ว่ ยโรคเรอื้ รังที่บา้ น 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 90110 หน้า 121
โทร.074-221286
1. วัตถปุ ระสงค์
การใหอ้ าหารที่ถูกตอ้ งทง้ั ปอ้ นทางปากและทางสาย ช่วยปอ้ งกัน
การสำ�ลักอาหารและการติดเช้ือทางเดินหายใจได้ รวมถึงการให้อาหารท่ี
เหมาะสมตามโภชนาการหรือคำ�แนะนำ�ของแพทย์นั้น จะทำ�ให้ผู้สูงอายุ
นนั้ ได้รับสารอาหารท่คี รบถ้วนตามต้องการ
2. ขอบเขต
ให้อาหารในแต่ละม้ือให้เหมาะสมตามความต้องการของร่างกาย
หรือตามคำ�แนะนำ�ของแพทย์ และให้อาหารให้ถูกต้องทั้งป้อนทางปาก
และทางสาย โดยไมท่ �ำ ใหเ้ กดิ การส�ำ ลกั หรอื ตดิ เชอื้ ทางเดนิ หายใจ โดยควร
ให้ 4–6 มอื้ ต่อวนั
3. ความรับผดิ ชอบของผดู้ แู ล
1) จดั เตรียมอาหารให้เหมาะสมสำ�หรบั ผู้ปว่ ย เชน่ อาหารอ่อน
ท่ีง่ายต่อการเค้ียวและกลืน หรืออาหารบดเหลวสำ�หรับให้ทางสายยาง
โดยดแู ลใหผ้ สู้ งู อายไุ ดร้ บั สารอาหารครบถว้ นตามปรมิ าณทค่ี วรไดร้ บั ตอ่ วนั
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 215
2) จัดใหไ้ ดร้ บั น�้ำ อย่างเพยี งพอ ปริมาณประมาณ 2 ลิตร หรือ
8-10 แก้ว/วนั (ถ้าไม่มขี ้อจ�ำ กดั )
3) หากตอ้ งทานยาหรอื อาหารเสรมิ ใหด้ แู ลและจดั ใหต้ ามมอ้ื นนั้ ๆ
4) หากมีอาการหายใจแรง หายใจลำ�บาก มีเสมหะในปอด
ให้ทำ�การดูดเสมหะ/เคาะปอดให้เรียบร้อยก่อนเพ่ือป้องกันการสำ�ลัก
อาหาร
5) กรณีไม่มีขอ้ จ�ำ กัด ใหจ้ ดั ทา่ ศรี ษะสูงอย่างนอ้ ย 30-45 องศา
ขณะป้อนอาหารทางปาก หรอื ใหอ้ าหารทางสายยาง และหลงั การป้อน
อาหารหรอื ให้อาหารทางสายยาง ให้นอนทา่ ศรี ษะสูงอยา่ งนอ้ ย 30-45
องศา ตอ่ เนือ่ งอกี 2 ช่วั โมง
6) หากรบั ประทานอาหารทางปาก ใหจ้ ดั อาหารทง่ี า่ ยตอ่ การเคยี้ ว
และกลนื พรอ้ มทงั้ ปอ้ นอาหารดา้ นที่ผสู้ งู อายุเคี้ยวได้สะดวก
7) หากใหอ้ าหารทางสายยาง ตอ้ งตรวจสอบต�ำ แหนง่ ของสายยาง
ให้อาหารให้อยู่ในตำ�แหน่งท่ีเหมาะสม และปริมาณอาหารที่เหลือใน
กระเพาะอาหารทุกครั้งก่อนการให้อาหาร หากอาหารในกระเพาะเหลือ
มากกว่า 50 มิลลลิ ติ ร ใหเ้ ลือ่ นมือ้ อาหารออกไป
216 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
มาตรฐานที่ 3 ให้อาหาร iMedCare
(ทางสายยาง/ป้อนทางปาก) V 01.01
โครงการการพฒั นา Platform iMedCare ส�ำ หรับธุรกจิ เพอ่ื สังคม วันท่ปี ระกาศใช้
ในการดแู ลผู้ปว่ ยโรคเรือ้ รังทีบ่ า้ น 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 หนา้ 2
โทร.074-221286 จาก 2 หน้า
4. แผนภมู ขิ ้นั ตอนการปฏิบตั ิ
จดั เตรียมอาหาร น�้ำ ดื่ม ยา
และอาหารเสรมิ แก่ผู้ปว่ ย
ตามความเหมาะสม ในแตล่ ะ่ ม้อื อาหาร
ปรบั ท่าทางให้ศรี ษะสูงอย่างนอ้ ย 30-45 องศา
ขณะทานอาหารและหลังทานอาหาร
ตอ่ เน่อื งอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
หากมอี าการหายใจแรง หายใจลำ�บาก มเี สมหะในปอด ใหท้ �ำ การ
ดดู เสมหะ/เคาะปอดใหเ้ รยี บรอ้ ยกอ่ น เพ่อื ป้องกนั การส�ำ ลักอาหาร
หากรับประทานอาหารทางปาก ใหจ้ ัดอาหารท่งี า่ ยต่อการเคย้ี ว
และกลืน พรอ้ มทงั้ ป้อนอาหารด้านท่ีผสู้ ูงอายุเคย้ี วไดส้ ะดวก
หากให้อาหารทางสายยาง ตอ้ งตรวจสอบตำ�แหน่งของสายยาง
ใหอ้ าหารให้อยู่ในต�ำ แหน่งทเ่ี หมาะสมและปริมาณอาหาร
ท่ีเหลือในกระเพาะอาหารทุกคร้ังก่อนการใหอ้ าหาร
หากอาหารในกระเพาะเหลือมากกว่า
50 มิลลิลติ ร ให้เล่ือนมอื้ อาหารออกไป
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 217
มาตรฐานท่ี 4 การพลิกตะแคงตวั iMedCare
V 01.01
โครงการการพัฒนา Platform iMedCare สำ�หรบั ธุรกจิ เพอื่ สังคม วนั ทป่ี ระกาศใช้
ในการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคเรื้อรังที่บา้ น 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 หน้า 123
โทร.074-221286 จาก 2 หน้า
1. วตั ถุประสงค์
การพลิกตะแคงตัว ช่วยป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุ
จากการที่น่ังหรือนอนในท่าเดิมตลอดเวลา
2. ขอบเขต
พลิกตะแคงตัวและปรับเปล่ียนท่าท่างจากท่าน่ังหรือท่านอนเดิม
ต้ังแต่ศีรษะจนถงึ ปลายเท้า อย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
3. ความรบั ผดิ ชอบของผู้ดแู ล
1) พลกิ ตะแคงตวั ผสู้ งู อายอุ ยา่ งนอ้ ยทกุ 2 ชวั่ โมง โดยทใี่ ชผ้ า้ รอง
ชว่ ยในการยกตวั ขณะจดั ทา่ เคลอื่ นยา้ ยหรอื ยกตวั ใชม้ อื สอดเขา้ ไปทลี ะสว่ น
ในการจดั เปลย่ี นทา่ โดยใหเ้ ลอื่ นศรี ษะและไหลก่ อ่ น เสรจ็ แลว้ จงึ เลอ่ื นล�ำ ตวั
สะโพก และเท้า และใช้การยกตวั แทนการดึงลาก
2) ใช้หมอนใบเล็ก หรือหมอนสำ�หรับเด็กอ่อนวางรองบริเวณ
แขน ป่มุ กระดกู ขอ้ ศอก และสน้ เทา้ ในกรณเี คลือ่ นไหวไม่ได้เลย ห้ามใช้
ห่วงยางเป่าลม หรือหมอนรูปโดนทั รองบริเวณป่มุ กระดูก
218 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
3) กรณีจัดท่านอนหงาย จะต้องจัดให้ผู้สูงอายุนอนหงายราบ
หมอนหนุนรองศีรษะสูงไม่เกิน 30 องศา สะโพกงอเล็กน้อย ป้องกัน
การเล่ือนไหลตัวลงไปปลายเตยี ง
4) กรณีจัดท่านอนตะแคง ต้องจัดให้นอนในท่าตะแคงกึ่งหงาย
ทำ�มุม 30 องศากับที่นอน โดยใช้หมอนรองคอตั้งแต่กระดูกสะบักไป
จนถึงกระดูกกระเบนเหน็บ งอสะโพกด้านบนไปทางด้านหน้าเล็กน้อย
และใช้หมอนสอดระหว่างขาทั้งสองข้างบริเวณหัวเข่าเพ่ือป้องกันการหุบ
ของข้อตะโพกและขาด้านหลังถูกกด และหลีกเล่ียงการนอนตะแคงทับ
ดา้ นทีอ่ ่อนแรงนานเกินกว่า 30 นาที
5) กรณจี ัดท่านั่ง ตอ้ งมีเบาะพิงหลังและรองก้นและเทา้ สามารถ
วางบนท่ีรองเท้าหรือวางบนพ้ืนได้พอดี โดยที่ต้องระวังไม่ให้เข่าไม่ยกสูง
หรอื ลอย และขอ้ สะโพกอยูใ่ นท่างอไมเ่ กิน 90 องศา
6) กรณไี ม่มีข้อจำ�กดั ให้จัดท่าศีรษะสูงอย่างน้อย 30-45 องศา
ขณะปอ้ นอาหารทางปาก หรือให้อาหารทางสายยาง และหลงั การป้อน
อาหาร หรอื ใหอ้ าหารทางสายยาง ให้นอนทา่ ศีรษะสงู อย่างนอ้ ย 30-45
องศา ตอ่ เนื่องอีก 2 ชั่วโมง
มาตรฐานที่ 4 การพลิกตะแคงตัว iMedCare
V 01.01
โครงการการพัฒนา Platform iMedCare ส�ำ หรับธรุ กิจเพอื่ สงั คม วนั ทป่ี ระกาศใช้
ในการดูแลผูป้ ่วยโรคเรื้อรังที่บา้ น 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อ�ำ เภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 90110 หน้า 2
โทร.074-221286 จาก 2 หน้า
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 219
4. แผนภูมขิ น้ั ตอนการปฏิบตั ิ
พลกิ ตะแคงตัวผสู้ งู อายุอย่างน้อยทุก 2 ช่ัวโมง
ใชผ้ า้ รองชว่ ยในการยกตวั ขณะจดั ทา่ เคลอื่ นยา้ ยหรอื ยกตวั
ใชม้ อื สอดเขา้ ไปทลี ะสว่ นในการจดั เปลย่ี นทา่ โดยใหเ้ ลอ่ื น
ศีรษะและไหลก่ อ่ น เสร็จแลว้ จึงเลอ่ื นลำ�ตวั สะโพก และ
เทา้ และใชก้ ารยกตวั แทนการดงึ ลาก
ใช้หมอนใบเล็ก หรือหมอนสำ�หรับเด็กอ่อนวางรองบริเวณแขนปุ่ม
กระดูก ขอ้ ศอก และสน้ เทา้ ในกรณเี คลอื่ นไหวไมไ่ ดเ้ ลย หา้ มใช้ห่วงยาง
เป่าลม หรือหมอนรปู โดนทั รองบริเวณปมุ่ กระดูก
กรณจี ัดท่านอนหงาย จะต้องจดั ให้ผสู้ ูงอายุนอนหงายราบ หมอนหนุนรองศรี ษะสูง
ไม่เกนิ 30 องศา สะโพกงอเลก็ นอ้ ย ปอ้ งกนั การเล่ือนไหลตวั ลงไปปลายเตียง
กรณีจัดท่านอนตะแคง จัดให้นอนตะแคงก่ึงหงายทำ�มุม 30 องศากับที่นอน
ใช้หมอนรองคอตัง้ แตก่ ระดกู สะบักไปจนถงึ กระดูกกระเบนเหน็บ งอสะโพกด้านบน
ไปทางด้านหน้าเล็กน้อย และใช้หมอนสอดระหว่างขาทั้งสองข้างบริเวณหัวเข่า
ป้องกันการหุบของข้อตะโพกและขาด้านหลังถูกกด หลีกเล่ียงการนอนตะแคงทับ
ด้านทีอ่ ่อนแรงนานเกนิ กว่า 30 นาที
กรณีจัดท่าน่ัง ต้องมีเบาะพิงหลังและรองก้นและเท้าสามารถวางบนท่ีรองเท้าหรือ
วางบนพน้ื ไดพ้ อดี โดยทต่ี อ้ งระวงั ไมใ่ หเ้ ขา่ ไมย่ กสงู หรอื ลอย และขอ้ สะโพกอยใู่ นทา่ งอ
ไมเ่ กนิ 90 องศา
ถา้ ไมม่ ขี อ้ จ�ำ กดั ใหจ้ ดั ทา่ ศรี ษะสงู อยา่ งนอ้ ย 30-45 องศา ขณะปอ้ นอาหารทางปาก
หรือให้อาหารทางสายยาง และหลังการป้อนอาหาร หรือให้อาหารทางสายยาง
ให้นอนทา่ ศีรษะสูงอยา่ งนอ้ ย 30-45 องศา ต่อเนือ่ งอีก 2 ชั่วโมง
220 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
มาตรฐานท่ี 5 ยืดเหยียดขอ้ และกลา้ มเนื้อ iMedCare
V 01.01
โครงการการพฒั นา Platform iMedCare ส�ำ หรับธุรกิจเพื่อสังคม วนั ที่ประกาศใช้
ในการดูแลผ้ปู ่วยโรคเรื้อรังท่บี ้าน 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 หน้า 125
โทร.074-221286 จาก 2 หนา้
1. วัตถุประสงค์
การยดื เหยยี ดข้อและกลา้ มเนอ้ื เพื่อชว่ ยปอ้ งกันขอ้ ตอ่ และกลา้ ม
เน้ือเกดิ การลบี หรอื เคลอ่ื นไหวติดขดั
2. ขอบเขต
การยืดเหยียดข้อและกล้ามเนื้อ บริเวณกล้ามเนื้อแขน ขา ข้อ
สว่ นแขน ขอ้ สว่ นขา และขอ้ ตอ่ อนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเคลอ่ื นไหว โดยท�ำ
ทกุ วัน วันละประมาณ 30 นาที
3. ความรบั ผดิ ชอบของผู้ดูแล
1) ตรวจสอบการเคลอ่ื นไหวของขอ้ ตอ่ ตา่ งๆ กลา้ มเนอื้ แขนและขา
กอ่ นการบริหาร
2) บรหิ ารขอ้ ตา่ งๆ ของรา่ งกาย (ยกเวน้ บรเิ วณทม่ี ขี อ้ จ�ำ กดั ) เชน่
• บรหิ ารขอ้ สว่ นแขน เชน่ การยกแขนขนึ้ -ลง การกางแขนออก
และหบุ แขนเขา้ การหมนุ ขอ้ ไหลเขา้ –ออก กางงอขอ้ ศอก
เข้าและเหยียดออกกระดกข้อมือขึ้น-ลง กำ�น้ิวมือเข้าและ
เหยียดออก กระดกน้วิ โปง้ ขนึ้ –ลง
• บริหารขอ้ ส่วนขา เช่น งอขาเขา้ และเหยียดขาออกของข้อ
สะโพกและข้อเข่า หมุนข้อสะโพกเข้าและหมุนข้อสะโพก
ออก กางขาออกและหบุ ขาเขา้ ของขอ้ สะโพก กระดกขอ้ เทา้
ขึน้ -ลง หมุนปลายเทา้ ผู้ป่วยเข้า-ออก
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 221
มาตรฐานท่ี 5 ยดื เหยียดข้อและกล้ามเนือ้ iMedCare
V 01.01
โครงการการพฒั นา Platform iMedCare ส�ำ หรบั ธรุ กจิ เพอ่ื สงั คม วนั ทีป่ ระกาศใช้
ในการดแู ลผู้ปว่ ยโรคเรอ้ื รังทบี่ ้าน 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อ�ำ เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 หนา้ 2
โทร.074-221286 จาก 2 หนา้
4. แผนภมู ิข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ
ตรวจสอบการเคลอื่ นไหวของข้อต่อต่างๆ
กล้ามเนื้อแขนและขากอ่ นการบริหาร
บริหารข้อต่างๆ ของรา่ งกาย เช่น ขอ้ สว่ นแขน
ขอ้ ส่วนขา (ยกเว้นบรเิ วณทมี่ ขี อ้ จำ�กดั )
บริหารข้อสว่ นแขน เชน่ การยกแขนขึ้น-ลง การกางแขนออกและหบุ
แขนเขา้ การหมุนขอ้ ไหลเขา้ –ออก กางงอข้อศอกเข้าและเหยยี ดออก
กระดกขอ้ มอื ขนึ้ -ลง ก�ำ นว้ิ มอื เขา้ และเหยยี ดออก กระดกนว้ิ โปง้ ขน้ึ -ลง
บริหารข้อส่วนขา เช่น งอขาเข้าและเหยียดขาออกของข้อสะโพกและ
ขอ้ เขา่ หมนุ ขอ้ สะโพกเขา้ และหมนุ ขอ้ สะโพกออก กางขาออกและหบุ ขาเขา้
ของขอ้ สะโพก กระดกข้อเทา้ ขน้ึ -ลง หมุนปลายเท้าผ้ปู ว่ ยเขา้ -ออก
มาตรฐานท่ี 6 เคาะปอดและดูดเสมหะ iMedCare
V 01.01
โครงการการพฒั นา Platform iMedCare สำ�หรับธรุ กจิ เพ่ือสังคม วันทปี่ ระกาศใช้
ในการดูแลผปู้ ว่ ยโรคเร้ือรังท่ีบา้ น 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อ�ำ เภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา 90110 หน้า 127
โทร.074-221286 จาก 2 หนา้
222 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
1. วตั ถปุ ระสงค์
การเคาะปอดและดดู เสมหะ ชว่ ยป้องกันการติดเช้อื ในระบบทาง
เดินหายใจ และป้องกันการส�ำ ลกั ขณะใหอ้ าหาร
2. ขอบเขต
การเคาะปอดและดูดเสมหะทกุ ครัง้ ทม่ี ีอาการหายใจลำ�บาก หรือ
ก่อนใหท้ านอาหารทางปากหรอื สายยาง ครงั้ ละประมาณ 30 นาที
3. ความรบั ผดิ ชอบของผ้ดู ูแล
1) ใชเ้ ครอ่ื งดดู เสมหะเมอ่ื หายใจล�ำ บาก ใชแ้ รงในการหายใจมากขนึ้
ไอบ่อย มีเสียงเสมหะ หรือก่อนให้อาหารทางสายยาง
2) ปฏิบัติอย่างมีอนามัย ต้องล้างมือก่อนและหลังดูดเสมหะ
ใช้สายดูดเสมหะชนิดปลอดเชื้อ ใช้ครั้งเดียวทิ้ง เช็ดข้อต่อด้วยสำ�ลีชุบ
แอลกอฮอล์ 70% กอ่ นปลดหรอื เช่อื มต่อ และลา้ งสายเครื่องดดู เสมหะ
โดยวิธดี ูดน้ำ�สะอาดหลังเลกิ ดูดเสมหะ
3) ทำ�การดูดเสมหะโดยจัดท่าศีรษะสูง 45 องศา ใช้ความดัน
ในการดูดเสมหะประมาณ 100-120 มม.ปรอท โดยดดู เสมหะแตล่ ะครัง้
ไมเ่ กนิ 10-15 วินาทแี ละไมเ่ กิน 3 ครั้ง/รอบ
4) หากระหว่างการดดู เสมหะ สายดดู เสมหะไปสัมผัสกบั ร่างกาย
สว่ นอนื่ หรอื สงิ่ ของรอบตวั ใหท้ �ำ การเปลยี่ นสายใหมท่ นั ที และถา้ มเี สมหะ
เปื้อนบริเวณแผลเจาะคอมาก ควรทำ�ความสะอาดแผลเจาะคอใหม่หลัง
ดดู เสร็จ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 223
มาตรฐานที่ 6 เคาะปอดและดดู เสมหะ iMedCare
V 01.01
โครงการการพัฒนา Platform iMedCare ส�ำ หรับธรุ กิจเพือ่ สังคม วันท่ีประกาศใช้
ในการดูแลผปู้ ่วยโรคเรื้อรงั ทบี่ า้ น 00000
73 ถนนเพชรเกษม ซอย 5 อ�ำ เภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 90110 หน้า 2
โทร.074-221286 จาก 2 หนา้
4. แผนภูมขิ ั้นตอนการปฏิบตั ิ
ใชเ้ ครอ่ื งดูดเสมหะเม่ือหายใจล�ำ บาก ใชแ้ รงในการหายใจมากขน้ึ
ไอบอ่ ย มีเสยี งเสมหะ หรอื ก่อนให้อาหารทางสายยาง
ตรวจสอบการท�ำ งานของเครอ่ื งดดู เสมหะใหพ้ รอ้ มใช้งาน เตรียมอปุ กรณ์
เชน่ สายดดู เสมหะชนดิ ปลอดเช้ือแบบใชค้ ร้งั เดยี วท้ิง สำ�ลชี ุบแอลกอฮอล์ 70%
คีมคบี ส�ำ ลี ถุงมอื ยาง เปน็ ตน้
จัดให้ผปู้ ่วยอย่ใู นท่าศรี ษะสูง 45 องศา
ปฏิบัตอิ ย่างมีอนามยั โดยล้างมือกอ่ นและหลังดูดเสมหะทุกคร้ัง ใชส้ ายดดู เสมหะ
ชนดิ ปลอดเช้ือ ใชค้ รง้ั เดยี วทง้ิ เชด็ ข้อตอ่ ด้วยสำ�ลีชบุ แอลกอฮอล์ 70% ก่อนปลดหรือ
เชอ่ื มต่อ และลา้ งสายเครอ่ื งดดู เสมหะ โดยวธิ ดี ูดน�ำ้ สะอาดหลงั เลิกดดู เสมหะ
ทำ�การดดู เสมหะโดยใช้ความดันในการดูดเสมหะประมาณ 100-120 มม.ปรอท
โดยดดู เสมหะแต่ละครัง้ ไม่เกนิ 10-15 วินาทแี ละไมเ่ กนิ 3 คร้งั /รอบ
หากระหว่างการดูดเสมหะ สายดดู เสมหะไปสมั ผสั กับรา่ งกายส่วนอ่ืน
หรือส่ิงของรอบตัว ใหท้ ำ�การเปล่ยี นสายใหมท่ นั ที และถา้ มเี สมหะเปื้อน
บริเวณแผลเจาะคอมาก ควรทำ�ความสะอาดแผลเจาะคอใหม่หลงั ดดู เสร็จ
224 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
Platform iMedCare
ระบบพน้ื ฐาน-REST API Service สาำ หรบั ฟงั กช์ นั การใชง้ านของ
End User บน Mobile Application ปัจจุบันสามารถดาวน์โหลด
ใช้งานได้แลว้ ในระบบสมาร์ทโฟนของ Android ในส่วนของระบบ IOS
อยูร่ ะหวา่ งขอการอนมุ ตั ิ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 225
- การจดั การผใู้ ช้งาน ประกอบด้วย เพม่ิ ลด แก้ไข ผู้ใชง้ าน
การบันทกึ /แก้ไข/ระบบการให้บริการ
- การจัดการผใู้ ช้งาน ประกอบด้วย เพิ่ม ลด แก้ไข ผู้ใช้งาน
ระบบการรับบรกิ าร
226 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
- การจัดการผู้ใช้งาน ประกอบด้วย เพ่มิ ลด แกไ้ ข ผู้ใชง้ าน
การบันทึก/แกไ้ ข/ระบบการให้บริการ
- การจดั การผู้ใชง้ าน ประกอบด้วย เพมิ่ ลด แกไ้ ข ผูใ้ ชง้ าน
การบันทกึ /แกไ้ ข/ระบบทีมของเรา
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 227
13
ชุด Care Set
สงขลา
228 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิดระลอก 3 ยาวนานและส่งผล
กระทบอย่างกว้างขวาง มูลนิธิชุมชนสงขลาในฐานะองค์กรประชาสังคม
ท่ีเป็นส่วนหน่ึงในพื้นท่ีสงขลา จึงคิดหาทางช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ
พัฒนาแนวทางท่ีเรียกว่า ชุด Care Set ให้กำ�ลังใจผู้ได้รับผลกระทบ
โดยสรุปบทเรยี นจากการช่วยเหลอื ระลอกแรก
เป้าหมาย ลดช่องว่างดูแลผู้ได้รับผลกระทบที่มักจะตกหล่นจาก
ระบบการชว่ ยเหลอื ของภาครฐั ได้แก่ คนไทยไร้สิทธ์ิ ไร้บตั ร ประชากร
ต่างถ่ินแต่อาศัยในพื้นที่มายาวนาน กลุ่มคนพิการ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก
ผปู้ ว่ ยติดเตยี ง คนท่ีสงั คมจะต้องช่วยเหลอื ดแู ล
ด้านหน่ึงจะช่วยลดความเหล่ือมล้ำ�ทางสังคมท่ีมีอยู่ในสังคม
อีกด้านพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของแต่ละภาคส่วนมาร่วมมือกัน
และกระต้นุ ไปสกู่ ารพฒั นาเชิงระบบ
ทั้งน้มี ีขน้ั ตอนการดำ�เนนิ การสำ�คญั กค็ ือ
1. ประสานเครอื ขา่ ยต�ำ บลทม่ี ีการดำ�เนนิ การชว่ ยกลมุ่ เปราะบาง
ทางสังคม หาพ้ืนทร่ี ว่ มกิจกรรม ดว้ ยการรบั สมคั รพืน้ ท่ที ีส่ นใจ นัดประชมุ
หารอื รว่ มกนั เพอื่ รบั ทราบสถานการณป์ ญั หา ไดม้ าทง้ั สน้ิ 7 ต�ำ บล จากนนั้
เรมิ่ กจิ กรรมดว้ ยการส�ำ รวจความตอ้ งการ บางต�ำ บลใชข้ อ้ มลู จากฐานขอ้ มลู
เดมิ ที่มกี ารสำ�รวจผ่าน iMed@home เชน่ กรณตี ำ�บลคหู า ใช้ข้อมูลและ
แผนพฒั นาคุณภาพชวี ติ รายบุคคล ทีม่ กี ารคดั กรองและตรวจสอบรว่ มกนั
หลายหน่วยงานในพื้นท่ี คัดเลือกกลุ่มเป้่าหมายดังกล่าว ได้ 38 ชุด
ใช้ข้อมลู ความต้องการน�ำ มาจัดชุด Care Set กรณกี ลุม่ ตดิ เตยี งจะเนน้
ในส่วนผ้าอ้อมสำ�เร็จรูป กลุ่มช่วยตนเองได้เน้นข้าวสารอาหารแห้ง
ต.บ่อยาง นำ�ข้อมูลคนจนเมืองในระบบท่ีผ่านการสำ�รวจคัดกลุ่มท่ีไม่มี
บตั รผสู้ ูงอายุ คนพกิ าร เด็ก 30 คน บวกกับขอ้ มลู ใหมก่ รณีท่ีมีการเดิน
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 229
มาหาถงึ ศนู ยป์ ระสานงาน ต�ำ บลโคกมว่ ง จดั ระบบการชว่ ยเหลอื ทกุ ครวั เรอื น
คัดกรองมาได้ 50 คนเติมเต็มงบกองทุนขยะเติมบุญ โดยเลือกให้ตรง
กับกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ตำ�บลป่าขาด คัดกลุ่มที่ตกหล่นจากงบ
ของท้องถ่นิ 32 คน จัดทำ�แบบสอบถาม เป็นต้น แตล่ ะตำ�บลจะจดั ส่ง
ข้อมูลความตอ้ งการของตนมาให้มูลนธิ ชิ มุ ชนสงขลา
2. มลู นธิ ชิ มุ ชนสงขลา ประมวลผลความตอ้ งการ จ�ำ แนกประเภท
ได้แก่ ข้าวสาร น้ำ� บะหมี่กึ่งสำ�เร็จรูป ปลากระป๋อง น้ำ�มันพืช ขนม
ผ้าอ้อม สำ�เร็จรูป นมผง เป็นต้น แยกพ้ืนที่ ปริมาณความต้องการ
จากน้ันประสานภาคเอกชน ได้แก่ ห้างเคแอนด์เค ขอซื้อในราคา
พิเศษ โดยใช้งบประมาณท่ีได้รับจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา
ผ่านโครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนส่งข้อมูล
ความตอ้ งการไปให้ ใหท้ างเคแอนดเ์ คส่งใบเสนอราคา พร้อมระบปุ รมิ าณ
การบรรจุตอ่ ลงั /กล่อง/แพค และใบเสรจ็ ถูกต้อง สอื่ สารกลับไปยงั ตำ�บล
ในบางอย่างที่ไม่สามารถจัดหาให้ได้ จะให้ทางพ้ืนที่จัดหาด้วยตนเอง
แยกค่าใชจ้ า่ ยออกมาต่างหาก
3. นัดหมายรับสง่ิ ของท้งั หมด โดยแยกเป็นรายต�ำ บลตามข้อมลู
ความตอ้ งการ ใหท้ างตำ�บลมารบั ของ สง่ มอบกันใหเ้ รยี บร้อย
230 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
4. ตำ�บลเป้าหมาย ส่งมอบความช่วยเหลือผ่านชุด Care Set
ให้กำ�ลังใจผไู้ ดร้ บั ผลกระทบ ทั้งสน้ิ 208 คน โดยสว่ นใหญใ่ ชร้ ะบบทีมใน
การสง่ มอบไปใหก้ ลมุ่ เปา้ หมาย ผนู้ �ำ ทงั้ ทอ้ งถน่ิ ทอ้ งที่ รพ.สต. ลงไปมอบให้
ถงึ ครวั เรอื นและใชโ้ อกาสในการสอื่ สารสถานการณโ์ ควดิ แนวทางการรบั มอื
ความรู้ในการป้องกันไปในตัว บางพื้นท่ีเช่น ตำ�บลบ่อยาง จะให้กลุ่ม
เป้าหมายทยอยมารับด้วยตนเอง เพ่ือเลี่ยงปัญหาความเส่ียงจากการ
ติดเช้ือ โดยรายงานภาพและกิจกรรมการส่งมอบในระบบเย่ียมบ้านของ
iMed@home ท�ำ ให้มีหลักฐานว่าได้ชว่ ยเหลือใครไปบา้ ง
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 231
5.สรุปบทเรียนการทำ�กิจกรรม นัดหมายทุกพื้นที่ประชุมสรุป
บทเรียนเพ่ือยกระดับการทำ�งานร่วมกัน ข้อค้นพบสำ�คัญก็คือ ทุกพ้ืนท่ี
นำ�ไปบรู ณาการกบั งบประมาณอ่ืนๆ ทง้ั จากการบรจิ าค หรือจากงบของ
ท้องถิ่น งบภาคเอกชน ภาคี เพื่อให้สามารถกระจายความช่วยเหลือ
ไปได้อย่างครอบคลุม กรณนี ้ีหากทอ้ งถนิ่ ทเ่ี ป็นตวั กลางสามารถใชอ้ �ำ นาจ
หน้าท่ีอ้างอิงตามระเบียบท่ีมีมาเอื้อให้เกิดการช่วยเหลือประชาชน
จะชว่ ยเติมเตม็ ชอ่ งวา่ งท่ีมไี ด้มาก
232 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
กจิ กรรมความชว่ ยเหลอื เชน่ นจ้ี ะท�ำ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ คลอ่ งตวั และ
ยืดหยุ่นตามความเป็นจริง การช่วยเหลือท่ีดีควรจะสอดคล้องกับความ
ตอ้ งการของแตล่ ะบคุ คล สภาพแวดล้อม และบริบทของแตล่ ะพนื้ ที่
บทบาทของภาคประชาสังคม จะช่วยเติมเต็มช่องว่างของระบบ
ได้มาก กรณีนี้ข้อมูลที่ได้จะนำ�ไปสู่การวางแผนการแก้ปัญหาของพ้ืนที่
รวมถึงนำ�เข้าระบบฐานข้อมูลกลางท่ีกำ�ลังพัฒนาในระดับจังหวัด เข้าสู่
ระบบการท�ำ งานปกติต่อไป
อย่างไรก็ดี ท้ังหมดนี้ หัวใจสำ�คัญท่ีสุดท่ีทุกคนเห็นตรงกันและ
จะท�ำ ให้ลลุ ่วงไปได้ กค็ ือ หากมี “ใจ” ท่ีจะด�ำ เนินการ ทุกอยา่ งก็สามารถ
ท�ำ ได้ทง้ั สนิ้
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 233
14
ระบบฐานข้อมูลกลาง
คนพิการ ผู้สูงอายุ
ผู้อยู่ในภาวะพึ่งพิง
จังหวัดสงขลา
234 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ความจ�ำ เปน็ ในการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศขององคก์ าร
บริหารส่วนจงั หวดั สงขลาและหน่วยงานต่างๆ ทีร่ ว่ มลงนามความรว่ มมอื
ในการจัดทำ�ระบบฐานข้อมูลกลาง เร่ือง การนำ�ร่องการดำ�เนินการตาม
แนวทางการบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการจัดบริการสาธารณะ
ภาครัฐจังหวัดสงขลา ของหน่วยงานทั้ง 11 หนว่ ยงาน เมือ่ วันที่ 4 เดือน
กุมภาพันธ์ 2564 เพื่อตอบสนองการปฏิบัติงานตามภารกิจ การ
บรหิ ารราชการ การจดั บรกิ ารสาธารณะภาครฐั ใหก้ บั ประชาชน การพฒั นา
องค์กรและบุคลากร รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเศรษฐกิจเพ่ือการวาง
ยทุ ธศาสตรใ์ นการขบั เคล่อื นการด�ำ เนนิ งาน ซ่ึงส่งผลให้จำ�นวนระบบงาน
ทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศมจี �ำ นวนมากขน้ึ เรอ่ื ยๆ ทกุ ปี แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี
การพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศดงั กลา่ วยงั ขาดความเชอื่ มโยงขอ้ มลู
ในลักษณะการบูรณาการและขาดมาตรฐานในการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ
เข้าดว้ ยกนั ท�ำ ให้การใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มูลในระบบตา่ งๆ ท่ีมคี วามเกีย่ ว
เนอ่ื งกันท�ำ ไดย้ ากและซับซอ้ น เกดิ การสูญเสียงบประมาณในการพฒั นา
ระบบท่ีซ้ำ�ซ้อนกันเป็นจำ�นวนมากเกิดความขัดแย้งกันของข้อมูลชนิด
เดียวกันจากระบบงานท่ีต่างกัน ไม่สามารถส่งต่อหรือใช้ข้อมูลร่วมกัน
ระหว่างหนว่ ยงานหรือระบบงานที่ตา่ งกันได้
ด้วยเหตุนี้ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาซึ่งเป็นศูนย์กลาง
ในการประสานงานและบริหารจัดการการทำ�งานระหว่างหน่วยงานทั้ง
ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมในพน้ื ทท่ี ง้ั 16 อ�ำ เภอในจงั หวดั
สงขลา จึงมีความจำ�เป็นเร่งด่วนในการจัดเตรียมการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและ
การจัดบริการสาธารณะภาครัฐจังหวัดสงขลารองรับระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สงขลาทง้ั ในปจั จบุ นั และอนาคต
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 235
ในลกั ษณะทเ่ี ปน็ “ชอ่ งทางบรกิ ารสารสนเทศส�ำ หรบั องคก์ ร” (Enterprise
Service Bus) เพอื่ เป็นพน้ื ฐานในการพัฒนาและปรบั ปรงุ ระบบเทคโน-
โลยีสารสนเทศขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาไปสู่ระบบที่มี
โครงสร้างแบบ “สถาปัตยกรรมเชิงบริการ” (Service Oriented
Architecture: SOA) ซึ่งเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมสำ�หรับระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัยมีประสิทธิภาพ โดยต้องคำ�นึงถึงปัจจัย
ตา่ งๆ ดงั นี้ 1) ความสามารถในการบรู ณาการ (Integration) 2) ความ
สามารถในการต่อเช่ือมระบบ (Connectivity) 3) การเป็นมาตรฐาน
เปิด (Open Standard) 4) ความสามารถในการทำ�งานร่วมกัน
(Interoperability) 5) การกำ�หนดมาตรการรักษาความปลอดภัย
(Security Policy) 6) การตรวจสอบและการบริหารจัดการ (Monitoring
& Management) 7) ความยืดหยนุ่ ในการปรับเปลย่ี น (Flexibility) และ
8) ความสามารถในการขยายระบบในอนาคต (Scalability) รวมท้ัง
ต้องจัดทำ�ระบบการบูรณาการด้านกระบวนการและข้อมูล (Business
Integration) และพัฒนากระบวนการ (Business Process) เพ่อื ตอบ
สนองการบรกิ ารขอ้ มลู สารสนเทศใหแ้ กห่ นว่ ยงานภาคเี ครอื ขา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
ให้สามารถเช่ือมต่อระหว่างกันได้ในระดับจังหวัด พัฒนาขีดความ
สามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ สนับสนุนการใช้ประโยชน์จาก
ฐานข้อมลู กลางในระดับจงั หวัดรว่ มกันและเชอื่ มต่อกบั ระบบอน่ื ๆ ตอ่ ไป
ไดใ้ นอนาคต
ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จำ�นวน 11 หน่วยงาน ตามบันทึก
ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ในการจดั ท�ำ ระบบฐานขอ้ มลู กลาง เรอื่ ง การน�ำ รอ่ ง
การด�ำ เนนิ การตามแนวทางการบรู ณาการฐานขอ้ มลู ประชาชนและการจดั
บริการสาธารณะภาครัฐจงั หวัดสงขลา ไดแ้ ก่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด
236 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
สงขลา กับจังหวัดสงขลาสำ�นักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัด
สงขลาสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสงขลา
สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลาสำ�นักงานสถิติจังหวัดสงขลา ศูนย์
การศกึ ษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 3 จงั หวดั สงขลา ส�ำ นกั งานประกนั สงั คมจงั หวดั
สงขลา กองทนุ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพจงั หวดั สงขลา มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์
และมูลนธิ ชิ มุ ชนสงขลา
เป้าหมาย ออกแบบและพัฒนาระบบโปรแกรมฐานข้อมูลกลาง
ระบบฐานข้อมูลการให้บริการ และระบบสารสนเทศด้านการพัฒนา
คุณภาพชีวติ คนพิการ ผู้สงู อายุ และผทู้ ีม่ ีภาวะพึ่งพงิ ในจังหวดั สงขลา
1. ระบบฐานขอ้ มูลกลางคนพิการ ผู้สูงอายุ ผปู้ ว่ ยในภาวะพ่งึ พิง
1.1 องค์กรความร่วมมือ 11 องค์กรส่งข้อมูลของตนใน
3 แนวทางคอื กรณีทีเ่ ปน็ ข้อมลู ดิบ กรณที ่สี ามารถจดั สง่
เปน็ ไฟล์ดิจติ อล และกรณีทีจ่ ะต้องผา่ น API เข้าสู่ Web
App
1.2 ผา่ นระบบความปลอดภยั เขา้ สู่การจดั เกบ็ ข้อมลู แปลง
เปน็ ไฟลใ์ นรปู แบบทตี่ ้องการ
1.3 Mapping ความต้องการขอ้ มลู แปลงขอ้ มูลเป็นรูปแบบ
ที่สามารถใช้งานตอ่ ในระบบฐานข้อมลู กลาง
1.4 นำ�ไปใช้งานผ่านระบบความปลอดภัยผ่าน Web App
หรือ API ของแตล่ ะหน่วยงาน
2. ทมี กลางไดว้ เิ คราะหข์ อ้ มลู ของแตล่ ะองคก์ ร ดว้ ยการตรวจสอบ
ขอ้ มลู ท่มี ใี นระบบของตน (ข้อมลู พ้นื ฐาน เชน่ ชื่อ ทอ่ี ยู่ เลข 13 หลกั
การศึกษา อาชพี ขอ้ มลู ดา้ นสุขภาพ ดา้ นสิทธิ ด้านความตอ้ งการ ฯลฯ)
จ�ำ แนกออกเปน็ ลกั ษณะของขอ้ มลู ระบบทม่ี อี ยเู่ ปน็ ระบบปดิ หรอื ระบบเปดิ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 237
ความสามารถในการ Export ความสามารถในการเช่ือมต่อกับระบบ
ความพร้อมที่จะนำาขอ้ มลู เขา้ สรู่ ะบบกลาง จำาแนกเป็นระดับ 1, 2, 3
3. องค์กรที่มีความพร้อมระดับ 1 ประกอบด้วยกองทุนฟื้นฟู
สมรรถภาพฯ สนง.สาธารณสขุ จงั หวดั มลู นธิ ชิ มุ ชนสงขลา โปรแกรมเมอร์
ของแตล่ ะหนว่ ยงาน พฒั นา Application Programming Interface หรอื
API เป็นตัวกลางที่จะทำาให้คอยรับคำาสั่งต่างๆ ประมวลผลและกระทำา
ข้อมูลส่งกลับคืนไปยังคนส่ังโดยอัตโนมัติ นำาข้อมูลในระบบของตนเข้าสู่
ระบบกลาง ประสานองค์กรท่ีมีความพร้อมในระดับ 2 ท่ีสามารถส่ง
ข้อมูลเป็นไฟล์จากระบบที่อยู่ส่วนกลางเข้ามาผ่านไอทีของหน่วยงาน
ไดแ้ ก่ พมจ. ประสานภายในงานคนพกิ าร ผู้สงู อายุ และอน่ื ๆ นาำ ขอ้ มลู
ส่งเขา้ ระบบ
238 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
สำ�ํ นึกพลเมือง
ภาวะวถิ ีใหม่
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 239
15
พัฒนาการองค์กร
ภาคพลเมือง
ภายใต้กระบวนการ
นโยบายสาธารณะ
แบบมีส่วนร่วม
จังหวัดสงขลา
240 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
การกอ่ เกิดองคก์ รชมุ ชน องคก์ รภาคประชาสงั คม องค์กรพัฒนา
เอกชน ในพน้ื ทจี่ งั หวดั สงขลานบั เนอ่ื งจากอดตี มาสปู่ จั จบุ นั อาจแบง่ ออก
เปน็ 3 ชว่ งสำ�คญั ดังน้ี
ในช่วงแรก องคก์ รภาคพลเมืองเติบโตคูเ่ คยี งกนั ระหวา่ งองค์กร
ชมุ ชนทโี่ ดดเดน่ ในแงก่ ารเงนิ เพอ่ื การออม กบั องคก์ รพฒั นาเอกชนทส่ี นใจ
งานด้านทรัพยากร คนจนเมือง องค์กรชุมชนหรือภูมิปัญญาชุมชน
มาจากแกนนำ�ธรรมชาติที่มีลักษณะผู้นำ�คุณธรรม เร่ิมเข้ามามีบทบาท
ต้งั แตป่ ี 2520 โดยมีกลมุ่ ออมทรพั ย์ของลุงลัภย์ หนูประดษิ ฐ์ เรม่ิ กอ่ ตวั
ตอ่ มาเร่ิมมี NGOs “โครงการพฒั นาชมุ ชนประมงบา้ นปากบางนาทบั ”
(2524) โดยการนำ�ของคณุ บรรจง นะแส ตอ่ มาเกิดชมรมส่งเสรมิ สุขภาพ
และความเป็นอยู่ของประชาชน” (2524) โดยการนำ�ของ นพ.อนันต์
บุญโสภณ จากน้ันมชี มรมเพอื่ นนักพฒั นาภาคใต้ (2524-2528) กลมุ่
พืชร่วมยาง/กลุ่มเกษตรป่ายาง/กลุ่มเกษตรยกร่อง/กลุ่มผักพื้นบ้าน
(2528-2529) โดยการนำ�ของคุณกำ�ราบ พานทอง “CORE Radio
กลุ่มส่ือวิทยุสร้างสรรค์” (2530) “โครงการพัฒนาชุมชนแออัดภาคใต้”
(2531) โดยการนำ�ของคุณพชิ ยา แก้วขาว
ต่อมาเกิดสงขลาฟอรั่ม (2536) กลุ่มรักคูขุด (2536) มูลนิธิ
รักบ้านเกิดภาคใต้ (2536) เครือข่ายธรรมยาตราเพ่ือทะเลสาบสงขลา
(2538) และเครอื ขา่ ยทเ่ี คลอ่ื นไหวในเชงิ ประเดน็ ทตี่ นสนใจ อาทิ เครอื ขา่ ย
กสิกรรมไร้สารพิษ (2538) เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก (2539)
เครอื ขา่ ยลมุ่ น�้ำ ภาคใต้ (2539) กลมุ่ รกั ษค์ ลองอตู่ ะเภา(ตอนลา่ ง) (2538)
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 241
รวมถึงเครอื ขา่ ยเกษตรอนิ ทรีย์ สงขลาประชาคม (2539) “สมัชชาจงั หวัด
สงขลาเพอ่ื การปฏริ ูปทางการเมือง” (2540) เรียกรอ้ งรัฐธรรมนูญฯ ฉบบั
พ.ศ.2540 และวทิ ยาลัยวนั ศุกร์ (2542)
ปี 2541-2543 แนวคดิ เชิงปฏิรูปเรมิ่ กอ่ ตัวในระดับชาติ เกดิ การ
สนับสนุนองค์กรภาคประชาสังคมผ่านกองทุนเพื่อการลงทุนทางสังคม
(SIF) มีความพยายามยกระดับพัฒนากลไกการมีส่วนร่วมของภาค
ประชาชน มกี ารคัดสรรตวั แทนภาคประชาชนเข้าสูค่ ณะกรรมการสขุ ภาพ
ระดับพ้นื ที่ (กสพ.) 2543 ถงึ ตน้ ปี 2544 โครงการบริโภคเพือ่ ชวี ิตสงขลา
มูลนิธิรักบ้านเกิดภาคใต้ และศูนย์ประสานงานองค์กรภาคประชาชน
สงขลา (ศปส.) และเกิดประชาคมสขุ ภาพสงขลา รวมตวั กันเพือ่ กระชบั
ความสมั พนั ธข์ ององคก์ รชมุ ชน องคก์ รการเงิน และเครอื ข่ายเชิงประเดน็
ชว่ งทส่ี องหลงั ปี 2544 เปน็ ตน้ มา สงขลากเ็ ปน็ เหมอื นกบั อกี หลาย
จงั หวดั ของประเทศไทย กลา่ วคอื เปน็ สว่ นหนงึ่ ของขบวนการทางความคดิ
ในการปฏิรูประบบสุขภาพ ภาคประชาสังคมระดับจังหวัดได้รับการ
ประสานงาน ภาคตี ระกลู ส. เรม่ิ เขา้ มาสนบั สนนุ การท�ำ งานโดยชปู ระเดน็
งานด้านสุขภาพมาสชู่ มุ ชน ขยายมมุ มองด้านสขุ ภาพมาเป็น “สขุ ภาวะ”
และปรับใช้ทฤษฎี “สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา” ของ นพ.ประเวศ วะสี
น�ำ มาสภู่ าคปฏบิ ัตกิ ารสำ�คัญๆ ได้แก่
242 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
• สำ�นักงานกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)
ส�ำ นัก 3 สนบั สนนุ ผ่านเครือข่ายสร้างเสริมสขุ ภาพจังหวัด/เครอื ขา่ ย
สรา้ งสขุ ภาพ สถาบนั การจดั การระบบสขุ ภาพภาคใต้ ด�ำ เนนิ การรว่ มกบั
จังหวัดสงขลา โดยการประสานศักยภาพระหว่างองค์กรการเงิน องค์กร
ชมุ ชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคม ผ่านการใชป้ ระเดน็ รว่ มโดยมี
เป้าหมายเพื่อการสร้างสุขภาวะในระดับพื้นท่ี มุ่งเน้นการสร้างเครือข่าย
ที่สนใจในประเด็นร่วมเดียวกันผ่านแผนสุขภาพจังหวัด โดยมีองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดสงขลาและจังหวัดสงขลา (ท่านผู้ว่าราชการจังหวัด
นายสมพร ใช้บางยาง) ให้การสนับสนุน เกิดเครือข่ายภาคประชาชน
เชิงประเด็นจำ�นวนมาก ได้แก่ หลักประกันสุขภาพ/อสม./คนพิการ/
ผู้สูงอายุ/แรงงานนอกระบบ/เกษตร/เศรษฐกิจพอเพียง/สิ่งแวดล้อม/
เดก็ และเยาวชน/ผบู้ รโิ ภค/วฒั นธรรม/สอื่ สารสาธารณะ/การจดั การขอ้ มลู
พัฒนาการในช่วงนี้ทำ�ให้เกิดโครงสร้างความเป็นองค์กรนิติบุคคล
ของกลุ่มประเด็นดังกล่าวในลักษณะสมาคมและมูลนิธิในเวลาต่อมา
นอกจากนน้ั แลว้ สสส.ยงั ไดส้ นบั สนนุ การสรา้ งเครอื ขา่ ยองคก์ รปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ ผา่ น พศส. (พฒั นาศนู ยเ์ รยี นรสู้ ขุ ภาวะชมุ ชน) โดยมเี ทศบาล
ต�ำ บลปรกิ และ อบต.ทา่ ข้าม เปน็ แกนน�ำ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 243
• ส�ำ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ (สปสช.) ในปี 2552
มีนโยบายสำ�คัญสนับสนุนให้มีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถ่ิน
โดยให้มีกลไกคณะกรรมการที่ประกอบด้วยภาคส่วนต่างๆ เข้ามาร่วม
บริหารจัดการ ช่วยให้ภาคประชาสังคมในระดับพ้ืนที่ได้มีโอกาสสั่งสม
ทักษะการบริหารจัดการกองทุนได้ไม่น้อย ในปีแรกมีพ้ืนที่ 56 แห่ง
ปี 2553 เพ่ิมเป็น 78 แห่ง และปี 2554 ครบ 140 แห่ง นอกจากน้ัน
ในระดบั เขตยงั สนบั สนนุ ภาคประชาสงั คม เครอื ขา่ ย 9 ดา้ นเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม
โดยทำ�งานร่วมกับสมาคมผู้บริโภคจังหวัดสงขลาและสนับสนุนให้มี
ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพภาคประชาชนสร้างการมีส่วนร่วม
ในระดับฐานรากอีกด้วย
• ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) สนับสนนุ
องค์กรภาคประชาสังคมมาอย่างต่อเน่ืองโดยใช้กระบวนการนโยบาย
สาธารณะแบบมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้พื้นท่ีระดับจังหวัดใช้พลังทาง
สังคม ถักทอกับพลังความรู้ ถกแถลง ต่อรองกบั พลงั เชงิ นโยบายในการ
ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพ่ือสุขภาพ โดยมีเคร่ืองมือสำ�คัญ ได้แก่
สมัชชาสุขภาพ ธรรมนูญสุขภาพ…สงขลาเป็นพื้นท่ีจุดประกายการจัดทำ�
ธรรมนูญสุขภาพตำ�บลขึ้นเป็นแห่งแรกของประเทศ และการประเมินผล
กระทบด้านสุขภาพ (HIA) เปิดโอกาสให้ชุมชนท่ีได้รับผลกระทบจาก
นโยบายการพัฒนาขนาดใหญ่สามารถร้องขอให้มีการศึกษาผลกระทบ
และนำ�มาสูก่ ารก�ำ หนดทางเลอื กการพัฒนาใหม่ โดยร่วมกิจกรรมกบั ภาค
ประชาสังคมจังหวัดสงขลามาต้ังแต่ปี 2544 มีกิจกรรมสำ�คัญ อาทิ
244 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
การยกร่าง พรบ.สุขภาพแห่งชาติ ปี 2549 จัดทำ�แผนสุขภาพจังหวัด
ปี 2553 จดั ท�ำ ธรรมนญู ลมุ่ น�ำ้ ภมู /ี กองทนุ กลางพจิ ติ ร/ผลกั ดนั วาระพลเมอื ง
“สงขลาพอเพียง” ร่วมกับ 12 ภาคี
• สถาบนั พัฒนาองค์กรชมุ ชน (พอช.) นบั เป็นอกี องคก์ รท่มี ี
บทบาทในการเสริมหนุนขบวนองค์กรชุมชน ส่งผลให้องค์กรสวัสดิการ
ชุมชน สภาองค์กรชมุ ชน เติบโต อาทิ สมาคมสวสั ดิการภาคประชาชน
จังหวัดสงขลา สร้างวัฒนธรรมการออมและหนุนช่วยเป็นสวัสดิการภาค
ประชาชนไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง
ในขณะเดยี วกนั ระยะน้กี ลมุ่ NGOs และองคก์ รชุมชนเดิมก็มี
พฒั นาการในงานเชิงประเด็นและพน้ื ทอี่ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง กลมุ่ NGOs และ
ประชาสังคมจำ�นวนหน่ึงได้เข้าไปร่วมกับชุมชนที่ได้รับผลกระทบจาก
นโยบายการพัฒนาท่ีมุ่งเน้นความสำ�คัญกับเรื่องการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจและความมน่ั คงในระดับชาติ ซงึ่ สง่ ผลต่อการท�ำ ลายช่วงชงิ ฐาน
ทรัพยากรไปเพื่อสร้างการเตบิ โตทางเศรษฐกิจและภาคอุตสาหกรรม
ช่วงท่ีสามปี 2554 จนถึงปัจจุบัน ทิศทางของภาคพลเมือง
เคลอื่ นไหวออกไปใน 2 ทิศทางหลัก กล่าวคอื แนวทางทจี่ ะสรา้ งความ
เข้มแขง็ ของชุมชน เครอื ขา่ ย ต่อรองกับนโยบายการพฒั นาทั้งจากภาครัฐ
และเอกชนท่ีส่งผลกระทบตอ่ ฐานทรัพยากรของพน้ื ท่ี โดยมกี ล่มุ NGOs
และประชาสงั คมจ�ำ นวนหนงึ่ เปน็ แกนน�ำ อาทิ สมาคมพทิ กั ษส์ ทิ ธเิ์ ขาคหู า
สมาคมรักษ์ทะเลไทย มูลนิธิภาคใต้สีเขียว สภาองค์กรชุมชนบางแห่ง
กับแนวทางที่สร้างความเข้มแข็งภายในขององค์กร สานพลังพลเมือง
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 245
เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการพฒั นากบั ภาคสว่ นตา่ งๆ โดยใชพ้ น้ื ทแ่ี ละประเดน็
ที่สนใจเป็นฐาน ตามสภาพปัญหาที่เร่ิมหลากหลาย ซับซ้อน ต้องการ
การมีส่วนร่วมเฉพาะกลุ่มมากขึ้น มีการจัดต้ังสมาคม มูลนิธิเพิ่มขึ้น
อย่างมาก ดำ�เนินการในกิจกรรมเชิงพ้ืนที่และประเด็นอย่างหลากหลาย
อาทิ ภาคีคนรักเมืองสงขลา สมาคมสวัสดิการภาคประชาชนสงขลา
สมาคมผู้บริโภคสงขลา สมาคมอาสาสร้างสุข มูลนิธิเครือข่ายเมือง
ในภาคใต้เพอื่ การรบั มอื การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ มลู นธิ ิอนุรักษ์
ป่าต้นนำ้�จังหวัด มูลนิธิภาคใต้สีเขียว มูลนิธิคนช่วยคน บริษัทสงขลา
พฒั นาเมอื ง สมาพนั ธเ์ กษตรกรรมยง่ั ยนื จงั หวดั สงขลา สมาคมสง่ เสรมิ การ
ท่องเท่ียวชุมชนสงขลา เป็นต้น พร้อมกับบทบาทของบางองค์กรที่เพิ่ม
มากขนึ้ เชน่ สงขลาฟอรัม่ กล่มุ อาหารปนั รัก Beach For Life สมาคม
คนพกิ ารจงั หวัดสงขลา Node Flagship สสส.สงขลา โดยมีปญั หาดา้ น
สงิ่ แวดลอ้ มอนั เกดิ จากการพฒั นายงั คงเปน็ ปญั หาหลกั ปญั หาของผบู้ รโิ ภค
ในสงั คมเมอื ง ปญั หาดา้ นเศรษฐกจิ ปากทอ้ ง ปญั หากลมุ่ เปราะบางทางสงั คม
ปัญหาราคายางพาราตกต่ำ� ปัญหาความแตกแยกเห็นต่างทางการเมือง
แต่อีกด้านก็มีการนำ�ทุนทางวัฒนธรรม ประเพณี ทรัพยากรธรรมชาติ
น�ำ มาตอ่ ยอดสรา้ งรายได้ พฒั นาการส�ำ คญั อกี สว่ นหนง่ึ กค็ อื การรวมตวั กนั
ระหวา่ งภาคเอกชน ภาคประชาสงั คมโดยมมี ลู นธิ ชิ มุ ชนสงขลาเปน็ องคก์ ร
นิติบุคคลสำ�คัญ ผสมผสานจุดเด่นในการบริหารจัดการและแนวทางการ
ขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของภาคเอกชนเข้ามาร่วมกับแนวทางและ
246 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
กระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ทำ�ให้เกิดมิติการพัฒนา
แบบใหม่ขึ้นในหลายด้าน และวางตัวในการเชื่อมประสานความร่วมมือ
เป็นองค์กรพัฒนาของพ้ืนท่ี และต้องการเป็น “หุ้นส่วนการพัฒนา”
สรา้ งความตอ่ เนอื่ งในการพฒั นาในฐานะองคก์ รพลเมอื ง ตอ่ มาไดเ้ ขา้ รว่ ม
กับ 15 ภาคีการบริหารจัดการ ร่วมกันจัดทำ�วิสัยทัศน์สงขลา 2570
โดยมเี ปา้ หมายก�ำ หนดทศิ ทางการพฒั นาทเี่ ปน็ ของคนสงขลาในระยะยาว
เสรมิ หนนุ การท�ำ งานตามระบบปกตขิ องภาครฐั ชว่ ยกระชบั ความสมั พนั ธ์
ระหว่างส่วนภูมิภาค สถาบันการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ภาคเอกชน และเร่ิมประกาศใช้วิสัยทัศน์ดังกล่าวมาตั้งแต่วันที่ 30
กันยายน 2556 เครอื ข่ายภาคประชาสังคมท่เี ข้ากระบวนพัฒนานโยบาย
สาธารณะแบบมสี ว่ นรว่ ม ไดต้ อ่ ยอดวาระพลเมอื ง “สงขลาพอเพยี ง” มาสู่
“วิสัยทัศน์สงขลา 2570” โดยใช้ยุทธศาสตร์ร่วม เศรษฐกิจสร้างสรรค์
สิ่งแวดล้อมยั่งยืน สังคมเป็นสุข เพื่อเป็นการเช่ือมประสานภาครัฐส่วน
ภมู ิภาค อาทิ สสจ. พมจ. กส. ส่วนท้องถิน่ อาทิ ท้องถ่ินจังหวดั อบจ./
กองทนุ ฟนื้ ฟสู มรรถภาพจงั หวดั สงขลา อปท. ภาคเอกชน อาทิ หอการคา้
จังหวัดสงขลา สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทยจังหวัดสงขลา สมาคมสมาพันธ์
ธรุ กจิ การทอ่ งเทยี่ วจงั หวดั สงขลา ภาคประชาสงั คม องคก์ รชมุ ชน ไดเ้ ขา้ มา
ร่วมมือกันพัฒนาพ้ืนท่ี มีการเพิ่มเติม ตีความ และขับเคล่ือนโครงการ
แตกต่างไปจากโครงการที่ระบุไว้ในวิสัยทัศน์สงขลาในลักษณะเสริมหนุน
กนั และกนั โดยพยายามเปดิ พื้นที่ทางความคิด สรา้ งการมสี ่วนรว่ มใหก้ บั
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 247
ภาคีเครือข่ายอื่นๆ ท่ีไม่ได้เข้ามาสู่กระบวนการดำ�เนินงานที่ผ่านมา
ให้สามารถเสนอแนวคิดและมีส่วนร่วมต่อการขับเคล่ือนวิสัยทัศน์สงขลา
2570 ของตน ลดช่องวา่ งพง่ึ พิงภาครัฐในการขบั เคลือ่ น และความรู้สึก
เปน็ เจ้าของของประชาชนในภาพรวมซ่งึ ยงั มีนอ้ ยอยมู่ าก
ขอ้ สงั เกตในภาพรวมของประเดน็ ส�ำ คญั ของชว่ งนท้ี จี่ ะเปน็ หวั เลย้ี ว
หวั ต่อการพัฒนา ประกอบด้วย
1) ความขดั แย้งทางการเมอื ง สะสมตัวมาอย่างยาวนาน องค์กร
ภาคพลเมอื งจำ�นวนไมน่ อ้ ยเขา้ ไปส่วู งั วนความขัดแย้งโดยตรง ขณะเดียว
กนั มคี วามขดั แยง้ ดา้ นอดุ มการณท์ างการเมอื งระหวา่ งเสรนี ยิ มกบั อนรุ กั ษ์
นิยมหรือระหว่างคนรนุ่ ใหมก่ บั ร่นุ เกา่ ท่เี ริ่มมใี ห้เห็นมากข้ึน
2) แนวคิดการพัฒนาจากโครงการขนาดใหญ่ท่ีลงมาในพ้ืนท่ีมี
น้อยลง เนื่องจากนโยบายรัฐมุ่งเน้นการพัฒนาไปยังพ้ืนท่ีภูมิภาคอื่น
แต่ก็ทำ�ให้เกิดกระแสเรียกร้องจากภาคเอกชนท่ีต้องการแรงกระตุ้นจาก
โครงการใหญ่ด้วยเชื่อว่าจะเป็นหัวรถจักรฉุดกระชากรถไฟขบวนเศรษฐกิจ
ที่ตกตำ่�ให้กระเต้ืองขึ้น และเร่ิมสะสมความขัดแย้งจากกรณีโครงการ
พัฒนาขนาดใหญ่
3) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เกิดความผันผวน
อย่างรุนแรง หลายอาชีพไดร้ บั ผลกระทบจ�ำ เป็นต้องปรับตัวใหม่
4) ผลกระทบจากปัญหาภัยพิบัติ โดยเฉพาะโรคระบาดจาก
โควดิ -19 ทจ่ี ะสง่ ผลอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ยาวนาน ซ�ำ้ เตมิ สถานการณเ์ ดมิ ทย่ี �ำ่ แย่
อยู่แล้วให้มีความยุ่งยากมากขน้ึ ไปอกี
248 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9