The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fonpat1971, 2021-11-11 04:41:11

ผีเสื้อขยับปีก 9

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน

Keywords: ผีเสื้อขยับปีก 9

พัฒนาการกระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมสี ว่ นร่วม

รฐั ธรรมนญู ปี 2540 เปดิ โอกาสใหม้ กี ารเรยี นรู้ พดู คยุ และถกเถยี ง
เร่ืองการปฏิรูประบบสุขภาพในพื้นท่ี การกำ�หนดนโยบายสาธารณะ
อย่างเป็นทางการของประเทศ ในช่วงปี พ.ศ.2543 คณะกรรมาธิการ
การสาธารณสขุ ของวฒุ สิ ภา (พ.ศ.2539-2543) และคณะท�ำ งานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
ได้นำ�เสนอรายงาน ‘ระบบสุขภาพประชาชาติ’ ซ่ึงเป็นการเสนอการ
ปฏิรูประบบสุขภาพที่ชัดเจนเป็นระบบรวมถึงสนับสนุนให้มีการจัดทำ�
พระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพแหง่ ประชาชาตขิ น้ึ เพอ่ื เปน็ กฎหมายแมบ่ ทส�ำ หรบั

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 249

ระบบสุขภาพ ที่จะเอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพของประชาชนในระยะยาว
รายงานฉบบั นย้ี ังไดส้ ร้างการรบั รูเ้ รือ่ ง ‘ระบบสขุ ภาพ’ (Health System)
อย่างเป็นทางการคร้ังแรกในระบบการบริหารจัดการภาครัฐอันมีความ
หมายกว้างขวางครอบคลุมกว่า ‘ระบบสาธารณสุข’ (Public Health
System) ที่ใช้มาแต่เดิม (กองยุทธศาสตร์และแผนงานสำ�นักงานปลัด
กระทรวงสาธารณสุข, 2562) ข้อเสนอของรายงานชิ้นนี้นำ�มาสู่การ
ประกาศ ‘ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิรูประบบสุขภาพ
แหง่ ชาติ พ.ศ.2543’ ทกี่ �ำ หนดใหต้ งั้ ‘คณะกรรมการปฏิรปู ระบบสุขภาพ
แห่งชาติ (คปรส.)’ อันเป็นการวางกลไกการทำ�งานเช่ือมประสาน
ระหวา่ งภาคสว่ นตา่ งๆ ในสังคม เช่น ภาคการเมอื ง ภาควิชาการ และ
ภาคประชาชน คปรส. นม้ี หี น้าท่ผี ลักดนั ให้มกี ารปฏริ ปู ระบบสขุ ภาพของ
ประเทศพรอ้ มกับจดั ท�ำ กฎหมาย แมบ่ ทหรอื ร่าง พ.ร.บ.สุขภาพแหง่ ชาติ
ระเบยี บดังกล่าวยังตง้ั ‘สำ�นกั งานปฏิรูประบบสขุ ภาพแห่งชาติ (สป.รส.)’
ข้ึน นับแต่น้ันมาทิศทางการปฏิรูประบบสุขภาพ กําเนิดและพัฒนาการ
ของสมัชชาสขุ ภาพเฉพาะพื้นทปี่ ระเทศไทยไดม้ ุ่งไปท่กี าร ‘สร้างนำ�ซ่อม’
อันเป็นแนวทางท่ีสะท้อนกระบวนทัศน์การสร้างเสริมสุขภาพของโลก
แนวใหมภ่ ายใต้ ‘กฎบตั รออตตาวา’ พ.ศ.2529 (Ottawa Charter for
Health Promotion) สนับสนุนและเผยแพร่โดยองค์การอนามัยโลก
(World Health Organization: WHO) ตามแนวคดิ ของกฎบตั รออตตาวา
การสร้างเสริมสุขภาพเป็นเรื่องกระบวนการของการเอ้ือให้ผู้คนเพิ่มความ

250 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

สามารถในการควบคุมสุขภาพของตนเองและปัจจัยกำ�หนดสุขภาพ
โดยการจะทำ�เช่นน้ีได้ สังคมต้องร่วมกันส่งเสริมกลยุทธ์ 5 ข้อ ได้แก่
สรา้ งนโยบายสาธารณะทสี่ นบั สนนุ สขุ ภาพทด่ี ี สรา้ งสภาพแวดลอ้ มทเี่ ออื้
ต่อสุขภาพ เสริมหนุนการกระทำ�และความเข้มแข็งของชุมชน พัฒนา
ทกั ษะสว่ นบคุ คลใหส้ ามารถปรบั พฤตกิ รรมเพอ่ื สรา้ งสขุ ภาพได้ และปฏริ ปู
ระบบสาธารณสุขให้สอดรับกับงานสร้างเสริมสุขภาพ (World Health
Organization, 1986) แนวคิดน้ีได้รับการนำ�มาปรับใช้ในการพัฒนา
นโยบายสาธารณะเพ่ือสุขภาพ และการอภิบาลระบบสุขภาพท่ีมีสมัชชา
สุขภาพเปน็ กลไกทางสงั คมท่ีสำ�คัญของประเทศไทยจนถึงปจั จุบัน
ตามท่ี พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 ได้ให้ความหมาย
สุขภาพใหม่ ที่กินความกว้าง ว่าหมายถึง “สุขภาวะทั้งด้านกาย ใจ
จติ วิญญาณ และสงั คม เช่อื มโยงเป็นองคร์ วมอยา่ งสมดลุ ” ใหม้ กี าร
จัดท�ำ “ธรรมนญู วา่ ดว้ ยระบบสขุ ภาพแหง่ ชาติ” (National Health
Statue) เพ่ือกำ�หนดทิศทางและนโยบายด้านสุขภาพของประเทศท่ีเป็น
ไปในทิศทาง “สร้างนำ�ซ่อม” สำ�หรับให้ทุกภาคส่วนในสังคมใช้อ้างอิง
ในการทำ�งานท่ีเก่ียวข้องกับสุขภาพได้อย่างกว้างขวางเพราะสุขภาพ
เปน็ ท้งั สิทธแิ ละหนา้ ท่ีของทุกคนทต่ี อ้ งรว่ มกนั ดแู ลและรบั ผดิ ชอบ
ระบบสุขภาพตามความหมายใน พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ
จึงหมายถึง “ระบบท้ังมวลท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพ” ไม่ใช่เร่ืองเฉพาะ
ระบบการบริการทางแพทย์และสาธารณสขุ เท่านัน้

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 251

พ.ร.บ.สขุ ภาพแหง่ ชาติ ใหค้ วามส�ำ คญั กับหลักการมีส่วนร่วมของ
ทกุ ภาคส่วนสังคม ตามแนวทางประชาธิปไตยแบบมสี ว่ นรว่ ม จงึ ก�ำ หนด
ให้มีเคร่ืองมือทำ�งานเกี่ยวกับการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
(Healthy Public Policy) ตามยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพ
(Health Promotion Strategy) ทส่ี บื เนอื่ งมาจากกฎบตั รออตตาวา เมอื่ ปี
2529 ไดแ้ ก่ สมชั ชาสขุ ภาพ (Health Assembly) และการประเมนิ ผล
กระทบดา้ นสุขภาพ (Health Impact Assessment) เป็นต้น โดยมี
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ (สช.) เปน็ องคก์ รรบั ผดิ ชอบหลกั
พัฒนาการดังกล่าวจึงควรพิจารณาควบคู่กับแนวคิดขององค์กรและพื้นที่
ควบคูไ่ ปดว้ ยกนั

โครงการประเมินกระบวนการสมัชชาสุขภาพเฉพาะพ้ืนท่ี โดย
สภุ าภรณ์ สงคป์ ระชา ธรี พฒั น์ องั ศชุ วาล คณะสงั คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 2564 ไดส้ รปุ พฒั นาการการจดั สมชั ชาสขุ ภาพจงั หวดั
เอาไว้ 5 ยุคดงั น้ี

252 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ยคุ ท่ี 1 ก่อนมี พรบ.สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 (พ.ศ.2530-2549)
การปฏิรปู ระบบสุขภาพ และรฐั ธรรมนูญ พ.ศ.2540
สงขลาเองก็อยู่ในแนวทางเดียวกับจังหวัดอื่น กล่าวคือ การจัด
สมัชชาสุขภาพในเวลาน้ันเน้นส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างความ
เขม้ แขง็ กบั พนื้ ทกี่ จิ กรรมตา่ งๆ ผา่ นการคน้ หาจดุ เดน่ ของพน้ื ที่ การพฒั นา
ศักยภาพทอ้ งถิน่ และการสร้างเครือขา่ ย พร้อมกับยกระดับความรว่ มมอื
ของภาคตี ระกลู ส. อบจ. และจงั หวดั สงขลา พรอ้ มกบั สนบั สนนุ การปฏริ ปู
ระบบสุขภาพของประเทศให้มี พรบ.สุขภาพแหง่ ชาติ ในปี พ.ศ.2550

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 253

สมัชชาสุขภาพจังหวัดสงขลา เป็นอีกพ้ืนท่ีหน่ึงของประเทศไทย
มีประสบการณ์การท�ำ สมัชชาสุขภาพตั้งแต่ก่อนมี พรบ.สุขภาพแห่งชาติ
โดยเข้าร่วมกระบวนการสาธิตสมัชชาสุขภาพ และเข้าร่วมกระบวนการ
ยกร่าง พรบ.สขุ ภาพแหง่ ชาตปิ ี 2550
พ.ศ.2544-2547 เข้าร่วมสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นท่ีขับเคลื่อน
ประเด็นเกษตรที่เอ้อื ต่อสุขภาพ
ปี พ.ศ.2547-2548 กระทงั่ ปี พ.ศ.2549 รว่ มกบั ส�ำ นกั งานกองทนุ
สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพดำ�เนินการในนามเครือข่ายสร้างเสริม
สุขภาพจังหวัดสงขลา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขภาคใต้ (สวรส.)
จงั หวดั สงขลา ภายใตย้ ทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของจงั หวดั จดั ท�ำ แผน
สุขภาพจังหวัดสงขลา เกิดข้อเสนอและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
ด้านสขุ ภาพเชิงประเดน็ 14 ประเดน็ และมีการทำ� MOU ความรว่ มมอื
กบั องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดสงขลามาตั้งแต่ปีน้นั

ยคุ ที่ 2 ก�ำ เนดิ พรบ.สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ.2550 กบั กระบวนการสมชั ชา
สุขภาพท่เี ปน็ ทางการ (พ.ศ.2550-2554) พรบ.สุขภาพแห่งชาติ
ในปี พ.ศ.2553 สำ�นกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพแห่งชาติ (สช.)
มีการประกาศ ‘แนวทางการสนับสนุนการจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่
หรอื สมชั ชาสขุ ภาพเฉพาะประเดน็ พ.ศ.2553’ ฉบบั ใหม่ อนั เปน็ การปรบั ปรงุ
ประกาศฉบับปี พ.ศ.2551 ท่ผี ่านมาให้มคี วามเหมาะสมย่ิงขนึ้ ประกาศ
ฉบับนี้ปรับนิยามสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นท่ีให้มีความชัดเจนและ

254 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ครอบคลุมย่งิ ขน้ึ กลา่ วคือ สมัชชาสขุ ภาพเฉพาะพนื้ ทค่ี อื “กระบวนการ
ที่ให้ประชาชน และหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องได้ร่วมแลกเปล่ียน
องค์ความรู้และเรียนรู้อย่างสมานฉันท์เพื่อนำ�ไปสู่การเสนอแนะนโยบาย
สาธารณะเพื่อสุขภาพหรือความมีสุขภาพดีของประชาชนโดยจัดให้มีการ
ประชุมอย่างเป็นระบบและอย่างมีส่วนร่วม และใช้อาณาบริเวณที่แสดง
ขอบเขตเป็นตัวต้ังในการดำ�เนินการ” (สำ�นักงานคณะกรรมการสุขภาพ
แห่งชาติ, 2553ข, น.13)

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 255

รปู แบบการขบั เคลอ่ื นในพน้ื ทจ่ี งั หวดั สงขลา ยงั เนน้ การบรู ณาการ
ความรว่ มมอื ยกระดบั องคก์ รภาคประชาชน ประชาสงั คม ใหม้ กี ารรวมกลมุ่
การสรา้ งรปู ธรรมกจิ กรรม และยกระดบั นโยบายดว้ ยกระบวนการถกแถลง
ซึ่งมีลักษณะไม่เป็นทางการ การขับเคลื่อนนโยบายใช้รูปแบบเสนอ
แนวทางความร่วมมือ ประกาศเจตนารมณ์ พร้อมกับเสนอรูปธรรมเชิง
ประเดน็ และพน้ื ท่ี ด�ำ เนนิ การโดยเครอื ขา่ ยสรา้ งสขุ ภาพ สถาบนั การจดั การ
ระบบสขุ ภาพภาคใต้ (สจรส.มอ.) โดยอาศยั ตวั แบบผีเสือ้ ขยับปกี
ปี พ.ศ.2550 เครอื ข่าย 14 ตำ�บลมคี วามร่วมมือเป็นแผนสุขภาพ
ต�ำ บล (งานตลาดนัดสร้างสุขคนสงขลา) เกิดขอ้ เสนอและการขบั เคล่อื น
นโยบายสาธารณะดา้ นสุขภาพระดบั พนื้ ที่
ปี พ.ศ.2551 เกิดคำ�ประกาศสมิหลา แสดงทิศทางการพัฒนา
ระบบสขุ ภาพระดบั ต�ำ บลเกดิ ขอ้ เสนอและการขบั เคลอ่ื นนโยบายสาธารณะ
ระดบั พ้ืนท่ีประเดน็ ความรว่ มมือของภาคีตระกูล ส.
ปี พ.ศ.2552 มีการบูรณาการข้อเสนอและการขับเคล่ือนนโยบาย
ทั้งเชิงประเด็นและเชิงพ้ืนที่ การสร้างนโยบายแต่ละประเด็นให้เป็นวาระ
สุขภาพทอ้ งถิ่น มกี ารทำ�ธรรมนูญสขุ ภาพต�ำ บลชะแล้
ปี พ.ศ.2553 มีการบรู ณาการข้อเสนอและการขบั เคลอื่ นนโยบาย
ทั้งเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ จัดทำ�ธรรมนูญสุขภาพลุ่มนำ้�ภูมีในช่วงการ
ด�ำ เนนิ งาน ปี พ.ศ.2553-2555 มกี ารก�ำ หนดประเดน็ รว่ มทจ่ี ะขบั เคล่ือน

256 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ร่วมกันทั้งเครือข่ายเชิงประเด็นและเครือข่ายพ้ืนที่ เป็นการก้าวสู่วาระ
พลเมอื ง “สงขลาพอเพยี ง” ใชฐ้ านคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี งมาหลอมรวมเปน็
เป้าหมายร่วมให้ทุกเครือข่ายท่ีมาดำ�เนินการและรวมไปถึงภาคีภาครัฐ
ภาคท้องถ่ินอนื่ ๆ เข้ามาร่วมกระบวนการอย่างมีทศิ ทางมากข้นึ
ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2554 สช.จดั ประชมุ วิชาการ ‘1 ทศวรรษ
สมัชชาสุขภาพ’ เพื่อให้ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมาร่วมแลกเปล่ียน
เรยี นร้แู ละก�ำ หนดทิศทางการขบั เคล่อื นสมัชชาสุขภาพในอนาคต ภายใน
งานมีเวทีทบทวนสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ภายใต้หัวข้อ ‘เดินอย่างไร
ให้สมาร์ท’ ซึ่งเป็นการวิเคราะห์และเรียนรู้ ได้หยิบยกกรณีศึกษา
กระบวนการสมัชชาสุขภาพสงขลา เป็นอีกตัวอย่างในพ้ืนท่ีจังหวัดที่
เข้มแข็ง ท่ีมีหน่วยงานบริหารจัดการท่ีชัดเจนและสามารถผลักดันการ
พฒั นาสขุ ภาวะใหเ้ ปน็ พนั ธะสญั ญาบนั ทกึ ความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงาน
รัฐในพื้นท่ีและเครือขา่ ยสมชั ชาสุขภาพจงั หวดั สงขลา

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 257

ยุคที่ 3 พัฒนาระบบสมัชชาสขุ ภาพเฉพาะพนื้ ที่กับการกา้ วสู่สมชั ชา
สขุ ภาพจังหวัด (พ.ศ.2555-2559)
ยคุ นเี้ ปน็ การยกเครอ่ื งรปู แบบสมชั ชาสขุ ภาพจงั หวดั จากมตสิ มชั ชา
สขุ ภาพแหง่ ชาตคิ ร้งั ที่ 5 เรื่อง กลไกและกระบวนการสมชั ชา และยทุ ธ-
ศาสตร์การพัฒนาสมัชชาสุขภาพเฉพาะพ้ืนที่และสมัชชาสุขภาพเฉพาะ
ประเด็น (2555-2557) กระตุ้นให้ สช. ดำ�เนินการลงพื้นที่ปฏิบัติการ
เพื่อปรึกษาหารือกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ทั่วประเทศเพ่ือร่วมกันพัฒนา
รูปแบบกระบวนการสมัชชาสุขภาพเฉพาะพ้ืนท่ีในช่วงระหว่างปี พ.ศ.
2555-2556 จนในท่ีสุดมีการพัฒนารูปแบบ ‘สมัชชาสุขภาพจังหวัด
(Provincial Health Assembly: PHA)’ ขึ้นอย่างเปน็ ระบบ แบบแผน
และเป็นทางการ มีการพัฒนาแกนนำ�สมัชชาสุขภาพในพ้ืนท่ีจังหวัด
มีโครงการสร้างเสริมศักยภาพ ในช่ือ ‘นักสานพลังขับเคล่ือนนโยบาย
สาธารณะเพอ่ื สขุ ภาพแบบมสี วนรว่ ม (นนส.)’ น�ำ ‘คณุ ลกั ษณะ 5 ตวั จด๊ี ’
กลา่ วคือ สช. สนับสนนุ ใหท้ มี งานการพัฒนานโยบายสาธารณะในพืน้ ที่
ควรมสี มาชิกตา่ งๆ ทม่ี ีศกั ยภาพรวมกนั แล้วครบ 5 ลกั ษณะเพอ่ื ให้งาน
มปี ระสทิ ธผิ ลและประสทิ ธภิ าพ ประกอบดว้ ย (1) นกั ประสานงาน ผเู้ ชอ่ื ม
ต่อเครือข่ายและหน่วยงานต่างๆ และเชื่อม่ันในเกียรติและศักด์ิศรีของ
เพอ่ื นมนษุ ยแ์ ละการมสี ว่ นรว่ ม (2) นกั วชิ าการ ผชู้ นื่ ชอบในการวเิ คราะห์
และสังเคราะห์ข้อมูลต่างๆ และทำ�การสนับสนุนทีมในด้านความรู้ การ

258 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ประเมินผล และการสรุปบทเรยี นตา่ งๆ (3) นกั ยุทธศาสตร์ ผวู้ างกลยุทธ์
และแผนการขบั เคลอ่ื นงาน เปน็ คนมองการณไ์ กล มวี สิ ยั ทศั น์ ชอบคดิ และ
ทำ�เพ่ือสังคม (4) นักสื่อสาร ผู้นำ� เสนอเรื่องราวและกิจกรรมต่างๆ
ของทีมและพื้นท่ีแก่สังคมวงกว้าง เป็นคนมีเครือข่ายกว้างขวาง ทำ�งาน
รวดเร็ว และเช่ียวชาญเทคโนโลยีการสอื่ สาร และ (5) นักจดั การ ผูท้ �ำ
หน้าที่บริหารจัดการเร่ืองราวต่างๆ ของทีมให้เป็นไปตามหลักการและ
ระบบที่วางไว้ เปน็ ผู้แก้ปญั หาเก่ง ทำ�งานเรียบรอ้ ย และมีความโปรง่ ใส
(สุนยี ,์ 2560, น.159-162) คุณลักษณะ 5 ตัวจด๊ี เปน็ ส่งิ ท่ี สช.ใหก้ าร
สนับสนุนอย่างต่อเน่ืองและเป็นทางการ ในฐานะเป็นทิศทางการ
ด�ำ เนินงานของ สช. ภายใตแ้ ผนงานหลกั ปัจจบุ นั อีกดว้ ย (ปีงบประมาณ
พ.ศ.2560-2564) (ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพแห่งชาต,ิ 2560ก)
ปี พ.ศ.2554-2557 สมัชชาสขุ ภาพจังหวดั สงขลามีการขบั เคลื่อน
วาระพลเมือง “สงขลาพอเพียง” ใน 4 ยทุ ธศาสตรส์ ำ�คัญ

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 259

ยุคที่ 4 บรู ณาการพ้ืนท่ี สงั คม และประชารัฐ (พ.ศ.2559-2562)
การพัฒนานโยบายสาธารณะ แบบมีส่วนร่วมบนพ้ืนฐานทางปัญญา
ระดบั พ้นื ที่
ในช่วงน้มี กี ารเปล่ยี นวสิ ัยทศั นก์ ารพฒั นานโยบายของ สช. จาก
‘นโยบายสาธารณะเพ่ือสขุ ภาพแบบมสี ่วนรว่ ม’ (Participatory Healthy
Public Policy: PHPP) เป็น ‘นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมบน

260 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

พ้ืนฐานทางปญั ญา’ (Participatory Public Policy Process Based on
Wisdom: 4PW) ทม่ี กี ารสานพลงั ความรู้ นโยบาย และสงั คม (ส�ำ นกั งาน
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ, 2560ก, 2560ข) อาจกล่าวได้ว่าการ
เปลย่ี นแปลงนมี้ าจาก 3 เหตผุ ลหลกั ไดแ้ ก่ (1) เพอ่ื แกป้ ญั หาความเขา้ ใจ
คลาดเคลื่อนท่ีมีต่อการดำ�เนินงาน ของ สช. ว่าเป็นงานเฉพาะในด้าน
สขุ ภาพหรอื สาธารณสขุ เทา่ นน้ั อนั ที่ สช. มขี อบขา่ ยความสนใจในการพฒั นา
นโยบายสาธารณะทก่ี วา้ งขวางกวา่ นน้ั และเกยี่ วขอ้ งกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยนอก
ภาคส่วนสุขภาพเป็นจำ�นวนมาก (2) เพื่อเน้นพื้นฐานของความรู้และ
ปัญหาในการพัฒนาและขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะ และ (3) เพ่ือ
สง่ เสรมิ วธิ คี ดิ เรอ่ื งทกุ นโยบายสาธารณะหว่ งใยตอ่ สขุ ภาพ (Health in All
Policies) ในหนว่ ยงานภาครฐั ทุกระดบั ไม่จ�ำ เป็นต้องเปน็ นโยบายของ
ภาคส่วนสุขภาพเทา่ นน้ั 4 PW ได้เนน้ ย�้ำ แนวคดิ ของสมชั ชาสขุ ภาพวา่
เป็นการพัฒนา ‘นโยบายสาธารณะโดยสังคม’ ท่ีแตกต่างจากนโยบาย
สาธารณะโดยรฐั (พลเดช, 2561)
ปีพ.ศ.2558-2560 กิจกรรมเวทีสมัชชาสุขภาพจงั หวดั เปลีย่ นโฉม
ไปในรปู แบบเวที เวทีสาธารณะ “สภาพลเมืองจังหวัดสงขลา” น�ำ เสนอ
ผลการด�ำ เนนิ งานของภาคเี ครอื ขา่ ยและผลกั ดนั นโยบาย “วสิ ยั ทศั นส์ งขลา
2570” โดยในช่วงนี้กิจกรรมจะใช้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วน
จังหวัดเป็นหลัก มีการปรับเปลี่ยนองค์กรประสานงานให้กับเครือข่าย
พศส. 23 เกลอรับผิดชอบ

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 261

ปี พ.ศ.2561-2563 ขบวนการสมชั ชาสขุ ภาพจงั หวัด หรือในชอ่ื
4PW ผลกั ดนั ยทุ ธศาสตรว์ สิ ยั ทศั นส์ งขลา 2570 ประสานความรว่ มมอื ภาครฐั
ท้องถิน่ เอกชน ประชาสังคม และชุมชน มาร่วมดำ�เนินการ และจดั งาน
ในชือ่ ของวนั พลเมืองสงขลา
ปี พ.ศ.2562 หนังสือผเี สื้อขยบั ปกี ฉบับที่ 7 ได้เผยแพรพ่ รอ้ ม
คำ�น�ำ ทีช่ ใี้ ห้เห็นการเปลีย่ นแปลงส�ำ คัญ กล่าวคอื “การพฒั นาของขบวน
การพฒั นาชมุ ชนสงั คมของภาคพลเมอื งนอกภาครฐั นน้ั แรกเรมิ่ กเ็ รมิ่ จาก
การขับเคลือ่ นชมุ ชนฐานราก ในลักษณะของการหนนุ เสรมิ ความเข้มแข็ง
ของชมุ ชน เชน่ การสง่ เสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ท�ำ กจิ กรรมปลูกปา่
จัดกิจกรรมการอบรมพัฒนาศักยภาพ ด้วยแนวคิดคำ�ตอบอยู่ที่หมู่บ้าน
เพอ่ื สรา้ งชมุ ชนหมบู่ า้ นเขม้ แขง็ ตอ่ มาเมอ่ื มที ศิ ทางใหมข่ องการขบั เคลอ่ื น
สงั คมดว้ ยกระแสการท�ำ นโยบายสาธารณะเพอื่ ใหภ้ าครฐั ซอ้ื หรอื ตอบสนอง
ต่อข้อเสนอของภาคประชาชน ทิศทางการขับเคลื่อนก็ออกจากแนวทาง
คำ�ตอบอยู่หมู่บ้านชุมชนมาเป็นการจัดเวทีการระดมความเห็น จัดทำ�
เอกสารข้อเสนอเชิงนโยบาย ย่ืนต่อภาครัฐท้ังที่มีอำ�นาจจริงและไม่มี
อำ�นาจจริง บางข้อเสนอเกิดผลลัพธ์ในทางบวก แต่ข้อเสนอส่วนใหญ่
ยังอยู่ในกระดาษใส่ไว้ในลิ้นชัก ไม่ใช่เพราะข้อเสนอไม่ดีหรือภาครัฐไม่
เหน็ ดว้ ย แตเ่ พราะอปุ สรรคเชงิ ระบบของการจดั การภาครฐั และองคาพยพ
ของภาครัฐที่ซับซอนและมากข้ันตอน รวมท้ังพลังการจัดการในความ
ซับซอนของปญหาและขอเสนอตอภาครัฐนั้น มีไมพอที่จะกอใหเกิดการ

262 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

เปลี่ยนแปลง หลายเรื่องจึงไปไมถึงไหน แตในระยะหลังๆ นี้ มีการ
ขับเคล่ือนสังคมและผูคนสังคมท่ีแตกตางจากสองแนวทางท่ีแตกตางจาก
ในอดตี ทไี่ ดพ ฒั นาตนเองขน้ึ มาชา ๆ ดว ยสองแนวทางทม่ี คี วามตา งไปจาก
เดิมอยา งชัดเจนกลาว คอื หนึ่ง ทางการใชม ติ ดิ านเศรษฐกจิ สรางสรรค
หรอื การตลาดชี้นำ�การเปลีย่ นแปลง ซ่งึ ตอบรบั กบั ระบบสงั คมในปจ จบุ ัน
และสอง แนวทางการสรา งกลไกความรว มมือเชงิ หนุ สวน (Partnership)
กบั องคก รปกครองสว นทองถิ่น เพ่ือสรางการเปล่ยี นแปลงในระดบั ต�ำ บล
แนวทางแรกคือ การใชมิติดานเศรษฐกิจสรางสรรคหรือการตลาดชี้นำ�
นำ�การเปล่ียนแปลงนับเปนยุทธศาสตรการพัฒนาอยางใหมของภาค
ประชาชน แมใ นทางทฤษฎแี ลว จะไมไ ดเ ปน อะไรทใี่ หม มขี อ เสนอดงั กลา ว
ปรากฏในตำ�ราหรือในเอกสารการสัมมนามานานแลว แตการลงมือทำ�
ปฏบิ ตั กิ ารและการประยกุ ตใหเกดิ รูปธรรมจริงในพนื้ ท่ี โดยนักปฏบิ ัตกิ าร
น้ันไมคอยจะมีใหเห็น และในจังหวัดสงขลาชวงสามปที่ผานมา การนำ�
แนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรคช้ีนำ�กระบวนการผลิตของสังคม ไดถูกแปร
เปลย่ี นออกมาเปน รูปธรรมที่เหน็ ผลจริง ค�ำ วา Social Enterprise หรือ
องคก รธุรกิจเพื่อสงั คม หรอื Social Entrepreneurs หรอื ผปู ระกอบการ
ทางสังคม เปนคำ�ใหมและการจัดการเพื่อการสรางสรรคสังคมอยางใหม
ทผ่ี ูกติดกับกลไกการตลาดและวถิ ีการบริโภคนยิ ม ซึง่ มพี ลังการขบั เคลื่อน
สังคมในอีกรปู แบบ ตลาดกรีนโซน ตลาดกรนี ปน สขุ ตลาดฟน การสง ผัก
เขาสูโรงครัวและรานคาในโรงพยาบาลหาดใหญ การทอดผาปาขยะของ

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 263

เทศบาลตำ�บลโคกมวง น่คี ือตวั อยางของความพยายามในการสรางสรรค
นวัตกรรมการพัฒนาในทิศทางใหม ทิศทางของการนำ�เศรษฐกิจ
สรางสรรคและกลไกการตลาดช้ีนำ�การพัฒนามาเปนฐานคิดและลงมือ
ปฏบิ ตั กิ าร เปน การสรา งพน้ื ทก่ี ลางในสงั คมของอาหารอนิ ทรยี เ พอ่ื เปลย่ี น
คานิยมของประชาชนในสังคม ใหหันมาใหความสำ�คัญกับการบริโภค
อาหารที่ปลอดภัยและเปนประโยชนกับสุขภาพ ดวยความเชื่อท่ีวาเม่ือ
ผูบริโภคตื่นตัว ความตองการอาหารอินทรียหรืออาหารปลอดภัยมีมาก
ขนึ้ จะชนี้ �ำ การผลติ ของเกษตรกรและท�ำ ใหเ กษตรกรหนั มาเปลย่ี นแปลงวธิ ี
การผลิตเองในท่สี ุด แนวทางท่สี อง คอื การสรา้ งกลไกความร่วมมอื เชิง
หนุ้ สว่ น (Partnership) กบั ภาคตี า่ งๆ เพอื่ สรา้ งการเปลยี่ นแปลงในระดบั
พ้ืนท่ี ท้ังนเี้ พราะไมม่ อี งค์กรโดดใดๆ จะสามารถแก้ไขปญั หาและสามารถ
ขับเคล่ือนสังคมอันซับซ้อนด้วยลำ�พังองค์กรตนเองเท่านั้นได้อีกต่อไป
และรูปแบบการมีส่วนร่วมนั้นก็ต้องการมากกว่าเพียงการมีส่วนร่วมแบบ
การร่วมรับรู้และเพียงยกมือเห็นด้วยเท่านั้น แต่ต้องการการมีส่วนร่วม
ในการขับเคล่ือนแบบมาร่วมเป็นหุ้นส่วน ลงแรง ลงขัน ลงความคิด
ลงมาคลุกและขยบั ไปดว้ ยกัน หรือในภาษาสากลเรยี กว่า การเป็นหุน้ ส่วน
หรอื Partnership เพอื่ รว่ มกนั ฟนั ผา่ อปุ สรรคและยกระดบั การพฒั นาผา่ น
ข้อจ�ำ กดั ต่างๆ ไปด้วยกนั องคก์ รหรือกลมุ่ คนทจ่ี ะรว่ มเปน็ ภาคีนั้น อาจมี
ความเปน็ ทางการตงั้ แตอ่ งคก์ รภาครฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ องคก์ ร
เครือข่ายภาคประชาชน หรือแม้แต่ชมรมหรือกลุ่มคนท่ีรวมตัวกันเพ่ือ
วตั ถุประสงคห์ นึ่งๆ รว่ มกัน” (นายแพทย์สุภทั ร ฮาสวุ รรณกิจ, 2562)


264 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ยคุ ท่ี 5 สรา้ งสมดลุ กลไกเกา่ -ใหม่ ในการพัฒนานโยบายสาธารณะ
เพอื่ สขุ ภาพระดบั พืน้ ท่ี (พ.ศ.2563-ปัจจุบนั )
ทิศทางของสำ�นักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
มีความพยายามที่จะปรับความสมดุลในการจัดสมัชชาสุขภาพระดับ
พ้ืนท่ี (1) การสรางเอกภาพกับเครือขายในพื้นที่ท่ีคอนขางมีรูปแบบ
การท�ำ งานทห่ี ลากหลายใหส ามารถเกาะเกย่ี วกนั ได เชอ่ื มโยงกบั กลไกอนื่ ๆ
ได้แก่ คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป.) อันจะทำ�ใหก าร
ขบั เคลอ่ื นนโยบายสาธารณะเชงิ พนื้ ทมี่ พี ลงั มากยงิ่ ขนึ้ และ (2) สนบั สนนุ
ใหเครอื ขา ยและกลไกพน้ื ทม่ี คี วามมน่ั คงในเชงิ สถาบันหรือมีความเปนนติ ิ
บุคคล เพราะจะมีประโยชนในดา นการสรางความเขม แข็ง ทำ�ใหม ีสถานะ
รองรบั และลดขอจำ�กัดดานการสนบั สนุนจากภาคสวนตางๆ โดยเฉพาะ
ภาครัฐ
โดยเฉพาะปี 2564-2565 เกิดสถานการณ์แพร่ระบาดของ
โควิด-19 จึงมีความคาดหวังให้สมัชชาสุขภาพจังหวัดมีบทบาทสำ�คัญ
ในการมสี ่วนร่วมแกป้ ัญหาวิกฤตดังกล่าวอีกดว้ ย
กล่าวโดยสรุป สมัชชาสุขภาพจังหวัดสงขลา มีกระบวนการ
ดำ�เนินงานพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมมาอย่าง
ต่อเนื่องยาวนาน ผู้คนกลไกยังคงเกาะเกี่ยวขยายผลการทำ�งานเพ่ือ
พ้ืนท่ีไม่เพียงเป็นการทำ�งานระดับจังหวัด แต่ยังทำ�งานในระดับภูมิภาค
วัฒนธรรมการทำ�งานเพื่อส่วนรวมของคนพื้นท่ีซ่ึงเป็นทุนทางสังคมอัน
สำ�คัญยิ่งของจังหวัดสงขลา พัฒนาการท่ีสำ�คัญอีกส่ิงนอกจากใช้รูปแบบ

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 265

ผเี สอ้ื ขยบั ปกี แลว้ คอื การน�ำ แนวคดิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ ชนี้ �ำ กระบวนการ
ผลิตของสังคม หรอื ผปู้ ระกอบการทางสังคม (Social Entrepreneurs/
Social Enterprise) มาทำ�งานในพ้ืนท่ี ร่วมกับแนวทางการสร้างกลไก
ความร่วมมือเชงิ หุน้ สว่ น (Partnership) กบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาครัฐส่วนภูมิภาค เพื่อสร้างการ
เปล่ียนแปลงผลิดอกออกผลดังท่ีกล่าวมา และใช้เทคโนโลยีดิจิตอล
มาพัฒนาระบบสนับสนุนโดยเฉพาะการมุ่งเน้นการใช้ Platform ระบบ
ขอ้ มลู สนบั สนนุ การบรู ณาการความรว่ มมอื ของภาคสว่ นตา่ งๆ ใหส้ ามารถ
เข้ามาท�ำ งานร่วมกนั ทย่ี งั เปน็ จดุ ออ่ นสำ�คญั

266 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9




Click to View FlipBook Version