ตัวอยา่ งผลกระทบด้านทา้ ยน้ำ�ของกำ�แพงกันคล่ืน
บรเิ วณหาดทรายแกว้ จังหวดั สงขลา
ภาพ เส้นแนวชายฝง่ั ในอีก 25 ปี โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง
พบว่าทา้ ยก�ำ แพงกันคลน่ื ระยะที่ 1 มกี ารกัดเซาะชายฝ่งั อยา่ งรนุ แรง
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 149
ในการศึกษาโครงการดังกล่าวว่า หากมีการก่อสร้างระยะที่ 1 เสร็จส้ิน
อีก 25 ปีชายหาดบรเิ วณสนามฟุตบอล (ส้นิ สดุ กำ�แพงกันคล่นื ระยะท่ี 1)
จะเกิดการกัดเซาะชายฝ่ังอยา่ งรุนแรง ลึกเข้ามาในแผน่ ดินกว่า 100 เมตร
และเปน็ เหตุให้ตอ้ งท�ำ โครงการระยะท่ี 2 เพือ่ ป้องกนั ต่อไป
ผลกระทบท่ีจะเกดิ ขนึ้ หากมีกำ�แพงกนั คลืน่ หาดม่วงงาม ถือไดว้ ่า
เป็นหายนะที่จะเกิดกับชายหาดม่วงงาม ชาวบ้านหลายคนท่ีออกมา
เคลื่อนไหวคัดค้านการก่อสร้างกำ�แพงกันคล่ืนชายหาดม่วงงาม ได้ตั้ง
ค�ำ ถามกับกรมโยธาธิการและผังเมืองว่า “การันตีไดไ้ หมวา่ สร้างกำ�แพง
กันคลื่นแลว้ ชายหาดทีเ่ ขารักจะไมห่ ายไป ?” “สรา้ งก�ำ แพงกนั คลนื่ แลว้
ชายหาดจะไม่กัดเซาะชายฝั่งไปจนถึงวัดจันทร์ซ่ึงเป็นชุมชนถัดไปจาก
มว่ งงาม ?” “สรา้ งแลว้ จะไมเ่ ปน็ แบบหาดทรายแกว้ ทค่ี ลน่ื โถมขา้ มก�ำ แพง
เข้ามาจนนำ้�ท่วมขังในช่วงมรสุม ?” คำ�ถามเหล่าน้ีคือความห่วงกังวล
ของประชาชนทม่ี ตี อ่ โครงการ แตไ่ มม่ ใี ครกลา้ การนั ตไี ดเ้ ลยวา่ สงิ่ ทพี่ วกเขา
กงั วลจะไม่เกดิ ข้นึ ถา้ ด�ำ เนนิ โครงการก่อสรา้ งก�ำ แพงกันคลื่น
เมอื่ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษข์ องก�ำ แพงกนั คลน่ื ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ชายหาด
ต่างๆ เช่น หาดทรายแก้ว หาดปราณบุรี หาดหัวหิน หาดอ่าวน้อย
หาดเหล่านลี้ ้วนมีก�ำ แพงกันคลนื่ และทกุ ๆ หาดเกิดผลกระทบเหมือนกัน
หมด และความสงสัย กังวลใจของประชาชนท่ีมีต่อโครงการไม่ได้ถูก
คลีคลายจากเจ้าของโครงการทำ�ให้นำ�มาสู่การเคลื่อนไหวอย่างหนักแน่น
เพ่ือปกป้องชายหาดม่วงงามอันเป็นที่รักของพวกเขา ในนาม Save
หาดม่วงงาม
150 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ถอดรหัสบทเรยี นการต่อสู้ของพลเมอื งม่วงงาม
การต่อสู้เคลื่อนไหวของประชาชนชาวม่วงงามและก่อเกิดกลาย
เปน็ กระแสสาธารณะ ในแฮชแทก็ ทรี่ จู้ กั กนั #Saveหาดมว่ งงาม ซงึ่ อาจจะ
เรยี กไดว้ ่า ขบวนการ Save หาดม่วงงาม เรม่ิ ต้นในเดอื นมีนาคม 2563
ในชว่ งทเ่ี สาเขม็ และแทง่ เหลก็ รถแบค็ โฮก�ำ ลงั ขดุ ตอกบนชายหาดมว่ งงาม
ประชาชนมว่ งงามเรม่ิ ตน้ ชปู า้ ย และเคลอ่ื นไหวในโลกออนไลน์ ยนื่ หนงั สอื
ตอ่ หนว่ ยงานตา่ งๆ มกี ารแสดงออกเชงิ สญั ลกั ษณร์ มิ ชายหาด การจดั เสวนา
ฟอ้ งคดตี อ่ ศาลปกครอง ใชก้ ระบวนการทางการเมืองของรฐั สภา จนไปถงึ
การประท้วงปักหลักนอนหน้าศาลากลางจังหวัดสงขลาเป็นระยะ 4 คืน
5 วัน จนท้ายท่ีสุด โครงการดังกล่าวถูกชะลอไป และศาลปกครองมี
คำ�สงั่ คุ้มครองช่วั คราวให้กรมโยธาธกิ ารฯ ชะลอโครงการจนกวา่ ศาลจะมี
ค�ำ พิพากษา ตลอด 4 เดือน บนการตอ่ สู้ เคลอ่ื นไหวอยา่ งเขม้ ขน้ จนได้
รบั ชนะ สามารถปกปอ้ งชายหาดม่วงงามจากกำ�แพงกนั คล่ืนได้ จากลอง
ถอดรหสั ออกมาจะพบวา่ ปัจจัยสำ�คัญๆ ของประชาชนมว่ งงามท่ปี กปักษ์
รกั ษาหาดมว่ งงามไว้ได้ในสายตาของผู้เขียนมี 4 ประการ
ประการที่ 1 : ประชาชนมว่ งงามรจู้ กั สอ่ื สาร และสรา้ งพลงั รว่ ม
จากสาธารณะ จนประเดน็ เลก็ ๆ ระดบั ชมุ ชนกลายเปน็ ระดบั ประเทศ
สาธารณะรบั รู้ ช่วยกนั ส่อื สารบนโลกออนไลน์ การส่ือสารของประชาชน
ม่วงงาม โดยการชูป้าย การทำ�คลิปความรู้ การทำ�เพจ โพสต์ แชร์
ประกอบกบั การเคลื่อนไหวในพน้ื ท่ี ทำ�ใหก้ ระแสของชายหาดมว่ งงามน้นั
อยู่บนโลกออนไลน์ และให้เกิดการรับรู้ในวงกว้าง ทำ�ให้ความรู้เรื่องผล
กระทบของกำ�แพงกันคล่ืนนั้นถูกขยายตอ่ ในสาธารณะ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 151
ประการท่ี 2 : การยนื หยดั ดว้ ยความรู้และความจรงิ การตอ่ สู้
ของประชาชนมว่ งงามนน้ั หนกั แนน่ เพราะยนื หยดั อยบู่ นความรแู้ ละความ
จริง พวกเขาใช้ข้อมูลทางวิชาการ ภาพถ่าย และความจริงเชิงประจักษ์
ในการตอ่ สู้ โดยยนื หยดั วา่ หาดมว่ งงามไรก้ ารกดั เซาะชายฝงั่ จงึ ไมจ่ �ำ เปน็
ตอ้ งมกี �ำ แพงกนั คลน่ื การใชภ้ าพถา่ ยหาดตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ก�ำ แพงกนั คลน่ื แลว้
ท�ำ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตา่ งๆ มาจดั แสดง โพสตล์ งโซเชยี ลมเี ดยี การท�ำ เชน่ นี้
ทำ�ให้การต่อสู้มีนำ้�หนัก มีเหตุผล จนรัฐไม่สามารถปฏิเสธความจริงท่ี
ชมุ ชนรว่ มกนั ยนื หยดั ได้
152 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ประการที่ 3 : การถูกกดทับจากภาครัฐ : การต่อสู้ เคลื่อนไหว
ของประชาชนม่วงงามน้ันอยู่ในช่วงสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด
19 ท�ำ ใหร้ ฐั ประกาศ พรก.ฉกุ เฉนิ เพอื่ ควบคุมโรค มกี ารประกาศเคอร์ฟวิ
ห้ามรวมตัวกัน ซึ่งทำ�ให้การเคล่ือนไหวในพ้ืนท่ีของประชาชนทำ�ได้ยาก
มาก แต่ประชาชนม่วงงามก็ใช้สถานการณ์ช่วงนี้เคล่ือนไหวบนโลก
ออนไลน์ รวมถึงการทำ�ป้ายติดตามพ้ืนที่ต่างๆ เพื่อสื่อสารเจตนารมณ์
และการรวมตวั ของประชาชนบรเิ วณชายหาดเพอ่ื แสดงพลงั ของประชาชน
ตอ่ โครงการ ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2563 ถกู กดดนั จากรัฐโดยมีการนำ�
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 153
กำ�ลังเจ้าหน้าท่ีกว่า 100 นายมาตรึง
บริเวณชายหาดและมีการถกเถียงกัน
ระหว่างประชาชนกับรองผู้ว่าราชการ
จังหวัด ทำ�ให้อารมณ์ความรู้สึกของ
ประชาชนนน้ั ปะทขุ ึน้ ประกอบกบั การ
ขดุ เจาะชายหาดทไี่ มห่ ยุด การเคลอื่ น
ไหวก็ยิ่งเข้มข้นขึ้น จนนำ�ไปสู่การ
ปักหลักนอนค้างคืนให้ชะลอโครงการ
หน้าศาลากลางจังหวัดสงขลาจนท้าย
ทส่ี ดุ โครงการดงั กล่าวถูกชะลอออกไป
ประการที่ 4 : เล่นทุก
กระบวนการ ทำ�ให้องคาพยพของ
ขบวนใหญข่ ึน้ : การเคล่อื นไหวของ
ประชาชนม่วงงามตลอด 4 เดือน
อาจเรยี กไดว้ า่ สทู้ กุ ทางทม่ี ี ตอ่ ยทกุ ลลี า
การต่อสู้เคลื่อนไหวของประชาชน
ม่วงงามมีหลายรูปแบบ ตั้งแต่การ
สอ่ื สารกบั สาธารณะจนกลายเปน็ กระแสสาธารณะดังท่ีกลา่ วมากอ่ นหน้า
นี้ การฟ้องคดีต่อศาลปกครอง การเข้าสู่กลไกทางการเมืองโดยใช้กลไก
กรรมมาธิการของรัฐสภา เป็นพื้นท่ีในการพูดคุย การนอนปักหลัก
หน้าศาลากลาง การใช้ศิลปะท้ังการแต่งเพลง วาดภาพ เป็นต้น การ
เคลอ่ื นไหวดว้ ยวธิ ที ่หี ลากหลาย เสมอื นการตอ่ ยมวยท่มี ที กุ หมัด ทกุ ลลี า
มันทำ�ให้การต่อสู้ของประชาชนม่วงงามมันหลากหลาย องคาพยพของ
การเคล่ือนไหวมันใหญ่ข้ึน ทำ�ให้รัฐเองรับมือลำ�บาก ในขณะเดียวกัน
154 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
การเคล่ือนไหวเช่นน้ีได้ถ่ายโอนความรู้และเกิดการเปลี่ยนแปลงต่อ
ความคดิ ความรู้ และโครงสรา้ งในระบบการเมอื ง ระบบราชการ และศาล
เป็นอย่างมาก
ขบวนการเคล่ือนไหวของประชาชนม่วงงาม ในนาม Save
หาดม่วงงาม เป็นการเคลื่อนไหวที่ทรงพลังที่สุดในประเด็นเร่ืองชายหาด
ในหว้ ง 10 ปที ผ่ี า่ นมานบั ตงั้ แตม่ กี ารฟอ้ งคดชี ายหาดสะกอม การเคลอ่ื นไหว
ตอ่ สขู้ องประชาชนเพอ่ื ปกปอ้ งหาดมว่ งงามไดก้ ลายเปน็ แรงกระเพอ่ื มทาง
สงั คม ท�ำ ใหค้ วามรเู้ ร่ืองชายหาด สทิ ธชิ มุ ชน ขยายไปสสู่ าธารณะได้กว้าง
ขนึ้ อยา่ งทไี่ มเ่ คยเปน็ มากอ่ น และสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหช้ มุ ชนตา่ งๆ ลกุ ขน้ึ
มาใช้สทิ ธิเ์ พือ่ ปกปอ้ งฐานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
กำ�แพงกันคลื่นหาดม่วงงาม ภาพสะท้อนปัญหาเชิงนโยบาย
และกฎหมายของไทย
1. ก�ำ แพงกันคลืน่ ไม่ต้องทำ� EIA
การก่อสร้างกำ�แพงกันคลื่นชายหาดม่วงงามและการต่อสู้ของ
ประชาชนชาวม่วงงาม อำ�เภอสิงหนคร จงั หวดั สงขลา ไม่ใชป่ ัญหาของ
ประชาชนในชุมชนม่วงงามท่ีไม่เอากำ�แพงกันคล่ืนเพียงโดดๆ แต่เป็น
ปัญหาเชิงนโยบายและกฎหมายของประเทศไทยที่มีช่องว่างทำ�ให้เกิด
ปรากฏการณท์ ่ีเรียกวา่ “การระบาดของก�ำ แพงกันคลน่ื ”
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 155
กาำ แพงกนั คลน่ื ชายหาดมว่ งงาม คอื ผลของการระบาดของกาำ แพง
กนั คลนื่ คาำ ถามคอื ทาำ ไมกาำ แพงกนั คลน่ื ถงึ ระบาด กฎหมายทเ่ี ปน็ ชอ่ งวาง
ทาำ ให้กำาแพงกันคล่ืนระบาด คืออะไร ? ย้อนกลบั ไปปี 2556 สาำ นกั งาน
โนบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้เพิกถอน
โครงสร้างกำาแพงกันคลื่นออกจากโครงการ/กิจการท่ีต้องจัดทำาการ
ประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม (EIA) หลังจากการประกาศเพิกถอน
กำาแพงกันคล่ืนในปี 2556 ทำาให้กำาแพงกันคลื่นระบาดบนชายหาด
ในประเทศไทย
ระหวา่ งปี 2556–2562 กลมุ่ Beach for Life ไดร้ วบรวมขอ้ มลู
การก่อสร้างกำาแพงกันคล่ืนพบว่า จากกรมโยธาธิการและผังเมือง และ
156 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ภาพ แผนภมู แิ สดงมูลค่าการก่อสรา้ งก�ำ แพงกันคลื่นหลงั การเพิกถอน
กำ�แพงกันคลืน่ ออกจากโครงการท่ีต้องทำ� EIA
กรมเจ้าท่า มีโครงการก่อสร้างกำ�แพงกันคลื่นจำ�นวน 74 โครงการ
งบประมาณรวมกวา่ 6,400,000,000 บาท ระยะทางรวม 34 กิโลเมตร
ตลอดแนวชายฝงั่ ของประเทศไทย นอกจากนนั้ ยงั พบวา่ หลงั การเพกิ ถอน
กำ�แพงกันคล่ืนจำ�นวนโครงการก่อสร้างกำ�แพงกันคล่ืน และมูลค่าการ
ก่อสรา้ งก�ำ แพงกันคลน่ื ตอ่ กโิ ลเมตรน้นั สูงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำ�คัญ
หลังจากการเพิกถอนกำ�แพงกันคล่ืนนั้น เกิดกรณีพิพาทท่ีมีการ
ฟ้องร้องต่อศาลปกครอง ระหว่างชุมชนกับรัฐในกรณีกำ�แพงกันคล่ืน
จ�ำ นวน 3 คดี ได้แก่ คดอี า่ วน้อย (ปี 2559) คดีม่วงงาม (ปี 2563)
คดหี าดมหาราช (ปี 2563) ซงึ่ ทงั้ 3 กรณพี พิ าทนนั้ พบวา่ สภาพชายหาด
มีสภาพสมบรู ณ์ ไร้การกดั เซาะชายฝง่ั อย่างรนุ แรง แต่มกี ารก�ำ หนดให้มี
โครงการก่อสร้างกำ�แพงกันคลื่น ซ่ึงข้อมูลท้ังหมดท่ีเกิดข้ึนน้ันสะท้อน
อาการระบาดของก�ำ แพงกนั คล่ืนได้อยา่ งชดั เจนที่สุด
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 157
2. การรับฟงั ความคิดเหน็ เพยี งพธิ ีกรรม
กรณีม่วงงามนั้น จะเห็นว่าหน่วยงานของรัฐน้ันได้มีการจัดให้มี
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ซึ่งประชาชนในการรับฟังความ
คดิ เหน็ นัน้ เห็นด้วยกบั โครงการ แต่ทา้ ยสดุ เมือ่ มีการกอ่ สรา้ งประชาชน
ในพ้ืนท่ีส่วนใหญ่น้ันกลับกังวลใจต่อผลกระทบท่ีเกิดข้ึน และออกมา
เคลอื่ นไหวเรยี กรอ้ ง ประชาชนสว่ นหนงึ่ ทเี่ คยไดเ้ ขา้ รว่ มรบั ฟงั ความคดิ เหน็
บอกว่า หน่วยงานที่ดำ�เนินโครงการไม่ได้บอกว่าผลกระทบต่อชายหาด
เป็นอยา่ งไร มีการทว้ งติงจากประชาชนท่ไี ม่เห็นด้วยกับโครงการแตม่ ีการ
ปิดไมค์ ไมใ่ หเ้ ขาแสดงภาพผลกระทบต่อท่ปี ระชมุ นอกจากนน้ั แล้วการ
รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของโครงการกอ่ สรา้ งก�ำ แพงกนั คลนื่ นน้ั ไมม่ หี นว่ ยงาน
ทางวิชาการ สถาบันทางการศึกษา นักวิชาการที่มีความรู้ประสบการณ์
ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ชายฝง่ั ทะเลเขา้ รว่ มรบั ฟงั ความคดิ เหน็ สงิ่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ นนั้ สะทอ้ น
ให้เห็นว่าการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนประกอบโครงการนั้นเป็น
เพียงการท�ำ ตามระเบียบวิธที ก่ี ฎหมายกำ�หนดเพียงเทา่ นั้น
158 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
สังคม
เปน็ สขุ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 159
คุณภาพชีวิต
และคุณภาพ
ของสังคม
ต้องไปด้วยกัน
โดย ผศ.ณัฏฐาพงศ ์ อภิโชติเดชาสกลุ
160 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
โควิดทำ�ให้เราเห็นอะไรบ้าง เราเห็นเศรษฐกิจที่ถดถอยรุนแรง
ภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูงข้ึน ผลกระทบความรุนแรงโดยเฉพาะภาค
บริการและภาคแรงงาน ภาคเกษตรยังพออยู่ได้ และรับภาระในการ
รองรับคน การปฏิรูปเข้าสู่การปรับตัวเร็วขึ้น เห็นความสำ�คัญของระบบ
สาธารณสขุ จากฐานราก มกี ารตดั สนิ ใจภายใตข้ ้อมลู การจัดการเชิงพ้ืนที่
สามารถตอบโจทยไ์ ด้ดีกวา่ การรวมศนู ย์
ทุกภาคส่วนต้ังแต่เร่ืองของ iMedCare มีระบบมาตรฐาน
ของสว่ นกลาง ป่นิ โตตมุ้ ตุ้ยเปน็ เรื่องของพลเมอื งที่มคี วามสามารถในการ
จัดเก็บข้อมูลและการจัดการตัวเอง การส่งต่อข้อมูลและระบบข้อมูลของ
ชุมชน แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตของตำ�บลคูหา รูปแบบการทำ�งานของ
ท้องถิ่นส่ิงหนึ่งท่ีกังวลคือเรื่องของข้อมูลและระเบียบต่างๆ เห็นช่องทาง
ของขอ้ มลู ผู้นำ�มคี วามกลา้ ในการตดั สนิ ใจบนฐานของระเบยี บ ยกระดับ
ฐานะเป็นพลเมืองอาสามีความสามารถในการตั้งวงแลกเปล่ียนเรียนรู้
นำ�ไปสู่การตดั สินในแบบกลุม่ มีระบบการบริการจัดการ เรือ่ งระบบฐาน
ขอ้ มลู กลางสงิ่ ส�ำ คญั คอื ทกั ษะในการคดิ เชงิ ขอ้ มลู และมขี อ้ มลู กลางทแ่ี ตล่ ะ
สว่ นจะมีฐานข้อมูลของตัวเอง
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 161
การยกระดับจากพลเมืองเป็นพลเมืองอาสาเร่ืองที่เกี่ยวข้องคือ
การประสานแหลง่ ทนุ การบรู ณาการองคก์ ร งบประมาณ ข้อมลู
การยกระดับความเป็นพลเมืองอาสา ทุกส่วนต้องมีข้อมูลของ
ตัวเองและมที ักษะในเชิงของการคดิ ขอ้ มูล มคี วามรู้ในเร่ืองระเบยี บกตกิ า
การจัดการข้อมูล ส่ิงที่ต้องพัฒนาศักยภาพคือ ความสามารถในการ
บรู ณาการ ประสานแหล่งทนุ การประสาน การจัดวงแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
และการเป็นผู้ประกอบการทางสังคมซึ่งจะสร้างให้เกิดความยั่งยืนคือ
ตัวเองอยู่ได้สังคมอยู่รอด ต้องออกแบบระบบ การจัดการข้อมูลกลาง
การบรหิ ารจดั การและมาตรฐาน
ข้อค้นพบท่ีสำ�คัญ คือ ทุนทางสังคมของเราค่อนข้างเข้มแข็ง
มีทุนทางสังคมรองรับที่พร้อมจะขับเคล่ือนภาคสังคม สวัสดิการชุมชน
ท่ีรองรับการขับเคล่ือนสังคมและเรื่องของอาสาสมัคร หากมีการแมพป้ิง
จะทำ�ให้เห็นพลังในการขับเคล่ือน การจัดการเชิงพื้นท่ีตอบโจทย์ในการ
สร้างสังคมเป็นสุขได้ค่อนข้างชัดมาก การแก้ปัญหาที่ไม่ใช่การส่ังการ
โดยตรงไดผ้ ลพอสมควร บทบาทของภาครฐั ยังมคี วามจำ�เปน็ ในเร่อื งของ
ระบบขอ้ มลู ต่างๆ หรอื ระบบขอ้ มูลข่าวสารทถี่ กู ตอ้ ง การแนะน�ำ ในเรือ่ ง
ของเทคนิคต่างๆ การสนับสนุนทรัพยากรให้กับภาคประชาสังคม และ
เร่ืองของการละลายหรือสลายข้อจำ�กัดบางเร่ืองเพ่ือนำ�ไปสู่การจัดการ
ท่ีง่ายข้ึน เช่น ระเบียบกติกาหรือกฎหมาย ซึ่งเป็นสิ่งท่ีรัฐต้องจัดการ
เพอ่ื ให้สังคมเปน็ สุขขบั เคล่ือนไปไดง้ า่ ยขึน้
162 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ความจำ�เป็นที่ต้องสร้างคุณภาพชีวิตและคุณภาพของสังคม
ไปด้วยกัน หากต้องการเห็นสังคมมีคุณภาพท่ีดีก็ต้องสร้างคุณภาพชีวิต
ที่ดดี ว้ ยเชน่ กัน
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 163
10
ปฏิบัติการ
ปิ่นโตตุ้มตุ้ย
รับมือโควิด
ระลอก 4
164 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ตงั้ แตโ่ ควดิ -19 แพรร่ ะบาดพน้ื ทตี่ �ำ บลบอ่ ยาง เทศบาลนครสงขลา
กเ็ ช่นเดยี วกับทีอ่ ่ืน ทุกคนกักตัวอย่บู า้ นหยุดเชอ้ื เพื่อชาติ
ภารกิจ “ปน่ิ โตตมุ้ ตยุ้ ” คือ การใช้ป่นิ โตเป็นเครือ่ งมือส่อื สารให้
คนในชุมชนเกิดการคลี่คลายจากปัญหาหรือความทุกข์ของสมาชิกชุมชน
เมืองบ่อยาง เทศบาลนครสงขลา ท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์
โควดิ -19 เกดิ ขน้ึ จากการรวมตวั กนั ของเครอื ขา่ ยกลมุ่ ออมทรพั ย์ 6 ชมุ ชน
ดำ�เนินการช่วยเหลือสมาชิกของกลุ่มท่ีเป็นประชากรกลุ่มเปราะบางทาง
สังคม อันประกอบด้วยคนพิการ ผู้สูงอายุติดเตียง ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง
เดก็ ก�ำ พรา้ หญงิ หมา้ ย ฯลฯ ซง่ึ หลายคนมาจากตา่ งถนิ่ ตา่ งจงั หวดั มาเปน็
ประชากรแฝง บา้ งอยู่บา้ นเช่า บ้างไมม่ ีบตั รประชาชน บ้างเป็นบตุ รของ
แรงงานต่างด้าวที่เกิดในประเทศ โดยนัยยะช่ือ “ตุ้มตุ้ย” สื่อไปทำ�ให้
สถานการณ์ดูเบาลง รวมถึงสื่อถึงความอ่ิมท้องไม่อดอยากไปในเวลา
เดียวกนั ภารกิจ “ป่ินโตตุ้มตุ้ย” มาพรอ้ มกับการเปน็ ครวั กลางของชมุ ชน
บรกิ ารอาหารปรงุ สขุ ในทกุ วนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งใหก้ บั สมาชกิ ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ
โดยมงุ่ เนน้ ประชาชนในกล่มุ เปราะบางทางสงั คมเปน็ ล�ำ ดบั แรก ตอ่ มาได้
ขยายไปชว่ ยผไู้ ดร้ บั ผลกระทบในกรณวี า่ งงาน ตกงาน และแรงงานตา่ งดา้ ว
ไปด้วย ในการจัดระบบป่นิ โตตมุ้ ตุ้ยจะเหมอื นกนั 6 ชุมชน ตั้งแต่ระบบ
การรบั สง่ อาหารฝา่ ยปน่ิ โตทคี่ รวั เรอื นเปราะบางจะตอ้ งหามาหรอื ทมี กลาง
ให้ยืมใช้ มีจุดวางป่ินโตแต่ละชุมชน จะมีการประชาสัมพันธ์ล่วงหน้าว่า
วางปิน่ โตตรงไหนทีเ่ ปน็ ครัวชุมชน วางโตะ๊ วางปา้ ยสอ่ื สาร พร้อมการใส่
หน้ากากผา้ เจลล้างมอื ณ จุดรับปิ่นโต วธิ กี ารรบั ปิน่ โต คือ มกี ารทำ�ป้าย
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 165
คล้องปิ่นโตว่าเป็นของใคร พร้อมเบอร์โทร และจำ�นวนคนท่ีกินอาหาร
ในครวั เรือน เปน็ ฐานขอ้ มูลเบ้ืองต้น
เม่ือสมาชิกเผชิญปัญหาผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ
โควิด-19 ศูนย์บ่อยางพ่ึงพาตนเองจึงกลายเป็นกลไกสำ�คัญในการ
ประสานให้เกิดการพ่ึงพาช่วยเหลือสมาชิกด้วยการดำ�เนินการ ภารกิจ
“ป่ินโตตุ้มตุ้ย” จัดทำ�ครัวกลางของชุมชนขึ้นเพ่ือการรับบริจาควัตถุดิบ
ในการปรงุ อาหาร ชว่ ยเหลอื กลุม่ เปราะบางทางสังคมท่ไี ด้รบั ผลกระทบ
รปู แบบของปนิ่ โตต้มุ ตยุ้
การสร้างข้อตกลงเพ่ือจัดทำ�ครัวกลางในช่วงสถานการณ์โควิด
เพอ่ื ช่วยเหลือคนจน คนตกงาน และกลุ่มคนเปราะบาง เรยี กว่าภารกิจ
“ปิน่ โตตุ้มตุ้ย” เปน็ รปู แบบการรับบรจิ าคทัง้ เงินและวัตถดุ บิ ประกอบการ
ปรุงอาหารชว่ ยเหลอื คนยากลำ�บาก ดำ�เนินการผา่ น “ศูนยบ์ อ่ ยางพึง่ พา
ตนเอง” ทำ�หน้าท่ีประสานงาน ส่งต่อข้อมูลและความช่วยเหลือ
โดยสื่อสารรูปแบบล่วงหน้า หาผู้บริจาควัตถุดิบโดยคำ�นวณเวลาว่าจะ
ดำ�เนนิ การอยา่ งนอ้ ย 1 เดอื นทกุ วนั และใหส้ มาชกิ ครัวเรอื นเป้าหมาย
ลงทะเบียนล่วงหน้า เพื่อให้ทราบจำ�นวนที่ชัดเจนว่าแต่ละชุมชนมี
ครวั เรอื นเปา้ หมายจ�ำ นวนเทา่ ไร และจากนนั้ ไดน้ ดั วนั ทดสอบ เตรยี มความ
พรอ้ มปฏบิ ตั ิจรงิ 1 ครั้งเป็นเวลา 1 สัปดาห์กอ่ นทำ�จรงิ การลงทะเบยี น
ล่วงหน้ากบั ครัวกลางของแต่ละชมุ ชน เพอื่ ให้แม่ครัวเตรียมอาหารไดต้ าม
166 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
จ�ำ นวน โดยช่วงเยน็ ของวัน แมค่ รวั ของแตล่ ะชมุ ชนจะมารับวัตถดุ บิ ตาม
จ�ำ นวนครวั เรอื นของตน จากนนั้ ชว่ งเชา้ กอ่ น 9 โมงเชา้ ปนิ่ โตของครวั เรอื น
เปา้ หมายจะถกู น�ำ มาวางไวพ้ ร้อมปา้ ยตดิ ท่ปี ิ่นโต มชี ่ือ นามสกลุ ชอ่ื เล่น
เบอรโ์ ทรศพั ท์ และจ�ำ นวนคนในครวั เรอื นทตี่ อ้ งการ แมค่ รวั จะเรม่ิ ปรงุ อาหาร
และให้สมาชิกกลับมารับป่ินโตไปทานที่บ้านในเวลา 11 โมงเชา้ ก่อนเที่ยง
ภารกิจปิ่นโตตุ้มตุ้ยได้ทดลองปฏิบัติการเมื่อวันท่ี 25 เมษายน 2563
พรอ้ มกันท้งั 6 ครวั มชี ุมชนแหลมสนอ่อนเป็นครวั กลาง อีก 5 ครัว
เป็นเครอื ข่าย คือครัวหลงั อาชีวะ ชุมชนหัวปอ้ ม 1-4 ชุมชนกโุ บร์ และ
ชุมชนพาณิชย์สำ�โรง โดยมีคนยากไร้ท่ีเข้าถึงอาหารจำ�นวน 425 ราย
หรือ 425 อ่ิม
การบริหารจัดการ คือ ช่วงเย็นของแต่ละวันแม่ครัวจะมาเบิก
วตั ถุดิบซ่งึ ได้มาจากการบรจิ าค มีขา้ วสาร ไข่ เคร่ืองปรงุ ผัก กระจายไป
ตามชุมชนต่างๆ ในส่วนของขา้ วสุกครัวกลางจะจัดข้าวนึ่งไว้ เพอ่ื ให้เพยี ง
พอกับสมาชิกท้ังหมดที่มาแจ้งความประสงค์ไว้ ภารกิจป่ินโตตุ้มตุ้ย
เรมิ่ เปน็ ทางการเมือ่ วนั ที่ 1 พฤษภาคม 2563 แต่ละครวั จะมรี ะบบการ
บริหารจัดการเหมือนกัน ต่างกันเพียงช่วงของระยะเวลาในการรับป่ินโต
แตส่ ว่ นใหญช่ ว่ งเวลาในการรบั อาหารจะไมเ่ กนิ เทยี่ ง ในชว่ งวนั ท่ี 1 ถงึ วนั ท่ี
8 พฤษภาคม 2563 ยงั มีปฏบิ ัติการเหมือนกนั ท้งั 6 ครัว แตภ่ ายหลงั วนั ที่
8 พฤษภาคม 2563 ครวั ทีป่ รุงอาหารสดเหลือเพียงครวั เดยี วคอื ครวั กลาง
อกี 5 ครวั ขอรับบรจิ าคอาหารแห้งแทน
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 167
168 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
รปู แบบปนิ่ โตตุ้มต้ยุ คอื 1) ภาชนะหลักทน่ี �ำ มารับอาหารตอ้ ง
เป็นปิ่นโต เน่ืองจากป่ินโตมีอยู่แล้วทุกบ้าน เป็นการลดการใช้ขยะและ
พลาสตกิ 2) มวี ตั ถดุ บิ อะไรกท็ �ำ เมนตู ามนน้ั โดยมขี า้ วสาร ไข่ เปน็ พน้ื ฐาน
3) แตล่ ะครวั เรอื นบนั ทกึ การรบั จา่ ยรายวนั ผา่ นทมี งาน บางแหง่ ใชเ้ ยาวชน
บันทกึ 4) ลงทะเบยี นผ้ตู ้องการลว่ งหนา้ เนน้ ผู้ไดร้ บั ผลกระทบ 5) ช่วย
เหลอื ไดท้ งั้ คนไทยและตา่ งชาติ เปน็ ต้น
ระบบครัวชมุ ชน
ดำ�เนินการได้มาจนถึงปจั จบุ ัน (มิถนุ ายน) มีพัฒนาการแบ่งเป็น
3 ระยะคือ
ระยะแรก คอื วนั ท่ี 25 เมษายน และวันที่ 1-7 พฤษภาคม
ชว่ งสปั ดาหแ์ รกทอ่ี ยใู่ นชว่ งทส่ี งั คมก�ำ ลงั ปดิ เมอื ง ปดิ ประเทศ ผคู้ นถกู เกบ็ ตวั
อยู่ในบา้ น ทำ�ให้ประสบปัญหาหนกั มคี นเดอื ดรอ้ นจ�ำ นวนมาก มีครวั
ชุมชน ร่วมปฏิบัติภารกิจ “ปิ่นโตตุ้มตุ้ย” ปรุงอาหารสด รวมจำ�นวน
6 ครวั ในพนื้ ทจี่ รงิ ของ 6 ชมุ ชน เขตต�ำ บลบอ่ ยาง คอื ชมุ ชนแหลมสนออ่ น
ชุมชนหวั ปอ้ มโซน 1-4 ชุมชนหัวป้อมโซน 5 ชุมชนหลงั วิทยาลยั อาชีวะ
ชมุ ชนกโุ บร์ และชุมชนพาณิชย์สำ�โรง
ระยะที่ 2 ตง้ั แต่วันที่ 8 พฤษภาคม เปน็ ตน้ มา ครวั ชุมชนจ�ำ นวน
5 ครวั คือ ชุมชนหัวป้อมโซน 1-4 ชุมชนหวั ปอ้ มโซน 5 ชุมชนหลัง
วทิ ยาลยั อาชวี ะ ชมุ ชนกโุ บรแ์ ละชมุ ชนพาณชิ ยส์ �ำ โรง ยตุ กิ ารปรงุ อาหารสด
ปรับเปลี่ยนเป็นการขอรับบริจาคข้าวสารและอาหารแห้งจากครัวกลางคือ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 169
ครัวชุมชนแหลมสนอ่อน และในช่วงเดียวกันน้ีก็ได้มีชุมชน 2 ชุมชน
จากพ้ืนท่ีตำ�บลเขารูปช้าง มาแจ้งขอเป็นเครือข่ายและขอรับบริจาค
ข้าวสารและอาหารแห้งจากครวั กลางดว้ ย
ระยะท่ี 3 ปัจจุบัน มีครัวชุมชนแหลมสนอ่อนซึ่งเป็นครัวกลาง
และเป็นครัวเดียวเท่านั้นท่ีเปิดบริจาคอาหารปรุงสดในภารกิจ “ปิ่นโต
ตุ้มตุย้ ” โดยแจ้งหยุดบริจาค 2 วันตอ่ สัปดาห์ คือ วนั เสารแ์ ละวันอาทติ ย์
ท้ังน้ีเพื่อปรับระบบจากครัวเป็นห้องเรียนอาชีพ เพื่อช่วยให้สมาชิก
ป่ินโตตุ้มตุ้ย ได้มีช่องทางลดรายจ่ายและสร้างรายได้ให้แก่ตนเองและ
ครอบครวั
การรับบรจิ าค
ภารกิจกลางของศูนย์บ่อยางพ่ึงพาตนเอง ส่ือสารกับหน่วยงาน
เครือข่าย ผ่านช่องทางต่างๆ ท่ีมี โดยเปิดรับทั้งเงินบริจาคและวัตถุดิบ
โดยยอดเงินสดทศี่ นู ย์บ่อยางฯ ไดร้ ับบรจิ าคมาตัง้ แตว่ นั ที่ 13 เมษายน-
15 พฤษภาคม รายรบั รวมทง้ั สน้ิ 20,900 บาท (สองหมน่ื เกา้ รอ้ ยบาทถว้ น)
รายจ่ายจำ�นวน 12,700 บาท ยอดเงินสดคงเหลือ (15 พฤษภาคม)
จำ�นวน 8,200 บาท
ตวั อย่างรายการวตั ถุดิบทรี่ ับบรจิ าคมาตั้งแตว่ นั ที่ 16 เมษายน-
15 พฤษภาคม สรุปโดยสังเขป
170 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
- ขา้ วสาร จ�ำ นวน 1,700 กโิ ลกรัม
- ไขไ่ ก่สด จ�ำ นวน 2,400 ฟอง
- เนื้อไก่สด จำ�นวน 70 กโิ ลกรัม
- เส้นหม่ีสด จ�ำ นวน 30 กิโลกรมั
- วุ้นเสน้ จ�ำ นวน 9 กิโลกรมั
- น้ำ�มนั พชื และเครื่องปรุงรส จ�ำ นวน 9 ลัง
- มะละกอสุก จ�ำ นวน 60 กโิ ลกรมั
- ขนนุ สกุ แกะเน้อื ประมาณ 10 กโิ ลกรมั
- มะมว่ งสุกจ�ำ นวน 30 กิโลกรัม
- ผกั สด จำ�นวน 92 กโิ ลกรมั
- ผกั บุง้ สดจำ�นวน 10 กิโลกรัม
- ปน่ิ โตมอื สอง จ�ำ นวน 1 เถา
วัตถุดิบเหล่านี้แม่ครัวของแต่ละชุมชนสามารถดัดแปลงเป็นเมนู
อาหารไดห้ ลากหลาย แล้วแต่ศกั ยภาพท่จี ะสร้างสรรค์ การไดท้ านของสด
ปรุงใหม่ และมีปริมาณมากพอทานนับเป็นจุดเด่นของภารกิจน้ี เหล่า
แมค่ รวั เองกร็ สู้ กึ ภาคภมู ใิ จ รสู้ กึ ดใี จทไี่ ดช้ ว่ ยเหลอื สมาชกิ ในชมุ ชน บางคน
ก็เข้ามาปรึกษาปัญหา ระบายความทุกข์ ครัวชุมชนจึงเป็นจุดท่ีพึ่งทั้ง
ทางกายและทางใจไปในตวั
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 171
หมายเหตุ ผบู้ รจิ าคมที ง้ั ประชาชน ผนู้ �ำ หนว่ ยงานราชการ ไดแ้ ก่
พัฒนาชุมชนศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึงจังหวัดสงขลา มูลนิธิวิสุทธิคุณ
หาดใหญ่ ส�ำ นกั งานดา่ นตรวจคนเขา้ เมอื ง โรงกว๋ ยเตยี๋ วแสงเจรญิ หาดใหญ่
ศูนย์สุขภาพจิตท่ี 12 สมาคมเครือข่ายสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดสงขลา
สถาบันพลังจิตตานุภาพ พนักงานสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัย
สงขลานครนิ ทร์
12,000 อมิ่
การช่วยเหลือผ่านครัวกลางของชุมชน ภารกิจ “ปิ่นโตตุ้มตุ้ย”
ของเครือข่ายคนเมืองบ่อยาง ได้ช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางทางสังคมและ
ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ในพื้นที่โดยนับจากปริมาณ
ขา้ วสวย หน่วยนับเป็น “อิ่ม” (ถว้ ย) 12,000 อม่ิ
เรม่ิ วนั ที่ 25 เมษายน 2563 จ�ำ นวน 425 อิ่ม 425 ราย
วนั ท่ี 1-7 พฤษภาคม 2563 จ�ำ นวน 582 รายตอ่ วนั (220
เถาตอ่ วนั )
วนั ท่ี 8 พฤษภาคม-กรกฏาคม 2563 จ�ำ นวน 100-160 รายตอ่ วนั
โดยคิดค่าใช้จ่ายวัตถุดิบไม่คิดกรณีค่าแรง (ท่ีดำ�เนินการแบบ
จติ อาสา) เฉลย่ี ประมาณ 5-7 บาทต่อ 1 อมิ่
172 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ปี 2564 โควดิ ระลอกใหม่
24 พฤษภาคม 2564 ปนิ่ โตตมุ้ ตยุ้ เรมิ่ อยา่ งเปน็ ทางการ ดว้ ยปนิ่ โต
11 เถา เลย้ี ง 30 ชีวติ ในจ�ำ นวนนี้เปน็ คนไม่มบี ัตรประชาชน ไม่มเี ลข
13 หลกั จ�ำ นวน 3 คน
เมนูอาหารคอื ขา้ วสวยนง่ึ คนละ 2 ถว้ ย แกงส้มปลาดุกหนอ่ ไม้
(หลงั บา้ นพอ่ี น้ ) และทช่ี อบกนั มากคอื ปลาตากแหง้ ทอดกรอบ หอมอรอ่ ย
ตบทา้ ยความสดชนื่ ดว้ ย “ชาโบราณบบี มะนาวสด” เฉลย่ี คา่ อาหารรายหวั
ของวันนปี้ ระมาณ 15 บาทตอ่ คนต่อมอื้
การท�ำ งานของพ้ืนทีข่ ยายชมุ ชนจากเดิม 6 ชมุ ชนปนี ขี้ ยายเพมิ่
14 ชุมชน ใครไม่มีเงินก็บริจาค ใครมีเงินก็มาซ้ือซึ่งจะขายข้าวถ้วยละ
5 บาท ไขเ่ ค็มใบละ 5 บาท
รอบน้ีมีคนรับบริการขอรับบริจาคน้อยลง แต่กลับมาซ้ืออาหาร
เพ่ิมขึ้น เนอ่ื งจากชมุ ชนมปี ระสบการณ์การจากรอบทแี่ ล้ว ท�ำ ใหป้ นี ้ีมกี าร
เตรียมตัว มรี ายไดแ้ ละไมเ่ กดิ ความวิตกกงั วล สามารถพึ่งตัวเองได้
กจิ กรรมปนิ่ โตตมุ้ ตยุ้ ด�ำ เนนิ การรว่ มกบั กลมุ่ แมเ่ ลย้ี งเดยี่ วในชมุ ชน
รบั สง่ อาหารราคาถกู ผา่ นปนิ่ โตตมุ้ ตยุ้ ในรปู แบบการบรจิ าคและขายอาหาร
กติกากลมุ่ คือ ราคาอาหารต้องไมแ่ พง เช่น ขา้ วสวยหนึง่ ถว้ ยละ 5 บาท
กบั ข้าวเรม่ิ ตน้ ท่ี 5 บาท มีไข่ตม้ ปลาแดดเดยี วทอด ท�ำ ใหก้ ลุ่มเปราะบาง
สามารถเขา้ ถึงได้ มขี ายนำ้�ชากาแฟ ในลกั ษณะแบบกจิ การเล็กๆ และสง่
บริการให้หน่วยงานในพ้ืนที่ โดยขายถูกกว่าที่อ่ืน และช่วยเหลือกลุ่ม
เปราะบางในกล่มุ ทีข่ าดรายได้
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 173
เครอื ข่�ยพัฒน�เมืองสงขล�
วิกฤตโควิดท่ีเข้ามาปลายเดือนกรกฎาคม สถาบันพัฒนาองค์กร
ชุมชน (พอช.) ได้ประสานศูนย์บ่อยางพึ่งพาตนเองเข้าร่วมเพ่ือรับฟัง
แนวทางการสนบั สนนุ เมอื งสงขลาทจ่ี ะหนนุ ชว่ ยชมุ ชนรบั มอื โควดิ อาำ เภอ
เมืองสงขลาเป็นอีกพื้นที่สีแดงเข้ม พื้นท่ีนี้มีเครือข่ายบ้านม่ันคงและมี
คนจนเมอื งอาศยั อยจู่ าำ นวนมาก มคี วามเดอื ดรอ้ นเรอ่ื งทอ่ี ยอู่ าศยั บา้ งเปน็
คนตา่ งถ่ิน บกุ รกุ ท่ีดนิ ของการรถไฟบา้ ง เจา้ ทา่ บ้าง ธนารักษบ์ า้ ง เปน็ อีก
ปัญหาที่สะสมตัวอยู่ในพ้ืนท่ี จนเป็นที่มาของการจัดทำาโครงการที่ยื่น
ของบของ พอช.ในเวลาต่อมา
เพอื่ การนไ้ี ดร้ วบรวมขอ้ มลู จากแหลง่ ตา่ งๆ เพอ่ื จะไดเ้ หน็ ภาพรวม
ของชมุ ชน ทีบ่ างคนยงั ไมร่ ู้แมก้ ระทั่งช่ือที่แท้จริง เพื่อใหเ้ ห็นข้อมูลท่ีเป็น
จริงของชุมชนทงั้ ในส่วนเชิงกายภาพ ประชากร ผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ
174 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
1. ฝา่ ยทะเบยี นราษฎร ทน.สงขลา
2. กองสวัสดิการสงั คม ทน.สงขลา
3. กองสาธารณสขุ ฯ ทน.สงขลา
4. ศูนยป์ ระสานงานโควิด-19 สงขลา
5. อสม.รายชมุ ชน 13 ชุมชน
ชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา ตำ�บลบ่อยาง ได้มีการเสนอ
โครงการระดับชมุ ชน จ�ำ นวน 13 ชมุ ชน ดงั นี้
1. ชุมชนแออัด ซึ่งเป็นชุมชนใหม่ท่ีได้โอกาสเข้าถึงงบประมาณ
จำ�นวน 7 ชุมชนคือ ชุมชนแหลมสนอ่อน ชุมชนวัดแหลมทราย
ชุมชนวัดศาลาหัวยาง ชุมชนศาลาเหลืองเหนือ ชุมชนเมืองใหม่พัฒนา
ชมุ ชนมสั ยิดบ้านบน ชุมชนสวนหมาก
2. ชุมชนบ้านมั่นคง จำ�นวน 6 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนหัวป้อม
ชมุ ชนหลงั วทิ ยาลยั อาชีวะ ชุมชนเกา้ เส้ง ชุมชนกโุ บร์ ชุมชนบ่อนววั เกา่
ชมุ ชนนอกสวน
และยังมีโครงการระดับเมืองอีก 1 โครงการ เพื่อเช่ือมโยงงาน
ในภาพรวมและเตรยี มพรอ้ มส่กู ารแกป้ ญั หาที่อยู่อาศยั ในระยะยาว
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 175
จงั หวัดเร่มิ เข้ามาสนับสนุน
ผลการทำ�งานท่ีสะสมผลงานมาอย่างต่อเนื่อง เห็นชัดขึ้นอีก
วันท่ี 17 สงิ หาคม 2564 รองผ้วู ่าราชการจังหวดั สงขลา นางสรุ ียพรรณ์
ณ สงขลา ไดใ้ หก้ ารสนบั สนนุ ครวั ชมุ ชน “ปน่ิ โตตมุ้ ตยุ้ ” ชมุ ชนแหลมสนออ่ น
โดยการมอบเงินสดจำ�นวน 15,000 บาท เพ่ือการผลิตข้าวกล่องปรุง
สุกใหม่ จำ�นวน 500 กล่องส่งมอบเป็นกำ�ลังใจในสถานการณ์การแพร่
ระบาดโควิด-19 ให้แก่ชาวชุมชน 55 ชุมชน เขตเทศบาลนครสงขลา
โดยนายอำ�เภอเมอื งสงขลา นายไชยพร นิยมแกว้ ได้กรุณาประสานงาน
และอ�ำ นวยความสะดวกในการเตรียมการตา่ งๆ เพ่อื ใหเ้ ป็นไปด้วยความ
เรยี บรอ้ ย ทงั้ นวี้ ธิ กี ารสง่ มอบเปน็ ไปตามมาตรการการปอ้ งกนั และควบคมุ
โรคทุกประการ โดยจดั ให้ตวั แทนจากแตล่ ะชุมชนทยอยมารับมอบวันละ
11 ชุมชน ในชว่ งเวลา 11 นาฬกิ าของทุกวนั ตั้งแตว่ นั ที่ 17-21 สงิ หาคม
2564 และอยู่ในการรับรู้ของผู้ว่าราชการจังหวัดในการเข้ามามีส่วนร่วม
สง่ มอบความชว่ ยเหลอื กลมุ่ เปราะบางอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ปจั จบุ นั มกี ารตอ่ ยอด
ใหศ้ นู ยบ์ อ่ ยางฯ เปน็ จดุ จดั ท�ำ อาหารสง่ ใหก้ บั ผปู้ ว่ ย ณ ศนู ยพ์ กั คอยอกี ดว้ ย
176 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ปัจจัยความสำ�เรจ็
1. ชุมชนมีฐานข้อมูลของตัวเอง การมีจิตอาสาของชุมชนร่วม
ดำ�เนินการโดยไม่มีค่าตอบแทนแสดงให้เห็นความต้ังใจและจริงใจ ทำ�ให้
สามารถเก็บข้อมูลจริงของคนเปราะบางทางสังคมท่ีจะนำ�ไปหนุนช่วย
ในอนาคต จากเดิมบางคนไมก่ ล้าแสดงตัวด้วยขาดความเชื่อมนั่ และไม่ไว้
วางใจในการท�ำ งานของแกนน�ำ รวมไปถงึ เหน็ ศกั ยภาพของสมาชกิ ทจ่ี ะน�ำ
มาชว่ ยสรา้ งความเข้มแขง็ ของชมุ ชน เชน่ ศักยภาพในการทำ�อาหาร หรอื
มารว่ มเป็นคณะทำ�งานดูแลชุมชน
2. ศนู ย์บ่อยางฯ ใช้กจิ กรรมป่ินโตตมุ้ ตุ้ยเปน็ เคร่อื งมอื ทางสังคม
ในการเชอื่ มรอ้ ยคนในชุมชน สรา้ งความสัมพนั ธข์ องผู้คนในชมุ ชน และ
เครอื ขา่ ยภายนอก ชว่ ยใหร้ จู้ กั การแบง่ ปนั ชว่ ยเหลอื กนั และกนั การบรหิ าร
จดั การทดี่ เี ปน็ ระบบ โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และมสี ว่ นรว่ ม จะเปน็ ฐานชว่ ย
ท�ำ ใหเ้ ปน็ ชุมชนสะอาด มธี รรมาภิบาล สามารถพ่ึงตนเองไดใ้ นอนาคต
3. ทักษะการบริหารจัดการ บนฐานคิดจัดการตนเองในช่วงเกิด
ภยั พบิ ัติ ทำ�ให้ร้คู ่าใชจ้ ่ายต่อหัว ตอ่ ชมุ ชน รปู้ ริมาณขา้ วสารและวตั ถดุ ิบ
ท่ใี ช้ตอ่ คน ในการท�ำ อาหารเล้ียงคนในชมุ ชน รวมถึงการเตรยี มกลไกช่วย
เหลือหากมีสถานการณ์ภัยพิบัติในอนาคตสามารถที่จะนำ�ประสบการณ์
ไปใชจ้ ดั การตนเองไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
4. การสือ่ สารสาธารณะ บอกเลา่ เรือ่ งราว กิจกรรมผ่านชอ่ งทาง
การสอ่ื สารต่างๆ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 177
11
การทํำ�แผนพัฒนา
คุณภาพชีวิตรายบุคคล
ผู้สูงอายุ คนพิการ
คนยากลํำ�บาก อบต.คูหา
178 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
อบต.คูหา ต�ำ บลคูหา อำ�เภอสะบา้ ยอ้ ย จงั หวัดสงขลา โดยการ
นำ�ของนายกปญั ญา ศรที องสขุ มนี โยบายด้านคณุ ภาพชีวิตควบคูไ่ ปกับ
การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ริเริ่มพัฒนาแนวทางจัดทำ�แผนพัฒนา
คุณภาพชีวิตรายบุคคลและครอบครัวเป็นเคร่ืองมือสำ�คัญ บวกกับการ
วางรากฐานการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนภายใต้จิตสำ�นึกรักบ้านเกิด
ความเป็นชมุ ชนเดียวกนั
ปี 2556 จดั ต้ังศูนยพ์ ฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ คนพิการ และ
คนดอ้ ยโอกาส
ปี 2560 จบั มือกับ อบจ.สงขลา มลู นธิ ชิ มุ ชนสงขลา มีการเกบ็
ขอ้ มลู คนพกิ าร ผสู้ งู อายุ คนยากล�ำ บากแบบทกุ ครวั เรอื น จดั ตงั้ ศนู ยส์ รา้ งสขุ
ชมุ ชน รว่ มกบั คณะกรรมการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ระดับอำ�เภอ และมีการ
วเิ คราะหก์ ารท�ำ งานรว่ มกบั ภาคี จดั ท�ำ ธรรมนญู ต�ำ บลนา่ อยู่ และยงั เขา้ รว่ ม
กองทนุ LTC
ปี 2562 ดำ�เนนิ โครงการ Node Flag Ship กบั สสส.สงขลา
เริ่มจัดทำ�แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายบุคคล Individual Care Plan
มีการวางแผนการทำ�งานร่วมกับ อบต.และองค์กรหลัก 4 องค์กร คือ
ก�ำ นนั /ผูใ้ หญ่บา้ น รพ.สต. อบต. โรงพยาบาล ว่าจะท�ำ อะไรรว่ มกนั
ทงั้ นต้ี �ำ บลคหู า มปี ระชากรรวมทงั้ สนิ้ 10,100 คน 2,300 ครวั เรอื น
ผสู้ ูงอายุมจี ำ�นวน 1,185 คน (เกบ็ ข้อมลู เขา้ ระบบข้อมูลกลางได้ 1,001
คน) อาศัยในหมู่ 7 มากกว่าทุกหมู่ เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
60–69 ปี และเปน็ คนพกิ าร 202 คนสว่ นใหญอ่ ยู่ ม.3, ม.6, ม.7 สว่ นใหญ่
เปน็ ประเภทพกิ ารการเคลอ่ื นไหว เพศชาย อยใู่ นวยั แรงงาน สาเหตมุ าจาก
พิการจากโรคเรื้อรัง แต่กำ�เนิด และอุบัติเหตุ ส่วนใหญ่ยังสามารถช่วย
ตวั เองได้ มีที่อยูอ่ าศยั ของตวั เอง แต่ไมไ่ ด้รบั การศกึ ษา และไมม่ อี าชพี /
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 179
ว่างงานอีกจำานวนหน่ึง และอยู่ในสภาวะความยากลำาบากอยู่ในหมู่ 4
จาำ นวน 81 คน อาศยั ในหมู่ 6 จาำ นวน 15 คน สว่ นใหญเ่ ปน็ ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย
พกิ าร ไรบ้ ้าน ติดบา้ นตดิ เตยี ง เป็นเพศหญิง หมา้ ย โสด
นอกจากนนั้ ในการทาำ งานใชร้ ะบบขอ้ มลู TCNAP เปน็ การทาำ ขอ้ มลู
ครัวเรือนและวิจัยเชิงสังคม ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจาก สสส. สำานัก 3
มกี ารวางแผนรายบคุ คล TCNAP เปน็ ขอ้ มลู รายครวั เรอื น นาำ มาเชอื่ มโยง
กบั ระบบข้อมูล iMed@home นาำ มาสู่การจัดทำาแผนพัฒนาคณุ ภาพชีวิต
รายบคุ คล เพอ่ื ใหท้ มี สหวชิ าชพี ของ อบต.สามารถตดิ ตามผลรายบคุ คลได้
ว่าจะตอ้ งวางแผนในการดแู ลอยา่ งไรบ้าง เชน่ การสนับสนุนกายอุปกรณ์
ต่างๆ ซ่งึ ไม่ตอ้ งรอรายงานเป็นเอกสาร เพราะมีการแชรข์ อ้ มลู เขา้ ระบบ
ที่ทำาให้ทุกคนสามารถดูข้อมูลจากระบบเย่ียมบ้านหรือ iMed@home
ไดโ้ ดยตรง
180 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
แนวทางดำ�เนินการสำ�คัญ
1. การทำ�งานเริ่มด้วยการทำ�ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และ
อำ�นาจตามกฎหมายเพื่อสร้างความชดั เจนในการท�ำ งาน ดูระเบยี บ และ
พรบ.ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ พระราชบญั ญตั สิ ภาต�ำ บลและองคก์ ารบรหิ ารสว่ น
ตำ�บล พ.ศ.2537 และท่แี ก้ไขเพมิ่ เติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2546 หนา้ ทีต่ ้อง
ท�ำ ในเขตองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บล ดงั ตอ่ ไปนี้ (มาตรา 67) 3) ปอ้ งกนั โรค
และระงับโรคตดิ ต่อ 6) ส่งเสรมิ การพฒั นาสตรี เดก็ เยาวชน ผสู้ งู อายุ
และผู้พิการ พระราชบญั ญตั ิกำ�หนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอำ�นาจ
ใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พ.ศ.2542 มอี �ำ นาจและหนา้ ทใ่ี นการจดั
ระบบการบรกิ ารสาธารณะ (มาตรา 16) (10) การสังคมสงเคราะห์ และ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (19)
การสาธารณสขุ การอนามัยครอบครวั และการรกั ษาพยาบาล
น�ำ มาสกู่ ารก�ำ หนดแผนงานทเี่ กย่ี วกบั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของ
ประชาชนในพ้ืนท่ี เพ่ือใหท้ ุกคนเขา้ ใจบทบาท สามารถทำ�งานไปไดด้ ว้ ย
ความสบายใจ เปน็ การสรา้ งความมน่ั ใจใหก้ บั ทมี งาน มวี าระการพดู คยุ ตอ่
ข้อมลู และทำ�แผนการท�ำ งานรว่ มกันสม่�ำ เสมอ
2. อบต.คูหายังได้เปน็ แม่ข่ายต�ำ บลสุขภาวะของ สสส.สำ�นัก 3
อีกด้วย ภายใต้ศูนย์จัดการเครือข่ายสุขภาวะชุมชนตำ�บลคูหา โดยก่อน
ท่ีจะเป็นแม่ข่ายได้เป็นลูกข่ายตำ�บลกาบัง จ.ยะลามาก่อน เม่ือพ้ืนท่ี
มีการพัฒนาศักยภาพเข้มแข็งแล้ว จึงได้ขยับตัวเองมาเป็นแม่ข่ายการ
ทำ�งานให้ความสำ�คัญในการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล มีการใช้
ข้อมูลพัฒนาศักยภาพของคน การจัดองค์ความรู้และการพัฒนาทีม
ร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำ�เภอ (พชอ.) เพ่ือ
เป็นการเรียนรู้ไปด้วยกัน และได้บูรณาการงบจากกองทุนสุขภาพตำ�บล
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 181
จาก อบจ. พมจ. ไปดว้ ยกนั มีการทำ�งานรว่ มกบั ภาคีตา่ งๆ เพื่อหาทนุ
ทัง้ ภายในและภายนอกพื้นที่
2.1 การใช้ข้อมูล มีการจัดทำ�ข้อมูลโดยการสำ�รวจข้อมูลกลุ่ม
เปราะบาง น�ำ ใชข้ อ้ มูล เช่น ข้อมูลรายครวั เรือน TCNAP, RECAP
ขอ้ มลู อปท. ขอ้ มลู จากแบบสอบถามและระบบเยย่ี มบา้ น iMed@home
2.2 การพัฒนาสมรรถนะกำ�ลังคน มีการอบรมผชู้ ่วยนักกายภาพ
38 คน การอบรมกู้ชีพกภู้ ัย การอบรม Care Giver
2.3 การจัดการความรู้ สรุปบทเรียนทุนทางสังคมและแหล่ง
เรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูล สนับสนุนผลกระทบ จัดการเรียนรู้ภายใน
แลกเปลยี่ นเรียนรกู้ ับเครือข่าย
2.4 การพฒั นากลไกการบรหิ าร ตง้ั คณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพ
ชวี ติ ผสู้ งู อายุ คนพกิ าร และผดู้ อ้ ยโอกาส แผนพฒั นาหมบู่ า้ น/แผนพฒั นา
ตำ�บล ธรรมนูญต�ำ บลคูหาน่าอยู่
2.5 การใช้เงนิ ทุนและงบประมาณ งบประมาณจาก อบต.จดั ตงั้
กองทนุ คนคหู าไม่ทอดท้งิ กัน
กองทุน สปสช. อบจ.สงขลา พมจ.สงขลา มูลนิธิชมุ ชนสงขลา
สสส. Node Flagship
2.6 การท�ำ งานรว่ มกบั หนว่ ยงานและองคก์ รภายนอก อบจ.สงขลา
พมจ.สงขลา สสอ. พชอ. รพ.สะบ้ายอ้ ย สมชั ชาสขุ ภาพจงั หวัดสงขลา
(4PW)
2.7 การใช้ทุนทางสังคมในพื้นที่ ได้แก่ ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย
กลุ่ม อสม. 128 คน ผชู้ ่วยนักกายภาพ 46 คน Care Giver 15 คน
CM 2 คน ก้ชู พี กู้ภัย 8 คน รพ.สต.คหู า รพ.สต.ทัพหลวง ชมรมผ้สู ูงอายุ
182 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
วดั คหู า โรงเรียนผู้สงู อายุ ศูนยส์ รา้ งสขุ ตำ�บลคหู า ชมรมคนรกั ษ์สุขภาพ
กำ�นนั ผ้ใู หญ่บา้ น
3. มกี ารจดั ตั้งกองทนุ คนคหู าไม่ทอดทง้ิ กนั เพอ่ื เปน็ ศนู ย์ในการ
ช่วยเหลือคนคูหาด้วยกัน ในการช่วยเหลือและสนับสนุนกลุ่มเปราะบาง
ในพ้ืนที่ การประสานเชื่อมโยงจะมีกลไกแบบบูรณาการระดับตำ�บล
ประสานการทำ�งานกับคณะกรรมการ พชอ.สะบ้าย้อย หรือเสนอคณะ
กรรมการกองทุนฟืน้ ฟฯู อบจ.สงขลา หรอื พมจ. เพ่ือขอสนบั สนุนงบ
ประมาณในการช่วยเหลือการซ่อมแซมบ้าน นอกจากนี้มีการระดมทุน
ชว่ ยเหลอื กนั ในกลมุ่ อสม.กลมุ่ อาสาตา่ งๆ รวมทงั้ ทมี สภาเยาวชนหว้ ยเตา่
ท่มี บี ทบาทในการประสานงานและชว่ ยเหลอื ชาวบา้ นในลักษณะจติ อาสา
ในการร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกันสร้างบ้าน นอกจากนี้มีการอบรมการฝึก
อาชีพ โดยการขึ้นทะเบียนคนพิการเพ่ือการฝึกอาชีพ การอบรมผู้ช่วย
นกั กายบ�ำ บัด ได้รบั งบจากกองทุนฟื้นฟู อบจ.สงขลา
4. อบต.คูหามีกองทุนระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
ส�ำ หรบั ผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพงึ่ พงิ (Long Term Care : LTC) มกี ารท�ำ งาน
และประชุมร่วมกับ CM และ CG อย่างใกล้ชิด ร่วมกับศูนย์สร้างสุข
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 183
ต�ำ บลคหู า และมอี าสาสมคั รบริบาลท้องถ่ิน ซ่งึ ทำ�หน้าทีเ่ ยีย่ มบ้าน มกี าร
ประชมุ เครือข่ายภาคีรว่ มกบั LTC ระดบั อำ�เภอ ทงั้ นี้การทำ�งานภายใต้
กลไกของ พชอ.สะบ้าย้อย ขับเคลื่อนประเด็นหลักคือผู้สูงอายุและการ
จดั การขยะ
5. ในสว่ นของกจิ กรรมโรงเรยี นผสู้ งู อาย/ุ ชมรมผสู้ งู อายุ เรม่ิ ด�ำ เนนิ
การปีงบประมาณ 2561 หลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุ ด้วยการรับสมัคร
สมาชกิ ชมรมผู้สูงอายทุ ่มี ีอายุ 45 ปีขน้ึ ไป และตอ่ ยอดจากกิจกรรมศกึ ษา
ดูงานท่ีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทีมทำ�งานได้มีการแลกเปลี่ยนและจัดทำ�
หลักสูตรในการพฒั นาคุณภาพชวี ิต เปน็ หลกั สตู รพน้ื ฐาน เปา้ หมายหลกั
คือเน้นการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผ้สู งู อายุ หมวดกลมุ่ วิชาชีวิต 45 ชั่วโมง
184 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
50% ประกอบดว้ ย 1.วชิ าสงั คม 2.วชิ าชวี ติ และสขุ ภาพ 3.วชิ าสภาพแวดลอ้ ม
4.วชิ าวัฒนธรรมและภูมิปัญญา 5.วิชานันทนาการ ยกตวั อยา่ ง วิชาชวี ิต
และสุขภาพประกอบด้วยกิจกรรมการประเมินพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์
กิจกรรมประเมิน BGS คัดกรอง 10 เรื่อง กลมุ่ วิชาการ 20% 10 ชั่วโมง
ประกอบด้วย 1.วิชาสงั คม 2.วชิ าเศรษฐกิจ 3.วชิ าสุขภาพ เน้นการดแู ล
สุขภาพตัวเอง ประเมิน ADL การลดความเสี่ยงเบาหวานความดัน
ลดหวานมันเคม็ วชิ าเร่ืองกินและสขุ ภาพ มีการประเมินสขุ ภาพ หมวด
กลมุ่ วชิ าชพี 30% 14 ชวั่ โมง วชิ าเศรษฐกจิ นอกจากนน้ั แลว้ ปงี บประมาณ
2562 ยังได้พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุพหุวัฒนธรรม และปี
งบประมาณ 2564 มีเป้าหมายหลักสูตรโรงเรยี นผสู้ งู อายวุ ิถมี สุ ลิม
ส่ิงที่ได้ตามมาหลังเกิดหลักสูตรของชมรมผู้สูงอายุ เริ่มมีแกนนำ�
น�ำ รอ้ งน�ำ เตน้ และจดั กจิ กรรมงาน “คหู าแรกวา” ฟนื้ ฟภู มู ปิ ญั ญาในอดตี
รวมท้ังกิจกรรมออกกำ�ลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ มีการเก็บข้อมูล
กลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะกลุ่มมุสลิมท่ียังมีพฤติกรรมเสี่ยงจากการกินหวาน
มันเค็ม กิจกรรมท่ีทำ�ในชมรมส่วนใหญ่เน้นในเร่ืองการกินการออก
กำ�ลังกายที่เหมาะสมกับวัย เพ่ือให้เห็นศักยภาพของตัวเอง การสร้าง
ความภาคภูมิใจ โดยมีการเชิญผู้สูงอายุเป็นวิทยากรสอนเด็กให้เห็นวิถี
วฒั นธรรมผู้สูงอายเุ ชอ่ื มโยงกับเดก็ และร่วมกับโครงการ Nodeflagship
นำ�กิจกรรมมาเรียนรู้อย่างเป็นระบบ เกิดการเย่ียมบ้านของผู้สูงอายุ
ด้วยกัน มีกรณีการพบเจอกันระหว่างพี่น้องท่ีไม่ได้ไปมาหาสู่กันมานาน
ผู้พิการที่เข้าไม่ถึงระบบทำ�ข้อมูล บางคนบัตรหมดอายุ ไม่ได้เบ้ียยังชีพ
ได้นำ�เข้าท่ีประชุม พชอ. โดยมีการส่งทีมทำ�บัตรประชาชนให้ถึง อบต.
และมกี ารเกบ็ ข้อมลู ใหมท่ ัง้ อ�ำ เภอ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 185
นอกจากน้ันยังมีกิจกรรมท่ีเก่ียว
ข้องกับผู้สูงอายุ ได้แก่ การซ่อมแซม
บ้าน การบริการรถฉุกเฉินรับ-ส่ง
24 ชั่วโมง การจ้างงานฝกึ อบรมทักษะ
อาชพี การประสานและขนึ้ ทะเบยี นรบั
เบย้ี ยงั ชพี บตั รคนพกิ าร การอบรมดแู ล
ผู้ช่วยนกั กายภาพ
6. ในสว่ นของศนู ยส์ รา้ งสขุ ต�ำ บล
ทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ จาก อบจ. เรม่ิ จาก
การท�ำ งานขอ้ มลู iMed@home ต�ำ บล
คูหาเป็นหนึ่งในภาคีเครือข่ายในการ
จัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพท่ีจำ�เป็น
ต่อสุขภาพมีงบประมาณในการจัดซื้อ
อปุ กรณ์ วสั ดตุ า่ งๆ ประจ�ำ ศนู ยป์ ระกอบ
ดว้ ย 1) เตียงไมม้ าตรฐาน (ชนดิ เตยี้ )
จ�ำ นวน 2 เตียง 2) รอกบรหิ ารหวั ไหล่
แบบติดผนัง จำ�นวน 1 เครื่อง 3)
จักรยานปน่ั มอื จ�ำ นวน 1 เครอ่ื ง 4) จักรยานเอนป่นั จ�ำ นวน 1 เคร่อื ง
5) วงลอ้ บรหิ ารหวั ไหลแ่ ละแขนแบบตดิ ผนงั จ�ำ นวน 1 เครอ่ื ง 6) กระดาน
บริหารกล้ามเนือ้ ต้นขา จ�ำ นวน 1 ชุด 7) ดัมเบลฟิสเนส 1/1.5/2.5 กก.
8) กระจกปรบั แตง่ ทา่ ทาง จำ�นวน 1 อัน 9) หมอนผูป้ ว่ ย (ฟองนำ�้ )
จำ�นวน 1 ใบ 10) อุปกรณ์ช่วยเดนิ ไมเ้ ท้าขาเดียว จ�ำ นวน 1 อัน 11)
อปุ กรณช์ ว่ ยเดินไม้เทา้ 3 ขา จำ�นวน 1 อัน 12) อปุ กรณ์ชว่ ยเดนิ ไมเ้ ทา้
186 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
4 ขา จาำ นวน 1 อนั 13) ถุงทรายออกกำาลงั กาย 0.5/1/1.5 กก. 14)
ราวค่ขู นานฝึกเดิน จาำ นวน 1 เคร่ือง มีผ้ชู ว่ ยนักกายภาพท่ีทำางานร่วมกับ
รพ.อำาเภอลงมาประจำาศูนย์ร่วมกับจิตอาสาประจำาศูนย์ที่จะผลัดเปลี่ยน
หมุนเวียนเข้ามาบริการ มีตารางการลงเยี่ยมบ้านแบบบูรณาการ มีทีม
สหวิชาชพี ลงเยีย่ มบา้ นพรอ้ มๆ กนั ทาำ ให้เกดิ การรับรู้ เรียนรไู้ ปพร้อมๆ
กัน เช่น มีการปรับปรุงบ้าน การช่วยเหลือของศูนย์สร้างสุข การดูแล
ด้านสุขภาพของ รพ.สต. การให้บริการนวดของแพทย์แผนไทย ตอนน้ี
มีการจัดทำากิจกรรมตามหลักวิถีมุสลิม เป็นหลักในการจัดทำาหลักสูตรที่
เหมาะสมกบั ผู้สงู อายุ เช่น ปนั จักสีลัต ซ่งึ เป็นศิลปะในการตอ่ สู้และเป็น
ท่าการออกกำาลงั กายปรบั ประยุกตต์ ามวถิ มี สุ ลิมทเ่ี หมาะสมกับผู้สงู อายุ
ในสว่ นของกายอปุ กรณท์ ไี่ ดร้ บั สนบั สนนุ มี 14 รายการ จาก อบจ.
ประจาำ อยูใ่ นศนู ยส์ รา้ งสุข และนายก อบต. ได้มีการอนมุ ตั งิ บประมาณ
เพมิ่ เติม
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 187
ภาพ กิจกรรมของศูนย์สร้างสุขตำ�บล
7. โครงการ Node Flagship สสส.ได้ทำ�ให้มีระบบข้อมูลเป็น
ของตัวเอง และจัดทำ�แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตำ�บล มีฐานคิดคือ
การทำ�ให้ประชาชนในพ้ืนที่มี Care Plan เป็นของตัวเอง ลดปัญหา
ความซ�ำ้ ซอ้ น ทงั้ ในแงป่ ระชาชนแตล่ ะคนมโี อกาสเปน็ ผเู้ ปราะบางซ�ำ้ ซอ้ น
หลายประเภท และเปิดช่องให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องสามารถวางแผนว่า
แต่ละคนต้องการอะไรเป็นรายบุคคลซึ่งจะทำ�ให้การทำ�งานมีความง่าย
มากข้นึ โดยนำ�ขอ้ มลู มาบรู ณาการประเมินซ้ำ�และเข้าคิว จัดลำ�ดบั 1-20
เพื่อการช่วยเหลอื ดแู ลคนในพื้นทใี่ ห้มีคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ีขน้ึ
ผลทไ่ี ด้
ผลต่อประชากรเปา้ หมาย (1) ผปู้ ่วยได้รบั การฟน้ื ฟูสภาพ 100%
(2) ศูนย์ฟื้นฟูสภาพใกล้บ้านใกล้ใจ (3) ผู้ป่วยมีระดับคะแนน ADL
เพม่ิ ขึ้น กลุ่มติดเตยี งเปลี่ยนเปน็ กลุ่มตดิ บา้ น 2 คน กลุ่มตดิ บา้ นเปล่ยี น
เป็นกลมุ่ ตดิ สงั คม 4 คน กลุ่มติดเตียงเปลย่ี นเป็นกลุ่มตดิ สงั คม 1 คน (4)
มีผู้ช่วยกายภาพชมุ ชน 39 คน
188 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ผลต่อสังคม เกิดความรับผิดชอบของชุมชนต่อการดูแลกลุ่ม
เปราะบาง
ผลด้านเศรษฐกิจ ลดภาระคา่ ใช้จา่ ยของครอบครัวในการเดินทาง
ด้านสภาวะแวดล้อม จัดสภาพแวดล้อมปรับปรุงที่อยู่อาศัยแก่
ผูป้ ่วย
ด้านสุขภาพ มีการฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงในชุมชน
โดยทมี สหสาขาวิชาชีพ
ด้านการเมืองการปกครอง มีแนวทางการดูแลคนพิการระดับ
ชุมชน จัดทำ�ธรรมนูญตำ�บลคนคหู าไม่ทอดทิ้งกนั
นอกจากประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลคุณภาพชีวิตท่ีดี
ข้ึนแล้ว ยังเกิดทักษะในการทำ�งาน ดังเช่นเกิดทักษะในการดูแลกลุ่ม
เปราะบาง มคี วามช�ำ นาญในการใชข้ อ้ มลู มกี ารท�ำ งานรว่ มกนั แลกเปลย่ี น
ร่วมกนั ดแู ลผสู้ ูงอายตุ ดิ เตยี งและกลุ่มเปราะบาง ส่งผลให้โครงสรา้ งของ
ชมุ ชนมคี วามเขม้ แขง็ มากยงิ่ ขน้ึ นอกจากนไ้ี ดท้ กั ษะการเรยี นรรู้ ะบบขอ้ มลู
iMed@home เรยี นรกู้ ารท�ำ งานรว่ มกบั โครงการ Node Flagship สงขลา
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 189
เปน็ แมข่ า่ ย TCNAP มกี ารวเิ คราะหก์ ลมุ่ เป้าหมาย วเิ คราะหต์ ัวเองและ
วเิ คราะหภ์ าพรวมของต�ำ บล เกดิ กองทนุ คนคหู าไมท่ อดทง้ิ กนั การท�ำ งาน
โดยหลายภาคมี าชว่ ยกนั ดแู ล มกี ารขยายผล โดยจดั ท�ำ หลกั สตู รการเรยี นรู้
ให้กบั เครอื ขา่ ยอีก 15 อปท. วชิ าหลกั การดูแลกลมุ่ เปราะบาง ผา่ นศนู ย์
จดั การเครือขา่ ยสุขภาวะชุมชนต�ำ บลคหู า มกี ารประเมนิ ผลรว่ มกบั สสส.
ส�ำ นกั 3 และได้รบั รางวัลนวตั กรรมการดแู ลตอ่ เนือ่ งจาก สสส.สำ�นัก 3
“เขยี วในท่ามกลางแดง” ต�ำ บลคูหารบั มอื โควดิ
ในขณะเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ข้อมูล
ณ วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2564 อ�ำ เภอสะบ้ายอ้ ย จงั หวดั สงขลา ผู้ปว่ ย
ที่รกั ษาในโรงพยาบาลมจี ำ�นวน 126 ราย ผูป้ ่วยสะสมทั้งหมด 320 ราย
รักษาหายแล้ว 194 ราย สภาพพ้ืนท่ีตำ�บลคูหา อำ�เภอสะบ้าย้อย
ตอนนเ้ี ปน็ สีเขยี วไม่มผี ปู้ ว่ ยในระยะ 29 วัน ผู้ปว่ ยเสีย่ งสูงได้รับการกักตวั
21 วัน ตรวจแล้วไมม่ ีการติดเชื้อ
การทำ�งานชว่ งนี้ส่วนใหญ่เปน็ การช่วยเหลือเชิงสงเคราะห์ โดยมี
ชดุ Care Set ใหก้ บั ผกู้ กั ตวั รวมทง้ั มถี งุ ยงั ชพี จาก อบต. ใหก้ บั ทกุ ครวั เรอื น
รวมท้งั มงี บประมาณจาก สสส.สำ�นัก 3 อนุมัตใิ ห้ดำ�เนินการปรบั เปล่ียน
กิจกรรมร่วมกับ พชอ. ในการจัดซ้ือวัสดุอุปกรณ์ให้กับกลุ่มคนท่ีสัมผัส
เส่ยี งสูง โดยมีเงิน 3 แสนบาท น�ำ มาใช้ในการจดั ซ้อื ชดุ ตรวจ คอื เคร่ือง
สแกนอณุ หภมู ิ เครอ่ื งวดั ออกซเิ จน เครอ่ื งเจาะปลายนวิ้ โดยมอบให้ อบต.
คหู าหนง่ึ ชดุ และอีกชุดมอบให้ พชอ.ใช้กับกลมุ่ สมั ผัสเส่ียงสูง นอกจากนี้
190 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
ยังมชี ดุ PPE สำ�หรับโรงพยาบาลให้กบั ทีมติดตามสอบสวนโรค
การทำ�ให้พ้ืนท่ีปลอดโควิดมาได้ นโยบายของนายก อบต.คูหา
คือ เพมิ่ การสนับสนนุ พชอ.ใหม้ ากข้นึ รวมทง้ั การออกพนื้ ทเ่ี พื่อพดู คุย
สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านทุกวันศุกร์ ลงเยี่ยมกลุ่มติดบ้านติดเตียง
การทำ�งานโดยใช้การต้ังด่านร่วมกับผู้ใหญ่บ้าน รพ.สต. อบต. เจอจับ
ลงโทษดว้ ยการสกอ็ ตจมั๊ พ์ แลว้ แจกแมสก์ เจลแอลกอฮอล์ เพอ่ื สรา้ งความ
ตระหนกั ของชาวบา้ น ถ่ายรูปส่งรายงานให้ผบู้ ริหารทราบ โดยนายกเนน้
การสรา้ งความตระหนักใหเ้ หน็ ความส�ำ คัญ สนับสนุนใหเ้ จ้าหนา้ ที่ทกุ คน
ได้รับการฉีดวัคซีนโดยตอนน้ีทุกคนได้รับวัคซีนเข็มแรกแล้วท้ังหมดและ
กำ�ลังทยอยรับเข็มท่ีสอง โดยบริหารงบประมาณที่มีอย่างไหนไม่จำ�เป็น
กน็ ำ�มาปรบั ใช้ในการเพิม่ ศักยภาพการป้องกัน นำ�เงินสนบั สนุน รพ.สต.
หน่วยงานทหาร ผใู้ หญบ่ ้าน อำ�นวยความสะดวกให้ทุกหน่วยงานท�ำ งาน
ได้ราบร่ืน นอกจากน้ีมีการประสานกับโรงพยาบาลโดยมีรถตู้รับส่งคนไข้
ตดิ เตียง เออ้ื ให้คนเปราะบางกลุ่มน้ีไดเ้ ขา้ ถึงการรับวคั ซนี อย่างท่วั ถงึ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 191
พื้นทตี่ �ำ บลคหู า เดิมใชข้ ้อมูลจากฐาน Individual ซึง่ เป็นฐาน
ขอ้ มลู คนเปราะบางยากล�ำ บากในพน้ื ที่ มขี อ้ มลู วา่ ใครอยตู่ รงไหน ตอ้ งการ
ความชว่ ยเหลอื อะไร และน�ำ ขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าแลกเปลยี่ นกนั กบั ทมี งาน มกี าร
ทบทวนระบบข้อมูลปีละ 2 ครง้ั ว่าคนไหนควรปลดออกจากระบบหรอื
คนไหนควรนำ�เข้าระบบ
และไดด้ ำ�เนินการจดั ชุด Care Set จ�ำ นวน 38 ชดุ ซึ่งจะนำ�มา
มอบให้กับคนไขต้ ิดเตยี ง จ�ำ พวกแพมเพสิ ขา้ วสารอาหารแหง้ นอกจาก
นี้ยงั มีกลมุ่ คนไมม่ บี ัตรประชาชน กล่มุ เดก็ ทีพ่ อ่ แมเ่ สยี ชวี ติ หรอื กลุ่มเดก็
กำ�พรา้ ที่เดก็ ๆ อาศัยกนั เพียงลำ�พัง ซ่ึงทัง้ หมดน้จี ะมีการประชุมร่วมกับ
กรรมการ พชอ.เพื่อให้มีการรับทราบว่ามีใครในชุมชนท่ีควรได้รับการ
ชว่ ยเหลือบ้าง
192 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
วธิ กี ารลงไปชว่ ยเหลอื โดยนายก อบต.ลงไปประชาสมั พนั ธร์ ณรงค์
ในพื้นท่รี ว่ มกับฝ่ายปกครอง รพ.สต. ศอ.บต. เจา้ หน้าทปี่ ระจ�ำ ศูนยก์ าร
ช่วยเหลือตามอำ�นาจหน้าท่ี เพื่อติดตามสุขภาพเบื้องต้นในกลุ่มผู้ป่วย
ตดิ เตยี ง และรวบรวมขอ้ มลู กลมุ่ เปราะบางเขา้ สรู่ ะบบ มกี ารตดิ ตามและดแู ล
เคสพิเศษบางเคสในพื้นที่ โดยประสานเจ้าหน้าท่ีท่ีสื่อสารภาษายาวีได้
เพ่อื ให้เข้าถงึ การดแู ลคนในพ้นื ทีม่ ากย่งิ ข้นึ
หลักคิดสำ�คัญในการทำ�งานคือ หากจะช่วยอะไรใครต้องร่วมกัน
คิดกับฝ่ายปกครอง และ รพ.สต. ค�ำ นงึ ถึงความจำ�เป็นพ้ืนฐานของแต่ละ
ครวั เรอื น และใหเ้ หมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย เชน่ กลมุ่ เดก็ ผใู้ หญ่ ผสู้ งู อายุ
ผู้ป่วยตดิ เตียง ยาที่ตอ้ งใช้เฉพาะ ใชพ้ ิจารณาเปน็ เคสวา่ ต้องใชอ้ ะไรบ้าง
เป็นพิเศษ ใครมีความยากลำ�บากหรืออ่อนแอให้ใส่ข้อมูลไว้ก่อนอันดับ
แรก
เม่ือข้อมูลถูกบรรจุในแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายบุคคลจะมี
ระเบียบการช่วยเหลือตามอำ�นาจหน้าท่ี หากเป็นกรณีการช่วยเหลือ
ภายใตส้ ถานการณภ์ ยั พบิ ตั ิ หนว่ ยงานรฐั จะสามารถท�ำ งานไดง้ า่ ย สามารถ
น�ำ ระเบยี บนนั้ ๆ มาอา้ งองิ และชว่ ยเหลอื ไดโ้ ดยอนโุ ลม มเี จา้ หนา้ ทท่ี ค่ี อยดู
ระเบยี บกฎหมายโดยมปี ลดั ทด่ี แู ลเรือ่ งกฎหมาย การท�ำ งานจะคดิ ร่วมกัน
ใชห้ ลกั “4 บวก 1” โดยมกี ารสรา้ งระบบในการทำ�งานท่ชี ดั เจน ไมว่ ่าจะ
มีสถานการณ์ภัยพบิ ัติอะไรกส็ ามารถรับมอื ได้ทนั ทว่ งที
หนงั สอื ระเบยี บทอ่ี อกมาคอ่ นขา้ งชดั เจน คนทท่ี �ำ หนา้ ทบ่ี รหิ ารหรอื
อ�ำ นวยการตอ้ งรวบรวมระเบยี บใหช้ ดั วา่ มคี �ำ สงั่ อะไรบา้ ง แตส่ ว่ นหนงึ่ อยู่
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 193
ท่ีความกล้าในการอ้างระเบียบเพ่ือนำ�มาปรับใช้ให้เหมาะสม และกล้า
ที่จะน�ำ มาคุยร่วมกัน ตำ�บลคูหามรี ะบบตรวจสอบ โดยกองคลังดรู ะเบียบ
นติ กิ รเป็นคนตีความ และปลัดจะดูอกี รอบ และจะนำ�ระเบียบมาดูรว่ มกนั
อกี ครัง้ มีการถกเถียงเพอื่ ให้งานส�ำ เร็จดีกวา่ ถกเถยี งเพ่ือเอาชนะ ซงึ่ เปน็
การท�ำ งานระบบทีมที่จะทำ�ใหง้ านเกดิ ความส�ำ เร็จได้
ปจั จัยความสำ�เรจ็
1) นโยบายผู้บริหารมีความสำ�คัญมากท่ีสุด ให้ความสำ�คัญกับ
งานพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และมกี ารแบง่ งานมอบหมายงานทกี่ ระจายความ
รับผดิ ชอบ ดึงความรว่ มมอื และสง่ ตอ่ ให้กับผปู้ ฏิบัติ
2) การบริหารจัดการภายใน อบต.มีการแลกเปลี่ยนประชุม
ทีมร่วมกัน สนับสนุนและช่วยงานโดยไม่เลือกว่าเป็นงานของฝ่ายใด
เมอ่ื ทราบวา่ แตล่ ะหนว่ ยงานมกี จิ กรรม มแี ผนงานอยา่ งไรท�ำ ใหก้ ารท�ำ งาน
บูรณาการได้ง่ายและสะดวกขึ้น มีการคุยและทบทวนงานกันทุกเดือน
จดั ท�ำ เปน็ ตารางงานรว่ มกนั การไปชว่ ยกนั ของแตล่ ะคน ประกอบกบั มกี าร
จา้ งแรงงานเดก็ ทเี่ รยี นจบในหมบู่ า้ น เปน็ แรงงานจา้ งเหมา ในการเกบ็ ขอ้ มลู
ท�ำ ใหก้ ารทำ�งานสะดวกมากขึน้ ในการท�ำ งานมีการนำ�ข้อมูลมาดรู ่วมกนั
เพ่ือใหเ้ กดิ ความไว้วางใจกนั และวิเคราะห์ขอ้ มลู ทำ�งานรว่ มกัน
194 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
3) การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ เกดิ จากผสู้ งู อายเุ องหรอื เกดิ
จากการขับเคล่ือนชมรมในพื้นท่ี โดยเช่ือมโยงกับงานของคณะกรรมการ
พัฒนาคุณภาพชวี ิตระดบั อ�ำ เภอ (พชอ.) ท�ำ ให้สามารถสร้างพลงั ความ
ร่วมมือกบั เครอื ขา่ ยต่างๆ ทัง้ ผสู้ ูงอายุ สหวชิ าชีพ องคก์ รท้ัง 4 องคก์ ร
รพ.สต.มกี ารคดิ และดงู านรว่ มกนั วา่ จะท�ำ อะไร โดยคณะกรรมการดงั กลา่ ว
เป็นคณะกรรมการที่เป็นภาคีเครือข่ายมาคุยร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นเร่ือง
โรงเรียนผู้สงู อายุ และทุกเร่อื ง
4) การประสานการทำ�งานร่วมกับภาคีสมัชชาจังหวัดและงาน
เขตสขุ ภาพเพื่อประชาชนเขต 12 เพือ่ เชื่อมโยงการท�ำ งาน ให้การทำ�งาน
ในพืน้ ที่สามารถเกาะเกย่ี วและขับเคล่อื นการท�ำ งานไปได้อย่างต่อเนือ่ ง
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 195
12
Platform: iMedCare
ดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงที่บ้าน
“บริการด้วยหัวใจ มอบความห่วงใยถึงบ้าน”
We Serve Excellent Care
at Your Home
196 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9
สภ�พปัญห�
โรคเรอ้ื รงั สว่ นมากเกดิ กบั คนทม่ี อี ายมุ ากขน้ึ หรอื ผสู้ งู อายุ ทขี่ ณะน้ี
ไทยเรามปี ระมาณรอ้ ยละ 20 ของประชากร หรอื 12 ลา้ น และจะเพม่ิ ขน้ึ ปลี ะ
1 ลา้ น (ภาคใต้ประมาณ 1.5 ล้านจากประชากรทง้ั หมด 10 ล้าน คดิ เปน็
รอ้ ยละ 8 ของประเทศ) ในจาำ นวนนีร้ ้อยละ 16 เจบ็ ป่วยมาก (เกือบ 2
ลา้ นคน) รอ้ ยละ 11.4 มภี าวะพง่ึ พงิ (เกอื บ 1.5 ล้านคน) และตอ้ งมี
ผดู้ ูแลประจาำ รอ้ ยละ 4 (4.8 แสนคน)
โรคทำาให้ประชากรกลุ่มนเ้ี จบ็ ปว่ ยในอันดบั แรกๆ ไดแ้ ก่ อัมพาต
กล้ามเนื้อหัวใจตาย โรคปอด และข้อเส่ือม โดยภาวะพึ่งพิงที่ต้องการ
ผู้ดูแลดังแผนภูมิท่ีนำาเสนอ ซ่ึงถ้าพิจารณาในรายละเอียดจะเห็นว่า
ลักษณะการพ่ึงพิงหลายอย่างสามารถฟื้นฟูให้กลับเป็นปกติได้ถ้ามีผู้ดูแล
ทไ่ี ด้รบั การฝึกฝนมาอยา่ งดี มีมาตรฐาน
โดยเฉพาะในกลมุ่ ทเี่ รมิ่ เปน็ หรอื กลมุ่ ตดิ บา้ น ซงึ่ ถา้ ไดร้ บั การฟนื้ ฟู
จะทำาให้กลับมาใช้ชีวิตอย่างปกติได้ หรือแม้แต่กลุ่มติดเตียงก็สามารถ
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 197
ชะลอการเส่ือมและอาจลุกมาช่วยตัวเองได้บ้าง ระบบการดูแลท่ีมีอยู่
ในปจั จบุ นั ท่รี ัฐจดั ใหไ้ มว่ ่าจะเป็น Intermediated Care หรอื LTC ยงั มี
ขอ้ จ�ำ กดั คือ จดั ใหส้ �ำ หรบั กลุ่มบตั รทองท่ไี ดร้ บั ทนุ สนับสนุนโดย สปสช.
กลุม่ อ่นื ๆ ทั้งกลุ่มประกันสงั คม ขา้ ราชการ หรือกลุม่ ประกันสขุ ภาพแบบ
พรีเมี่ยม ซึง่ บางรายอาจมกี �ำ ลังจา่ ย แตก่ ต็ อ้ งรับภาระคา่ ใชจ้ ่ายทีส่ งู มาก
ในการจ้างผู้ดแู ล ท่อี าจไม่ไดร้ บั การดแู ลท่ไี ด้มาตรฐาน จงึ ทำ�ให้อัตราการ
กลับมาใช้ชวี ิตตามปกตหิ รอื ลดภาวะพ่งึ พงิ ไม่ดขี ้ึน
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจึงมีความพยายามที่จะผลิตผู้ดูแลให้ได้
มาตรฐาน โดยความรว่ มมอื กบั กระทรวง พม. แรงงาน ศกึ ษาธกิ าร รว่ มกบั
มหาดไทย และสาธารณสุข แต่ก็ยังมีช่องว่างการให้บริการ ด้วยเหตุน้ี
ดร.แสงอรณุ อสิ ระมาลยั คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์
มีพ้ืนฐานและประสบการณ์ในการสอน วิจัยและให้การดูแลผู้ป่วยโรค
เร้ือรัง ซึ่งส่วนมากเป็นผู้สูงอายุ และทีมงานท่ีประกอบด้วยผู้ที่ทำ�งาน
ในด้านการจัดการระบบสุขภาพกับมูลนิธิชุมชนสงขลาจึงได้ร่วมมือกัน
พัฒนา Platform iMedCare สำ�หรับกลุ่มประชากรโรคเร้ือรังกลุ่มน้ี
โดยมเี ปา้ หมายส�ำ คญั
1. เสริมระบบบริการภาครัฐ เข้าสู่ระบบบริการแบบไร้รอยต่อ
(Seamless Care)
2. เสรมิ ประสทิ ธภิ าพในการฟ้ืนฟูสภาพ/เพ่มิ คุณภาพชวี ติ
3. มีการผลติ บุคลากรทมี่ ีความสามารถต่อเนอ่ื ง
4. มรี ะบบฐานขอ้ มลู รองรบั การดแู ลตอ่ เนอื่ ง (Continuous Care)
5. มีค่าใช้จ่ายท่ีเหมาะสม เข้าถึงได้ง่าย และครอบคลุมกลุ่ม
เปา้ หมาย
198 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9