The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fonpat1971, 2021-11-11 04:41:11

ผีเสื้อขยับปีก 9

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน

Keywords: ผีเสื้อขยับปีก 9

ท่ีสำ�คัญ เพิ่มมาตรการ “ตะแกรงสะสมบุญ” นำ�ตะแกรงบรรจุ
ขยะรีไซเคิลวางไว้ในจุดต่างๆ ของแต่ละหมู่บ้าน ระดมทุนเข้ามาสู่
“กองทนุ ขยะมบี ญุ ต�ำ บลโคกมว่ ง” ส�ำ หรบั ดแู ล ผปู้ ว่ ยตดิ เตยี ง ผดู้ อ้ ยโอกาส
ผเู้ ปราะบางทางสงั คมและผ้ทู ่ีได้รบั ผลกระทบจากสถานการณต์ า่ งๆ
และลา่ สดุ เมอ่ื วนั ท่ี 1 มถิ นุ ายนทผ่ี า่ นมา เวลา 14.00 น. เทศบาล
ต�ำ บลโคกม่วง โดยนายสมนกึ บตุ รคง มอบหมายใหน้ ายนกิ ร จุลนวล
ปลดั เทศบาล รว่ มกบั ก�ำ นนั วโิ รจน์ ประกอบการ ก�ำ นนั ต�ำ บลโคกมว่ ง และ
อสม.ในพื้นท่ี ม.1 ม.3 ม.8 และ ม.9 มอบถุงยังชีพ (ข้าวสาร น้ำ�
ปลากระปอ๋ ง นำ�้ มัน หนา้ กากผา้ บะหมีก่ ึ่งส�ำ เรจ็ รปู นำ�้ ปลา ฯลฯ) ให้แก่
ผู้ป่วยติดเตียง เป็นการช่วยเหลือในช่วงสถานการณ์โควิดแพร่ระบาด
ลดภาระคา่ ใช้จา่ ยใหก้ ับประชาชน
หมายเหตุ ตำ�บลโคกม่วง เป็นหนึ่งในพื้นท่ีความร่วมมือจัดทำ�
ธรรมนูญตำ�บลน่าอยู่ร่วมกับมูลนิธิชุมชนสงขลา/อบจ.สงขลา/สำ�นักงาน
คณะกรรมการสขุ ภาพแห่งชาติ (สช.)

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 99

7

ห้องเรียน
สวนผักคนเมือง On Zoom

ความมั่นคงอาหาร

ในครัวเรือนสํำ�หรับคนเมือง

100 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ห้องเรียนสวนผักคนเมืองหาดใหญ่ ดำ�เนินการโดยเครือข่าย
สวนผกั คนเมอื ง มลู นธิ ชิ มุ ชนสงขลา โดยการสนบั สนนุ จากองคก์ ารบรหิ าร
ส่วนจังหวัดสงขลา ปกติจะมีการนัดพบกันเดือนละครั้ง เปิดโอกาสให้
สมาชิกไดส้ ญั จรไปยงั แหลง่ เรียนร้ตู า่ งๆ ของสวนผกั คนเมือง มกี จิ กรรม
การเรียนรู้ พบปะสนทนาสร้างความสัมพันธ์ต่อกัน เม่ือมีสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโควิด-19 จึงได้มีการปรับรูปแบบมาพบกันทุกวัน
อาทิตย์ 09.00-12.00 น. ผ่านระบบประชุมทางไกล Zoom Meeting
โดยมีครไู ก่ วฒุ ิศักด์ิ เพ็ชรมศี รี ผชู้ ่วยเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัด
สรุ าษฎรธ์ านี และทมี สวนผกั คนเมอื งหาดใหญ่ เปน็ วทิ ยากรหลกั สง่ เสรมิ
การผลติ เกษตรอนิ ทรยี ์ เปน็ วธิ กี ารท�ำ ใหค้ รบวงจร ทง้ั วงจรตน้ น�ำ้ กลางน�้ำ
ปลายน�ำ้ สรา้ งเปน็ พนื้ ทสี่ าธติ ในการสรา้ งความมนั่ คงในอาหาร จะไมแ่ ยก
ออกจากด้านของเศรษฐกิจ ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม และดา้ นสุขภาพ
การปลูกผักในพื้นท่ีเขตชุมชนเมือง แบบหมุนเวียนในระยะเวลา
3 เดือน มีผกั รับประทานตลอด ดังนี้
1. ถวั่ งอก ใชเ้ วลาในการเจรญิ เตบิ โต 3 วนั จงึ สามารถน�ำ มาบรโิ ภคได้
2. ยอดทานตะวันอ่อน ใช้เวลาในการเจริญเติบโต 7-10 วัน
จงึ สามารถนำ�มาบรโิ ภคได้
3. ตน้ ออ่ นผกั บงุ้ ใชเ้ วลาในการเจรญิ เตบิ โต 7-10 วนั จงึ สามารถ
น�ำ มาบริโภคได้
4. ผกั บุ้งจีน ใชเ้ วลาในการเจรญิ เติบโต 14-24 วัน จงึ สามารถ
นำ�มาบริโภคได้
5. กระเพรา ใช้เวลาในการเจรญิ เติบโต 30-45 วัน จงึ สามารถ
นำ�มาบรโิ ภคได้

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 101

6. คะน้า ใช้เวลาในการเจริญเติบโต 30-45 วัน จึงสามารถ
น�ำ มาบริโภคได้
7. กวางตุ้งฮ่องเต้ ใช้เวลาในการเจริญเติบโต 35-45 วัน
จึงสามารถนำ�มาบรโิ ภคได้
8. กรนี โอค๊ ใชเ้ วลาในการเจรญิ เติบโต 40-45 วนั จึงสามารถ
น�ำ มาบริโภคได้
9. พรกิ ข้หี นู ใช้เวลาในการเจริญเตบิ โต 45-60 วัน จงึ สามารถ
นำ�มาบริโภคได้
10. แตงกวา ใช้เวลาในการเจริญเติบโต 45-60 วนั จึงสามารถ
นำ�มาบรโิ ภคได้
11. มะเขือเปราะ ใช้เวลาในการเจริญเติบโต 45-60 วัน
จงึ สามารถนำ�มาบริโภคได้
12. มะเขอื เทศ ใชเ้ วลาในการเจรญิ เตบิ โต 70-90 วนั จงึ สามารถ
นำ�มาบรโิ ภคได้
13. ชมจนั ทร์ ใชเ้ วลาในการเจรญิ เตบิ โต 70-90 วัน จงึ สามารถ
น�ำ มาบรโิ ภคได้
14. ข้าวโพดหวาน ใช้เวลาในการเจริญเติบโต 70-90 วัน
จงึ สามารถนำ�มาบรโิ ภคได้

102 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

วธิ กี ารเพาะถั่วงอก ของป้าทุม

1. เจาะรขู วดน้ำ� ไมถ่ ีห่ รอื กว้างจนเกนิ ไป เพ่อื ป้องกันไม่ใหเ้ มลด็
ถวั่ งอกตกลงมา
2. นำ�เมลด็ ถั่วเขยี วมาลา้ งน�้ำ เปล่า 1-2 นำ�้ เพ่อื ล้างฝนุ่ และยา
ทีต่ ิดอยบู่ นเมลด็ ถัว่ เขยี ว
3. นำ�ถั่วเขียวมาแช่นำ้�อุ่น จนน้ำ�ที่กำ�ลังอุ่นๆ คลายตัวจนเย็น
และเติมไตรโครเดอร์มา ลงไป 2 หยด แช่ค้างคืนเอาไว้
เพือ่ ป้องกันไม่ใหถ้ ่วั เน่า
4. น�ำ ถว่ั เขยี วท่แี ชอ่ ย่ใู นไตรโครเดอร์มา มาลา้ งอกี 2-3 นำ้�
5. นำ�ถ่วั เขียวไปใสข่ วด เศษ 1 สว่ น 6 ของขวดที่เจาะไว้
6. เม่ือนำ�เมล็ดถั่วเขียวใส่ขวดเรียบร้อยแล้ว ให้นำ�ขวดมาเรียง
ในตะกร้าทมี่ ีรู เพ่อื ท�ำ ใหต้ น้ ถ่วั ที่งอกออกมาไม่ลม้
7. นำ�ตะกร้าที่มีขวดถ่ัวเขียวอยู่ใส่ลงไปในถุงดำ�เพื่อไม่ให้โดน
แสงแดด

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 103

เม่ือทำ�ทุกข้นั ตอนแล้ว ใชเ้ วลา 2-3 ชว่ั โมงน�ำ ตะกรา้ ทีบ่ รรจขุ วด
น้ำ�ท่มี เี มลด็ ถัว่ เขยี วอยูอ่ อกมาจากถุงดำ� เพ่อื รดน้ำ�ใสเ่ มล็ดถ่ัวเขยี ว 1 ครงั้
โดยจะใหน้ �้ำ ไหลผา่ น 4-5 นาที จะท�ำ ใหเ้ มลด็ ถวั่ ทก่ี �ำ ลงั อนุ่ ๆ กลบั มามคี วาม
ชุ่มชื่นอีกครั้ง เม่ือรถนำ้�เสร็จแล้วก็นำ�ตะกร้าที่บรรจุขวดนำ้�ท่ีมีเมล็ด
ถั่วเขียวอยู่ใส่กลับลงไปในถุงดำ�เหมือนเดิม ซึ่งจะใช้เวลา 2-3 วัน
ก็สามารถนำ�มารับประทานได้แล้ว เป็นการปลูกผักแบบการใช้พื้นที่ที่มี
ความแคบ และนำ�ส่ิงของที่เหลือใช้มาประยุกต์ใช้ในการทำ�การเกษตร
อยา่ งเชน่ การน�ำ ขวดน้ำ�มาใชป้ ลกู ถัว่ งอกของปา้ ทุม

วิธีเพาะตน้ ออ่ นผักบงุ้ ของปา้ ทุม

1. น�ำ เมล็ดผักบุง้ มาล้าง 1-2 น�้ำ เพอ่ื ลา้ งฝนุ่ หรอื ยาทต่ี ิดอย่บู น
เมลด็ ผกั บ้งุ ออก
2. แชเ่ มล็ดผักบุ้งดว้ ยน้�ำ อนุ่ จนนำ�้ แปลสภาพมาเปน็ น�ำ้ เยน็
3. เตมิ ไตรโครเดอรม์ า ลงไป 2 หยด แชค่ า้ งคนื เอาไว้ เพอ่ื ปอ้ งกนั
ไม่ให้ผกั บ้งุ เน่า
4. รินนำ้�ท่ีแช่เมล็ดผักบุ้งอยู่ออกจนสะเด็ดน้ำ� และห่อด้วยผ้า
1 คืน กบั 1 วนั
5. เตรยี มวสั ดทุ จ่ี ะน�ำ มาเพาะใสใ่ นถาด อยา่ งเชน่ ตะกรา้ ขนมจนี
แก้วนำ้� ถาดใส่ของท่ัวไป ฯลฯ วัสดุท่ีเตรียมเพาะจะมี
ขยุ มะพร้าวผสมกับขี้ไส้เดือน ซ่งึ จะใช้วัสดุ 2 สว่ น ข้ีไสเ้ ดอื น
1 ส่วน เอามาผสมใหเ้ ข้ากนั
6. นำ�เมล็ดผักบุ้งมาโรยบางๆ บนถาดที่มีวัสดุเตรียมปลูกอยู่
โดยจะโรยเมล็ดผักบุ้งให้เต็มถาดแต่เมล็ดผักบุ้งต้องไม่ซ้อน
หรอื ทบั กนั
7. ใชม้ อื กดเบาๆ เพอื่ ใหเ้ มลด็ จมลงไปในวสั ดเุ พาะ

104 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

8. น�ำ วสั ดเุ พาะมาโรยบนเมลด็ อกี ครงั้ เพอื่ จะไมท่ �ำ ใหเ้ มลด็ ผกั บงุ้
กล้งิ ออกจากวัสดเุ พาะ และยงั ชว่ ยพลางสายตา นก หนู หรือ
สตั ว์ชนิดตา่ งๆ ที่จะมากัดกนิ เมลด็ ผกั บงุ้
9. ฉีดสเปรย์น้ำ�ให้ชุ่ม และนำ�กระดาษท่ีมีอยู่มาปิดทับเอาไว้
เพ่ือช่วยเก็บความชน่ื ให้นานมากขึ้น
หากท�ำ มากกวา่ 1 ถาดขน้ึ ไป ใหน้ �ำ ถาดมาวางทบั ซอ้ นกนั ไว้ หากมี
เวลาใหร้ ดนำ�้ วันละ 3 ครง้ั หรอื ถ้าไม่มีเวลาให้รดน�ำ้ วันละ 2 ครัง้ ก็พอ
เช้า-เย็น โดยต้องเก็บถาดท่ีปลูกผักบุ้งไว้ในท่ีร่ม เม่ือผ่านมาถึงวันที่ 2
ให้ยกถาดที่ซ้อนกันนำ�มาวางเรียงกัน เพราะต้นผักบุ้งจะเติบโตข้ึนมา
เรื่อยๆ ซ่ึงจะต้องฉีดสเปรย์นำ้�ให้ท่ัวไม่ว่าจะเป็นกลางถาดหรือมุมถาด
กต็ าม เพอื่ จะทำ�ใหค้ วามชมุ่ ช้นื มีความสม�่ำ เสมอ 2-3 วันแรกจะไม่ให้ต้น
ผักบงุ้ โดนแสงแดด พอ 4-5 วนั ขน้ึ ไปสามารถใหผ้ ักบ้งุ โดนแดดอ่อนๆ ได้
ไมว่ า่ จะเปน็ แสงแดดตอนเชา้ หรอื ตอนเยน็ กไ็ ด้ เมอ่ื ครบ 7 วนั กส็ ามารถ
น�ำ มาบรโิ ภคไดแ้ ล้ว

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 105

วิธีปลูกผักบ้งุ ลงแปลง ของปา้ ทมุ

1. หมักดนิ เพอื่ ทำ�ให้หญ้าทจ่ี ะงอกออกมานอ้ ยลง
2. โรยปูนขาวลงไปในแปลงทจี่ ะปลูก เพอ่ื จะป้องกนั การเน่าเสยี
ของผกั บุ้ง
3. น�ำ เมลด็ ผกั บงุ้ มาแชน่ �ำ้ ทง้ิ ไว้ 1 คนื และน�ำ มาลา้ งอกี 1-2 น�้ำ
เพอ่ื ทำ�ความสะอาดเมล็ดผักบุ้ง
4. น�ำ เมล็ดผกั บุ้งทีล่ ้างสะอาดแล้วใส่ตะแกรง เพอ่ื รอ่ นเอาเมล็ด
ที่โตไปลงแปลงปลกู ก่อน
5. ใช้น้ำ�หมักขี้วัวในการรดนำ้� ซึ่งจะทำ�ให้ผักบุ้งเขียวน่า
รับประทาน โดยจะรดน้ำ� เช้า-เยน็
เมล็ดผักบ้งุ ท่รี ่อนออกมาจะปลูกเมล็ดทโ่ี ตกวา่ กอ่ น จากน้ันกน็ �ำ
เมลด็ ทเี่ ลก็ กวา่ ไปปลกู อกี แปลงจะท�ำ ใหผ้ กั บงุ้ โตไมพ่ รอ้ มกนั เพอ่ื ทจ่ี ะไดเ้ กบ็

106 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ผกั บงุ้ มารบั ประทานไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งหมนุ เวยี นกนั ซงึ่ ผกั บงุ้ แตล่ ะแปลงจะมี
อายหุ ่างกัน 4-5 วนั หรอื 1 สปั ดาห์ โดยการตัดผกั บ้งุ มารบั ประทาน
จะตดั ใหเ้ หลอื เอาไวส้ กั 1 ขอ้ เพอ่ื ใหผ้ กั บงุ้ ไดแ้ ตกใหม่ และน�ำ มารบั ประทาน
ได้อย่างต่อเน่ือง ผักบุ้ง 1 เมล็ดหรือ 1 ต้นจะตัดมารับประทานได้
2-3 คร้ังก่อนท่ีจะร้ือ และทำ�แปลงใหม่ ทั้งน้ียังสามารถลดค่าใช้จ่าย
ในครัวเรอื นได้อีกดว้ ย

สวนผกั ภูธาร การปลูก และจ�ำ หนา่ ยผกั สลดั

โรงเรอื นของสวนผกั ภธู ารจะท�ำ แบบยกแคร่ โดยใชเ้ หลก็ ยกแครส่ งู
ระดบั เอว กวา้ ง 2 เมตร ยาว 6 เมตร ต่อ 1 โรงเรอื น ซงึ่ โรงเรอื นของ
สวนผักภูธารมีท้ังหมด 9 โรงเรือน 1 โรงเรือนจะปลูกผักได้ประมาณ
200 ตน้ ลกั ษณะโรงเรอื นจะดดั โคง้ หลงั คาอยา่ งงา่ ย ใช้ PE 150 ไมครอน
มุงหลังคากันน้ำ� ส่วนด้านข้างจะเปิดโล่งทั้งหมด ซึ่งจะเป็นโรงเรือน
แบบเปดิ ทีไ่ มม่ แี มลงมารบกวนผัก โดยจะมคี วามแตกตา่ ง หากไปปลกู ผกั
ในสวน ไมว่ า่ จะเปน็ สวนยาง สวนทเุ รยี น ฯลฯ ทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณข์ อง
พวกแมลงจะทำ�ให้ผกั เสียหายทันที
ขั้นตอนการเตรียมดิน
1. หนา้ ดิน
2. แกลบดิบ หรอื แกลบดำ�
3. ขุยมะพรา้ ว
4. มลู ขว้ี วั
5. ใส่ EM น้ำ�สบั ปะรด และน�ำ้ ตาลแดง
6. นำ�มาผสมให้เข้ากนั และหมกั ท้ิงไว้เพือ่ เตรยี มดนิ มาปลูกผัก

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 107

ข้ันตอนการปลูกต้นกลา้
1. ซ้ือเมลด็ พนั ธ์ทุ ี่ตอ้ งการมา
2. โกยหนา้ ดนิ และขไ้ี ส้เดอื นจากแปลงทใ่ี ชไ้ ปแลว้ นำ�มารอ่ น
3. น�ำ ดินที่ร่อนมาแลว้ ผสมกบั แกลบดบิ 1 ต่อ 1
4. คลุกเคล้าแล้วบีบสังเกตดูถ้าไม่มีน้ำ�ออกมา และเป็นก้อน
แสดงวา่ มีความช้ืนพอดี
5. นำ�ดนิ ท่ีผสมแลว้ มาใส่ในกระถางขนาด 4 นิว้
6. นำ�เมล็ดพันธ์ุมาโรยในกระถางที่ได้ใส่ดินลงไปแล้ว โดยต้อง
โรยเมล็ดพันธุ์ห่างๆ ประมาณ 50 ต้น อัตราท่ีต้นกล้า
จะรอดประมาณ 20 ต้น
7. น�ำ น�้ำ ทเ่ี ปน็ ละอองมาฉดี เพอื่ ทจ่ี ะไมใ่ หน้ �ำ้ ลงไปในกระถางเยอะ
จนเกนิ ไป

ซง่ึ การเพาะ หรอื ปลกู ตน้ กลา้ ใชเ้ วลาประมาณ 24 ชวั่ โมง ตน้ กลา้
ก็จะงอกออกมา เมือ่ ตน้ กล้าอยูม่ าถงึ วันที่ 3 ตอ้ งน�ำ ต้นกลา้ ออกมารบั
แสงแดดทนั ที เหตผุ ลทต่ี อ้ งน�ำ ตน้ กลา้ ออกรบั แสงแดดเพราะถา้ ผา่ น 3 วนั
ไปตน้ กลา้ จะไมโ่ ตภายใน 45 วนั หรอื ไมโ่ ตเลย แสงแดดทต่ี อ้ งใหต้ น้ กลา้ ไดร้ บั
คือ 50%

108 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

การยา้ ยต้นกลา้
เมอื่ ตน้ กล้ามอี ายไุ ด้ 5 วนั จะตอ้ งยา้ ยตน้ กล้าไปไวใ้ นโรงเรือน
เพอื่ ปอ้ งกนั นก หรอื สตั วช์ นดิ ตา่ งๆ มาท�ำ ลายตน้ กลา้ จากนนั้ เลยี้ งตน้ กลา้
ต้งั แตห่ วา่ นเมลด็ ประมาณ 21 วนั กรณีต้นกลา้ โตกอ่ น 21 วนั ใหน้ ำ�
ตน้ กลา้ ลงแปลงปลกู ไดเ้ ลย เมอ่ื น�ำ ผกั ลงแปลงแลว้ สตั วจ์ �ำ พวกหนอนกเ็ รมิ่
วางไขท่ นั ที เพราะกอ่ นทเ่ี ราจะน�ำ ผกั มาลงแปลงหนอนกไ็ ดว้ างไขใ่ นดนิ รอ
อยู่แลว้ โดยหนอนจะแพรร่ ะบาด และกัดกนิ พืชผักทเี่ ราปลกู ทนั ที ซ่งึ จะ
ใชส้ ารชวี ภณั ฑใ์ นการก�ำ จดั หนอน หรอื เมลด็ ทมี่ ากดั กนิ พชื ผกั ทปี่ ลกู จะใช้
สารชีวภัณฑ์ฉีดกำ�จัดแมลงทกุ 3 วนั ใน 1-2 อาทติ ยแ์ รก
สารชวี ภณั ฑ์ คอื สารทใ่ี ชส้ �ำ หรบั ปอ้ งกนั ก�ำ จดั ศตั รพู ชื ทผ่ี ลติ หรอื
พัฒนามาจากส่งิ มีชีวิต ไมว่ า่ จะเป็นพืช สตั ว์ หรอื จุลินทรยี ์ แตไ่ มน่ บั รวม
สารทสี่ กดั หรอื แยกไดจ้ ากสงิ่ มชี วี ติ ทเี่ ปน็ สารเคมเี ชงิ เดย่ี ว เชน่ ไพรที รอยด์
นโิ คตนิ อะบาเมก็ ตนิ ฯลฯ ซงึ่ จะชว่ ยไมใ่ หร้ าก และโคนของพชื ทเ่ี ราปลกู เนา่
ส่ิงที่ใช้ในการบ�ำ รุงผักอีกอยา่ ง คอื ฮอรโ์ มนนมสดไขไ่ ก่ นำ�้ หมัก
มลู ข้วี วั และนำ้�หมกั หน่อกลว้ ยนำ�มาผสมใหเ้ ขา้ กัน และใส่บัวรดนำ้�รดทกุ
อาทิตยใ์ หไ้ ด้ 4 ครัง้ หรือรดทกุ วนั กไ็ ดแ้ ลว้ แตส่ ะดวก ซง่ึ จะช่วยเพม่ิ ธาตุ
อาหารให้แก่ดิน เหตุผลเพราะดินเดิมที่เคยปลูกไปแล้วอาจมีธาตุอาหาร
ไมเ่ พียงพอต่อการปลูกผกั ครั้งใหม่ ซงึ่ ฮอรโ์ มนนมสดไขไ่ ก่ น�้ำ หมกั มูลขวี้ วั
และนำ�้ หมักหนอ่ กลว้ ย จะสามารถเพ่มิ ธาตอุ าหารใหแ้ ก่ดินได้

การปลูกผักบนดาดฟา้

การปลกู ผกั บนดาดฟา้ ของคณุ เจรญิ วฒุ ิ ไตรสวุ รรณ แตเ่ ดมิ ท�ำ งาน
ด้านสถาปนิกอิสระ ได้กลับมาอยู่บ้านท่ีเป็นตึก 4 ช้ันและมีดาดฟ้า
วา่ งอยู่ จงึ มคี วามคดิ วา่ อยากออกแบบท�ำ อยา่ งไรไมใ่ หเ้ กดิ เปน็ ความเปลา่
ประโยชน์บนดาดฟ้าให้เกิดเป็นการใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และแก้ปัญหา

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 109

ท่ีทำ�ให้เกิดอากาศร้อน จึงเร่ิมคิดปลูกผักจากพื้นท่ีบนดาดฟ้ากว่า 100
ตารางเมตร จากที่ไม่ได้มีความรู้ทางด้านการเกษตรเลย และได้ทดลอง
ปลูกทดลองค้นหาไปเร่ือยๆ ต่อมาเริ่มทดลองการใช้ดินในการปลูกผัก
ด้วยตนเอง จนเกดิ เป็นการเรียนร้นู ิสยั ของดินกับพืชทเ่ี หมาะสมกัน เช่น
พชื ชนดิ นจ้ี ะตอ้ งปลกู ดว้ ยดนิ รว่ นปนทราย หรอื ปลกู ดว้ ยดนิ รว่ นอยา่ งเดยี ว
เปน็ ตน้ จงึ ตดั สินใจท่จี ะปลกู ผักไฮโดรฯ จากการใชร้ ะบบโครงเหล็กเป็นตัว
ให้น้ำ�ว่ิงผ่าน และควบคุมการให้นำ้�ด้วยระบบอัตโนมัติ แต่ต่อมาเกิด
ปญั หาผลผลติ ของผักไฮโดรฯ เพ่มิ มากขนึ้ จนลน้ และเกดิ การปนเป้ือนของ
สารเคมี จงึ รอื้ การปลกู ผกั ไฮโดรฯ ออก หันมาปลกู ผกั สวนครวั แทน เช่น
ผกั หวาน ดอกมะลิ ผกั ชฝี รง่ั ชะอม ผกั น�ำ้ ตะไคร้ ผกั บงุ้ มะนาว ถว่ั ฝกั ยาว
แตงกวา กะเพรา โหระพา พริกขหี้ นู อญั ชัน ดอกแค เตยหอม เปน็ ต้น
มีวธิ ีการปลกู ดงั นี้
1. ท�ำ การเพาะตน้ กลา้ จากเมลด็ พนั ธจุ์ นถงึ กลา้ พรอ้ มปลกู ใชเ้ วลา
14-15 วัน
2. เตรียมดินโดยใช้ดินร่วนปนทราย พร้อมกับใช้ใบก้ามปูหมัก
ปยุ๋ คา้ งคาว ปยุ๋ ไสเ้ ดอื น อฐิ และขยุ มะพรา้ ว หลงั จากนน้ั หมกั ทง้ิ ไว้
7-10 วัน ใสด่ ินในถงุ หนักประมาณ 3 กโิ ลกรัม ให้เพียงพอ
กับปริมาณท่ยี กเคลือ่ นยา้ ยได้ไหว
3. จากน้ันน�ำ ไปปลูกในแปลง และท่ีแปลงจะเป็นกระสอบขนาด
หนา้ กว้าง 6 นวิ้
4. ทำ�ชั้นให้เหมาะกับความสูงของผู้ปลูกประมาณ 1 เมตร
เพ่อื ความสะดวกในการดูแล
5. ใชส้ แลนคลมุ เพอื่ ชะลอการรบั แสงแดดโดยตรงของตน้ พชื และ
รับแสงมากเกินไป
110 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

เทคนิคพิเศษการปลกู ของคณุ เจรญิ วุฒิ

1. ในการเตรยี มดนิ ของคณุ วฒุ นิ น้ั ไดใ้ ชว้ ธิ กี ารใชอ้ ฐิ ผสมไปพรอ้ ม
กบั การเตรยี มดนิ เพอ่ื ตอ้ งการทจี่ ะใหร้ ากของพชื เกดิ ความเยน็
มากข้ึน เกิดเป็นช่องว่างในอากาศได้เยอะต่อการปลูกบน
สภาพอากาศท่รี ้อนบนดาดฟ้าท�ำ ใหพ้ ืชไม่เกิดความเหีย่ วเฉา
2. ใช้ถ่านผสมไปกับการเตรียมดิน เพ่ือต้องการให้ถ่านเข้าไป
กำ�จัดโรคที่เกิดจากเชื้อราในดินได้ และสามารถป้องกันการ
ติดเช้ือของรากได้ดี
3. ใชว้ ธิ กี ารจดั หมวดของพชื ทปี่ ลกู เนอื่ งจากสภาพอากาศทร่ี อ้ น
บนดาดฟา้ ตนจงึ แยกออกเปน็ 2 หมวดหมดู่ ว้ ยกนั 1) ชนดิ ที่
โดนแดดไดโ้ ดยไมต่ ้องคลุมแดด เชน่ มะนาว ตะไคร้ เป็นตน้
2) ชนิดท่ีโดนแดดได้ไม่นาน เชน่ ผกั บ้งุ ผกั กาด เป็นตน้
ในการใช้ดาดฟ้าของคุณเจริญวุฒิเพื่อใช้ในการปลูกผักน้ัน
ตอ้ งการทจี่ ะท�ำ ใหเ้ กดิ เปน็ ความเยน็ และตอ้ งการใชพ้ ชื มาคลมุ เพอ่ื ปอ้ งกนั
ความร้อนจากแสงแดดที่มาสะสมอยู่ในพื้นปูนของดาดฟ้า เพราะการ

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 111

ปลูกผักบนดาดฟ้าแบบนี้ลดขยะจำ�พวกเศษอาหาร ท่ีสำ�คัญทำ�ให้ตึก
เย็นลงกว่าเดิมมาก ช่วยให้ประหยัดไฟในการทำ�ความเย็นได้อีกไม่น้อย
เพราะไดจ้ ากน�้ำ ทผี่ า่ นการรดใหก้ บั พชื ไดไ้ หลซมึ สพู่ นื้ ปนู อกี ทง้ั ยงั ไดบ้ รโิ ภค
ผกั ทปี่ ลกู ขนึ้ มาเอง ทม่ี คี วามปลอดภยั สด สะอาดอยตู่ ลอดเวลา สามารถ
ลดความเสี่ยงที่จะต้องออกไปบริโภคผักตามท้องตลาดในสถานการณ์โรค
ระบาดโควิด-19 ได้อีกด้วย พร้อมกับมีชั้นดาดฟ้าที่เกิดเย็นใจในการ
พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ สแลนทคี่ ลมุ ในบางจดุ ท�ำ ใหแ้ ดดในยามนไี้ มร่ อ้ นมากนกั
สอดคลอ้ งกบั ปนู ทไี่ มไ่ ดค้ ลายความรอ้ นออกมา จงึ ท�ำ ใหก้ ารเดนิ ชมแปลง
ผกั บนดาดฟา้ ไดส้ บายๆ เกดิ ความเขียวขจีตา เกิดเปน็ ความสบายใจ

การสร้างความมน่ั คงอาหารในครัวเรอื น สวนผักคนเมือง มบี ัญชี
รายการเมล็ดพันธ์ุท้ังหมด 29 รายการ ซ่ึงเมล็ดพันธุ์แต่ละชนิดเป็น
พันธ์ุพืชท่ัวไปท่ีจะให้สมาชิกไปปลูก ก่อนจะนำ�มาเพาะนั้นต้องมีการ
ตากแดด เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เชื้อราลดลง หากเป็นจำ�พวกถ่ัวฝักยาว
แตงกวา สามารถเพาะลงในกระถางขนาด 8-10 นว้ิ ไดเ้ ลย โดยไมจ่ ำ�เป็น
ต้องให้พืชโดนแสงสวา่ งเตม็ ที่ สามารถน�ำ แก้วพลาสติกเจาะรใู หม้ อี ากาศ
หายใจครอบไว้เพื่อป้องกันแมลง ส่วนพืชพันธ์ชุ นดิ อืน่ สามารถเพาะปลกู
ไดใ้ นภาชนะตามความเหมาะสมไดเ้ ลย เชน่ บวบ ขพ้ี รา้ ฟกั ขา้ ว ควรปลกู
ในภาชนะทสี่ ามารถเลอ้ื ยได้ หรอื มซี มุ้ ใหเ้ กาะเมลด็ พนั ธอ์ุ นิ ทรยี ห์ รอื เมลด็
พันธุ์พื้นเมืองสามารถเก็บอายุการรักษาได้ตลอด แต่มีระยะเวลาการ
เก็บเกยี่ วผลผลติ นาน

112 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

วธิ กี �รดแู ลเมลด็ พนั ธุ์พืช

1. สังเกตเมล็ดพันธุ์ในส่วนของเปลือกว่าเป็นอย่างไร หากเป็น
เปลือกแข็งให้ใช้วิธีการแช่ในน้ำาร้อนหรือนำ้าอุ่น และหาก
เมล็ดพันธ์ุท่ีมีเปลือกบางให้ใช้วิธีของการแช่นำ้า 12 ชั่วโมง
กอ่ นการนำาไปปลกู
สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 113

2. เมื่อได้เมล็ดพันธ์ุพืชมาต้องกระตุ้นก่อน โดยใช้วิธีการนำ�
เมลด็ พันธุม์ าตากแดด เพ่ือฆ่าเชื้อราหรอื ส่งิ ท่ีปนเปอ้ื นมากบั
เมลด็ พนั ธ์ุ และเป็นการกระตนุ้ การงอกของเมลด็ พันธ์ุ

การปลกู ฟา้ ทะลายโจร โดยครูไก่ วุฒศิ ักดิ์ เพ็ชรมีศรี

สรรพคุณของฟ้าทะลายโจร มีสารแอนโดรกราโฟไลด์ท่ีจะช่วย
ในการบรรเทาอาการการติดเช้ือโควิด-19 และบรรเทาอาการเป็นหวัด
แก้เจ็บคอ นำ้�หมกู ไหล การติดเชื้อทางเดนิ หายใจ ซ่ึงการใชฟ้ ้าทะลายโจร
จะใช้เมอ่ื เร่ิมมอี าการ 5 วนั และไมค่ วรเกินจาก 5 วนั ท่มี อี าการ
การเพาะฟา้ ทะลายโจรมี 2 วธิ ี ดังน้ี
1. การเพาะโดยใช้เมล็ด สามารถเก็บรักษาเมล็ดได้ประมาณ
5 เดอื นครงึ่ เรม่ิ ระยะจากการเพาะตน้ ออ่ นทใี่ ชป้ ระโยชนไ์ ด้ ออกใบในการ
เก็บเก่ียวดอกและเมล็ด โดยให้สังเกตดอกของฟ้าทะลายโจรจะมีสีขาว
เมอ่ื ออกดอกประมาณ 1 เดอื นคร่ึงก็จะแก่และแตกกระจาย หลงั จากนัน้
ต้นก็จะตายทันที หรือหากไม่อยากให้ต้นตายไปจะต้องตัดเม่ือเร่ิมออก
ดอก ต้นจะแตกกิ่งและเร่ิมออกดอกใหม่จะต้องทำ�การตัดดอกอีกคร้ัง
เพ่อื รักษาตน้ ทีเ่ ราปลูกเอาไว้

114 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

2. การขยายพนั ธกุ์ งิ่ กง่ิ ของฟา้ ทะลายโจรจะประกอบดว้ ย 3 สว่ น
คือ ลำ�ต้น ใบ ดอก ซ่ึงมีวิธีการเพาะโดยใช้กระทิงแดงที่เป็นยาชูกำ�ลัง
เพื่อเร่งรากและลำ�ต้นแข็งแรงในการดูดน้ำ� โดยจะใช้จำ�นวน 1 ฝา
ใส่ลงไปในน้ำ�เพื่อแช่กิ่งประมาณ 5-10 นาที ในการดูดซึมสารต่างๆ
ทอี่ ย่ใู นกระทงิ แดง โดยใน 1 ตน้ สามารถตดั แยกออกมาไดอ้ กี ประมาณ
4 ต้น ดังนี้

- ราก จะตดั แต่งเพอื่ ทำ�การปักช�ำ โดยการน�ำ ไปแชใ่ นน้ำ�
- ก่ิง จะตดั ในส่วนของกงิ่ โคน กิง่ ปลาย และกิง่ ยอด โดยข้อที่ 1
ของกงิ่ สว่ นลา่ งสดุ จะใชส้ �ำ หรบั การแตกราก ขอ้ ที่ 2-4 จะใชส้ �ำ หรบั แตกกง่ิ
โดยข้อแตกรากจะใชต้ อ้ งเวน้ ไวป้ ระมาณ 1 เซนตเิ มตรเพอื่ ใชใ้ นการปักชำ�
และใหต้ ดั ใบออกใหเ้ หลอื ใบละครงึ่ เพอื่ ลดการคายน�ำ้ และใหน้ �ำ กงิ่ ในสว่ น
ท่ีเตรียมไว้ไปแช่ในน้ำ�ประมาณ 5 นาที ซ่ึงในส่วนของยอดนั้นจำ�เป็น
ต้องแยกกับก่ิงอ่อนและกิ่งแก่ในการปักชำ� โดยจะใช้เวลา 14-15 หรือ
21 วัน ในการออกราก

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 115

วธิ ีการปกั ชำ� มี 2 วิธีดังน้ี
- ก่ิงอ่อนและก่ิงแก่ สามารถนำ�ไปปักชำ�ในภาชนะท่ีเตรียมไว้
ได้เลย เนื่องจากลำ�ต้นมีความแข็งแรงและไม่ส่งผลต่อการฉีกออกของกิ่ง
ในการปักชำ� เมือ่ รากงอกเต็มทก่ี จ็ ะตอ้ งนำ�ไปปลูกในกระถ่าง
- ยอดอ่อน ควรจะใช้ไม้จ้ิมฟันในการเปิดรูก่อนการปักชำ�
ซึ่งไม่ควรท่ีจะปักลงไปโดยตรง เพราะจะทำ�ให้เกิดแผลถลอกได้ง่าย เมื่อ
รากงอก สามารถปลูกไว้ในภาชนะเดิมได้เลยไม่จำ�เป็นต้องย้ายไปปลูก
ในภาชนะอ่นื

116 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ระยะทม่ี สี ารแอนโดรกราโฟไลดท์ ด่ี ที ส่ี ดุ คอื ระยะทอ่ี อกดอกบาน
50% หรอื ประมาณ 120 วัน โดยมีวิธีการนำ�ไปใชด้ งั ตอ่ ไปนี้
- ตัดตั้งแต่โคนและเว้นรากเอาไว้ประมาณ 2-3 ข้อ เพื่อให้
สามารถแตกใหม่ไดอ้ ีก
- ลา้ งท�ำ ความสะอาดและน�ำ ไปตากแดด โดยเลอื กใบทไี่ มม่ เี ชอ้ื รา
ปนเปอ้ื น


การปกั ชำ�ฟ้าทะลายโจร

โดยใชว้ ธิ กี าร 3 ขอ้ ตัด เพราะจะไดจ้ �ำ นวนปริมาณเยอะขน้ึ
ขอ้ 1 ในการขยายพันธุ์พืช ส่วนทีอ่ ยู่ใต้ดนิ คอื ราก
ขอ้ 2-3 สว่ นบนดิน คอื การแตกยอดออก
เหตผุ ลท่ใี ช้ 3 ขนั้ ตอน คอื สามารถขยายพันธ์ุใหไ้ ดจ้ ำ�นวนตน้
มากข้นึ เนอ่ื งจาก 1 ก่ิง สามารถแตกออกมาได้ 3-4 กง่ิ หากมียาชกู ำ�ลงั
กส็ ามารถน�ำ มาผสมน�ำ้ 1 ฝา เพอ่ื ใหใ้ นสว่ นทตี่ อ้ งการปกั ช�ำ ใหม้ ลี กั ษณะ
สดชน่ื ขน้ึ กอ่ นจะปลกู ลงดนิ ระยะเวลา 4–5 วนั จะดไู ดว้ า่ ฟา้ ทะลายโจร
ติดหรือไม่ การรดน�้ำ เช้า 1 ครัง้
หลักจากระยะเวลา 14 วนั รากจะออก และ 1 เดือน จะสามารถ
ปลกู ลงดนิ ได้ และตอ้ งกดดนิ ใหแ้ นน่ กดข้อใหล้ งดินลึกประมาณ 1 ขอ้

วธิ กี ารเตรียมหลุม

1. เตรยี มแผงเพาะขนาด 60 หลมุ ต่อ 1 แผง
2. ใชไ้ ม้นำ� เพ่อื ใหเ้ ป็นหลุม
3. ก่ิงทเ่ี ตรยี มไว้ ใส่ลงในหลุม และใชม้ ือกดดนิ ใหแ้ นน่ ข้นึ ระยะ
เวลา 1 อาทิตย์ จะสามารถดไู ดว้ า่ กิง่ สมบูรณ์หรอื ไม่

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 117

การใช้ตอู้ บพลงั งานแสงอาทติ ยใ์ นการตากฟา้ ทะลายโจร

1. ตอ้ งลา้ งฟา้ ทะลายโจรให้สะอาด
2. ตากลมใหแ้ ห้ง
3. เข้าตู้อบ เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนของอากาศ จะทำ�ให้
แหง้ สนทิ ไมอ่ บั ชน้ื ปลอดภยั จากฝนุ่ ละออง โดยระยะเวลาการตากจะอยทู่ ่ี
2-3 วนั และน�ำ มาใสถ่ งุ มดั ปากถุงให้แนน่

สรรพคณุ ของฟ้าทะลายโจร

ฟ้าทะลายโจร เป็นสมุนไพรที่มีฤทธ์ิเย็น ช่วยปรับลดความร้อน
ในร่างกาย เม่ือมีอาการไข้หวัด ไอ และเจ็บคอ เพ่ือรักษาความสมดุล
ในร่างกาย จึงนิยมใช้ประโยชน์ฟ้าทะลายโจรในการรักษาไข้หวัด
ไข้หวัดใหญ่ บรรเทาอาการอักเสบ เช่น หลอดลมอักเสบ คออักเสบ
และต่อมทอนซิลอกั เสบ ลดการเจริญเตบิ โตของเช้ือโรค เป็นต้น

118 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ดนิ พรอ้ มปลกู และไลแ่ มลง

มสี ่วนผสมดงั น้ี
1. เนอ้ื ดนิ เลอื กหนา้ ดนิ ทม่ี จี ากดนิ ในกระสอบกไ็ ด้ หรอื ดนิ ถมกไ็ ด้
ซง่ึ พอจะมขี ยุ มะพรา้ ว แกลบด�ำ ใบไมแ้ หง้ แตข่ าดธาตอุ าหาร ท�ำ ใหผ้ กั ไมโ่ ต
นำ�ดินมาเทกองในกะบะ
2. ใสเ่ ศษผกั เศษผลไมท้ เ่ี หลอื ท้ิง และสับใหล้ ะเอยี ด
N หาไดจ้ ากผักหรอื ผลไมเ้ ปลอื กสเี ขียว
P หาไดจ้ ากผกั หรอื เปลอื กผลไมส้ เี หลอื ง น�ำ้ ตาล มว่ ง น�ำ้ เงนิ
K ป๋ยุ คอก ก้อนเห็ดหมดอายุ

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 119

3. ปยุ๋ คอก ทม่ี าจากมลู สตั ว์ ตากแดดใหแ้ หง้ ฆา่ เชอ้ื หรอื ไขห่ นอน
ที่อาจผสมมา
4. ใส่ราเขียว นอกจากน้ันยังสามารถใส่เปลือกไข่ สารไล่แมลง
กากชา กลบี ดาวเรอื งลงไปด้วยกัน
5. คลุกด้วยกันกับนำ้�หมักชีวภาพ (ควรหมักเองจากขยะเปียก
ในครวั เรอื น)
6. เทใส่กระสอบทง้ิ นอนไว้และหมั่นพลิกกลบั ไปมา ทิง้ ไวใ้ นทีร่ ม่
ไมต่ ่�ำ กว่า 2 สัปดาห์ กอ่ นนำ�ไปใช้
หมายเหตุ ดินพร้อมปลูกไม่เหมาะที่นำ�ไปปลูกแบบหยอดเมล็ด
ควรเพาะตน้ กลา้ กอ่ นน�ำ ไปปลกู

ก้อนอาหารกลางสำ�หรบั ผกั

ก้อนอาหารกลางสำ�หรับผัก ใช้สำ�หรับเป็นธาตุอาหารให้ผัก
สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในดิน เพิ่มเติมจุลินทรีย์ให้กับพื้นดิน ซ่ึงก้อนอาหารกลาง
สำ�หรบั ผักสามารถอยู่ในดินไดน้ าน โดยจะใช้ประโยชน์จากขา้ วที่เหลือใช้
ในครัวเรอื นมาทำ�เป็นก้อนอาหารสำ�หรับผกั

วิธีทำ�ก้อนอาหารกลางสำ�หรบั ผกั

1. น�ำ ขา้ วสกุ หรอื ขา้ วเสยี ขา้ วเหลอื ทง้ิ ในครวั เรอื น น�ำ มาเทใสถ่ าด
คลุกกบั ขีว้ ัว รำ�ขา้ วหรอื แป้งข้าวสาลี
2. ราดดว้ ยน�้ำ หมกั ชีวภาพ และคลกุ ให้เขา้ กัน

120 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

3. น�ำ กลว้ ยทส่ี กุ งอมแลว้ มาปอกเปลอื ก ขย�ำ กบั กองขา้ ว ปนั้ เปน็
กอ้ นเท่ากำ�ป้ัน
4. นำ�ไปตากแดดให้หมาดประมาณ 30 นาที เก็บไว้ในที่ร่ม
รอจนเกิดฝ้าขาว
5. นำ�ไปฝังในดินกระถางปลูกต้นไม้ให้ผัก และทำ�ให้สิ่งมีชีวิต
ที่อยใู่ นดนิ ดดู กลนื ไปใช้

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 121

การฝึกท�ำ น้ำ�เอนไซม์

การทำ�นำ้�เอนไซม์ ต้องนำ�เศษหรือเปลือกผลไม้มาผสมกับ
น้�ำ เปล่าและน้ำ�ตาลใสข่ วดท้ิงไว้ จะใสไ่ วใ้ นขวดน�ำ้ อัดลมหรอื ขวดน้�ำ ทัว่ ไป
ก็ได้ โดยการทำ�น�ำ้ เอนไซม์ ตอ้ งหมักไว้ในขวดน้�ำ อยา่ งน้อย 7 ถงึ 14 วัน
เมอื่ ครบตามก�ำ หนดเวลาแลว้ ใหน้ �ำ มากรองใสอ่ กี ขวด เพอื่ ใหเ้ หลอื แตน่ �้ำ
เอนไซม์ ปรมิ าณน�ำ้ ตอ้ งมคี วามหวานกวา่ ตวั ทน่ี �ำ มาหมกั คอื เปลอื กผลไม้
ซง่ึ คณุ สมบตั จิ ะไมเ่ หมอื นน�ำ้ หมกั ทวั่ ไป เพราะน�้ำ หมกั ประเภทนจ้ี ะมคี วาม
หอมจากผลไม้ที่นำ�มาหมัก แต่ถ้าหมักเกิน 14 วัน หรือ 1 เดือน
น�้ำ หมกั เอนไซม์ จะกลายเปน็ น�้ำ หมกั ทว่ั ไปทนั ที ซง่ึ กากทกี่ รองออกมาแลว้
จะนำ�ไปทำ�เป็นปุ๋ยหมักโดยไม่ทิ้งให้เสียเปล่า น้ำ�หมักท่ีกรองออกมาแล้ว
จะน�ำ ไปตงั้ เอาไว้ในทร่ี ม่ ไมใ่ หโ้ ดนแสงแดด เหตผุ ลเพราะแสงแดดจะท�ำ ให้

122 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

เกดิ การสลายตวั ของธาตอุ าหาร จะมวี ธิ ใี ช้ คอื ใหร้ นิ ใสฝ่ าขวดน�้ำ ประมาณ
2 ฝา ผสมกบั นำ้�เปล่า 1 ลิตร และน�ำ มาฉดี พน่ ราดรดใหก้ บั พืชผัก หรอื
ตน้ ไมไ้ ด้เลย

วิธีการทำ�นำ�้ เอนไซม์

1. จัดเตรียมอุปกรณ์ ซ่ึงประกอบด้วย ขวดนำ้� เปลือกผลไม้
น้�ำ ตาล น้�ำ สะอาด
2. น�ำ เปลอื กผลไมม้ าท�ำ ความสะอาด ถา้ ผลใหญใ่ หแ้ บง่ เปน็ ชน้ิ เลก็
แล้วใส่ในภาชนะขวดนำ้� ตามอัตราส่วนโดยเหลือพน้ื ทขี่ องภาชนะเพ่อื ให้
อากาศภายในมีการหมนุ เวยี น
3. ปิดฝา และท�ำ ประวตั ติ ิดขา้ งภาชนะดงั นี้
- ชนิดของผลไม้
- วัน เดือน ปี
4. เมอ่ื ไดร้ ะยะเวลา 7-14 วนั แลว้ กรองกากกบั น�้ำ แยกออกจากกนั
5. นำ�ตวั กากท่ไี ดแ้ ยกออกจากน�้ำ แลว้ ไปท�ำ เป็นปยุ๋ หมกั
6. น�ำ น�้ำ ทหี่ มกั แลว้ ประมาณ 2 ฝาของขวดน�ำ้ มาผสมกบั น�ำ้ เปลา่
1 ลิตร และนำ�ไปพ่น หรือรดน�ำ้ ผกั ได้เลย
ส่วนผสมและอุปกรณ์
1. เปลือกผลไม้
2. น�ำ้ ตาลทรายแดง
3. นำ้�เปล่า
4. ขวดนำ้�

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 123

วธิ กี ารท�ำ ถวั่ งอกนาโน

วสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีตอ้ งเตรียม
1. เมล็ดพันธ์ถุ ่วั เขยี ว
2. ตะกร้าเลก็ ๆ ที่บรรจขุ นมจนี
3. ผา้ ขนหนู หรือกระสอบปานทีเ่ กบ็ น้�ำ ได้นาน ให้ความชมุ่ ชนื้
ไดเ้ ปน็ ระยะเวลานาน
4. ถังที่มฝี าปิด หรอื กล่องโฟม และมีรดู ้านลา่ ง

วธิ ีขั้นตอนการท�ำ
1. น�ำ ถ่วั เขยี วมาลา้ งกบั น้ำ�สะอาดเพ่ือคัดเมลด็ เสียออก
2. น�ำ ถว่ั เขยี วทลี่ า้ งแลว้ มาแชน่ �ำ้ โดยจะใชน้ �ำ้ รอ้ น 1 ถว้ ย ผสมกบั
น้ำ�เยน็ 1 ถว้ ย ระยะเวลาในการแชป่ ระมาณ 3 ช่วั โมง
3. น�ำ ผา้ หรอื กระสอบปานทีช่ ุม่ น�ำ้ มาวางในตะกร้า
4. น�ำ เมลด็ ถว่ั เขยี วทแี่ ชน่ �ำ้ ครบ 3 ชว่ั โมงแลว้ มาใสใ่ นกรา้ ทม่ี ผี า้
ชุ่มน�้ำ วางอยู่ และเกลีย่ ให้เมลด็ กระจายโดยไม่ซอ้ นกัน

124 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

5. น�ำ ตะกรา้ อกี ใบมาวา่ งทบั ตะกรา้ ทไี่ ดใ้ สถ่ วั่ เขยี วไปแลว้ แลว้ ท�ำ
แบบเดิมเหมือนกับตะกร้าใบแรก ทำ�แบบน้ีไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพอดี
กับความสงู ของถังทเ่ี ราเตรียมไว้
6. จากนน้ั น�ำ ถว่ั เขยี วทใี่ สต่ ะกรา้ แลว้ น�ำ มาใสใ่ นถงั และปดิ ฝาให้
เรียบรอ้ ย รดนำ�้ ทุก 2 ช่วั โมงเพอื่ ให้เกิดความชื้นอยูต่ ลอดเวลา จะใชเ้ วลา
ประมาณ 3 วนั กส็ ามารถเกบ็ มารบั ประทาน และจ�ำ หนา่ ยได้ หากจะหยดุ
การเจริญเตบิ โต หรือรับประทานไมท่ ันสามารถนำ�มาแชต่ เู้ ย็นได้ ถ่วั งอก
จะอย่ไู ด้ประมาณ 7 วนั โดยไม่มกี ารเจริญเตบิ โต หรือยาวข้ึน

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 125

8

10 ปี

ธรรมนูญลุ่มนํ้ำ�ภูมี

126 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ลมุ่ นำ้�ภมู ีเปน็ 1 ใน 10 ของลุ่มนำ้�ทะเลสาบสงขลา ประกอบดว้ ย
ล�ำ น�ำ้ 35 สาย กนิ พนื้ ที่ 2 อ�ำ เภอคอื ควนเนยี งและรตั ภมู ิ ในอดตี ลมุ่ น�ำ้ ภมู ี
มีความสำ�คัญต่อระบบนิเวศและการก่อต้ังชุมชน เน่ืองจากเป็นพ้ืนที่
ลุ่มน้ำ�ท่ีมีทรัพยากรสมบูรณ์ในทุกด้าน ป่าต้นนำ้�เต็มไปด้วยพืชสมุนไพร
ไม้หายาก แต่มาถึงจุดเปลี่ยนเม่ือมีการให้สัมปทานป่าไม้ พื้นที่กลางนำ้�
มีคลองสำ�คัญคือคลองเคียน ลอดผ่านเขาคูหา ต่อมามีการให้สัมปทาน
ระเบดิ หนิ เขาคหู า และการท�ำ บอ่ ทรายเถอื่ น ปลายน�ำ้ เคยเปน็ ทา่ เรอื ขนสง่
สนิ คา้ มกี ารคา้ ขาย เปน็ แหลง่ สัตว์นำ�้ ทอี่ ุดมสมบูรณด์ ้วยความเป็นทะเล
3 น้ำ� ต่อมาสภาพน้�ำ เปล่ยี นแปลงไป อดตี มคี วามเชอื่ วา่ น้ำ�ทีน่ ่ใี สสะอาด
เป็นน้ำ�ศักด์ิสิทธิ์ ผลจากการใช้ทรัพยากรอย่างไม่คุ้มค่าและไม่เกิด
ประโยชน์ต่อคนส่วนใหญ่ ทรัพยากรค่อยๆ เส่ือมโทรมและหดหายไป
จึงได้เกิดการรวมตัวของคนในพ้ืนท่ีลุ่มนำ้�ข้ึนเป็น “เครือข่ายอนุรักษ์และ
พัฒนาลุ่มนำ้�รัตภูมี” (นำ�ช่ือรัตภูมิมารวมกับภูมี-หมายถึงอาณาจักร
ดนิ แดง) ในปี พ.ศ.2547 น�ำ โดยเครือข่ายเกษตรกรรมทางเลอื ก และกลมุ่
อนุรกั ษ์พันธุกรรมท้องถิน่ น�ำ้ ตก วถิ ี
วฒั นธรรม สภาองคก์ รชมุ ชน ประกอบ
กิจกรรมอนุรักษ์และฟ้ืนฟูสายน้ำ�
ภูมิปัญญา มีการล่องแพแลคลอง
จดั การขยะ ลาพา เชอื่ มโยงเครอื ข่าย
ตน้ น้ำ� กลางน้ำ� ปลายน้�ำ
ต่อมาปี 2552 มีแนวคิด
ท่จี ะจัดทำ� “ธรรมนูญลุ่มนำ้�ภูมี” ขึน้
เพื่อใช้เป็นกติกา ข้อตกลง สัญญา
ระเบียบหรือข้อปฏิบัติ ให้ชุมชนใน

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 127

พนื้ ทล่ี มุ่ น�้ำ ไดใ้ ชใ้ นการจดั สรรทรพั ยากรอยา่ งเปน็ ธรรม ปรารถนาใหม้ คี วาม
สมดลุ กนั ระหวา่ งการพฒั นาทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง บนหลกั ศาสนา
วิถีชวี ติ ภูมปิ ญั ญา ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรมของคนในพน้ื ท่ี
ลมุ่ น�ำ้ ฐานคดิ นร้ี วมกบั จติ ส�ำ นกึ ในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากร น�ำ มาสกู่ ารสรา้ ง
ความตระหนักร่วมกัน หลอมรวมดวงใจของผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องและนำ�
ไปสกู่ ารพฒั นาระบบการเมอื งการปกครองของชมุ ชน ในการดแู ลทรพั ยากร
ในพืน้ ท่ลี ุ่มนำ�้ ภูมี จนแล้วเสรจ็ และประกาศใช้ในปี 2554

เป้าหมายการด�ำ เนินงาน

• เป็นกตกิ าหรอื ข้อตกลงของชุมชนทใ่ี ช้รว่ มกัน
• เพื่อนำ�ไปสู่การสร้างให้เกิดสังคมที่เป็นสุขของคนในชุมชน
ในการจัดการทรพั ยากรอยา่ งเป็นธรรม มีความสมดลุ ระหวา่ ง
การพฒั นาทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง บนฐานหลกั ศาสนา
วถิ ภี มู ิปญั ญา ขนบธรรมเนยี มประเพณวี ฒั นธรรมของท้องถน่ิ
• เพือ่ สร้างจิตสำ�นึก สรา้ งความตระหนักถึงสทิ ธิชมุ ชน ในการ
รว่ มกันจดั การชุมชนท้องถิน่ ตนเอง

128 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

• เพ่ือพัฒนาระบบการเมืองภาคพลเมืองของชุมชนไปสู่การ
จดั การตนเอง ในทกุ ด้านในชุมชนท้องถิน่ ใหไ้ ดจ้ ริง
• ม่งุ ใหช้ ุมชนทอ้ งถ่นิ มอี �ำ นาจในการตดั สินใจ จัดสรรทรัพยากร
ท่ีมีอยู่ของชุมชน บนฐานคิดที่ประชาชนในแต่ละชุมชน
ท้องถ่ิน เข้าร่วมในกระบวนการตัดสินใจอย่างเสมอภาค
เทา่ เทยี ม การตดิ สินใจอยบู่ นพ้ืนฐานของความเป็นเจ้าของที่
เปน็ ผกู้ �ำ หนดเอง และบนพน้ื ฐานความรบั ผดิ ชอบ ความโปรง่ ใส
และตรวจสอบติดตามได้
กระบวนการไดม้ าซง่ึ ธรรมนญู ลมุ่ น�ำ้ ภมู ี ไดม้ ตี วั แทนในทกุ ภาคสว่ น
ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับทรัพยากรในพื้นท่ีลุ่มน้ำ�ภูมี ไม่ว่าจะเป็นตัวแทน
จากชมุ ชน ประชาชน โรงเรียน/มหาวทิ ยาลัย วัด มสั ยิด กลมุ่ องค์กร
สภาองค์กรชุมชน เครือข่ายชุมชน ท้องถนิ่ ทอ่ งที่ หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง
รวมถงึ ภาคเี ครอื ขา่ ยตา่ งๆ ไดช้ ว่ ยกนั ระดมความคดิ ยกรา่ งธรรมนญู ลมุ่ น�ำ้
ภูมีข้ึน จากนั้นได้นำ�ร่างธรรมนูญลุ่มนำ้�ภูมี ไปทำ�การประชาพิจารณ์
ในพ้ืนท่ีต่างๆ โดยจัดเวทีเพ่ือนำ�เสนอร่างธรรมนูญลุ่มนำ้�ภูมี และเปิด
รับฟังความคิดเห็นจากประชาชนและทุกภาคส่วนในพ้ืนท่ีตลอดลุ่มนำ้�
รวม 10 เวที มีผู้เข้าร่วมประมาณ 450 คน จากนั้นได้มีการทำ�การ
ประชาพิจารณ์เวทีใหญ่อีก 1 ครั้ง เพ่ือนำ�เสนอร่างธรรมนูญลุ่มนำ้�ภูมี
ท่ีผ่านการปรับแก้แล้วต่อที่สาธารณะ เพ่ือลงฉันทามติในการรับร่าง
ธรรมนญู ลุ่มนำ�้ ภมู ีและการประกาศใช้
โดยความสนับสนุนจากสำ�นักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งซาติ
(สช.) สถาบนั พัฒนาองคก์ รชมุ ชน (พอช.) เครือขา่ ยสภาองคก์ รชมุ ชน

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 129

7 ขัน้ ตอนดำ�เนนิ การ

1. เปิดเวทีหมู่บ้าน ระดมความคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางท่ีจะ
ท�ำ ให้หม่บู ้าน/ชุมชนท้องถน่ิ อย่เู ย็นเปน็ สุข ในประเดน็ ตา่ งๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง
2. ยกร่างธรรมนูญชุมชน โดยตัวแทนจากชาวบ้านในประเด็น
ตา่ งๆ โดยน�ำ ขอ้ มลู จากเวทหี มบู่ า้ น ในขอ้ (1) มายกรา่ ง พรอ้ มความคดิ เหน็
เพิม่ เตมิ ใหส้ มบูรณค์ รบถว้ นในเร่อื งนั้นๆ
3. นำ�กรอบแนวคิดร่างธรรมนูญชุมชน จัดเวทีในระดับหมู่บ้าน
โดยเชิญทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องกับเร่ืองน้ันๆ แก้ไข เพ่ิมเติม ปรับแก้ให้ตรง
กบั ความตอ้ งการ
4. น�ำ ขอ้ มลู จากเวทที ม่ี กี ารปรบั แกไ้ ขแลว้ ในขอ้ (3) มาจดั ท�ำ เปน็
รูปเล่มรา่ งธรรมนญู ชมุ ชน
5. นำ�รา่ งธรรมนญู ชุมชน จัดเวทปี ระชาพิจารณ์ในระดับหม่บู ้าน
ตำ�บล อำ�เภอ จงั หวัด ล่มุ น�ำ้ เพ่ือให้ชาวบ้านรว่ มรับรองธรรมนูญนี้
6. เม่ือมีการประกาศใช้ธรรมนูญชุมชนแล้ว ควรมีการตั้งคณะ
ทำ�งานข้ึนมา เพ่ือร่วมกันผลักดันให้เกิดการปฏิบัติจริงของทุกภาคส่วน
ตามทีบ่ ญั ญตั ิไวห้ ลงั จากท่ปี ระกาศใชแ้ ลว้
7. การจัดให้มกี ารประชุมประจ�ำ ปี เพ่อื เปน็ เวทที บทวนแผนงาน
ตรวจสอบการนำ�แผนไปปฏิบัติ และนำ�ข้อเสนอของชุมชนท้องถ่ิน
เสนอตอ่ หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งตอ่ ไป

130 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

เนื้อหาหลกั ประกอบดว้ ย 6 หมวด

หมวดที่ 1 ปรัชญาแนวคดิ ของธรรมนูญลมุ่ น้�ำ ภมู ี
ข้อท่ี 1 วัตถปุ ระสงค์ของการจัดท�ำ ธรรมนญู
หมวดที่ 2 ฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม
ข้อที่ 2 ดา้ นการอนรุ กั ษ์
ข้อท่ี 3 ด้านการฟ้ืนฟู
ขอ้ ท่ี 4 ดา้ นการใช้ประโยชน์อย่างย่ังยนื
ข้อที่ 5 แนวทางการแกป้ ญั หาทเ่ี กดิ ในพ้ืนที่
ขอ้ ท่ี 6 การจดั การมลพษิ
หมวดท่ี 3 การศึกษาและพฒั นาคนในล่มุ นำ้�
ขอ้ ท่ี 7 พ้ืนท่กี ารเมอื งภาคพลเมอื ง
ขอ้ ที่ 8 อตั ลกั ษณ์ของพนื้ ท่ี และคนล่มุ น�ำ้
ขอ้ ที่ 9 การสร้างความรู้อยา่ งต่อเนื่อง
(ทัง้ ในระบบและนอกระบบ)
หมวดที่ 4 สทิ ธชิ ุมชนและการอย่รู ว่ มกันของคนในลุ่มน้ำ�
ขอ้ ที่ 11 สทิ ธชิ มุ ชนและการมีสว่ นรว่ ม
หมวดท่ี 5 ลกั ษณะทางสงั คมและวิถีชวี ติ ของคนลมุ่ น�้ำ
ขอ้ ที่ 12 ประเพณีวฒั นธรรม
ขอ้ ท่ี 13 วถิ ชี วี ิต
ข้อท่ี 14 ภูมิปญั ญา
ข้อท่ี 15 ศาสนา
ข้อท่ี 16 การประกอบอาชพี

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 131

หมวดท่ี 6 การบรหิ ารจดั การธรรมนญู บนฐานการมสี ว่ นรว่ ม
ขอ้ ท่ี 17 การจัดการงบประมาณบนฐานการมีส่วน
รว่ มโดยมรี ปู แบบทเี่ หมาะสมกบั คนในพน้ื ท่ี
ลุ่มน้�ำ
ข้อท่ี 18 กลไกหรืองค์กรระดับลุ่มนำ้�ในการบริหาร
จัดการธรรมนูญ

ผลที่ได้

1. เป็นโอกาสให้แกนนำ� ชุมชน ได้มีการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ปญั หาของชมุ ชน ในพนื้ ที่มปี ญั หาหลักๆ คอื ปา่ ไม้ถกู ท�ำ ลาย บ่อทราย
การสมั ปทานเหมอื งหนิ เขาคหู า โรงงานปลอ่ ยน�ำ้ เสยี สารเคมใี นพนื้ ทเ่ี กษตร
ฯลฯ
2. แกนน�ำ ในพนื้ ทเ่ี หน็ ความส�ำ คญั มกี ารจดั กลไกในการเฝา้ ระวงั
และอนุรกั ษ์ทรพั ยากรในพนื้ ท่ี ไดร้ บั ความร่วมมือจากผู้น�ำ ธรรมชาติ เช่น
กลมุ่ อาชีพ กลุม่ แมบ่ ้าน กล่มุ อนุรักษ์ อสม. กลุ่มวทิ ยุ ว.แดง พระสงฆ์
โตะ๊ ครู โตะ๊ อหิ มา่ ม ปราชญ์ ชาวบ้าน NGOs ซ่งึ เป็นพเี่ ลี้ยงหลักในการ
ขบั เคล่ือน และมีผู้นำ�ทางการ ผู้ใหญบ่ า้ น ก�ำ นนั นายกองค์การบริหาร
สว่ นต�ำ บล เกษตรต�ำ บล สาธารณสขุ อ�ำ เภอ พฒั นาชมุ ชน ฝายจดั การน�้ำ ที่
3 ชะมวง

132 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

3. เกดิ การท�ำ งานรว่ มกนั กบั เครอื ขา่ ยภาคตี า่ งๆ เขา้ มาชว่ ยหนนุ
เสรมิ กระบวนการ เชน่ อบต.ทา่ ชะมวง เทศบาลนาสที อง กองประสานงาน
กลางงานวิจัยเพ่ือท้องถิ่นเครือข่ายลุ่มนำ้� เครือข่ายเกษตรกรรมย่ังยืน
สงขลา เครอื ขา่ ยอนุรักษ์พน้ื ทตี่ ้นนำ�้ เขาพระ เครอื ขา่ ยศึกษาและอนุรกั ษ์
ส่ิงแวดลอ้ มและท่องเทีย่ วเชงิ นิเวศลุ่มนำ�้ ภมู ี สภาวัฒนธรรมอำ�เภอรัตภูมิ
คณะกรรมการเครอื ขา่ ยทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ มหมบู่ า้ น วทิ ยาลยั เกษตร
และเทคโนโลยสี งขลาสาขารตั ภมู ิ โรงเรยี นบา้ นคลองคลา้ อ�ำ เภอควนเนยี ง
โรงเรยี นสริ วิ ณั วลี 2 โรงเรยี นบา้ นโคกคา่ ย วดั เจรญิ ภผู า สมาคมเกดิ มาตอ้ ง
ตอบแทนบญุ คุณแผน่ ดิน ฝายส่งน�ำ้ และบำ�รุงรกั ษาท่ี 3 ชะมวง เครือขา่ ย
วิทยุชุมชนสงขลา เครือข่ายบินหลาหาข่าว เครือข่ายอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ�
และกลว้ ยไมป้ า่ รองเทา้ นารเี ขาแกว้ เครอื ขา่ ยเกษตรอาสา ต�ำ บลทา่ ชะมวง
กลุม่ สจั จะลดรายจ่ายวันละ 1 บาท ตำ�บลเขาพระ กลุ่มปา่ ชุมชนจงั โหลน
กลุ่ม อสม. หมู่ท่ี 14 คูหาใต้ กลุ่มเดินไปคุยไปเลาะหาของดีอำ�เภอ
รัตภมู ิ กล่มุ เกษตรชมุ ชนบ้านห้วยโอน กลมุ่ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพบา้ นในไร่
กลุ่มเกษตรธรรมชาตทิ พิ ยค์ รี ี
4. การส่ือสาร การทำ�งานอาศัยการส่ือสารเป็นเครื่องมือสำ�คัญ
ให้ความสำ�คัญกับทุกเพศทุกวัย เน้นการส่ือสารแบบไม่เป็นทางการ
ปากต่อปาก ร้านน้ำ�ชา แผน่ พบั ป้ายประชาสัมพนั ธ์ ผา่ นตวั แทนชมุ ชน
ผ่านจุดประสานงานกลางต้ังแต่ต้นน้ำ� กลางนำ้� ปลายนำ้� ผ่านแกนนำ�
ผ่านส่อื มวลชน ผา่ นระบบอนิ เทอร์เน็ต

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 133

5. การจัดการความรู้ มีการรวบรวมข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชน
สำ�รวจข้อมูลสายน้ำ�ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันรวบรวม
รายงานการประชมุ และมนี วตั กรรมพนื้ ที่ การคน้ หาปญั หาลมุ่ น�ำ้ ดว้ ยการ
เดินสำ�รวจสายน้ำ� ล่องแพแลคลอง โดยกลุ่มนักเรียนร่วมทำ�กิจกรรม
การพัฒนาเส้นทางการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ นวัตกรรมกระบวนการ
ในการพฒั นาสรา้ งสรรคก์ ระบวนการ อาศยั ผสมผสานความรู้ กระบวนการ
เทคนคิ สามารถน�ำ ไปสกู่ ารแกป้ ญั หาลมุ่ น�้ำ อยา่ งไดผ้ ล นวตั กรรมการจดั การ
โดยหน่วยงาน องค์กร ภาคีเครอื ข่ายต่างๆ จัดตงั้ คณะกรรมการทำ�งาน
และคณะกรรมการเฉพาะกิจเพื่อขบั เคลอื่ นธรรมนูญ
6. เปดิ เปน็ พนื้ ทสี่ าธารณะและเชงิ ประเดน็ พลเมอื ง เพอ่ื ใหเ้ กดิ การ
มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น การแสดงความห่วงใยต่อประเด็น
ปัญหา ในรูปแบบประชาสังคม คือ เปิดเวทีประชาพิจารณ์ การรับฟัง
ความคดิ เห็น การประชุมกลมุ่ ยอ่ ย รวมท้งั มกี ารแก้ปญั หาอยา่ งต่อเน่อื ง
ผ่านรปู แบบ “สภาพลเมืองลมุ่ น้�ำ ภมู ี”
7. อำ�เภอรัตภูมิ จัดให้เครือข่ายอนุรักษ์และพัฒนาลุ่มนำ้�รัตภูมี
เปน็ กลไกรว่ มของอ�ำ เภอในการเฝา้ ระวงั และตดิ ตามสถานการณท์ รพั ยากร
ธรรมชาติในพ้นื ที่
8. สร้างความร่วมมือกับภาคการเมืองในการผลักดันให้เกิดการ
แกไ้ ขปัญหาและการจดั การปัญหาอย่างยงั่ ยนื เชน่ มคี �ำ สั่งงดเวน้ ยกเลิก
และชะลอการทำ�บ่อทราย เหมืองหินในพื้นที่ และโรงงานอุตสาหกรรม
ทป่ี ลอ่ ยน้�ำ เสยี

134 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

9. เปลี่ยนพ้นื ทีก่ ารตอ่ สู้เปน็ พ้ืนท่ีเรียนรู้ เชน่ พนื้ ทีเ่ ขาคูหา ได้มี
การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ียวของชุมชนท้ังภายในและภายนอก พ้ืนที่
ป่าต้นน�้ำ เช่น ห้วยไหลแคมปป์ ้ิง ท่องเทย่ี วเกษตร พน้ื ทีป่ ลายน�้ำ เชน่
ฟาร์มทะเล การแปรรูปปลากระบอกเคม็
10. การสรา้ งความรว่ มมอื กบั ทอ้ งถน่ิ หนว่ ยงาน การเมอื ง ในการ
อนรุ กั ษ์ฟ้นื ฟทู รพั ยากร เช่น วันลุ่มน้ำ�ภูมี 13 มถิ ุนายนของทุกปี จดั ให้มี
กจิ กรรมปลูกต้นไม้ ปล่อยพันธ์สุ ัตวน์ ำ�้
11. ประชุมคณะทำ�งานเพื่อจัดกลไกขับเคลื่อนวางการดำ�เนินงาน
ภายใน
12. ร่วมกับเครือข่ายสายนำ้�สีเขียวในการผลักดันการจัดการน้ำ�
ระดับภาค
13. ร่วมกับคณะการจัดการส่ิงแวดล้อม มอ.ในการประเมิน
สิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์เพ่ือการบริหารจัดการน้ำ�ในลุ่มนำ้�ทะเลสาบ
สงขลา
10 ปีผ่านไป เครือข่ายฯ ได้มีการสรุปบทเรียนการใช้ธรรมนูญ
ลุ่มน้ำ�ภูมีพบว่า จุดเด่นของธรรมนูญ เป็นความฝันร่วมของคนในพ้ืนที่
จ�ำ นวนหนง่ึ โดยเฉพาะเครอื ขา่ ย ไดห้ ลอมรวมจติ ใจ ใชอ้ า้ งองิ เพอื่ มสี ว่ นรว่ ม
การพัฒนาให้มีความสมดุล สร้างกระแสทางเลือกการพัฒนาไม่สุดโต่ง
ไปทางใดทางหนงึ่ เชน่ กรณตี า้ นทานการระเบดิ หนิ ทผ่ี ดิ กฏหมาย ชว่ ยเออื้
ให้ชุมชนได้ตระหนักถึงสิทธิพลเมือง สิทธิชุมชนที่จะลุกข้ึนมาต่อสู้ การ
รว่ มมอื กนั ตอ่ ตา้ นการท�ำ บอ่ ทรายเถอื่ น การพฒั นาคนผา่ นโรงเรยี นพลเมอื ง
โรงเรยี นสิทธชิ มุ ชน การรวมตัวเป็นองค์กรสมาคมฯ

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 135

แล้วเป็นความภาคภูมิใจของคนตัวเล็กๆ ท่ีรวมตัวกันประกอบ
กจิ กรรมสาธารณะ เชอื่ มรอ้ ยผคู้ นต้นน้ำ� กลางน้�ำ ปลายนำ�้
มีการผลกั ดันให้มีวันลุ่มน้�ำ ทุกวันที่ 13 มิถนุ ายน เปน็ ต้น
ทว่าก็ยังมีจุดท่ียังต้องผลักดันต่อไป อาทิ การผลักดันให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นนำ�ไปออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น การทำ�งานของ
เครอื ขา่ ยอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาฯ ในสภาพสงั คมทเี่ ปลยี่ นแปลงไป มคี นใหมๆ่
คนรุ่นใหม่เข้ามาในกระบวนการพัฒนา ประกอบกับวิธีการทำ�งานท่ี
เปล่ียนจากเดมิ หรอื การผลกั ดนั รางวลั “คนดีศรภี มู ี”
โดยมแี นวทางท่จี ะดำ�เนนิ การต่อไปดังน้ี
1. ทบทวนการดำ�เนินงานของเครือข่ายอนุรักษ์และพัฒนาฯ
เชอื่ มโยงกลไกการท�ำ งานแบบเครอื ขา่ ยแนวราบ ตน้ น�้ำ กลางน�้ำ ปลายน�ำ้
ประสานเพื่อนใหม่ คนรุ่นใหม่ ขยายผลให้เกิดการรับรู้ร่วมกับหุ้นส่วน
การพัฒนา ที่จะมาร่วมมือกันขับเคล่ือนงานด้วยกันบนฐานเคารพ
ความคดิ ความเช่ือที่แตกต่าง หลากหลายในวิธีการ ท้ังใชง้ บประมาณและ
ไม่ใชง้ บประมาณ แตม่ ีเป้าหมายร่วม มีพืน้ ท่กี ารพูดคยุ ร่วมกัน มีกจิ กรรม
ร่วมกัน เช่น การศึกษา CHIA (การประเมินผลกระทบระดับชุมชน)
สำ�รวจพน้ื ทลี่ ่มุ นำ�้ ขอบเขตคลองให้เปน็ ปจั จุบัน
2. ทบทวนธรรมนูญลุ่มน้ำ�ภูมี ปรับปรุงในส่วนที่ไม่สามารถ
ด�ำ เนนิ การได้ หรอื มเี งอ่ื นไขทเี่ ปลย่ี นแปลงไป ตอ่ ยอดสง่ิ ดๆี ทไ่ี ดท้ �ำ ไปแลว้
ประชาสัมพนั ธส์ รา้ งการรบั รูต้ ่อสาธารณะ

136 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

3. ผลักดันให้วันลุ่มนำ้�มีกิจกรรมที่หลากหลายมากขึ้น พร้อม
ตวั ช้ีวัดคณุ ภาพน้�ำ ปลายทางจะต้องดขี ึ้น เป็นวาระร่วมกันของคนลุม่ น�ำ้
4. พัฒนาคนผ่านโรงเรียนสิทธิชุมชน/โรงเรียนพลเมือง นำ�
กิจกรรมอนุรักษ์และฟื้นฟูเข้าสู่ระบบการเรียนท้ังในระบบและนอกระบบ
(มขี ้อมลู ว่าเดก็ ในพ้ืนท่ีปลายน�้ำ เป็นเด็กฉลาด ได้คะแนนสงู ระดับจงั หวดั
นา่ ศกึ ษาวา่ สัมพันธก์ ับการไดอ้ าหารของพนื้ ทีท่ ะเล 3 นำ�้ หรือไม่)
5. น�ำ ตน้ ทนุ ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ประเพณวี ฒั นธรรม พชื สมนุ ไพร/
ไม้หายาก นิทานพืน้ บ้าน 1,000 เร่อื ง มาตอ่ ยอดสร้างคณุ ค่าเป็นการ
ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ท่องเท่ียวเชิงผจญภัย ฯลฯ เพ่ิมรายได้ให้กับ
ประชาชน

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 137

9

Save หาดม่วงงาม:

การต่อสู้ บทเรียน
และชัยชนะ
ภาคพลเมือง

อภศิ ักดิ์ ทัศนี : Beach for life, กันยายน 2564

138 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ในหว้ งเวลาปที ผี่ า่ นมาจนถงึ วนั นี้ หลายคนคงไดย้ นิ กระแสการตอ่ สู้
ของประชาชนในนาม Save หาดมว่ งงาม ทเี่ ปน็ ทร่ี บั รู้อย่างแพร่หลายวา่
พวกเขาต่อสู้จากประเด็นชายหาดบ้านม่วงงามที่กำ�ลังมีกำ�แพงกันคล่ืน
จากประเดน็ การตอ่ สขู้ องชมุ ชนเลก็ ๆ จนกลายเปน็ กระแสสาธารณะทม่ี กี าร
พูดถงึ ในวงกว้าง #Saveหาดมว่ งงาม ได้ขนึ้ ตดิ เทรนทวติ เตอรใ์ นช่วงตน้
สัปดาห์ของเดือนมิถุนายน 2563 และการต่อสู้ครั้งน้ีประชาชนได้รับ
ชยั ชนะ พวกเขาสามารถปกปอ้ งชายหาดมว่ งงามจากก�ำ แพงกนั คลนื่ ไวไ้ ด้
กรณีการต่อสู้ ความเคลื่อนไหวของประชาชนม่วงงามถือเป็น
บทเรียนการต่อสู้ของภาคประชาชนท่ีสำ�คัญ ถือเป็นหมุดหมายแห่งการ
เปลี่ยนแปลงในประเด็นเรื่องชายหาด และเป็นภาพสะท้อนปัญหาเชิง
โครงการในการด�ำ เนนิ นโยบายของภาครฐั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ในขณะเดียวกัน
การต่อสู้ของประชาชนม่วงงาม ได้สะท้อนการยืนหยัดของประชาชน

ภาพ การแสดงออกเชงิ สัญลกั ษณข์ องประชาชนชาวม่วงงาม

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 139

อย่างหนักแน่นในการปกป้องฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ได้เป็นอย่างดีเช่นกัน หากจะเริ่มต้นทำ�ความเข้าใจเร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนกับ
หาดมว่ งงามและความเคลอ่ื นไหวของประชาชนชาวมว่ งงามนนั้ คงตอ้ งเรม่ิ
จากการรจู้ กั ชายหาดม่วงงามเสียก่อน

หาดม่วงงาม: หาดสมบูรณท์ กี่ �ำ ลงั เปล่ียนไป

ชายหาดมว่ งงาม อำ�เภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ชายหาดสขี าว
ทิวสนรม่ รืน่ หาดที่ไมห่ า่ งไม่ไกลจากตัวเมืองสงขลามากนัก หาดม่วงงาม
ถือเป็นสถานท่ีพักผ่อนหย่อนใจ สถานท่ีท่องเท่ียวของชุมชนและ
ประชาชนละแวกใกล้เคียง ชายหาดม่วงงามในสายตาของคนทั่วไป
คนต่างถ่ินอาจไม่ตา่ งอะไรกบั หาดอื่นๆ และอาจไม่มีความหมายมากนกั
แตส่ �ำ คญั คนมว่ งงามทเี่ กดิ และเตบิ โตบนผนื แผน่ ดนิ มว่ งงาม หาดมว่ งงาม
คอื พ้นื ทีช่ ีวติ และส่วนหน่ึงของความทรงจำ�ของพวกเขา
หาดมว่ งงามไมใ่ ชเ่ พยี งแคห่ าดทรายสขี าว และทวิ สนสเี ขยี ว แตค่ อื
พื้นที่แห่งชีวิตของชาวประมงม่วงงาม ทกุ วนั เราจะพบวา่ มกี ารจบั สตั ว์น้�ำ
หาหอยเสียบ การวางอวนทับตล่ิง รุนเคย การจอดเรือ การตากปลา
และสัตว์น้ำ�ต่างๆ วิถีชีวิตของชาวประมงเกิดข้ึนบนชายหาดแห่งนี้และ
หาดทรายผืนนี้หล่อเล้ียงชีวิต สร้างรายได้กับคนม่วงงามมาช้านาน
ไม่เพียงแต่การทำ�ประมง หาดม่วงงามยังเป็นห้องสปาธรรมชาติ
ขนาดใหญ่ ท่ที ุกเชา้ ๆ คนหนุ่มสาว และผู้สงู อายุของม่วงงามจะจูงมือกัน
มาพรอ้ มกบั จอบ เสยี ม เพอ่ื ขดุ ทรายและนอนฝง่ั ตวั ใหเ้ มด็ ทรายผนื ทราย
ดูดซับและบำ�บัดโรคภัยต่างๆ ในร่างกาย ผู้ใหญ่บางคนมีความทรงจำ�
อันมีคุณค่าในช่วงฤดูวะแตก (ทางระบายน้ำ�จากแผ่นดินลงสู่ทะเล
บริเวณริมทะเลจะเปิดออกเป็นทางด้วยแรงดันของนำ้�จากแผ่นดิน)

140 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

วะแตก กบั การกอ่ กองทราย แบบทเ่ี รยี กวา่ หยอด เจา้ เย่ เปน็ ความทรงจ�ำ
รว่ มบนผนื ทรายแหง่ นข้ี องผใู้ หญท่ ค่ี รง้ั หนงึ่ เคยเปน็ เดก็ หาดมว่ งงามจงึ ไมใ่ ช่
แคผ่ นื ทรายสขี าวท่ไี ร้ชวี ติ แต่เปน็ ผนื ทรายแหง่ ชวี ิตของคนม่วงงาม

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 141

ชายหาดมว่ งงามขาวสวย กวา้ งยาวในชว่ งปลอดมรสมุ และหดสนั้
คลื่นกระหนำ่�ถาโถมฝั่งในยามมรุสม เมื่อคร้ังผ่านมรสุมไปหาดม่วงงาม
คล่นื เด่งิ หรือคลืน่ แตง่ หาดก็จะมีสภาพหาดกว้างยาว เมด็ ทรายขาวดงั เดิม
หาดม่วงงามเป็นเชน่ นมี้ าชา้ นาน แมใ้ นยามมพี ายมุ รสมุ รนุ แรง
ในวันท่ี 4 มกราคม 2561 พายุปาบึกพัดผ่านชายฝ่ังในพื้นท่ี
จังหวัดปัตตานี สงขลา นครศรีธรรมราช สร้างความเสียงหายแก่พ้ืนที่
ชายฝงั่ และบา้ นเรอื นของประชาชนจ�ำ นวนมาก แตส่ �ำ หรบั ชายหาดมว่ งงาม
ซึ่งเป็นพื้นท่ีท่ีพายุพัดผ่านกลับไม่ได้รับความเสียหายแต่อย่างใด ภาพ
เปรยี บเทยี บหาดมว่ งงามในวนั ทพี่ ายเุ ขา้ และหลงั พายพุ ดั ผา่ นไป ชายหาด
ยังคงเหมือนเดิม ไมใ่ ช่เพียงแค่ภาพถา่ ยในช่วงพายุปาบึกพดั ผา่ นเท่านั้น
ทเี่ ปน็ หลกั ฐานยนื ยนั วา่ หาดมว่ งงามไรก้ ารกดั เซาะชายฝง่ั ขอ้ มลู การศกึ ษา
เส้นแนวชายฝ่ัง โดย ผศ.ดร.สมปรารถนา ฤทธ์ิพร้ิง อาจารย์ประจำ�

ภาพ ชายหาดมว่ งงามก่อนพายุบาปกึ พดั ผ่าน 4 มกราคม 2561

ภาพ ชายหาดม่วงงามหลงั พายบุ าปึกพัดผา่ น 10 มกราคม 2561

142 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ภาพ เส้นแนวชายฝั่งชายหาดม่วงงาม พบมีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ

คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ระบวุ า่ พบการกดั เซาะ
และทบั ถมสลับกันไป โดยเกิดการกดั เซาะมากท่สี ดุ ด้วยอัตราการกัดเซาะ
1.946 เมตรตอ่ ปี (การกัดเซาะน้อย 1-5 เมตรต่อปี) และพบการทับถม
มากทส่ี ุดในช่วงเมษายน 2558 ถงึ สิงหาคม 2558 ในอัตรา 4.029 เมตร
ตอ่ ปี ทงั้ นพี้ บวา่ ในภาพรวมตงั้ แตป่ ี 2556 ถงึ 2562 ชายหาดมว่ งงามระยะทาง
630 เมตรในหมู่ท่ี 7 นี้ ชายหาดเกดิ เปลี่ยนแปลงสุทธใิ นลักษณะของการ
ทับถมในอตั รา 1.929 เมตรตอ่ ปี ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั การรายงานสถานภาพ
ชายฝ่ังทะเลที่รายงานต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ โดยกรม
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ ในปี 2561 (กรมทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝงั่ , 2562) ทไ่ี มพ่ บข้อมูลการกัดเซาะชายหาดม่วงงามอยู่ในรายงาน
จากหลักฐานท้ังหมด เป็นท่ีพิสูจน์ได้อย่างเป็นที่ประจักษ์ชัดแจ้ง ไม่ว่า
จะเป็นทางวชิ าการ หรือในสายตาของคนม่วงงามท่ีอยูอ่ าศัยกับชายหาด
ม่วงงาม หาดม่วงงามไร้การกัดเซาะชายฝ่ังอย่างรุนแรง หาดทราย
เปล่ยี นแปลงไปตามธรรมชาติ

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 143

ถึงแม้ว่าชายหาดม่วงงามที่เป็นพ้ืนที่แห่งชีวิต ความทรงจำ�
ของผคู้ นมว่ งงาม และสถานะไรก้ ารกดั เซาะชายฝง่ั อยา่ งรนุ แรง แตห่ ายนะ
ก�ำ ลงั จะเกดิ ขน้ึ กบั หาดมว่ งงาม เมอื่ “ก�ำ แพงกนั คลน่ื ” คบื คลานมาถงึ ……

ก�ำ แพงกนั คล่ืน หายนะชายหาดมว่ งงาม

ก�ำ แพงกันคลื่นหาดมว่ งงาม ถอื เป็นหายนะของชายหาดมว่ งงาม
กอ่ นทจ่ี ะรบั รวู้ า่ หายนะทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ คอื อะไร เราควรท�ำ ความรจู้ กั และเขา้ ใจ
กำ�แพงกันคล่ืนหาดม่วงงามเสียก่อน “กำ�แพงกันคล่ืน” เป็นโครงสร้าง
ป้องกันชายฝั่งรูปแบบหน่ึง กำ�แพงกันคล่ืนมักสร้างติดประชิดชายฝ่ัง
มหี นา้ ทป่ี กปอ้ งแผน่ ดนิ ดา้ นหลงั ก�ำ แพงกนั คลนื่ ไมใ่ หเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง
จากอิทธิพลของคลื่น ถึงแม้กำ�แพงกันคลื่นจะป้องกันแผ่นดินด้านหลัง
ไม่ให้เปล่ียนแปลงก็จริงอยู่ แต่การสร้างกำ�แพงกันคล่ืนนั้นมีราคาที่ต้อง
จ่ายสูงมากเช่นกัน
กำ�แพงกันคล่ืนหาดม่วงงาม หรือโครงการก่อสร้างเข่ือนป้องกัน
ตล่ิงริมทะเล พร้อมปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั น์พ้ืนทช่ี ายฝ่ังมว่ งงาม อำ�เภอสิงนคร
จงั หวดั สงขลา ด�ำ เนนิ โครงการโดยกรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง โดยโครงการ
นมี้ ที ัง้ หมด 3 เฟส ซ่งึ เฟสที่ 1 ความยาว 710 เมตร (หมทู่ ี่ 7) เฟสท่ี

144 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

2 ความยาว 910 เมตร (หมทู่ ี่ 8, 9) เฟสท่ี 3 ความยาว 1,000 เมตร
(หม่ทู ี่ 9) โดยโครงสรา้ งก�ำ แพงกนั คลนื่ ชายหาดม่วงงามท้ัง 3 เฟสน้ัน
มรี ปู แบบลกั ษณะเปน็ ก�ำ แพงกนั คลน่ื แบบขนั้ บนั ได ความยาวโดยรวมของ
กำ�แพงกนั คล่นื (จากฝ่งั ถงึ ทะเล) 21 เมตร มรี ปู แบบแปลนดังภาพ
ก�ำ แพงกนั คลนื่ หาดมว่ งงาม ถอื เปน็ หายนะของชายหาด เนอื่ งจาก
ผลกระทบของกำ�แพงกันคลื่นที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งอย่าง

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยืน 145

ถาวร การทำ�งานวชิ าการของกลุม่ Beach for Life ได้รวบรวมผลกระทบ
ของก�ำ แพงกนั คลน่ื โดยเทยี บเคียงบทเรยี นจากพน้ื ทีต่ า่ งๆ ดงั น้ี
- การก่อสร้างกำ�แพงกันคล่ืนชายหาดม่วงงามนั้น ต้ังอยู่บน
ชายหาด จากแบบแปลนโครงสรา้ งบา้ งสว่ นของก�ำ แพงกนั คลนื่ ยนื่ ล�้ำ ลงไป
ในทะเล ซึ่งคลื่นสามารถขึ้นมาถึง ทำ�ให้คล่ืนปะทะกำ�แพงกันคลื่นและ
ตะกรุยทรายหน้ากำ�แพงกันคล่ืนออกไป จนทำ�ให้ท้องนำ้�หน้ากำ�แพง

ภาพ เปรยี บเทยี บชายหาดปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์
ปี 2010-2019 ชายหาดหายไป หลังสร้างกำ�แพงกันคล่ืน

146 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9

ภาพ ชายหาดทรายแก้ว สรา้ งกำ�แพงกันคล่ืนชายหาดหายไป
และเกดิ การกัดเชาะชายฝง่ั ต่อเน่อื ง

ภาพ ชายหาดอ่าวน้อยกอ่ นและหลงั มกี �ำ แพงกนั คล่ืน

กนั คลน่ื ลกึ ขน้ึ ท�ำ ใหช้ ายหาดทเี่ คยมหี นา้ ก�ำ แพงกนั คลน่ื หายไปอยา่ งถาวร
ดังเชน่ กรณชี ายหาดปราณบรุ ี ชายหาดอ่าวน้อย จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์
และหาดทรายแกว้ จงั หวดั สงขลา

สงขลาปลอดภัยอย่างยั่งยนื 147

- ในช่วงมรสุม คล่ืนท่ีปะทะกำ�แพงกันคลื่นจะมีความรุนแรง
มากขึน้ และคลน่ื จะกระโจนข้ามกำ�แพงกนั คล่ืนเข้ามาในแผน่ ดนิ นำ�้ เคม็
ดิน และเศษขยะจากทะเลจะถูกคลื่นซัดข้ามก�ำ แพงเขา้ มา และไอน้ำ�เค็ม
ทปี่ ะทะจากก�ำ แพงกันคลน่ื จะฟ้งุ ไปไกล ทำ�ใหส้ าธารณปู โภค บ้านเรือน
ของประชาชนไดร้ ับความเสียหายจากไอนำ้�เค็ม
- ผลกระทบที่ร้ายแรงที่สุดคือ เม่ือก่อสร้างกำ�แพงกันคล่ืนหาด
ม่วงงามระยะที่ 1 ความยาว 710 เมตรแลว้ น้ัน จะเกดิ การกดั เซาะชายฝ่งั
อย่างรุนแรงด้านท้ายน้ำ�ของกำ�แพงกันคล่ืน น้ันหมายความว่า ระยะท่ี
711 เมตรเปน็ ตน้ ไปนนั้ จะเกดิ การกดั เซาะชายฝงั่ อยา่ งรนุ แรง ซง่ึ ผลกระทบ
ในประเด็นนี้นั้นกรมโยธาธิการและผังเมืองทราบดี และเพราะมีระบุอยู่

ภาพ คล่ืนปะทะก�ำ แพงกันคล่ืน บริเวณบ้านหนา้ ศาล จงั หวัดนครศรธี รรมราช

148 ผีเสื้อขยับปีก เล่ม 9


Click to View FlipBook Version