The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padayanang, 2022-04-23 20:18:38

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

กระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครผู สู้ อนทีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั
วิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย

มณู ดีตรุษ

ตาแหนง่ รองผ้อู านวยการ
วทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

กิตติกรรมประกาศ

ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ ว่าท่ีร้อยเอกอเนก แสนมหาชัย ผู้อานวยการวิทยาลัย
การอาชพี ด่านซา้ ย จังหวดั เลย ที่ได้กรณุ าให้คาแนะนาปรึกษาตลอดจนแนวทางในการศึกษาวิจัย
จนเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ ตลอดจนอานวยความสะดวก ให้การสนับสนุนในการจัดทาวิจัยในครั้งนี้
และขอขอบพระคุณ ผ้อู านวยการวทิ ยาลยั สังกัดอาชวี ศกึ ษาจังหวัดเลย ท่ีให้ความอนุเคราะห์ในการ
ให้ผู้เรียนตอบแบบสอบถามในการหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม และขอขอบคุณ
ผู้เช่ียวชาญที่ได้กรุณาตอบแบบสอบถาม เพ่ือหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับ
วัตถุประสงคก์ ารวดั ตามนิยามศพั ท์

ขอขอบคุณบุคลากรวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้ายทุกท่าน ท่ีคอยให้กาลังใจและให้ความ
ชว่ ยเหลอื ผูว้ จิ ัยด้วยดีเสมอมา และขอขอบคณุ ผ้ทู ี่อยูเ่ บอ้ื งหลังทุกท่านท่ีไม่ไดก้ ล่าวถงึ ณ ทนี่ ี้

ท้ายน้ีผู้วิจัยขอกราบระลึกถึงพระคุณบิดา มารดา ญาติพี่น้องทุกท่าน ตลอดจนคณะครู-
อาจารย์ทกุ ทา่ นที่อบรม ส่ังสอน จนสามารถสาเรจ็ การศกึ ษาตามเป้าหมายที่ได้ต้ังใจไว้ ส่งผลให้
สามารถนาความรู้ท้ังมวลมาดาเนนิ การจัดทางานวิจยั ฉบบั น้ี

มณู ดตี รษุ

มณู ดีตรุษ : กระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครูผูส้ อนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ
วิทยาลยั การอาชีพด่านซ้าย จงั หวดั เลย

บทคดั ยอ่

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน
ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย 2) เพ่ือสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรม
การสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 3) เพ่ือศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบ
กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผสู้ อนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การวิจัยครั้งน้ี 1) กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ใน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย โดยแบบสอบถาม คือ ครูผู้สอน จานวน 31 คน
ผู้เรียน จานวน 190 คน 2) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับสภาพการจัด
กจิ กรรมการเรียนรใู้ นปจั จบุ นั คือ ครผู สู้ อน จานวน 9 คน ผู้เรียน จานวน 19 คน ผู้บริหาร
จานวน 11 คน ผู้ปกครอง จานวน 7 คน 3) กลุ่มเป้าหมายท่ีเป็นผู้วิเคราะห์ SWOT เก่ียวกับ
ทรัพยากรทส่ี นับสนนุ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ ผู้บริหาร ครูผู้สอน
ผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย จานวน 50 คน 4) กลุ่มเป้าหมายที่เป็น
ผู้เช่ียวชาญในการตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความเป็น
ประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
จานวน 7 คน โดยใชร้ ะเบยี บวธิ วี ิจัยแบบผสม มวี ิธีการวจิ ยั 4 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 1) ศึกษา
เอกสารและงานวิจัย 2) วิธีวิจัยเชิงสารวจ 3) วิธีพหุกรณีศึกษา 4 ) วิธีประชุมปฏิบัติการเชิง
วิชาการ 5) จัดทากระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ระยะท่ี 2 1) ประชุมสนทนากลุ่มเพื่อหาฉันทามติ 2) สรุปผลและปรับปรุงกระบวนการพัฒนา
พฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ระยะท่ี 3 1) การตรวจสอบความ
เหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความเปน็ ประโยชน์ 2) ประชุมสนทนากลุ่มเพื่อ
หาฉันทามติ ระยะที่ 4 1) ประเมินรูปแบบ 2) ทดลองใช้ 3) ติดตาม นิเทศ 4) ปรับปรุง
รูปแบบ

ผลการวิจยั สรุปได้ดังนี้
1 ผลการศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้าย จังหวัดเลย พบว่า 1) ครูผู้สอนไม่ได้สารวจความต้องการ และสภาพของผู้เรียน
ก่อนการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ 2) ผู้เรียนไม่มีความสนใจในการมีส่วนร่วมในการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้ 3) ผูเ้ รียนไดม้ ีโอกาสฝกึ ทกั ษะโดยกระบวนการกลุ่ม เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้
และปฏสิ ัมพนั ธ์กนั คอ่ นขา้ งน้อย 4) ครผู ู้สอนมกี ารวดั ผลประเมินผลไม่หลากหลาย และจัดทา



เกณฑ์การประเมินผลไม่ชัดเจน 5) ครูผสู้ อนขาดทักษะในการจัดทาแผนการเรียนรู้ 6) ครูผู้สอน
ไม่ได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการเรียนรู้ที่ได้กาหนดไว้ 7) ครูผู้สอนขาดทักษะในการ
กระตุ้นเร้าให้ผู้เรียนสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 8) ผู้เรียนขาดทักษะในการคิด
แก้ปัญหา และวางแผนแก้ปัญหา 9) ครูผู้สอนและผู้เรียนไม่ได้มีการวิเคราะห์ข้อมูล/ความรู้
รว่ มกัน เพือ่ สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้

2 การสร้างรปู แบบกระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครผู ู้สอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ ได้กาหนดรูปแบบ คือ 1) การเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (1) สารวจความ
ตอ้ งการของผเู้ รยี น (2) วเิ คราะห์หลักสตู รและคาอธิบายรายวชิ า (3) การจัดทาแผนการเรียนรู้/
โครงการเรียนรู้ (4) การกาหนดส่ือการเรียนรู้ (5) การจัดเตรียมแหล่งเรียนรู้ (6) การกาหนด
พฤติกรรมการประเมนิ ผล 2) การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (1) การนาเข้าสู่บทเรียน/เสนอปัญหา/
ประเดน็ (2) ศกึ ษาวเิ คราะห์ กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นคิดแก้ปัญหาและวางแผนแก้ปัญหา (3) การเก็บ
ข้อมูล/การค้นคว้าหาความรู้ (4) การวิเคราะห์ข้อมูล/รวบรวมข้อมูล เสนอผลการเรียนรู้
(5) สรุปและประเมนิ ค่าคาตอบ (6) การปรับปรุงการเรียนรู้และนาไปใช้ 3) การประเมินผลตาม
สภาพจริง (1) ความหมายของการประเมินผลตามสภาพจริง (2) ลักษณะสาคัญของการ
ประเมินผลตามสภาพจริง (3) แนวทางการนาวิธีการประเมินผลตามสภาพจริงไปใช้ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ (4) สิ่งที่ควรคานึงถึงเก่ียวกับการประเมินผลตามสภาพจริง (5) วิธีการ
ประเมินผลตามสภาพจริง (6) การนาแนวคิดการประเมินผลตามสภาพจริงไปใช้ในการจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้ 4) การนเิ ทศกระบวนการเรยี นรู้ (1) ความหมายของการนิเทศกระบวนการ
เรียนรู้ (2) กระบวนการการนิเทศการจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ นช้นั เรียน

3 การตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความเป็น
ประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

พบว่า อยู่ในระดับมากทสี่ ุด ( = 4.67,  = 0.03) เม่ือพิจารณาตามรายการพบว่า รายการท่ี

มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ด้านความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.74,  = 0.97)

รองลงมา คือ ด้านความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.71,  = 0.10) ส่วน

รายการที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ด้านความสอดคล้อง อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.57,  =
0.21) และผลจากการประชุมกลุ่มเพื่อหาฉันทามติเกี่ยวกับความเหมาะสม, ความเป็นไปได้,
ความสอดคล้อง และความเป็นประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีความคิดเห็นว่า รูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้
ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม เป็นไปตามจริง และสามารถนารูปแบบการเรียนรู้ที่เน้น
การปฏิบตั ิซ่ึงใชป้ ัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลมุ่ ไปใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ได้ คิดเป็นร้อย
ละ 100



4 การทดลองใช้กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียน
เปน็ สาคัญ จากการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวัดเลย ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 2 ครั้ง นั้น คร้ังท่ี 1 ค่าเฉล่ียผลการ
นิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน เป็น 2.46 อยู่ในระดับพอใช้ และแจ้งผลการ
ประเมินใหค้ รผู สู้ อนทราบ โดยเสนอแนะขอ้ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ
การเรียนรู้ที่เนน้ การปฏบิ ัติซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม และดาเนินการนิเทศการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในคร้ังที่ 2 ค่าเฉล่ียผลการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน
เปน็ 2.77 อยใู่ นระดบั ดี

ผลจากการวจิ ัยในช้นั เรียนของครูผู้สอน โดยการนาเอารูปแบบการเรียนรู้ที่เน้น
การปฏิบัติซึ่งใชป้ ัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม ท่ีได้มีการพัฒนาอย่างเป็นระบบเป็นผลทา
ใหผ้ ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผู้เรียนสูงข้ึน กล่าวคือ เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่าผู้เรียนที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้
ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลมุ่ มีคะแนนเฉลยี่ ของทักษะหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และเม่ือพิจารณาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน พบว่า
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนท่ีใช้กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐาน
โดยกระบวนการกลุ่มคดิ เปน็ ร้อยละ 82.21 ซ่งึ ถอื ว่าสงู กว่าเกณฑ์มาตรฐาน (รอ้ ยละ 80)

และพบว่าผู้เรียนท่ีเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้ปัญห า
เป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่มในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่าการจัด
กิจกรรมการเรียนรใู้ นรปู แบบอื่นในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2554 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี
ระดับ .05

สารบัญ หน้า

กติ ติกรรมประกาศ 1
บทคดั ยอ่ ภาษาไทย 1
สารบัญ 4
สารบญั ตาราง 4
สารบญั ภาพประกอบ 4
บทที่ 1 บทนา 6
6
1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของการวจิ ัย 9
1.2 คาถามการวิจัย 9
1.3 วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย
1.4 ขอบเขตของการวจิ ยั 11
1.5 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ
1.6 นิยามศพั ท์เฉพาะ 13
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ ง 49
2.1 พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 4 62
72
แนวการจัดการศกึ ษา 78
2.2 ลกั ษณะกระบวนการเรยี นรูท้ ่พี งึ ประสงค์ ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษา 85
85
แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 85
2.3 การจัดกิจกรรมการเรียนร้ทู ่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 87
2.4 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผเู้ รยี น
2.5 การประเมินผลตามสภาพจรงิ 96
2.6 พฤตกิ รรมของผ้เู รียน
2.7 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง
บทที 3 วิธดี าเนนิ การวิจัย
3.1 วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั
3.2 การพัฒนากระบวนการ
ระยะท่ี 1 การศกึ ษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครผู ู้สอน ในวทิ ยาลัย

การอาชีพดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย
ระยะท่ี 2 การสร้างรูปแบบการสอนของครูผู้สอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ

ระยะท่ี 3 การตรวจสอบความเหมาะสม, ความเปน็ ไปได,้ ความสอดคลอ้ ง 97



และความเป็นประโยชน์ ของกระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการ 100
สอนของครผู ู้สอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสาคญั
ระยะท่ี 4 การทดลองใชก้ ระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครูผสู้ อน 106
ทเี่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ 106
บทท่ี 4 การวิเคราะหข์ อ้ มูล
4.1 ผลการศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวทิ ยาลยั การอาชีพ 127
ด่านซา้ ย จงั หวดั เลย 129
4.2 ผลการสรา้ งรปู แบบกระบวนการสอนของครผู ู้สอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ
4.3 ผลการตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคลอ้ ง 135
และความเป็นประโยชน์ ของกระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอน
ของครผู ู้สอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ 138
4.4 ผลการทดลองใช้กระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอนของครผู ้สู อน 138
ที่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ 138
บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ัย อภปิ รายผล และขอ้ เนอแนะ 138
5.1 วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 140
5.2 การพัฒนากระบวนการ 141
5.3 วธิ ดี าเนนิ การวิจยั 152
5.4 สรุปผลการวิจัย 154
5.5 อภิปรายผลการวิจัย 162
5.6 ข้อเสนอแนะ 163
บรรณานุกรม
ภาคผนวก 195
ภาคผนวก ก การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้องการจัดการเรยี นรู้
ทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคญั 243
ภาคผนวก ข การศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครผู สู้ อน
ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซา้ ย จงั หวัดเลย 276
ภาคผนวก ค การตรวจสอบเอกสารการสอน และการสังเกตการสอนในชัน้ เรียน 343
ของครผู สู้ อน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซา้ ย
ภาคผนวก ง การสัมภาษณ์เชิงลกึ เกย่ี วกับสภาพการจัดการเรยี นรูใ้ นปจั จบุ นั 355
ภาคผนวก จ การวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรพั ยากรในการสนบั สนุน
กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ของครูผสู้ อน 366
ภาคผนวก ฉ การประชมุ หวั หนา้ สาขาวิชา เพือ่ สรุปผลการศึกษาสภาพพฤตกิ รรม
การสอนของครผู ู้สอน
ภาคผนวก ช รูปแบบการเรียนร้ทู เี่ นน้ การปฏบิ ตั ซิ ึง่ ใช้ปัญหาเป็นฐาน



โดยกระบวนการกลมุ่ 370
ภาคผนวก ซ การประชมุ สนทนากลมุ่ กับหวั หนา้ สาขาวชิ าเพ่อื หาฉนั ทามติ 385
403
ในรปู แบบการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ การปฏิบัตซิ ง่ึ ใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน
โดยกระบวนการกลุ่ม 420
ภาคผนวก ฌ รา่ งรูปแบบการใช้รูปแบบการเรียนรทู้ ่ีเนน้ การปฏิบตั ซิ ่งึ ใช้ปญั หา
เปน็ ฐานโดยกระบวนการกลุ่ม 433
ภาคผนวก ญ การตรวจสอบความเหมาะสม, ความสอดคล้อง, ความเป็นไปได้ 440
และความเป็นประโยชนต์ อ่ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ของ 460
รูปแบบการเรียนร้ทู ่เี นน้ การปฏิบตั ซิ ึ่งใชป้ ญั หาเป็นฐาน 477
โดยกระบวนการกลุ่ม
ภาคผนวก ฎ การประชมุ สมั มนากลมุ่ เพ่ือหาฉนั ทามตเิ กย่ี วกบั ความเหมาะสม,
ความสอดคลอ้ ง, ความเปน็ ไปได้และความเปน็ ประโยชน์ ต่อการจดั
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ของรูปแบบการเรยี นรทู้ ่เี นน้ การปฏิบัติ
ซ่งึ ใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน โดยกระบวนการกล่มุ
ภาคผนวก ฏ การประชุม ทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏบิ ัตซิ ึ่ง
ใชป้ ญั หาเป็นฐาน โดยกระบวนการกล่มุ เพ่ือประเมินและแกไ้ ข
ปญั หา
ภาคผนวก ฐ ผลการสังเกตการสอนตามรปู แบบการเรยี นร้ทู เ่ี นน้ การปฏบิ ตั ิ
ซึ่งใชป้ ญั หาเปน็ ฐานโดยกระบวนการกลมุ่
ภาคผนวก ฑ คมู่ อื การใชร้ ูปแบบการเรยี นรู้ที่เน้นการปฏบิ ตั ิซึง่ ใช้ปัญหาเป็น
ฐานโดยกระบวนการกลุ่ม
ภาคผนวก ฒ ผลการนิเทศการจดั การเรยี นรู้ของครูผสู้ อน ภาคเรียนท่ี 2
ปีการศกึ ษา 2556



สารบญั ตาราง

ตารางที่ หนา้

1 ระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน 74

2 การคานวณสัดส่วนจากขนาดกลมุ่ ตัวอย่าง 90

3 การสุ่มตัวอย่างแบบชนั้ ภูมขิ องผ้เู รียน 90

4 สรุปวธิ กี าร เครอื่ งมอื การวิเคราะห์ข้อมูล และระยะเวลาในการวิจยั 103

5 ผลการประเมิน รูปแบบการเรยี นรู้ท่ีเน้นการปฏิบตั ซิ ่ึงใชป้ ญั หาเป็นฐานโดย 129

กระบวนการกลุ่ม

6 ผลการประเมนิ รปู แบบการเรียนรทู้ เี่ นน้ การปฏิบัติซงึ่ ใชป้ ัญหาเป็นฐานโดย 130

กระบวนการกลมุ่ ด้านความเหมาะสม

7 ผลการประเมนิ รปู แบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏบิ ตั ซิ งึ่ ใชป้ ญั หาเปน็ ฐานโดย 131

กระบวนการกลุ่ม ด้านความเป็นไปได้

8 ผลการประเมนิ รปู แบบการเรยี นรูท้ เ่ี น้นการปฏบิ ตั ซิ ่งึ ใช้ปญั หาเป็นฐานโดย 132

กระบวนการกลุ่ม ด้านความสอดคลอ้ ง

9 ผลการประเมิน รูปแบบการเรียนรู้ทเ่ี น้นการปฏบิ ตั ซิ ึ่งใชป้ ัญหาเป็นฐานโดย 134

กระบวนการกลมุ่ ด้านความเป็นประโยชน์

10 คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานสภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนรขู้ องครผู ู้สอนใน 198

วทิ ยาลยั การอาชพี ด่านซา้ ย จงั หวัดเลย

11 ค่าเฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานขั้นเตรียมการ 199

12 คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานการเตรียมตนเอง 199

13 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานการเตรียมแหล่งข้อมลู 200

14 คา่ เฉล่ยี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการจัดทาแผนการเรยี นรู้ 202

15 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานขน้ั ดาเนินการ 203

16 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานการจดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นไดค้ ้นพบคาตอบด้วย 203

ตนเอง

17 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานการจดั กิจกรรมให้ผู้เรยี นมโี อกาสปฏิสัมพนั ธ์กับ 204

เพือ่ นและกลุ่มและแหล่งเรยี นรู้หลากหลาย

18 คา่ เฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานการจัดกจิ กรรมเคลื่อนไหวทางกายอย่างเหมาะสม 206

กับวยั และความสนใจ

19 คา่ เฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการเรยี นรู้ตามกระบวนการตา่ งๆ 207



20 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานการนาความรไู้ ปประยุกต์ใช้ 208

21 คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานข้นั ประเมนิ ผล 209

22 คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานวัดผลและประเมนิ ผลด้วยวธิ ีการท่หี ลากหลาย 209

23 คา่ เฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานวัดผลและประเมินผลตามสภาพจรงิ 211

24 คา่ เฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานวดั ผลและประเมินผลจากแฟม้ สะสมผลงาน 212

25 การหาค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ คาถามกับวัตถุประสงค์การวัดตามนิยาม 229

ศัพท์ (IOC)

26 ผลการตรวจแผนการเรียนรู้ 255

27 ผลการสงั เกตการสอนในช้ันเรียนของครูผู้สอน 267

28 แสดงข้อมลู สภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ขู องครผู ูส้ อนวิทยาลยั การอาชีพด่านซา้ ย 288

จังหวดั เลย โดยครูผู้สอน

29 การหาค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งข้อคาถามกับวัตถปุ ระสงคก์ ารวดั ตามนิยาม 301

ศพั ท์ (IOC)

30 แสดงขอ้ มลู สภาพการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูข้ องครผู สู้ อนวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย 302

จงั หวัดเลย โดยผเู้ รียน

31 การหาค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ คาถามกบั วตั ถปุ ระสงคก์ ารวดั ตามนยิ าม 316

ศัพท์ (IOC)

32 แสดงขอ้ มูลสภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องครูผสู้ อนวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย 317

จงั หวดั เลย โดยผูบ้ รหิ าร

33 การหาคา่ ดัชนีความสอดคล้องระหวา่ งข้อคาถามกับวัตถุประสงค์การวัดตามนยิ าม 332

ศพั ท์ (IOC)

34 แสดงข้อมลู สภาพการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูข้ องครูผู้สอนวทิ ยาลัยการอาชีพด่านซ้าย 333

จงั หวดั เลย โดยผู้ปกครอง

35 การหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหวา่ งขอ้ คาถามกับวัตถุประสงค์การวดั ตามนิยาม 342

ศพั ท์ (IOC)

36 แสดงขอ้ มลู การวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนนุ กระบวนการ 347

จดั กจิ กรรมการเรยี นรขู้ องครูผู้สอน

37 สรุปการแสดงความคดิ เหน็ ของหัวหนา้ สาขาวชิ า ตอ่ รปู แบบการเรยี นรูท้ ่เี น้นการ 381

ปฏิบตั ิซึ่งใช้ปญั หาเป็นฐานโดยกระบวนการกล่มุ

38 การหาคา่ ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกบั วัตถุประสงค์การวดั ตามนิยาม 384

(IOC)



39 ผลการประเมนิ รูปแบบการเรยี นรู้ที่เนน้ การปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเปน็ ฐานโดย 404
กระบวนการกลุ่ม 405
406
40 ผลการประเมินรปู แบบการเรียนรทู้ ่เี น้นการปฏิบตั ิซง่ึ ใช้ปญั หาเป็นฐานโดย 407
กระบวนการกลุม่ ด้านความเหมาะสม 408
417
41 ผลการประเมนิ รปู แบบการเรยี นรูท้ ่เี นน้ การปฏบิ ัติซึ่งใช้ปัญหาเปน็ ฐานโดย 432
กระบวนการกลมุ่ ดา้ นความเป็นไปได้

42 ผลการประเมนิ รปู แบบการเรียนร้ทู เี่ น้นการปฏบิ ัติซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดย
กระบวนการกลุม่ ด้านความสอดคลอ้ ง

43 ผลการประเมินรูปแบบการเรียนรูท้ เ่ี นน้ การปฏบิ ตั ิซ่งึ ใชป้ ญั หาเปน็ ฐานโดย
กระบวนการกลุ่ม ดา้ นความเปน็ ประโยชน์

44 การหาคา่ ดัชนีความสอดคล้องระหวา่ งขอ้ คาถามกบั วัตถปุ ระสงคก์ ารวดั ตามนยิ าม
ศพั ท์ (IOC)

45 สรุปการแสดงความคดิ เห็นของคณะกรรมการบรหิ ารสถานศกึ ษาเพือ่ หาฉนั ทามติ

สารบัญภาพประกอบ

ภาพประกอบที่ สาระสาคัญเกยี่ วกับการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ทู ่เี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ หนา้
1 วธิ ดี าเนนิ การวจิ ัย 9
2 แสดงข้นั ตอนการสร้างเคร่อื งมอื 86
3 89

บทท่ี 1
บทนา

1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของการวจิ ัย

ในยคุ ปัจจบุ ันเป็นยุคของการใชข้ ้อมลู ขา่ วสาร ทาให้เกิดภาวะโลกไร้พรมแดน ส่งผลต่อการเกิด
การแข่งขันกันในสังคมโลก แต่ละประเทศต้องมีการปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นอยู่
ตลอดเวลา และเตรียมพรอ้ มที่จะเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ท่ีตามมา จากกระแสการเปล่ียนแปลงของสังคม
โลกส่งผลทาใหส้ งั คมไทยเกิดวิกฤติการณ์ตา่ งๆ ท้งั ทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา วัฒนธรรม
และส่ิงแวดล้อม ปัจจัยสาคญั ทจ่ี ะส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงและสามารถที่จะแก้ไขปัญหาวิกฤติการณ์ต่างๆ
ได้ คือ การพัฒนาคุณภาพของคน เพื่อให้เป็นคนที่มีความรู้ความสามารถ ทั้งทางด้านสติปัญญา ร่างกาย
อารมณ์ และสังคม ซึ่งเป็นทรัพยากรที่สาคัญที่สุดในการพัฒนาประเทศ โดยเครื่องมือที่สาคัญท่ีสุดในการ
พฒั นาคณุ ภาพของคน คือ การจัดการศึกษา ซ่ึงการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพจะทาให้ศักยภาพที่มีอยู่ในตัว
คนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เม่ือคนมีศักยภาพท่ีสมบูรณ์แล้ว การที่จะพัฒนาชุมชน สังคม
ประเทศ ก็สามารถทาให้สาเร็จได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล

การจัดการศึกษาของประเทศไทยในระยะที่ผ่านมาน้ันยังมีข้อบกพร่อง ทั้งในด้านการบริหาร
จัดการ ด้านบุคลากร ด้านหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ ส่งผลให้การศึกษาของประเทศไทยไม่มี
คุณภาพเท่าทค่ี วร และเมือ่ เปรียบเทียบกับต่างประเทศ พบวา่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผู้เรียนไทยนั้นยัง
ด้อยกว่าประเทศเพื่อนบ้านมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ และหลกั สตู รท่ใี ช้อยใู่ นปัจจุบันยงั มขี อ้ จากดั หลายประการ กล่าวคือ การกาหนดหลักสูตรจาก
ส่วนกลางไมส่ ามารถทจี่ ะสะท้อนสภาพความต้องการทแ่ี ท้จริงของสถานศึกษา ชุมชนและท้องถ่ินได้ การจัด
หลักสูตร และการจัดการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ไม่สามารถที่จะผลักดันให้
การศึกษาของประเทศไทยเป็นผู้นาด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้ การนาหลักสูตรไปใช้
ไมส่ ามารถสร้างพนื้ ฐานความคดิ ใหก้ บั ผูเ้ รียน ไม่สามารถสร้างวิธีการเรียนรู้ให้คนไทยมีทักษะในการจัดการ
และการดาเนินชีวิตให้สามารถเผชิญปัญหาสังคมและเศรษฐกิจท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ การจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศยังไมส่ ามารถทาให้ผูเ้ รียนใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการตดิ ตอ่ ส่ือสารและ
การค้นควา้ หาความร้ไู ด้ จากปญั หาในด้านการจัดการศึกษาดังกล่าว จาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องกับการจัด
การศึกษาของประเทศไทยต้องหันมาทบทวนรูปแบบและแนวทางการจัดการศึกษาของชาติ กล่าวคือ ทุก
ฝ่าย ท้ังครูผ้สู อน ผู้บรหิ าร ผ้ปู กครอง ผู้เรียน ชมุ ชน และผู้ทม่ี สี ว่ นได้ส่วนเสียกับการจัดการศกึ ษาต้องหันมา
ใหค้ วามสาคัญกบั การจดั การศึกษาและร่วมมอื กันในการจัดการศึกษาอย่างจริงจัง เพื่อที่จะทาให้การศึกษา
เปน็ เคร่อื งมอื ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คม และการเมอื งของประเทศอยา่ งแท้จริง

พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 ซ่ึงเป็นกฎหมายแม่บทที่ใช้ในการปฏิรูป
การศกึ ษา และเป็นเครื่องมือกากับชี้นาแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทย ได้กาหนดให้การศึกษา

2

เปน็ รูปแบบหรอื แนวทางในการพัฒนาผู้เรียนที่ชัดเจน เพื่อพัฒนาคุณภาพของบุคคลในสังคม ทุกหมวดใน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ จะมุ่งประโยชน์สูงสุดให้เกิดข้ึนแก่ผู้เรียน โดยเฉพาะหมวด 4 ท่ีเป็น
บทบญั ญตั ิเก่ียวกับแนวการจัดการศึกษา ในมาตรา 22 กล่าวว่า “การศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี
ความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด” ดังนั้นการจัด
กระบวนการเรียนรู้ซึ่งเป็นส่วนที่สาคัญท่ีสุดของการปฏิรูปการศึกษาจะต้องจัดการศึกษาท่ียึดผู้เรียนเป็น
สาคัญ โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพสนองความแตกต่าง
ระหว่างบคุ คล ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ตามความถนัด ตามความสามารถ และลงมือปฏิบัติค้นคว้าหาความรู้จาก
แหล่งเรยี นรู้ แหล่งขอ้ มูลที่หลากหลาย และเช่ือมโยงกับชีวิตจริงจนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
และมีการวดั ผลประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียนตามสภาพจริง ท้ังน้ีผู้ท่ีมีบทบาทสาคัญที่สุดที่จะผลักดันให้
การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ประสบผลสาเร็จคือ “ครูผู้สอน” ซ่ึงครูผู้สอนตามแนวทางการปฏิรูป
การศกึ ษาจะสามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ได้หลากหลายและมอี ิสระมากย่ิงข้นึ และในขณะเดียวกันจะต้อง
ปรบั เปลยี่ นบทบาทในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้จากเดิมครูผูส้ อนท่เี ป็นผู้ชี้นาหรือผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้
ช่วยเหลือ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ผเู้ รียนใหเ้ รยี นรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งยังต้องจัดเตรียมสถานการณ์การ
เรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ วัสดอุ ุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ท่ีจะเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้รู้จักคิด
วิเคราะห์ รู้จักแก้ปัญหา มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ รู้จักเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีความสามารถในการ
ปฏิบตั งิ านร่วมกบั บุคคลอ่นื ได้เปน็ อยา่ งดี สามารถปรับตัวใหท้ ันตอ่ การเปล่ียนแปลงท่เี กิดข้นึ อย่างรวดเร็ว มี
คุณธรรม จรยิ ธรรม รจู้ กั พง่ึ ตนเอง และสามารถดารงชีวติ อยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ

คาว่า ผู้เรียนเป็นสาคัญ มีความหมาย 2 ด้าน คือ ด้านผู้เรียน และด้านครูผู้สอนหรือผู้จัด
กระบวนการเรียนรู้ สาหรับด้านผู้เรียนน้ัน หมายถึง การเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริง ได้
พฒั นากระบวนการคิด มอี สิ ระในการเรียนรู้ตามความถนดั และความสนใจ สามารถเรยี นรู้ได้ด้วยตนเองโดย
ใช้วิธกี ารและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปใช้พัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ตนและสังคมส่วนรวมได้ ส่วนความหมายด้านครูผู้สอนหรือผู้จัดกระบวนการเรียนรู้ หมายถึง การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ใดๆ ที่ครูผู้สอนต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล คานึงถึงความถนัดและ
ความสามารถของผเู้ รยี น มกี ารวางแผนและจดั กจิ กรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และสาคัญที่สุดต้องเน้น
ประโยชนส์ งู สดุ แก่ผเู้ รียนเป็นสาคญั

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาการ
เรียนรู้ของผู้เรียน เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้อื่นๆ อีกมากมายได้ด้วยตนเอง เป็นวิธีจัด
กระบวนการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเรียนรู้วิธีเรียน ท่ีจะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าได้ด้วยตนเอง
นาไปสกู่ ารสร้างองคค์ วามรู้ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั นัน้ พฤติกรรมการสอนของ
ครูผู้สอนเป็นปัจจัยสาคัญท่ีสุดประการหนึ่ง ความสาเร็จของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญจะเกิดข้ึนหรอื เปน็ ไปได้น้ันขึ้นอยู่กับครูผู้สอน ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ต้องปรับเปล่ียน
พฤตกิ รรมการสอนแบบเดิมๆ โดยเปลี่ยนบทบาทจากผู้ถ่ายทอดมาเป็นผู้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่
ผู้เรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎี
ต่างๆ อย่างลึกซึ้ง และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิด ประสบการณ์การสอน กับครูผู้สอนในสาขาวิชา

3

เดียวกันหรอื ต่างสาขาวชิ า เพื่อพิจารณาศักยภาพของตนเอง ความสัมพันธ์ของครูผู้สอนและผู้เรียนต้องอยู่
ในลกั ษณะของการยอมรับนับถอื ซง่ึ กนั และกัน

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดจ้ ดั ทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาตามยุทธศาสตร์
การพัฒนางานสู่การปฏิรูปการศึกษาโดยการเร่งพัฒนาก ารจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้น ผู้เรียนเป็น
สาคัญ เนน้ การนาหลกั การไปส่กู ารปฏิบัติอย่างเป็นรปู ธรรมครบวงจร ประกอบด้วย การส่งเสริมการวิจัยใน
ชั้นเรียน การวดั ผลประเมินผลตามสภาพจรงิ การเรียนรูเ้ ป็นชิ้นงาน การเรียนรู้เป็นโครงการ การสนับสนุน
ให้ผู้เรียนจัดทาโครงงาน การฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ การให้บริการวิชาชีพแก่ชุมชน การ
จดั ระบบขอ้ มลู ช่วยเหลือผู้เรยี น การพฒั นาหลกั สูตร การสนบั สนนุ ให้ผ้เู รียนเรียนร้จู ากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
การสืบค้นภูมิปัญญาท้องถิ่น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ ซึ่งในการนาแนวคิดการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ไปปฏิบตั ิอาจพบปัญหาและอุปสรรคที่อาจเกิดข้ึนได้ เช่น ปัญหา
จากครูผ้สู อน ไดแ้ ก่ ครูผูส้ อนเคยชนิ กับกระบวนการเรียนรู้แบบเดิม ครูผู้สอนไม่เข้าใจในรูปแบบวิธีการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ครูผู้สอนรูส้ ึกวา่ ถูกลดบทบาทและหมดอานาจในห้องเรียน ครูผู้สอนไม่มั่นใจในเทคนิค
ทักษะ และวิธีสอนของตนว่าเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเพียงใด ครูผู้สอนส่วนมากเห็นว่า การจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญทาให้ผู้เรียนเรียนได้ช้า ไม่ทันใจ ไม่เหมาะสมที่จะใช้กับกลุ่มผู้เรียนท่ีมีระดับ
สติปัญญาหรอื ผลการเรียนตา่ ปัญหาท่เี กิดจากสถานศึกษา ได้แก่ การเตรยี มการดา้ นต่างๆ ของสถานศึกษา
ไม่จริงจังต่อเน่ือง บุคลากรบางฝ่ายไม่เข้าใจแนวทางวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
จานวนผู้เรียนในแต่ละห้องเรียนมีมากเกินไป ปัญหาที่เกิดจากผู้เรียน ได้แก่ ผู้เรียนส่วนมากขาดทักษะ
พ้นื ฐานในการแสวงหาความรู้ การปฏิบัติ การอภิปราย วิพากษ์วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และการทางานเป็น
กลมุ่ ผเู้ รียนเคยชินกบั การรับความรู้มากกว่าปฏิบัติเพื่อค้นหาความรู้เอง จะเห็นได้ว่า การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญจะประสบผลสาเร็จได้ข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายประการ การนาแนวคิดน้ีสู่การ
ปฏบิ ัติในห้องเรียนและในสถานศกึ ษาจงึ ต้องกระทาอย่างเปน็ ขน้ั ตอน เป็นระบบอย่างชัดเจน เพื่อให้เกิดผล
ในการปฏิบัติอย่างจริงจังให้การเรียนรู้ประสบผลสาเร็จ มีความชัดเจนในหลักการ วิธีการ เทคนิค และ
ทกั ษะตา่ งๆ ในการจัดการท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ดังจะเห็นได้ว่า สานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษาได้ให้ความสาคัญในด้านการบริหารจัดการให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้ครูผู้สอนซ่ึงเป็น
บคุ ลากรทีส่ าคัญทีส่ ุดในการนาแนวคิดไปจัดการเรยี นรู้ใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรยี นรู้ไดส้ าเร็จจริง

วิทยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในฐานะ
ทีเ่ ปน็ สถานศึกษาทีจ่ ดั การทางดา้ นวชิ าชีพ มีความจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีการจัดรูปแบบและแนวทางให้
ครูผู้สอน และบุคลากร ได้มีการพัฒนาตนเองตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามเจตนารมณ์ของ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยเฉพาะอย่างย่ิงการพัฒนาด้านการจัด
กระบวนการเรียนรู้ ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญในการปฏิรูปการศึกษา โดยการพัฒนาครูผู้สอนให้สามารถจัด
กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ

ดังน้ัน เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั ให้มีประสิทธภิ าพ และใช้เปน็ ขอ้ มูลสารสนเทศของผู้ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการจัดการศึกษาในการเสริมสร้าง
สมรรถภาพของครผู ูส้ อนเกีย่ วกับการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้วิจัยมีความสนใจท่ีจะ

4

พัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครผู สู้ อน ในวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย ซึง่ ข้อมูลท่ีไดจ้ ากการวิจัย
จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีเก่ียวข้องต่อการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูผู้สอนซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง
เพ่อื ใหก้ ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ เกดิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลตอ่ ไป

1.2 คาถามการวจิ ยั

1.2.1 สภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เป็น
อยา่ งไร

1.2.2 กระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครผู ้สู อนท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั เปน็ อยา่ งไร
1.2.3 ผลการตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความเป็น
ประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีมากน้อย
เพียงใด
1.2.4 ผลการทดลองใช้กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั เป็นอยา่ งไร

1.3 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย

1.3.1 เพื่อศกึ ษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวทิ ยาลัยการอาชพี ดา่ นซ้าย จงั หวดั
เลย

1.3.2 เพ่ือสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั

1.3.3 เพ่ือศกึ ษาผลการทดลองใช้รูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอนท่ี
เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั

1.4 ขอบเขตของการวจิ ัย

1.4.1 ขอบเขตดา้ นเนอ้ื หา
องคป์ ระกอบของรปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

ประกอบด้วย
1.4.1.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 4 แนวการจัด

การศกึ ษา
1.4.1.2 ลักษณะการเรียนรู้ท่ีพึงประสงค์ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

พทุ ธศกั ราช 2542
1.4.1.3 การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็ สาคญั

5

1.4.1.4 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผ้เู รยี น
1.4.1.5 การประเมนิ ผลตามสภาพจริง
1.4.1.6 พฤติกรรมของผเู้ รียน
1.4.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
1.4.2.1 ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียน ผู้ปกครอง ในวิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซา้ ย จงั หวัดเลย
1.4.2.2 กลมุ่ ตวั อยา่ ง/กล่มุ เป้าหมาย ไดแ้ ก่

1) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ใน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย โดยแบบสอบถาม คือ ครูผู้สอน จานวน 14 คน ผู้เรียน จานวน
200 คน

2) กลุ่มตัวอยา่ งที่ใชใ้ นการสัมภาษณเ์ ชงิ ลึกเกี่ยวกับสภาพการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้ในปัจจุบัน คือ ครูผู้สอน จานวน 9 คน ผู้เรียน จานวน 19 คน ผู้บริหาร จานวน 11 คน ผู้ปกครอง
จานวน 7 คน

3) กลมุ่ เป้าหมายท่ีเปน็ ผู้วิเคราะห์ SWOT เกี่ยวกับทรัพยากรท่ีสนับสนุนการ
จดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวดั เลย จานวน 50 คน

4) กลุ่มเป้าหมายท่ีเป็นผู้เช่ียวชาญในการตรวจสอบความเหมาะสม, ความ
เป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความเป็นประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครูผสู้ อนท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั จานวน 7 คน

5) กลุ่มเป้าหมายท่ีทดลองใช้รูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอน
ของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพ่ือแก้ไขปัญหา จานวน 3 รายวิชา ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2564 จานวน 3 คน

6) กลุ่มเป้าหมายท่ีทดลองใช้รูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอน
ของครผู ูส้ อนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ คือ ครูผู้สอน 1 คนต่อ 1 รายวิชาท่ีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัย
การอาชีพด่านซา้ ย จงั หวดั เลย ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 31 คน

7) กลุ่มเป้าหมายท่ีประเมินรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอน
ของครูผสู้ อนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ คือ คณะกรรมการบริหารสถานศกึ ษา ของวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวัดเลย จานวน 15 คน

1.4.3 การพฒั นากระบวนการมี 4 ระยะ
ระยะท่ี 1 การศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพ

ด่านซ้าย จงั หวดั เลย
ระยะท่ี 2 การสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้น

ผู้เรียนเปน็ สาคญั

6

ระยะท่ี 3 การตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความ
เป็นประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครผู ู้สอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั

ระยะที่ 4 การทดลองใช้กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้น
ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ

1.4.4 ระยะเวลาดาเนนิ การ
ระยะเวลาดาเนนิ การวจิ ยั ระหวา่ งเดอื น พฤษภาคม 2564 ถึงเดือน เมษายน 2565 รวม

ระยะเวลา 1 ปี
1.4.5 พื้นที่ในการวจิ ยั
พ้นื ท่ีที่ใช้ในการวิจยั ในคร้งั น้ี คอื วิทยาลยั การอาชีด่านซา้ ย จงั หวัดเลย

1.5 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ

1.5.1 ประโยชนใ์ นเชงิ วชิ าการ
1.5.1.1 ได้รูปแบบการวิจัยและพัฒนา (research and developement) ท่ียึด

หลักการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ (mixed methodology)
อันจะเป็นตวั อยา่ งหนง่ึ ในการวิจยั เชงิ คุณภาพในรปู แบบอนื่ ๆ ได้

1.5.1.2 ไดแ้ นวทางนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ียึดหลักการบูรณาการหลอม
รวมแนวคดิ จากหลายฝา่ ย ซง่ึ สามารถนาแนวทางดงั กล่าวไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพงานด้านอ่ืนๆ
ได้

1.5.1.3 ได้รูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ ท่ีผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม และสามารถใช้เป็นแนวทางในการกาหนดเป็นกลยุทธ์พัฒนา
คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การศึกษาดา้ นอน่ื ๆ ต่อไป

1.5.2 ประโยชน์ในเชงิ การประยุกต์ใช้
1.5.2.1 ทราบสภาพปจั จุบนั ความตอ้ งการ และปัญหา การจดั กจิ กรรม การเรียนรู้ของ

ครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ซึ่งสามารถนาผลการวิจัยใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการ
กาหนดนโยบาย และเป็นแนวทางในการบริหารจดั การศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธิภาพมากข้นึ

1.5.2.2 ได้รูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียน
เป็นสาคญั ทีเ่ หมาะสมและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในสถานศกึ ษาอนื่ ได้

1.6 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ

1.6.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง ระดับการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญท่ีครูผู้สอนได้ดาเนินการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน
คือ

7

1.6.1.1 ขั้นเตรียมการ หมายถึง การดาเนินการของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญในด้านการเตรียมตนเอง การเตรียมแหล่งข้อมูล การจัดทาแผนการเรียนรู้ ท่ี
นาไปสู่การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

1.6.1.2 ขั้นดาเนินการ หมายถึง การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามท่ีกาหนดไว้
ในแผนการเรยี นรู้ เปน็ กจิ กรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนได้ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง ผู้เรียนได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับ
เพ่อื นและกลมุ่ ครูผสู้ อนมีบทบาทเป็นผูแ้ นะนา

1.6.1.3 ข้ันประเมินผล หมายถึง การดาเนินการวัดผลประเมินผลของครูผู้สอน เพ่ือ
ตรวจสอบว่าการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้บู รรลุตามจุดประสงค์มากน้อยเพียงใด โดยเน้นการประเมินผลตาม
สภาพจริง

1.6.2 หลักสูตร หมายถึง ประสบการณ์ต่างๆ ท่ีจัดโดยสถานศึกษา ทั้งภายในและภายนอก
สถานศึกษา เพ่ือพัฒนาให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ และพัฒนาตนเองจนสามารถบรรลุจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้
ได้

1.6.3 ประเภทผู้ตอบแบบสอบถาม หมายถึง การจาแนก เป็นครูผู้สอน ผู้เรียน ผู้บริหาร
ผ้ปู กครอง

1.6.3.1 ครูผสู้ อน หมายถึง ครูที่ทาหน้าท่ีสอน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย

1.6.3.2 ผเู้ รียน หมายถงึ นักเรียน นักศกึ ษา ในวิทยาลยั การอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย
ท่ีกาลังศกึ ษาในปีการศึกษา 2563 และปีการศกึ ษา 2564

1.6.3.3 ผู้บริหาร หมายถึง ผู้บริหารท่ีปฏิบัติหน้าที่ ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวัดเลย คือ ผู้อานวยการ รองผอู้ านวยการ หวั หน้าสาขาวิชา

1.6.3.4 ผู้ปกครอง หมายถึง ผู้ปกครองของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวัดเลย

1.6.4 กระบวนการเรยี นรู้ หมายถงึ การดาเนินการอย่างเป็นขั้นตอน หรือการใช้วิธีการต่างๆ
ทช่ี ่วยให้ผู้เรยี นเกดิ การพฒั นา เป็น ความรู้ ทักษะ แนวคิด จนเกิดการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมใหม่ เช่น การ
วางแผนการเรยี นรู้ การจดั เตรยี มส่อื การเรยี นรู้ การจัดเตรียมแหล่งเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ
การวัดผลประเมินผล

1.6.5 พฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครผู ู้สอนทีท่ าให้ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ได้ตามมาตรฐานหลกั สูตรทีก่ าหนด

1.6.6 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน หมายถงึ ผลทเ่ี กิดจากกระบวนการเรียนรู้ท่ีจะทาให้ผู้เรียนเกิด
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และสามารถวัดได้โดยการแสดงออกมาท้ัง 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิต
พสิ ยั และด้านทกั ษะพสิ ยั

1.6.7 การนิเทศกระบวนการเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่พัฒนาครูผู้สอน เพ่ือให้ครูผู้สอน
ปรับปรงุ และพัฒนาการจดั กระบวนการเรียนรู้ เพื่อใหก้ ารจดั การศกึ ษาบรรลจุ ุดมงุ่ หมายทวี่ างไว้

8

1.6.8 การนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการพัฒนาครูผู้สอน เพ่ือให้
ครผู ู้สอนปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เพอ่ื ให้ผเู้ รียนไดร้ ับการพัฒนาตามจุดมุ่งหมายท่ีวาง
ไว้

1.6.9 ทรัพยากรในการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน หมายถึง บุคคล ส่ิงประดิษฐ์ วัตถุ
อาคาร สถานท่ี เงิน ทรัพยากรธรรมชาติ ที่เป็นแหล่งของวิชาความรู้ นามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้

บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง

ในการวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้ศึกษาและวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องครอบคลุมใน
เนอ้ื หาสาระทส่ี าคัญเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั ทง้ั ในหลักการ ทฤษฎี ดังนี้

2.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 4 แนวการจัด
การศึกษา

2.2 ลักษณะกระบวนการเรียนรู้ท่ีพึงประสงค์ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พทุ ธศกั ราช 2542

2.3 การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ
2.4 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผเู้ รยี น
2.5 การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
2.6 พฤติกรรมของผู้เรยี น
2.7 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

2.1 พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 หมวด 4 แนวการจดั การศึกษา

สาระสาคญั
สาระสาคัญในหมวด 4 แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

พุทธศกั ราช 2542 สาระของหมวดน้คี รอบคลุมหลกั สาระ และกระบวนการจดั การศึกษาที่เปิดกว้างให้แนว
ทางการมสี ว่ นร่วม สร้างสรรค์วสิ ยั ทัศนใ์ หมท่ างการเรยี นการสอนท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา สาระ
เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามหมวดน้ีเริ่มต้ังแต่มาตรา 22 ถึงมาตรา 30 มี
สาระสาคัญ 8 เร่อื งใหญ่ๆ ดังนี้

หมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา

- หลักการจดั การศกึ ษา (มาตรา 22)
- สาระการเรยี นรู้ (มาตรา 23)
- กระบวนการเรียนรู้ (มาตรา 24)
- บทบาทรฐั ในการสง่ เสริมแหลง่ เรยี นรู้ (มาตรา 25)
- การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (มาตรา 26)
- การพฒั นาหลักสตู รระดับตา่ งๆ (มาตรา 27 และ 28)
- บทบาทของผู้มีสว่ นเก่ยี วข้อง (มาตรา 29)
- การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ (มาตรา 30)

ผ้เู รียนสาคัญทส่ี ดุ

ภาพประกอบที่ 1 สาระสาคัญเกีย่ วกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ

10

2.1.1 มาตรา 22 หลักการจัดการศึกษา ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้
ผูเ้ รยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

2.1.2 มาตรา 23 สาระการเรียนรู้ เน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการ
เรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา ในเรื่องเกี่ยวกับตนเอง และ
ความสัมพันธ์เกยี่ วกบั ตนเอง ตลอดจนประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทย การเมืองและการปกครอง
ความรู้ และทกั ษะด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รวมทั้งเรือ่ งการจดั การด้านคณิตศาสตร์ ด้านภาษา การ
ประกอบอาชีพและการดารงชีวิตอย่างมีความสุข การใช้และการบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ ม ความรู้เกย่ี วกบั ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย

2.1.3 มาตรา 24 กระบวนการเรยี นรู้ ต้องจัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับ
ความสนใจ ความถนัด และความแตกต่างของผู้เรียน ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญ
สถานการณ์และประยุกต์ใช้ เพื่อปูองกันและแก้ไขปัญหา ให้ผู้เรียนเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการ
ปฏิบตั ิ ใหท้ าได้ คดิ เปน็ รกั การอ่าน และเกิดการใฝุรู้อย่างต่อเนื่อง ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่าง
สมดุล รวมท้ังปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในทุกวิชา ผู้สอนสามารถจัด
บรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน อานวยความสะดวกให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และใช้การวิจัยเป็น
ส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งผู้สอน และผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือและแหล่งเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง และชุมชนมสี ว่ นรว่ มในการจัดการเรียนรใู้ หเ้ กิดขนึ้ ได้ทกุ เวลาทกุ สถานท่ี

2.1.4 มาตรา 25 บทบาทรฐั ในการสง่ เสริมแหล่งเรียนรู้ โดยการส่งเสริมการดาเนินงาน
และการจดั ตั้งแหล่งเรียนรตู้ ลอดชวี ิตทุกรปู แบบอยา่ งพอเพียงและมปี ระสทิ ธภิ าพ

2.1.5 มาตรา 26 การประเมินผลการเรียนรู้พิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความ
ประพฤติ สังเกตพฤติกรรมการเรียน การรว่ มกจิ กรรม และการทดลองควบคู่กันไปตามความเหมาะสมของ
แต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา และให้นาผลการประเมินดังกล่าวมาใช้ประกอบการพิจารณาในการ
จดั สรรโอกาสการเข้าศึกษาตอ่ โดยวธิ ที ี่หลากหลาย

2.1.6 มาตรา 27 และ 28 การพัฒนาหลักสูตรแต่ละระดับที่เหมาะสมกับสภาพปัญหา
ในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ

หลกั สูตรมีลกั ษณะหลากหลายตามความเหมาะสมของแต่ละระดับต้องมุ่งพัฒนา
คนใหม้ คี วามสมดลุ ทง้ั ความรู้ ความคดิ ความสามารถ ความดีงาม และความรับผดิ ชอบต่อสังคม

2.1.7 มาตรา 29 บทบาทของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว
องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน จัดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน
รวมทงั้ หาวธิ ีการแลกเปลีย่ นประสบการณก์ ารพัฒนาระหว่างชุมชน

11

2.1.8 มาตรา 30 การวจิ ยั เพือ่ การพัฒนาการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการ
เรียนการสอนทมี่ ีประสทิ ธภิ าพและสง่ เสริมให้ผสู้ อนสามารถวิจยั เพ่อื พฒั นาการเรียนรทู้ ่เี หมาะสมกบั ผเู้ รยี น

พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 เป็นบทบัญญัติที่ให้ทิศทางในการ
ปฏิรูปการเรียนรู้ที่ชัดเจน แม้ว่าการปฏิรูปการเรียนรู้ของชาติเป็นงานที่ยากแต่เป็นภาร กิจท่ีย่ิงใหญ่ที่มุ่ง
สัมฤทธิผล ทั้งทกุ ส่วนของสังคมไทย ไมว่ า่ ฝาุ ยนโยบาย สถานศกึ ษา หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการศึกษา พ่อ
แม่ ผูป้ กครอง ครูผู้สอน ผ้เู รยี น ผบู้ ริหาร ชุมชน ต้องมคี วามเขา้ ใจตรงกนั และเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิรูป
โดยมงุ่ หวงั ท่จี ะให้เหน็ คนไทยมีคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ เป็นท้งั คนดี คนเก่ง และมคี วามสุข

2.2 ลกั ษณะกระบวนการเรยี นรทู้ พี่ ึงประสงค์ ตามพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช
2542

กระบวนการเรียนรู้ที่พึงประสงค์ คือ กระบวนการทางปัญญาท่ีพัฒนาบุคคลอย่างต่อเนื่อง
ตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีมีความสุข บูรณาการเน้ือหา
สาระตามความเหมาะสมของระดับการศกึ ษา เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนได้มีความรู้เกีย่ วกับตนเองและความสัมพันธ์ของ
ตนเองกบั สงั คม เนือ้ หาการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกับความสนใจของผเู้ รยี น ทนั สมยั เน้นกระบวนการคิดและการ
ปฏิบัติจริง ให้เรียนรู้ตามสภาพจริง สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างไกล เป็นกระบวนการท่ีมี
ทางเลอื กและมแี หล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย น่าสนใจ เป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยมีผู้เรียน ครูผู้สอน
และผู้มีสว่ นเก่ยี วข้องทุกฝาุ ยรว่ มจดั บรรยากาศให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ และมุ่งประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสาคัญ
เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนเปน็ คนดี คนเกง่ และคนมคี วามสขุ

หากมีการจดั กระบวนการเรยี นรู้เช่ือมโยงกันเป็นองค์รวม หรือเรียกว่าบูรณาการตามท่ีกล่าว
ขา้ งต้นนัน้ แลว้ ยอ่ มสง่ ผลใหค้ นไทยทเ่ี ป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข คุณสมบัติ 3 ประการ ต่างเป็นปัจจัย
อาศัยซึ่งกันและกัน มิได้เรียงลาดบั กอ่ นหลงั

จุดหมายสาคัญของการปฏิรปู การเรียนรู้ คือ การพัฒนาคุณภาพของคนไทยเพ่ือการพัฒนาท่ี
ย่ังยืนของประเทศ ทุกฝุายต้องส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผู้เรียนได้มีโอกาสได้คิด ได้
ทบทวน พิสูจน์ผลแล้วนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง พ่ึงพาตนเองได้ ใฝุหาความรู้ และใช้ความรู้ทาง
สรา้ งสรรคเ์ พือ่ ประโยชนข์ องส่วนรวม

ลกั ษณะผเู้ รยี นที่พึงประสงค์
ผู้เรยี นที่พึงประสงค์ คือ ผู้เรียนเป็นคนดี คนเกง่ และคนมคี วามสุข
คนดี คือ คนท่ีดาเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีจิตใจที่ดีงาม มีคุณธรรม จริยธรรม มี

คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ทั้งทางด้านจิตใจและพฤติกรรมที่แสดงออก เช่น มีความรับผิดชอบ มีวินัย มี
เหตผุ ล มมี นุษยสัมพนั ธ์ มีความเอ้ือเฟ้ือเกื้อกูล รู้หน้าที่ ซ่ือสัตย์ พากเพียร ขยัน มีจิตใจเป็นประชาธิปไตย

12

เคารพความคิดเห็นและสิทธิของผู้อื่น มีความเสียสละ รักษาสิ่งแวดล้อม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี
ความสขุ

คนเก่ง คือ คนที่มีสมรรถภาพสูงในการดาเนินชีวิต โดยมีความสามารถด้านใดด้าน
หนึ่งหรือรอบด้าน หรือมีความสามารถเฉพาะทาง เช่น ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ความสามารถทางด้านคณิตศาสตร์ ความสามารถในด้านอาชีพตามสาขา มีความคิดสร้างสรรค์ มี
ความสามารถด้านภาษา ศิลปะ ดนตรี กีฬา มีภาวะผู้นา รู้จักตนเองควบคุมตนเองได้ เป็นต้น เป็นคน
ทนั สมัย ทันเหตกุ ารณ์ ทนั โลก ทนั เทคโนโลยี มคี วามเปน็ ไทย สามารถพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพและทา
ประโยชน์ให้เกดิ แกต่ น สังคม และประเทศชาตไิ ด้

คนมีความสุข คือ คนท่ีมีสุขภาพดีท้ังกาย และจิตใจ เป็นคนร่าเริงแจ่มใส ร่างกาย
แขง็ แรง จติ ใจเข้มแข็ง มีมนุษยสัมพันธ์ มคี วามรกั ต่อสรรพส่ิง มีอิสรภาพปลอดพ้นจากการตกเป็นทาสของ
อบายมุข และสามารถดารงชวี ติ ได้อย่างพอเพียงแกอ่ ัตภาพ ไม่เกิดความเดอื ดรอ้ น

จากทก่ี ล่าวมา สรปุ ไดว้ ่า การจดั การศกึ ษาตอ้ งยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด ผู้เรียนทุก
คนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้ ดงั นนั้ กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การจัดการศึกษาทั้งสามรูปแบบในหมวด 3 ต้องเน้นท้ังความรู้ คุณธรรม
และกระบวนการเรยี นรู้ ในเรอ่ื งสาระความรู้ ให้บูรณาการความรู้และทักษะดา้ นตา่ งๆ ใหเ้ หมาะสมในแต่ละ
ระดับการศึกษา ได้แก่ ด้านความรู้เก่ียวกับตนเอง และความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสังคม ด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านศาสนา ด้านศิลปวัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้
ภูมิปัญญา ด้านภาษา โดยเฉพาะการใช้ภาษาไทย ด้านคณิตศาสตร์ ด้านการประกอบอาชีพ และการ
ดารงชีวิตอยา่ งมีความสขุ ในเรอื่ งการจดั กระบวนการเรียนรู้ ให้จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับ
ความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน และความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทั้งให้ฝึกทักษะ กระบวนการคิด
การจดั การ การเผชญิ สถานการณ์และการประยกุ ต์ความร้มู าใช้ปูองกันและแก้ปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียน
ฝกึ ปฏิบัติจรงิ ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างสมดุล และปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ีดี คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ในทุกวิชา นอกจากนั้น ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ยังต้องส่งเสริมให้ครูผู้สอน จัด
บรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนรู้และแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ จัดการเรียนรู้ให้
เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมการ
ดาเนินงาน และการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ การประเมินผลผู้เรียน ให้สถานศึกษา
พจิ ารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และ
การทดสอบ ส่วนการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาตอ่ ใหใ้ ช้วิธีการทห่ี ลากหลายและนาผลการประเมินผู้เรียน
มาใชป้ ระกอบด้วย

13

2.3 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั

2.3.1 ความหมายของการจดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ ีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั
การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ นับได้ว่าเป็นหัวใจสาคัญในการปฏิรูป

การศกึ ษาตามบทบญั ญตั ใิ นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 22 ซ่ึงระบุไว้ว่า
การศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม
ศกั ยภาพ

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นความคิดเชิงปรัชญาที่กาหนดไว้ใน มาตรา 22
แหง่ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2545 มี
ความหมายเดียวกับการจดั การเรยี นรู้ทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คือ ยึดผู้เรียนเป็นหลัก ซึ่งมีนักการศึกษา
หลายท่านไดใ้ ห้ความหมายไว้ ดังนี้

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ (2542) กล่าวว่า การ
จัดการเรียนการสอนท่เี น้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ หมายถงึ การกาหนดจุดหมาย สาระกิจกรรม แหลง่ เรยี นรู้ และ
การวัดประเมินผล ท่ีมุ่งพัฒนา “คน” และ “ชีวิต” ให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้เต็มความสามารถ
สอดคลอ้ งกบั ความถนัด ความสนใจ และความตอ้ งการของผเู้ รียน

กิจกรรมการเรียนการสอนคานึงถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ช่วยสง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นไดส้ ัมผัส
และสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมทั้งท่ีเป็นมนุษย์ ธรรมชาติ และเทคโนโลยี ผู้เรียนได้ค้นคว้า ทดลองฝึกปฏิบัติ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้จนค้นพบสาระสาคัญของบทเรียน ได้ฝึกวิธีคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์จินตนาการ และ
สามารถแสดงออกได้ชดั เจนมเี หตผุ ล

ครูมีบทบาทปลุกเร้าและเสริมแรงศิษย์ในทุกกิจกรรมให้ค้นพบคาตอบและแก้ปัญหาด้วย
ตนเอง รวมทั้งการทางานเป็นกลุ่ม จัดกิจกรรมปลูกฝังคุณธรรม ความมีวินัย รับผิดชอบในการทางาน
ผูเ้ รยี นมีโอกาสฝกึ การประเมินและปรับปรุงตนเอง ยอมรับผ้อู น่ื สรา้ งจิตสานกึ ในความเป็นพลเมืองและเป็น
พลโลก

ระดับผู้เรียน เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดจุดมุ่งหมายกิจกรรม
และวธิ กี ารเรียนรู้ตามศกั ยภาพ ความต้องการ ความสนใจ และความถนดั ของแต่ละคน

ระดบั หอ้ งเรยี น เปน็ กระบวนการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้คิดเองทาเอง ปฏิบัติเอง และสร้างความรู้
ด้วยตนเองในเรื่องที่สอดคล้องกับการดารงชีวิต จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย มีส่วนร่วมในการกาหนด
จุดมุ่งหมาย กจิ กรรม และวิธีการเรียนรู้ สามารถเรยี นรกู้ ับผูอ้ น่ื อยา่ งมีความสขุ มสี ่วนร่วมในการประเมินผล
การพฒั นาการเรยี นรู้

ครูเป็นผู้วางแผนข้ันต้น ทั้งเน้ือหาและวิธีการเรียนแก่ผู้เรียน จัดบรรยากาศให้เอ้ือต่อการ
เรียนรู้ และช่วยช้ีแนะแนวทางการแสวงหาความรู้ท่ีถูกตอ้ งใหแ้ ก่ผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล

14

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2548) กล่าวไว้ว่า การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ เป็นแนวความคิดท่ีมุ่งให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้จากการปฏิบัติ ด้วยวิธีการเรียนรู้ที่
หลากหลาย ผู้สอนจะต้องวางแผนการจัดกิจกรรมเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนใช้แหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ใน
การแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง โดยมีครูเปน็ ผใู้ ห้คาปรึกษา

ทิศนา แขมมณี (2550) กล่าวไว้ว่า การจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
หมายถงึ การจดั สภาพการณข์ องการเรยี นการสอนท่ีให้ผู้เรียนมีบทบาทหรือมีส่วนร่วมอย่างต่ืนตัว (active
participation) ทัง้ ทางด้านรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และสงั คม ในกิจกรรมหรอื กระบวนการเรียนรู้โดยมี
บทบาทดงั กล่าวมากกว่าผสู้ อน คาว่า ผู้เรียนเป็นศนู ยก์ ลาง หมายถึง การให้ผู้เรียนเป็นจุดสนใจ หรือเป็นสิ่ง
ท่สี าคัญทส่ี ุด หรอื เปน็ สิง่ ที่ตอ้ งคานึงถึงมากท่สี ดุ ในกระบวนการเรียนการสอน ซ่งึ จะมองเห็นเป็นรูปธรรมได้
จากบทบาทการแสดงออกของผู้เรียนในกิจกรรมหรือกระบวนการเรียนรู้ ถ้าครูมีบทบาทมากใน
กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้เรียนมีบทบาทน้อยกว่า ก็ถือว่าครูเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน
ในทางตรงกันข้าม ถ้าผู้เรียนมีบทบาทในการเรียนรู้มาก ผู้สอนมีบทบาทน้อยกว่า ก็แสดงว่าผู้เรียนเป็น
ศนู ย์กลางของการเรยี นการสอนนนั้

นาวี ทรัพย์หว่ ง (2548) การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง การจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ ตามความสามารถ
และความสนใจของผูเ้ รียน

พิพัฒน์ พสุธารชาติ (2547) กล่าวว่า การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
ศนู ยก์ ลาง หมายถงึ การจัดกิจกรรมท่ีให้โอกาสผเู้ รียนมสี ว่ นร่วมกิจกรรมมากที่สุด ด้วยความมุ่งหวังที่จะทา
ให้ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นากระบวนการคดิ และสรา้ งความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง โดยมีปฏิสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วมกับผู้สอน
และผู้เรยี นด้วยกนั เพือ่ พฒั นากาย อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญาในบริบทท่ีมีอยู่ และเกิดข้ึนตามสภาพจริง
และพัฒนาศักยภาพในการเรยี นรูท้ จี่ ะคดิ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ วางแผน และตัดสินใจแก้ปัญหาได้ด้วย
ตนเอง เพ่อื การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ทีจ่ ะชว่ ยทาใหค้ ณุ ภาพของชวี ิตดีขึ้น

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2548) กล่าวไว้ว่า การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
หมายถึง แนวการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่ และส่ิงประดิษฐ์ใหม่โดยใช้
กระบวนการทางปัญญา (กระบวนการคิด) กระบวนการทางสังคม (กระบวนการกลุ่ม) และให้ผู้เรียนมี
ปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในการเรียน สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ โดยครูมีบทบาทเป็นผู้อานวย
ความสะดวกจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ใหแ้ กผ่ เู้ รยี น

รวีวรรณ โพธิ์วงั , นงเยาว์ ภู่แก้ว, อาพร จิตรใจ และบูรชัย ศิริมหาสาคร (2548) กล่าวถึง
การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางไว้ว่า มีการปฏิบัติหลากหลายแนวทาง ซึ่งสรุปเป็นความหมายเชิง
ปฏบิ ัตกิ าร ดงั นี้

1 เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริง พัฒนากระบวนการคิด
วิเคราะห์ ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองตามความถนัด ความสนใจด้วยวิธีการ

15

กระบวนการและใช้แหล่งการเรียนรู้ท่ีหลากหลายทั้งในและนอกห้องเรียน ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ได้ตาม
มาตรฐานตามที่หลักสูตรกาหนด มีความรู้สึกช่ืนชมยินดีในผลการปฏิบัติของตน สามารถนาความรู้และ
ประสบการณไ์ ปพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของตน สังคม และสว่ นรวม

2 เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้จัดหรือครูผู้สอนดาเนินการให้สอดคล้องกับผู้เรียนตาม
ความแตกต่าง ความสามารถทางด้านปัญญา วิธีการเรียนรู้ โดยบูรณาการคุณธรรม ค่านิยมอันพึงประสงค์
วางแผนการจัดกิจกรรม และประสบการณก์ ารเรียนรู้อย่างเป็นระบบให้ผู้เรียนได้พัฒนาสติปัญญา อารมณ์
และทักษะการปฏิบัติ ส่งเสริม สนับสนุนการนาความรู้ไปใช้ในแหล่งความรู้ท่ีหลากหลายและเชื่อมโยงกับ
ชวี ติ จรงิ และมีการวดั ผลประเมนิ ผลตามสภาพจริง

3 เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้สนับสนุนการเรียนรู้มีส่วนร่วม โดยส่งเสริมให้
สถานศึกษาจัดทาสาระของหลักสูตรให้สอดคล้องกับปัญหา และความต้องการของผู้เรียน หาวิธีการ
สนับสนุนส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในสถานศึกษาให้พัฒนากระบวนการเรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพส่งเสริมให้ครูผู้สอนทาวิจัยในช้ันเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน และ
สนบั สนุนด้านทรัพยากรการลงทุนเพื่อการศึกษา พร้อมดูแลตรวจสอบกระบวนการจัดการศึกษาให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรูต้ ลอดชีวิต

รุ่ง แก้วแดง (2546) กล่าวไว้ว่า การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง การ
จดั การศกึ ษาตอ้ งให้ความสาคญั กบั ผู้เรียนมากกว่าอาคารสถานที่ หรือแม้แต่บุคลากรอื่นๆ ซ่ึงผู้เรียนเข้ามา
ในโรงเรียนเพื่อเรียนรู้ ส่วนครูมีหน้าที่อานวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียนได้เรียนรู้ หรือเป็นผู้จัดการเรียนรู้
ให้กับผเู้ รียน เดมิ ครูเปน็ ผู้บอกและเปน็ ผู้ผกู ขาดความรู้ ผเู้ รยี นได้แตท่ าและจา โรงเรียนจึงกลายเป็นโรงสอน
แต่ถ้าครูเปลี่ยนมาส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนก็เป็นไปเพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
โรงเรียนก็จะเป็นท่ีเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างแท้จริง ฉะนั้นผู้เรียนสาคัญท่ีสุดจึงหมายถึง ผู้เรียนได้เรียน
มากกวา่ ท่คี รไู ดส้ อน

วรภัทร์ ภู่เจรญิ (2546) กล่าวไว้ว่า การเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง กิจกรรมใดก็
แล้วแตท่ ี่ผสู้ อนกระทา โดยคิดว่าทาไปแล้วเด็กได้อะไร มุ่งความตั้งใจทุกอย่างไปท่ีผู้เรียนเพื่อผลประโยชน์
ของผูเ้ รยี นและตอ้ งสอนให้เหมาะกับลกั ษณะการเรยี นรขู้ องแต่ละคน

อาภรณ์ ใจเท่ยี ง (2546) กล่าวไวว้ า่ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ
หมายถึง การจัดกิจกรรมโดยวิธีการต่างๆ อย่างหลากหลาย ท่ีผู้เรียนมีบทบาทสาคัญในการเรียนรู้ ได้คิด
ค้นคว้า ได้ปฏิบัติและมีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่ม เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง และสามารถนาความรู้ไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ

สรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง กระบวนการจัดการ
เรียนรู้ท่ีเน้นถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สอดคล้องกับความถนัด
ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้อย่าง
กระตือรือร้นด้วยความรับผิดชอบ โดยใช้กระบวนการทางปัญญา และกระบวนการทางสังคม โดยเน้นให้

16

ผู้เรยี นสามารถคิดค้น สร้าง และสรปุ ข้อความรูด้ ว้ ยตนเอง และนาข้อความรู้นน้ั ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ
สร้างความรู้ใหม่และสิ่งประดษิ ฐใ์ หม่โดยผา่ นกระบวนการคดิ ดว้ ยตนเอง เปน็ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีมุ่ง
ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจนเกิดความเข้าใจ
ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
ผ้เู รียนสามารถนาวิธกี ารเรยี นรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้ ทุกฝุายมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยมี
ครผู ู้สอนคอยอานวยความสะดวกใหค้ าแนะนา และเอาใจใสอ่ ย่างใกล้ชดิ

2.3.2 ปรชั ญาการศกึ ษาทเี่ ป็นพื้นฐาน แนวคิดของการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั
ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นพื้นฐานที่มีความสาคัญ เพ่ือความเข้าใจเก่ียวกับการเรียนการสอน ซึ่ง

ทฤษฎีการเรียนรู้น้จี ะเปน็ หลักของการสอนและวิธีสอนซ่ึงครูผู้สอนจาเป็นจะต้องศึกษาและทาความเข้าใจ
ทัง้ น้ีกเ็ พ่อื ทจ่ี ะได้นาเอาความคดิ ไปใช้ในการออกแบบวางแผนจดั การเรยี นการสอนใหส้ อดคลอ้ งกับวฒุ ิภาวะ
ความพร้อม ตลอดจนความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญๆ ครูควรรู้ มีดังนี้
(ปรียาพร วงศอ์ นุตรโรจน์, 2546)

1 ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม เน้นพฤติกรรมของมนุษย์ แม้จะเน้นกระบวนการภายในแต่ก็
พจิ ารณาพฤติกรรมที่แสดงออก

1.1 ทฤษฎกี ารวางเงือ่ นไขของพาฟลอฟ (Pavlov, 1929) สิ่งเร้าท่ีเปน็ กลางจะเกิดข้ึน
พรอ้ มๆ กับส่งิ เรา้ ทที่ าใหเ้ กดิ กริยาสะท้อนอยา่ งหนง่ึ หลายๆ คร้งั สิ่งเร้าที่เปน็ กลางจะทาใหเ้ กดิ กริยาสะท้อน
อย่างนัน้ ด้วย การเรียนรูข้ องสิง่ มชี วี ิตเกดิ จากการวางเงื่อนไข

1.2 ทฤษฎกี ารวางเงอ่ื นไขของวัตสัน (Watson, 1968) ได้นาทฤษฎีของพาฟลอฟมา
ใช้และนามาทดลองกับคน โดยมีความรู้สึกและอารมณ์มาเกีย่ วข้อง อารมณ์ท่ีเกิดขึ้น เช่น อารมณ์กลัว ซึ่งมี
ผลต่อส่งิ เร้าบางอยา่ งตามธรรมชาตอิ ยู่แลว้ ก็จะทาใหก้ ลวั สิ่งเร้าอนื่ ๆ ไดด้ ้วย เขาไดท้ ดลองกับบุตรชาย ด้วย
การนาหนสู ขี าวมาใหเ้ ดก็ เล่นคกู่ บั เสยี งดงั จนเกิดความกลัว และมีผลต่อความกลัวในสัตว์ที่คล้ายคลึงกันใน
ลักษณะการนาหลักการเรียนรู้การวางเง่ือนไขมาใช้ก็คือต้องสร้างความชอบในส่ิงท่ีเรียนเพื่อเป็นการ
ปรบั ปรุงพฤตกิ รรม

1.3 ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ารวางเงือ่ นไขดว้ ยการกระทาของสกินเนอร์ (Skinner, 1950)
เขาทาการทดลองกับหนูและนกพิราบ พบว่าการเรียนรู้เกิดจากผู้เรียนเป็นผู้กระทาโดยการมองเห็น
ความสัมพันธ์ระหวา่ งสงิ่ เรา้ และการตอบสนอง และการกระทาใดถ้าได้รับการเสริมแรงแนวโน้มจะกระทา
พฤตกิ รรมน้นั อกี

กฎแห่งการเรียนรู้ท่ีได้จากการทดลองของสกินเนอร์ ก็คือ กฎแห่งการเสริมแรง
โดยมี 2 เรื่อง คอื

1 ตารางกาหนดการเสริมแรง (schedule of reinforcement) เป็นการใช้
กฏเกณฑ์บางอยา่ ง เช่น เวลา พฤตกิ รรมเปน็ ตวั กาหนดการเสรมิ แรง

17

2 อัตราการตอบสนอง (response rate) เป็นการตอบสนองที่เกิดจากการ
เสริมแรงตา่ งๆ ซึ่งจะเกิดข้ึนมากน้อยและนานคงทนถาวรเพียงใด ย่อมแล้วแต่ตารางกาหนดการเสริมแรง
น้นั ๆ

การเสริมแรงตามหลักการของสกินเนอร์ สรุปได้ว่า ระยะแรกของการศึกษาน้ัน
ต้องให้รางวัลตอบสนองทุกครั้ง การเรียนรู้จะเร็วและดาเนินไปอย่างได้ผลเป็นที่น่าพอใจ แต่เม่ือเกิดการ
เรียนรู้แล้วควรจะเว้นการเสริมแรง แน่นอนเสีย หันมาใช้การเสริมแรงเป็นระยะ ท้ังนี้เพ่ือเป็นการช่วยให้
ผู้เรียนได้ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ที่เป็นจริงของเหตุการณ์ปัจจุบัน ในชีวิตจริงเป็นการตอบสนองของ
บคุ คลไมจ่ าเป็นตอ้ งไดร้ ับการเสริมแรงทกุ ครัง้

1.4 ทฤษฎีของฮัลล์ (Hull, 1942) เป็นทฤษฎีการวางเง่ือนไขโดยอาศัยการต่อเนื่อง
ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง โดยเขาเชื่อว่า พฤติกรรมการเรียนรู้เกิดจากแรงขับ คือ ความหิว ความ
กระหายกับอปุ นสิ ัยของบคุ คลน้นั เม่ือได้รับการเสริมแรง เขียนเปน็ สมการดังนี้

พฤติกรรม (behavior) = แรงขบั (drive) x นิสยั (habit)
การเรยี นรจู้ ะเพ่มิ เมอ่ื ได้รับการเสริมแรง แต่ในบางคร้ังอัตราการเพิ่มจะลดลงแม้
การเรียนรจู้ ะดาเนินการไปเรอ่ื ยๆ ทั้งน้ีก็เพราะมีตัวแปรอื่นเขา้ มาเกีย่ วข้อง โดยเฉพาะตวั แปรท่ีมีอิทธิพลต่อ
การเรยี นรู้ เช่น ความพรอ้ ม ความสนใจ ความถนัด เป็นต้น
1.5 ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike’s concept theory) ธอร์นไดค์ได้
ทดลองเก่ยี วกบั การเรยี นรู้ โดยการเนน้ ส่ิงเร้าและการตอบสนอง ใช้การลองผิดลองถูก เขาใช้แมวที่หิวใส่ใน
หีบกล และดูการหาทางออกจากหีบกลของแมว เขาค้นพบว่า การเรียนรู้เกิดจากความสัมพันธ์เชื่อมโยง
ระหวา่ งส่งิ เรา้ และการตอบสนอง โดยมสี ่ิงภายนอกเป็นตัวเสรมิ แรง
ธอร์นไดคไ์ ด้ค้นพบกฎ 3 ขอ้ ในการเรียนรู้ คอื

1 กฎแห่งความพร้อม (law of readiness) กฎนี้ กล่าวถึงสภาพความ
พร้อมของผเู้ รยี น ทง้ั ทางรา่ งกายและจิตใจ ความพรอ้ มทางรา่ งกายหมายถึง ความพร้อมทางวุฒิภาวะ ส่วน
ความพร้อมทางจิตใจ หมายถงึ ความพร้อมที่เกิดจากความพงึ พอใจ ซ่ึงต้องมที งั้ สองอยา่ งประกอบกัน

2 กฎแห่งการฝึกหัด (law of exercise) กฎนี้ กล่าวถึงการสร้างความ
ม่ันคงของการเช่อื มโยงระหวา่ งส่งิ เร้ากบั การตอบสนองท่ถี ูกตอ้ ง โดยการฝึกหัดซ้าบ่อยๆ ย่อมทาให้เกิดการ
เรยี นรู้ไดน้ านและคงทนถาวร โดยกฎขอ้ ยอ่ ยอกี 2 ขอ้ คอื กฎแห่งการนาไปใชท้ าให้การเรยี นร้ถู าวร และกฎ
แห่งการไม่ไดใ้ ช้ทาใหเ้ กดิ การลมื

3 กฎแห่งผลที่ได้รับ (law of affect) กฎน้ี กล่าวถึงผลที่ได้รับ เมื่อแสดง
พฤติกรรมการเรียนรู้ ถ้าผู้เรียนพอใจก็แสดงพฤติกรรมน้ันอีก หากไม่พอใจก็ไม่อยากเรียน ซึ่งตรงกับ
ลกั ษณะการเสริมแรง

1.6 ทฤษฎกี ารเรียนรขู้ องบลูม (Bloom, 1976) ซึ่งเชอื่ ว่า การเรียนการสอนทป่ี ระสบ
ความสาเรจ็ และมีประสิทธิภาพนน้ั ผ้สู อนจะตอ้ งกาหนดจุดมุ่งหมายใหช้ ัดเจนแน่นอน เพ่ือให้ผู้สอนกาหนด

18

และจัดกิจกรรมการเรียน รวมทั้งวัดผลประเมินผลได้ถูกต้อง และบลูมได้แบ่งประเภทของพฤติกรรมโดย
อาศัยทฤษฎีการเรียนรู้และจิตวิทยาพื้นฐานว่า มนุษย์จะเกิดการเรียนรู้ใน 3 ด้าน คือ ด้านสติปัญญา ด้าน
ร่างกาย และด้านจิตใจ และนาหลักการน้ีจาแนกเป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษา เรียกว่า Taxonomy of
Educational Objectives (Bloom, 1976 อ้างถึงใน ศุภลักษณ์ จิรธนรตั ร,์ 2550)

1 ด้านพุทธิพิสัย (cognitive domain) เป็นจุดประสงค์ในด้านเชาวน์
ปัญญา หรือด้านความรู้ ความคดิ

2 ด้านจิตพิสัย (affective domain) เป็นจุดประสงค์ด้านความรู้สึก ได้แก่
ความสนใจ คา่ นิยม คณุ ค่า

3 ทักษะพิสัย (psychomotor domain) เป็นการกระทาท่ีใช้
ความสามารถทีแ่ สดงออกทางกาย

ตามแนวคิดของบลูม สรุปได้ว่า ความสามารถของบุคคลเกิดจากการเรียนรู้
ประกอบด้วยพฤติกรรมท่สี าคัญแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ โดยแต่ละด้าน
ประกอบดว้ ยพฤตกิ รรมย่อยที่สามารถบง่ บอกชดั เจน โดยสามารถวัดและตรวจสอบได้ง่าย

2 ทฤษฎีความรู้ความเข้าใจหรือทฤษฎีปัญญา (cognitive theories) ทฤษฎีน้ีมองการ
เรยี นรเู้ ปน็ การรบั รูแ้ ละหย่ังเห็น (insight) พฤติกรรมนี้มีท้ังพฤตกิ รรมภายนอกและพฤติกรรมภายใน ซ่ึงเน้น
ในด้านความคิด การเรียนรู้เกิดจากการหย่ังเห็นโครงสร้างเป็นกลุ่มๆ ของกระบวนการท่ีจะแก้ปัญหา
แบ่งเป็นทฤษฎยี อ่ ยๆ ดังน้ี

2.1 ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt theories) เป็นกลุ่มนักคิดชาวเยอรมัน ตั้งแต่ปี
ค.ศ. 1912 โดยมีผู้นากลุ่มคือ เวอร์ไธเมอร์ (Wertheimer) โคห์เลอร์ (Kohler) คอฟฟ์กา (Koffka) และ
เลวนิ (Lawin) ท้ังกลมุ่ น้มี แี นวคดิ วา่ การเรียนรเู้ กดิ จากการจัดประสบการณ์ท้งั หลายท่ีอยูก่ ระจัดกระจายให้
มารวมกันเสยี ก่อน แลว้ จงึ พิจารณาเป็นสว่ นย่อยไป

เกสตัลท์ (Gestalt) กล่าวถึง รูปแบบแผนและรวมมาเป็นส่วนรวม เขาสรุปจาก
แนวคิดนวี้ ่า ส่วนรวมจะมีค่ามากกว่าผลบวกของส่วนยอ่ ย ซึ่งทาใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 2 ลักษณะ คือ

1 การรบั รู้ เป็นการแปลความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะรับสัมผัสทั้ง
5 ได้แก่ หู ตา จมูก ล้ิน และผิวหนัง การรับรู้ที่มากที่สุด คือ ทางสายตา จะประมาณร้อยละ 75 ของการ
รับรทู้ ั้งหมด

2 การหยั่งเห็น หมายถึง การเกิดความคิดขึ้นมาทันทีในขณะที่ประสบ
ปัญหา โดยมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาเป็นขั้นตอน เป็นแนวทางของสภาพการณ์ใหม่ที่เกิดข้ึนโดย
อาศยั ความรคู้ วามเขา้ ใจที่เคยเรียนรู้มา เปน็ การมองเหน็ ช่องทางในการแกป้ ญั หาอย่างทันทีทันใด

2.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ของทอลแมน (Tolman’s sign learning) ทฤษฎี
การเรียนร้ขู องทอลแมน เป็นการเรียนรู้อย่างมีจุดมุ่งหมาย เขาคิดว่าความมุ่งหมายและความคาดหวังมีผล
ต่อการเรียนรู้ แนวความคิดของการเรียนรู้ คือ การให้ผู้เรียนสร้างโครงสร้างหรือเคร่ืองหมายขึ้น และโยง

19

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างเครื่องหมายและเปูาหมายเข้าด้วยกัน และการจะบรรลุเปูาหมายก็ดว้ ยการกระทาของ
ผูเ้ รยี น

2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูเนอร์ (Bruner’s theory of learning)
บรูเนอร์มองเห็นว่า ความรู้เปน็ กระบวนการ มิใช่ผลผลิต ครคู วรสนใจวิธกี ารมากกว่าผลทไ่ี ด้รับ ให้ผู้เรียนได้
มีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆ ท่ีใช้แสวงหาความรู้และให้เกิดการเรียนรู้ บรูเนอร์พบวิธีการจัดการเรียน
การสอนท่ีเรียกว่า วิธีการแบบค้นพบและสืบสวนสอบสวน (medthod of discovery and inquiry) เขา
คิดว่าความพรอ้ มของผเู้ รียนสามารถจะกระทาได้ โดยไม่ตอ้ งรอใหเ้ กิดความพร้อมตามธรรมชาติความสนใจ
ของผู้เรียนเป็นส่ิงเสริมใหเ้ กิดความพรอ้ มในการเรยี น

ทิศนา แขมมณี (2550) กล่าวถึง ทฤษฎีการเรียนรู้ สามารถจัดเป็นกลุ่มใหญ่ๆ
ได้ดังน้ี

1 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (behaviorism) นักคิดในกลุ่มน้ี
มองธรรมชาติของมนษุ ยใ์ นลกั ษณะท่เี ปน็ กลาง คอื ไมด่ ี ไมเ่ ลว การกระทาตา่ งๆ ของมนุษย์เกิดจากอิทธิพล
ของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อส่ิงเร้า การเรียนรู้เกิดจากการ
เชอื่ มโยงระหว่างสงิ่ เร้าและการตอบสนอง กลมุ่ พฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับ “พฤติกรรม” มาก เพราะ
พฤติกรรมเป็นส่ิงที่เห็นได้ชัด สามารถวัดและทดสอบได้ ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มน้ี ประกอบด้วยแนวคิด
สาคัญๆ ดว้ ยกัน 3 แนว คอื

1.1 ทฤษฎีการเช่อื มโยงของธอร์นไดค์
1.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไข

1.2.1 แบบอตั โนมัติ ของพาฟลอฟ และวัตสนั
1.2.2 แบบตอ่ เนอ่ื ง ของกทั ธรี
1.2.3 แบบวางเงอ่ื นไข ของสกนิ เนอร์
1.3 ทฤษฎีการเรียนรขู้ องฮัลล์
2 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (cognitivism) กลุ่มพุทธินิยม หรือกลุ่ม
ความรู้ความเข้าใจ หรือกลุ่มท่เี นน้ กระบวนการทางปญั ญาหรือความคิด นักคิดกลุ่มนี้เร่ิมขยายขอบเขตของ
ความคดิ ที่เน้นทางด้านพฤตกิ รรมออกไปสูก่ ระบวนการทางความคิด ซ่ึงเป็นกระบวนการภายในของสมอง
นกั คดิ กลุ่มน้เี ชือ่ ว่าการเรยี นรขู้ องมนุษยไ์ ม่ใชเ่ รอ่ื งของพฤตกิ รรมที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองต่อส่ิงเร้า
เพียงเท่าน้นั การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดท่ี
เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และความสัมพันธ์ของข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ใน
การกระทาและแกป้ ญั หาตา่ งๆ การเรยี นรู้เปน็ กระบวนการทางสตปิ ัญญาของมนุษย์ในการท่ีจะสร้างความรู้
ความเขา้ ใจใหก้ ับตนเอง ทฤษฎีในกลุม่ นี้ท่ีสาคญั ๆ คือ
2.1 ทฤษฎีเกสตัลท์ นักจิตวิทยาคนสาคัญของทฤษฎีน้ี คือ แมกซ์เวอร์
ไทม์เมอร์ วลู ฟแ์ กงค์ โคห์เลอร์ คอฟฟก์ า และเคิรท์ เลวิน

20

2.2 ทฤษฎีสนาม นกั จติ วทิ ยาคนสาคัญ คือ เคริ ์ท เลวิน
2.3 ทฤษฎเี คร่อื งหมาย ของทอลแมน
2.4 ทฤษฎีพฒั นาการทางสติปัญญา นักจิตวิทยาคนสาคัญ คือ เพียเจต์
และ บรนุ เนอร์
3 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม (humanism) นักคิดกลุ่มมนุษยนิยม
ให้ความสาคัญของความเปน็ มนุษย์ และมองมนษุ ย์วา่ มีคณุ คา่ มคี วามดงี าม มคี วามสามารถ มีความต้องการ
และมแี รงจงู ใจภายในท่ีจะพัฒนาศักยภาพของตน หากบุคคลได้รับอิสรภาพและเสรีภาพ มนุษย์จะพัฒนา
ตนเองไปสู่ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ นักจิตวิทยาคนสาคัญในกลุ่มน้ี คือ มาสโลว์ (Maslow) รอเจอร์ส
(Rogers) โคม (Combs) โนลส์ (Knowles) แฟร์ (Faire) ลลิ ลิช (Lilich) และนีล (Neil)
4 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสาน (eclecticism) กานเย่เป็นนักจิตวิทยา
และนักการศึกษาในกลุ่มผสมผสานระหว่างพฤติกรรมนิยมและพุทธินิยม อาศัยทฤษฎีและหลักการท่ี
หลากหลาย เนือ่ งจากความรูม้ หี ลายประเภท บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ไม่ต้องใช้ความคิด
ทล่ี ึกซึง้ บางประเภทมคี วามซบั ซ้อนมากจาเป็นตอ้ งใชค้ วามสามารถในขน้ั สูง กานเย่ได้จัดขั้นการเรียนรู้จาก
ง่ายไปหายาก โดยผสมผสานทฤษฎกี ารเรยี นรขู้ องกลุ่มพฤติกรรมนิยมและพุทธินิยมเข้าด้วยกัน ทฤษฎีเป็น
ชุดของความคดิ รวบยอดเชงิ นามธรรม ซึ่งถูกสร้างข้ึนมาให้อยู่ในรูปของระบบความเชื่อหรือความเห็น เพื่อ
ใช้อธบิ ายถึงกลุ่มของปรากฏการณ์ ทฤษฎกี ารจดั การเรยี นการสอนจึงหมายถึงระบบความเชือ่ หรอื ความเห็น
ซึง่ ถูกจัดเรยี บเรยี งไว้ เพือ่ ใชอ้ ธิบายปรากฏการณใ์ นการเรียนการสอน การให้ความหมายว่าทฤษฎเี ป็นระบบ
ความเชอ่ื หรอื ความคดิ เหน็ นเี้ อง ทาใหเ้ หน็ ได้ว่า ทฤษฎเี ป็นสง่ิ ทน่ี กั วชิ าการสรา้ งขึ้น เพอ่ื ทาความเข้าใจสิ่งใด
สง่ิ หนึ่ง และแมว้ า่ ปรากฏการณ์นั้นจะเป็นสิ่งเดียวกัน แต่นักทฤษฎีอาจสร้างระบบความเชื่อหรือความเห็น
ในการทาความเข้าใจแตกต่างกันออกไป จนกระทั่งทาให้มีทฤษฎีการเรียนการสอนเกิดข้ึนหลายทฤษฎี
ทฤษฎีการเรียนการสอนที่นับว่าแพร่หลายมากมาจากแนวคิดของนักจิตวิทยา 4 กลุ่ม คือ กลุ่มพฤติกรรม
นิยม กลุ่มปญั ญานิยม กลมุ่ ผสมผสาน และกลุ่มประมวลสารสนเทศ
4.1 กลุ่มพฤติกรรมนิยม นักจิตวิทยาพฤติกรรมนิยมศึกษาพฤติกรรมที่
จะสามารถสังเกตภายนอกไดแ้ ละเนน้ ความสาคัญของสิง่ แวดล้อม
4.2 กลุ่มปัญญานิยม นักจิตวิทยากลุ่มปัญญานิยมเน้นความสาคัญของ
ผู้เรยี น และศกึ ษาวา่ เวลาท่ีการเรียนรเู้ กิดขึน้ มกี ารเปลีย่ นแปลงอะไรบา้ งในตัวบุคคล
4.3 กลุ่มผสมผสาน นักจิตวิทยากลุ่มผสมผสานมองเห็นว่าในการทา
ความเข้าใจเกีย่ วกับเร่ืองการเรยี นรนู้ น้ั ควรท่ีจะได้พิจารณาแนวความคิดท้ังจากกลุ่มความสัมพันธ์เช่ือมโยง
ระหว่างสงิ่ เร้ากับการตอบสนองและกลุ่มที่เน้นความสาคัญของการคิดเพราะไม่มีทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งท่ีจะ
อธิบายเก่ยี วกับเร่ืองของการเรยี นรไู้ ด้ทกุ ทาง
4.4 กลุ่มประมวลสารสนเทศ นักจิตวิทยากลุ่มประมวลสารสนเทศมอง
การเรยี นรวู้ ่าเปน็ ผลเนอ่ื งมาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างส่ิงเร้าจากสิ่งแวดล้อม ซึ่งหมายถึงข้อมูลที่จะต้องเรียน

21

กบั ตวั ผู้เรียน ซ่งึ หมายถึงผทู้ ่อี ยู่ในกระบวนการเรียนการสอน ในเรือ่ งของการเรียนการสอนน้ัน นักจิตวิทยา
กลุ่มน้ีให้ความสนใจว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นในความคิดของนักเรียนในขณะท่ีครูสอน หรือในขณะที่ครูให้คิด
คานวณ หรอื ในขณะทก่ี าลงั อ่านหนงั สือ หรอื ในขณะทต่ี อบคาถาม เปน็ ตน้

สรุปไดว้ ่า ทฤษฎกี ารเรียนรู้ได้มีนักคิด นักจิตวิทยา และนักการศึกษาพยายามได้จัดกลุ่มเพ่ือ
การศกึ ษา โดยเริ่มตั้งแตท่ ฤษฎกี ารเรยี นร้กู ลุ่มพฤตกิ รรมนิยม ท่ีเน้นพฤติกรรมของมนุษย์ การกระทาต่างๆ
ของมนษุ ย์เกิดจากอทิ ธพิ ลของส่งิ แวดลอ้ มภายนอก พฤติกรรมมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ต่อมา
นักจิตวทิ ยาและนักการศึกษาเรมิ่ หันเหมาใหค้ วามสนใจเกย่ี วกบั กระบวนการทางความคิดหรือสมอง ในการ
ทาให้เกิดการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมหรือปัญญานิยมจึงเกิดขึ้น โดยเชื่อว่าการเรียนรู้ของ
มนุษย์เป็นกระบวนการทางความคดิ ทเ่ี กดิ จากการสะสมขอ้ มูล และนาข้อมูลมาใช้ในการแก้ปัญหา และช่วง
ต่อมาได้มองการเรียนรู้เป็นการรับรู้และหย่ังเห็น การให้ความสนใจในเรื่องของจิตใจและความรู้สึกของ
มนุษย์ ทาให้เกิดทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยมขึ้นมา ซึ่งให้ความสาคัญของความเป็นมนุษย์ และมอง
มนษุ ย์ว่ามีคณุ ค่า ต่อมานักจิตวิทยาและนักการศึกษาได้ผสมผสานแนวความคิดหลายแนวเข้าด้วยกัน โดย
อาศัยทฤษฎแี ละหลกั การที่หลากหลาย เน่ืองจากความร้มู หี ลายประเภท

2.3.3 หลกั การจดั การเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ
ทศิ นา แขมมณี (2550) กล่าวถึงหลักการและแนวคิดในการจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็น

ศนู ยก์ ลางแบบต่างๆ โดยใช้จุดเนน้ ของการจัดการเรียนรู้นน้ั ๆ เปน็ เกณฑ์ ดังน้ี
1 แบบเนน้ ตวั ผู้เรยี น ประกอบด้วย
1.1 การจัดการเรียนการสอนตามเอกัตภาพ ผู้เรียนแต่ละคนมีภูมิหลัง สติปัญญา

ความสามารถ ความถนดั แบบการเรยี นรู้ ความสนใจ และความต้องการไม่เหมือนกัน การจัดการเรียนการ
สอนให้เหมาะกบั ภมู หิ ลังของผเู้ รียน ลกั ษณะของผู้เรียน และสนองความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
จะชว่ ยให้ผูเ้ รียนเกดิ การเรยี นรไู้ ดด้ ี และพัฒนาไปตามความสามารถและศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล

1.2 การจัดการเรยี นร้โู ดยผู้เรียนนาตนเอง มีดังน้ี
1.2.1 การเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนนาตนเอง สามารถช่วยฝึกฝนให้ผู้เรียนพ่ึงพา

ตนเอง และพัฒนาตนเองได้ การนาตนเองและพง่ึ พาตนเองจะช่วยให้ผูเ้ รยี นเกดิ แรงจูงใจภายใน ซ่ึงสามารถ
กระตุน้ ความต้องการทีจ่ ะเรยี นรู้ และช่วยใหก้ ารเรียนรู้เปน็ ไปอย่างมีจดุ หมายอันจะส่งผลใหผ้ เู้ รยี นเรียนรู้ได้
ดี ได้มาก และจดจาได้นานขนึ้ รวมทง้ั นาไปใช้ประโยชน์ได้มากขึน้ ดว้ ย

1.2.2 เนื่องจากผู้เรียนมีแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน การให้ผู้เรียนนาตนเอง
และเลือกวิธีการเรียนรเู้ องจะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนสามารถเรียนรไู้ ดด้ ี

2 แบบเนน้ ความรู้ ความสามารถ ประกอบด้วย
2.1 การจัดการเรียนรู้แบบจริง การเรียนรู้แบบนี้ได้มาจากแนวคิดของ จอห์น คา

รอล ผู้มองการเรียนรู้ว่ามีความสัมพันธ์กับเวลาที่ผู้เรียนได้รับรู้ในการเรียนรู้ คารอลเชื่อว่า ผู้เรียนทุกคน
สามารถที่จะเรียนร้ไู ดต้ ามวตั ถุประสงค์ หากผู้เรียนไดร้ บั เวลาท่ีจะเรียนรู้เรื่องน้ันๆ อย่างเพียงพอตามความ

22

ต้องการของตน ซ่ึงความต้องการน้ันย่อมข้ึนกับลักษณะของผู้เรียน และลักษณะของการสอน ผู้เรียนท่ีมี
ความถนดั สงู จะใช้เวลาน้อยกว่าผู้เรียนที่มีความถนัดตา่ กว่า การสอนท่มี คี ุณภาพสงู จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถ
เรยี นรไู้ ด้เร็วกว่าการสอนทีม่ ีคุณภาพตา่

2.2 การจัดการเรยี นรู้แบบรับประกันผล มดี งั นี้
2.2.1 ผ้เู รียนทกุ คนมศี ักยภาพในการเรยี นร้แู ละสามารถประสบผลสาเรจ็ ในการ

เรยี นรู้ได้ หากได้รบั ความชว่ ยเหลอื ตามปัญหาและความต้องการของเขา
2.2.2 การที่ผู้สอนมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนสามารถที่จะพิสูจน์ทดสอบได้ และ

แจง้ ให้ผ้เู รียนไดร้ บั รู้ความคาดหวังของตน ผู้เรียนจะเรียนรู้อย่างมีเปูาหมายและจะพยายามที่จะปฏิบัติตน
ให้ได้ตามความคาดหวัง

2.2.3 การทดสอบช่วยให้ผู้สอนได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนการ
ช่วยเหลอื ผเู้ รียนเป็นรายบุคคลตามปัญหาความต้องการของเขา จะช่วยให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการ
เรียนรูไ้ ด้

2.3 การจัดการเรียนการสอนแบบเนน้ มโนทศั น์ มีดงั น้ี
2.3.1 การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนที่ยึดมโนทัศน์หรือความคิดรวบ

ยอดเป็นหลักเป็นการเน้นการเรียนรู้ความคิดเชิงนามธรรม ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถถ่ายโอนความรู้
ได้มาก และย่ังยนื กว่าการเรยี นรรู้ ปู ธรรม

2.3.2 การจัดการเรียนการสอนที่ยึดมโนทัศน์หรือความคิดรวบยอดจะช่วยให้
ทั้งผู้สอนและผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการในการสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีลึกซึ้ง ซ่ึงเป็นกระบวนการที่
จาเป็นในการเรียนรู้

2.3.3 การยึดมโนทศั นห์ รอื ความคดิ รวบยอดเปน็ หลกั จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
แบบองค์รวมและมองเห็นความสมั พันธ์ของข้อมลู ความรู้ตา่ งๆ แทนที่จะเรียนรูเ้ พียงขอ้ เทจ็ จรงิ เท่านั้น

2.3.4 การจดั การเรยี นการสอนโดยยึดมโนทัศน์หรือความคิดรวบยอดเป็นหลัก
จาเปน็ ต้องใช้วธิ ีการและกระบวนการในการเรยี นการสอนทีซ่ ับซ้อนมากกว่าการเรียนรขู้ ้อมูล ขอ้ เทจ็ จริง ซึ่ง
จะช่วยใหผ้ สู้ อนได้พฒั นาทกั ษะในการสอนและผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่หลากหลายและซับซ้อน
ข้นึ

3 แบบเนน้ ประสบการณ์ ประกอบด้วย
3.1 การจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ ประสบการณ์เป็นแหล่งท่ีมาของการ

เรียนรู้และเป็นพ้ืนฐานสาคัญของการเกิดความคิด ความรู้ และการกระทาต่างๆ การเรียนรู้โดยอาศัย
ประสบการณ์สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจท่ีชัดเจนและมีความหมายต่อตน เน่ืองจากเป็น
การเรียนรู้ที่เริ่มจากประสบการณ์ท่ีเป็นรูปธรรมเห็นได้ชัดเจน จึงสามารถนาไปสู่การเรียนรู้เชิงนามธรรม
อันจะส่งผลต่อการคิด การปฏิบัติหรือการกระทาใหม่ๆ ต่อไป การท่ีผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง และ

23

ค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเองจะช่วยให้การเรียนรู้น้ันมีความหมายต่อตนเองและจะช่วยให้ผู้ เรียนเกิด
ความรู้สกึ ผกู พนั ความตอ้ งการและความรบั ผดิ ชอบทจี่ ะเรียนรตู้ อ่ ไป

3.2 การจดั การเรียนรแู้ บบใชส้ งั คม การเรียนรู้จากประสบการณ์เป็นการเรียนรู้จาก
รูปธรรมไปสู่นามธรรม อันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความคิดความรู้ใหม่ด้วยตนเองจึงทาให้มีความหมายต่อ
ตนเอง และต้องการท่จี ะนาไปใช้ ประสบการณ์ในด้านการรับใช้สังคมนับเป็นประสบการณ์ท่ีมีคุณค่าสูงต่อ
การเรียนรู้ การรับใช้สังคมตามความต้องการของชุมชนและสังคม นอกจากจะเป็นการช่วยเหลือสังคม
โดยตรงแล้ว ประสบการณ์ที่ผู้เรียนได้รับยังสามารถสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเกิดจิตสานึกในการช่วยเหลือ
สังคม และสามารถพฒั นาความรู้ ทกั ษะ และเจตคตขิ องผเู้ รียนไดอ้ ย่างดี การเรยี นรู้ท่ีเกิดข้ึนเป็นการเรียนรู้
จากความเป็นจริงตามสภาพที่แทจ้ รงิ จึงเปน็ การเรียนรู้ท่สี ามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวติ และสงั คมได้จริง

3.3 การจัดการเรียนรตู้ ามสภาพจรงิ มีดังน้ี
3.3.1 การเรียนรู้เรื่องใดๆ ก็ตามย่อมมีความสัมพันธ์กับบริบทของเร่ืองน้ันๆ

การเรียนรู้โดยคานึงถึงบริบทแวดล้อม เป็นการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับความจริง จึงสามารถนาไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวันได้

3.3.2 สภาพการณ์จริง ปัญหาจริง เป็นโลกแห่งความเป็นจริงซ่ึงทุกคนจะต้อง
เผชิญ ดังนั้น การให้ผู้เรียนได้เผชิญกับสภาพจริง ปัญหาจริง จึงเป็นโอกาสที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ความ
เปน็ จรงิ น้นั

3.3.3 การเรียนรู้ความเป็นจริง ของจริง เป็นการเรียนรู้ท่ีมีความหมายเพราะ
สามารถนาไปใช้ได้เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน จึงเป็นทก่ี ระตนุ้ ให้ผเู้ รยี นเกดิ ความใฝุรู้ อยากเรยี นรู้

3.3.4 การให้ผู้เรียนเผชิญปัญหาและแก้ปัญหาจะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะที่
จาเปน็ ต่อการดารงชวี ติ จานวนมาก

4 แบบเนน้ ปัญหา ประกอบดว้ ย
4.1 การจัดการเรียนการสอนโดยใชป้ ญั หาเปน็ หลัก ปญั หาสามารถกระตุ้นให้ผู้เรียน

เกดิ ภาวะสงสัย และความต้องการท่ีจะแสวงหาความรู้ เพื่อขจัดความสงสัยดังกล่าว การให้ผู้เรียนได้เผชิญ
ปัญหาจริงหรือสถานการณ์ปัญหาต่างๆ และร่วมกันคิดหาทางแก้ปัญหานั้นๆ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้อย่างมีความหมาย และสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการต่างๆ อันเป็นทักษะท่ีจาเป็นต่อการ
ดารงชีวิต และการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต

4.2 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงการเป็นหลัก การใช้โครงการหรือโครงงาน
ในการสอนต้ังอยูบ่ นพน้ื ฐานความเช่อื และหลักการต่อไปนี้

4.2.1 โครงการหรือโครงงานเป็นกิจกรรมท่มี ีบรบิ ทจรงิ เช่ือมโยงอยู่ ดังนั้น การ
เรยี นรู้ทีเ่ กดิ ข้ึนจงึ สัมพนั ธก์ ับความเปน็ จริง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตจริง จึงเป็นการเรียนรู้ที่เป็น
ประโยชน์ตอ่ ผ้เู รียน

24

4.2.2 การให้ผู้เรียนทาโครงการหรือโครงงาน เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้
เข้าสู่กระบวนการสืบสวน ซึ่งเป็นกระบวนการที่ผู้เรียนต้องใช้ความคิดข้ันสูงท่ีซับซ้อนขึ้น ดังน้ันจึงเป็น
ช่องทางทีด่ ใี นการพฒั นากระบวนการทางสตปิ ญั ญาของผูเ้ รยี น

4.2.3 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงการเป็นหลัก การใช้โครงการหรือ
โครงงานตงั้ อยู่บนพ้นื ฐานความเชอ่ื และหลักการ ต่อไปนี้

4.2.3.1 โครงการหรือโครงงาน เป็นกิจกรรมที่มีบริบทจริงเชื่อมโยงอยู่
ดังน้ัน การเรียนรู้ทเ่ี กิดขน้ึ จึงสัมพันธก์ บั ความเปน็ จรงิ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง จึงเป็นการเรียนรู้
ที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รยี น

4.2.3.2 การให้ผู้เรียนทาโครงการหรือโครงงาน เป็นการเปิดโอกาสให้
ผู้เรยี นได้เขา้ สูก่ ระบวนการสบื สวน (process of inquiry) ซึ่งเป็นกระบวนการทผ่ี เู้ รยี นต้องการใชก้ ารคิดขั้น
สูงท่ซี บั ซอ้ นขึ้น ดงั นนั้ จึงเป็นช่องทางทดี่ ีในการพฒั นากระบวนการทางสตปิ ญั ญาของผู้เรียน

4.2.3.3 การจดั การเรยี นการสอนโดยใชโ้ ครงการเป็นหลักช่วยให้ผู้เรียน
ได้ผลติ งานท่ีเปน็ รูปธรรมออกมา ผลผลิตทแ่ี สดงออกถงึ ความรู้ความคิดของผู้เรียนน้ีสามารถนามาอภิปราย
แลกเปลี่ยนและวพิ ากษว์ ิจารณ์ไดอ้ ยา่ งชดั เจน ซึ่งผลการวิจยั ทางดา้ นสตปิ ัญญาและการเรียนรู้ได้ช้ีชัดว่าการ
เรียนรูจ้ ะพัฒนาขน้ึ หากความรู้และทกั ษะต่างๆ สามารถแสดงออกใหเ้ ห็นไดอ้ ย่างชดั เจน

4.2.3.4 การให้ผู้เรียนทาโครงการหรือโครงงาน นอกจากจะช่วยให้
ผ้เู รียนพัฒนาทกั ษะกระบวนการในการสบื สวนและการแกป้ ัญหาแลว้ ยงั สามารถช่วยดึงศักยภาพต่างๆ ท่ีมี
อยู่ในตัวของผเู้ รียนออกมาใช้ประโยชน์ดว้ ย

5 แบบเนน้ ทักษะกระบวนการ ประกอบด้วย
5.1 การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการสืบสวน การสืบสวนด้วย

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (scientific inquiry) เป็นกระบวนการท่ีจาเป็นต่อการแสวงหา และศึกษา
ข้อมูลต่างๆ คาถามท่ีเหมาะสมสามารถนาผูเ้ รียนไปส่กู ารค้นพบข้อความรู้ใหมๆ่ ได้

5.2 การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการคิด กระบวนการคิดเป็น
กระบวนการทางสติปัญญา ซึ่งอาศัยส่ิงเร้า และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม การฝึกทักษะการคิด การใช้
ลักษณะการคิดแบบต่างๆ รวมท้ังกระบวนการคิดที่หลากหลายจะช่วยให้การคิดอย่างจงใจและอย่างมี
เปูาหมายของผูเ้ รียนเป็นไปอยา่ งมคี ุณภาพมากข้ึน

5.3 การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการกลุ่ม กระบวนการกลุ่มเป็น
กระบวนการในการทางานร่วมกันของบุคคลต้ังแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน และมีการ
ดาเนินงานร่วมกัน โดยผู้นากลุ่มและสมาชิกกลุ่มต่างก็ทาหน้าที่ของตนอย่างเหมาะสมและมีกระบวนการ
ทางานทดี่ ี จะช่วยใหผ้ เู้ รยี นเกิดทกั ษะทางสงั คมและขยายขอบเขตของการเรียนรู้ให้กว้างขวางข้ึน

5.4 การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการวิจัย กระบวนการวิจัยเป็น
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ทใ่ี ช้ในการแสวงหาความรู้ เพือ่ ให้ได้ข้อมูลความรู้ท่ีเชื่อถือได้ การให้ผู้เรียนได้

25

ใช้กระบวนการวิจัยในการศึกษาหาความรู้ต่างๆ จะช่วยให้ผู้เรียนมีเคร่ืองมือในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใหผ้ ู้เรียนได้รบั ประสบการณ์ตรงในการใช้กระบวนการวิจัยจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรทู้ ล่ี กึ ซึง้ และมีความหมายตอ่ ตนเอง

5.5 การจดั การเรียนการสอนโดยเนน้ กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนทุกคนมี
ความสนใจใฝุรู้อยเู่ ปน็ ธรรมชาติ หากได้รบั การสง่ เสริมให้รับผิดชอบการเรียนรู้ของตน และได้รับการฝึกฝน
ทกั ษะทีจ่ าเปน็ ตอ่ การศกึ ษาหาความรดู้ ว้ ยตนเอง ผู้เรียนจะสามารถเรียนรใู้ นสง่ิ ทตี่ นสนใจได้ตลอดชีวติ

6 แบบเน้นการบรู ณาการ ประกอบด้วย
6.1 ในธรรมชาตแิ ละชีวิตจริง ทกุ สง่ิ ทุกอย่างล้วนมีความสมั พันธก์ นั การเรียนร้ทู ่ีดจี ึง

ควรมลี กั ษณะเชน่ เดียวกนั ควรมีลักษณะเป็นองคร์ วมไม่ใชแ่ บง่ เปน็ ทอ่ นหรอื เป็นแทง่ ท่ีแยกจากกัน ซ่ึงทาให้
การเรียนรู้ไม่เชื่อมโยงสัมพันธ์กับชีวิตจริง และความเป็นจริงเป็นผลทาให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไป
ประยุกตใ์ ช้ให้เปน็ ประโยชน์ในชีวิตจริงได้

6.2 การบูรณาการเปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนเกิดการพัฒนาการท้ังทางด้านความรู้ ทักษะ
และเจตคติไปพร้อมๆ กนั

6.3 การบูรณาการช่วยเปดิ โลกทัศนข์ องทงั้ ผู้สอนและผู้เรียนให้กว้างขึ้น ไม่จากัดอยู่
แต่เฉพาะด้าน เฉพาะทาง ช่วยให้การเรียนรู้น่าสนใจ น่าตื่นเต้น ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้ และมี
ความคิดและมมุ มองทีก่ วา้ ง

ธรี ะ รญุ เจริญ (2545) กล่าวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ว่า ผู้จัด
ควรมคี วามเชอื่ พน้ื ฐานในการเชือ่ ว่า ทกุ คนมีความแตกต่างกัน ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ และการเรียนรู้เกิด
ได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยการจัดน้ันต้องเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ มีคุณธรรม จัดโดยใช้กระบวนการเรียนรู้และ
การบรู ณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศกึ ษาดว้ ย

บรู ชยั ศิรมิ หาสาคร (2545) ได้เสนอหลักการ 3 และกระบวนการ 4 ของ Child Center ไว้
ดงั น้ี

1 หลกั การ 3 ของ Child Center
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมาจากคาภาษาอังกฤษ 3 คา ว่า “Self-DO-

Enjoy” เมือ่ นาความหมายของ 3 คานี้มารวมกัน จะได้ความหมายของคาว่า Child Center ซึ่งแต่ละคามี
ความหมายดังน้ี

Self มาจากคาว่า “Self Learning” คือ การเรยี นรู้เร่มิ ตน้ ที่ตนเอง ครูต้องให้นกั เรียน
ได้คิดเองทาเอง และแก้ปัญหาเองให้มากท่ีสุด โดยมีครูเป็นเพียงที่ปรึกษาให้คาแนะนาเท่าท่ีจาเป็น ไม่ใจ
รอ้ นรบี บอกนักเรยี นกอ่ น จนนกั เรยี นไม่มโี อกาสไดเ้ รียนรู้ด้วยตนเอง

Do มาจากคาว่า “Learning by Doing” คือ การเรียนรู้ท่ีต้องควบคู่กับการปฏิบัติ
ครตู ้องให้นกั เรยี นไดล้ งมอื ปฏิบตั ิจริง เพือ่ ให้เกดิ การเรียนรจู้ ากการกระทา

26

Enjoy มาจากคาวา่ “Enjoy Learning” คอื การเรยี นร้ตู ้องควบคู่กับความสนุกสนาน
เมือ่ นักเรยี นได้เรยี นรดู้ ้วยตนเอง ไดล้ งมอื ทาเอง จะทาให้นักเรียนมีความสขุ กับการเรียน ความสนุกสนานที่
เกิดขน้ึ จากการเรยี น เปน็ แรงจูงใจใฝเุ รยี นรู้ทม่ี คี วามสาคญั สาหรบั เด็ก

2 กระบวนการ 4 ของ Child Center
กระบวนการ 4 ของ Child Center คือ กระบวนการเรียนรู้ตามธรรมชาติของมนุษย์

4 ขัน้ ตอน ตามทฤษฎี Learning How To Learn ของ David A. Kolb แห่ง MIT. (สถาบันเทคโนโลยีแห่ง
รัฐแมสซาซเู ซส) ซ่งึ มีขนั้ ตอนดังน้ี

2.1 ข้ันประสบการณ์ (ทากิจกรรม) ให้นักเรียนทากิจกรรม (ซ่ึงอาจจะลองผิดลอง
ถูก) เพอ่ื ให้เกิดประสบการณต์ รงในเร่ืองทเ่ี รยี น ด้วยความเชื่อที่ว่า วิธีการเรียนรู้ท่ีดีที่สุด คือ การให้ผู้เรียน
ลงมอื ทาในสิ่งน้ัน

2.2 ขั้นสะท้อนความคิด (สร้างความรู้) ให้นักเรียนสร้างความรู้จากประสบการณ์
โดยคดิ ทบทวนวา่ เขาได้เรียนรอู้ ะไรบา้ งจากสงิ่ ท่เี ขาทา

2.3 ขัน้ ทฤษฎี (สรปุ ความรเู้ ปน็ ความคิดรวบยอด)
2.3.1 ใหน้ กั เรยี นสรุปความรทู้ ี่คน้ พบจากการทากิจกรรม เป็นความคิดรวบยอด

(concept) เปรยี บเทียบกับทฤษฎีในบทเรยี น
2.3.2 ใหน้ ักเรยี นสรปุ ทฤษฎเี องจากประสบการณ์
2.3.3 ครูบอกทฤษฎี (หรือเฉลยคาตอบ) ในกรณีนักเรียนสรุปทฤษฎีเองไม่ได้

หรือสรุปทฤษฎผี ดิ
2.4 ขั้นนาไปใช้ ให้นักเรียนนาความรู้และประสบการณ์ท่ีได้ไปใช้แก้ปัญหาใน

สถานการณจ์ าลองหรือในชีวติ จริง
สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์ (2545) ได้กล่าวถึงหลักสาคัญของการยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ การ

จัดกิจกรรมการเรยี นรูต้ ้องคานึงถึง
1 ความตอ้ งการและความสนใจของผ้เู รยี น (learners needs interests) เปน็ สาคญั
2 เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นร่วม (participation) ในการเรยี นรมู้ ากทส่ี ุด
3 เน้นใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถสร้างองคค์ วามรู้ได้ดว้ ยตนเอง (constructionism) กล่าวคือ ให้

สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ในสภาพความเป็นจริง (experiential learning) สามารถวิจัยเชิง
ปฏบิ ัตกิ าร (action research) และสืบคน้ หาความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง (inquiry)

4 เปน็ การพึ่งพาตนเอง (autonomy) เพ่อื ให้เกดิ ทักษะท่จี ะนาส่ิงท่เี รียนรู้ไปใช้ได้จริงใน
ชีวิตประจาวัน และสามารถเข้าใจวิธีการเรียนรู้ของตนได้ (metacognition) กล่าวคือ รู้วิธีคิดของตนเอง
และพร้อมทจ่ี ะปรับเปล่ยี นวิธคี ิดได้อย่างเหมาะสม ไม่เน้นที่การจดจาเพียงเน้ือหา

5 เน้นการประเมินตนเอง (self evaluation) ซึ่งแต่เดิมครูผู้สอนจะเป็นผู้ประเมินผล
การเปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นประเมินตนเองอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ืองจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจตนเองได้ชัดเจน

27

ขน้ึ รจู้ ุดเด่น จดุ ดอ้ ย และพรอ้ มทีจ่ ะปรบั ปรงุ หรอื พัฒนาตนเองใหเ้ หมาะสมยงิ่ ขน้ึ การประเมินในส่วนนี้เป็น
การประเมนิ ตามสภาพจรงิ และใชแ้ ฟูมสะสมงานเขา้ ช่วย

6 เน้นความร่วมมือ (cooperation) ซึ่งเป็นทักษะท่ีสาคัญในการดาเนินชีวิตประจาวัน
ดังน้ันในการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ วิธีหนึ่งที่ควรใช้ก็คือการเรียนแบบร่วมมือใน
รูปแบบต่างๆ เชน่ TGT, Jigsaw, STAD เปน็ ต้น

7 เน้นรูปแบบการเรียนรู้ (learning styles) ซ่ึงอาจจัดได้ทั้งในรูปท่ีเป็นกลุ่ม หรือเป็น
รายบคุ คล

สุรางค์ โค้วตระกูล (2550) ได้กล่าวถึงหลักการที่สาคัญหรือส่ิงที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
ท้ังหมด 14 หลกั การ และแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ดังตอ่ ไปน้ี

1 หลักการกลุ่มท่ี 1 การรู้คิดและการตระหนักในการรู้คิดของตนเอง (cognitive and
metacognitive) หลกั การกลมุ่ น้ีประกอบดว้ ย 6 หลกั การ คือ

1.1 ธรรมชาตขิ องการเรยี นรู้จะตอ้ งมผี เู้ รยี นเปน็ ผกู้ ระทา (active)
1.2 ผเู้ รียนจะตอ้ งมีเปูาหมายในการเรียนรู้
1.3 ผ้เู รียนสรา้ งความรูโ้ ดยการเชอ่ื มโยงขอ้ มูลขา่ วสารใหม่กับความรูเ้ ดมิ
1.4 ยทุ ธศาสตรใ์ นการคิดของผู้เรยี นมีอทิ ธพิ ลตอ่ การเรียนรู้
1.5 การตรวจสอบปรับปรุงการคดิ ใหเ้ หมาะสมกับการแกป้ ัญหา
1.6 สภาพแวดลอ้ มของการเรียนรู้
2 หลกั การกลุ่มท่ี 2 แรงจูงใจและเจตคติ (motivation and affective) ประกอบ ด้วย
3 หลกั การ คือ
2.1 แรงจูงใจ ความมุ่งหวัง ความเชื่อ ความรสู้ กึ ของผู้เรียนมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การเรียนรู้
2.2 แรงจงู ใจภายในของผู้เรยี น
2.3 ความพยายามของผู้เรียน
3 หลักการกล่มุ ที่ 3 พัฒนาการสังคม (developmental and social) ประกอบด้วย 2
หลักการ คอื
3.1 พัฒนาการทั้งทางร่างกาย เชาว์ปัญญา อารมณ์และสังคม อาจเอื้อหรือเป็น
อปุ สรรคในการเรียนรู้
3.2 ปฏสิ ัมพนั ธท์ างสังคมมคี วามสาคัญต่อการเรยี นรู้
4 หลักการกลุ่มท่ี 4 ความแตกต่างของบุคคล (individual differences) ประกอบด้วย
3 หลกั การ คอื
4.1 ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลและภายในตัวบุคคล ที่เนือ่ งมาจากส่ิงแวดล้อม และ
พันธกุ รรม
4.2 ความแตกตา่ งทางภูมหิ ลงั และวัฒนธรรมของผูเ้ รียน

28

4.3 การใช้มาตรฐานในการวัดและประเมินผล รวมท้ังการวิเคราะหผ์ ลของการเรียนรู้
ที่เหมาะสม

สรุปได้ว่า การใช้หลักการท้ัง 14 หลักการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมีผู้เรียนเป็น
ศูนยก์ ลาง จะชว่ ยให้ผูเ้ รียนมสี ัมฤทธิผลในการเรียนรู้ทกุ คน

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ยึด
ผ้เู รยี นเปน็ ตัวต้งั โดยคานึงถึงความเหมาะสมกบั ผเู้ รยี นและประโยชน์สูงสุดท่ีผู้เรียนควรจะได้รับ และมีการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีบทบาทสาคัญในการเรียนรู้ ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการ
เรยี นรู้อยา่ งตน่ื ตัวและได้ใชก้ ระบวนการเรียนรู้ต่างๆ อันจะนาผ้เู รยี นไปส่กู ารเกิดการเรียนรูท้ ี่แท้จริง (ทิศนา
แขมมณี, 2550)

หลักการจดั การเรียนร้ทู เี่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญมีสาระสาคญั 2 ประการ คือ การจัดการโดย
คานึงถึงความแตกต่างของผู้อ่ืน และการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นาเอาสิ่งท่ีเรียนรู้ไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต
เพื่อพัฒนาตนเองไปสู่ศักยภาพสูงสุดท่ีแต่ละคนจะมีและเป็นไปได้ โดยที่ครูหรือผู้จัดการเรียนรู้ควรจะมี
ความเชอ่ื พ้ืนฐานอย่างน้อย 3 ประการ คอื เช่ือว่าทุกคนมีความแตกต่างกัน เชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้ได้
และเชือ่ ว่าการเรยี นรู้เกดิ ไดท้ ุกท่ีทุกเวลา

สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเป็นการจัดการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
เพ่อื ให้ผเู้ รียนแต่ละคนได้พฒั นาตนเอง ตามศกั ยภาพของแต่ละคน ซึง่ ผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันท้ัง
ด้านความต้องการ ความสนใจ ความถนัด ครูผู้สอนจึงควรมีการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมในลักษณะที่
แตกต่างกัน ตามความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน เพื่อทาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม
เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 คือ เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข
ครผู ูส้ อนจึงจาเปน็ อยา่ งย่ิงท่ีต้องทาความเข้าใจและศึกษาข้อมูล อันเป็นความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคน
และหาวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ เพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนแต่ละคนนั้นให้บรรลุถึงศักยภาพสูงสุดท่ีมีอยู่ และผลจากการเรียนรู้นั้นผู้เรียนต้องสามารถ
นาเอาองคค์ วามรูท้ ไ่ี ด้รบั จากการเรยี นรนู้ าไปสกู่ ารปฏิบัติไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ดังนน้ั หลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผเู้ รียนเป็นสาคัญ จึงมีสาระท่ีสาคัญ 2 ประการคือ การจัดการ โดยคานึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน และ
การสง่ เสริมให้ผู้เรยี นได้นาเอาส่งิ ทเี่ รียนรู้ไปปฏิบัตใิ นการดาเนินชวี ิต เพอื่ พฒั นาตนเองไปสู่ศักยภาพสูงสุดท่ี
แต่ละคนจะมแี ละเปน็ ได้

2.3.4 รูปแบบการจดั การเรยี นรทู้ ี่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั
รูปแบบการสอนที่นักการศึกษาให้ความสนใจในปัจจุบันมีรูปแบบการสอนท่ีสามารถนาไป

ปฏบิ ัติไดโ้ ดยง่ายและสอดคลอ้ งกับการดารงชีวติ เหมาะสมกับความสามารถและความสนใจของผู้เรียน โดย
เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติจริงทุกข้ันตอนจนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง จากการรวบรวม
วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลงานวิจัยจาแนกแบบการสอนเป็น 3 กลุ่มใหญ่ (อดิศร ประเสริฐสังข์, 2564)
ดงั นีค้ อื

29

1 กลมุ่ รูปแบบการสอนที่เนน้ กระบวนการคิด จานวน 20 รปู แบบ คอื
1.1 การใช้กระบวนการแกป้ ัญหา
1.2 การเรียนรู้ฉลาดรู้
1.3 การเรียนรู้ทีเ่ นน้ การพฒั นาคุณภาพความคิด
1.4 การเรียนรู้แบบสรรค์สรา้ งความรู้
1.5 การสอนโดยใช้ชุดการสอน
1.6 การสอนตามแนวพทุ ธวิถี
1.7 การสอนตามแนววัฏจักรการเรยี นรู้
1.8 การสอนตามวิธีของเทนนสี ัน
1.9 การสอนตามหลกั การเรียนร้ขู องกาเย่
1.10 การสอนทเ่ี น้นทกั ษะกระบวนการ
1.11 การสอนแบบกระบวนการ
1.12 การสอนแบบโครงการ
1.13 การสอนแบบโครงงาน
1.14 การสอนแบบบรู ณาการ
1.15 การสอนแบบรอบรู้
1.16 การสอนแบบศนู ย์การเรียน
1.17 การสอนแบบสบื สวนสอบสวน
1.18 การสอนแบบอุปนยั
1.19 การสอนแบบนริ นยั
1.20 การสอนแบบบคุ คลหรอื การเรยี นด้วยตนเอง

2 กลมุ่ รูปแบบการสอนทเ่ี น้นการมสี ว่ นร่วม จานวน 10 วิธี คือ
2.1 การเรียนรู้แบบมสี ว่ นรว่ ม
2.2 การสอนโดยใช้กิจกรรมกลุ่ม
2.3 การสอนที่เน้นการเรยี นแบบรว่ มมอื
2.4 การสอนแบบร่วมมือกนั เรียนรู้
2.5 การสอนแบบกลมุ่ สัมพันธ์
2.6 การสอนแบบซนิ ดเิ คท
2.7 การสอนแบบเพือ่ นชว่ ยเพื่อน
2.8 การสอนแบบสเตด
2.9 กจิ กรรมคิวซีหรอื กิจกรรมกลุ่มสรา้ งคณุ ภาพ
2.10 การสอนแบบซิปปา

30

3 กลมุ่ รปู แบบการสอนที่เน้นการพฒั นาพฤติกรรมและคา่ นยิ ม จานวน 7 วิธี คอื
3.1 การใชส้ ถานการณจ์ าลอง
3.2 การทาค่านิยมใหก้ ระจ่าง
3.3 การปรับพฤติกรรม
3.4 การสร้างเสรมิ ลักษณะนิสัย
3.5 การสอนท่เี นน้ การพัฒนาศักยภาพ
3.6 การสอนแบบนาฏการ
3.7 การแสดงบทบาทสมมติ

รูปแบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญทั้งหมดนี้ ครูผู้สอนสามารถเลือก
นาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยครูต้องเลือกให้เหมาะสม ตรงความต้องการของผู้เรียนและเน้ือหาสาระ
ของวิชา

วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ (2542) กล่าวไว้ว่า รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ว่า เป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งท่ีได้รับความสนใจ และง่ายต่อการ
นาไปปฏบิ ตั ิ คือ CIPPA Model ซ่ึงมีรายละเอียดรูปแบบ ดงั น้ี

C Construct คอื การให้ผู้เรยี นสรา้ งความรู้ด้วยตนเอง โดยการศึกษาค้นคว้า หาข้อมูล
ทาความเขา้ ใจ คิดวิเคราะห์ แปลความ ตีความ สร้างความหมาย สงั เคราะห์ และสรปุ เป็นข้อความรู้

I Interaction คือ การให้ผู้เรียนได้ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน แลกเปล่ียน และเรียนรู้ข้อมูล
ความคิด ประสบการณ์ซงึ่ กันและกัน

P Participation คือ การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ ปัญญาและ
สังคม ในการเรยี นรใู้ ห้มากทีส่ ุด

P Process and Product คือ การให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ กระบวนการ และมีผลงานจาก
การเรียนรู้

A Application คือ การให้ผ้เู รียนนาความรทู้ ไ่ี ด้ไปประยกุ ตห์ รอื ใช้ในชีวติ ประจาวัน
CIPPA Model นอกจากจะเปน็ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแล้ว ยังสามารถนาไปใช้
เปน็ ตวั ช้วี ดั หรือเป็นเครือ่ งตรวจสอบกิจกรรมการเรยี นการสอนได้ว่ากจิ กรรมนัน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั หรอื ไม่
สาหรับการจัดกระบวนการเรียนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และท่ีแก้ไขปรับปรุง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 หมวด 4 มาตรา 24
จาแนกเป็น 4 กลุ่มรูปแบบ ประกอบด้วย กลุ่มที่ 1 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบพัฒนา
กระบวนการคดิ และการจดั การ กลมุ่ ที่ 2 รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรูแ้ บบใชป้ ระสบการณ์จริง กลุ่มที่
3 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ และกลุ่มท่ี 4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้จาก
แหล่งวิทยาการซ่งึ แต่ละกลมุ่ มีหลักการแนวคดิ และรปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ
สรุปได้ดงั น้ี (สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2547)

31

กลมุ่ ที่ 1 รูปแบบการจดั กระบวนการเรยี นรแู้ บบการพัฒนากระบวนการคิดและการ
จดั การ

คุณลกั ษณะดา้ นปญั ญา ความคดิ เปน็ ลักษณะความสามารถทางสมองของ
บคุ คลในการรู้เขา้ ใจสง่ิ ตา่ งๆ ทง้ั ในระดบั ความรู้ ความเข้าใจพ้ืนฐาน จนถึงความจริง ความเข้าใจตามความ
เป็นจริงอยา่ งลกึ ซ้ึง จนสามารถคดิ วิเคราะหเ์ พื่อตัดสินใจและกระทาส่ิงต่างๆ อย่างเหมาะสมถูกตอ้ ง ยืดหยุ่น
หลากหลาย ครอบคลุม ครบถ้วนกับสถานการณ์นั้น ซ่ึงประกอบด้วยการคิดพื้นฐานและการคิดท่ีเป็นแกน
นาไปสูก่ ารคดิ ชน้ั สงู ทีม่ ุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนดา้ นสมอง ได้แก่ การคิดไตร่ตรอง (reflective thinking) การคิด
อย่างมีวจิ ารณญาณ (critical thinking) และการคิดอย่างสร้างสรรค์ (creative thinking) ซ่ึงมีรูปแบบการ
จดั กระบวนการเรยี นรู้ ดังนี้

1 รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ แบบการพัฒนากระบวนการ
คดิ ดว้ ยการใช้คาถามประกอบดว้ ย

แบบที่ 1 การจดั การกระบวนการคิดโดยใช้คาถามของเบนจามิน
บลมู และเดอโบโน

แบบที่ 2 การพัฒนาความคิดด้วยวิธีตั้งคาถามโดยใช้หมวก
ความคดิ

แบบท่ี 3 การพฒั นาความคดิ โดยใช้คาถามสร้างสรรค์
2 รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรแู้ บบโฟรแ์ มทซสิ เตม็ (4 MAT’s
learning)
3 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบพัฒนากระบวนการคิด
แบบวิทยาศาสตร์
4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์
5 รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้แบบโครงงาน
6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยวงจรพัฒนาคุณภาพแบบ
PDCA
กล่มุ ที่ 2 รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู้แบบใช้ประสบการณ์จริง
การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง เป็นการฝึกการ
ปฏิบัติให้ทาได้คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝุรู้อย่างต่อเนื่อง ครูผู้สอนต้องตระหนักว่าในยุค
สังคมข้อมลู ขา่ วสาร วทิ ยาการเจรญิ กา้ วหนา้ และหลากหลาย การสอ่ื สารโทรคมนาคมที่รวดเร็ว ครูผู้สอนจึง
ไม่ใช่แหล่งเรียนรู้เพียงแห่งเดียวของผู้เรียน และครูผู้สอนไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ และวิทยาการท่ีมี
มากมายให้กับผู้เรียนได้ เช่น ก่อนครูผู้สอนต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้จากการกระทา (active learning) ส่งเสริมให้ฝึกจากประสบการณ์ตรงจากแหล่งการเรียนรู้ ส่ือ

32

เหตกุ ารณ์ และสิ่งแวดล้อมรอบตัวท้ังท่ีเป็นเพื่อนมนุษย์ ธรรมชาติและเทคโนโลยี ด้วยการร่วมทางานเป็น
กลุ่ม ศึกษา สังเกต ค้นคว้า ทดลอง ฝึกปฏิบัติอย่างจริงจัง เต็มความสามารถแลกเปล่ียนเรียนรู้จนค้นพบ
สาระสาคัญของบทเรียนได้ ฝึกวิธีคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ จินตนาการ สามารถแสดงออกได้
อย่างชดั เจน มเี หตผุ ล ครผู ้สู อนมบี ทบาทปลกุ เร้าและเสรมิ แรงใหผ้ ้เู รยี นได้คน้ พบคาตอบ และการแก้ปัญหา
ดว้ ยตนเอง หรือรว่ มกนั เปน็ กล่มุ การเรียนรู้ด้วยตนเอง ช่วยให้เกิดความเช่ือม่ันในตนเอง พ่ึงตนเองได้ เป็น
การเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตและความเป็นจริง ซ่ึงรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้รับ
อิสระและสามารถควบคมุ ทศิ ทางการจัดกจิ กรรมไดด้ ี คือ

1 รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนร้แู บบประสบการณ์
2 รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นร้แู บบโครงงาน
3 รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ท่เี น้นการปฏบิ ัติ
4 รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรแู้ บบรว่ มมือรว่ มใจ
5 รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรจู้ ากสอ่ื การเรียนรู้
กลุม่ ที่ 3 รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ
การจดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามทฤษฎี
พฤตกิ รรมนิยม ซึง่ เปน็ กระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ี่สง่ เสรมิ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้รอบรู้ในสาระการเรียนรู้ท่ี
เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม ก่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพและสติปัญญา โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียน
สามารถปฏิบตั กิ ารสืบคน้ แสวงหาข้อมลู รจู้ กั เลือกใช้ขอ้ มูลท่ีเปน็ ประโยชน์ ร้จู กั การทางานรว่ มกบั ผู้อื่นอย่าง
มคี วามสุข รู้เขารเู้ รา มคี วามรักธรรมชาติ มีความรับผิดชอบ และเพิ่มพูนคุณลักษณะการเป็นผู้ใฝุรู้ใฝุเรียน
และมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ซ่ึงกลุ่มรปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ สรุปเป็นแบบใหญ่ๆ ได้
2 แบบ ไดแ้ ก่
1 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการสู่สาระการ
เรยี นรู้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื บูรณาการภายในวชิ ากับบูรณาการระหว่างวิชา และการจัดการเรียนรู้
แบบบรู ณาการระหว่างวิชา ซ่งึ แบง่ ออกไดอ้ กี เปน็ 4 แบบ ดงั นี้

1.1 การบูรณาการแบบสอดแทรก เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ี
ครูผู้สอนในกลุ่มสาระวิชาหน่ึงสอดแทรกสาระของกลุ่มอ่ืนเข้าไปในการจัดการเรียนรู้ของตนเป็นการ
วางแผนและดาเนินการจดั การเรยี นรู้โดยครูผู้สอนคนเดียว

1.2 การบรู ณาการแบบคูข่ นาน เปน็ การจดั การเรียนรู้ที่ครูผู้สอน
ตั้งแต่ 2 คนข้ึนไป สอนต่างกลุ่มสาระกัน ต่างคนต่างสอน แต่มาวางแผนการจัดการเรียนการสอนร่วมกัน
โดยม่งุ สอนหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอด/ปัญหาเดียวกัน ระบุส่ิงท่ีร่วมกันและตัดสินใจร่วมกันว่าจะสอน หัว
เร่อื ง ความคดิ รวบยอดปญั หานั้นๆ อย่างไรในกลุม่ สาระของแตล่ ะคน งานทีม่ อบหมายผู้เรียนแตกต่างกันไป
ตามลักษณะของแตล่ ะกลมุ่ สาระ แตอ่ ยภู่ ายในหัวเรอื่ ง ความคดิ รวบยอด หรือปัญหาเดยี วกัน

33

1.3 การบูรณาการแบบสหวิทยาการ เปน็ การจัดการเรียนรู้คล้าย
กับการบูรณาการแบบคู่ขนานกล่าวคือ ครูผู้สอนตั้งแต่ 2 คนข้ึนไป สอนต่างกลุ่มสาระกัน ใช้หัวเร่ือง
ความคิดรวบยอด หรือปัญหาเดยี วกนั ตา่ งคนต่างดาเนนิ การจดั การเรยี นรู้ แต่มกี ารมอบหมายโครงการหรือ
โครงงานรว่ มกัน ครผู ู้สอนทกุ คนตอ้ งวางแผนร่วมกัน สรา้ งโครงการร่วมกันและแบ่งโครงการย่อยให้ผู้เรียน
ปฏิบตั ใิ นแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้

1.4 การบูรณาการแบบข้ามวิชา เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ี
ครูผู้สอนกลุ่มสาระต่างๆ จะมาร่วมกันจัดการเรียนรู้เป็นคณะ หรือทีมร่วมกันวางแผน ปรึกษาหารือกัน
กาหนดหวั เร่อื ง ความคดิ รวบยอด ปัญหาร่วมกัน แล้วดาเนนิ การจดั การเรยี นรู้ให้กบั ผ้เู รียนในกลุ่มเดียวกนั

2 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการสู่พหปุ ัญญา
การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการสู่พหุปัญญา มีแนวคิด

มาจากทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาปัญญา เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้
และกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นศักยภาพการเรียนรู้ อันจะก่อให้เกิดปัญญาอย่างหลากหลายที่เรียกว่า พหุ
ปญั ญา (multiple intelligence) เช่น ปญั ญาทางด้านภาษาเพ่ือความเข้าใจในการส่ือสาร ปัญญาทางด้าน
การใช้เหตุผล ปัญญาทางด้านความมีมนุษยสัมพันธ์ ปัญญาทางด้านความรักและความเข้าใจในธรรมชาติ
เป็นต้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีหลายลักษณะ ด้วยการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์ผู้เรียน
จัดการเรียนรู้ที่เน้นความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและยดึ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั ม่งุ ใหผ้ เู้ รยี นไดม้ สี ่วนร่วมในการจัด
กิจกรรม ฝึกทักษะให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาทุกๆ ด้าน โดยการบูรณาการเชื่อมโยงการเรียนรู้ให้
สอดคล้องกบั การดารงชีวติ จริง

กลมุ่ ที่ 4 รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้จากแหล่งวทิ ยาการ
การจัดกระบวนการเรียนรจู้ ากแหลง่ วทิ ยาการจะเกี่ยวข้องท้ังด้านบุคลากร

สถานที่ ธรรมชาติ หน่วยงานองค์กร สถานประกอบการ ชุมชน และอื่นๆ ซึ่งผู้เรียน ครูผู้สอนและผู้สนใจ
สามารถศกึ ษาค้นคว้าได้ แหลง่ วทิ ยาการมีทั้งอยู่ในโรงเรียน นอกโรงเรียน ท้ังท่ีเป็นธรรมชาติ และที่มนุษย์
สร้างขึ้น ปัจจุบันจะมุ่งสู่การพัฒนาความสามารถทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การสืบค้นข้อมูลจาก
อินเตอร์เน็ต (internet) จึงเป็นแหล่งข้อมูลที่มีการเช่ือมโยงเครือข่ายข้อมูลอย่างมหาศาล ผู้เรียนสามารถ
ฝึกตนเองใหเ้ กดิ ทักษะการเรียนรไู้ ด้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยการฝกึ ฝนการสบื ขอ้ มูลจากแหล่งวทิ ยาการ ฝึก
ทักษะการสังเกต ฝึกคิด ฝึกพัฒนาการ เห็นคุณค่าของความงาม ความสุนทรีย์ ความสาคัญของแหล่งการ
เรียนรู้ ที่ผู้เรียนได้ปฏิสัมพันธ์ (interaction) ก่อให้เกิดความสามารถทางการเรียนรู้แบบองค์รวม ท้ังด้าน
ความรู้ ด้านความคิด ด้านทักษะกระบวนการและคุณลักษณะนิสัย ซึมซับส่ิงท่ีดีงามจากภูมิปัญญา หล่อ
หลอมจิตใจเกิดความรักความศรัทธาและหวงแหนทรัพยากรของประเทศชาติ ซึ่งรูปแบบการจัด
กระบวนการเรยี นรจู้ ากแหล่งวทิ ยาการ ประกอบด้วย รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ มีดงั นี้

1 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ มีทฤษฎีที่
เกย่ี วข้องคอื ทฤษฎสี รา้ งองคค์ วามรู้ และจากปรชั ญากลุ่มสรา้ งสรรคค์ วามรู้นิยม (constructivism)

34

2 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบระบบนิเวศน์ในนาข้าว
และแปลงผัก เปน็ การจัดการเรียนรูเ้ พ่ือนาความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบระบบนิเวศน์จนได้
แนวคิด หลกั จากการบริหารศัตรูพืช โดยวิธีผสมผสานและแนวการอบรมเกษตรแบบมีส่วนร่วม เพ่ือมุ่งให้
ผู้เรียนเกิดจติ สานกึ ในการอนุรกั ษส์ ่งิ แวดล้อมทั้งในโรงเรยี นและชุมชน

สรปุ ได้ว่า รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ของครูผู้สอน จาแนก
ไดอ้ อกเป็น 4 กลุ่มรูปแบบ คือ 1) กลุ่มรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบพัฒนากระบวนการคิดและ
การจัดการ 2) กลุ่มรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบใช้ประสบการณ์จริง 3) กลุ่มรูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ และ 4) กลุ่มรูปแบบการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้จากแหล่ง
วทิ ยาการ ซ่ึงแตล่ ะกลุ่มรูปแบบจะประกอบด้วยรปู แบบ และวธิ กี ารจดั กิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย
ซ่ึงครูผู้สอนต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมของรูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับลักษณะ
ของสาระการเรยี นรู้และสภาพของผู้เรยี น เพื่อให้ผูเ้ รียนเกดิ การเรยี นรตู้ ามศักยภาพอยา่ งเตม็ ท่ี

2.3.5 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ
สิรพิ ร ทิพย์คง (2545) กล่าวว่า แนวการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นตัวตั้งหรือเป็นสาคัญนี้

หมายถึง กระบวนที่พัฒนาร่างกาย จติ ใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรมของผู้เรียนเจริญงอกงาม โดยการ
สรา้ งใหผ้ ูเ้ รยี นมสี ่วนรว่ มรู้ รว่ มคิด รว่ มกระทา ผู้สอนทาหน้าที่ร่วมวางแผนในกิจกรรมที่เหมาะสม กระตุ้น
ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ส่งเสริมความคิดและอานวยความสะดวกให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่าง
เต็มท่ี ตามความตอ้ งการ ตามความสนใจ และเต็มตามศักยภาพของผเู้ รียน ดงั นั้น ในการจัดการเรียนรู้ท่ียึด
ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ผู้สอนจงึ ควรคานงึ ถึงความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน และความแตกต่างของผู้เรียน การ
จัดสาระการเรียนรู้จึงควรจัดให้มีอย่างหลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ
รูปแบบของการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนควรมีหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ร่วมกันท้ังช้ันเรียน
เปน็ กลมุ่ ยอ่ ยหรือเป็นรายบคุ คล สถานทีท่ ่ีจัดก็ควรมีท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน บริเวณสถานศึกษา
มีการจัดให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาในแหล่งวิทยาการต่างๆ ท่ีอยู่ในชุมชนหรือในท้องถิ่น จัดให้สอดคล้องกับ
เนอื้ หาวชิ าและความเหมาะสมของผู้เรียน ได้ลงมือปฏิบัติจริง ผู้สอนควรฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น รู้จัก
บูรณาการความรู้ต่างๆ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ รวมถึงการปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมและลักษณะอันพึง
ประสงค์ ฝกึ ให้ผเู้ รยี นรจู้ ักประเมนิ ผลงานและปรับปรงุ งาน ตลอดจนสามารถนาความรูแ้ ละประสบการณ์ไป
ใช้ในชวี ติ และอยูใ่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข

สุกรี เจรญิ สุข และคณะ (2545) กล่าววา่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนต้องจัด
สภาพแวดล้อมและบรรยากาศท้ังในและนอกห้องเรียนให้เหมาะสมต่อการเรียนรู้มีสื่อการสอนเร้าใจของ
ผู้เรียน การดาเนินกิจกรรมอยู่ในบรรยากาศความเป็นกัลยาณมิตร ผู้สอนจะต้องให้ความร่วมมือกับ
สถานศึกษาในการพฒั นาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถน่ิ โดยใช้ชมุ ชนเข้ามามี
ส่วนร่วมและมกี ารจดั การเรยี นการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนท้องถ่ิน การเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกจิ สงั คม โดยเน้นกระบวนการจดั การเรยี นรโู้ ดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ดังนี้

35

1 มีการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนหลากหลายเหมาะสมกับผูเ้ รยี น
2 กระตนุ้ ให้ผเู้ รียนรู้จกั คดิ วิเคราะหแ์ ละคดิ สรา้ งสรรค์
3 กระตุน้ ให้ผเู้ รียนรจู้ ักศึกษาหาความรู้ แสวงหาคาตอบและสร้างองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง
4 นาภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ เทคโนโลยี และส่ือท่เี หมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน
การสอน
5 ฝึกและส่งเสริมคณุ ธรรมและจริยธรรมของผู้เรียน
6 ผู้เรียนไดร้ ับการพฒั นาสนุ ทรียภาพอยา่ งครบถ้วนทางด้านดนตรี ศลิ ปะ และกีฬา
7 ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตยการทางานร่วมกับผู้อื่นและความรับผิดชอบต่อกลุ่ม
รว่ มกัน
8 ประเมินพัฒนาผูเ้ รยี นดว้ ยวธิ กี ารที่หลากหลายและตอ่ เน่อื ง
9 จดั กิจกรรมให้ผเู้ รียนรักสถานศกึ ษาของตนและมีความกระตือรือรน้ ในการเรียน
สุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ (2545) กล่าวว่า แนวดาเนินการของครูผู้สอนในการจัดการ
เรียนรู้ท่ีเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ประกอบดว้ ย
1 สารวจความสนใจ ความต้องการ และพื้นฐานความรู้เดิมของผู้เรียน อาจใช้การ
ซักถาม การสังเกต พูดคยุ กนั หรอื อาจจะให้ผูเ้ รยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นกไ็ ด้
2 การเตรียมการ ผู้สอนควรจะต้องเร่ิมจากการศึกษาหลักสูตร และผลการเรียนรู้ที่
คาดหวังให้เข้าใจเสียก่อน เพ่ือการวางแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้มีความต่อเนื่องและเชื่อมโยงกัน
หากเป็นไปได้ควรเช่ือมโยงและบูรณาการสาระการเรียนรู้แต่ละวิชาที่สัมพันธ์เข้าด้วยกัน เพ่ือการจัด
กิจกรรมให้สอดคลอ้ งกับวิถีชีวติ จรงิ ใหผ้ ู้เรยี นเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ผู้สอนต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมี
ส่วนรว่ มในกิจกรรมการเรียนรู้มากที่สุด และกิจกรรมการเรียนรู้จะต้องเหมาะสมตามความถนัดและความ
สนใจของผู้เรยี นแตล่ ะคนด้วย เน่อื งจากผสู้ อนเป็นเพียงผ้ชู ้แี นะแนวทาง ดงั นนั้ ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
ผสู้ อนต้องมสี อ่ื การเรียนในลกั ษณะต่างๆ ท่จี ะสามารถให้ผูเ้ รียนเรยี นรดู้ ้วยตนเองได้
3 การดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ อาจทาได้ดังนี้

ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน ผู้สอนควรใช้คาถามหรือกิจกรรมท่ีทาให้เกิดความสงสัยใคร่รู้
ขณะเดยี วกัน ผ้สู อนควรจะทาตัวเปน็ เพอ่ื นทีด่ ขี องผเู้ รียน สามารถช่วยเหลอื เขาไดท้ ุกเรอื่ ง

ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ ในข้ันนี้ ผู้สอนเป็นบุคคลที่สาคัญมากเพราะผู้สอนจะต้องจัด
กิจกรรมให้สอดคล้องกับการดารงชีวิต โดยใช้สื่อและเทคนิควิธีสอนท่ีหลากหลายในลักษณะองค์รวมท่ี
เหมาะสมกบั ความถนัดความสนใจของผเู้ รยี น

ข้ันวิเคราะห์ อภิปรายผลงาน สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งผู้สอน
และผู้เรียนรว่ มกนั อภปิ รายผล หรือผู้เรยี นแลกเปล่ียนความรแู้ ละประสบการณ์การเรียนรู้กับเพ่ือนๆ ผู้สอน
เพยี งแต่คอยสังเกตและคอยช้แี นะ หรอื ใหข้ ้อมูลย้อนกลับท่ีชัดเจนมากขึ้น พร้อมกับกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ
ค้นหาความร้ตู อ่ ไป

36

4 การประเมินผล ผู้สอนต้องประเมินให้ครบทุกด้าน ทั้งด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัยและ
ทกั ษะพิสยั ซ่ึงผูส้ อนจาเป็นจะตอ้ งเลอื กใช้เทคนิค และเครอื่ งมือในการประเมินที่หลากหลาย เหมาะสมกับ
วัตถปุ ระสงคแ์ ละเกณฑก์ ารประเมิน

5 การสรุปและนาไปประยุกต์ใช้ เป็นขั้นตอนการตกผลึกของกระบวนการเรียนรู้
รายบุคคล กล่าวคือ ผู้เรียนจะมองส่ิงต่างๆ รอบตัวอย่างเป็นองค์รวม เชื่อมโยง เกิดการค้นพบตัวเอง มี
ความสามารถ มีจุดเด่นจุดด้อยทางด้านใด ซ่ึงสิ่งต่างๆ เหล่าน้ีจะเกิดกับผู้เรียนได้หลังจากท่ีเขาได้ผ่าน
กจิ กรรมการเรียนรแู้ ละการแสดงออกตามกระบวนการเรยี นรดู้ ังกล่าว

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ อาศัยแนวทางการจัดการเรียนรู้ตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2545
(หมวด 4) เป็นพื้นฐานในการศึกษา ค้นคว้า และพิจารณาเลือกใช้รูปแบบหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ได้ตาม
ความเหมาะสม เทคนคิ และวิธีการศกึ ษาคน้ ควา้ ดังนี้

1 การวิเคราะห์ผู้เรียน การรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่ม ช่วยให้ครูผู้สอนมี
ข้อมูลท่ีสาคญั ในการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม หลักการวิเคราะห์ผู้เรียนควรคานึงถึง
องค์ประกอบทีส่ าคัญ 3 องค์ประกอบ คือ ธรรมชาติของผ้เู รยี น ประสบการณ์ และพื้นฐานความรู้เดิม

2 การใชจ้ ติ วิทยาการเรียนรู้ และการบรู ณาการคุณธรรม ค่านิยมในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้

3 การวิเคราะห์หลักสูตร เช่ือมโยงกับการพัฒนาหลักสูตร และการจัดการเรียนรู้ใน
สถานศึกษา

4 การออกแบบการเรียนรู้ตามสภาพจริง ให้สอดคล้องกับมาตรฐานหลักสูตร และ
เช่อื มโยงบรู ณาการระหว่างกล่มุ รายวชิ า โดยใชผ้ ลการเรยี นร้ทู ก่ี าหนดเปน็ หลัก และใช้กระบวนการวิจัยเป็น
ส่วนหนึ่งของการจัดการเรยี นร้เู พ่ือมงุ่ พัฒนาการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น

5 การออกแบบการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง โดยใช้เคร่ืองมือวัดท่ีหลากหลาย
เพ่ือสะท้อนภาพให้เหน็ ได้ชัดเจน และแน่นอนว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรดู้ ้านตา่ งๆ อย่างไร ทาให้ได้ข้อมูลของ
ผู้เรียนรอบด้านท่ีสอดคล้องกับความเป็นจริง เพ่ือใช้ประกอบการตัดสินผู้เรียนได้อย่างถูกต้องและมี
ประสทิ ธิภาพ

กล่าวโดยสรุปได้ว่า แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญนั้น ครูผู้สอนต้อง
ออกแบบการเรยี นร้ใู ห้มีความสอดคล้องกับผู้เรียนและสาระการเรียนรู้ โดยการวิเคราะห์ผู้เรียน วิเคราะห์
หลักสูตร เพ่ือนามาออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการวัดผลประเมินผล มีการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ท่หี ลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์และคิดสร้างสรรค์ รู้จักศึกษาหา
ความรู้ แสวงหาคาตอบและสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง


Click to View FlipBook Version