The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padayanang, 2022-04-23 20:18:38

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

361

ระบวุ ่างานท่มี อบหมายให้ผเู้ รียนทาแลว้ สามารถสะทอ้ นไดว้ า่ บรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ ้อนัน้ ๆ จริง ไม่มีการบันทึก
ผลการเรยี นของผู้เรียนของแต่ละหน่วยท่ีแสดงให้เห็นถึงผลการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนกับตัวผู้เรียนครบทุก
หน่วย ไมม่ กี ารแสดงใหเ้ หน็ ว่ามกี ารนาผลการใช้แผนการเรียนรตู้ า่ งๆ ไปปรับปรุงแผนการเรียนรู้ให้สมบูรณ์
ย่งิ ๆ ข้นึ ไม่แสดงรายการ ช่อื งานที่มอบหมายสอดคลอ้ งกบั กจิ กรรมการเรียนรู้ ไม่ระบุแหลง่ เรียนรู้ที่กาหนด
นน้ั สามารถทาให้ผูเ้ รยี นรแู้ ล้วบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ได้จรงิ การบนั ทึกผลการใช้แผนการเรียนรู้ของแต่ละหน่วย
ไม่ครบทุกหน่วย ไม่แสดงกิจกรรมที่เป็นงานมอบหมายให้ผู้เรียนทา/หรือปฏิบัติว่า ก่อนเรียน ขณะเรียน
และหลงั เรียน ผู้เรยี นต้องทากิจกรรมอะไรบ้าง งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
เชิงพฤติกรรม ไม่แสดงให้เห็นว่าการปฏิบัติกิจกรรมแต่ละตัวนั้นอยู่ในขั้นตอนใดบ้าง เช่น ก่อนเรียน ขณะ
เรยี น และหลงั เรยี น ไม่แสดงหรอื ระบุเกณฑ์การให้คะแนนการวัดผลของแต่ละวัตถุประสงค์ไว้อย่างชัดเจน
เป็นต้น ดังเอกสารหมายเลข 5 (การตรวจสอบเอกสารการสอน และการสังเกตการสอนในชั้นเรียนของ
ครผู ้สู อน ในวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย)

4.3 ผลการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลึก (เอกสารหมายเลข 6)
โดยได้ดาเนนิ การสมั ภาษณ์ผ้ทู ีเ่ กี่ยวข้องกบั การการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ คือ
1 สัมภาษณ์ครผู ู้สอน
2 สัมภาษณ์ผเู้ รยี น
3 สมั ภาษณผ์ ูบ้ ริหาร
4 สมั ภาษณผ์ ้ปู กครอง
ขอ้ มลู จากการประชุมกลุ่ม ผู้วิจัยจะนามาวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) อธิบาย

ความเรียง แล้วสังเคราะห์ข้อมูลเพ่ือกาหนดเป็นกรอบแนวคิด และองค์ประกอบในกระบวนการพัฒนา
พฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนต่อไป ดังเอกสารหมายเลข 6 (การสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับสภาพการ
จัดการเรยี นรใู้ นปัจจบุ ัน)

4.4 ผลการวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนุนกระบวนการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ของครผู ู้สอน (เอกสารหมายเลข 7)

4.4.1 จดุ แข็ง (strenghts)
จากการวเิ คราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนนุ กระบวนการสอน

ของครูผู้สอน เรื่อง จุดแข็ง (strenghts) สรุปได้ว่า จานวนครูผู้สอน และบุคลากรฝ่ายสนับสนุนมีความ
เพียงพอต่อจานวนผู้เรียน และมีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าท่ี อาคารสถานที่ และห้องเรียนมี
จานวนเพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สภาพแวดล้อมมีความเหมาะสมมาก สามารถสนับสนุนการ
จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ได้เปน็ อยา่ งดี สอ่ื การเรียนรู้และอุปกรณ์การทดลองเพียงพอต่อการเรียนรู้ หลักสูตรมี
ความเหมาะสมต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ในแตล่ ะระดับการศกึ ษา ไดร้ ับงบประมาณในการสนบั สนุนการ
ดาเนินกจิ กรรมในโครงการตา่ งๆ

4.4.2 จดุ อ่อน (weaknesses)

362

จากการวเิ คราะห์ SWOT การบรหิ ารทรัพยากรในการสนบั สนุนกระบวนการสอน
ของครูผู้สอน เรื่อง จุดอ่อน (weaknesses) สรุปได้ว่า ผู้เรียนมีจานวนน้อย ผู้เรียนไม่มีความตรงต่อเวลา
ขาดความสนใจใฝ่รู้ ไม่ตั้งใจเรียน ภาระของครูผู้สอนมากเกินไปและยังปฏิบัติหน้าท่ีหลายอย่าง ครูผู้สอน
บางส่วนขาดการเอาใจใส่ต่อผู้เรียน บุคลากรขาดการได้รับการส่งเสริมขวัญและกาลังใจ มีการประชุม
บ่อยครั้งซ่ึงมีผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อุปกรณ์การทดลองเสียหายเพราะขาดงบประมาณในการ
บารุงรกั ษา ซ่อมแซม สื่อการเรียนรลู้ า้ สมัยและไม่เพยี งพอ

4.4.3 โอกาส (opportunities)
จากการวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรพั ยากรในการสนับสนนุ กระบวนการสอน

ของครผู สู้ อน เรอ่ื ง โอกาส (opportunities) สรุปได้ว่า มีโอกาสเข้าถึงส่ือต่างๆ ได้ง่าย ได้รับการสนับสนุน
ในการจัดทาสิ่งประดิษฐ์ ครูผู้สอนได้มีโอกาสได้พัฒนาตนเองโดยการรับการอบรมหรือศึกษาหาความรู้
เพม่ิ เตมิ และได้พฒั นาตนเองอยู่เสมอ ครผู ูส้ อนส่วนหนงึ่ เป็นคนทอ้ งถ่ินจงึ ไม่มกี ารยา้ ยงานบ่อย สถานศึกษา
ได้รับความร่วมมือกับชุมชน มีแหล่งเรียนรู้ใกล้สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้ายให้บริการ
อนิ เตอรเ์ นท็ อยา่ งทัว่ ถงึ

4.4.4 อปุ สรรค (threats)
จากการวเิ คราะห์ SWOT การบรหิ ารทรพั ยากรในการสนบั สนุนกระบวนการสอน

ของครผู สู้ อน เรือ่ ง อปุ สรรค (threats) สรุปไดว้ า่ มีกิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเรียนรู้มาก
ไป จึงทาให้ท้ังครูผู้สอนและผู้เรียนไม่ค่อยได้ทากิจกรรมการเรียนรู้ ครูผู้สอนไปอบรมบ่อยทาให้ไม่ได้จัด
กิจกรรมการเรียนรู้และทาให้ผู้เรียนไม่อยากมาเรียน ขาดแคลนงบประมาณเน่ืองจากได้รับจัดสรรไม่
เพียงพอ คุณภาพของผเู้ รียนท่ีเข้ามาเรียนในวิทยาลัยฯ ค่อนข้างต่า ทัศนคติของผู้ปกครองบางส่วนมีความ
คดิ เห็นต่อวิทยาลัยฯ เป็นไปในเชงิ ลบ

ดังเอกสารหมายเลข 7 (การวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนุน
กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของครูผสู้ อน)

4.5 สรุปปญั หาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
มติที่ประชุม จากผลการสารวจพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ผลการตรวจสอบ

เอกสารการสอนและการสังเกตการสอนในช้ันเรียนของครูผู้สอน ผลการสัมภาษณ์เชิงลึก และผลการ
วิเคราะห์ SWOT มคี วามคดิ เหน็ รว่ มกนั เกย่ี วกับปัญหาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ดังน้ี

4.5.1 ครูผู้สอนไม่ได้สารวจความตอ้ งการ และสภาพของผู้เรียน ก่อนการออกแบบการ
จดั การเรยี นรู้

4.5.2 ผเู้ รยี นไมม่ คี วามสนใจในการมสี ่วนร่วมในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
4.5.3 ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะโดยกระบวนการกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ
ปฏสิ ัมพนั ธ์กัน คอ่ นขา้ งนอ้ ย

363

4.5.4 ครูผู้สอนมีการวัดผลประเมินผลไม่หลากหลาย และจัดทาเกณฑ์การประเมินผล
ไมช่ ัดเจน

4.5.5 ครผู สู้ อนขาดทกั ษะในการจดั ทาแผนการเรียนรู้
4.5.6 ครผู ูส้ อนไม่ได้จัดกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามแผนการเรียนรทู้ ีไ่ ด้กาหนดไว้
4.5.7 ครูผู้สอนขาดทักษะในการกระตุ้นเร้าให้ผู้เรียนสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการ
เรียนรู้
4.5.8 ผู้เรยี นขาดทักษะในการคิดแกป้ ญั หา และวางแผนแกป้ ัญหา
4.5.9 ครผู ู้สอนและผู้เรียนไม่ได้มีการวิเคราะห์ข้อมูล/ความรู้ร่วมกัน เพ่ือสรุปเป็นองค์
ความรู้
4.6 แนวทางการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอนของครูผสู้ อน
มติท่ปี ระชมุ จากปญั หาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ที่เกิดข้ึน ส่งผลให้การจัดกิจกรรมการ
เรียนรไู้ ม่บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร จงึ ได้กาหนดแนวทางแก้ไขปัญหารว่ มกัน ดังน้ี
4.6.1 ครูผู้สอนควรสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนมีความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการ
เรียนรู้
4.6.2 ครผู ูส้ อนควรกระตนุ้ ให้ผู้เรยี นคิดแกป้ ญั หา และวางแผนแกป้ ญั หา
4.6.3 ให้ผูเ้ รยี นได้มีโอกาสฝึกทักษะโดยกระบวนการกลุ่ม เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ
ปฏิสมั พนั ธก์ ัน
4.6.4 ผู้เรียนควรไดม้ โี อกาสศึกษา คน้ ควา้ หาความรดู้ ว้ ยตนเอง หรือกระบวนการกลุม่
4.6.5 ครูผู้สอน และผู้เรยี น ควรวิเคราะห์ขอ้ มูล/ความรรู้ ว่ มกนั เพือ่ สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้
4.6.6 ครูผู้สอน และผู้เรียน ควรได้มีการสรุปประเด็นความรู้ และประเมินผลร่วมกัน
ดว้ ยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย

ระเบยี บวาระท่ี 5 เรอ่ื งอื่นๆ
ไม่มี

(นางสาวหทยั รัตน์ วันทองสุข) (นางสาวณรัชตห์ ทยั ธนภัทร์ชญานันท์)
เจ้าหนา้ ทธี่ ุรการฝ่ายวิชาการ เจ้าหน้าที่งานบุคลากร
ผูต้ รวจรายงานการประชุม
ผู้จดบนั ทกึ การประชมุ

(นายมณู ดีตรุษ)
รองผอู้ านวยการฝา่ ยวชิ าการ
ผู้ตรวจรายงานการประชมุ

364

บญั ชลี งมอื ชือ่ ผูเ้ ข้าร่วมประชุม
ฝา่ ยวิชาการ

วนั ศุกร์ท่ี 30 กรกฎาคม 2564
ณ หอ้ งประชุม อาคารศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร

ท่ี ชือ่ – สกุล ลายมือช่อื
1 นายมณู ดีตรุษ
2 นางสาวสายสุณี ศรวี เิ ชยี ร
3 นายสุเมธ โยทุม
4 นางสาวพรชนนั ปุระมงคล
5 นายพเิ สกณ์ แกว้ ยนต์
6 นายอนันต์ สวุ รรณชาติ
7 นายมานชิ โนรนิ ทรย์ า
8 นางพนมจนั ทร์ เพชรประสิทธิ์
9 นายศราวฒุ ิ วงษ์เดือน
10 นายประวทิ สีหะสทุ ธิ์
11 นางสาวหทัยรัตน์ วันทองสุข
12

กระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครูผ้สู อนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ
"รูปแบบการเรียนร้ทู ่เี นน้ การปฏบิ ัติซึ่งใช้ปญั หาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม"

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
1 การนาเขา้ สบู่ ทเรยี น/เสนอปัญหา/ประเด็น
ขนั้ นี้ครผู สู้ อนเสนอปัญหา เหตุการณ์ปรากฏการณ์แก่ผู้เรียน และอธิบายวิธีการที่ผู้เรียนต้อง

ปฏิบัติ เช่น จุดมุ่งหมาย วิธีการถาม บทบาทของแต่ละคน ข้ันตอนการประกอบกิจกรรม ปรากฏการณ์
เหตุการณ์หรือปัญหาที่ครูผู้สอนเสนอต้องชัดเจน สามารถอธิบายได้ มีข้อมูลมายืนยันได้ แปลกใหม่ น่าฉงน
ก่อให้เกดิ ความรู้ ประการสาคญั คอื ปรากฏการณค์ วรเปน็ ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ และมรี ายละเอียดต่างๆ และ
หากเปน็ ปรากฏการณ์ท่สี มั พันธก์ บั ชวี ิตจรงิ ของผู้เรยี นก็จะทาใหเ้ กิดแรงกระตนุ้ มากยิ่งขึ้น

ครูผู้สอนจัดสถานการณ์ต่างๆ เพื่อกระตุ้นยั่วยุให้ผู้เรียนเกิดความตื่นตัว สนใจและมองเห็น
ปญั หาตา่ งๆ สามารถกาหนดสงิ่ ทเ่ี ป็นปญั หาทีอ่ ยากรู้อยากเรียนได้ และเกิดความสนใจใคร่รู้ที่จะค้นหาคาตอบ
โดยครูผู้สอนอาจยกประเดน็ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาข้ึนมาอภิปราย และประเด็นอภิปรายควรมีความสัมพันธ์กับ
เนอื้ หาสาระในบทเรียน ปญั หาท่กี าหนดขึ้นอาจกาหนดไดโ้ ดยครูผู้สอนและผู้เรยี น หรอื อาจชว่ ยกันเสนอกไ็ ด้

2 ศึกษาวเิ คราะห์ กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนคิดแก้ปญั หาและวางแผนแก้ปัญหา
ในข้ันนี้ผู้เรียนต้องตั้งคาถาม ถามครูผู้สอนเพื่อให้ได้ข้อมูลมากท่ีสุดเท่าที่จะมากได้ ซ่ึงทาให้

เข้าใจสถานการณ์ของปัญหาได้กระจ่างชัดย่ิงข้ึน เป็นการกาหนดสมมติฐานเพ่ือนาไปสู่วิธีการวางแผนการ
แกป้ ญั หา

ผู้เรียนจะต้องทาความเข้าใจในปัญหาที่ต้องการเรียน ซึ่งผู้เรียนจะต้องอธิบายสิ่งต่างๆ ท่ี
เกยี่ วขอ้ งกับปญั หาได้ เชน่

2.1 ให้คานยิ ามหรือความหมายของปญั หานัน้
2.2 อธบิ ายสถานการณ์ซงึ่ เปน็ ปญั หา
2.3 กาหนดสง่ิ ทีผ่ เู้ รียนไม่รแู้ ละตอ้ งการแสวงหาความรู้
2.4 การแกป้ ัญหาร่วมกนั ด้วยวาจาหรือใช้ส่ือต่างๆ ประกอบ
2.5 ครูผู้สอนใช้คาถามปลายเปิดถามกระตุ้นให้ผู้เรียนเข้าใจปัญหา ทบทวนความรู้ที่
เก่ยี วขอ้ ง และกาหนดแนวทางในการแกป้ ญั หารว่ มกัน
2.6 ผูเ้ รยี นนาเสนอแนวคิด วิธีการหาคาตอบต่อกลุ่มใหญ่เพ่ือการแลกเปล่ียนแนวคิดซึ่ง
กันและกัน
2.7 ครผู ูส้ อนสรปุ ประเด็นทีผ่ ู้เรียนนาเสนอและเพ่มิ เตมิ ให้ชัดเจน
3 การเก็บขอ้ มลู
การเก็บข้อมลู สามารถกระทาได้ท้ังการค้นคว้าหาความรู้ท่ีเก่ียวข้องเพื่อหาคาตอบของคาถาม
หรือประเดน็ ท่กี าหนดไว้ หรือทาการทดสอบ ทดลอง ปฏิบัติ เพอ่ื ให้ไดม้ าซึ่งคาตอบ

368

การเก็บข้อมูลจะทาหน้าท่ีสาคัญ 2 ประการคือ การสารวจและการทดสอบโดยตรง การ
สารวจไม่จาเป็นต้องใช้ทฤษฎี หรือสมมติฐานเป็นตัวนา แต่ขอ้ มูลท่ีไดส้ ามารถนามาสู่ทฤษฎีได้ ส่วนการทดสอบ
โดยตรงน้นั ผู้เรยี นนาเอาสมมตฐิ านของตนไปพิสูจน์ กระบวนการนาเอาสมมติฐานไปสู่การทดสอบเป็นงานที่ไม่
ง่าย และต้องใชก้ ารกระทา หรอื ลองปฏิบัติ ดังน้ันคาถามท่ีถาม เพ่ือทดสอบสมมติฐาน จึงต้องได้รับการช้ีแนะ
จากครูผ้สู อนวา่ ต้องเปน็ คาถามที่ต่อเนื่องในเรอ่ื งเดยี วกัน ตรงตามสมมติฐานที่กาหนดข้ึน และครอบคลุมมิติทุก
ด้านของสมมตฐิ าน

3.1 อภิปรายเพื่อแสวงหาแนวทางในการศึกษาค้นคว้า อธิบายวิธีการในการแสวงหา
ข้อมลู

3.2 กาหนดวิธีการและแหลง่ ทรพั ยากรในการค้นคว้า จัดเรยี งลาดับการปฏบิ ัติงาน
3.3 สมาชิกภายในกล่มุ แบง่ หน้าที่ แบง่ งานกนั ไปปฏิบัติอย่างอิสระ ครูผู้สอนเป็นผู้สังเกต
และอานวยความสะดวก
3.4 ดาเนนิ การศกึ ษาค้นควา้ ข้อมูลอย่างอิสระและบนั ทึก
4 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล/รวบรวมความรู้ เสนอผลการเรยี นรู้
ครผู ้สู อนใหผ้ ูเ้ รียนพจิ ารณาการเกบ็ ข้อมูลของตน ผู้เรยี นอาจอธิบายข้นั ตอนการเกบ็ ข้อมูลของ
ตน ระบุปัญหาอุปสรรคของการเก็บข้อมูล และอาจเสนอแนะแนวทางปรับปรุงการเก็บข้อมูลในคราวต่อไป
ข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากขน้ั ตอนน้ี จะทาใหผ้ ้เู รียนตระหนักถึงความสาคัญของการเก็บข้อมูลหาความรู้และรู้แนวทางท่ีจะ
ปรับปรุงการเก็บขอ้ มลู ให้ดียิ่งขน้ึ
เมือ่ สมาชิกในกลุ่ม ได้ค้นหาความรู้แล้วก็นาความรู้น้ันมาแลกเปล่ียนความรู้ ทาการอภิปราย
และสังเคราะห์ความรู้ที่ได้มาว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ ถูกต้องและเพียงพอที่จะนามาใช้เป็นคาตอบหรือไม่
หากข้อมูลที่ได้มายังไม่มีความเหมาะสมกลุ่มจะต้องช่วยกันวิเคราะห์ว่าต้องการข้อมูลอะไรเพ่ิมเติม และแบ่ง
หนา้ ท่ีให้สมาชกิ ไปค้นหาข้อมูลเพิม่ เตมิ
4.1 ให้ผ้เู รยี นกลุ่มยอ่ ยส่งตัวแทนนาเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม
4.2 ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเห็น
5 สรปุ และประเมนิ คา่ คาตอบ
ในข้นั น้ีผู้เรยี นแตล่ ะกลุ่มสรุปผลงานของตนเองและประเมินผลงานของตนว่าข้อมูลท่ีค้นคว้า
มามคี วามเหมาะสมหรอื ไม่ มากน้อยเพยี งใด ความรู้ได้มามีความลุ่มลึกและตอบคาถามหรือปัญหาที่กาหนดไว้
ตอนต้นได้เพยี งพอหรือไม่ ผู้เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายข้อมูลทไี่ ด้มา
5.1 ครูผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปสาระสาคัญองค์ความรู้ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
การนาความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจาวัน
5.2 ครูผู้สอนเสนอแนะการปฏิบัติงานของกลุ่ม อธิบาย สรุปประเด็นและขยายแนวคิด
ของผเู้ รยี นให้ชดั เจน ทบทวนความรพู้ นื้ ฐาน พรอ้ มทัง้ สอดแทรกการกล่าวถงึ กระบวนการแกป้ ัญหา และยุทธวิธี
แกป้ ญั หาทีส่ ามารถนามาใช้อย่างหลากหลาย

369

6 การปรับปรุงการเรียนรูแ้ ละนาไปใช้
6.1 พัฒนาทักษะรายกลุ่ม ผู้เรียนในแต่ละกลุ่มช่วยกันสร้างหรือประยุกต์ปัญหาท่ีมี

โครงสร้างเชน่ เดยี วกับปัญหาตวั อย่าง แลกเปลยี่ นกบั กลมุ่ อ่ืนให้คิดหาวิธีแก้ปัญหาน้ัน แล้วส่งกลับกลุ่มเดิมเพื่อ
ตรวจสอบคาตอบ

6.2 พัฒนาทักษะรายบุคคล ให้ผู้เรียนฝึกแก้ปัญหาด้วยตนเอง ผู้เรียนแต่ละคนสร้าง
ปัญหาหรือสถานการณ์ปัญหาพร้อมทั้งแสดงวิธีแก้ปัญหา อาจทาเป็นการบ้านหรือนอกเวลาเรียน เพื่อฝึกฝน
ผ้เู รยี นได้เผชิญกบั สถานการณป์ ญั หาโดยลาพงั


Click to View FlipBook Version