The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padayanang, 2022-04-23 20:18:38

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

37

2.3.6 แนวทางการดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรียนร้ทู เ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ
สุภรณ์ สถาพงศ์ (2545) ให้แนวคิดไว้ว่า การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนสาคัญที่สุด

ไม่ใช่วธิ ีการเรียนรู้โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง แต่เป็นกระบวนทัศน์ในการเรียนรู้ ซึ่งเอ้ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จาก
การปฏบิ ัติของตนเอง โดยใช้ทักษะการจัดการท่ีมีประสิทธิภาพท้ังของครูผู้สอนและผู้เรียนกาหนดข้ันตอน
ไว้ดังน้ี

1 การปรับความคิดของผู้บริหารสถานศึกษา จะต้องเข้าใจกระบวนการจัดการเรียนรู้
และมีวิสัยทัศน์ในการจัดการเรียนรู้ที่เอ้ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้บริหารต้องทางานในลักษณะ
ทีมงานท่ีรักและสามคั คีพรอ้ มใจกันผลกั ดนั ให้ขับเคลอ่ื นไปพรอ้ มกันทงั้ โรงเรียน

2 ครูยึดหลักในการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้เรียนทุกด้าน คือ ร่างกาย
สติปัญญา อารมณ์ และสังคม พยายามส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้จากการปฏิบัติของตนเอง โดยครูควรจะมี
ลกั ษณะกลั ยาณมติ ร 7 ประการ ดังนี้

2.1 วางตนในฐานะทศี่ ิษย์ไวว้ างใจ
2.2 วางตนให้น่าเคารพ
2.3 วางตนในฐานะผูท้ รงคุณความรู้
2.4 วางตนในฐานะที่ปรกึ ษาทดี่ ี
2.5 วางตนในฐานะผู้ฟงั ทดี่ ี ฟังท้ังคาพดู และความรสู้ ึกของศษิ ย์
2.6 วางตนในฐานะผทู้ รงปญั ญา สามารถอธิบายได้อยา่ งลึกซ้งึ ใหศ้ ษิ ยก์ ระจ่างได้
2.7 วางตนในฐานะแบบอยา่ งที่ดี เปน็ แบบในการประพฤติปฏิบัติ
กระบวนการจัดการเรียนรูท้ ี่เน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ หมายถึง การกาหนดจุดมุ่งหมายสาระ
กิจกรรม แหล่งเรียนรู้ ส่ือการสอน และการวัดผลประเมินผลที่มุ่งพัฒนา “คน” และ “ชีวิต” ให้เกิด
ประสบการณ์การเรยี นรู้ เต็มตามความสามารถสอดคลอ้ งกับความถนัด ความสนใจ และความต้องการของ
ผูเ้ รียน กิจกรรมการเรยี น คานึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นสัมผัส และสัมพันธ์กับ
ส่ิงแวดล้อม ทั้งท่ีเป็นเพื่อนมนุษย์ ธรรมชาติ และเทคโนโลยี ผู้เรียนได้ค้นคว้า ทดลอง ฝึกปฏิบัติ
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ จนคน้ พบสาระสาคญั ของบทเรยี น ไดฝ้ ึกคดิ วเิ คราะห์ สร้างสรรค์จนิ ตนาการและสามารถ
แสดงออกได้ชัดเจนมีเหตุผล ครูมีบทบาท ปลุกเร้า และเสริมแรงในทุกกิจกรรมให้ค้นพบคาตอบ และ
แก้ปญั หาด้วยตนเอง รวมทงั้ การทางานเป็นกลมุ่ จดั กจิ กรรมปลูกฝงั คุณธรรม ความมวี ินยั รับผดิ ชอบในการ
ทางาน ผู้เรยี นมีโอกาสฝึก การประเมินและปรับปรงุ ตนเอง ยอมรบั ผู้อน่ื สรา้ งจติ สานกึ ในความเป็นพลเมือง
และเปน็ พลโลก การเรียนรเู้ กิดขึ้นได้ทุกท่ีทุกเวลา เกิดขึ้นได้ในหลายๆ ระดับ ทั้งในตัวผู้เรียน ในห้องเรียน
และนอกหอ้ งเรียน โดยทท่ี ุกฝาุ ยมีส่วนรว่ ม
ระดับผู้เรียน เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดจุดมุ่งหมาย
กิจกรรม และวธิ ีการเรียนรู้ ได้คิดเอง ปฏิบัตเิ อง ไดเ้ รยี นรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งร่วมประเมินผล การพัฒนาการ

38

เรียนรู้ ตามศักยภาพ ความต้องการ ความสนใจ ความถนัดของแต่ละคน ระดับห้องเรียนเป็นกระบวนการ
เรยี นร้ทู ี่ผ้เู รียนมีทกั ษะ ดังนี้

1 ได้คิดเอง ทาเอง ปฏิบัติเอง และสร้างความรู้ด้วยตนเอง ในเรื่องที่สอดคล้องกับ
การดารงชวี ิตจากแหล่งความร้ทู ี่หลากหลาย

2 การมีส่วนร่วมในการกาหนดจุดมุ่งหมายกิจกรรม และวิธีการเรียนรู้ สามารถ
เรียนรู้กบั ผู้อน่ื อย่างมีความสุข

3 มีส่วนร่วมในการประเมินผลการพัฒนาการเรียนรู้ ครูเป็นผู้วางแผนข้ันต้นท้ัง
เนื้อหาและวิธกี ารแกผ่ ู้เรยี น จดั บรรยากาศใหเ้ อือ้ ต่อการเรยี นรแู้ ละชว่ ยช้ีแนะแนวทาง การแสวงหาความรู้ท่ี
ถกู ต้องให้แกผ่ ู้เรยี นเปน็ รายบุคคล

การจดั กระบวนการเรียนรู้ระดับหอ้ งเรยี นนี้ ผูเ้ รยี นมสี ่วนร่วมในการจดั กระบวนการเรยี นรู้
นอกจากครแู ละผเู้ รยี นแลว้ ผทู้ มี่ ีบทบาทสนบั สนนุ อย่างสาคัญ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา บุคลากรสนับสนุน
การสอน ตลอดจนการจดั สอ่ื การเรียนการสอน การสร้างบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมรอบๆ ตัวผเู้ รียน

ระดับนอกห้องเรียน เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วน
รว่ มในการวางแผนการเรียนการสอน โดยคานงึ ถงึ ศักยภาพและความต้องการของผู้เรียนให้ผู้เรียนมีโอกาส
ได้เรยี นรจู้ ากแหลง่ เรียนรทู้ ีห่ ลากหลายทสี่ อดคลอ้ งกบั การดารงชวี ติ ในครอบครวั ชุมชนและท้องถิ่น รวมทั้ง
เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนมีสว่ นรว่ มในกระบวนการเรยี นการสอนทุกข้นั ตอน

ระดับนอกห้องเรียนน้ี นอกจากจะมีส่วนร่วมใน 2 ระดับที่กล่าวมา รวมถึงฝุายนโยบาย
ผู้บรหิ าร พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชนและฝุายสนับสนุนอ่ืนๆ กล่าวโดยสรุป การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ เปน็ กระบวนการเรียนร้ทู ีม่ ุง่ ประโยชนส์ ูงสดุ แก่ผู้เรียน

กระบวนการเรียนรู้
1 การสารวจความต้องการ
1.1 สารวจความตอ้ งการ/ความสนใจของผู้เรียน
1.2 สารวจพน้ื ฐานความรู้เดมิ
ขั้นแรกควรศึกษาธรรมชาติและกาหนดความต้องการของผู้เรียน โดยการซักถาม

สังเกต สัมภาษณ์ พูดคุย หรือทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือสร้างกระตุ้นความสนใจ สารวจความสนใจ
และพ้ืนฐานความรู้เดิมของผู้เรียนรายบุคคล รวมทั้งศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช
2542 ในมาตรา 22 เปน็ แนวสาหรับการดาเนนิ การ

2 การเตรยี มการ
2.1 ครูเตรียมเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้และองคป์ ระกอบอื่นๆ ท่เี อือ้ ต่อการเรียนรู้
2.2 วางแผนการเรียนการสอน
ครตู อ้ งเตรียมศึกษาเนอ้ื หาวิชาในหลักสตู ร และจดุ ประสงค์ของการเรียนรู้ให้เข้าใจ

อย่างถ่องแท้ว่าหลักสูตรต้องการอะไร มีจุดประสงค์ของการเรียนรู้อย่างไร และทาไมจึงต้องการอย่างนั้น

39

เพือ่ การวางแผนจดั กระบวนการเรยี นรู้ไดม้ ีความต่อเนื่อง เช่ือมโยงกัน และหากเป็นไปได้ควรเชื่อมโยงและ
บูรณาการสาระการเรียนรแู้ ตล่ ะวชิ าทสี่ ัมพนั ธก์ นั เขา้ ด้วยกัน เพ่ือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับ
วิถีชีวิตจริง และให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงให้มากที่สุด ท้ังนี้ครูต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มี
ส่วนรว่ ม กาหนดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามความสนใจและความถนัด และความสนใจรายบุคคล เนื่องจากครู
ไมใ่ ชผ่ บู้ อกผู้สอนอยา่ งเดยี ว ครจู งึ ต้องเตรยี มแหล่งข้อมูล ท้ังท่ีเป็นสื่อการเรียน ใบความรู้ ใบงาน และวัสดุ
อุปกรณ์ต่างๆ หรือศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีข้อมูล ความรู้ที่ผู้เรียนสามารถเลือกศึกษา ค้นคว้าตาม
ความต้องการ การสารวจแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์
สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศนู ยก์ ีฬาและนนั ทนาการ เป็นต้น

3 การดาเนินกจิ กรรมการเรียนรู้ เชน่
3.1 ขั้นนาเข้าส่บู ทเรียน
ข้ันนี้ ครูควรใช้ประเด็นคาถามสถานการณ์หรือกิจกรรมท่ีกระตุ้น หรือท้า

ทายให้ผเู้ รียนเกดิ ความสงสัยใคร่รู้ ครูควรเป็นกลั ยาณมติ รของผู้เรียนและทาให้ผู้เรียนรู้สึกว่า ครูคือเพ่ือนท่ี
ชว่ ยเหลือเขาไดใ้ นทกุ เร่ือง ครูต้องรู้จักผู้เรียนรายบุคคลเป็นอย่างดี เพื่อใช้ความถนัด ความสนใจ ลีลาการ
เรียนรู้ของผู้เรียนเป็นจุดกระตุ้นศักยภาพของแต่ละบุคคล และดึงดูดให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมอย่าง
กระตือรือรน้ และเต็มใจ

3.2 ขน้ั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ครูเป็นบุคคลท่ีสาคัญในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยส่งเสริมให้ผู้เรียน

สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ มุ่งจัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศท่ีสอดคล้องกับการ
ดารงชีวิต โดยใช้ส่ือท่ีหลากหลายในลักษณะขององค์รวม ที่เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ และ
ความสนใจของผูเ้ รยี น คานึงถึงการใช้สมองทุกส่วน โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมเสนอกิจกรรมและลงมือปฏิบัติ
จริงทุกขั้นตอน สรุปความรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ ท้ังสมาชิกภายในกลุ่มและสมาชิก
ระหว่างกลุ่ม เพ่ือใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรู้วิธกี ารแสวงหาความรู้

การเรียนการสอนไม่จาเป็นต้องจากัดตัวอยู่ในพื้นที่ห้องส่ีเหลี่ยมผืนผ้าใน
อาคารเปน็ ที่เรยี นเสมอไป เพราะจะเปน็ การกระทาให้ผู้เรียนรู้สึกเครียดกับบรรยากาศ พยายามเปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนได้สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมนอกห้องเรียน ประเภททุ่งนา ฟูากว้าง กลางปุา ก้อนกรวด หิน ทราย
ดอกไม้ สายลม และวัสดธุ รรมชาติใหม้ าก เด็กๆ จะได้เคลื่อนไหวอย่างสนุกสนานและเรียนรูไ้ ปพรอ้ มกัน

3.3 ขัน้ วเิ คราะห์ อภปิ รายผลงาน/องคค์ วามรู้ที่สรุปได้จากกิจกรรมการเรยี นรู้
อภิปรายผลงาน/องค์ความรู้ท่ีสรุปได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน

รว่ มกันอภปิ รายผลท่เี กดิ จากกิจกรรมการเรยี นรู้ แลกเปล่ียนประสบการณ์โดยเน้นให้ผู้เรียนเกิดการค้นพบ
องค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง ครเู ป็นผ้สู งั เกต เพือ่ ให้ข้อมูลย้อนกลับให้องค์ความรู้ท่ีได้รับชัดเจนเป็นการเสริมแรง
และกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนสนใจการคน้ หาความรู้ต่อไป

40

4 การประเมนิ ผล
การประเมินผลสาเร็จของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญน้ัน

เป็นการประเมินซ่ึงมุ่งเน้นผลท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยครูจะต้องศึกษามาตรา 26 ของ
พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ในสาระและจุดเน้นการประเมินเก่ียวกับพัฒนาการ
เรียนของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ และการ
ทดสอบเพ่ือพฒั นา และคน้ หาศกั ยภาพ จุดเด่น จดุ ด้อยของผู้เรียน และตรวจสอบว่ากระบวนการเรียนรู้ได้
พัฒนาผู้เรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้หรือไม่ อีกทั้งผลการเรียนของผู้เรียนจะเป็นตัวบ่งชี้
ประสิทธิภาพการสอนของครูด้วย ดังน้ัน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญต้องวัด
และประเมินให้ครอบคลุมทุกด้าน ท้ังในส่วนของกระบวนการและผลงาน ท้ังด้านความรู้ ด้านความรู้สึก
และทกั ษะการแสดงออกทกุ ด้าน และประเมินตามสภาพจริง ซงึ่ ในการประเมินผลสามารถประเมินระหว่าง
การเรียนการสอน และประเมินสรุปรวมโดยมขี นั้ ตอนในการประเมนิ ดังนี้

4.1 กาหนดวตั ถุประสงคแ์ ละเปูาหมายในการประเมนิ
4.2 พจิ ารณาขอบเขต วธิ กี ารและสิ่งทจี่ ะประเมิน ตัวอยา่ งเชน่

4.2.1 ประเมินพัฒนาการด้านศิลปะและดนตรี คณิตศาสตร์ ภาษาไทย
วิทยาศาสตร์ พัฒนาการทางรา่ งกาย พัฒนาการของบคุ ลกิ ภาพ เปน็ ตน้

4.2.2 ขอบเขตท่ีจะประเมิน เช่น ด้านความรู้ ทักษะ ความรู้สึก และ
คุณลักษณะ เป็นตน้

4.3 พิจาณากาหนดองค์ประกอบ และผู้ประเมินว่ามีใครบ้างที่จะเป็นผู้ประเมิน
เชน่ นกั เรยี นประเมนิ ตนเอง เพือ่ นนกั เรียน ครปู ระจาช้ัน ชมุ ชน หรอื ผู้เกย่ี วขอ้ ง เป็นตน้

4.4 เลือกใช้เทคนิคและเคร่ืองมือในการประเมินหลากหลาย เหมาะสมกับ
วัตถปุ ระสงค์ และเกณฑใ์ นการประเมิน เช่น การทดสอบ การสัมภาษณ์ การบันทึกพฤติกรรม แบบสารวจ
ความคดิ เห็น บนั ทกึ จากผ้ทู ี่เก่ยี วข้อง แฟูมสะสมผลงาน ฯลฯ

4.5 กาหนดเวลาและสถานท่ีที่จะประเมิน เช่น ประเมินระหว่างนักเรียนทา
กจิ กรรมระหว่างการทางานกลุ่ม โครงการ วันใดวันหนงึ่ ของสัปดาห์ เหตุการณ์ งานพเิ ศษ ฯลฯ

4.6 วเิ คราะหผ์ ลและจัดการขอ้ มูลการประเมนิ
4.6.1 รายการกระบวนการ
4.6.2 แฟมู สะสมผลงาน
4.6.3 การบันทึกข้อมูล

4.7 สรุปผลการประเมินเพ่ือพัฒนา และปรับปรุงข้อบกพร่องการเรียนรู้ และ
พฒั นาผเู้ รยี น รวมทั้งปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน ในกรณีที่เป็นการประเมินสรุปรวมเพ่ือพิจารณา
ตดั สินการเล่ือนช้นั โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ีกาหนด ให้นาผลการประเมินระหว่างเรียนมาประกอบการ
พิจารณาด้วย

41

5 การสรุปและนาไปประยกุ ตใ์ ช้
เปน็ ขั้นการตกผลึกของกระบวนการเรียนรรู้ ายบคุ คล กล่าวคือ ผู้เรียนแต่ละคนจะ

เกดิ การมองสิ่งตา่ งๆ อย่างเปน็ องค์รวม มองอย่างเช่ือมโยง หย่ังรู้ เกิดการค้นพบตัวเองว่า มีความสามารถ
มีจุดเดน่ จดุ ด้อยทางดา้ นใด ซ่งึ สง่ิ ต่างๆ เหลา่ นีจ้ ะเกิดขน้ึ กับผเู้ รียน หลังจากท่ีเขาได้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้
และการแสดงออกตามกระบวนการดังกลา่ วข้างต้น ซึ่งพจิ ารณาได้จากการหาข้อสรุปจากบทเรียน โดยมีครู
เปน็ ผู้ช้แี นะเพิ่มเตมิ การแลกเปล่ียนวิธกี ารเรยี นรู้ การสะทอ้ นความคดิ การแสดงผลงาน การจัดนิทรรศการ
การแสดงออกในลักษณะละคร การนาข้อค้นพบ การปรับปรุงตนเองในสถานการณ์ต่างๆ การเคารพสิทธิ
ผู้อื่น ตลอดจนการสร้างสรรคใ์ หม่ๆ ท่จี ะเกดิ ประโยชน์ตอ่ สังคม ชุมชน และการดารงชีวติ ประจาวนั

กล่าวโดยสรุป แนวทางการดาเนนิ การจัดการเรยี นรทู้ เ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ครูผู้สอนจะต้องมี
ความรคู้ วามสามารถในการสร้างประสบการณก์ ารเรียนร้ใู ห้กบั ผูเ้ รยี น ดังนั้นครูผู้สอนจึงต้องดาเนินการโดย
การสารวจความต้องการ ความสนใจ และพ้ืนฐานความรู้เดิมของผเู้ รียน การวิเคราะห์หลักสูตร เป็นการวาง
แผนการเรยี นรใู้ ห้มีความสอดคล้องกบั สาระการเรยี นรแู้ ละสภาพของผูเ้ รียน การดาเนินการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ โดยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ตลอดถงึ การประเมนิ ผลเพื่อปรบั ปรุงข้อบกพร่องการจดั การเรยี นรู้

2.3.7 พฤตกิ รรมการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
พฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมีฐานความคิดมาจากปรัชญา

การศึกษา และแนวคิดด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ ซึ่งปรัชญาการศึกษาที่เป็นพ้ืนฐานสาคัญ ได้แก่ ปรัชญา
พพิ ัฒนนยิ ม (progressivism) การศึกษาต้องพฒั นาผู้เรียนทกุ ด้าน สงิ่ ทเี่ รียนร้คู วรเป็นประโยชน์ สอดคล้อง
กับชีวิตประจาวัน และสังคมของผู้เรียนให้มากที่สุด ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ทั้งใน และนอก
หอ้ งเรยี น สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนรจู้ ักตนเอง และสังคมเพื่อนผู้เรยี นจะได้ปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กับสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข
ปรัชญาปฏิรูปนิยม (reconstructions) การศึกษาจะต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้ตระหนักในบทบาท
หนา้ ทีข่ องตนท่มี ีต่อสงั คม เน้นให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมต่างๆ ทางสังคม และการศกึ ษาตอ้ งเป็นไปเพ่ือ
การปรับปรุง พัฒนา และสร้างสรรค์สังคมที่ดี และเหมาะสมกว่าเดิม ปรัชญาอัตถนิยม (existentialism)
มุ่งม่ันที่จะพัฒนาให้ผู้เรียนมีสิทธิเสรีภาพ เปิดโอกาสให้เลือกเรียนตามความถนัด และความสนใจ และ
ปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธศาสตร์ (buddhistic philosophy of education) ต้องอาศัยหลัก
ไตรสกิ ขา คอื ศีล สมาธิ ปัญญา ในการอธิบายเรื่องของชีวิต และปรากฏการณ์ต่างๆ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็น
ผู้กระทาเอง เรียนรู้ดว้ ยตนเอง และมกี ารประยุกต์หลักอริยสัจ 4 คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค มาใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2542) สาหรับแนวคิดด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่ม
พฤติกรรมนิยม (behaviorism) เชื่อว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้น เมื่อมีการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการ
ตอบสนอง พฤติกรรมจะมคี วามถ่ีมากขนึ้ หากได้รับการเสริมแรง กลุ่มมนุษยนิยม (humanism) การเรียนรู้
ควรส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนรู้จักคิด รู้จักใช้เหตุผล มีเจตคติที่ดีต่อสิ่งท่ีเรียน และได้ลงมือกระทาด้วยตนเอง และ
กลุ่มคอนสตรัคติวิสซึม (constructivism) การเรียนรู้เป็นกระบวนการท่ีเกิดขึ้นภายในบุคคล บุคคลเป็น

42

ผ้สู ร้างความรู้จากความสมั พันธ์ระหว่างส่ิงท่ีพบเห็นกับความรู้เดิมเกิดเป็นโครงสร้างทางปัญญา (วัฒนาพร
ระงับทุกข์, 2542)

จากปรัชญาการศึกษาและแนวคิดด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ ส่งผลให้ครูผู้สอนมีพฤติกรรมการ
สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยนักจิตวิทยาการศึกษาที่เช่ือในศักยภาพ และ
ความสามารถที่มีอยู่ในมนุษย์ทุกคน เชื่อว่ามนุษย์จะศึกษาค้นคว้าในสิ่งที่ตนเองสนใจ และใฝุรู้ ให้
ความสาคัญกับการให้เสรีภาพในการเรียนรู้ สนับสนุน ส่งเสริม ในการค้นคว้า หาความหมาย และ
สาระสาคัญในชีวิตของเขาเอง มเี สรภี าพในการตัดสินใจ เม่ือเผชิญกับปัญหา ลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามวิธีที่
เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั ความสามารถ และความถนัดของตนเอง นับได้ว่าครูผู้สอนเป็นผู้มีบทบาทสาคัญใน
การพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของตนให้การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้มีคุณภาพ คุณภาพของการสอนเป็นเรื่อง
ของการชแี้ นะ (cues) แก่ผูเ้ รยี น ซึง่ เปน็ การให้ผู้เรยี นทราบวา่ สงิ่ ทีเ่ รียนคืออะไร ผู้เรียนควรทาอะไร การมี
สว่ นร่วมของผเู้ รียนในกิจกรรมการเรียน การเสริมแรง ท้ังทางบวก และทางลบ และการให้ข้อมูลย้อนกลับ
และการแกไ้ ขข้อบกพร่อง

ความหมายของพฤตกิ รรมการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ
การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ บางแนวความคิดจะให้ความสาคัญกับสาเหตุภายในตัว

บคุ คล เชน่ ชีววิทยา และพนั ธกุ รรม แตบ่ างแนวคดิ จะให้ความสาคัญกบั สาเหตุภายในตัวบุคคลเช่นเดียวกัน
แตใ่ ห้ความสาคญั กบั กระบวนการของจติ การรับรู้ตนเองและการรับรู้สิง่ แวดลอ้ มหรือความร้สู ึกขัดแย้งที่เกิด
จากพลงั จิตไรส้ านึก ในสว่ นของนกั วชิ าการดา้ นพฤติกรรมมนุษย์อีกกลุ่มหนึ่ง กลับให้ความสาคัญกับสาเหตุ
ภายนอกตวั มนุษย์ บริบททางสงั คม และม่งุ ศกึ ษาพฤตกิ รรมมนษุ ย์ในวฒั นธรรมต่างๆ (Goldstein & Russo
อ้างถงึ ใน เมธาวี อดุ มธรรมานภุ าพ, รัตนา ประเสริฐสม และเรียม ศรีทอง, 2544) ในส่วนพฤติกรรมการ
สอน หมายถึง การแสดงออกของครูในสภาพการเรียนการสอนท่ีเกิดขึ้นต่อเนื่องกัน ภายในห้องเรียนท้ัง
พฤติกรรมทางวาจา (verbal behavior) และพฤติกรรมอื่นท่ีไม่ใช่พฤติกรรมทางวาจา (non-verbal
behavior) เปน็ สง่ิ ทม่ี ผี ลโดยตรงต่อพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน ทั้งนี้เพราะพฤติกรรมการสอนของครู
และพฤตกิ รรมการเรียนของนักเรียนน้ัน เป็นกิจกรรมทต่ี อ่ เน่อื งสัมพนั ธก์ ันอย่างใกล้ชิด ดังน้ันพฤติกรรมการ
เรยี นท่ีดหี รอื ไม่ดี จงึ ข้นึ อยกู่ บั พฤติกรรมการสอนของครูเปน็ สาคญั

ปรัชญาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สนับสนุนให้ผู้เรียนทุกคนได้
พัฒนาตามศักยภาพ และความสนใจของตนเอง เรียนรู้จากหลายสถานการณ์ทั้งใน และนอกห้องเรียน
โดยเฉพาะอย่างย่ิงตัวครูผู้สอนเองต้องปรับพฤติกรรมการสอนของตนเพ่ือเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะในการ
แสวงหาความรู้มากกว่าการเรียนรู้แบบท่องจา ดังท่ี สุทธิพร คล้ายเมืองปัก (2543) ได้กล่าวถึงการ
ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ของครูผสู้ อนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั ไว้ดงั นี้

1 จัดสภาพการณห์ รือสภาพแวดลอ้ มทางการเรียนการสอนด้วยการใช้ส่ือหรือเคร่ืองมือ
เพอ่ื เสรมิ การเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย

43

2 วางแผนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาหรับผู้เรียนแต่ละคนโดยเน้นที่ความ
สนใจ อยากรู้ อยากเรยี นของผเู้ รียน และควรคานึงถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล

3 ครพู ัฒนาตนเอง เพ่ือให้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ไม่ว่าเป็นการอ่านเพื่อการศึกษา เข้ารับ
การประชุม อบรมสัมมนา หรือสนทนาเพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับเพ่ือนร่วมงาน แล้วนามาปรับ
ประยุกตใ์ ชใ้ นการทากจิ กรรมการเรยี นการสอนของตน

4 เปลย่ี นจากผสู้ อนมาเปน็ ผู้จัดประสบการณ์ในการเรียนรู้ โดยการส่งเสริม และพัฒนา
ผ้เู รยี นให้รู้จักการเรยี นรู้วิธีท่ีจะเรียน (learn how to learn) เป็นผู้กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความอยากเรียนรู้
ชี้แนะแหลง่ ข้อมลู และเป็นผูค้ อยให้คาปรกึ ษา เมอื่ ผู้เรียนพบกับปญั หาทไี่ มส่ ามารถแก้ไขเองได้

5 ให้ผู้เรียนได้มีอิสระในการเรียนรู้ ท้ังด้านความคิด จิตใจ การแสดงออกในกรอบของ
ความถูกต้อง และให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมท่ีหลากหลาย เช่น การทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม สารวจ
สมั ภาษณ์ นาเสนอข้อมูลดว้ ยการรายงานอภิปราย อีกท้ังการฝึกปฏิบัติจริงด้วยตนเอง โดยคานึงถึงเน้ือหา
สาระ และจุดประสงค์การเรยี นรูเ้ ป็นเกณฑ์

6 ใช้วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ไม่ยึดติดกับวิธีใดวิธีหน่ึง เพราะไม่มี
วธิ กี ารสอนเพยี งวธิ เี ดยี วทด่ี ที ส่ี ดุ ในโลก ดงั น้ันจงึ ควรพจิ ารณาแบบจาลองการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ใหเ้ หมาะสมกบั เนือ้ หาสาระการเรียนรู้ และสถานการณท์ เ่ี หมาะสม

7 เป็นผู้ประเมินโดยครูผู้สอน และผู้เรียนจะเป็นผู้รับผิดชอบในการสร้างกฎเกณฑ์การ
ประเมินในแบบจาลองตา่ งๆ ร่วมกนั ทัง้ นีเ้ พือ่ ความกา้ วหนา้ ของผู้เรียน และใหผ้ เู้ รยี นไดท้ ราบผลการเรียนรู้
ของตนเองอย่างต่อเนือ่ ง และสมา่ เสมอ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2542) กาหนดตัวบ่งชี้ การจัดกิจกรรมการ
เรียนร้โู ดยเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ โดยกาหนดพฤตกิ รรมการสอนของครรู ะหวา่ งดาเนินการสอนไว้ ดงั ต่อไปนี้

1 ครูสรา้ งสัมพนั ธ์ที่ดี
2 ครใู ชแ้ หลง่ เรยี นร้หู ลากหลาย
3 ครูใช้ส่อื การสอนทีส่ อดคลอ้ งกบั วัย บทเรยี น วธิ ีการสอน
4 ครแู สดงความเมตตาต่อเดก็ อย่างทว่ั ถึง
5 ครจู ดั กจิ กรรมใหเ้ ด็กสมั พนั ธ์กับธรรมชาติ
6 ครูเปดิ โอกาสให้เด็กแสดงออก
7 ครูจัดส่ิงแวดลอ้ มและบรรยากาศท่แี จม่ ใส
8 ครสู รา้ งความรสู้ ึกทีด่ ตี ่อตนเองและผ้อู ่ืน
9 ครูประเมินพฒั นาการของเดก็ โดยรวมและตอ่ เนือ่ ง
10 ครสู รา้ งปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างครกู บั นักเรียน นักเรยี นกับกลุ่ม
11 ครูจดั กจิ กรรมกระตุ้นความคิด จินตนาการ การแสดงออก
12 ครสู รา้ งสิ่งแวดลอ้ มและใชส้ อ่ื กระต้นุ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง

44

13 ครูเชอื่ มโยงประสบการณก์ บั ชวี ิตจริง
14 ครูใช้ภาษาชดั เจนถูกตอ้ ง
15 ครใู ช้เทคนคิ การต้งั คาถาม สนทนา อธิบาย
16 ครปู ลกุ เร้าความสนใจใฝรุ ู้
17 ครูส่งเสริมความคงทนและการถา่ ยโอนการเรยี นรู้
18 ครูจัดกิจกรรมเนน้ การฝึกปฏิบัติ
19 ครูฝกึ การถาม-ตอบตรงประเด็น
20 ครูสร้างสถานการณต์ ัวอยา่ ง ปญั หาสถานการณท์ เ่ี หมาะสมกบั วยั และกระตุ้นความคดิ
21 ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรียนหาคาตอบ สาธิตตามข้ันตอน
22 ครใู ชต้ ัวอย่างการกาหนดส่งิ ทีต่ อ้ งปฏบิ ตั ิ
23 ครูใช้เทคนิคการแบ่งงานและการทางานกลมุ่
24 ครบู อกเลา่ และอธบิ ายใหเ้ ดก็ เกิดแรงดลใจ
25 ครใู ช้ส่อื และจดั สงิ่ แวดลอ้ ม สร้างสรรค์ เสยี ง รูปรา่ ง และการเคล่ือนไหว
26 ครูแสดงต้นแบบท่ีดี
27 ครฝู ึกการปฏบิ ัติซ้าๆ
28 ครสู ่งเสรมิ การคน้ พบวิธกี ารของตนเอง เสริมแรง และเสรมิ ความสามารถ
29 ครจู ัดสถานการณ์ให้เด็กได้แสดงออก
30 ครรู ับฟงั ความคดิ เห็นและการแสดงออกของนกั เรยี น
31 ครูจดั สถานการณจ์ าลองให้นักเรียนใชห้ ลักคุณธรรมแกป้ ญั หา
32 ครจู ัดกิจกรรม เกม และเพลงแฝงสาระ และแง่คิดทางคณุ ธรรม
33 ครูฝึกฝนมารยาท และการใช้วาจาตามวัฒนธรรมไทย
34 ครสู งั เกตการทางานของนักเรียน
35 ครฝู กึ การทางานทีล่ ะเอียดประณีต
36 ครสู งั เกตรปู แบบและวิธีการแสดงออกของนกั เรียน
37 ครูสังเกตปัญหาของนักเรยี น และแนวทางแก้ไข
38 ครเู อาใจใสน่ ักเรยี นเป็นรายบคุ คล
39 ครูจดั กิจกรรมการเรยี นร้นู อกสถานที่
จากเอกสาร และแนวคิดที่เก่ียวข้อง สรุปได้ว่า พฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่าง
บคุ คล ใหผ้ เู้ รียนได้พฒั นากระบวนการคิด วิเคราะห์ ศึกษาค้นคว้า ทดลอง และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ตามศกั ยภาพ ตามความถนัด ความสนใจ ด้วยวธิ กี ารศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เชื่อมโยงกับชีวิต
จริงท้ังในและนอกห้องเรียน มีการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตาม

45

มาตรฐานหลกั สตู รทก่ี าหนด ครผู ู้สอนต้องปรับพฤติกรรมของตน เพ่ือเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหา
ความรู้มากกวา่ การเรียนรู้แบบทอ่ งจา ตอ้ งเป็นผู้อานวยความสะดวก จัดประสบการณ์ใหส้ อดคล้องกับความ
สนใจของผเู้ รียน วางแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยเนน้ ถึงความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล

2.3.8 องคป์ ระกอบและตวั บ่งชกี้ ารจัดการเรียนรูท้ เ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั
ชนาธปิ พรกลุ (2544) ไดใ้ ห้แนวคิดเก่ยี วกบั ตวั บง่ ช้ีการจัดการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็น

ศูนยก์ ลางไว้ดังนี้
1 มีการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทหี่ ลากหลายเหมาะสมกบั ธรรมชาติของผเู้ รยี น
2 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนฝึกค้นคว้า สังเกต รวบรวมข้อมูล

วเิ คราะห์ คิดอย่างหลากหลาย สร้างสรรค์ และสามารถสรา้ งองค์ความรู้ด้วยตนเอง
3 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าหาความรู้

และแสวงหาคาตอบดว้ ยตนเอง
4 มีการนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน เทคโนโลยีและส่ือท่ีเหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการเรียน

การสอน
5 มกี ารจัดกจิ กรรมเพอื่ ฝกึ และส่งเสริมคณุ ธรรมและจริยธรรมของผู้เรยี น
6 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสุนทรียภาพอย่าง

ครบถว้ น ท้ังดา้ นดนตรี ศลิ ปะ และกีฬา
7 ส่งเสรมิ ความเป็นประชาธิปไตยในการทางานรว่ มกับผ้อู ่นื และมีความรับผิดชอบกลมุ่
8 มกี ารประเมินพัฒนาการของผู้เรยี นด้วยวธิ กี ารท่หี ลากหลายและต่อเนื่อง
9 ผูเ้ รียนรกั โรงเรยี นของตนเองมีความกระตอื รือรน้ ในการไปโรงเรยี น

นวลจติ ต์ เชาวกรี ติพงศ์ (2545) ไดก้ ลา่ วถงึ องคป์ ระกอบการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มี
รายละเอียดดังต่อไปน้ี

1 การบริหารจัดการ
การบริหารจัดการเป็นองค์ประกอบที่สนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีสาคัญ

โดยเฉพาะการบริหารจัดการของโรงเรียนทเ่ี นน้ การพฒั นาท้ังระบบของโรงเรียน
การพัฒนาทั้งระบบของโรงเรียน หมายถึง การดาเนินงานในทุกองค์ประกอบของ

โรงเรยี นให้ไปส่เู ปูาหมายเดียวกนั คอื คุณภาพของนักเรียนตามวิสัยทัศน์ที่โรงเรียนกาหนด ดังน้ันตัวบ่งชี้ที่
แสดงถงึ การพฒั นาทงั้ ระบบของโรงเรียนประกอบด้วย

1 การกาหนดเปาู หมายในการพัฒนาทม่ี จี ุดเน้นการพัฒนาคุณภาพนักเรียนอย่าง
ชดั เจน

2 การกาหนดแผนยุทธศาสตร์สอดคลอ้ งกับเปูาหมาย
3 การกาหนดแผนการดาเนนิ งานในทุกองคป์ ระกอบของโรงเรียน สอดคล้องกับ
เปาู หมาย และเป็นไปตามแผนยทุ ธศาสตร์

46

4 การจดั ใหม้ รี ะบบประกนั คณุ ภาพภายใน
5 การจัดทารายงานประจาปีเพ่ือรายงานผู้เก่ียวข้องและสอดคล้องกับแนว
ทางการประกนั คณุ ภาพจากภายนอก
อย่างไรก็ตาม การดาเนินงานของโรงเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 เน้นถึงการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาของโรงเรียน ดังน้ันในการ
ดาเนินการของโรงเรียนจึงเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม ได้แก่ร่วมกาหนดเปูาหมายและ
จดั ทาแผนยทุ ธศาสตรร์ ่วมสนับสนนุ การจดั การเรยี นรู้ ร่วมประเมนิ ผล เปน็ ตน้
2 การจัดการเรยี นรู้
องค์ประกอบด้าน “การจัดการเรียนรู้” นับว่าเป็นองค์ประกอบหลักท่ีแสดงถึงการ
เรยี นรอู้ ยา่ งเป็นรูปธรรม ประกอบดว้ ยความเข้าใจเกย่ี วกบั ความหมายท่ีแท้จริงของการเรียนรู้ บทบาทของ
ครูและบทบาทของผเู้ รียน
การจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนเป็นสาคัญจะทาได้สาเร็จเมื่อผู้ท่ีเก่ียวข้องกับ
การจดั การเรียนการสอน ไดแ้ ก่ครูและผู้เรยี น มคี วามเขา้ ใจตรงกนั เกยี่ วกับความหมายของการเรียนรู้ ดงั น้ี
1 การเรียนรู้เป็นงานเฉพาะบุคคลทาแทนกันไม่ได้ ครูท่ีต้องการให้ผู้เรียนเกิด
การเรยี นรูต้ ้องเปิดโอกาสใหเ้ ขาได้มีประสบการณ์การเรยี นรู้ด้วยตัวของเขาเอง
2 การเรยี นรเู้ ป็นกระบวนการทางสติปัญญา ต้องมีการใช้กระบวนการคิด สร้าง
ความเข้าใจความหมายของสิ่งต่างๆ ดังนั้นครูจึงควรกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดทาความเข้าใจส่ิง
ต่างๆ
3 การเรยี นรเู้ ปน็ กระบวนการทางสงั คมเพราะในเรอื่ งเดียวกันอาจคิดได้หลายแง่
หลายมมุ ทาให้เกดิ การขยาย เติมเต็มข้อความรู้ ตรวจสอบความถูกต้องของการเรียนรู้ตามท่ีสังคมยอมรับ
ด้วย ดังนั้นครูท่ีปรารถนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับ
บคุ คลอืน่ หรือแหลง่ ข้อมลู อื่นๆ
4 การเรียนรเู้ ปน็ กิจกรรมท่ีสนกุ สนาน เป็นความรสู้ กึ เบกิ บานเพราะหลุดพ้นจาก
ความไม่รู้ นาไปสู่ความใฝุรู้ อยากรู้อีก เพราะเป็นเร่ืองน่าสนุก ครูจึงควรสร้างภาวะท่ีกระตุ้นให้เกิดความ
อยากรหู้ รอื คบั ขอ้ งใจบา้ ง ผ้เู รียนจะหาคาตอบเพื่อใหห้ ลุดพ้นจากความข้องใจ และเกิดความสุขข้ึนจากการ
ได้เรยี นรูเ้ มื่อพบคาตอบดว้ ยตนเอง
5 การเรยี นรูเ้ ป็นงานตอ่ เน่ืองตลอดชวี ิต ขยายพรมแดนความร้ไู ดไ้ มม่ ีท่สี ิ้นสุด ครู
จึงควรสรา้ งกิจกรรมท่กี ระตุน้ ใหเ้ กดิ การแสวงหาความรไู้ มร่ ู้จบ
6 การเรียนรเู้ ปน็ การเปลี่ยนแปลง เพราะได้รู้มากข้ึน ทาให้เกิดการนาความรู้ไป
ใช้ในการเปลี่ยนแปลงสิง่ ต่างๆ เป็นการพฒั นาไปสู่การเปล่ยี นแปลงทด่ี ีข้ึน ครูควรเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้รับรู้
ผลการพฒั นาของตัวเขาเองด้วย

47

จากความหมายของการเรียนรู้ท่ีกล่าวมา ครูจึงต้องคานึงถึงประเด็นต่างๆ ในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอน ดงั นี้

1 ความแตกต่างระหว่างบคุ คลของผู้เรียน
2 การเนน้ ความต้องการของผู้เรียนเปน็ หลกั
3 การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียน
4 การจัดกิจกรรมใหน้ ่าสนใจ ไม่ทาให้ผเู้ รียนรู้สกึ เบอื่ หนา่ ย
5 ความมเี มตตากรณุ าต่อผูเ้ รียน
6 การท้าทายให้ผู้เรยี นอยากรู้
7 การตระหนักถงึ เวลาทเ่ี หมาะสมทผ่ี เู้ รยี นจะเกดิ การเรยี นรู้
8 การสรา้ งบรรยากาศหรอื สถานการณใ์ ห้ผู้เรยี นได้เรยี นรูโ้ ดยการปฏิบัตจิ รงิ
9 การสนบั สนนุ และสง่ เสริมการเรยี นรู้
10 การมีจดุ มงุ่ หมายของการสอน
11 ความเขา้ ใจผเู้ รยี น
12 ภมู ิหลังของผเู้ รียน
13 การไม่ยดึ วิธีการใดวธิ กี ารหนึง่ เทา่ นัน้
14 การเรียนการสอนที่ดีเป็นพลวัต (dynamic) กล่าวคือ มีการเคลื่อนไหว
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาทั้งในด้านการจัดกิจกรรม การสร้างบรรยากาศ รูปแบบเนื้อหาสาระ เทคนิค
วธิ ีการ
15 การสอนสง่ิ ที่ไมไ่ กลตวั ผเู้ รียนมากเกนิ ไป
16 การวางแผนการเรียนการสอนอยา่ งเป็นระบบ
3 การเรยี นร้ขู องผเู้ รียน
องค์ประกอบสุดท้ายท่ีสาคัญและนับว่าเป็นเปูาหมายของการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ องค์ประกอบด้านการเรียนรู้ซึ่งมีลักษณะที่แตกต่างจากเดิมท่ีเน้นเนื้อหาสาระเป็น
สาคญั และสอดคล้องกบั องค์ประกอบด้านการจัดการเรียนรู้ท้ังนี้เพราะการจัดการเรียนรู้ก็เพ่ือเน้นให้มีผล
ตอ่ การเรียนรู้ ดงั น้นั ตวั บง่ ชที้ ีบ่ อกถงึ ลกั ษณะการเรยี นรูข้ องผู้เรียน ประกอบดว้ ย
1 การเรียนรู้อย่างมีความสุข เน่ืองมาจากการจัดการเรียนรู้ที่คานึงถึงความ
แตกตา่ งระหว่างบุคคล คานึงถึงการทางานของสมองท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการทางอารมณ์ของ
ผูเ้ รยี น ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้เรอื่ งทีต่ ้องการในบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติ บรรยากาศของการเอ้ืออาทรและเป็น
มติ ร ตลอดจนแหล่งเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย นาผลการเรยี นร้ไู ปใชใ้ นชีวติ จริงได้
2 การเรียนรู้จากการได้คิดและลงมือปฏิบัติจริง หรือกล่าวอีกลักษณะหนึ่งคือ
“เรียนด้วยสมองและสองมือ” เป็นผลจากการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้คิด ไม่ว่าจะเกิดจากสถานการณ์
หรือคาถามก็ตาม และไดล้ งมอื ปฏิบัติจรงิ ซงึ่ เป็นการฝึกทกั ษะท่สี าคญั คือ การแก้ปญั หา ความมีเหตผุ ล

48

3 การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอ่ืน
เปูาหมายสาคัญด้านหน่ึงในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ ผู้เรียนแสวงหาความรู้ที่
หลากหลายทั้งในและนอกโรงเรียน ทั้งท่ีเป็นเอกสาร วัสดุ สถานที่ สถานประกอบการ บุคคล ซ่ึง
ประกอบด้วยเพอื่ น กลุ่มเพ่ือน วทิ ยากร หรอื ผเู้ ปน็ ภมู ิปญั ญาของชมุ ชน

4 การเรียนรู้แบบองค์รวมหรือบูรณาการ เป็นการเรียนรู้ท่ีผสมผสานสาระ
ความรู้ด้านต่างๆ ได้สัดส่วนกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ความดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในทุก
วชิ าทจ่ี ดั ใหเ้ รียนรู้

5 การเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ของตนเอง เป็นผลสืบเนื่องมาจากความ
เข้าใจของผู้จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญว่าทุกคนเรียนรู้ได้ และเปูาหมายที่สาคัญคือพัฒนาผู้เรียน
ให้มคี วามสามารถท่ีจะแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้จัดการเรียนรู้จึงควรสังเกตและศึกษาธรรมชาติการ
เรียนรู้ของผู้เรียนว่าถนัดที่จะเรียนรู้แบบใดมากที่สุด ในขณะเดียวกันกิจกรรมการเรียนรู้จะเปิดโอกาสให้
ผ้เู รยี นได้วางแผนการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การสนับสนนุ ให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ของตนเอง
นอกจากผู้เรียนจะได้ฝึกด้านการจัดการแล้วยังได้ฝึกด้านสมาธิ ความมีวินัยในตนเอง และการรู้จักตนเอง
มากขนึ้

เม่ือครจู ัดการเรียนการสอนและการประเมนิ ผลแล้ว และมคี วามประสงคจ์ ะตรวจสอบ
ว่าได้ดาเนินการถูกต้องตามหลักการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่ ครูสามารถ
ตรวจสอบด้วยตนเองโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานด้านกระบวนการ มาตรฐานท่ี 8 ซึง่ มีตวั บ่งชดี้ งั ต่อไปน้ี

1 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติ
ของผู้เรยี น

2 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิด
สงั เคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ คดิ แกป้ ญั หาและตดั สินใจ

3 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาหาความรู้
แสวงหาคาตอบ และสรา้ งองคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง

4 มกี ารนาภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เทคโนโลยีและส่ือท่ีเหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน

5 มีการจัดกิจกรรมเพื่อฝึกและส่งเสรมิ คุณธรรมและจรยิ ธรรมของผู้เรียน
6 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสุนทรียภาพ
อยา่ งครบถว้ น ทั้งดา้ นดนตรี ศิลปะและกีฬา
7 สง่ เสริมความเป็นประชาธิปไตย การทางานร่วมกับผู้อื่นและความรับผิดชอบ
ต่อกล่มุ รว่ มกัน
8 มีการประเมินพัฒนาการของผู้เรยี นดว้ ยวิธกี ารท่หี ลากหลายและต่อเน่ือง

49

9 มีการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนรักสถานศึกษาของตนและมีความกระตือรือร้นใน
การไปโรงเรียน

สรุปว่า การจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญมีองค์ประกอบที่สาคัญ 3 ด้าน ได้แก่
ดา้ นการบริหารจดั การ ด้านการจดั การเรียนรู้ และด้านการเรยี นรขู้ องผู้เรียน โดยการจัดการให้ผู้เรียนสร้าง
ความรู้ใหม่โดยผ่านกระบวนการคิดด้วยตนเอง ทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติเกิดความเข้าใจ
และสามารถนาความรู้ไปบูรณาการใช้ในชีวิตประจาวัน มีคุณสมบัติตามเปูาหมายของการจัดการศึกษาท่ี
ตอ้ งการใหผ้ ูเ้ รียนเปน็ คนเก่ง คนดีและมคี วามสุข

2.4 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของผ้เู รียน

2.4.1 ความหมายของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นความสามารถของผู้เรียนในด้านต่างๆ ซ่ึงเกิดจากท่ีผู้เรียนได้รับ
ประสบการณ์จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน โดยครูผู้สอนต้องศึกษาแนวทางในการวัดผล
ประเมินผล การสร้างเครือ่ งมอื วดั ให้มคี ุณภาพน้นั ได้มผี ้ใู ห้ความหมายของผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนไว้ ดังน้ี
ปราณี กองจินดา (2549) กล่าวไว้ว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถหรือ
ผลสาเร็จที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์เรียนรู้
ทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และยังได้จาแนกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ตามลักษณะของ
วัตถุประสงค์ของการเรยี นการสอนทแ่ี ตกตา่ งกนั
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2548) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง
ขนาดของความสาเร็จที่ได้จากกระบวนการเรยี นการสอน
ศริ ชิ ัย กาญจนวสี (2552) ไดใ้ หค้ วามหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ว่า คือ เป็นผลการ
เรยี นรตู้ ามแผนที่กาหนดไว้ล่วงหน้า อันเกิดจากกระบวนการเรียนการสอนในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่งที่
ผ่านมา แบบทดสอบจงึ เปน็ แบบสอบทีใ่ ชว้ ดั ผลการเรยี นรู้ทีเ่ กิดข้นึ จากกจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีผู้เรียนได้
จดั ขนึ้ เพือ่ การเรยี นรู้นั้น ส่ิงท่มี ุง่ วัดเปน็ สงิ่ ทีน่ ักเรียนได้เรียนรภู้ ายใต้สถานการณ์ที่กาหนดข้ึน ซึ่งอาจจะเป็น
ความรูห้ รอื ทักษะบางอย่าง บง่ บอกถึงสถานภาพของการเรียนรู้ที่ผ่านมา หรือสภาพการเรียนรู้ท่ีบุคคลน้ัน
ไดร้ บั จดุ มุง่ หมายด้านพทุ ธิพสิ ัย
สมพร เชอื้ พนั ธ์ (2547) ไดใ้ ห้ความหมายของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนไว้ว่าคือ ความสามารถ
ความสาเร็จ และสมรรถภาพด้านต่างๆ ของผู้เรียนท่ีได้จากการเรียนรู้อันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน
การฝกึ ฝนหรือประสบการณ์ของแตล่ ะบคุ คลซึ่งได้มาจากการทดสอบด้วยวิธกี ารต่างๆ
สิริสรณ์ สิทธิรินทร์ (2554) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ว่า คือ
ความสาเร็จทางการเรียนของบุคคลทีว่ ัดไดจ้ ากกระบวนการการทดสอบหรอื กระบวนการที่ไม่ต้องอาศัยการ
ทดสอบด้วยวิธกี ารอย่างหลากหลาย เชน่ การตรวจผลงานของผู้เรยี น การสังเกตพฤตกิ รรม เป็นต้น

50

สุทธภา บุญแซม (2553) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผลท่ีเกิดจาก
กระบวนการเรียนการสอนท่ีจะทาให้นักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและสามารถวัดได้โดยการ
แสดงออกท้งั 3 ดา้ น คือ ด้านพทุ ธิพิสยั ดา้ นจิตพสิ ัย และด้านทักษะพิสัย

อารีย์ วิชิรวราการ (2542) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไว้ว่า คือ ผลที่
เกิดขน้ึ จากการเรยี นการสอน การฝกึ ประสบการณต์ า่ งๆ ทง้ั ในโรงเรียน นอกโรงเรียนและรวมถงึ สง่ิ แวดลอ้ ม
ความรสู้ กึ คา่ นยิ ม ซ่งึ เป็นผลที่เกิดจากการฝกึ การสอน การอบรม

ไอแซงค์ อาโนลด์ และไมลี (อ้างถึงใน ปริยทิพย์ บุญคง, 2546) ให้ความหมายของคาว่า
ผลสัมฤทธิ์ หมายถึง ขนาดของความสาเร็จที่ได้จากการทางานที่ต้องอาศัยความพยายามอย่าง มาก ซึ่ง
เป็นผลมาจากการกระทาท่ีต้องอาศัยท้ังความสามารถทั้งทางร่างกายและทางสติปัญญา ดังนั้นผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนจึงเป็นขนาดของความสาเร็จที่ได้จากการเรียนโดยอาศัยความสามารถเฉพาะตัวบุคคล
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอาจได้จากกระบวนการท่ีไม่ต้องอาศัยการทดสอบ เชน่ การสังเกต หรอื การตรวจ
การบ้าน หรืออาจได้ในรูปของเกรดจากโรงเรียน ซึ่งต้องอาศัยกระบวนการที่ซับซ้อน และระยะเวลานาน
พอสมควร หรืออาจได้จากการวดั แบบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นทวั่ ไป

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลท่ีเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ใน
รูปแบบต่างๆ กิจกรรมการเรยี นการสอน การฝึกฝน ที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และ
สามารถวัดได้จากการทดสอบผลการเรียนรู้นั้นๆ โดยการแสดงออกมาท้ัง 3 ดา้ น คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิต
พิสยั และด้านทกั ษะพสิ ยั

2.4.2 องค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลตอ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ิงที่ครูผู้สอนต้องการ คือ ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในส่ิงที่

เรียนท้งั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้มากท่ีสุด ซึ่งองค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
ผเู้ รียนมีหลายประการ กล่าวคือ ตวั แปรท่มี ีอทิ ธพิ ลตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นไม่ไดข้ นึ้ อยู่กับสติปัญญาเพียง
อยา่ งเดียว แตจ่ ะขน้ึ อยกู่ ับตัวแปรอ่ืนๆ ดังนี้

1 พฤติกรรมด้านความรู้ ความคิด หมายถึง ความสามารถท้ังหลายของผู้เรียน ซ่ึง
ประกอบด้วยความถนัดและพ้นื ฐานเดมิ ของผู้เรยี น

2 คณุ ลกั ษณะด้านจิตพสิ ยั หมายถึง สภาพการณ์หรือแรงจูงใจที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ใหม่ ได้แก่ ความสนใจ ทัศนคติต่อเน้ือหาวิชาที่เรียนในสถานศึกษา และระบบการเรียนรู้ ความ
คดิ เห็นเกี่ยวกับตนเอง ลกั ษณะบุคลกิ ภาพ

3 คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ การได้รับการแนะนา การมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมการเรียนรู้ การเสริมแรงจากครูผู้สอน การแก้ไขข้อผิดพลาด และรู้ผลว่าตนเองกระทาได้ถูกต้อง
หรอื ไม่

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นเร่ืองท่ีนักวิชาการให้ความสนใจมาโดยตลอดจึงพยายาม
ศึกษาองคป์ ระกอบทมี่ สี ว่ นสัมพนั ธก์ ับผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผเู้ รียนเพ่ือเปน็ แนวทางในการส่งเสริมการ

51

ใช้ความสามารถและศักยภาพมีอยู่ในตนเองให้เกิดการเรียนรู้ให้มากท่ีสุด มีผู้กล่าวถึงองค์ประกอบท่ีมี
อทิ ธิพลตอ่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นดงั น้ี

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (อ้างถึงใน น้าเพชร สินทอง, 2541) ได้กล่าวถึง
องค์ประกอบต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ว่า ตั้งแต่เด็กเกิดมา และเจริญเติบโตใน
ครอบครัวจนกระท่ังเข้าสู่วัยเรียน ได้แก่ คุณลักษณะของนักเรียน คุณภาพการจัดการเรียนในโรงเรียน
ความสามารถติดตวั มาแต่กาเนิดและภมู หิ ลงั ของครอบครวั

สุภาพรรณ โคตรจรัส (อ้างถึงใน น้าเพชร สินทอง, 2541) กล่าวว่าองค์ประกอบท่ีมีอิทธิพล
ต่อผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นนน้ั แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

องค์ประกอบด้านคุณลักษณะเดียวกับตัวผู้เรียน ได้แก่ เชาวน์ปัญญา ความถนัดความรู้
พื้นฐานหรือความรู้เดิมของผู้เรียน และอารมณ์ เป็นแรงจูงใจความสนใจ ทัศนคติและนิสัยในการเรียน
ความนกึ คดิ เก่ียวกบั ตนเอง ตลอดจนการปรับตัวและบคุ ลิกภาพอน่ื ๆ

องค์ประกอบทางสภาพแวดล้อม ส่ิงแวดล้อมทางครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ ท่ีอยู่
อาศัย ความคาดหวังของบดิ ามารดา

Prescott (อ้างถึงใน น้าเพชร สินทอง, 2541) ได้กล่าวถึง องค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลต่อ
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น พอสรุปไดด้ ังน้ี

องค์ประกอบทางร่างกายได้แก่ การเจริญเติบโตของร่างกาย สุขภาพ ข้อบกพร่อง และ
ลักษณะทา่ ทางของรา่ งกาย

องคป์ ระกอบทางความรัก ได้แก่ ความสมั พนั ธ์ระหว่างบิดา มารดา ความสัมพันธ์ระหว่าง
บดิ า มารดากบั บตุ ร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งบตุ รและสมาชิกในครอบครัว

องค์ประกอบทางวัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเป็นอยู่ของ
ครอบครวั สภาพแวดลอ้ ม การอบรมเลยี้ งดูของผูป้ กครอง และฐานะทางเศรษฐกจิ

องคป์ ระกอบด้านความสัมพนั ธก์ บั เพอ่ื นๆ ในวัยเดียวกนั
องค์ประกอบทางการพัฒนาแห่งตน ได้แก่ ด้านสติปัญญา ด้านความสนใจ ด้านเจตคติ
และแรงจูงใจ
องค์ประกอบทางดา้ นการปรบั ตวั คือ การปรับตัวและการแสดงอารมณ์
Gagne (อ้างถึงใน น้าเพชร สินทอง, 2541) ได้กล่าวว่า อิทธิพลที่มีผลต่อการเรียนรู้ ได้แก่
พนั ธกุ รรมและสงิ่ แวดลอ้ ม ตามทีย่ อมรับกนั ว่า สตปิ ัญญาของคนไดร้ บั การถ่ายทอดมาทางพันธุกรรม แต่ยัง
มีองค์ประกอบอย่างอ่ืนแทรกเข้ามาเก่ียวข้องด้วย เช่น ประสบการณ์การเรียนรู้ ความสนใจ ตลอดจน
สงิ่ แวดล้อมท่เี ป็นบคุ คลท่ไี ดร้ ับจากการเรียนรู้ สงั คมและเศรษฐกิจ
จากแนวคิดต่างๆ สรุปได้ว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน
จะต้องประกอบด้วย ตัวผูเ้ รียน เช่น เชาวนป์ ัญญา ความถนดั ความร้พู ้ืนฐานทางอารมณ์ แรงจูงใจ ทัศนคติ
ความสนใจ บุคลิกภาพ และองค์ประกอบทางด้านแวดล้อม เช่น ความสัมพันธ์กับบุคคล ขนบธรรมเนียม

52

ประเพณี ความเปน็ อย่ขู องครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ ทางสังคมได้แก่ อยู่ในสังคมแห่งการเรียนรู้ไม่ใช่
สังคมที่มีแต่ปญั หา ไมว่ า่ จะเป็นปัญหายาเสพตดิ หรือปัญหาครอบครัว ตลอดจนกระบวนการเรียนการสอน
ในสถานศึกษา ซ่ึงถ้าหากพ่อแม่และครูผู้สอนดูแลเอาใจใส่ให้ผู้เรียนเจริญเติบโตพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ
และเสรมิ สตปิ ญั ญาท่ีถูกทิศทาง ผ้เู รียนก็จะเจริญเตบิ โตพร้อมกบั ความสาเร็จในด้านการเรียน และในที่สุดก็
จะกลายเป็นคนดแี ละรับผิดชอบในสังคมตอ่ ไป

2.4.3 การวดั ผลประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน ส่วนใหญ่ได้มาจากการวัดผลประเมินผลจากเครื่องมือวัด

การวัดผลประเมินผล ได้มีนักการศึกษาได้กล่าวถึงการวัดผล การประเมินผล และพฤติกรรมท่ีจะวัด
ผลสัมฤทธ์ิ ดงั น้ี

พิชิต ฤทธ์ิจรูญ (2545) ได้กล่าวถึงพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย เป็นสมรรถภาพด้านสมองหรือ
ปญั ญาของบุคคล ในการเรียนรู้ส่งิ ต่างๆ แบ่งเปน็ 6 ระดับ ดังนี้คอื

1 ความรู้-ความจา
1.1 ความรเู้ รือ่ งเฉพาะ
1.1.1 ความรู้เกย่ี วกับศพั ท์และนิยาม
1.1.2 ความรู้เกย่ี วกับกฎและความจรงิ
1.2 ความรู้ในวธิ ีการ
1.2.1 ความรเู้ กย่ี วกับระเบียบแบบแผน
1.2.2 ความรู้เกี่ยวกับลาดบั ขั้นและแนวโน้ม
1.2.3 ความรเู้ กีย่ วกับการจดั ประเภท
1.2.4 ความรูเ้ กย่ี วกบั กฏเกณฑ์
1.2.5 ความรเู้ กย่ี วกับวธิ ีการ
1.3 ความรรู้ วบยอดในบางเรอื่ ง
1.3.1 ความรเู้ กย่ี วกบั หลักวชิ า
1.3.2 ความรู้เกย่ี วกบั ทฤษฎีและโครงสร้าง

2 ความเขา้ ใจ
2.1 การแปลความ
2.2 การตคี วาม
2.3 การขยายความ

3 การนาไปใช้
4 การวิเคราะห์

4.1 การวเิ คราะห์ความสาคัญ
4.2 วเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์

53

4.3 วเิ คราะหห์ ลกั การ
5 การสังเคราะห์

5.1 การสังเคราะหข์ อ้ ความ
5.2 การสังเคราะหแ์ ผนงาน
5.3 การสงั เคราะห์ความสมั พนั ธ์
6 การประเมนิ ค่า
6.1 ประเมินโดยใชเ้ กณฑ์ภายใน
6.2 ประเมนิ โดยใชเ้ กณฑ์ภายนอก
เยาวดี วิบูลย์ศรี (2548) กล่าวว่า การวัดผลหมายถึง กระบวนการบ่งชี้ผลผลิตหรือ
คณุ ลักษณะทวี่ ดั ไดจ้ ากเครื่องมือวดั ผลประเภทใดประเภทหนึ่งอย่างมีระบบ ดังคานิยามท่ีว่า การวัดผล คือ
การกาหนดตัวเลขให้กับส่ิงใดสิ่งหนึ่งตามกฏเกณฑ์ท่ีต้ังไว้ และกล่าวว่า การประเมินผล หมายถึง การ
รวบรวมขอ้ มลู และการจดั ข้อมลู ที่เป็นประโยชน์ เพ่ือช่วยใหม้ กี ารตดั สินได้หลายทาง
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2549) ได้กล่าวถึงการวัดผลประเมินผล
การเรยี นการสอนด้านพุทธพิสยั สาหรบั วิชาวทิ ยาศาสตร์ จะวดั ผลตามแนวความคิดของ Klopfer ซึ่งจาแนก
ระดับพฤติกรรมการเรยี นรดู้ า้ นสติปญั ญาหรอื ความรคู้ วามคิดเป็น 4 ลาดับขนั้ ดังนี้
1 ความรคู้ วามจา
2 ความเข้าใจ
3 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
4 การนาความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตรไ์ ปใช้
สมศกั ดิ์ สินธุระเวชญ์ (2545) ไดก้ ล่าวถึงรูปแบบการประเมินผลการเรียนรู้ ดงั น้ี
การประเมินผลการเรียน (pre evaluation) เป็นการประเมินผลก่อนจะเริ่มต้นแต่ละ
แผนการจัดการเรียนรู้ ในทางปฏิบัตสิ ามารถแยกไดเ้ ปน็ 2 ประเด็น คอื
1 เพื่อดวู า่ ผเู้ รยี นไดร้ ้สู ิง่ ตา่ งๆ ก่อนท่ีผ้สู อนจะเร่ิมบทเรยี นหรอื ไม่
2 เพ่อื ดวู ่าผเู้ รียนมีความร้แู ละทักษะในผลการเรยี นทีผ่ ้เู รียนจะต้องมมี ากอ่ นการเรียน
เรอ่ื งใหม่
การประเมนิ ผลระหว่างเรยี น (formative evaluation) เปน็ การประเมินเพื่อปรับปรุงการ
เรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ การวัดผลความรู้ของความสามารถของผู้เรียนตามผลการเรียนรู้ที่กาหนดไว้
ระหวา่ งการเรยี นของแต่ละแผนการจดั การเรยี นรู้
การประเมนิ ผลรวม (summative evaluation) เป็นการประเมินผลเมือ่ ส้ินสุดการจัดการ
เรยี นรใู้ นแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้ โดยมีจดุ หมายเพ่ือศกึ ษาวา่
1 ผู้เรียนมีความรู้ท้ังส้ินเทา่ ไร
2 ตัดสินผลการเรยี นรู้

54

3 พยากรณ์ความสาเรจ็ ในรายวชิ า
4 เปรียบเทียบผลลพั ท์บางประการของผู้เรยี นแตล่ ะกล่มุ
จากท่กี ล่าวมา สรปุ ไดว้ า่ การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เปน็ การวัดพฤติกรรมท่ีใช้การจัด
จาแนกอนั ดบั โดยวัดพฤตกิ รรมด้านพุทธิพิสยั ด้านทกั ษะพิสยั และดา้ นจติ พิสัย เพ่ือดูว่าผู้เรียนได้รู้สิ่งต่างๆ
มากนอ้ ยเพยี งไร เป็นการตดั สินผลการเรยี นรู้ ในการวดั ผลประเมินผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นมกี ารประเมินผล
กอ่ นเรียน ระหว่างการเรยี นการสอน และหลงั เรยี น
2.4.4 ความหมายของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ
พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2544) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้
ความสามารถทางวชิ าการท่ผี เู้ รยี นได้เรียนรมู้ าแล้ววา่ บรรลุผลสาเร็จตามจดุ ประสงค์ทก่ี าหนดไวเ้ พียงใด
ศริ ิชยั กาญจนวาสี (2544) กล่าวไว้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิเป็นเคร่ืองมือในการวัดผล
สัมฤทธก์ิ ารเรียนรู้ของผู้เรยี นตามเปาู หมายท่กี าหนดไว้ เพอ่ื ให้ทราบวา่ ผู้เรยี นไดพ้ ฒั นาความรู้ความสามารถ
ถึงมาตรฐานที่ผู้สอนกาหนดไว้หรือไม่ หรือมีความรู้ความสามารถระดับใด หรือมีความรู้ความสามารถดี
เพยี งไรเมอ่ื เทียบกับเพือ่ นๆ ที่เรียนด้วยกนั
จากท่กี ล่าวมา สรุปไดว้ า่ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ หมายถงึ เครอื่ งมอื ในการวัดระดับความรู้
ความสามารถของผเู้ รยี น ตามจดุ ประสงค์ทก่ี าหนดไว้
2.4.5 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เป็นเครื่องมือท่ีใช้วัดความสามารถของผู้เรียนด้านพุทธิพิสัย
แบบทดสอบประเภทน้ีต้องมีความตรงตามเนื้อหา แนวทางการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิมี
รายละเอียด ดังนี้
พิชติ ฤทธจ์ิ รญู (2545) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์จะมีคุณภาพได้นั้น จะต้องอาศัย
หลักการสรา้ งท่มี ีประสิทธิภาพ ตามทฤษฎขี อง Gronlund ที่ใหห้ ลักการสร้างไว้ดงั น้ี
1 ต้องนิยามพฤติกรรมหรอื ผลการเรยี นรู้ใหช้ ัดเจน โดยกาหนดในรูปของจุดประสงค์การ
เรยี นรู้
2 ควรสรา้ งแบบทดสอบให้ครอบคลมุ ผลการเรียนรู้
3 แบบทดสอบที่สรา้ งข้นึ ควรวดั พฤติกรรม หรอื ผลการเรยี นรู้ท่ีเป็นตัวแทนของกิจกรรม
การเรยี นรู้ โดยจะต้องกาหนดตัวชี้วัด และขอบเขตของผลการเรยี นรทู้ ีจ่ ะวัดแลว้ จงึ เขียนข้อสอบตามตัวชว้ี ัด
4 แบบทดสอบทีส่ รา้ งขึ้น ควรประกอบด้วยข้อสอบชนิดต่างๆ ที่เหมาะสมสอดคล้องกับ
การวัดพฤตกิ รรมหรือผลการเรยี นรู้ทก่ี าหนดไวใ้ หม้ ากที่สุด
5 ควรสร้างแบบทดสอบโดยคานึงถึงแผนหรอื วตั ถุประสงค์ของการนาผลการทดสอบไป
ใช้ประโยชน์ จะได้เขียนขอ้ สอบให้มีความสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ และทันตามแผนทก่ี าหนดไว้
6 แบบทดสอบทสี่ รา้ งขึน้ จะตอ้ งทาการตรวจให้คะแนนไม่มีความคลาดเคล่ือนจากการ
วัด ไมว่ า่ จะทาแบบทดสอบไปทดสอบกับผู้เรยี นในเวลาทแี่ ตกตา่ งกันจะต้องได้ผลการวดั เหมอื นเดิม

55

นอกจากน้ียังได้กล่าวถึงการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ มีขั้นตอนดาเนินการต่อไปนี้
(พิชิต ฤทธจ์ิ รญู , 2545)

1 วเิ คราะหห์ ลกั สตู รและสร้างตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร
2 กาหนดจุดประสงค์การเรยี นรู้
3 กาหนดชนดิ ของขอ้ สอบและวิธีสร้าง
4 เขยี นข้อสอบ
5 ตรวจทานขอ้ สอบ
6 จัดพิมพแ์ บบทดสอบฉบับทดลอง
7 ทดลองสอบและวเิ คราะหข์ ้อสอบ
8 จัดทาแบบทดสอบฉบับจรงิ
และยังไดก้ ลา่ วถึง ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ โดยท่ัวไปแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
มดี ังนี้
1 แบบทดสอบท่ีครูสร้างขึ้นเอง หมายถึง แบบทดสอบท่ีมุ่งวัดผลสัมฤทธ์ิผู้เรียนเฉพาะ
กลุ่มท่ีครูสอน เป็นแบบทดสอบที่สร้างข้ึนโดยท่ัวไปในสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบทดสอบข้อเขียน
แบง่ เป็น 2 ชนิด คือ

1.1 แบบทดสอบอัตนัย เป็นแบบทดสอบท่ีกาหนดคาถาม หรือปัญหาให้แล้วผู้ตอบ
เขียนโดยแสดงความรู้ ความคดิ เจตคติ ได้อยา่ งเตม็ ที่

1.2 แบบทดสอบปรนัย หรือแบบให้ตอบส้ันๆ เป็นแบบทดสอบท่ีกาหนดให้ผู้สอบ
เขยี นคาตอบส้นั ๆ หรือมคี าตอบใหเ้ ลือกแบบจากัดคาตอบ ผ้ตู อบไม่มีโอกาสแสดงความรู้ แบบทดสอบชนิด
นี้แบ่งออกเป็น 4 แบบ คือ แบบทดสอบถูก-ผิด แบบทดสอบเติมคา แบบทดสอบจับคู่ และแบบทดสอบ
เลือกตอบ

2 แบบทดสอบมาตรฐาน หมายถึง แบบทดสอบทม่ี ุง่ วดั ผลสมั ฤทธิข์ องผู้เรยี นท่วั ๆ ไป ซ่ึง
สร้างโดยผเู้ ชีย่ วชาญ มกี ารวเิ คราะห์และปรับปรุงอย่างดีจนมีคุณภาพ มีมาตรฐาน กล่าวคือ มีมาตรฐานใน
การดาเนินการสอบ วธิ กี ารใหค้ ะแนนและแปลความหมายของคะแนน

สมบรู ณ์ ตนั ยะ (2545) ได้กลา่ วถึงแบบทดสอบผลสมั ฤทธิ์ ดังนี้
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ (achievement test) หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้

ทักษะและสมรรถภาพด้านต่างๆ ที่นักเรียนแต่ละคนได้เรียนรู้มาแล้ว เป็นการวัดเพ่ือให้ทราบว่านักเรียน
เรยี นรอู้ ะไรในอดีตมากนอ้ ยเพียงใด และสามารถนาความรู้มาใชไ้ ด้เพียงใด แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิแบ่งได้ 2
ชนดิ คือ

1 แบบทดสอบท่ีครูสร้างขึ้น (teacher-made test) เป็นแบบทดสอบท่ีครูสร้างขึ้น
เพือ่ วัดผลการเรียนการสอน หรือวดั ความสาเร็จในการเรยี นการสอนของนักเรียน

56

2 แบบทดสอบมาตรฐาน (standardized test) เป็นแบบทดสอบ ท่ีผ่านการ
วเิ คราะหเ์ พ่อื หาคุณภาพของแบบทดสอบเพื่อให้มีคุณภาพดีท้ังฉบับ เป็นมาตรฐานในการใช้ สามารถนาผล
การทดสอบไปเทยี บกับเกณฑ์โดยส่วนรวมได้ มีประโยชน์ในด้านการเปรียบเทียบผลการเรียนของนักเรียน
แต่ละกลมุ่ แต่ละแห่ง

และยงั ได้กลา่ วถึงประเภทของแบบทดสอบผลสมั ฤทธิ์ มดี งั น้ี
1 แบบทดสอบแบบอัตนยั หรือแบบความเรยี ง (composition or subjective test)
2 แบบทดสอบถูกผิด (true-false test)
3 แบบทดสอบแบบเติมคา (completion test)
4 แบบทดสอบแบบจบั คู่ (matching test)
5 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ (multiple choice test)

เยาวดี วบิ ูลย์ศรี (2548) กล่าวไว้ว่า แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ท่ีสร้างข้ึน มักมีความมุ่งหมายท่ี
สาคญั คือ เพอื่ ใช้วดั ผลการเรียนรูด้ ้านเนื้อหาวิชาและทักษะต่างๆ ของแต่ละสาขาวิชาที่จัดสอนในระดับชั้น
เรียนต่างๆ ของแต่ละโรงเรียน ลักษณะแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิมีทั้งที่เป็นข้อเขียน (paper and pencil
test) และที่เป็นภาคปฏิบัติจริง แบบสอบผลสัมฤทธ์ิท่ีดีและมีคุณค่าจะต้องสร้างให้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม และการสร้างแบบสอบผลสมั ฤทธ์ิควรคานงึ ถึงขอ้ ตกลงเบื้องต้น 3 ขอ้ ดังนี้

1 เนื้อหาหรือทักษะ จะต้องสามารถจากัดอยู่ในรูปของพฤติกรรม ซ่ึงมีความ
เฉพาะเจาะจงในลกั ษณะท่ีจะสื่อสารไปยังบคุ คลอ่ืนได้

2 ผลผลติ ที่แบบทดสอบวดั นัน้ จะต้องเป็นผลผลิตเฉพาะท่ีเกิดขึ้นจากการเรียนการสอน
ตามวัตถุประสงค์ทต่ี ้องการเท่าน้ัน

3 ผลสมั ฤทธิ์หรือความรู้ต่างๆ ท่ีแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์วัดได้น้ัน ถ้านาไปเปรียบเทียบ
กนั แล้ว ผู้เข้าสอบทกุ คนจะตอ้ งมโี อกาสไดเ้ รยี นรใู้ นเรือ่ งน้นั ๆ อยา่ งเทา่ เทียมกนั

นอกจากน้ียังได้กล่าวถึงการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ สามารถแบ่งได้เป็น 4 ขั้นตอน
ต่อไปน้ี (เยาวดี วบิ ูลย์ศรี, 2548)

ข้นั ที่ 1 กาหนดวตั ถปุ ระสงคท์ ัว่ ไปของการสอบให้อยู่ในรปู ของวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
โดยระบเุ ป็นข้อๆ ใหว้ ตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมสอดคล้องกบั เนอื้ หาท้งั หมดที่จะทดสอบ

ขั้นท่ี 2 กาหนดโครงเรอ่ื งของเนื้อหาสาระทจี่ ะทาการทดสอบใหค้ รบถว้ น
ข้ันที่ 3 เตรยี มตารางเฉพาะหรอื ผังของแบบทดสอบ เพ่ือแสดงน้าหนักของเนื้อหาวิชาแต่
ละส่วน และพฤติกรรมตา่ งๆ ท่ตี อ้ งการทดสอบใหเ้ ดน่ ชัด สน้ั กะทดั รัด และชัดเจน
ข้ันที่ 4 สร้างข้อกระทงท้ังหมดท่ีต้องการจะทดสอบให้เป็นไปตามสัดส่วนของน้าหนักที่
ระบไุ ว้ในตาราง
และยังได้จาแนกแบบทดสอบผลสมั ฤทธิต์ ามมติ ติ ่างๆ ดังนี้ (เยาวดี วบิ ูลย์ศรี, 2548)

57

มิติที่ 1 จาแนกตามขอบข่ายของเน้ือหาวิชาท่ีวัด เช่น วัดเน้ือหาทางคณิตศาสตร์ วิชา
ประวัตศิ าสตร์ หรอื การสะกดคา

มิติที่ 2 จาแนกตามลักษณะท่ัวไปของแบบทดสอบ โดยแบ่งแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิได้ 3
ลกั ษณะ คือ แบบทดสอบเพือ่ สารวจผลสมั ฤทธ์ิ แบบทดสอบเพอ่ื วนิ จิ ฉยั ผลสมั ฤทธ์ิ และแบบทดสอบเพ่ือวัด
ความพรอ้ ม

มิตทิ ี่ 3 จาแนกตามมิติที่ใช้ ส่วนใหญ่เป็นแบบทดสอบประเภทข้อเขียน ได้แก่
แบบทดสอบประเภทภาคปฏบิ ตั ิ (performance test)

สรุปได้ว่า แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสร้างข้ึนเพ่ือวัดพฤติกรรมหรือผลการเรียนรู้
ซึ่งอาจเป็นแบบทดสอบมาตรฐานท่ีผู้เชี่ยวชาญได้สร้างไว้ หรือแบบทดสอบที่ผู้สอนจัดทาขึ้นเพ่ือใช้เอง
เพื่อให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของพฤติกรรมที่ต้องการจะวัด และก่อนที่จะสร้างแบบทดสอบจะต้อง
ออกแบบการสร้างขอ้ สอบ วิเคราะห์หลกั สูตร กาหนดจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ กาหนดชนิดของแบบสอบถาม
ตรวจทาน ทดลองใช้ วิเคราะห์ข้อสอบ และนาไปใช้ทดสอบจริง นอกจากน้ันกาหนดสัดส่วนของเน้ือหา
สาระในการออกข้อสอบใหช้ ดั เจน

2.4.6 ข้ันตอนการสร้างแบบทดสอบ
พชิ ิต ฤทธ์จิ รูญ (2544) ไดก้ ล่าวถึงการสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซึ่งสามารถ

สรุปไดด้ งั น้ี
1 วิเคราะหห์ ลกั สตู รและสร้างตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู ร
การสรา้ งแบบทดสอบ ควรเรม่ิ ตน้ ดว้ ยการวิเคราะห์หลักสตู รและสร้างตารางวิเคราะห์

หลกั สตู ร เพ่อื วเิ คราะหเ์ นื้อหาสาระและพฤติกรรมทต่ี อ้ งการจะวดั ตารางวิเคราะห์หลักสูตรจะใช้เป็นกรอบ
ในการออกข้อสอบซ่งึ จะระบจุ านวนข้อสอบในแตล่ ะเร่ืองและพฤติกรรมทต่ี ้องการวัดไว้

2 กาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมที่เป็นผลการเรียนรู้ท่ีผู้สอนมุ่งหวังจะให้เกิด

ขึ้นกับผู้เรียนซ่ึงผู้สอนจะต้องกาหนดไว้ล่วงหน้าสาหรับเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนและการ
สรา้ งข้อสอบวัดผลสมั ฤทธิ์

3 กาหนดชนิดของข้อสอบและศึกษาวิธีสรา้ ง
โดยการศึกษาตารางวิเคราะห์หลักสูตรและจุดประสงค์การเรียนรู้ ผู้ออกข้อสอบต้อง

พิจารณาและตัดสินใจเลือกใช้ชนิดของข้อสอบที่จะใช้วัดว่าจะเป็นแบบใด โดยต้องเลือกให้สอดคล้องกับ
จุดประสงค์ของการเรียนรู้และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน แล้วศึกษาวิธีเขียนข้อสอบชนิดนั้นให้มีความรู้
ความเขา้ ใจในหลักและวิธีการเขยี นขอ้ สอบ

4 เขียนข้อสอบ
ผู้ออกข้อสอบลงมือเขียนข้อสอบ ตามรายละเอียดท่ีกาหนดไว้ในตารางวิเคราะห์

หลกั สตู ร และให้สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้

58

5 ตรวจทานข้อสอบ
เพือ่ ให้ข้อสอบท่ีเขียนไว้แลว้ ในขนั้ ที่ 4 มีความถกู ตอ้ งตามหลักวิชาการมีความสมบูรณ์

ครบถว้ น ตามรายละเอียดท่ีกาหนดไว้ในตารางวิเคราะห์หลักสูตร ผู้ออกข้อสอบต้องพิจารณา ทบทวนอีก
ครงั้ กอ่ นทจ่ี ะจัดพมิ พ์และนาไปใช้ต่อไป

6 จัดพิมพ์ขอ้ สอบฉบับทดลอง
เมื่อตรวจทานข้อสอบเสร็จแล้วให้พิมพ์ข้อสอบทั้งหมด จัดทาเป็นแบบทดสอบฉบับ

ทดลองโดยมคี าชี้แจงหรอื คาอธบิ ายวิธตี อบแบบทดสอบ และจัดวางรูปแบบการพมิ พใ์ หเ้ หมาะสม
7 ทดลองสอบและวิเคราะห์ข้อสอบ
การทดลองสอบและวเิ คราะหข์ ้อสอบ เป็นวิธีการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ

ก่อนนาไปใช้จริง โดยนาแบบทดสอบไปทดลองสอบกบั กลุ่มที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มท่ีต้องการทดสอบ
จรงิ แลว้ นาผลการทดสอบมาวิเคราะห์และปรับปรุงข้อสอบให้มีคุณภาพ โดยสภาพการปฏิบัติจริงของการ
ทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิในโรงเรียนมกั ไมค่ ่อยมีการทดลองและวเิ คราะหข์ อ้ สอบ สว่ นใหญ่นาแบบทดสอบไปใช้
ทดสอบแล้วจงึ วิเคราะห์ขอ้ สอบเพ่อื ปรับปรุงขอ้ สอบและนาไปใชใ้ นคร้ังตอ่ ๆ ไป

8 จดั ทาแบบทดสอบจรงิ
จากผลการวิเคราะห์ข้อสอบ หากพบว่าข้อสอบข้อใดไม่มีคุณภาพหรือมีคุณภาพไม่ดี

พอ อาจจะตอ้ งตัดทิง้ หรือปรับปรุงแกไ้ ขข้อทดสอบให้มคี ุณภาพดีขนึ้ แล้วจงึ จัดทาเป็นแบบทดสอบฉบับจริง
ที่จะนาไปทดสอบกบั กลมุ่ เปาู หมายต่อไป

เยาวดี วบิ ูลย์ศรี (อ้างถึงใน ณฐั พงศ์ มณีโรจน์, 2560) กล่าวถึงสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ซงึ่ สามารถสรปุ ได้ ดงั นี้

1 กาหนดวัตถุประสงคท์ วั่ ไปของการสอบใหอ้ ยใู่ นรปู ของวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม โดย
ระบุเป็นข้อๆ และให้วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมเหล่านั้นสอดคล้องกับเน้ือหาสาระท้ังหมดท่ีจะทาการ
ทดสอบ

2 กาหนดโครงเรือ่ งของเนอ้ื หาสาระ ทจ่ี ะทาการทดสอบให้ครบถ้วน
3 เตรียมตารางเฉพาะ หรือผังของแบบทดสอบ เพื่อแสดงถึงน้าหนักของเน้ือหาวิชาแต่
ละสว่ น และพฤตกิ รรมต่างๆ ที่ต้องการทดสอบใหเ้ ดน่ ชัด สัน้ กะทัดรัด และมีความชดั เจน
4 สรา้ งขอ้ สอบทั้งหมดทตี่ อ้ งการจะทดสอบให้เป็นไปตามสัดส่วนของน้าหนักที่ระบุไว้ใน
ตารางเฉพาะ
สมนกึ ภทั ทยิ ธนี (2546) ไดก้ ลา่ วถงึ การสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นไว้ ดังนี้
1 เขียนตอนนาให้เป็นประโยคคาถามที่สมบูรณ์อาจจะใส่เครื่องหมายปรัศนีด้วย แต่ไม่
ควรสรา้ งตอนนาให้เปน็ แบบอ่านตอ่ ความ เพราะทาให้คาถามไม่กระชบั เกิดปัญหาสองแง่หรือข้อความไม่ต่อ
กนั หรอื เกดิ ความสบั สนในการคิดหาคาตอบ

59

2 เน้นเร่ืองที่จะถามให้ชัดเจนและตรงจุดไม่คลุมเครือ เพ่ือว่าผู้อ่านจะไม่เข้าใจไขว้เขว
สามารถมุ่งความคดิ ในคาตอบไปถกู ทาง

3 ควรถามในเรือ่ งทม่ี คี ุณค่าต่อการวดั หรือถามในสง่ิ ที่ดีงามมปี ระโยชน์
4 หลีกเลยี่ งคาถามปฏิเสธถ้าจาเป็นต้องใชค้ วรขดี เส้นใต้คาปฏิเสธ
5 อย่าใช้คาฟุมเฟอื ย ควรถามปญั หาโดยตรงสง่ิ ใดไมเ่ กย่ี วขอ้ งหรือไม่ได้ใช้เป็นเง่ือนไขใน
การคดิ กไ็ มต่ ้องนามาเขยี นไวใ้ นคาถาม
6 เขียนตวั เลอื กใหเ้ ปน็ เอกพจน์ หมายถึง เขียนตัวเลือกทุกตัวให้เป็นลักษณะใดลักษณะ
หนงึ่ หรอื มีทศิ ทางแบบเดยี วกันหรือมีโครงสร้างสอดคล้องเปน็ ทานองเดยี วกนั
7 ควรเรียงลาดบั ตวั เลขในตัวเลือกต่างๆ
8 ใช้ตัวเลอื กปลายเปิดหรือปลายปดิ ให้เหมาะสม
9 ขอ้ เดียวตอ้ งมีคาตอบเดยี ว
10 เขยี นทั้งตัวเลือกทีถ่ ูกและตวั เลือกทผ่ี ดิ ให้ถูกตอ้ งตามหลกั วชิ า
11 เขียนตัวเลือกให้อิสระขาดจากกัน อย่าให้ตัวเลือกตัวใดตัวหนึ่งเป็นส่วนหน่ึงหรือ
สว่ นประกอบของตวั เลือกอนื่
12 อยา่ แนะคาตอบซง่ึ เป็นการแนะนา
สรุปได้ว่า ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบนั้น ครูผู้สอนต้องวิเคราะห์หลักสูตร กาหนด
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ กาหนดชนดิ ของขอ้ สอบและศกึ ษาวิธสี รา้ ง เขียนข้อสอบ ตรวจทานข้อสอบ จัดพิมพ์
ขอ้ สอบฉบบั ทดลอง ทดลองและวเิ คราะห์ขอ้ สอบ และนาไปใช้ในการทดสอบจริง
2.4.7 คุณภาพของเคร่อื งมือวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
พชิ ิต ฤทธิจ์ รญู (2544) ไดก้ ล่าวถึงคณุ ภาพของเครื่องมอื วดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นไว้ดังน้ี
1 ความเท่ียง คือ ความสามารถของเครื่องมือในการวัดส่ิงท่ีต้องการจะวัดได้ หรือวัดได้
ตรงตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย คะแนนที่ได้จากเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงสูง สามารถบอกสภาพที่
แท้จรงิ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง แมน่ ยา คะแนนท่ีไดจ้ ากเคร่ืองมอื ท่ีมีความเท่ียงตรงต่ากว่า ความเที่ยงแบ่งออกเป็น
3 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา ความเท่ียงตรงเชิงโครงสร้าง และความเที่ยงตรงตาม
เกณฑท์ เ่ี กีย่ วข้อง
2 ความเชื่อม่นั เปน็ คุณสมบตั ิของเคร่อื งมือทแี่ สดงความคงทข่ี องผลการวัด ไม่ว่าจะวัดกี่
คร้ังก็ตามกบั กลมุ่ เดิม การตรวจสอบความเช่อื มน่ั มวี ิธดี ังน้ี คอื การวดั ความคงที่ การวัดความสมมูลกัน และ
การวัดความสอดคล้องภายใน
3 ความเป็นปรนัย คือ ความชัดเจนของเครื่องมือซึ่งมีความหมายตรงกันข้ามกับความ
เป็นอัตนัย ซ่ึงหมายถึงความไม่ชัดเจน ยึดถือในความคิดเห็น ความรู้สึก และเหตุผลของแต่ละบุคคลเป็น
สาคัญ การวิเคราะห์ความเปน็ ปรนยั จะพจิ ารณาความชดั เจนของคาถาม คาตอบ และการตรวจให้คะแนน

60

4 อานาจจาแนก เปน็ คุณสมบตั ขิ องเคร่ืองมือท่ีสามารถจาแนกบุคคลออกเป็น 2 กลุ่ม ท่ี
มีคุณลักษณะแตกต่างกันในเร่ืองที่ศึกษา เช่น ข้อสอบจาแนกคนท่ีมีความรู้ออกจากคนที่ไม่มีความรู้ หรือ
เป็นกล่มุ เก่งกบั กลมุ่ อ่อน ถา้ เป็นความคิดเห็นก็จาแนกเป็นความคิดเห็นต่างกัน ถ้าเป็นเจตคติก็จาแนกเป็น
เจตคติทางบวกกบั เจตคตทิ างลบ เปน็ ต้น

5 ความยาก เป็นคณุ ลักษณะเฉพาะของเคร่อื งมอื ทเี่ ป็นแบบทดสอบที่บ่งบอกว่าข้อสอบ
นั้นมีคนทาถูกมาก ข้อสอบนั้นมีความยากน้อย หรือง่ายน่ันเอง และถ้าข้อสอบน้ันมีคนทาถูกปานกลาง
ข้อสอบนัน้ กจ็ ะมคี วามยากปานกลาง

เยาวดี วบิ ูลยศ์ รี อา้ งถงึ โดย สุดารตั น์ นนทค์ ลงั (2549) ไดก้ ลา่ วถึงคุณภาพของแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธทิ์ ่ีมีลกั ษณะที่ดมี คี ุณภาพเพือ่ ให้ขอ้ มูลเชื่อถอื ได้ดังนี้

1 ความเทย่ี งตรง หมายถงึ ความสามารถของเครื่องมือท่ีวัดได้ตรงกับส่ิงท่ีต้องการวัดได้
ตรงตามคณุ ลกั ษณะทตี่ ้องการวัด ตรงตามวตั ถุประสงคแ์ ละพฤติกรรม วัดไดค้ รอบคลมุ ครบถว้ นตามเนื้อหา
ถกู ตอ้ งตามความเป็นจริง ความเที่ยงตรงน้ันแบ่งเป็น ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา ความเที่ยงตรงเชิงเกณฑ์
สัมพนั ธ์ และความเทีย่ งตรงตามทฤษฎี

2 ความเช่ือม่ัน หมายถึง ความสามารถของเคร่ืองมือในการวัดให้ผลการวัดของผู้เรียน
กลมุ่ เดยี วทค่ี งท่แี น่นอน หรือมคี วามคงเส้นคงวาของผลการวัดหลายๆ ครั้งของผูเ้ รยี นในกลุ่มเดียวกัน ปัจจัย
ที่มีอิทธิพลต่อความเช่ือมั่นของแบบทดสอบมีหลายประการ คือ ความยาวของแบบทดสอบ การกระจาย
ของคะแนน ความยากของข้อสอบ ความเป็นเอกพันธ์ของข้อสอบ ความเป็นปรนัย อิทธิพลจากการเดา
คาตอบของผู้สอบ

3 ความยากง่าย หมายถึง สัดส่วนระหว่างจานวนผู้ตอบข้อสอบข้อนั้นถูกต่อจานวนผู้ที่
ตอบขอ้ สอบนน้ั ทง้ั หมด เปน็ ความสามารถของเครอื่ งมือทบี่ อกให้ทราบวา่ ข้อคาถามข้อน้นั ง่ายหรอื ยาก

4 อานาจจาแนก หมายถึง ความสามารถของแบบทดสอบในการจาแนกผู้เรียนออกเป็น
2 กลุ่มได้นั่นคือกลุ่มเกง่ และกลมุ่ ออ่ น

5 ความเป็นปรนัย เป็นคณุ สมบตั ขิ องแบบทดสอบพิจารณาได้จากคาช้ีแจงคาส่ังและข้อ
คาถามตอ้ งมคี วามชัดเจน การใช้ภาษาที่เหมาะสมกับวัยและระดับความรู้ของผู้เรียนไม่ว่าใครเป็นผู้ปฏิบัติ
หรือตอบคาถาม จะต้องปฏิบัติหรือบอกได้ตรงกันว่าข้อคาถามในเครื่องมือแต่ละชนิดต้องการอะไร อีก
ประการหนึง่ คือการตรวจใหค้ ะแนน การให้คะแนนไม่ว่าใครเป็นผู้ตรวจในคาตอบเดียวกันต้องได้คะแนนที่
ตรงกนั

6 ความมีประสิทธิภาพ แบบทดสอบท่ีมีประสิทธิภาพต้องถามให้ครอบคลุมเรื่องราวท่ี
ต้องการวดั เพ่ือให้ไดข้ อ้ มลู ทีต่ ้องการเชื่อถือไดโ้ ดยลงทุนน้อยทส่ี ุดแต่ให้ผลคุ้มค่า และมีคุณภาพมากท่ีสุด มี
การดาเนินการสอบสะดวกไม่ซับซ้อนและมีหลักการเดียวกัน การตรวจให้คะแนนทาได้ง่าย ไม่ต้องอาศัย
ผเู้ ชีย่ วชาญในการตรวจให้คะแนน การกาหนดระยะเวลาในการทาแบบทดสอบให้พอเหมาะ คือข้อสอบที่ดี
ควรมีเวลาพอทจี่ ะใหค้ นเขา้ สอบร้อยละ 90 สามารถคิดคาตอบถึงข้อสุดท้าย

61

7 ความยุติธรรม แบบทดสอบที่ดีมีความยุติธรรม ต้องถามในเรื่องท่ีเรียนท่ีสอนหรือท่ี
กาหนดให้ หากเป็นรายวิชาเดียวกันมีผู้สอนหลายท่าน หลายห้อง หากใช้ข้อสอบเดียวกันต้องพิจารณา
คาถามในเรอ่ื งท่ีเรียนอยา่ งเดยี วกนั ไมค่ วรเนน้ เร่ืองใดเรื่องหน่งึ ทเ่ี กดิ ขอ้ ไดเ้ ปรยี บเสียเปรยี บ

8 ความลกึ แบบทดสอบท่ีดคี วรถามให้ครอบคลุมพฤติกรรมทั้ง 6 ข้ันทั้งความรู้ความจา
ความเขา้ ใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินคา่ ไม่เน้นหรือถามเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง
ที่เป็นการวดั ความสามารถทางสมองขั้นต่า แตเ่ พียงอยา่ งเดียว

9 คาถามยั่วยุ หมายถึง คาถามท่ีมีลักษณะยั่วยุให้ผู้เรียนอยากตอบ ไม่ซ้าซากจาเจน่า
เบือ่ หน่าย การเรียงลาดับคาถาม คาตอบมีความเหมาะสมยึดรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง อาจจะยึดเน้ือหาจาก
ง่ายไปยาก เป็นตน้

10 ความจาเพาะเจาะจง ผู้ตอบข้อสอบได้ต้องมีความรู้โดยศึกษาเล่าเรียนมาก่อน และ
คาถามท่ดี ี ไมค่ ลุมเครอื และกวา้ งเกนิ ไป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2557) ได้กล่าวถึงคุณภาพของ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนทดี่ ี ซึง่ สามารถสรุปได้ ดงั นี้

1 ความตรง (validity) เปน็ คณุ ภาพของแบบทดสอบทีส่ ามารถวดั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตรงกับ
วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ความตรงเชิงเนือ้ หา ความตรงเชิงโครงสร้าง และความตรงเชิงทฤษฎี

2 ความเที่ยง (reliability) เป็นคุณสมบัติที่จะทาให้ผู้เรียนได้บรรลุวัตถุประสงค์ของ
แบบทดสอบท่ีมีความเที่ยงสูง คือแบบทดสอบท่ีสามารถทาหน้าท่ีวัดสิ่งที่ต้องการวัดได้อย่างถูกต้องตาม
ความมุง่ หมาย

3 ความเป็นปรนัย (objectivity) เป็นคุณสมบัติของข้อสอบซึ่งต้องมีหลักเกณฑ์ถูกต้อง
ตามหลกั วชิ าและเปน็ ท่ยี อมรบั ซง่ึ ได้แก่ความชัดเจนของขอ้ คาถาม คาถามทดี่ ตี อ้ งอ่านแลว้ เข้าใจตรงกัน การ
ตรวจใหค้ ะแนนตรงกนั เฉลยตรงกัน และแปลความหมายของคะแนนตรงกัน

4 ความยากง่ายของข้อสอบ (difficulty) ข้อสอบในแต่ละข้อจะต้องไม่ยากหรือง่าย
เกนิ ไป ข้อสอบท่ีมีความยากงา่ ยปานกลางเปน็ ขอ้ สอบที่ดี เพราะช่วยแปลความหมายของคะแนนไดด้ ี

5 อานาจจาแนก (discriminating) จะสามารถแยกเด็กออกเป็นประเภทได้ทุกระดับ
ตัง้ แต่ออ่ นสดุ ถงึ เก่งสุดได้

6 ความยุติธรรม (fairness) เป็นแบบทดสอบท่ีให้ความเสมอภาคเท่าเทียมกันที่ผู้สอบ
จะทาข้อสอบได้ตามความสามารถจริงของผู้เรียนในรายวิชานั้นๆ ซ่ึงลักษณะที่สาคัญคือต้องไม่มีความ
ลาเอยี งเข้าข้างกลมุ่ ใด และไมเ่ ปิดโอกาสให้คนเกง่ หรอื คนอ่อนเดาขอ้ สอบได้

7 ความลกึ (searching) เปน็ แบบทดสอบที่ให้ผู้สอบได้คิดค้นคาตอบด้านความสามารถ
ในระดับสติปัญญาที่อยู่ในข้ันสูง ไม่ควรถามแต่ความรู้ความจาเท่าน้ัน ควรถามเพื่อวัดความเข้าใจ
กระบวนการและถามลกึ ถงึ ขั้นการนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมนิ คา่

8 จาเพาะเจาะจง (definite) นักเรยี นอ่านคาถามแลว้ ตอ้ งเขา้ ใจชัดเจน ไมค่ ลมุ เครือ

62

9 คาถามยวั่ ยุ (exemplary) เป็นข้อสอบท่ีมีลักษณะท้าทายชวนให้คิดต่อนักเรียน สอบ
แล้วมคี วามอยากรเู้ รื่องราวให้กว้างขวางยิง่ ขน้ึ

จากคณุ ภาพของเคร่อื งมอื วัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนที่นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมาย
ของคณุ ภาพของเคร่อื งมอื ไว้ใกลเ้ คียงกันสามารถสรุปได้ดังนี้ คุณภาพของเคร่ืองมือสามารถทาได้โดยหาค่า
ความเท่ยี งตรง ความเชอ่ื มัน่ ความยากงา่ ย อานาจจาแนก ความยตุ ิธรรม เป็นต้น ซ่งึ จะทาให้แบบทดสอบมี
คุณภาพและมคี วามนา่ เช่ือถอื มากขน้ึ

2.5 การประเมินผลตามสภาพจรงิ

2.5.1 ความหมายของการประเมนิ ผลตามสภาพจริง
กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2545) ไดก้ ลา่ ววา่ การประเมนิ สภาพจริงเปน็ การประเมิน

จากการปฏบิ ตั งิ านหรือกจิ กรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ โดยงานหรอื กิจกรรมที่มอบหมายให้ผู้ปฏิบัติ จะเป็นงาน
หรือสถานการณ์ท่ีเป็นจริง (real life) หรือใกล้เคียงกับชีวิตจริง จึงเป็นงานที่มีสถานการณ์ซับซ้อน
(complexity) และเป็นองค์รวม (holistic) มากกว่างานปฏิบตั ใิ นกจิ กรรมการเรียนท่ัวไป

นุชวนา เหลืองอังกูร (2545) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การประเมินผลตามสภาพจริง
(authentic assessment) ได้แก่ การประเมินที่ดาเนินไปพร้อมๆ กับกิจกรรมการเรียนการสอน โดย
กิจกรรมการเรียนการสอนจะจัดตามความสนใจของผู้เรียนและให้สอดคล้องกับชีวิตจริง รวมทั้งเน้นการ
ปฏิบัตทิ ่ตี ้องใช้ความคดิ ในการแกป้ ัญหาทซี่ บั ซอ้ น ขณะเดยี วกันกใ็ ชเ้ ทคนคิ ในการประเมินผลหลากหลายวิธี
เพ่อื แสดงถงึ ความสามารถท่ีแทจ้ ริงของผูเ้ รยี น

บูรชัย ศิริมหาสาคร (2541) ได้กล่าวถึง การประเมินตามสภาพจริงไว้ว่า การวัดและการ
ประเมินผลเป็นส่ิงสาคัญทางการศึกษา เพราะเป็นเครื่องมือที่ทาหน้าที่เป็นกระจกเงาคอยสะท้อนภาพ
ความสาเรจ็ หรือล้มเหลวของครูและนักเรยี น ดังนัน้ นกั การศึกษาจึงพยายามพัฒนาเคร่ืองมือท่ีจะใช้ในการ
วัดและประเมนิ ผลโดยอาศัยคาถามที่วา่ “ทาอย่างไร จงึ จะประเมินความสามารถที่แท้จริงของนักเรียนได้”
ที่เรียกว่า “4 P” คอื วิธกี ารประเมนิ ทส่ี ะท้อนความสามารถ ท่แี ทจ้ รงิ ของนักเรียนได้

1 Performance คอื วธิ กี ารประเมนิ ทเ่ี ปน็ การแสดงออกของนักเรียนในภาคปฏบิ ัติ เช่น
การสอบนาฏศลิ ป์ หรือภาษาไทยท่ใี ห้นกั เรยี นอา่ นให้ฟัง

2 Process คือ วิธีการประเมินที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนคือ การสังเกต
ขั้นตอนทางาน หรือวธิ กี ารแก้ปัญหาในขณะที่นกั เรยี นทากิจกรรม

3 Products คือ วิธีการประเมนิ ทเ่ี นน้ ผลผลิตของนักเรียน เชน่ การตรวจผลงานศิลปะ
4 Portfolio คอื วธิ ีการประเมินโดยใหน้ ักเรยี นเก็บสะสมงาน หรือจัดทาแฟูมสะสมงาน
ศิริชัย กาญจนวาสี (2545) กล่าวว่า การวัด (measurement) เป็นกระบวนการกาหนดตัวเลข
(assignment of numerals) ให้แก่สง่ิ ต่างๆ ตามกฏเกณฑ์ การวัดจะเกิดขึ้นไดต้ ้องอาศยั 3 ส่วน คอื

63

1 จุดมงุ่ หมายของการวัด ต้องมีความชัดเจนว่าต้องวัดอะไร ในสถานการณ์เช่นไร และ
วดั ไปทาไม

2 เครื่องมือท่ีใช้วัด เช่น แบบสอบถาม (test) แบบสอบถาม (questionnaire) แบบ
ตรวจสอบรายการ (check list) แบบสมั ภาษณ์ (interview guide) มาตราประเมินค่า (rating scale) การ
สังเกตโดยตรง (direct observation) เป็นตน้ โดยเครือ่ งมอื ตอ้ งมหี น่วยทใ่ี ชใ้ นการวัด

3 การแปลผลและนาผลไปใช้
สมนึก นนธิจันทร์ (2542) ได้ให้ความหมายของการประเมินตามสภาพจริงว่า เป็นการ
ประเมินผลท่ีเน้นใหผ้ ้เู รยี นเป็นผู้ทากิจกรรมตา่ งๆ ดว้ ยการแสดงออกหลายๆ ดา้ น เพอื่ นาไปแกป้ ัญหาโดยใช้
ทกั ษะกระบวนการคดิ ทซี่ บั ซอ้ น ที่อย่บู นพ้นื ฐานของเหตกุ ารณ์ทเี่ ป็นจริงในทุกบรบิ ทเทา่ ทีจ่ ะเป็นไปได้
สมศักด์ิ ภู่วิภาดาวรรธน์ (2544) ได้สรุปความหมายของการประเมินตามสภาพจริงไว้ว่าใน
เบ้ืองต้นการประเมินตามสภาพจริง หรือการประเมินทางเลือกใหม่ เป็นการประเมินท่ีใช้เครื่องมือวัด
หลากหลายวิธีเพื่อประเมินการปฏิบัติ วัน-ต่อ-วัน ในการเรียนรู้วิชาต่างๆ ในโรงเรียนแทนความเช่ือท่ีใช้
เพยี งแบบทดสอบอยา่ งเดยี วในการประเมนิ ผล
สวุ ิมล วอ่ งวานชิ (2546) กลา่ ววา่ การประเมนิ ตามสภาพจริง เป็นกระบวนการตัดสินความรู้
ความสามารถและทกั ษะต่างๆ ของผ้เู รียนในสภาพทสี่ อดคล้องกับชวี ติ จรงิ โดยใช้เรอ่ื งราว เหตกุ ารณ์ สภาพ
จริงหรอื คลา้ ยจริงท่ีประสบในชีวิตประจาวนั เป็นส่งิ เร้าใหผ้ ู้เรยี นตอบสนองโดยการแสดงออก ลงมือกระทา
หรือผลิต จากกระบวนการทางานตามท่ีคาดหวังและผลผลิตที่มีคุณภาพ จะเป็นการสะท้อนภาพเพ่ือลง
ข้อสรุปถึงความรู้ ความสามารถ และทักษะต่างๆ ของผู้เรียนว่ามีมากน้อยเพียงใด น่าพอใจหรือไม่ อยู่ใน
ระดับความสาเรจ็ ใด
อรทัย คามูล และคณะ (2542) ได้กล่าวถึงการประเมินผลตามสภาพที่แท้จริงว่าเป็นการ
ประเมนิ กระบวนการทางานในด้านสมอง หรือการคิดและจิตใจของผู้เรียนตามท่ีได้กระทาโดยให้ผู้เรียนได้
ใหเ้ หตผุ ลในการกระทาของตนทกุ ครง้ั จะเป็นการพฒั นาการสอนของครูและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนทา
ใหก้ ารเรียนการสอนมีความหมายมากข้ึน
อารีย์ วชริ วราการ (2542) ไดใ้ ห้ความหมายว่า การประเมินตามสภาพจรงิ วา่ เปน็ กระบวนใน
การสังเกต บันทึก และรวบรวมข้อมูลจากวิธีการและผลท่ีนักเรียนทา ซึ่งจะเป็นการประเมินท่ีต้อง
ดาเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการสอน เน้นวัดท่ีการแสดงออก จัด
กระบวนการวัดผลผลติ และแฟมู สะสมงาน
สรุปได้ว่า การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) หมายถึง
กระบวนการตัดสินความรู้ ความสามารถและทกั ษะตา่ งๆ ของผเู้ รยี นในสภาพท่สี อดคล้องกับชีวิตจริง โดยมี
เคร่ืองมือวัด การวัดจะใช้เร่ืองราว เหตุการณ์ตามสภาพจริงหรือคล้ายจริงท่ีประสบในชีวิตประจาวัน เพื่อ
สรปุ ถงึ ความรู้ ความสามารถ และทักษะ ของผ้เู รียนวา่ มมี ากนอ้ ยเพียงใด น่าพอใจหรือไม่ มีความสาเร็จอยู่
ในระดับใด

64

2.5.2 แนวคิดและหลักการประเมนิ ผลตามสภาพจริง
ผเู้ ช่ยี วชาญในดา้ นการวัดผลประเมนิ ผลกล่าวถงึ แนวคิดและหลกั การประเมินตามสภาพจริงไว้

หลายทา่ น ท่สี าคัญมดี งั นี้
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ (2542) กล่าวไวว้ ่า
1 การประเมินตามสภาพจริง ไม่เนน้ การประเมินทกั ษะพ้นื ฐาน (skill assessment) แต่

เน้นการประเมินทักษะการคิดท่ีซับซ้อน (complex thinking skill) ในการทางาน ความร่วมมือในการ
แก้ปัญหา และการประเมนิ ตนเองทงั้ ภายในและภายนอกห้องเรียน

2 การประเมินตามสภาพจรงิ เป็นการวัดและประเมินความกา้ วหน้าของนกั เรยี น
3 การประเมินตามสภาพจริง เป็นการสะท้อนให้เห็นการสังเกตสภาพงานปัจจุบัน
(current work) ของนักเรียน และสิ่งท่ีนักเรียนไดป้ ฏิบัตจิ ริง
4 การประเมินตามสภาพจริง เป็นการผกู ตดิ นกั เรยี นกับงานที่เปน็ จริง โดยพิจารณาจาก
งานหลายๆ ช้นิ
5 ผู้ประเมินควรมีหลายๆ คน โดยมีการประชุมระหว่างกลุ่มผู้ประเมินเพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลเกีย่ วกับตวั นักเรยี น
6 การประเมินต้องดาเนินการไปพร้อมกบั การเรยี นการสอนอย่างต่อเนอื่ ง
7 นาการประเมินตนเองมาใช้เป็นสว่ นหนึง่ ของการประเมนิ ตามสภาพท่แี ท้จริง
8 การประเมินตามสภาพจริง ควรมีการประเมินท้ัง 2 ลักษณะ คือ การประเมินท่ีเน้น
การปฏบิ ัตจิ ริง และการประเมนิ จากแฟูมสะสมงาน
อนุวตั ิ คูณแก้ว (2548) กล่าวถึงหลักการของการประเมนิ ผลจากสภาพจริงไว้ ดังน้ี
1 เปน็ การประเมินความก้าวหน้า และการแสดงออกของนักเรียนแต่ละคนบนรากฐาน
ของทฤษฎที างพฤติกรรมการเรียนรู้ โดยใชเ้ คร่อื งมอื การประเมินท่หี ลากหลาย
2 การประเมินตามสภาพจริง จะต้องมีรากฐานอยู่บนพัฒนาการและการเรียนรู้ทาง
สติปญั ญาทหี่ ลากหลาย
3 หลักสูตรสถานศึกษา ตอ้ งให้ความสาคัญต่อการประเมินตามสภาพจริง คือ หลักสูตร
ต้องพัฒนามาจากบริบทท่ีมีรากฐานทางวฒั นธรรมทนี่ ักเรียนอาศัยอยู่ และทีต่ อ้ งเรียนรู้ให้ทันกับกระแสการ
เปลย่ี นแปลงของโลก
4 การเรียน การสอน การประเมินผล จะต้องหลอมรวมกัน และการประเมินต้อง
ประเมนิ ต่อเน่อื งตลอดเวลาที่ทาการเรียนการสอน โดยผ้เู รยี นมีส่วนร่วม
5 การเรียน การสอน การประเมิน เน้นสภาพท่ีสอดคล้อง หรือใกล้เคียงกับธรรมชาติ
ความเป็นจรงิ ของการดาเนนิ ชวี ติ และควรเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนได้คิดงานดว้ ยตนเอง
6 การเรียนการสอนจะต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาศักยภาพให้เต็มที่สูงสุด ตามสภาพที่เป็น
จริงของแต่ละบุคคล เต็มตามศักยภาพของตนเอง การเรียน การสอน และการประเมินต้องเก่ียวเน่ืองกัน

65

และเน้นการปฏิบัติจริงในสภาพท่ีใกล้เคียงหรือสภาพท่ีเป็นจริงในชีวิตประจาวัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้
เรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง

เอกรินทร์ ส่ีมหาศาล และสุปรารถนา ยุกตะนันท์ (2546) ได้กาหนดลักษณะของการ
ประเมนิ ตามสภาพจริง ดงั น้ี

1 เปาู หมายและกระบวนการจัดการศกึ ษาของชาติ
2 กระบวนการปฏิบัตใิ นสภาพจริง
3 กระบวนการวดั ผลประเมนิ ผล
4 เกณฑท์ ใี่ ชส้ าหรบั การประเมิน
5 การประเมินตนเอง
6 การนาเสนอผลงาน
สรุปได้ว่า การประเมินผลตามสภาพจริง เป็นการวัดและประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียน
การแสดงออกของผู้เรยี นบนรากฐานของทฤษฎีทางพฤติกรรมการเรียนรู้ เน้นการประเมินทักษะการคิดใน
การทางาน โดยสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน โดยใช้เครื่องมือประเมินที่หลากหลายควบคู่ไปกับการจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้
2.5. วธิ กี ารประเมนิ ตามสภาพจรงิ
ชยั วัฒน์ สุทธิรตั น์ (2553) กลา่ วว่า การประเมนิ ตามสภาพจริงมวี ิธกี ารประเมินที่หลากหลาย
และตัวอย่างเครือ่ งมอื ในการประเมินมีดงั น้ี
1 การสงั เกต เป็นวธิ กี ารทก่ี ระทาได้ในทุกสถานการณ์และทกุ สถานที่ ผู้สอนอาจกาหนด
เครอ่ื งมอื และเกณฑใ์ นการสงั เกตหรืออาจไม่มีเครื่องมือในการสังเกตก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเด็นท่ีต้องการ
ประเมินผู้เรียนว่า มีความจาเป็นต้องใช้เคร่ืองมือในการสังเกตระดับความสามารถหรือพฤติกรรมท่ี
แสดงออกมากน้อยเพียงใด และวิธีการสงั เกตสามารถใช้ประเมินผลการเรียนรู้ท้ังในด้านความรู้ความเข้าใจ
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น เชน่ สังเกตในสถานที่
ทน่ี ักเรยี นได้ลงไปศึกษาสภาพแหล่งนา้ ในชมุ ชนหรอื สถานการณ์จาลองตา่ งๆ
2 การสัมภาษณ์ เนื่องจากพฤติกรรมบางอย่างอาจสังเกตได้ไม่ชัดเจน ถูกต้อง ตรงต่อ
ความเป็นจรงิ ผสู้ อนจึงอาจใชก้ ารสัมภาษณ์ช่วยเก็บข้อมูลเพ่ิมเติม การสัมภาษณ์น้ีเป็นวิธีการประเมินโดย
ตง้ั คาถามอยา่ งงา่ ยๆ ไม่ซับซ้อนเกนิ ไป สามารถสัมภาษณ์ผู้เรียนแต่ละคนไดท้ ัง้ รปู แบบที่เป็นทางการหรือไม่
เปน็ ทางการ นยิ มใชป้ ระเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ้านความรู้ ความเข้าใจในระดับทีส่ งู กวา่ ความรู้ความจา และด้าน
ความรสู้ ึกนึกคดิ ทสี่ ะทอ้ นให้เหน็ ถึงความเชอ่ื ทศั นคติ คา่ นิยมที่ผู้เรียนยึดถือต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึง รวมท้ังการเห็น
คุณค่าในเรื่องต่างๆ เช่น ครูให้นักเรียนลงไปศึกษาการเลือกซื้อสินค้าของประชาชนเป็นกลุ่ม หลังจากที่
ศึกษาแลว้ ครจู ึงสมั ภาษณน์ กั เรยี นเป็นกลุ่มท้ังในด้านความรู้ ความคิด เจตคติของผู้เรียนต่อการศึกษาและ
ทกั ษะกระบวนการในการศึกษา

66

3 แบบสอบถาม เป็นการวัดผลที่ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสอบถาม ซ่ึงทาให้
ประหยัดเวลาในการซกั ถาม โดยคาตอบทไ่ี ดร้ ับควรอยใู่ นขอบเขตของเรื่องท่ผี เู้ รยี นศกึ ษา เชน่ การให้ผู้เรียน
ลงไปศึกษาระบบนิเวศในโรงเรยี น

4 บันทกึ จากผเู้ ก่ยี วข้อง เป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นเก่ียวกับตัวผู้เรียนทั้งใน
ดา้ นความรู้ ความคดิ ความสามารถพิเศษ ความถนัด ความสนใจ และการแสดงออกของพฤติกรรมลักษณะ
ตา่ งๆ ท้ังที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการเรียนรู้ และแนวทางพัฒนา
ผู้เรียนให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร เช่น ให้นักเรียนลงไปศึกษาวัฒนธรรมไทยในชุมชนแล้วให้
นกั เรยี นหรือครสู งั เกตพฤตกิ รรมการเรียนของนักเรียนกลุ่มต่างๆ ว่าใช้กระบวนการในการศึกษาได้ถูกต้อง
หรอื ไม่

5 แบบทดสอบวัดความสามารถที่เป็นจริง (authentic test) เป็นวิธีการสร้างข้อสอบ
โดยใช้คาถามท่ีเกี่ยวกับการนาความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ หรือการสร้างความรู้ใหม่จากความเข้าใจ
และประสบการณ์เดิม หรือจากสถานการณ์จาลองที่กาหนดข้ึน ให้คล้ายคลึงกับสถานการณ์จริง หรือ
เลียนแบบสภาพจริง เป็นต้น เช่น สร้างแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยกาหนด
สถานการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้ผู้เรียนได้คิด และตอบเพ่ือวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของ
ผูเ้ รยี นตามสถานการณ์ทก่ี าหนดให้นน้ั

6 การรายงานตนเอง เป็นวธิ กี ารประเมนิ ดว้ ยการให้ผู้เรียนเขียนบรรยายความรู้สึก หรือ
พูดแสดงความคิดเห็นออกมาโดยตรง เพื่อประเมินความรู้สึกนึกคิด ความเข้าใจ และความต้องการของ
ผู้เรียน ซ่ึงจะช่วยให้ผู้สอนเข้าใจผู้เรียนแต่ละคนมากย่ิงข้ึนและสามารถประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
ความเข้าใจทักษะกระบวนการ รวมทั้งเจตคติต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ดีย่ิงขึ้น เช่น ให้นักเรียนบรรยาย
ความรู้สึกของตนเองท่ีได้ลงไปใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับชาวต่างชาติในสถานการณ์จริง ว่ามี
ความรสู้ ึกตอ่ การใชภ้ าษาอังกฤษในการสื่อสาร และรสู้ ึกอยา่ งไรตอ่ บุคคลเหล่านัน้

7 การสร้างจินตภาพ เป็นเครื่องมือท่ีช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นหรือ
ปฏกิ ิริยาออกมา เพื่อให้ได้ข้อมูลว่าขณะน้ันผู้เรียนมีความรู้สึกนึกคิดกับเรื่องที่เรียนเป็นอย่างไร ซ่ึงอาจตั้ง
คาถามใหน้ กั เรยี นสรา้ งจนิ ตนาการโดยการต่อข้อความในประโยคตอ่ ไปนใี้ หส้ มบรู ณ์

7.1 ถา้ ผมเปน็ นักวทิ ยาศาสตร์ ผมจะ............................................
7.2 ถา้ ฉนั เป็นนกั ศลิ ปะชนั้ นาของโลก ฉันจะ...........................
8 การใช้แฟมู สะสมผลงาน (portfolio) เป็นการจัดเก็บตัวอย่างผลงาน ที่มีการรวบรวม
ไวอ้ ย่างเปน็ ระบบ และกระทาอยา่ งต่อเน่อื งตลอดช่วงช้ันของหลักสูตร หรือโปรแกรมการเรียน เพ่ือใช้เป็น
หลักฐานแสดงให้เหน็ ถึงความสามารถของผู้เรยี นในดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ และทกั ษะต่างๆ ท่ีผู้เรียนพัฒนา
ได้สาเร็จ รวมทงั้ ความถนดั ความสนใจ ความพยายาม แรงจงู ใจ และความก้าวหน้าทางการเรียนท่ีสามารถ
นามาประกอบการประเมินผลสมั ฤทธิ์ของผู้เรียนแต่ละคนให้มีความน่าเช่ือถือ (reliability) มากย่ิงขึ้น เช่น

67

ให้นักเรียนศึกษาประวัติบุคคลสาคัญในชุมชน แล้วให้นักเรียนทาเป็นแฟูมสะสมผลงานประวัติของบุคคล
เหลา่ นั้น

สมศักด์ิ ภู่วิภาดาวรรธน์ (2544) พอสรุปได้ว่า วิธีการประเมินตามสภาพจริงจะช่วยในการ
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างต่อเนื่อง กระบวนการที่ใช้ในการประเมินตามสภาพจริง อาจใช้การ
สังเกต การบันทึก และการรวบรวมข้อมูลจากผลงาน และวิธีการทางานทน่ี ักเรียนทา

อารีย์ วชิรวราการ (2542) ได้กล่าวถึงวิธีการประเมินผลตามสภาพจริงว่า เป็นการ
ประเมินผลสาเร็จจากการเรียนรู้ของนักเรียน (learning outcomes) ซึ่งสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียน
การสอน โดยเน้นการประเมินความก้าวหน้า และพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย การ
ประเมินตามสภาพจริงเป็นการประเมินท่ีเป็นระบบ เป็นกระบวนการและสามารถดาเนินการได้หลายวิธี
เชน่

1 การสังเกต สามารถทาไดท้ ุกสถานการณ์
2 การสัมภาษณ์ ด้วยวิธีการตั้งคาถามอย่างง่ายๆ ทาได้ท้ังเป็นทางการและไม่เป็น
ทางการ
3 บันทึกจากผู้เกี่ยวข้อง ด้วยการรวบรวมข้อมูล ความคิดเห็นเกี่ยวกับนักเรียนในด้าน
ความรู้ ความสามารถ การแสดงออกในดา้ นตา่ งๆ
4 แบบทดสอบวัดความสามารถจริง (authentic test) ด้วยการสร้างคาถามที่เก่ียวกับ
การนาความร้ไู ปใช้ หรอื สรา้ งความรู้ใหม่จากความร้คู วามเขา้ ใจจากประสบการณ์เดิม
5 การรายงานตนเอง ด้วยการให้นักเรียนพูดหรือเขียนบรรยายความรู้สึกนึกคิด ความ
เข้าใจความตอ้ งการ วธิ ีการ และผลงานนกั เรยี น
6 แฟูมสะสมงาน เป็นตัวอย่างผลงานที่มีการรวบรวมไว้เป็นระบบช่วงหน่ึง เพื่อเป็น
หลกั ฐานท่แี สดงถึงความเข้าใจ ความรู้ ทักษะ สนใจ ถนดั ความพยายาม ก้าวหน้าสาเร็จ
เอกรินทร์ สี่มหาศาล และสปุ รารถนา ยุกตะนันท์ (2546) ได้กาหนดวิธีการประเมินผลตาม
สภาพจรงิ ไว้ ดังน้ี
1 การสงั เกต เป็นวธิ ีการทก่ี ระทาไดใ้ นทุกสถานการณแ์ ละทุกสถานที่ ผู้สอนอาจกาหนด
เคร่ืองมอื และเกณฑ์ในการสังเกต หรอื อาจไม่มเี ครอ่ื งมอื ในการสังเกตกไ็ ด้ ทั้งนข้ี ้ึนอยู่กับประเด็นท่ีต้องการ
ประเมนิ ผูเ้ รยี นวา่ มีความจาเปน็ ตอ้ งใช้เครอ่ื งมอื ในการสังเกตระดบั ความสามารถหรือพฤตกิ รรมที่แสดงออก
มากน้อยเพียงใด และวธิ ีการสงั เกตสามารถใชป้ ระเมนิ ผลการเรียนรูท้ งั้ ในด้านความรู้ความเข้าใจด้านทักษะ
กระบวนการ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรียน
2 การสมั ภาษณ์ เป็นวธิ ีการประเมนิ โดยตงั้ คาถามอยา่ งง่ายๆ ไม่ซบั ซ้อนเกินไป สามารถ
สัมภาษณผ์ ู้เรียนแต่ละคนได้ท้งั รูปแบบท่เี ป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ นิยมใช้ประเมินผลการเรียนรู้ด้าน
ความรคู้ วามเข้าใจ ในระดับที่สูงกว่าความรู้ความจาและด้านความรู้สึกนึกคิดท่ีสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อ

68

ทัศนคติ ค่านิยมทผ่ี ูเ้ รยี นยดึ ถือตอ่ สิ่งใดส่ิงหน่ึง รวมทั้งการเห็นคุณค่าในสาระการเรียนรู้รายวิชาต่างๆ เป็น
ตน้

3 บันทกึ จากผ้ทู ีเ่ ก่ยี วขอ้ ง เปน็ วิธกี ารรวบรวมขอ้ มลู ความคิดเหน็ เกี่ยวกับตัวผู้เรียนทั้งใน
ด้านความรูค้ วามคดิ ความสามารถพิเศษ ความถนดั ความสนใจ และการแสดงออกของพฤติกรรมลักษณะ
ต่างๆ ทั้งท่ีพึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการเรียนรู้ และแนวทางพัฒนา
ผเู้ รยี นให้บรรลมุ าตรฐานการเรยี นรู้ของหลักสูตรต่อไป

4 แบบทดสอบวัดความสามารถท่ีเป็นจริง (authentic test) เป็นวิธีการสร้างข้อสอบ
โดยใช้คาถามที่เก่ียวกับการนาความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ หรือการสร้างความรู้ใหม่จากความเข้าใจ
และประสบการณเ์ ดมิ หรือจากสถานการณ์จาลองที่กาหนดขึ้น ให้คล้ายคลึงกับสถานการณ์ต่างๆ ข้อสอบ
วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในสถานการณ์ที่กาหนด เป็นต้น เพ่ือประเมินผลการเรียนรู้ด้าน
ความรู้ความเขา้ ใจ การฝึกทักษะและกระบวนการรวมทั้ง เจตคตติ ่อการเรียนรู้สิง่ ต่างๆ ของผู้เรียนไดด้ ีย่งิ ข้นึ

5 การรายงานตนเอง เป็นวธิ กี ารประเมินดว้ ยการให้ผู้เรียนเขยี นบรรยายความรู้สึก หรือ
พดู แสดงความคิดเหน็ ออกมาโดยตรง เพ่อื ประเมินความรสู้ กึ นกึ คดิ ความเขา้ ใจ ความตอ้ งการ การใช้วิธีการ
ต่างๆ และการสร้างผลงานของผู้เรียนจะช่วยให้ผู้สอนเข้าใจผู้เรียนแต่ละคนมากยิ่งข้ึน และสามารถ
ประเมินผลการเรยี นรูด้ า้ นความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะกระบวนการ รวมท้ังเจตคติต่อการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ของ
ผเู้ รยี นมากยงิ่ ข้ึน

6 การใช้แฟูมสะสมผลงาน (portfolio) เป็นการจัดเก็บตัวอย่างผลงานท่ีมีการรวบรวม
ไว้อยา่ งเป็นระบบ และกระทาอย่างต่อเน่ืองตลอดช่วงช้ันของหลักสูตรหรือโปรแกรมการเรียน เพ่ือใช้เป็น
หลักฐานแสดงให้เห็นถึงความสามารถของผู้เรียน ในด้านความรู้ความเข้าใจ และทักษะต่างๆ ที่ผู้เรียน
พัฒนาได้สาเร็จ รวมทัง้ ความถนดั ความสนใจ ความพยายาม แรงจูงใจ และความก้าวหน้าทางการเรียน ที่
สามารถนามาประกอบการประเมินผลสมั ฤทธข์ิ องผูเ้ รียนแตล่ ะคนใหค้ วามเชือ่ ถือ (reliability) มากย่งิ ขน้ึ

สรุปได้ว่า การประเมินผลตามสภาพจริงนั้นมีวิธีการที่หลากหลาย ครูผู้สอนควรเลือกใช้
เทคนิควิธกี ารประเมินที่เหมาะสมกับขอ้ มลู ท่ตี อ้ งการ ซึ่งอาจใช้วิธีการท่ีหลากหลายประกอบกันก็ได้ในการ
เก็บขอ้ มูล เพ่ือใหส้ ามารถประเมนิ ผเู้ รียนไดอ้ ย่างรอบคอบ และครอบคลุมศกั ยภาพของผูเ้ รยี น

2.5.4 ลกั ษณะการประเมนิ ตามสภาพจรงิ
จรัญ คายัง (2544) ให้แนวคิดท่แี ตกตา่ งเก่ียวกับลกั ษณะการประเมินตามสภาพจริงไว้ว่า
1 กระ ตุ้น ให้เกิดการ เรี ยนรู้ และการพั ฒนา (celebrates learning and

development)
2 เน้นการพฒั นาที่ปรากฏ (emphasizes emerging development)
3 เห็นความแกร่งของผเู้ รียน (capitalizes upon the strengths)
4 ใหก้ ารพัฒนาอย่างพอเพยี ง (developmentally appropriate)
5 อยบู่ นพืน้ ฐานของชีวติ จรงิ (based on real-life events)

69

6 เน้นการปฏิบตั ิ (performance based)
7 สมั พันธก์ ับการเรียนการสอน (related to instruction)
8 การพฒั นามีความสมบูรณ์และแสดงความต่อเน่ืองของการสอน (development can
be valid and can inform continuing instruction)
9 เนน้ การเรยี นรู้ท่ีมีจดุ มงุ่ หมาย (focuses on purposeful learning)
10 เกิดขึน้ ในทกุ ๆ บริบท (ongoing in all contexts)
11 ให้การเรียนรู้และความสามารถในลักษณะกว้าง (provides a broad and general
picture of student learning and abilities)
12 เกิดจากความร่วมมือของครู นักเรียน ผู้ปกครองและผู้อ่ืนที่มีความจาเป็น
(collaborative among teachers, students, parents and others as needed)
บรู ชัย ศริ มิ หาสาคร (2541) กลา่ วถึงลักษณะการประเมินตามสภาพจรงิ วา่ มีลักษณะดงั น้ี
1 เนน้ ให้ผู้เรยี นแสดงพฤติกรรมเพื่อสะท้อนถึงความรู้ ความสามารถที่แท้จริง เช่น การ
เขียนรายงาน
2 มุ่งเน้นจุดเด่นของนักเรียนมากกว่าจุดด้อย เพื่อส่งเสริมความรู้ความสามารถของ
นักเรียนได้เตม็ ศกั ยภาพ
3 ไมเ่ น้นเฉพาะประเมินเฉพาะทักษะพื้นฐาน (skill assessment) แต่เน้นการประเมิน
ทกั ษะการคิดซบั ซ้อนของนกั เรยี นในการทางาน
4 เน้นการประเมนิ สอดคล้องกบั ความเป็นจรงิ ในชวี ิตประจาวนั หรือในโลกแหง่ ความเป็น
จริง (real world tasks) เนน้ การแก้ปัญหาที่สะท้อนถึงชีวิตจริง ซึ่งมีความหมายต่อนักเรียนทาให้เกิดการ
ถา่ ยโยงความรู้
5 ใช้รูปแบบการประเมินหลายๆ วิธี เช่น การสังเกต การตรวจผลงาน การสัมภาษณ์
และการเกบ็ สะสมผลงาน
6 เป็นการร่วมมือในการประเมินผลระหว่างผู้เรียน ครู ผู้ปกครอง หรือผู้เกี่ยวข้อง
เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ยืนยนั ความสามารถทแ่ี ท้จรงิ ของผู้เรยี น
7 เนน้ รู้จกั ตนเอง พฒั นาตนเองมากกว่าไปเทียบกับคนอืน่
8 การประเมินผลจะสัมพันธ์อย่างกลมกลืนไปกับการเรียนการสอน จากท่ี บูรชัย
ศิริมหาสาคร (2541) กล่าวมาข้างต้นซ่ึงสอดคล้องกับ อารีย์ วชิรวราการ (2542) ท่ีกล่าวว่า ลักษณะ
สาคญั ของการประเมินตามสภาพจรงิ มีลกั ษณะดงั น้ี
1 เป็นการประเมินท่ีกระทาไปพร้อมๆ กันกับการเรียนการสอนและการเรียนรู้ของ
ผ้เู รยี น
2 เปน็ การประเมินที่ยดึ พฤติกรรมเปน็ สาคัญ Performance based ทีแ่ สดงออกมาจริง
3 ใหค้ วามสาคัญในการพฒั นาจดุ เด่นของนักเรียน

70

4 เนน้ การพัฒนานกั เรียนและการประเมนิ ตนเอง
5 ตั้งอยบู่ นพนื้ ฐานเหตุการณ์ในชวี ติ จริง ทเี่ อ้อื ต่อการเชอ่ื มโยงการเรียนร้ไู ปส่ชู วี ติ จรงิ
6 มีการเก็บข้อมูลระหว่างการปฏิบัติในทุกบริบททั้งที่โรงเรียน บ้าน และชุมชน อย่าง
ตอ่ เน่ือง
7 เน้นคณุ ภาพของผลงานซง่ึ เป็นผลจากบูรณาการความรู้ ความสามารถหลายด้านของ
นักเรียน
8 เน้นการวัดความสามารถในการคดิ ระดบั สงู เชน่ การคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์
9 สง่ เสริมการปฏสิ ัมพนั ธเ์ ชิงบวก มีการช่ืนชม ส่งเสริม และอานวยความสะดวกในการ
เรียนรขู้ องผเู้ รียนใหม้ คี วามสขุ
10 สนับสนนุ การมีส่วนรว่ มของผู้เรยี นมีส่วนได้ส่วนเสียในการเรียน และแนวคิดดังกล่าว
เกี่ยวกับลักษณะการประเมินตามสภาพจริง ทั้งยังสอดคล้องกับ สุวิทย์ มูลคา (2543) ท่ีสรุปไว้ว่า การ
ประเมินตามสภาพจรงิ มีลักษณะดังนี้
1 เป็นการประเมินท่ีกระทาไปพร้อมๆ กับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการ
เรยี นร้ขู องผูเ้ รียน ซง่ึ สามารถกระทาได้ตลอดเวลากบั ทุกสถานการณ์ ทงั้ ทีโ่ รงเรียน บ้านและชมุ ชน
2 เปน็ การประเมนิ ทีย่ ึดพฤตกิ รรมการแสดงออกของผูเ้ รยี นท่ีแสดงออกมาจริงๆ
3 เน้นการพัฒนาผูเ้ รยี นอยา่ งเดน่ ชดั และให้ความสาคญั ในการพัฒนาจดุ เดน่ ของผู้เรยี น
4 เน้นการประเมนิ ตนเองของผู้เรยี น
5 ต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของสถานการณ์ท่ีเป็นชีวิตจริง รวมทั้งเช่ือมโยงการเรียนรู้ไปสู่ชีวิต
จรงิ
6 ใช้ขอ้ มูลที่หลากหลาย มีการเก็บข้อมูลระหว่างการปฏิบตั ทิ ุกดา้ นทโ่ี รงเรียน บ้าน และ
ชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
7 เน้นคุณภาพของผลงานท่ีผู้เรียนสร้างขึ้นซ่ึงเป็นผลจากการบูรณาการความรู้
ความสามารถหลายๆ ด้านของผเู้ รียน
8 เน้นการวัดความสามารถในการคิดระดับสูง (ทักษะการคิดท่ีซับซ้อน) เช่น การ
วเิ คราะห์ การสังเคราะห์
9 สง่ เสริมปฏสิ มั พันธเ์ ชงิ บวกมีการชนื่ ชม สง่ เสริม และอานวยความสะดวกในการเรียนรู้
ของผูเ้ รยี นและผ้เู รียนได้เรยี นอย่างมคี วามสขุ
10 เนน้ การมีส่วนรว่ มระหว่างผูเ้ รยี น ครู ผปู้ กครอง
สมนึก นนธจิ ันทร์ (2542) ไดใ้ ห้แนวคดิ เก่ียวกับลักษณะของการประเมินผลตามสภาพจริงท่ี
แตกตา่ งไปวา่ การประเมนิ ผลตามสภาพจริง คือ
1 เป็นการประเมินตามสภาพจริง กระทาได้ตลอดเวลากับทุกสถานการณ์ ทั้งที่บ้าน
โรงเรยี น และชมุ ชน สังเกตพฤตกิ รรมตา่ งๆ โดยใช้การตัดสนิ ใจของมนุษยใ์ นการให้คะแนน

71

2 กาหนดปัญหาหรืองานแบบปลายเปิด เพ่ือให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างคาตอบเอง คือให้
ผู้เรยี นตอบดว้ ยการแสดงสรา้ งสรรค์ ผลติ หรอื ทางาน

3 ไม่เน้นการประเมินผลเฉพาะทักษะพื้นฐาน แต่ให้ผู้เรียนผลิต สร้าง หรือทาบางสิ่งที่
เน้นทักษะท่มี ีการคดิ ทีซ่ ับซอ้ น การพิจารณาไตรต่ รอง การทางาน และการแก้ปัญหา น่ันคือ เน้นการเรียนรู้
เพ่ือแกป้ ัญหา

4 เน้นสภาพปัญหาท่ีสอดคล้องกับความเป็นจริงในชีวิตประจาวัน เน้นการแก้ปัญหาท่ี
สะทอ้ นถงึ ชวี ติ จริง

5 ใชข้ อ้ มลู อย่างหลากหลายเพือ่ การประเมนิ นนั่ คอื ความพยายามทีจ่ ะรจู้ ักผูเ้ รียนในทุก
แง่ ทกุ มุม ข้อมลู จึงตอ้ งไดม้ าจากหลายๆ ทาง ซึง่ หมายถงึ เครอื่ งมือท่ีใชเ้ ก็บข้อมลู มีหลากหลายดว้ ยกนั

6 เน้นการมีสว่ นรว่ มระหว่างผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครอง
7 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตัดสินว่าจะประเมินเขาตรงไหน เรื่องอะไร การให้ผู้เรียนมี
ส่วนร่วมในการประเมินผล ทาให้ผู้เรียนรู้จักวางแผนการเรียนรู้ ตามความต้องการของตนเองว่าอยากรู้
อยากทาอะไรบ้าง ซึ่งนาไปสู่การกาหนดจุดประสงค์การเรียน วิธีการเรียน และวางเกณฑ์การประเมินผล
อนั เปน็ การเรียนและการประเมนิ ผลท่ใี ช้ผ้เู รียนเป็นศูนย์กลางอยา่ งแท้จริง
จากแนวคิดต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น พบสรุปได้ว่า ลักษณะการประเมินตามสภาพจริงน้ัน
ม่งุ เน้นใหผ้ ูเ้ รียนมีพฤติกรรมท่สี ะท้อนให้เหน็ ถึงการมคี วามรู้ ทักษะความสามารถท่ีแท้จริงตามศักยภาพของ
ผู้เรียน ทั้งนี้ให้มีการประเมินไปพร้อมๆ กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และมีการใช้วิธีการประเมินท่ี
หลากหลายทง้ั ในและนอกหอ้ งเรยี น โดยใหค้ รู นักเรียน และผปู้ กครองได้มีสว่ นร่วมในการประเมนิ ดว้ ย
2.5.5 ขั้นตอนการประเมินผลตามสภาพจริง
สมนกึ นนทจิ นั ทร์ (2545) กลา่ วถงึ ขนั้ ตอนการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ไว้ ดงั นี้
1 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกาหนดผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการ โดยวิเคราะห์จากหลักสูตรกลาง
หลกั สตู รทอ้ งถิน่ คู่มอื การเรยี น ฯลฯ
2 ทาความชัดเจนกบั ลักษณะ/ความหมายของผลสมั ฤทธเ์ิ หล่าน้ัน
3 กาหนดแนวทางของงานทจ่ี ะตอ้ งปฏบิ ตั ิ คอื

3.1 งานที่ทุกคนต้องทา
3.2 งานท่ีทาตามความสนใจ
4 กาหนดรายละเอยี ดของงาน
5 กาหนดกรอบการประเมนิ
6 กาหนดวิธกี ารประเมิน ได้แก่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การสอบถาม การตรวจงาน
การบันทกึ จากบุคคลผู้เก่ียวข้อง การศึกษารายกรณี การใช้ข้อสอบแบบเน้นการปฏิบัติจริง ระเบียนสะสม
แฟมู สะสมงานดเี ดน่
7 กาหนดตัวผปู้ ระเมินควรมคี รู นักเรยี น ผู้ปกครองหรือใครอีกทีเ่ หมาะสม

72

8 กาหนดเกณฑ์การประเมิน
การประเมนิ ตามสภาพจริงมีการดาเนินงานตามขนั้ ตอนต่อไปน้ี (อนวุ ตั ิ คูณแกว้ , 2548)

1 กาหนดวัตถุประสงคแ์ ละเปาู หมายในการประเมิน ต้องสอดคล้องกับสาระ มาตรฐาน
จุดประสงค์การเรยี นรู้และสะทอ้ นการพัฒนาดว้ ย

2 กาหนดขอบเขตในการประเมิน ต้องพิจารณาเปูาหมายที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน
เชน่ ความรู้ ทักษะและกระบวนการ ความรู้สกึ คุณลกั ษณะ เปน็ ตน้

3 กาหนดผูป้ ระเมนิ โดยพิจารณาผู้ประเมินวา่ จะมีใครบ้าง เช่น นักเรียนประเมินตนเอง
เพ่ือนนักเรียน ครผู สู้ อน ผปู้ กครองหรือผ้ทู ่เี กี่ยวขอ้ ง เป็นตน้

4 เลือกใช้เทคนคิ และเครื่องมอื ในการประเมิน ควรมคี วามหลากหลายและเหมาะสมกับ
วัตถุประสงค์ วิธกี ารประเมิน เช่น การทดสอบ การสังเกต การสัมภาษณ์ การบันทึกพฤติกรรม แบบสารวจ
ความคิดเหน็ บันทกึ จากผูท้ ่เี กีย่ วขอ้ ง แฟูมสะสมงาน ฯลฯ

5 กาหนดเวลาและสถานที่ที่จะประเมิน เช่น ประเมินระหว่างนักเรียนทากิจกรรม
ระหวา่ งทางานกลุ่ม/โครงการ วนั ใดวนั หนึ่งของสปั ดาห์ เวลาว่าง/พักกลางวัน ฯลฯ

6 วเิ คราะห์ผลและวิธีการจัดการข้อมูลการประเมิน เป็นการนาข้อมูลจากการประเมิน
มาวิเคราะหโ์ ดยระบุส่ิงที่วิเคราะห์ เช่น กระบวนการทางาน เอกสารจากแฟูมสะสมงาน ฯลฯ รวมท้ังระบุ
วธิ กี ารบันทึกข้อมลู และวธิ ีการวิเคราะห์ข้อมลู

7 กาหนดเกณฑใ์ นการประเมิน เปน็ การกาหนดรายละเอียดในการให้คะแนนผลงานว่า
ผู้เรียนทาอะไร ได้สาเร็จหรือว่ามีระดับความสาเร็จในระดับใด คือ มีผลงานเป็นอย่างไร การให้คะแนน
อาจจะให้ในภาพรวมหรือแยกเปน็ ราย ให้สอดคลอ้ งกับงานและจุดประสงคก์ ารเรียนรู้

สรุปได้ว่า การประเมินผลตามสภาพจริงเป็นขั้นตอนท่ีครูผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันกาหนด
ผลสัมฤทธิ์ท่ีต้องการโดยวิเคราะห์จากหลักสูตรกลาง หลักสูตรท้องถ่ินและความต้องการของผู้เรียน มี
แนวทางของงานที่ปฏบิ ัติ กาหนดกรอบและวธิ ีการประเมินร่วมกันระหว่างผ้ปู ระเมนิ และผู้ถกู ประเมิน

2.6 พฤติกรรมของผู้เรยี น

ในสภาวะปจั จบุ นั ปัจจัยแวดลอ้ มทางสังคมทเี่ ปล่ียนแปลง ส่งผลต่อการดาเนินชีวิตมีผลทาให้
ครอบครวั เกดิ ปัญหา โดยเฉพาะครอบครวั ทีต่ ้องรับผิดชอบเลย้ี งดสู มาชิกที่อย่ใู นวยั เรียนกาลงั ศกึ ษาในระดับ
มัธยมศกึ ษา พบว่า นกั เรยี นส่วนใหญม่ ปี ญั หาด้านระเบียบวนิ ยั ตอ่ ตนเองและตอ่ สงั คม ซงึ่ เป็นสาเหตสุ าคัญท่ี
นาไปสู่ความผิดพลาดร้ายแรง ส่งผลต่อวิถีชีวิตในอนาคต ซึ่งสถานศึกษาก็มีส่วนทาให้ผู้เรียนขาดระเบียบ
วนิ ยั ทั้งนี้เนอื่ งจากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในปจั จุบนั ม่งุ เนน้ การให้ความรู้ทางด้านวิชาการ ซึ่งสอดคล้อง
กับ อีรคิ ฟรอบน์ (1988) อา้ งถึงใน พระธรรมไตรปิฎก ((ป.อ. ปยุต.โต), 2546) ท่ีกล่าวว่า ในเวลาที่เรามุ่ง
สอนแต่วิชาความรเู้ รากลบั สูญเสียการสอนอกี อย่างหน่ึงซ่ึงเป็นส่ิงสาคัญท่ีสุดต่อการพัฒนาการมนุษย์ นั้นก็

73

คือ การสอนให้มวี ินยั ในตนเองมคี วามมุ่งมั่นอดทนและไวต่อการรับรู้ในความต้องการของผู้อ่ืน ซึ่งการสอน
เช่นน้ีมเี พียงผู้ใหญ่ทีม่ ีวุฒภิ าวะ และมคี วามรัก ความเมตตา คอยอยู่ใกล้ชดิ เด็กเท่านัน้ กส็ ามารถทาได้

อีกท้ังหน้าที่สาคัญของการจัดการศึกษาคือการพัฒนาคนให้เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข
ตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 กาหนดบทบาทให้โรงเรียนมีการดูแลช่วยเหลือ
ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อดูแลปูองกันและช่วยเหลือผู้เรียนท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของสถานศึกษา
(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542) ซึ่งครูผู้สอนรับบทบาทหนักในการพัฒนาผู้เรียน
โดยทาหน้าท่ีเปน็ พ่อครู แม่ครู ดูแลพฤติกรรมผเู้ รยี นท่มี ีปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของทุกรายวิชา
ครูผู้สอนปจั จบุ ันตอ้ งใชเ้ วลาในคาบชั่วโมงพัฒนาพฤติกรรมผูเ้ รียนเพื่อตักเตือนผู้เรียนตลอดเวลา เป็นผลทา
ให้เสียเวลาของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมดีและเบื่อหน่ายเพื่อนๆ ท่ีไม่ปฏิบัติตนให้อยู่ในระเบียบกฏเกณฑ์ทาง
สังคม (สุภัทรา ปกาสิทธิ์ และกุลยา พิสิษฐ์สังฆการ, 2551) ดังนั้น ครูผู้สอนปัจจุบัน จาต้องนาหลัก
คุณธรรมพื้นฐาน 8 ปราการ มาแก้ไขพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียน เพราะหัวใจของการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้เพือ่ แก้ไขพฤติกรรมของผู้เรียน คือ การท่ีผู้เรียนได้สัมพันธ์และสัมผัสกับสรรพสิ่งที่อยู่ภายในตัวเอง
และรอบตัวผเู้ รียนไดฝ้ กึ คดิ ฝกึ ทา ฝึกวัดและประเมิน ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ ได้รับการฝึกหัดขัดเกลาทั้งกาย
วาจา ใจ และไดเ้ รียนรู้ในบรรยากาศท่ปี ลูกฝัง ปลกุ เรา้ จนิ ตนาการ สรา้ งเสรมิ สนุ ทรียภาพ การจัดการเรียนรู้
ตามหลักสูตรนอกจากจะมุ่งปลูกฝังด้านปัญญา พัฒนาการคิดของผู้เรียน ให้มีความสามารถในการคิด
สรา้ งสรรค์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณแล้ว ยงั มงุ่ พัฒนาความสามารถทางอารมณ์ โดยการปลูกฝังให้ผู้เรียนเห็น
คุณคา่ เข้าใจตนเอง เห็นอกเห็นใจผู้อื่น สามารถแก้ปัญหาข้อขัดแย้งทางอารมณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
การจัดการเรียนรู้เป็นงานที่ผู้บริหารสถานศึกษา จะต้องจัดปัจจัยสนับสนุนที่หลากหลายด้าน ต้ังแต่วัสดุ
ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ แบบพิมพ์ต่างๆ กระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมสอดคล้องกับหลักสูตร แผนการจัดการ
เรียนรู้ รวมท้ังเทคนิคกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัย ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร
การควบคุม กากับ ติดตาม การนิเทศการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณสมบัติตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร
ดังน้ันการจัดการเรียนรู้ตามแนวปฏิรูปการศึกษาจึงเป็นสิ่งสาคัญ ที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม
แนวทางท่ีต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ เม่ือผู้เรียนได้ผ่านกระบวนการอย่างถูกต้องจะส่งผลให้ผู้เรียน
สามารถแสดงพฤติกรรมท่ีเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และ
ประเทศชาติตอ่ ไป

ระบบการดูแลพฒั นาพฤตกิ รรมผเู้ รยี น เพื่อชว่ ยเหลอื ผเู้ รียน เปน็ กระบวนการดาเนนิ การอย่าง
มีขั้นตอนพร้อมด้วยวิธีการและเครื่องมือการทางานที่ชัดเจน โดยมีครูท่ีปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการ
ดาเนนิ การดงั กลา่ ว และมีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูผู้สอนท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ปกครอง
หรือบุคคลภายนอก โดยหน้าท่ีหลักสถานศึกษาเป็นผู้บริหารจัดการส่งเสริมสนับสนุนทุกรูปแบบ
กระบวนการพฒั นาพฤติกรรมผู้เรยี นเป็นกระบวนการทางปัญญา ที่สามารถดาเนินงานตามระบบการดูแล
ช่วยเหลือนักเรยี นท่ีแสดงในตารางตอ่ ไปนี้

74

ตารางที่ 1 ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน

กระบวนการดาเนนิ งาน วธิ ีการ เคร่ืองมือ
1 การรู้จักนักเรียนเปน็ รายบุคคล
1.1 ดา้ นความสามารถ ศกึ ษาขอ้ มลู จาก 1 ระเบียนสะสม

- การเรยี น 1 ระเบยี นสะสม 2 แบบประเมินพฤตกิ รรมเดก็
- ความสามารถอื่นๆ
1.2 ด้านสขุ ภาพ 2 แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) หรอื
- รา่ งกาย
- จติ ใจ พฤตกิ รรม (SDQ) หรอื 3 อ่นื ๆ เช่น
1.3 ครอบครัว
- ครอบครวั 3 อ่นื ๆ เชน่ - แบบประเมินความฉลาด
- การค้มุ ครองนักเรยี น
1.4 ดา้ นอื่นๆ - แบบประเมินความฉลาดทาง ทางอารมณ์ (E.Q.)

2 การคัดกรองนกั เรียน อารมณ์ (E.Q.) - แบบสัมภาษณน์ ักเรียน
2.1 กลุม่ ปกติ
2.2 กลุม่ เสี่ยง - การสัมภาษณ์นักเรยี น - แบบสัมภาษณ์ผู้ปกครอง
2.3 กลมุ่ มีปัญหา
- การสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรยี น และการเยยี่ มบา้ น
3 การส่งเสริมนกั เรยี น
(สาหรับกล่มุ นักเรยี นทุกกล่มุ ) - การเยีย่ มบ้านนกั เรียน - แบบบันทึกการตรวจ

ฯลฯ สุขภาพด้วยตนเอง

ฯลฯ

วิเคราะหข์ อ้ มูลจาก 1 เกณฑก์ ารคัดกรองนกั เรยี น

1 ระเบียนสะสม 2 แบบสรุปผลการคัดกรอง

2 แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก และช่วยเหลือนักเรียนเป็น

(SDQ) หรือ รายบคุ คล

3 แหลง่ ขอ้ มูลอืน่ 3 แบบสรุปผลการคัดกรอง

นกั เรียนเป็นหอ้ งเรียน

จดั กจิ กรรมตอ่ ไปน้ี 1 แนวทางการจัดกิจกรรม

1 กจิ กรรมโฮมรูม โฮมรูมของโรงเรยี น

2 ประชุมผูป้ กครองช้ันเรียน 2 แนวทางการจัดกิจกรรม

3 กิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีครูพิจารณาว่า ประชุมผู้ปกครองชน้ั เรยี น

เหมาะสมในการส่งเสรมิ 3 แ บ บ บั น ทึ ก / ส รุ ป

นักเรียนให้มคี ณุ ภาพมากขึ้น ประเมนิ ผล

การดาเนนิ กิจกรรม

- โฮมรูม

- ประชุมผู้ปกครองชนั้ เรียน

- อ่นื ๆ

75

กระบวนการดาเนินงาน วธิ กี าร เคร่อื งมอื

4 การปอู งกันและแก้ไขปัญหา 1 ใหก้ ารปรึกษาเบอ้ื งต้น 1 แนวทางการจัดกิจกรรม

(จาเปน็ อย่างมากสาหรบั นักเรียนกลุ่ม 2 ป ร ะ ส า น ง า น กั บ ค รู แ ล ะ เพ่ือปูองกันและแก้ไขปัญหา

เสยี่ ง/มีปญั หา) ผู้เก่ียวข้องอื่นๆ เพื่อการจัด ของนกั เรียน 5 กจิ กรรม

กิจกรรมสาหรับการปูองกันและ 2 แบบบันทึกสรุปผลการคัด

การช่วยเหลือแก้ไขปัญหาของ กรองและช่วยเหลือนักเรียน

นกั เรยี น เป็นรายบคุ คล

2.1 กจิ กรรมในห้องเรียน 3 แบบบันทึกรายงานผลการ

2.2 กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร ดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน

2.3 กจิ กรรมเพอื่ นชว่ ยเพือ่ น

2.4 กจิ กรรมซอ่ มเสริม

2 . 5 กิ จ ก ร ร ม สื่ อ ส า ร กั บ

ผู้ปกครอง

5 สง่ ตอ่ 1 บันทกึ การสง่ นกั เรียนไปยังครูท่ี 1 แบบบันทึกการส่งต่อของ

5.1 สง่ ตอ่ ภายใน เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ใ น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ โรงเรยี น

5.2 ส่งตอ่ ภายนอก นักเรียนต่อไป เช่น ครูแนะแนว

ฝุายปกครอง ครูประจารายวิชา

ครูพยาบาล เป็นต้น ซ่ึงเป็นการ

สง่ ตอ่ ภายใน

2 บันทึกการส่งนักเรียนไปยัง 2 แบบรายงานแจ้งผลการ

ผู้เชี่ยวชาญภายนอกโดยครูแนะ ชว่ ยเหลือนักเรยี น

แ น ว ห รื อ ฝุ า ย ป ก ค ร อ ง เ ป็ น

ผดู้ าเนินการ

สรปุ องคป์ ระกอบของระบบการดแู ลช่วยเหลือเพือ่ พัฒนาพฤติกรรมผู้เรียน เป็นกระบวนการ
ดาเนินงานท่มี อี งคป์ ระกอบสาคัญ 5 ประการ คือ

1 การรจู้ ักผูเ้ รยี นเป็นรายบคุ คล
2 การคัดกรองผู้เรยี น
3 การสง่ เสรมิ ผเู้ รียน
4 การปอู งกนั และแก้ไขปัญหา
5 การส่งตอ่

76

แต่ละองค์ประกอบของระบบการดูแลช่วยเหลือเพื่อพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียนดังกล่าวมี
ความสาคัญ มีวิธีการและเคร่ืองมือท่ีแตกต่างกันออกไป เพ่ือให้การขับเคลื่อนดังกล่าวมีความชัดเจนเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถนาไปสูก่ ารปฏิบัตไิ ด้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ประเวศ วะสี (2564) กล่าวว่า การ
นาหลกั คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการสอดแทรกในระหว่างการเรียนการสอนสามารถปรับเปลี่ยนคุณลักษณะ
พฤติกรรมของคนได้ ดงั น้ันเพอ่ื ใหเ้ กดิ การซึมซับสู่การปฏิบัติต้องกระตุ้นเตือนประจาอย่างต่อเนื่อง จนเกิด
ความสมั พนั ธเ์ ก่ียวเนอื่ งกัน ซึง่ จะเอ้ือให้การดูแลช่วยเหลอื พฒั นาพฤตกิ รรมผู้เรียนมปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งข้ึน

ในการท่ีจะกอ่ ให้เกิดการเสริมสร้างคุณธรรมอย่างบูรณาการให้แก่เด็กและเยาวชน นอกจาก
ผา่ นกระบวนการสังคมประกิตและการอบรม เลี้ยงดูภายในครอบครัวแล้ว ยังควรจัดให้มีขึ้นที่สถานศึกษา
ซึ่งเปน็ สถาบันทางสังคมท่ีมีอทิ ธิพลอยา่ งสูงตอ่ เดก็ และเยาวชน และเพ่ือการอยู่ร่วมกันด้วยความสมานฉันท์
ตามวิธปี ระชาธิปไตยโดยใชส้ นั ตวิ ิธีในการแก้ปัญหา และการยึดหลักคุณธรรมเป็นพ้ืนฐานของกระบวนการ
เรียนรู้ สาหรบั คุณธรรม (สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2550) ที่กระทรวงศึกษาธิการมุ่งเน้นปลูกฝัง
นั้นมที ั้งหมด 8 ประการ อันได้แก่ ความขยัน ประหยัด มีวินัย ซ่ือสัตย์ สุภาพ สะอาด สามัคคี และมีน้าใจ
ซึ่งเม่ือพิจารณาคุณธรรมเหล่าน้ีแล้ว พบว่าสอดคล้องเป็นอย่างดีกับนิยามของคาว่า “คุณธรรม” ซ่ึงให้ไว้
โดยพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ซง่ึ ระบวุ ่า “คณุ ธรรม” หมายถงึ “สภาพคุณงามความดี
ท่ีบุคคลมีอยู่” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2564) แต่ท้ังนี้ เพื่อให้ครูอาจารย์สามารถนาไปปลูกฝังเพ่ือพัฒนา
พฤติกรรมผู้เรยี นอย่างเปน็ รูปธรรม ทัง้ 8 ประการ สามารถพิจารณาโดยละเอียดดังนี้

1 ขยนั คอื ความตัง้ ใจเพียรพยายามทาหนา้ ทก่ี ารงานอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ อดทนไม่
ทอ้ ถอยเม่ือพบอปุ สรรค ความขยันตอ้ งปฏิบตั คิ วบคู่กับการใช้สติปญั ญาแกป้ ญั หาจนเกิดผลสาเร็จตามความ
มุ่งหมาย

คุณลักษณะเชงิ พฤติกรรม ผู้ท่ีมีความขยัน คือ ผู้ท่ีต้ังใจอย่างจริงจังต่อเน่ืองในเร่ืองท่ี
ถกู ทีค่ วร ผทู้ ่ีเป็นคนสงู้ าน มีความพยายาม ไมท่ ้อถอย กล้าเผชิญอุปสรรค รักงานที่ทา ตั้งใจทาหน้าที่อย่าง
จรงิ จงั

2 ประหยัด คือ การรู้จักเก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สิน ส่ิงของแต่พอควรพอประมาณ ให้
เกิดประโยชนค์ ุ้มคา่ ไม่ฟุมเฟือย ฟงุู เฟูอ

คณุ ลกั ษณะเชิงพฤติกรรม ผ้ทู ี่มีความประหยัด คอื ผู้ท่ีดาเนินชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบ
ง่าย รู้จกั ฐานะการเงนิ ของตน คิดก่อนใช้ คดิ ก่อนซอื้ เกบ็ ออม ถนอมใช้ทรัพย์สินสิ่งของอย่างคุ้มค่า รู้จักทา
บญั ชีรายรบั -รายจ่ายของตนเองอยู่เสมอ

3 ความซื่อสัตย์ คือ ประพฤติตรงไม่เอนเอียงไม่มีเล่ห์เหลี่ยมมีความจริงใจ ปลอดจาก
ความรู้สึกลาเอียงหรอื อคติ

คณุ ลกั ษณะเชิงพฤตกิ รรม ผทู้ ่มี คี วามซือ่ สัตย์ คือ ผู้ท่ีมีความประพฤติตรงท้ังต่อหน้าที่
ตอ่ วิชาชพี ตรงต่อเวลา ไมใ่ ช้เล่หก์ ล คดโกงทั้งทางตรงและทางอ้อม รับรู้หน้าท่ีของตนเองและปฏิบัติอย่าง
เต็มทถ่ี ูกตอ้ ง

77

4 มีวินัย คือ การยึดม่ันในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับและข้อปฏิบัติ ซึ่งมีทั้งวินัยใน
ตนเองและวินัยต่อสังคม

คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีวินัย คือ ผู้ที่ปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของ
สถานศึกษา สถาบัน/องคก์ ร/สงั คมและประเทศ โดยท่ีตนเองยนิ ดปี ฏบิ ัติตามอยา่ งเตม็ ใจและตั้งใจ

5 สภุ าพ คอื เรยี บรอ้ ย อ่อนโยน ละมุนละมอ่ ม มีกิรยิ ามารยาทท่ดี งี าม มีสมั มาคารวะ
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ท่ีมีความสุภาพ คือ ผู้ท่ีอ่อนน้อมถ่อมตนตามสถานภาพ

และกาลเทศะ ไม่ก้าวร้าว รุนแรง วางอานาจข่มผู้อ่ืนท้ังโดยวาจาและท่าทาง แต่ในเวลาเดียวกันยังคงมี
ความม่นั ใจในตนเอง เป็นผทู้ ี่มมี ารยาท วางตนเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย

6 สะอาด คอื ปราศจากความมัวหมองท้ังกาย ใจ และสภาพแวดล้อม ความผ่องใสเป็น
ท่เี จริญตา ทาใหเ้ กดิ ความสบายใจแกผ่ พู้ บเหน็

คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ท่ีมีความสะอาด คือ ผู้รักษาร่างกาย ท่ีอยู่อาศัย
ส่ิงแวดล้อมถกู ตอ้ งตามสขุ ลักษณะ ฝึกฝนจติ ใจมใิ หข้ ุ่นมัว จงึ มีความแจม่ ใสอยเู่ สมอ

7 สามัคคี คือ ความพรอ้ มเพรยี งกนั ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ความร่วม
ใจกนั ปฏิบตั งิ านให้บรรลผุ ลตามที่ต้องการเกดิ งานอย่างสรา้ งสรรค์ ปราศจากการทะเลาะววิ าท ไม่เอารัดเอา
เปรียบกนั เป็นการยอมรับความมีเหตผุ ล ยอมรบั ความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความหลากหลาย
ในเรอื่ งเชอ้ื ชาติ ความกลมเกลยี วกนั ในลักษณะเชน่ นี้เรียกอกี อยา่ งว่า ความสมานฉันท์

คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ท่ีมีความสามัคคี คือ ผู้ท่ีเปิดใจกว้างรับฟังความคิดเห็น
ของผอู้ นื่ รู้บทบาทของตนทง้ั ในฐานะผู้นาและผู้ตามท่ีดี มีความมุ่งม่ันต่อการรวมพลัง ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
เพื่อให้การงานสาเร็จลุล่วง แก้ปัญหาและขจัดความขัดแย้งได้ เป็นผู้มีเหตุผล ยอมรับความแตกต่าง
หลากหลายทางวัฒนธรรม ความคิด ความเชื่อ พรอ้ มทีจ่ ะปรับตวั เพ่ืออยรู่ ว่ มกันอย่างสนั ติ

8 มนี า้ ใจ คือ ความจรงิ ใจทไ่ี ม่เห็นแก่เพียงตวั เอง หรือเรื่องของตัวเอง แต่เห็นอกเห็นใจ
เหน็ คณุ คา่ ในเพอื่ นมนุษย์ มีความเอื้ออาทรเอาใจใส่ ใหค้ วามสนใจในความต้องการ ความจาเป็น ความทุกข์
สุขของผอู้ ื่น และพรอ้ มทจี่ ะให้ความช่วยเหลอื เกอ้ื กูลกนั และกัน

คณุ ลกั ษณะเชงิ พฤติกรรม ผทู้ ่มี ีนา้ ใจ คือ ผู้ให้และผอู้ าสาช่วยเหลือสังคม รู้จักแบ่งปัน
เสยี สละความสุขส่วนตวั เพื่อทาประโยชน์แก่ผู้อ่ืน เข้าใจ เห็นใจผู้ที่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม
ด้วยแรงกาย สตปิ ญั ญา ลงมอื ปฏิบัติการเพ่ือบรรเทาปญั หา หรอื ร่วมสร้างสรรคส์ ง่ิ ดีงามให้เกิดข้นึ ในชมุ ชน

สรปุ ไดว้ า่ คุณธรรม 8 ประการ เปน็ การปลูกฝงั ให้ผู้เรียนมีคุณธรรมประจาใจ รู้จักคิดเป็น
ทาเป็น และแก้ปัญหาเป็น ครูผู้สอนเสริมสร้างปลูกฝังในกิจกรรมการเรียนรู้ทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการ
บรรยาย เล่านิทาน หรอื ฝึกประสบการณข์ ณะรว่ มกนั ทากจิ กรรมระหว่างกจิ กรรมการเรียนรู้ในชั้นเรยี น เช่น
การเล่านิทานเพ่ือเปน็ การนาเข้าส่บู ทเรยี น เป็นตน้

ระบบการดแู ลพัฒนาพฤตกิ รรมผู้เรยี น เพอ่ื ชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น เปน็ กระบวนการดาเนินการอย่าง
มีข้ันตอนพร้อมด้วยวิธีการและเครื่องมือการทางานที่ชัดเจน โดยมีครูท่ีปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการ

78

ดาเนนิ การดังกลา่ ว และมีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูผู้สอนที่เก่ียวข้อง รวมถึงผู้ปกครอง
หรอื บุคคลภายนอก โดยหน้าทห่ี ลกั สถานศกึ ษาเปน็ ผู้บริหารจัดการสง่ เสริมสนบั สนุนทุกรูปแบบ

2.7 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้อง

ธนบดี บัวใหญร่ กั ษา (2550) ได้ศกึ ษาเร่อื ง แนวทางการพฒั นาครูในการจดั การเรียนการสอน
ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านสวนห้อมผางาม สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเลย
เขต 2 ซ่ึงเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพท่ีเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโรงเรียน
ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานของโรงเรียน ผู้ปกครอง
นักเรียน ผู้นาชุมชนและนักเรียน ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหา โดยภาพรวมพบว่า ครูมีความรู้
เขา้ ใจเปูาหมายของการจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 น้อยมาก ครูมีส่วนร่วม
ในการทาหลักสูตรสถานศกึ ษาน้อยมาก หลักสูตรสถานศกึ ษาทใ่ี ชอ้ ยู่คดั ลอกมาจากโรงเรียนอ่ืน ครูไม่ทาการ
วิเคราะห์หลักสูตร มกี ารจัดแผนการเรียนรู้แต่ไม่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ไม่ได้นาไปใช้ในการสอนจริง ครูจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบเดมิ ครูไมเ่ ปลีย่ นพฤติกรรมในการเรียนการสอน ครูจัดการเรียนการสอนไม่
สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน และชุมชน ครูส่วนใหญ่ไม่มีการวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล
การเย่ียมบ้านนักเรียนไม่ท่ัวถึงและไม่ต่อเน่ือง ครูไม่ใช้ส่ือและเทคโนโลยีในการสอน ครูมีการวัดผล
ประเมินผลเพ่ือวัดความรู้ ความจา ไมไ่ ด้วดั ผลและประเมนิ ผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน ครูมีการทาวิจัยในช้ันเรียน
น้อยมาก และไมไ่ ดน้ าผลการวิจยั มาพัฒนาผเู้ รยี น จากสภาพปัจจุบนั ดงั กลา่ ว พบวา่ ครูไม่เพียงพอ ครูไม่ได้
สอนตามวชิ าเอก ครูมีภาระงานการสอนและงานอื่นทีไ่ ด้รบั มอบหมายมากเกินไป ทาให้ไม่มีเวลาเตรียมการ
สอน ครมู ีอายรุ าชการนาน รบั ราชการในโรงเรียนเดิมนานไม่มีการย้าย โรงเรียนมีงบประมาณสนับสนุนใน
การพัฒนาครูในเร่ืองการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เทคนิคการสอนที่หลากหลาย การ
จัดทาแผนการสอน แผนเรียนรู้แบบบูรณาการ การผลิตและการจัดหาส่ือเทคโนโลยี การวัดผลและ
ประเมนิ ผล การวิจยั ในชั้นเรยี นอยา่ งเพยี งพอ ครูขาดความรู้ ความเข้าใจในเปูาหมายของการจัดการศึกษา
และหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ครูไม่สามารถจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาเองได้ การจัดการเรียนการ
สอนนักเรียนไม่มีส่วนร่วม นักเรียนถูกบังคับให้รับความรู้เพียงอย่างเดียว ครูไม่เปล่ียนแปลงพฤติกรรมใน
การจดั การเรียนการสอน และไม่สนใจในการพัฒนาตนเอง นักเรียนไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ
นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน จากสภาพปัจจุบันและปัญหาดังกล่าว ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมี
ความคาดหวัง ต้องการให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเปูาหมายของการจัดการศึกษา และสามารถจัดทา
หลักสูตรสถานศึกษาได้อย่างแท้จริง มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดทาแผนการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูผู้สอนโดยใช้เทคนิควิธีในการสอนที่
หลากหลาย ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูทุกคนควรมีความรู้ มีทักษะ มี
ความชานาญในการผลิตและเลือกใช้สือ่ นวตั กรรมเทคโนโลยีในการสอน ใหค้ วามรัก ความอบอุ่น และเอาใจ

79

ใส่เยี่ยมเยือนนักเรียนให้ท่ัวถึง มีการวัดผลประเมินผลนักเรียนตามสภาพจริง และนาผลการวัดผล
ประเมินผลมาปรบั ปรุงการเรยี นการสอน โดยให้ผ้ปู กครองมีส่วนร่วม เพื่อร่วมกันพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและ
พฒั นาตนเองของครูสู่ครูมืออาชพี ต่อไป ผลจากการศึกษาผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย ได้เสนอแนวทางการพัฒนาครู
ในการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยให้ครูได้มีการศึกษาค้นคว้า ใฝุรู้ใฝุเรียน เข้ารับการ
อบรม สัมมนา ประชุมเชิงปฏิบัติการ ในเรื่องหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เทคนิคการสอนใหม่ๆ การ
วัดผลประเมินผลการเรียนของนักเรียน การวิจัยในช้ันเรียนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพ่ือนามาปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมในการจดั การเรียนการสอนโดยใหเ้ นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ โรงเรียนจัดงบประมาณสนับสนุนในการ
อบรมครูภายในโรงเรียน และส่งครูเข้ารับการอบรม สัมมนา ประชุมเชิงปฏิบัติการ ในเร่ืองที่เก่ียวกับการ
พัฒนาครูในการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้เพียงพอ ครูทุกคนในโรงเรียนควรมีการ
แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ในเรอ่ื งการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เดือนละ 1 คร้ัง โรงเรียนต้องมี
การนิเทศภายในเพอ่ื ช่วยเหลือครูในการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรยี นอย่างตอ่ เนื่อง

บันเทิง จันทร์นิเวศน์ (2547) ได้ทาการวิจัยสภาพและปัญหาในการจัดการศึกษาโดยเน้น
นักเรียนเป็นสาคัญของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร เปรียบเทียบ
ความคิดเห็นของครูอาจารย์กับผูบ้ รหิ ารในการจดั การศกึ ษาโดยเน้นนกั เรยี นเป็นสาคญั ประชากรที่ใช้ในการ
วิจัยครั้งนี้ เป็นครูอาจารย์และผู้บริหารในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขต
กรงุ เทพมหานคร ประกอบด้วยครูอาจารย์ 13,478 คน และผู้บริหาร 116 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นครูอาจารย์
216 คน และผ้บู รหิ าร 96 คน รวมทั้งสน้ิ 312 คน เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม
ซึง่ แบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของครูอาจารย์และผู้บริหาร ตอนท่ี 2 เป็น
แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพการจัดการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีค่าความเช่ือม่ัน 0.94 ตอนท่ี 3
ปัญหาในการจัดการศึกษาโดยเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ
คา่ เฉลี่ย ค่าความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกตา่ งด้วยค่าที (t-test) ผลการวจิ ยั พบว่า

1 สภาพการจดั การศกึ ษาโดยเน้นนักเรียนเปน็ สาคัญ
1.1 การเตรยี มการสอน ครูมีแผนการสอนที่ผ่านการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน มีการ

เตรยี มการจดั การเรยี นการสอนทีผ่ สมผสานความรู้ด้านต่างๆ อยา่ งไดส้ ดั สว่ น
1.2 การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ก่อนสอนครูมีการนาเข้าสู่บทเรียนเสมอ ครู

เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามปัญหาหรอื ขอ้ สงสัยได้ตลอดเวลา ครูยกย่องชมเชยนักเรียนที่มีผลงานดีและ
ให้กาลังใจผลงานทต่ี ้องปรบั ปรงุ แก้ไข

1.3 การประเมินผล ครูประเมินผลนักเรียนตามสภาพจริงเป็นรายบุคคล ครูนาผล
การประเมินผ้เู รียนมาใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนาการสอน

2 ปญั หาในการจัดการศึกษาโดยเน้นนกั เรียนเป็นสาคัญ พบว่า ขาดแคลนวัสดุ อุปกรณ์
เอกสาร ส่ือประกอบการจดั การเรยี นรู้ รูปแบบการนาเข้าสู่บทเรียนไม่น่าสนใจ การจัดกิจกรรมการสอนไม่

80

เป็นไปตามแผนที่วางไว้ นักเรียนขาดความสนใจในการสรุปผลการสอนในช่วงใกล้หมดเวลาเรียน ครูไม่
สามารถประเมินผลการเรยี นควบคู่ไปกับการสอนเพราะย่งุ ยาก

3 การเปรียบเทียบความคิดเห็นระหว่างครูอาจารย์กับผู้บริหารเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
ของครอู าจารย์ ไดแ้ ก่ การเตรียมการสอน การจัดกิจกรรมการสอน และการประเมินผล พบว่าครูอาจารย์
กบั ผบู้ รหิ ารมีความแตกต่างกนั อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05

ยรุ ยี ์ วรวิชยั ยันต์ และคณะ (2548 : บทคัดย่อ) รายงานการวิจยั การศกึ ษารูปแบบการจัดการ
เรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในวิชาสถิติ 1 มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ทราบถึงผลการปฏิบัติจากการใช้
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในวิชาสถิติ 1 ที่สอนในคณะวิทยาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ผลการวจิ ัยทาให้ไดร้ ปู แบบการเรยี นการสอนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และ
สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนในสาขาวิชาอ่ืนๆ การวิจัยน้ีเป็นการวิจัยเชิง
สารวจ ประชากรทใี่ ชใ้ นการศึกษา คือ นกั ศึกษาท่ลี งทะเบียนเรียนวิชาสถิติ 1 ในปีการศึกษาท่ี 2/2547 ใช้
วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มในแต่ละชั้นภูมิ แบบสอบถามและข้อสอบกลางภาคเรียนและปลายภาค
เรยี นถกู ใช้เป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่การนาเสนอข้อมูล
การวดั แนวโนม้ เข้าสสู่ ่วนกลาง การวัดการกระจาย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การประมาณค่าแบบจุด การ
ทดสอบค่าเฉลี่ย และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั ในวิชาสถติ ิ 1 ช่วยพัฒนาการเรยี นการสอน โดยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนกว่าวิธีการสอนเดิม
อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิ

ลกั ขณา เหลอื งวิริยะแสง (2549) ไดศ้ กึ ษาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งการพัฒนาครูกับความพร้อม
ของครูในการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตบางขุนเทียน
กรงุ เทพมหานคร พบว่า สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอายุอยู่ในช่วง 31-45 ปี
ระยะเวลาในการปฏิบัตกิ ารสอนมีระยะเวลา 1-5 ปี ระดับการศกึ ษาส่วนใหญอ่ ยู่ในระดับปริญญาตรี ครูเข้า
ร่วมพัฒนามาก 2 ด้าน คือ 1) การเข้ารบั การฝกึ อบรม มีครูเข้าร่วมการฝึกอบรม เรื่องการจัดการเรียนการ
สอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคญั 2) การศกึ ษาค้นคว้ามีครูเขา้ ร่วมศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการ
สอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ จากตารา บทความ รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ ครูเข้าร่วมพัฒนา ปาน
กลาง 2 ดา้ น คอื 1) การแลกเปลี่ยนการเรยี นรู้ มีครูเขา้ ร่วมศกึ ษาดงู านนอกสถานที่ ในสถานศึกษาท่ีจัดการ
เรยี นการสอนโดยยึดผู้เรยี นเป็นสาคัญ 2) การรับการนเิ ทศ มีครูเข้าร่วมรับการนิเทศการสอนโดยยึดผู้เรียน
เปน็ สาคญั จากผบู้ ริหาร เพือ่ นครู และศกึ ษานเิ ทศกข์ องสานักการศึกษา ส่วนระดบั ความพรอ้ มของครูในการ
สอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่อยู่ระดับมาก คือ การจัดการเรียนการสอนในเรื่องความตระหนักในการ
จัดการเรียนการสอนโดยยดึ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั ระดบั ปานกลาง 2 ดา้ น คือ 1) การใช้ส่ือการเรียนการสอนใน
เร่ืองความรู้ความเข้าใจ หลักการใช้สื่อในการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ 2) การวัดผล
ประเมินผลในเรื่องความรคู้ วามเขา้ ใจหลกั การวัดผลและประเมนิ ผลโดยยดึ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ และพบว่า การ

81

พัฒนาครูมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับความพร้อมของครูในการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยมีค่า
สมั ประสิทธส์ หสัมพันธเ์ ทา่ กับ .567 ท่รี ะดบั นยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ี .01

สมบัติ ยศปัญญา (2552) ได้ศึกษาเรื่อง แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเลย เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ประกอบด้วย ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จานวน 341 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ข้าราชการครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา มีความคิดเห็นเก่ยี วกับสภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยภาพ
รวมอยใู่ นระดับมาก และพบวา่ มปี ญั หาโดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั นอ้ ย 2) ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการ
ศึกษา ท่ีมตี าแหนง่ หน้าทต่ี า่ งกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ในโรงเรยี นสังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาเลย เขต 1 โดยภาพรวมไม่แตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สาคัญ
ทางสถิติท่ีระดับ .05 3) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพการจัดการ
เรยี นรู้ทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 จาแนกตามขนาด
ของโรงเรียน โดยภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาความคิดเห็น
เก่ยี วกับปัญหา พบวา่ โดยภาพรวมแตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั .05 4) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มี
ความเห็นตรงกันว่า แนวทางการพฒั นาการจดั การเรียนรูท้ ่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั ในโรงเรียนสังกัดสานักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษาเลย เขต 1 น้ัน จะต้องพัฒนาทั้งระบบ สร้างความเข้าใจกันระหว่าง ผู้บริหาร ครู
นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และผู้ปกครองนักเรียน ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการวาง
แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ครูจะตอ้ งเข้าใจเกยี่ วกับการจดั การเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูจะต้อง
พัฒนาตนเองให้อยู่ในกรอบศีลธรรมและวัฒนธรรมไทย มีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าท่ี ครูต้อง
จัดการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข จากการปฏิบัติจริง ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้
แสดงออกอยา่ งอิสระตามความสามารถเป็นรายบคุ คล ครูควรนาวสั ดุในทอ้ งถ่ินมาประยุกต์ใช้ในการผลิตสื่อ
สอื่ มคี วามหลากหลาย มีความเพียงพอ มคี วามเหมาะสมกบั วัยของผู้เรียน ครูและนักเรียนควรมีส่วนร่วมใน
การผลติ ส่อื และการประเมินผลการเรยี นรู้นั้น ตอ้ งประเมนิ อย่างหลากหลาย ทุกฝาุ ยมสี ่วนร่วม และจะต้อง
รายงานผลใหผ้ ู้ปกครองและผู้มีส่วนไดเ้ สยี ทราบต่อไป

สุพล อินเดีย (2552) ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 เร่ือง ทศนิยม โดยใช้รูปแบบซิปปา
กลุ่มเปูาหมายที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้เป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนบ้าน
โนนสว่าง ทา่ กระบือ อาเภอภผู ามา่ น จังหวัดขอนแกน่ จานวน 40 คน จากการวิจัย พบว่า การจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง ทศนิยม โดยใช้รูปแบบ
ซิปปา เปน็ กจิ กรรมท่ที าให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติกิจกรรม ได้ศึกษาค้นคว้า
ความรดู้ ้วยตนเอง ได้ทางานเป็นกลมุ่ มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู้ในชนั้ เรยี น นกั เรยี นมีโอกาสได้นาเสนอความรู้
และอภิปรายในช้ันเรียน นักเรียนได้สรุปความรู้ด้วยตนเอง เม่ือพิจารณาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน พบว่า
นักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน คิดเป็นร้อยละ 79.08 ของคะแนนเต็ม สูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ร้อยละ

82

70 มนี กั เรยี นท่ีคะแนนผา่ นเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 82.50 ของนักเรยี นทงั้ หมด และพบวา่ คะแนน
ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรยี นหลงั ไดร้ บั การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดย
ใช้รูปแบบซปิ ปาสงู กวา่ ก่อนไดร้ บั การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนอย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05

สุวัฒน์ ศรีจันทวงศ์ (2550) ไดศ้ กึ ษาเร่ือง แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผเู้ รียนเป็นสาคัญกรณีศึกษา : โรงเรียนบ้านนาแปน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเลย เขต 2 ซ่ึงเป็น
การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ ทเี่ ก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้มีส่วนได้เสียของโรงเรียนจานวน 5 กลุ่ม ประกอบด้วยคณะ
ครจู านวน 14 คน นักเรียนจานวน 12 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานจานวน 12 คน ผู้ปกครอง
นักเรียนจานวน 12 คน และตัวแทนกลุ่มผู้นาชุมชนจานวน 12 คน ผลการศึกษาด้านสภาพและปัญหา
พบว่า ผู้บริหารมีภาวะผู้นา โรงเรียนมีโครงสร้างการบริหารงานท่ีเหมาะสม มีการจัดระบบแบ่งงาน
รับผิดชอบท่ีผู้มีส่วนได้เสียทุกฝุายมีความพึงพอใจ แต่โรงเรียนยังขาดส่ืออุปกรณ์ท่ีใช้เก็บข้อมูลทาง
คอมพิวเตอร์อยู่บ้าง ขาดระบบท่ีดีในการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการแลกเปล่ียน
เรียนรู้ด้านวิชาการซ่ึงกันและกันน้อยเกินไป แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจาปีของโรงเรียนยังขาด
ความสอดคล้องกนั การบริหารใชจ้ ่ายงบประมาณยงั ไมเ่ ปน็ ไปตามแผนงานโครงการท่ีกาหนดเท่าท่ีควร ผู้มี
ส่วนได้เสียยังขาดการมีส่วนร่วมในด้านวิชาการ และกาหนดบทบาทหน้าที่ปฏิบัติของตนเองยังไม่ชัดเจน
โรงเรียนขาดระบบการกากับติดตามนิเทศภายในท่ีดีและขาดความต่อเน่ืองในการนิเทศ ผลจากการนิเทศ
โรงเรยี นยงั ไมน่ าสกู่ ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหเ้ กิดผลกบั ผเู้ รยี นเท่าท่ีควร การศึกษาเปูาหมายหลักสูตรสถานศึกษา
และการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมบูรณาการน้อยเกินไป ครูควรได้รับการพัฒนาเทคนิควิธีการสอน การ
ส่งเสริมการใช้ส่ือเทคโนโลยีทางการศึกษาให้มากขึ้น โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิด้านการวัดผลประเมินผลแก่
ผู้เรยี นเป็นสาคญั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการศึกษาความคาดหวัง พบว่า ผู้มีส่วนได้เสียมีความคาดหวัง
และมีความต้องการอยากใหโ้ รงเรียนมกี ารพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาท่ีไดม้ าตรฐานและมีคุณภาพ มีครูผู้สอน
ครบตามเกณฑ์และเพยี งพอในสาขาวิชาเอกทีข่ าดแคลน มีการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีมีความพร้อมใน
ทุกๆ ด้าน ครูมีความพร้อมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบวิธีสอนและสื่อการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย และเน้นการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ โรงเรียนจัดแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการที่
สอดคลอ้ งสมั พนั ธ์กับงบประมาณ วสิ ยั ทศั น์ของโรงเรียน และสามารถนาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิไดจ้ ริง โดยม่งุ เน้นให้
ผเู้ รียนเกิดการพัฒนาในการเรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งเตม็ ศักยภาพ ผูเ้ รียนมีความสามารถในการจาแนกข้อมูล การคิด
วิเคราะห์ การคิดแบบสังเคราะห์ และสามารถแก้ปัญหาในการทางานต่างๆ ได้ด้วยตนเอง มีความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์ และจินตนาการท่ีดี ส่งเสริมทักษะความรู้ในรายวิชาที่มีผลสัมฤทธ์ิต่ากว่าเกณฑ์ ส่งเสริมการใช้
ส่อื คอมพวิ เตอร์ในการเรียนรู้ สง่ เสริมการเรียนรู้จากแหล่งเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย ผู้เรียนกล้าแสดงออกในทาง
ที่ถกู ต้องเหมาะสมกับวัยและชนั้ เรียนท่ีกาลังศึกษาอยู่มีคุณธรรม จริยธรรมและมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
รจู้ ักแสดงความเคารพ มคี วามเออื้ เฟื้อเผอ่ื แผ่ มคี วามรักความสามัคคีในหมู่คณะ รู้จักทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้
ดี ครูผู้สอนและผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ผลการศึกษาแนวทางพัฒนา พบว่า ควร
พฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศโรงเรยี นทีด่ ี พฒั นาแผนกลยทุ ธแ์ ละแผนปฏิบัติการให้มีความสอดคล้องกัน มี

83

ระบบนิเทศภายในที่ดี จัดระบบการประกันคุณภาพภายใน มีการดาเนินการอย่างต่อเน่ืองและมี
ประสิทธิภาพ หลักสูตรทอ้ งถน่ิ มีความสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผเู้ รยี น และท้องถิ่น เน้นแผนงานและ
กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ีม่ งุ่ ผลสมั ฤทธ์แิ ละคณุ ภาพของผู้เรยี น มกี ารพฒั นาระบบทมี งานท่ีดี มกี ารพัฒนาเทคนิค
วิธีการสอนท่ีหลากหลาย ครูควรศึกษาเปูาหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตรสถานศึกษาให้ชัดเจน
พัฒนาการใชส้ ือ่ นวตั กรรมและเทคโนโลยี ส่งเสริมจัดทาแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการ ใช้ส่ือและแผนการ
เรยี นร้โู ดยมุ่งเนน้ ผลสมั ฤทธ์ขิ องผูเ้ รียน ส่งเสริมการทาวิจัยในช้ันเรียนเพื่อแก้ปัญหาด้านการเรียนรู้ พัฒนา
ระบบการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ผู้เรียนมีความรู้ในการจาแนกข้อมูล การคิดวิเคราะห์ คิด
แบบสังเคราะห์ด้วยตนเองได้ มีการพัฒนาการคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ส่งเสริมการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
พัฒนาทักษะความรู้ในรายวิชาที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ากว่าเกณฑ์ ส่งเสริมการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ในการเรียนรู้
พฒั นาทักษะการเรียนรูใ้ ห้เต็มศักยภาพ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายท้ังภายใน
และภายนอกสถานศกึ ษา

อรุณ ใจปานแก่น (2550) ได้ศึกษาเร่ือง แนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนรู้ท่ี
เน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคัญแบบบูรณาการ กรณีศกึ ษา : โรงเรียนบา้ นวังหนิ ซา สังกัดสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
หนองบัวลาภู เขต 2 กลุ่มตวั อย่าง ไดแ้ ก่ ครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน กรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน
และผู้นาชุมชนของโรงเรียนบ้านวังหินซา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ผล
การศึกษา พบว่า 1) สภาพ และปัญหาการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการของโรงเรียนบ้านวังหินซา สังกัด
สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาหนองบวั ลาภูเขต 2 มีดังตอ่ ไปนี้ (1) โรงเรียนมีแหล่งเรยี นรู้ภายในท่ีเอ้ือต่อการ
เรียนรู้ แต่ส่ือ อุปกรณ์การสอนยังมีไม่เพียงพอ งบประมาณของโรงเรียนมีจากัด ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วน
ร่วมในการพัฒนาการจัดการศึกษาค่อนข้างน้อย การพัฒนาการเรียนการสอนของครูตามแผนพัฒนา
บุคลากรไม่บรรลุตามเปูาหมาย (2) ครูขาดความรู้ความเข้าใจ การจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบ
บูรณาการ (3) ครูสว่ นใหญย่ ดึ ตดิ กบั การสอนรปู แบบเดิม ไม่ชินกบั การนิเทศ ผู้บริหารเขา้ มารับตาแหน่งใหม่
ยังไม่มีการวางระบบนิเทศ กากับ ตดิ ตามที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน 2) ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้
สว่ นเสยี ในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการของโรงเรียนบ้านวังหินซา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
หนองบัวลาภเู ขต 2 มดี ังตอ่ ไปน้ี (1) ตอ้ งการให้โรงเรียนเน้นการจัดสรรงบประมาณพัฒนาวิชาการ พัฒนา
ครู และพฒั นาสอื่ แหลง่ เรยี นรใู้ หเ้ ออ้ื ต่อการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการ (2) ต้องการให้โรงเรียนวางระบบ
นิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลงานทุกงานในโรงเรียน โดยเฉพาะการปฏิบัติงานหลักของครูท่ีต้อง
พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการอย่างจริงจัง 3) แนวทางการพัฒนาการจัดการ
เรียนร้แู บบบรู ณาการ ของโรงเรยี นบ้านวังหินซา สงั กัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 มี
ดังตอ่ ไปน้ี 1) โรงเรยี นต้องจดั สรรงบประมาณพัฒนาเพื่อพฒั นาการจัดการเรียนการสอนอย่างเต็มท่ี เร่งทา
ความเข้าใจกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียถึงบทบาท การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และกาหนดแนวทางการ
จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการให้ชัดเจน 2) โรงเรียนต้องส่งเสริมการทางานเป็นทีม ครูต้องปรับ
พฤติกรรมการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมการ

84

เรยี นการสอนแบบบูรณาการ จนนาไปปฏบิ ัติจรงิ ได้ ท้ังนี้โรงเรียนต้องมีนโยบาย แนวทางการปฏิบัติ มีการ
นิเทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและนาผลการประเมนิ ไปพฒั นาท้ังระบบอยา่ งต่อเนือ่ ง

85

มาจาก 2.3.1
กระทรวงศึกษาธิการ (2547) กล่าวถึงความหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนท่ีเน้นผู้เรียน

เป็นสาคัญว่า หมายถึง การกาหนดจุดหมาย สาระ กิจกรรม แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียน และการวัดผล
ประเมินผล ท่มี งุ่ พัฒนา “คน” และ “ชีวติ ” ใหเ้ กดิ ประสบการณก์ ารเรียนรเู้ ต็มความสามารถ สอดคล้องกับ
ความถนัด ความสนใจ และความตอ้ งการของผูเ้ รยี น กิจกรรมการเรียนคานึงถงึ ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ชว่ ยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สัมผัสและสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ทั้งที่เป็นเพ่ือนมนุษย์ ธรรมชาติ และเทคโนโลยี
ผู้เรียนได้ค้นคว้า ทดลองฝึกปฏิบัติ แลกเปล่ียนเรียนรู้จนค้นพบสาระสาคัญของบทเรียน ได้ฝึกวิธีคิด
วิเคราะห์ สร้างสรรค์จินตนาการ และสามารถแสดงออกได้ชัดเจน มีเหตุผล ครูมีบทบาทปลุกเร้าและ
เสริมแรงศิษย์ในทุกกจิ กรรมให้ค้นพบคาตอบและแก้ปัญหาด้วยตนเอง รวมท้ังการร่วมทางานเป็นกลุ่ม จัด

86

กิจกรรมปลกู ฝังคณุ ธรรม ความมวี นิ ยั รับผิดชอบในการทางาน ผ้เู รยี นมีโอกาสฝึกการประเมินและปรับปรุง
ตนเอง ยอมรับผ้อู ่ืน สรา้ งจิตสานกึ ในความเป็นพลเมอื งและเปน็ พลโลก


Click to View FlipBook Version