The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padayanang, 2022-04-23 20:18:38

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรม

บทที่ 3
วธิ ดี าเนินการวิจยั

ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยโดยใช้รูปแบบการวิจัยและพัฒนา (research and
development : R&D) ท่ีใช้หลักการวิจัยแบบผสมผสาน (mixed methodology) ระหว่างการวิจัยเชิง
ปริมาณและวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ

3.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั

3.1.1 เพ่อื ศึกษาสภาพพฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย

3.1.2 เพื่อสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ

3.1.3 เพ่ือศกึ ษาผลการทดลองใชร้ ปู แบบกระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ี
เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั

3.2 การพฒั นากระบวนการ

โดยมีขั้นตอนการพัฒนากระบวนการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพ่ือส่งเสริม
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของผูเ้ รียน วิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จังหวัดเลย เป็น 4 ระยะ ดงั น้ี

ระยะท่ี 1 การศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวัดเลย

ระยะที่ 2 การสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียน
เปน็ สาคญั

ระยะที่ 3 การตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความเป็น
ประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครผู ู้สอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ

ระยะที่ 4 การทดลองใชก้ ระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั

ในแต่ละระยะมีสาระสาคัญเกี่ยวกับวิธีดาเนินการวิจัยและผลลัพท์ที่ต้องการ แสดงใน
ภาพประกอบที่ 2 ดงั ต่อไปนี้

86

ขัน้ ตอนการวิจยั วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผลลพั ท์
ขอ้ มูลเบื้องตน้ ในการ
ระยะท่ี 1 การศกึ ษาสภาพพฤติกรรมการสอนของ 1 วเิ คราะห์เอกสารตา่ ง ๆ เกี่ยวกับการ สรา้ งรูปแบบ
ครผู ู้สอน ในวิทยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย จังหวดั เลย จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็น กระบวนการพัฒนา
สาคญั พฤติกรรมการสอน
ขั้นที่ 1 ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัย 2 ใชแ้ บบสอบถามสารวจพฤตกิ รรมการ ของครผู ู้สอนท่ีเน้น
ขน้ั ท่ี 2 สอบถามสารวจพฤติกรรมการสอนของครผู สู้ อน สอนของครผู ู้สอนในวทิ ยาลยั การอาชีพ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ
ในวิทยาลัยการอาชพี ด่านซา้ ย จงั หวดั เลย ด่านซ้าย จังหวัดเลย
ขน้ั ที่ 3 พหกุ รณีศกึ ษา 3 ตรวจสอบเอกสารการสอน, สงั เกต กระบวนการพัฒนา
ขนั้ ท่ี 4 ประชุมกลุ่มเพอ่ื วเิ คราะห์ SWOT การสอน, สัมภาษณค์ รูผูส้ อน ผเู้ รียน พฤตกิ รรมการสอน
ขั้นท่ี 5 ประชุมหัวหนา้ สาขาวิชาเพ่ือสรปุ ผลการศึกษา ผบู้ รหิ าร ผปู้ กครอง ของครผู ู้สอนทเ่ี นน้
สภาพพฤตกิ รรมการสอนของครูผูส้ อน 4 ประชุมกลุม่ เพ่อื วิเคราะห์ SWOT ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
ขั้นท่ี 6 จดั ทากระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ 5 ผลสรปุ จากการประชุม
ครผู ้สู อนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั 1 สรุปผลการสนทนากลมุ่ กระบวนการพัฒนา
2 การปรบั ปรุงกระบวนการพฒั นา พฤติกรรมการสอน
ระยะที่ 2 การสรา้ งรูปแบบกระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรม พฤติกรรมการสอนของครูผูส้ อนทเี่ น้น ของครผู ูส้ อนทเ่ี น้น
การสอนของครผู สู้ อนทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั ผเู้ รียนเปน็ สาคญั ผู้เรยี นเป็นสาคญั

ขน้ั ท่ี 1 ประชุม สนทนากลุ่มกับหัวหน้าสาขาวิชาเพ่ือหา 1 ใชแ้ บบสอบถาม สอบถามในวงกว้าง ผลการทดลองใช้
ฉนั ทามติ เกีย่ วกบั ความเหมาะสม, ความเปน็ ไป กระบวนการพัฒนา
ได้, ความสอดคล้อง และความเปน็ พฤตกิ รรมการสอน
ข้ันท่ี 2 สรปุ ผลและนาเสนอกระบวนการพฒั นา ประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนา ของครผู ู้สอนทเ่ี นน้
พฤติกรรมการสอนของครผู สู้ อนทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั พฤตกิ รรมการสอนของครูผูส้ อนทีเ่ น้น ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
ผู้เรียนเป็นสาคัญ กระบวนการพัฒนา
ระยะที่ 3 การตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, 2 สรุปผลการประชมุ กลุม่ เพ่อื หาฉนั ทา พฤติกรรมการสอน
ความสอดคล้อง และความเปน็ ประโยชน์ ของ มติ สอบถามในวงกว้างเก่ยี วกับความ ของครูผู้สอนท่ีเน้น
กระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอนทีเ่ นน้ เหมาะสม, ความเปน็ ไปได้, ความ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ
ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ สอดคลอ้ ง และความเป็นประโยชน์
ของกระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการ
ขั้นท่ี 1 สอบถามในวงกว้างเก่ยี วกับความเหมาะสม, สอนของครูผสู้ อนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็
ความเปน็ ไปได้, ความสอดคลอ้ ง และความเปน็ ประโยชน์ สาคัญ
ของกระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอนท่ี
เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ 1 ทดลองใชก้ ระบวนการพฒั นา
พฤติกรรมการสอนของครูผ้สู อนทเี่ น้น
ขน้ั ที่ 2 จัดประชมุ สมั มนากลมุ่ เพื่อหาฉันทามตเิ กยี่ วกับ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญทุกสาขาวชิ า ใน
ความเหมาะสม, ความเปน็ ไปได้, ความสอดคล้อง และ วทิ ยาลยั การอาชีพด่านซา้ ย จังหวดั
ความเป็นประโยชน์ ของกระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการ เลย
สอนของครูผู้สอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคญั 2 ตดิ ตามผลการทดลองใช้โดยใชแ้ บบ
ประเมิน การสังเกต การวิเคราะห์
ระยะท่ี 4 การทดลองใช้กระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการ เอกสาร
สอนของครผู ้สู อนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
ขั้นที่ 1 ประเมนิ เพ่อื แก้ไขปญั หา
ขั้นที่ 2 ทดลองใช้กระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของ
ครผู ้สู อนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
ขั้นที่ 3 ติดตามผลการทดลองใช้ กระบวนการพัฒนา
พฤติกรรมการสอนของครผู สู้ อนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั
ขั้นท่ี 4 ปรับปรุงกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครูผูส้ อนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ

ภาพประกอบที่ 2 วธิ ดี าเนินการวิจยั

87

โดยมรี ายละเอยี ดในการวิจัยแต่ละขั้นตอน ดังน้ี
ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวัดเลย

ขน้ั ที่ 1 ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาแนวคิด หลักการ ข้ันตอน
เทคนคิ วธิ กี ารเก่ยี วกบั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น การสอนแบบปฏิบัติการ การเรียนที่
ใช้ปญั หาเปน็ ฐาน วิธสี อนโดยใช้การทดลอง การสอนแบบวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาเรียนรู้เป็นกลุ่ม และ
งานวิจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง โดยวเิ คราะห์เนือ้ หา การจัดกลุ่มข้อมูล แล้วสังเคราะห์ข้อมูล เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานใน
การกาหนดกรอบแนวคิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (รายละเอียดปรากฏใน
ภาคผนวก ก หน้า 164)

ข้ันท่ี 2 สอบถามสารวจพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวดั เลย โดยการจดั ทาแบบสอบถามเกย่ี วกับสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัย
การอาชีพดา่ นซ้าย จังหวัดเลย เกย่ี วกับ ขั้นเตรียมการ เช่น การเตรียมตนเอง การเตรียมแหล่งข้อมูล การ
จัดทาแผนการเรียนรู้, ข้ันดาเนินการ เช่น การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง การจัด
กิจกรรมให้ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและกลุ่มและแหล่งเรียนรู้หลากหลาย การจัดกิจกรรม
เคล่อื นไหวทางกายอยา่ งเหมาะสมกบั วยั และความสนใจ การเรียนร้ตู ามกระบวนการตา่ งๆ การนาความรู้ไป
ประยกุ ต์ใช้, ข้นั ประเมนิ ผล เช่น วดั ผลประเมินผลดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย วัดผลประเมินผลตามสภาพจริง
วดั ผลประเมินผลจากแฟ้มสะสมผลงาน โดยสอบถามท้ังครูผูส้ อนทกุ คน และผเู้ รียนโดยการสุ่มตัวอย่างแบบ
แบง่ ชนั้ ภมู ใิ นทกุ สาขาวชิ า (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ข หน้า 196)

1 เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม (questionnaires) 1 ชุด มี 2 ตอน มี

ลักษณะดังน้ี (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ข หนา้ 214)
ตอนท่ี 1 สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบ

แบบสอบถาม มีลกั ษณะเปน็ แบบตรวจสอบรายการ (checklist) ได้แก่ ครผู ู้สอน ผ้เู รยี น
ตวั อยา่ งเคร่ืองมือ
คาชแี้ จง
โปรดเขยี นเครื่องหมาย  ลงใน ( ) หนา้ ข้อความทต่ี รงกบั ความเป็นจรงิ เกีย่ วกบั

ผู้ตอบแบบสอบถาม
1) สถานภาพ
( ) ครูผู้สอน ( ) ผเู้ รียน

88

ตอนท่ี 2 สภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย

จังหวัดเลย สอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน เป็นแบบมาตราส่วน

ประมาณคา่ (rating scale) มี 5 ระดับ

ตวั อยา่ งเคร่ืองมอื

คาช้ีแจง

ในฐานะทผ่ี ู้ตอบแบบสอบถามเปน็ ผ้เู ก่ยี วขอ้ งกับการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน

เปน็ สาคญั ในวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย จังหวัดเลย โปรดพิจารณาวา่ วทิ ยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัด

เลย มีการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรายการต่อไปนี้มากน้อยเพียงใด โปรดเขียนเคร่ืองหมาย

 ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั ความเปน็ จริง โดยมีเกณฑก์ ารพิจารณาดงั น้ี

5 หมายถงึ มีการปฏิบตั อิ ยู่ในระดับมากท่ีสุด

4 หมายถึง มกี ารปฏบิ ตั ิอยู่ในระดบั มาก

3 หมายถงึ มีการปฏิบตั อิ ยู่ในระดับปานกลาง

2 หมายถึง มีการปฏบิ ตั ิอยู่ในระดับนอ้ ย

1 หมายถงึ มกี ารปฏิบตั ิอยูใ่ นระดบั นอ้ ยทสี่ ุด

ขอ้ ท่ี รายการ ระดบั การปฏบิ ตั ิ
54 321

การเตรียมตนเอง

0 ครผู ู้สอนมีการปรบั กระบวนทศั น์ของตนเองตามแนวคดิ การจดั การ

เรียนรู้ทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั

00 ครผู ู้สอนมีการปรับท่าทจี ากการสอนแบบเดิมสูท่ ่าทใี หม่ คอื ท่าทขี อง

ผวู้ จิ ยั และพฒั นา

2 การสรา้ งเครอ่ื งมอื

ในการสร้างเคร่ืองมือสาหรับการวิจัย ผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างตามลาดับขั้นตอนดัง

รายละเอียดตอ่ ไปนี้

2.1 กาหนดจดุ มงุ่ หมายในการสรา้ งเครือ่ งมือ เพื่อใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

2.2 ศึกษาข้อมูลเก่ียวกับเนื้อเร่ืองและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย จาก

เอกสาร บทความ ผลงานวิจัยทเี่ กี่ยวข้องกับตัวแปรท่ีจะศึกษา เพื่อนิยามตัวแปรที่จะศึกษา ตลอดจนศึกษา

วิธีการสร้างแบบสอบถาม

2.3 นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษา และวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง

กาหนดเปน็ กรอบแนวคิด (framework)

2.4 สรา้ งเครอ่ื งมอื วจิ ยั

89

2.5 เสนอเครื่องมือการวิจัยที่ปรับปรุงแล้ว ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพของ
เคร่ืองมือในด้านความตรงเชิงโครงสร้าง (construct validity) และด้านความตรงเชิงเนื้อหา (content
validity) โดยหาคา่ เฉลยี่ ความคดิ เหน็ ของผู้เชี่ยวชาญด้วยวธิ หี าค่าดชั นคี วามสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับ
วตั ถุประสงคก์ ารวัดตามนิยามศัพท์ (index of item objective congruence : IOC) ของโรวิเนลลีและแฮมเบล
ตัน (Rowinelli and Hambleton) 1977 (อ้างถึงใน ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538) และเลือก
ข้อที่มีค่า IOC ตั้งแต่ .50 ขึ้นไปเป็นคาถาม โดยแบบสอบถามทุกฉบับมีค่า IOC รายข้อระหว่าง .60-1.00
(รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ข หนา้ 221)

2.6 ปรับปรุงแก้ไขเก่ียวกับการใช้ภาษา คาชี้แจง ข้อความให้มีความชัดเจนของ
แบบสอบถามตามที่ผ้เู ชย่ี วชาญเสนอแนะ

2.7 นาแบบทดสอบไปทดลองใช้ กลุ่ม try out คือ ครูผู้สอน และผู้เรียนของ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเลย จังหวัดเลย จานวน 60 คน นามาหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามได้ค่าความ
เทย่ี ง 0.95 (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ข หนา้ 234)

2.8 ทาการปรับปรุง แก้ไขข้อความท่ีไม่เหมาะสม จัดทาเป็นแบบสอบถามฉบับ
สมบรู ณ์

กาหนดจุดมงุ่ หมาย

ศกึ ษาขอ้ มูล

กาหนดกรอบแนวคดิ

สรา้ งเครื่องมือ

เสนอผเู้ ช่ียวชาญตรวจสอบคุณภาพ

นาเครื่องมอื ทดลองใช้

ปรับปรุงเครอ่ื งมอื

เก็บรวบรวมขอ้ มูล

ภาพประกอบท่ี 3 แสดงข้นั ตอนการสร้างเครือ่ งมือ

3 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
ประชากร
ประชากรท่ีใช้ในการวจิ ัยคร้ังนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย

จานวน 32 คน และผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวดั เลย จานวน 448 คน รวมทง้ั สน้ิ 480 คน

90

กลุ่มตวั อยา่ ง
กลมุ่ ตัวอย่างทใ่ี ช้ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง
ของเครซ่ีมอร์แกน (อ้างถึงใน ประยูร อาษานาม, 2543) ได้กลุ่มตัวอย่างเป็นครูผู้สอนในวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้าย จังหวัดเลย จานวน 14 คน ผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย จานวน 200 คน รวม
ท้ังส้นิ 214 คน
การสุ่มตวั อยา่ ง
เพอ่ื ใหก้ ลมุ่ ตัวอย่างเป็นตัวแทนที่ดีของประชากรท้ังหมดในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการ
สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งช้ันภูมิ (stratified random sampling) ในการวิเคราะห์ โดยแยกเป็นครูผู้สอน จานวน 14 คน
และผเู้ รยี น จานวน 200 คน นกั วจิ ยั ไดเ้ สนอแนะกลมุ่ ตัวอยา่ งขนั้ ตา่ อยา่ งน้อย 200 คน (สาเริง บุญเรืองรัตน์,
2540) ในท่ีน้ีผู้วิจัยจึงใช้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 214 คน และคานวณสัดส่วนจากขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสาขาวิชา
แลว้ จาแนกได้ตามตามตาราง ดังนี้

ตารางที่ 2 การคานวณสดั สว่ นจากขนาดกลมุ่ ตัวอย่าง

1 ครผู ู้สอน ประชากร (ปกี ารศึกษา 2564) กลุ่มตวั อยา่ ง (ปกี ารศึกษา 2564)
2 ผูเ้ รยี น จานวน (คน) จานวน (คน)
32 14
448 200

รวม 480 214
ทม่ี า : งานทะเบียน และงานบคุ ลากร วิทยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย ปีการศึกษา 2564

ตารางท่ี 3 การสุ่มตวั อย่างแบบชั้นภูมิของผเู้ รยี น

1 สาขาวิชาช่างยนต์ ประชากร (ปกี ารศึกษา 2564) กล่มุ ตวั อยา่ ง (ปกี ารศกึ ษา 2564)
2 สาขาวิชาชา่ งเช่ือมโลหะ จานวน (คน) จานวน (คน)
3 สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากาลงั 118 53
4 สาขาวิชาช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 13 6
5 สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน 68 30
6 สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ 33 15
72 32
29 13

7 สาขาวิชาการบญั ชี 91 31
8 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ 20
70
รวม 45 200
448

4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย จานวน 221

ฉบบั นาแบบสอบถามมาตรวจสอบความถูกตอ้ งสมบูรณ์
5 การวิเคราะห์ขอ้ มลู
ในการวจิ ัยครั้งนี้ ทาการวิเคราะหข์ อ้ มูลที่เก็บรวบรวมมาโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทาง

สถิติ สาหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถิติทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ดงั ต่อไปนี้
5.1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ใชแ้ จกแจงความถี่และหาค่ารอ้ ยละ
5.2 วิเคราะห์ข้อมูลสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน โดยใช้ค่าเฉลี่ย และค่า

เบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้สเกลของลิเคิร์ท (Likert) เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) ได้จากการ
วิเคราะห์รายขอ้

การแปลผลขอ้ มูลใช้เกณฑ์ (บุญชม ศรสี ะอาด, 2543) ดังน้ี
4.51 – 5.00 หมายถึง ความคิดเหน็ ต่อสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนอยู่ใน

ระดบั มากท่สี ดุ
3.51 – 4.50 หมายถึง ความคิดเห็นตอ่ สภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนอยู่ใน

ระดบั มาก
2.51 – 3.50 หมายถึง ความคดิ เหน็ ตอ่ สภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนอยู่ใน

ระดบั ปานกลาง
1.51 – 2.50 หมายถึง ความคดิ เห็นต่อสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนอยู่ใน

ระดบั น้อย
1.00 – 1.50 หมายถงึ ความคิดเห็นต่อสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนอยู่ใน

ระดบั นอ้ ยท่สี ุด
6 สถติ ิที่ใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
6.1 สถติ ติ รวจสอบคุณภาพของเครอื่ งมือ ได้แก่
6.1.1 ตรวจสอบความตรงเชงิ เน้อื หา โดยวธิ ีการหาคา่ ดัชนีความสอดคลอ้ ง (IOC)
6.1.2 หาค่าความเท่ียงของแบบสอบถาม โดยใชส้ ูตรสัมประสิทธ์ิแอลฟ่า ตามวิธีของ

คอนบาค ไดค้ ่าความเท่ยี ง (reliability) รวมทั้งฉบับ

92

6.2 สถติ พิ น้ื ฐาน
6.2.1 การแจกแจงความถ่ี (frequency)
6.2.2 คา่ ร้อยละ (%)
6.2.3 คา่ เฉล่ีย (  )
6.2.4 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

ข้ันท่ี 3 พหุกรณศี กึ ษา
1 การตรวจสอบเอกสารการสอน เช่น แผนการเรียนรู้ และการสังเกตการสอนในช้ัน

เรียนของครูผู้สอน ในแต่ละสาขาวิชา โดยการแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการตรวจสอบเอกสารการสอนของ
ครูผสู้ อน (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ค หนา้ 244)

1.1 เครอื่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบตรวจสอบแผนการเรียนรู้

และแบบสังเกตการสอนในชั้นเรียนของครูผู้สอน จากศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือท่ีไดผ้ ่านการระดมความคดิ เห็นในการจดั ทาเคร่อื งมือจากครูผู้สอน และผ่านการระดม
ความคดิ เห็นจากผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ค
หน้า 249, 263)

1.2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
1.2.1 การตรวจสอบแผนการเรียนรู้ โดยการตรวจสอบเอกสารการสอน คือ

แผนการเรยี นรู้ ตามแบบตรวจสอบที่กาหนด วา่ มอี งค์ประกอบตามทกี่ าหนดหรือไม่ (รายละเอียดปรากฏใน
ภาคผนวก ค หนา้ 244)

1.2.2 การสังเกตการสอนในชั้นเรียนของครูผู้สอน โดยการสังเกตการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรขู้ องครผู สู้ อน ตามแบบสังเกตท่ีกาหนด (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ค หนา้ 244)

1.3 การวิเคราะหข์ อ้ มูล
1.3.1 การตรวจสอบแผนการเรียนรู้ ข้อมูลจากการตรวจสอบเอกสารการสอน

ผู้วิจัยจะนามาวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) โดยการจัดกลุ่มข้อมูล อธิบายความเรียง แล้ว
สังเคราะห์ข้อมูลเพ่ือกาหนดเปน็ กรอบแนวคิด และองค์ประกอบในกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอน
ของครผู ู้สอนทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ค หน้า 255)

1.3.2 การสังเกตการสอนในชั้นเรียนของครูผู้สอน ใช้วิธีหาค่าเฉล่ีย ( X )
และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ค หนา้ 267)

2 การสมั ภาษณ์เชงิ ลึก เพอื่ สมั ภาษณ์ความคดิ เหน็ เกี่ยวกับสภาพการจัดการเรียนรู้ใน
ปัจจุบัน กลุ่มเปา้ หมาย ไดแ้ ก่ ครผู ้สู อน ผู้เรียน ผบู้ ริหาร ผ้ปู กครอง

การสัมภาษณ์ครูผู้สอน เป็นการสัมภาษณ์เกี่ยวกับ การสารวจความต้องการและ
ข้อมูลของผู้เรียนเพ่ือการเตรียมจัดกระบวนการเรียนรู้ การกาหนดส่ือการเรียนรู้ในแต่ละเนื้อหา การ

93

จัดเตรยี มแหลง่ เรยี นรู้สาหรบั การคน้ คว้าของผูเ้ รยี น การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาท่ีเป็นทฤษฎี และ
ปฏิบัติ การมอบหมายงานให้ผู้เรียนปฏิบัติ วิธีการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน การจัด
กระบวนการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาผู้เรยี นใหม้ ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้นึ (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ง
หน้า 288)

โดยกาหนดคุณสมบัติของครูผู้สอน คือ เป็นครูผู้สอนที่ปฏิบัติหน้าที่ในการจัด
กระบวนการเรยี นรู้สาขาวิชาละ 1 คน ซ่งึ ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling)

การสัมภาษณ์ผ้เู รยี น เป็นการสมั ภาษณเ์ กยี่ วกับ การมโี อกาสได้แสดงความต้องการ
ในการเรียนรู้ของผู้เรียนต่อครูผู้สอน การได้มีโอกาสเรียนรู้จากส่ือการเรียนรู้ต่างๆ ของผู้เรียน ผู้เรียนได้
ศกึ ษาคน้ คว้าหาความรู้เพิม่ เตมิ จากแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ ผเู้ รยี นได้มีโอกาสเข้าร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่
ละวิชา ผเู้ รียนได้มโี อกาสฝึกทกั ษะในการปฏิบัติ ผูเ้ รยี นไดม้ ีโอกาสในการวางแผนการฝึกทักษะ/ปฏิบัติ หรือ
การค้นคว้าหาความร้เู พม่ิ เติม การเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน (รายละเอียด
ปรากฏในภาคผนวก ง หน้า 302)

โดยกาหนดคุณสมบัติของผู้เรียน คือ เป็นผู้เรียนที่ศึกษาอยู่ในวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้าย จังหวัดเลย ในปีการศึกษา 2564 สาขาวิชาละ 2 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง
(purposive sampling)

การสัมภาษณ์ผู้บริหาร เป็นการสัมภาษณ์เกี่ยวกับ ข้อที่ควรพัฒนา ปรับปรุงจาก
การนิเทศกระบวนการเรียนรู้ สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย
ปัญหาที่พบ ท่ีเป็นเหตุทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนต่า ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้น
ผเู้ รยี นเป็นสาคญั ท่ีจะทาใหผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนสูงข้ึน การบริหารทรัพยากรในการสนับสนุน
กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้ท่ีสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
(รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ง หนา้ 317)

โดยกาหนดคุณสมบตั ิของผบู้ รหิ าร คือ ต้องเปน็ ผดู้ ารงตาแหน่งผู้บริหารในวิทยาลัย
การอาชพี ดา่ นซ้าย จังหวัดเลย คือ ผ้อู านวยการ รองผู้อานวยการ หัวหน้าสาขาวิชา ซ่ึงได้มาจากการเลือก
แบบเจาะจง (purposive sampling)

การสัมภาษณ์ผู้ปกครอง เป็นการสัมภาษณเ์ กยี่ วกบั การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ
นักศึกษาในความปกครองดแู ล สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย
ปัญหาและแนวทางแก้ไขในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ลักษณะ
ของการเรียนรู้ทีส่ ามารถพฒั นาใหน้ กั ศกึ ษามผี ลการเรียนที่สูงข้ึน (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ง หน้า
333)

โดยกาหนดคุณสมบัติของผู้ปกครอง คือ เป็นผู้ปกครองของผู้เรียนท่ีศึกษาอยู่ใน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ในปีการศึกษา 2564 ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง
(purposive sampling)

94

2.1 เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
เครื่องมือท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณแ์ บบกึ่งโครงสร้าง มี

ลกั ษณะเป็นคาถามแบบปลายเปิด โดยผู้วิจัยได้สร้างแนวคาถามตามกรอบแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ แล้วนาข้อคาถามไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับ
วัตถุประสงค์การวัดตามนิยามศัพท์ IOC เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของข้อคาถาม ว่าตรงประเด็น มี
ความครอบคลมุ ครบถว้ นสมบรู ณ์หรือไม่ สามารถส่อื ความหมายได้เข้าใจตรงกันหรือไม่ ความต่อเนื่องของ
ประเด็นคาถามและคาตอบเป็นอย่างไร จากน้ันนาข้อคาถามมาปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์และ
เหมาะสมต่อไป

2.2 การสรา้ งเครือ่ งมอื
ดาเนินการโดย
2.2.1 ศกึ ษาเอกสารงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
2.2.2 นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาประมวลเพ่ือกาหนดโครงสร้างของ

เครือ่ งมอื
2.2.3 สร้างเคร่ืองมือเป็นแบบสอบถามแบบก่ึงโครงสร้างให้ครอบคลุมกรอบ

แนวคดิ ในการวจิ ยั
2.2.4 นาเครื่องมือท่ีสร้างขึ้นให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบเพ่ือหาค่าความ

สอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับวัตถุประสงค์การวัดตามนิยามศัพท์ (index of Item objective congruence
: IOC) ของโรวิเนลลีและแฮมเบลตัน (Rowinelli and Hambleton) 1977 (อ้างถึงใน ล้วน สายยศ และ
อังคณา สายยศ, 2538) และเลือกข้อที่มีค่า IOC ต้ังแต่ .50 ขึ้นไปเป็นคาถาม โดยแบบสอบถามทุกฉบับมี
คา่ IOC รายข้อระหวา่ ง .60-1.00 (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ง หน้า 301, 316, 332, 342)

2.2.5 จดั ทาเครือ่ งมือฉบับสมบูรณ์
2.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) โดยใช้แนวคาถามตามแบบ
สัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ซึ่งมีลักษณะคาถามแบบปลายเปิด ใช้เป็นแนวทางในการสัมภาษณ์ผู้ที่มี
คณุ สมบัตติ ามทีก่ าหนด

2.4 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพของผู้ให้สัมภาษณ์ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา

ภาพรวม แลว้ นาเสนอในรูปแบบตารางประกอบคาบรรยาย
ตอนที่ 2 ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้วิจัยจะนามาวิเคราะห์เนื้อหา

(content analysis) โดยการจัดกลุ่มข้อมูล อธิบายความเรียง แล้วสังเคราะห์ข้อมูลเพ่ือกาหนดเป็นกรอบ
แนวคิด และองค์ประกอบในกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ตอ่ ไป

95

ขนั้ ท่ี 4 ประชุมกลุ่มเพ่ือวิเคราะห์ SWOT เป็นการประชุมกลุ่มผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียน ซ่ึงได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (purposive
sampling) เพื่อวิเคราะห์ถึง จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ของการบริหารทรัพยากรในการ
สนับสนนุ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนร้ขู องครูผู้สอน

1 เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู
เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวิเคราะห์ SWOT การบริหาร

ทรพั ยากรในการสนบั สนบั สนนุ กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน ท่ีประกอบไปด้วย จุดแข็ง
จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก จ หน้า 352)

2 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
ดาเนินการประชุมกลุ่ม โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ กลุ่มละประมาณ 4-6 คน เพื่อ

ระดมความคิดเหน็ ในการบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการสนบั สนับสนุนกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ของครูผสู้ อน แลว้ นาแต่ละกลมุ่ สรุปเปน็ ภาพรวม

3 การวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลจากการประชุมกลุ่ม ผู้วิจัยจะนามาวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)

อธิบายความเรียง แล้วสังเคราะห์ข้อมูลเพ่ือกาหนดเป็นกรอบแนวคิด และองค์ประกอบใน
กระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครผู ู้สอนต่อไป (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก จ หน้า 344)

ขั้นท่ี 5 ประชุมหัวหน้าสาขาวิชาเพ่ือสรุปผลการศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของ
ครผู ู้สอน และกาหนดรปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ของครผู ู้สอนท่เี น้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ

1 เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู คือ บันทกึ รายงานการประชมุ (รายละเอียด

ปรากฏในภาคผนวก ฉ หน้า 356)
2 การเก็บรวบรวมข้อมลู
ดาเนินการประชุมหัวหน้าสาขาวิชา โดยการนาเอาประเด็น จากการเก็บรวบรวม

ข้อมูลด้วยวิธกี ารต่างๆ คือ การศึกษาเอกสารและงานวิจัย การสารวจพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ใน
วทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย การตรวจสอบเอกสารการสอน การสังเกตการสอนในช้ันเรียนของ
ครูผ้สู อน การสัมภาษณ์เชิงลกึ การประชุมกลุ่มเพ่ือการวเิ คราะห์ SWOT สรปุ ผลการศึกษาสภาพพฤติกรรม
การสอนของครูผู้สอน และกาหนดรูปแบบกระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียน
เปน็ สาคัญ

3 การวิเคราะหข์ อ้ มลู
ข้อมูลจากการประชุมหัวหน้าสาขาวิชา ผู้วิจัยจะนามาวิเคราะห์เนื้อหา (content

analysis) อธิบายความเรียง แล้วสังเคราะห์ข้อมูลเพ่ือกาหนดเป็นกรอบแนวคิด และองค์ประกอบใน
กระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครผู สู้ อนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั ตอ่ ไป

96

ขั้นที่ 6 จัดทากระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
จากการศึกษาข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ ผู้วิจัยจะนามาวิเคราะห์เนื้อหา (content

analysis) โดยการจัดกลุ่มข้อมูล แล้วสังเคราะห์ข้อมูล เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดทากระบวนการพัฒนา
พฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ตามลาดบั ดงั นี้

1 กาหนดองค์ประกอบของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่
เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั โดยการสงั เคราะห์ขอ้ มูลจากผลการวิจยั

2 จัดทากระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ โดยนาข้อมูลตามองค์ประกอบของกระบวนการมาเรียบเรียงและนาเสนอเป็นกระบวนการพัฒนา
พฤติกรรมการสอนของครผู สู้ อนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ช หน้า 367)

ระยะที่ 2 การสร้างรูปแบบกระบวนการสอนของครผู ู้สอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
ข้นั ที่ 1 ประชมุ สนทนากลมุ่ กับหัวหนา้ สาขาวิชาเพ่อื หาฉนั ทามติ
จัดประชุม สนทนากลุ่มกับหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อหาฉันทามติในกระบวนการพัฒนา

พฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั
1.1 การสร้างและหาคุณภาพของเคร่ืองมือ ศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับ

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ นามาสร้างเป็นแบบสอบถาม
สาหรับหวั หนา้ สาขาวิชา

เป็น แ บบสอ บถา มเก่ีย วกับ กระ บ วน ก ารพัฒ น าพ ฤติกร รมก ารสอ น ขอ ง
ครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในลักษณะ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย เหตุผล/คาชี้แจง และคาถามปลายเปิด
(รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ซ หนา้ 380)

1.2 เสนอเครื่องมือการวิจัยท่ีปรับปรุงแล้วให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบคุณภาพของ
เคร่ืองมือทางด้านความตรงเชิงโครงสร้าง (construct validity) และทางด้านความตรงเชิงเนื้อหา (content
validity) โดยหาค่าเฉลีย่ ความคดิ เหน็ ของผเู้ ชย่ี วชาญดว้ ยวิธีหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับ
วัตถุประสงค์การวัดตามนิยามศัพท์ (index of Item objective congruence : IOC) ของโรวิเนลลีและแฮมเบล
ตัน (Rowinelli and Hambleton) 1977 (อา้ งถึงใน ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538) และเลือก
ข้อที่มีค่า IOC ต้ังแต่ .50 ข้ึนไปเป็นคาถาม โดยแบบสอบถามทุกฉบับมีค่า IOC รายข้อระหว่าง .60-1.00
(รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ซ หน้า 384)

1.3 ปรบั ปรุงแก้ไขเกี่ยวกับการใช้ภาษา คาช้ีแจง ข้อความให้มีความชัดเจนของ
แบบสอบถามตามทผี่ ้เู ชย่ี วชาญเสนอแนะ

1.4 นาแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ไปใช้ในการประชุมหัวหน้าสาขาวิชา แล้วทา
การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม และ
กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ วิเคราะห์ด้วยค่าสถิติร้อยละ

97

และนาเสนอในรูปแบบตารางและพรรณนาความ ส่วนคาถามปลายเปิดวิเคราะห์ด้วยวิธีวิเคราะห์เน้ือหา
(content analysis)

1.5 กาหนดประเด็นการประชุม เพ่ือสรุปตัวชี้วัด (key performance
indicators : KPIs) ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครผู ู้สอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ

1.6 ประชุมหัวหน้าสาขาวิชา ของวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย
(รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ซ หนา้ 371)

1.7 ดาเนินการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ตามขอ้ เสนอแนะ
ขัน้ ท่ี 2 สรุปผลและนาเสนอกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคญั

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
(รปู แบบการเรียนร้ทู ี่เนน้ การปฏบิ ัติซ่ึงใช้ปญั หาเปน็ ฐานโดยกระบวนการกลุ่ม) ได้นาเสนอหัวหน้าสาขาวิชา
เพื่อหาฉันทามติ และดาเนินการปรับปรุงและเพ่ิมเติมสาระให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เพ่ือให้ครูผู้สอน
สามารถนาไปใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้จรงิ (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ฌ หน้า 386)

ระยะท่ี 3 การตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความเป็น
ประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครผู ้สู อนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั

ขั้นท่ี 1 สอบถามในวงกว้างเกย่ี วกับความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และ
ความเป็นประโยชน์ ของกระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครผู ูส้ อนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ

โดยให้ผู้เช่ียวชาญ จานวน 7 คน ตรวจสอบความเหมาะสม, ความสอดคล้อง,
ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้น
ผู้เรียนเปน็ สาคญั ตลอดจนใหข้ ้อเสนอแนะอนื่ ๆ

เครือ่ งมือท่ใี ช้ในการตรวจสอบกระบวนการ คอื แบบตรวจสอบรูปแบบ ซง่ึ มี 2
ตอน คอื

ตอนที่ 1 แบบตรวจสอบกระบวนการ ซ่ึงมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วน
ประมาณคา่ (rating scale) โดยมีเกณฑ์ในการพิจารณาตรวจสอบรูปแบบ ประกอบด้วยเกณฑ์ 4 ประการ
ดงั นี้ (Guskey, 2000)

1 ด้านความเหมาะสม (propriety) โดยพิจารณาจากความ
ครอบคลุมองค์ประกอบ การใช้ถ้อยคาสานวน การจัดกลุ่มหรือลาดับของเนื้อหา แนวทางการนาไปใช้
ตลอดจนความเหมาะสมกับสถานการณ์

2 ด้านความเป็นไปได้ (feasibility) พิจารณาถึงความสามารถใน
การนาไปสู่การปฏิบัติ ความชัดเจนในกระบวนการดาเนินงาน แนวทางการพัฒนาพฤติกรรม สามารถนาไป
ปฏิบตั ิไดจ้ รงิ และการมที รพั ยากรเพียงพอทีจ่ ะปฏิบตั ิใหส้ าเร็จได้

98

3 ดา้ นความสอดคล้อง (congruity) พิจารณาจากความสอดคล้อง
กับหลักการและทฤษฎี นโยบายระดบั ชาติ บริบทของสถานศกึ ษา และความสอดคล้องสภาพปัญหาปัจจุบัน
และสอดคลอ้ งกับการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ทเ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั

4 ดา้ นความเป็นประโยชน์ (utility) พิจารณาจากประโยชน์ต่อการ
จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ ผลดีท่ีจะเกดิ ขน้ึ ต่อสถานศึกษา ครูผู้สอนและบุคลากร
ทางการศึกษา ผูเ้ รยี น ผูร้ บั บริการและผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียในสถานศกึ ษา

โดยในการใหร้ ะดบั คะแนนการประเมินกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอน
ของครูผู้สอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั กาหนดนา้ หนักคะแนน 5 ระดับ ดงั นี้

5 หมายถึง มีการปฏิบัตอิ ยู่ในระดบั มากท่ีสุด
4 หมายถึง มกี ารปฏิบัตอิ ยู่ในระดับมาก
3 หมายถึง มีการปฏิบัตอิ ยู่ในระดบั ปานกลาง
2 หมายถงึ มีการปฏิบัติอยู่ในระดบั นอ้ ย
1 หมายถงึ มีการปฏิบตั ิอยู่ในระดับน้อยท่ีสุด
ตอนท่ี 2 ความเหน็ และข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม ในการสร้างกระบวนการพัฒนา
พฤติกรรมการสอนของครผู สู้ อนท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ ซ่ึงมลี ักษณะเป็นคาถามปลายเปดิ
1 การสรา้ งเคร่ืองมือ
ดาเนนิ การโดย
1.1 ศกึ ษาเอกสารงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง
1.2 นาข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาประมวลเพื่อกาหนดโครงสร้างของ
เครื่องมือ
1.3 สร้างเครือ่ งมอื เปน็ แบบสอบถามให้ครอบคลมุ กรอบแนวคิดในการ
วิจยั (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ญ หน้า 410)
1.4 เสนอเคร่ืองมือการวจิ ัยที่ปรับปรุงแล้วให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพ
ของเครื่องมือในด้านความตรงเชิงโครงสร้าง (construct validity) และด้านความตรงเชิงเนื้อหา (content
validity) โดยหาคา่ เฉลี่ยความคดิ เห็นของผูเ้ ช่ยี วชาญดว้ ยวิธีหาค่าดัชนคี วามสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับ
วตั ถุประสงค์การวัดตามนิยามศัพท์ (index of item objective congruence : IOC) ของโรวิเนลลีและแฮมเบล
ตัน (Rowinelli and Hambleton) 1977 (อ้างถึงใน ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538) และเลือก
ข้อท่ีมีค่า IOC ตั้งแต่ .50 ข้ึนไปเป็นคาถาม โดยแบบสอบถามทุกฉบับมีค่า IOC รายข้อระหว่าง .60-1.00
(รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ญ หนา้ 417)
1.5 จัดทาเครือ่ งมอื ฉบบั สมบูรณ์

99

2 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
ผู้วิจัยได้นากระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียน

เปน็ สาคัญไปใหผ้ ู้เชย่ี วชาญตรวจสอบดว้ ยตนเอง โดยให้อธิบายถึงวิธีการและขั้นตอนในการดาเนินการวิจัย
และสนทนาอย่างไมเ่ ป็นทางการถึงรปู แบบท่สี รา้ งขน้ึ

3 การวิเคราะหข์ ้อมูล
ข้อมลู จากการประเมินกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ี

เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ ในตอนที่ 1 จะประมวลผลและวิเคราะหข์ ้อมูลทางสถิติ ดังนี้
1 คานวณหาค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard

Deviation) ของคะแนนประเมนิ กระบวนการ
2 เกณฑ์การตัดสินผลการวิเคราะห์ข้อมูล แปลผลข้อมูลโดยใช้เกณฑ์

คา่ เฉลี่ย ดังนี้ (บุญชม ศรสี ะอาด, 2543)
4.51 – 5.00 หมายความว่า มีผลการประเมนิ ในระดับมากทีส่ ุด
3.51 – 4.50 หมายความว่า มีผลการประเมนิ ในระดับมาก
2.51 – 3.50 หมายความว่า มีผลการประเมนิ ในระดบั ปานกลาง
1.51 – 2.50 หมายความว่า มผี ลการประเมินในระดับนอ้ ย
1.00 – 1.50 หมายความว่า มผี ลการประเมนิ ในระดบั นอ้ ยทส่ี ุด

3 นาผลการวิเคราะห์ทางสถิติมาจัดตาราง แปลความหมาย ตีความจาก
ตาราง อภิปรายผล และสรปุ ผลการวิจัย ในรูปแบบของการบรรยายและการอธิบายแบบความเรยี ง

ส่วนข้อมูลจากแบบสอบถามในตอนที่ 2 ความเห็นและข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมใน
การสร้างกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จะวิเคราะห์เน้ือหา
(content analysis) โดยการจัดกลมุ่ ขอ้ มูลเพือ่ อธิบายแบบความเรียง

ผลจากการตรวจสอบรูปแบบจากผู้เช่ียวชาญ ผู้วิจัยจะนาข้อมูลที่ได้จากการ
วิเคราะห์ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มาสังเคราะห์และสรุปเป็นกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการ
สอนของครผู สู้ อนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ เพอื่ นาไปทดลองใช้ตอ่ ไป

ขั้นท่ี 2 จัดประชุมสัมมนากลุ่มเพ่ือหาฉันทามติเกี่ยวกับความเหมาะสม, ความเป็นไปได้,
ความสอดคล้อง และความเป็นประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้น
ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ

โดยการจัดประชมุ สัมมนากลุ่มคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยการ
อาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เพอื่ หาฉนั ทามติเกี่ยวกับความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และ
ความเป็นประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
(รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ฎ หน้า 421)

100

ระยะท่ี 4 การทดลองใช้กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ

การวิจัยในระยะที่ 4 คอื การทดลองใชก้ ระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอน
ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ประกอบด้วยข้ันตอน 4 ขั้นตอน คือ ประเมินเพ่ือแก้ไขปัญหา ทดลองใช้
กระบวนการ การติดตามผลการทดลองใช้กระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการ โดยมีรายละเอียด
ของแตล่ ะข้นั ตอน ดงั นี้

ขนั้ ที่ 1 ประเมินเพอ่ื แกไ้ ขปญั หา
ผู้วิจัยนากระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็น

สาคัญไปทดลองใช้ ดงั น้ี
1 กาหนดหลกั เกณฑ์ในการเลอื กกลมุ่ เป้าหมายทท่ี ดลองใช้
ผู้วิจัยได้คัดเลือกรายวิชาท่ีนามาทดลองใช้เพื่อแก้ไขปัญหา จานวน 3

รายวชิ าที่จัดการเรียนรู้ในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ของวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จังหวัดเลย โดย
คัดเลือกรายวชิ าที่เปน็ ตัวแทนจากประเภทวิชาอุตสาหกรรม จานวน 1 รายวิชา ประเภทวิชา พาณิชยกรรม
จานวน 1 รายวิชา และวชิ าสามัญ จานวน 1 รายวิชา แล้วทาการประเมินทีละรายวิชา ซึ่งจะพิจารณาว่ามี
ปญั หาใดๆ เกิดข้นึ ในการใช้กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบ้าง
เพ่ือนามาปรับปรุงแก้ไขปัญหา โดยดาเนินการซ้าๆ จานวน 3 ครั้ง และได้ดาเนินการประชุมชี้แจงให้กับ
ครผู ้สู อนทงั้ 3 รายวชิ า ในรายละเอียดการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ฏ หน้า
434)

2 เครื่องมือท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู
เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสังเกต (รายละเอียด

ปรากฏในภาคผนวก ฐ หนา้ 456)
3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
สังเกตและจดบันทึก (observation and field-note) โดยผ้วู ิจัยจะทาการ

สังเกตการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน เช่น การเตรียมแผนการเรียนรู้ การนาเข้าสู่บทเรียน การจัด
กระบวนการเรียนรู้ การใช้สื่อการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล การสรุปบทเรียน บุคลิกภาพของ
ครผู สู้ อน ที่เกีย่ วขอ้ งกบั การทดลองใช้กระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ในระหว่างการทดลองใช้ และภายหลังการทดลองใช้กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครผู สู้ อนที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ

4 การวิเคราะห์ข้อมูล
น าข้อ มูลใ น ส่ว น ที่เป็ น ปัญ หาจ าก ก าร ปร ะ เมิน ก าร ทดลอ ง ใ ช้

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยหาค่าเฉล่ีย และสรุป

101

วเิ คราะห์เน้ือหา (content analysis) โดยการจดั กล่มุ ข้อมูล เพอ่ื อธบิ ายแบบความเรียง และปรับปรุงแก้ไข
ปัญหา (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ฐ หน้า 441)

ขน้ั ที่ 2 ทดลองใช้กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ

ผ้วู จิ ยั นารปู แบบกระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียน
เปน็ สาคัญไปทดลองใช้ ดงั น้ี

1 กาหนดหลักเกณฑ์ในการเลือกกลมุ่ เป้าหมายทีท่ ดลองใช้
ครูผสู้ อน 1 คน ตอ่ 1 รายวชิ าที่จัดการเรยี นรู้ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา

2556 ของวิทยาลัยการอาชพี ดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย
2 ข้ันตอนในการทดลองใช้ รูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอน

ของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ ดาเนินการพัฒนาโดยใช้วงจรการวิจัย PAOR ประกอบด้วย 4
ข้ันตอน คอื 1) การวางแผน (planning) 2) การปฏิบัติ (action) 3) การสังเกต (observation) และ 4)
การสะทอ้ นผล (reflection) ทงั้ นี้ผู้วิจยั ไดด้ าเนินการทดลองใช้ กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครูผู้สอนท่เี น้นผ้เู รียนเปน็ สาคญั จานวน 1 วงรอบ ใชร้ ะยะเวลาในการทดลองใช้ 1 ภาคเรียน คือ ภาคเรียน
ท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ดงั น้ี

1 การวางแผน (planning)
ผู้วิจัยได้จัดทาคู่มือการใช้ รูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการ

สอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และจัดประชุมชี้แจงให้กับครูผู้สอน เพื่อสร้างความตระหนัก
ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวคิด และแนวทางในการจัดกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ รวมท้ังร่วมวิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความคาดหวัง กาหนด
ขนั้ ตอนและกิจกรรม การนิเทศ กากับ ติดตาม การประเมินผล มอบหมายภารกิจ (รายละเอียดปรากฏใน
ภาคผนวก ฑ หน้า 461)

2 ข้นั ปฏบิ ัตกิ าร (action)
ผู้วิจัยกาหนดให้ครูผู้สอนทุกท่านร่วมทดลองใช้ ดาเนินการตาม

รูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในภาคเรียนท่ี 2 ปี
การศกึ ษา 2564 ระหว่างเดือน พฤศจกิ ายน 2564 ถงึ เดือน มีนาคม 2565

3 ขนั้ การสังเกต (observation)
ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการดาเนินการ รูปแบบ

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการนิเทศกระบวนการ
เรียนรู้ ความคืบหน้า ปัญหา และอุปสรรคในการดาเนินงาน (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ฒ หน้า
583)

102

4 ข้ันการสะท้อนผล (reflection)
ผู้วิจัยนาข้อมูลการทดลองใช้ กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอน

ของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มาสะท้อนผลการทดลองใช้ และพิจารณาปรับกระบวนการพัฒนา
พฤติกรรมการสอนของครผู สู้ อนทีเ่ น้นผ้เู รียนเปน็ สาคญั ให้เหมาะสมยิ่งขน้ึ ตอ่ ไป

ขัน้ ท่ี 3 ตดิ ตามผลการทดลองใชก้ ระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครผู ูส้ อนท่ีเน้น
ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ

ผู้วิจยั ดาเนนิ การตดิ ตามผลการทดลองใช้ กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอน
ของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการประเมินผลการทดลองใช้กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการ
สอนของครผู ู้สอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ

1 เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูล
เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการติดตามผลการทดลองใช้กระบวนการ มี 2 ชนิด คอื
1 ผลงานวจิ ยั ในชน้ั เรียนของครผู สู้ อน เร่ือง การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

ที่เน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม สาขาวิชา..... ระดับ ..... ปีที่ .....(รายละเอียด
ปรากฏในภาคผนวก ณ หนา้ 595) โดยมขี ัน้ ตอนในการดาเนนิ การ ดงั นี้

1.1 มอบหมายให้ครูผู้สอนทกุ คนจดั ทาผลงานวิจัยในชนั้ เรียน เร่ือง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม สาขาวิชา..... ระดับ
..... ปที ี่ ..... อย่างน้อยคนละ 1 รายวิชา ซง่ึ เปน็ รายวชิ าทต่ี รงกับแผนการเรยี นรูท้ ไี่ ด้จัดทาไวแ้ ล้ว

1.2 ในรายวิชาท่ีจัดทาผลงานวิจัยในชั้นเรียน ที่ตรงกับแผนการ
เรยี นรู้นน้ั ในแผนการเรยี นรูไ้ ดม้ อบหมายให้ครูผ้สู อนจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทเี่ น้นการปฏบิ ตั ซิ ง่ึ ใช้ปัญหาเป็น
ฐานโดยกระบวนการกลุม่ อยา่ งนอ้ ยไมต่ ่ากว่า 5 หนว่ ยการเรยี น แล้วนาขอ้ มูลมาดาเนินการวิจัย สว่ นหนว่ ย
การเรียนอนื่ ๆ ใหจ้ ดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญในรูปแบบอ่ืนๆ ที่สอดคลอ้ งกบั ผ้เู รยี น

1.3 หน่วยการเรียนไม่ต่ากว่า 5 หน่วยการเรียนที่มาดาเนินการ
จัดทาวิจัยในช้ันเรียน มอบหมายให้ครูผู้สอนวัดผลก่อนเรียนและหลังเรียน นาผลมาวิเคราะห์ เพ่ือ
เปรียบเทียบผลการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน และเพื่อประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนท่ีใช้
กิจกรรมการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ การปฏิบตั ซิ ่ึงใชป้ ัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่มเม่ือเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน
80

2 เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น กับ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2554 (เป็นภาคเรียนที่เร่ิมต้นในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการดาเนินการวิจัย) (รายละเอียดปรากฏใน
ภาคผนวก ด หน้า 609)

ขัน้ ท่ี 4 ปรับปรุงกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ

103

นาข้อมูลท่ีได้จากการวิเคราะห์ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มาสังเคราะห์เป็น
แนวทางในการปรับปรุงกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญต่อไป
(รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ต หนา้ 619)

ทงั้ นีส้ ามารถสรปุ ขั้นตอน วิธกี าร เครือ่ งมือและระยะเวลาในการวิจยั ได้ดงั ตาราง
ที่ 4

ตารางที่ 4 สรุปวิธกี าร เครอ่ื งมอื การวิเคราะห์ข้อมูล และระยะเวลาในการวิจยั

วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู เคร่อื งมือ การวิเคราะห์ ระยะเวลา

ขอ้ มูล

ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพพฤตกิ รรมการสอนของครผู ้สู อน ในวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย จังหวัดเลย

1 ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกยี่ วกบั แบบบนั ทกึ วิเคราะหเ์ นอื้ หา 5 พ.ค. 2564

หลกั การและแนวคดิ การจดั กิจกรรมการ (content

เรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ analysis)

2 สอบถามสารวจพฤตกิ รรมการสอนของ แบบสอบถาม  และ S.D. 28 มิ.ย. 2564

ครูผสู้ อน ในวิทยาลัยการอาชพี ด่านซา้ ย

จงั หวดั เลย

3 ตรวจสอบเอกสารการสอน แบบตรวจสอบ วเิ คราะหเ์ นื้อหา 1 ก.ค. 2564

เอกสาร (content

analysis)

4 สมั ภาษณ์เชิงลกึ ครูผู้สอน ผู้เรยี น แบบสัมภาษณ์ วเิ คราะหเ์ นื้อหา 5-16 พ.ค.

ผู้บรหิ าร ผู้ปกครอง แบบบนั ทกึ (content 2564

analysis)

5 ประชุมกลมุ่ เพ่อื วเิ คราะห์ SWOT แบบบันทึกรายงาน วเิ คราะห์เนอื้ หา 22 ก.ค. 2564

ทรพั ยากรในการสนบั สนุนกระบวนการ การประชุม (content

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครผู ู้สอน analysis)

6 ประชมุ หวั หน้าสาขาวิชาเพอ่ื สรุปผล แบบบันทึกรายงาน แบบบันทกึ รายงาน 30 ก.ค. 2564

การศกึ ษาสภาพพฤติกรรมการสอนของ การประชุม การประชุม

ครูผู้สอน

104

วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู เคร่อื งมอื การวเิ คราะห์ ระยะเวลา

ข้อมูล

7 จัดทากระบวนการพัฒนาพฤติกรรม กระบวนการพฒั นา วเิ คราะห์เน้ือหา 2 ส.ค. 2564

การสอนของครูผสู้ อนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ พฤตกิ รรมการสอน (content

สาคญั ของครูผสู้ อนทเี่ น้น analysis)

ผู้เรียนเป็นสาคญั

ระยะที่ 2 การสร้างรปู แบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครผู ู้สอนทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ

1 ประชุม สนทนากลุ่มกบั หัวหนา้ แบบบนั ทึกรายงาน แบบบนั ทึกรายงาน 10 ส.ค. 2564

สาขาวชิ าเพอ่ื หาฉันทามติ การประชุม การประชมุ

2 สรุปผลและนาเสนอกระบวนการพฒั นา กระบวนการพฒั นา 13 ส.ค. 2564

พฤตกิ รรมการสอนของครูผสู้ อนทเ่ี น้น พฤตกิ รรมการสอน

ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ของครผู ้สู อนทเ่ี นน้

ผเู้ รียนเป็นสาคญั

ระยะที่ 3 การตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได,้ ความสอดคลอ้ ง และความเปน็ ประโยชน์ ของ

กระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครผู ู้สอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ

1 สอบถามในวงกว้างเกี่ยวกับความ แบบสอบถาม  และ S.D. 1 ก.ย. 2564

เหมาะสม, ความเปน็ ไปได้, ความ

สอดคลอ้ ง และความเป็นประโยชน์ ของ

กระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอน

ของครูผสู้ อนที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั

2 จดั ประชุมสัมมนากลุม่ เพอื่ หาฉันทามติ แบบบันทกึ รายงาน แบบบันทึกรายงาน 10 ก.ย. 2564

เกยี่ วกบั ความเหมาะสม, ความเปน็ ไปได้, การประชุม การประชุม

ความสอดคล้อง และความเป็นประโยชน์

ของกระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการ

สอนของครผู สู้ อนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ

ระยะท่ี 4 การทดลองใช้กระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอนของครูผสู้ อนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ

1 ประเมนิ เพอ่ื แก้ไขปัญหา กระบวนการพฒั นา วเิ คราะหเ์ นื้อหา

2 ทดลองใชก้ ระบวนการพฒั นาพฤติกรรม พฤตกิ รรมการสอน (content

การสอนของครผู สู้ อนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็น ของครผู สู้ อนทเ่ี นน้ analysis)

สาคัญ ผู้เรียนเป็นสาคญั

105

วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เครือ่ งมือ การวเิ คราะห์ ระยะเวลา
ข้อมลู

3 ติดตามผลการทดลองใช้ 1 แบบประเมิน
กระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอน 2 แบบบนั ทกึ
ของครูผูส้ อนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ กระบวนการพฒั นา
4 ปรับปรุงกระบวนการพฒั นาพฤติกรรม พฤตกิ รรมการสอน
การสอนของครูผ้สู อนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ ของครูผสู้ อนท่ีเน้น
สาคัญ ผู้เรียนเป็นสาคญั

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

ในการวิจัยคร้ังน้ี มุ่งศึกษาการพัฒนารูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครูผสู้ อนในวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย จังหวัดเลย ผู้วิจัยได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 4
ระยะ ดงั นี้

ระยะท่ี 1 ผลการศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้าย จงั หวัดเลย

ระยะที่ 2 ผลการสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคญั

ระยะที่ 3 ผลการตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความ
เป็นประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั

ระยะท่ี 4 ผลการทดลองใช้กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้น
ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ

ระยะที่ 1 ผลการศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวดั เลย

ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวัดเลย โดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เก่ียวกับแนวคิด หลักการ แนว
ทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการสารวจพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ใน
วทิ ยาลัยการอาชพี ด่านซา้ ย จังหวัดเลย สมั ภาษณ์เชงิ ลกึ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กาหนด
กรอบแนวคิดในการศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล ซึ่งจะเป็นข้อมูลในการสร้างรูปแบบ
กระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครูผ้สู อนต่อไป โดยมรี ายละเอียดผลการศกึ ษา พอสงั เขปดงั น้ี

4.1.1 ผลการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ก
หน้า 164)

4.1.1.1 การสอนแบบปฏบิ ัติการ
1) ความหมายของการสอนแบบปฏบิ ัตกิ าร
การสอนแบบปฏิบัติการ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียน

เป็นสาคัญ โดยให้ผู้เรียนได้ทดลองทา ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มโดยผ่าน
ประสบการณต์ รง ตามแนวทางทค่ี รผู สู้ อนวางไว้ อันจะนาไปสู่การค้นพบข้อสรุปมโนมติ ความคิดรวบยอด

107

กฏ สตู รของเนอ้ื หาด้วยตนเอง ซึง่ ครูผสู้ อนมหี น้าท่ีคอยจัดส่ือการเรียนรู้ และอุปกรณ์ต่างๆ ไว้ให้เหมาะสม
กับการปฏบิ ัติกิจกรรมนน้ั ๆ

2) จดุ มุ่งหมายของการสอนแบบปฏบิ ัตกิ าร
จดุ มุ่งหมายของการสอนแบบปฏิบัตกิ าร หมายถงึ การสอนท่ีมีจุดมุ่งหมาย

เพอื่ ให้ผู้เรยี นเรยี นรูด้ ้านวิธกี าร ฝึกทักษะ อธิบายหลักการ ฝึกการใช้เครื่องมือ ทดลอง รวบรวมข้อมูลและ
แปลความ ได้ลงมือปฏิบัติ สังเกต และพัฒนาทักษะในด้านวิธีการฝึกทักษะ เพื่อค้นหาข้อสรุปหรือมโนมติ
ด้วยตนเอง ค้นหาความคิดรวบยอดดว้ ยตนเอง

3) คุณคา่ ของการสอนแบบปฏบิ ัติการ
การสอนแบบปฏิบัติการเปน็ วิธีการสอนทเ่ี ปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรูจ้ าก

การลงมือปฏิบัติจริง เกิดประสบการณ์ตรง ช่วยให้ผู้เรียนค้นพบความรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัยวัสดุอุปกรณ์
ตา่ งๆ เปน็ เครือ่ งชว่ ยในการวิเคราะหโ์ จทย์น้นั ให้เปน็ รูปธรรมหรอื ก่งึ รูปธรรมทาใหเ้ กิดภาพพจน์ ช่วยผู้เรียน
ให้เกิดความเช่ีอมั่นในวิธีการเรียนรู้ของตนเอง มีมโนมติในเร่ืองน้ันๆ เกิดจินตนาการ และความคิด
สรา้ งสรรค์ในการหากระบวนการ และวิธกี ารตา่ งๆ

4) การนาวธิ กี ารสอนแบบปฏิบัตกิ ารไปใช้
ครูผู้สอนควรอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจบทบาทในการเรียนของตนว่าต้อง

ปฏิบัติตามข้อแนะนาในการปฏิบัติการอย่างเคร่งครัด ครูผู้สอนต้องมีการเตรียมการสอน ในระหว่างทา
กจิ กรรม ครูผู้สอนคอยดูแลและช่วยเหลือ เพ่ือให้เป็นไปตามความมุ่งหมาย ผู้เรียนทากิจกรรมเป็นกลุ่ม มี
การระดมความคดิ ภายหลงั การทากิจกรรม ควรให้ผู้เรียนรายงานผล และประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมให้
ผเู้ รยี นทราบ เพ่อื ผเู้ รียนจะได้ปรบั ปรงุ ตนเองตอ่ ไป

4.1.1.2 การเรยี นรู้ท่ีใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน
1) ความหมายของการเรียนรู้โดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย

ใช้ปัญหาเป็นหลัก ให้ผู้เรียนวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยสร้างความรู้จาก
กระบวนการทางานกลุ่ม ครูผู้สอนอาจนาผู้เรียนไปเผชิญสถานการณ์ปัญหาจริง หรือครูผู้สอนอาจจัด
สภาพการณ์ใหผ้ เู้ รยี นเผชิญปญั หา และฝกึ กระบวนการวิเคราะห์ปัญหาและแก้ปัญหาร่วมกันเป็นกลุ่ม แล้ว
ลงสรุปเป็นความรู้ใหม่รว่ มกัน

2) ทฤษฎีการเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน
กาหนดสถานการณ์สร้างปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับบริบทของผู้เรียน การ

แสวงหาทักษะและความรู้โดยการประยุกต์จากปัญหา การเรียนรู้เกิดจากการทางานกับปัญหา และการ
ดาเนนิ งานที่แตกตา่ งกนั จะเปน็ การรวบรวมสาระสาคญั ของความรู้ท่แี ทรกอยใู่ นกระบวนการเรียนรู้

108

3) กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ใช้ปัญหาเป็นฐาน
เป็นการสรา้ งประเดน็ ปัญหา เพอื่ กระตุ้นให้ผเู้ รียนศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง

หรอื การทางานเป็นกลมุ่ ในการสรา้ งองคค์ วามรู้ร่วมกนั ระหว่างครผู ู้สอนและผเู้ รียน
4) ขนั้ ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนร้ทู ใี่ ช้ปญั หาเปน็ ฐาน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นฐานมีข้ันตอน คือ ขั้นจัดเตรียม

และแบ่งกลุ่ม เป็นการกาหนดรายละเอียดหน้าที่ของสมาชิก ข้ันกาหนดปัญหา เป็นข้ันที่ครูผู้สอนจัด
สถานการณ์ต่างๆ เพ่ือกระตุ้นยั่วยุให้ผู้เรียนเกิดความต่ืนตัว สนใจ และมองเห็นปัญหาต่างๆ ข้ันทาความ
เขา้ ใจปัญหาทีก่ าหนด เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนแก้ปัญหาร่วมกัน ขั้นดาเนินการศึกษา
คน้ คว้าดว้ ยตนเอง เปน็ การดาเนินการศึกษาค้นคว้าข้อมูลอย่างอิสระและบันทึก ขั้นสังเคราะห์ความรู้ เป็น
การแก้ปัญหาร่วมกันเป็นกลุ่มย่อย ข้ันสรุปและประเมินค่าของคาตอบ เป็นการสรุปสาระสาคัญหรือองค์
ความรู้รว่ มกนั ระหว่างครูผู้สอนและผู้เรียน และขั้นนาเสนอและประเมินผลงาน เป็นการแสดงผลงานของ
กลมุ่ ตนและการประเมินผลงานของกลุม่ ตนและกลุ่มเพอ่ื น

4.1.1.3 วิธีสอนโดยใช้การทดลอง
เป็นกระบวนการทีค่ รูผ้สู อนจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ หผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม

วัตถปุ ระสงคท์ กี่ าหนด โดยการที่ครผู ู้สอนและผเู้ รยี นเป็นผู้กาหนดปัญหาและสมมติฐานในการทดลอง และ
ผู้เรยี นลงมือทดลองปฏิบัติตามข้ันตอนท่ีกาหนด โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ท่ีจาเป็น เก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็น
ระบบ วเิ คราะหข์ ้อมลู สรปุ อภปิ รายผลการทดลอง และสรปุ การเรยี นรูท้ ไ่ี ด้รบั จากการทดลอง

4.1.1.4 การสอนแบบวทิ ยาศาสตร์
1) ความหมายของการสอนแบบวทิ ยาศาสตร์
การสอนแบบวิทยาศาสตร์ หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ท่ีได้นาเอา

ระเบียบวธิ ีทางวิทยาศาสตร์มาใชใ้ นการแสวงหาความรู้ หรือค้นพบความรู้ หลักการหรือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ
ประสบการณ์ธรรมชาติและสงิ่ ต่างๆ ท่มี อี ยู่ในธรรมชาตขิ องนักวทิ ยาศาสตร์ซึ่งได้พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง โดย
ผูเ้ รียนพยายามคิดคน้ หาวิธแี ก้ปญั หาตา่ งๆ เปน็ การเนน้ กระบวนการที่ผู้เรยี นเป็นผคู้ ดิ ลงมอื ปฏิบตั ิ

2) ขนั้ ตอนการสอนแบบวิทยาศาสตร์
การสอนโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ใหผ้ เู้ รยี นได้ทากจิ กรรมเป็นขน้ั ตอน คอื ขน้ั กาหนดปัญหา และทาความเข้าใจปญั หา ข้ันต้งั สมมตฐิ าน ขั้นทา
การทดลองและเก็บรวบรวมขอ้ มลู ข้นั วิเคราะหข์ ้อมูล และขั้นสรปุ ผล

4.1.1.5 การสบื เสาะหาความรูเ้ ป็นกลุม่
1) ความหมายของการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบการสืบเสาะหาความรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ หมายถึง กระบวนการ

เรียนรู้ที่เน้นวิธีการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าหาความรู้โดย ครูผู้สอน ตั้งคาถามกระ ตุ้นให้ผู้เรียนใช้
กระบวนการทางความคิด หาเหตุผลจนค้นพบความรู้หรือแนวทางในการแก้ไขปัญหาท่ีถูกต้องด้วยตนเอง

109

สรุปเป็นหลักการ กฏเกณฑ์ หรือวิธีการในการแก้ปัญหาและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการ
ควบคุม ปรบั ปรุง เปล่ยี นแปลงหรือสรา้ งสรรคส์ ่ิงแวดล้อมในสภาพการณต์ ่างๆ ได้อยา่ งกวา้ งขวาง

2) ข้ันตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้
เป็นกลุ่ม

การจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้มีขั้นตอน คือ
ขน้ั สร้างความสนใจ เป็นการจดั สถานการณท์ ่นี ่าสนใจเพือ่ กระต้นุ ให้ผเู้ รียนสรา้ งคาถาม ข้นั สารวจและค้นหา
เป็นการวางแผนกาหนดแนวทางการสารวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน กาหนดทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมือ
ปฏิบัติเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป ผู้เรียนนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล
และนาเสนอในรปู แบบต่างๆ ข้ันขยายความรู้ เป็นการนาความรู้ท่ีสร้างข้ึนไปเช่ือมโยงกับความรู้เดิม หรือ
แนวคิดทีไ่ ด้คน้ คว้าเพ่ิมเติม และข้ันประเมินผล เป็นการประเมนิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดว้ ยกระบวนการ
ต่างๆ ว่าผู้เรยี นมีความรู้อะไรบ้าง อย่างไร และมากนอ้ ยเพียงใด

4.1.2 ผลการสารวจพฤติกรรมการสอนของครผู ้สู อนในวทิ ยาลยั การอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ข หนา้ 196)

4.1.2.1 สรปุ ผลการวิจัย
ผู้วิจัยได้ศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัย

การอาชีพด่านซา้ ย จังหวัดเลย โดยใชแ้ บบสอบถามความคิดเหน็ ของครูผู้สอน และผู้เรียน จานวน 214 คน
โดยมผี ลการศึกษาดงั น้ี

1) ข้นั เตรยี มการ
(1) การเตรยี มตนเอง
สภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ

ดา่ นซา้ ย จงั หวัดเลย ในการเตรียมตนเอง คือ ครูผู้สอนมีการปรับกระบวนทัศน์ของตนเองตามแนวคิดการ
จดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ, ครูผู้สอนมีการปรับกระบวนการสอนแบบเดิมสู่กระบวนการ
สอนแบบผวู้ ิจยั และพัฒนา, ครูผู้สอนมกี ารศกึ ษาหลักสูตรและการวิเคราะห์หลักสูตร, ครูผู้สอนมีการศึกษา
เนือ้ หาวชิ าที่สอนอย่างลึกซึ้ง, ครูผู้สอนได้ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อนาไปสู่การกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้
เมื่อพิจารณาในภาพรวม อยู่ในระดบั มาก ผู้เรียนมีความคดิ เหน็ วา่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ของครูผู้สอนใน
การเตรียมตนเอง อยู่ในระดับมาก ส่วนครูผู้สอนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน
อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการ
เรียนรขู้ องครผู ู้สอนในการเตรยี มตนเอง ต่ากว่าความคิดเห็นของครูผู้สอนทุกรายการ โดยเฉพาะครูผู้สอนมี
การศกึ ษาหลกั สูตรและการวิเคราะหห์ ลักสตู รทีม่ คี ่าเฉลยี่ ต่าสดุ

(2) การเตรียมแหล่งขอ้ มูล
สภาพการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ

ด่านซ้าย จังหวดั เลย ในการเตรยี มแหลง่ ข้อมลู คือ ครูผู้สอนมีการจัดเตรียมเอกสาร ตารา ใบเน้ือหาในวิชา

110

ท่ีสอน, ครูผู้สอนมีการเตรียมส่ือการเรียนรู้ท่ีใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้, ครูผู้สอนมีการจัดสภาพแวดล้อม
ภายในทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้, ครูผูส้ อนมกี ารสารวจสถานประกอบการเพ่ือร่วมจดั การศึกษา, ครูผู้สอนได้มีการ
สารวจภูมิปัญญาท้องถิ่นเพ่ือร่วมจัดการศึกษา เม่ือพิจารณาในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ผู้เรียนมีความ
คิดเหน็ ว่าการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ของครผู ้สู อนในการเตรียมแหล่งข้อมูล อยู่ในระดับมาก ส่วนครูผู้สอนมี
ความคดิ เหน็ ว่าการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการเตรียมแหล่งข้อมูล อยู่ในระดับมาก และเม่ือ
พิจารณาเป็นรายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการ
เตรียมแหล่งข้อมูล ต่ากว่าความคิดเห็นของครูผู้สอนทุกรายการ โดยเฉพาะครูผู้สอนได้มีการสารวจ
ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เพ่ือร่วมจัดการศกึ ษาทม่ี ีคา่ เฉลย่ี ตา่ สดุ

(3) การจดั ทาแผนการเรียนรู้
สภาพการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ

ดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย ในการจดั ทาแผนการเรียนรู้ คือ ครูผู้สอนมีการจัดทาแผนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ, ครูผู้สอนได้จัดทาแผนการเรียนรู้ท่ีมีกิจกรรมหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติของรายวิชา ,
แผนการเรียนรู้มีการเสนอแนะการใช้ส่ือการเรียนรู้ และเทคโนโลยีไว้อย่างหลากหลาย, ครูผู้สอนมีการ
กาหนดเกณฑ์การวัดผลประเมินผลตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้, ครูผู้สอนมีการบันทึกหลังการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ เมื่อพิจารณาในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ของครูผู้สอนในการจัดทาแผนการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก ส่วนครูผู้สอนมีความคิดเห็นว่าการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผสู้ อนในการจัดทาแผนการเรียนรู้ อย่ใู นระดบั มาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายการ
ยังพบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการเตรียมแหล่งข้อมูล ต่า
กว่าความคดิ เห็นของครผู ้สู อนทกุ รายการ รายการท่มี คี ่าเฉลย่ี ตา่ สุดคือครูผูส้ อนมีการบนั ทึกหลงั การสอน

2) ข้ันดาเนนิ การ
(1) การจดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรียนได้ค้นพบคาตอบดว้ ยตนเอง
สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ

ด่านซ้าย จังหวัดเลย ในการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง คือ ครูผู้สอนจัดกิจกรรม
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดงออก, ครูผู้สอนใช้สื่อการเรียนรู้เพ่ือฝึกการคิด การแก้ปัญหาและการค้นพบองค์
ความรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง, ผู้เรียนได้รับการเสริมแรงให้คิดหาคาตอบและแก้ปัญหาด้วยตัวเอง, ผู้เรียนได้
ศกึ ษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลด้วยตัวเอง, ผู้เรียนได้มีโอกาสคิดอย่างสร้างสรรค์จากการจัดสถานการณ์ของ
ครูผูส้ อน เมือ่ พิจารณาในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง อยู่ในระดับมาก ส่วนครูผู้สอนมีความ
คิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง
อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง ต่ากว่าความคิดเห็นของ
ครผู ู้สอนทกุ รายการ รายการทม่ี คี ่าเฉลย่ี ตา่ สุดคือครผู ้สู อนจดั กิจกรรมสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นไดแ้ สดงออก

111

(2) การจดั กิจกรรมใหผ้ เู้ รยี นมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและกลุ่ม และ
แหล่งเรยี นรู้หลากหลาย

สภาพการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้าย จังหวัดเลย ในการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนและกลุ่ม และแหล่งเรียนรู้
หลากหลาย คือ ครูผู้สอนส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม/เพ่ือน, ครูผู้สอนใช้แหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลายเพอื่ เช่ือมโยงประสบการณก์ ับชีวิตจริง, ครูผู้สอนได้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกประสบการณ์จริง
ในสถานประกอบการ, ครูผู้สอนได้มอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ,
วทิ ยาลัยฯ ไดม้ ีการเชญิ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินมาให้การศึกษาแก่ผู้เรียนในบางโอกาสท่ีสอดคล้องกับเนื้อหาวิชา
เม่ือพิจารณาในภาพรวม อย่ใู นระดับมาก ผเู้ รยี นมีความคดิ เห็นว่าการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ของครูผู้สอนใน
การจดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรียนมโี อกาสปฏสิ ัมพนั ธก์ ับเพอ่ื นและกลมุ่ และแหล่งเรียนรู้หลากหลาย อยู่ในระดับมาก
สว่ นครผู สู้ อนมีความคดิ เหน็ วา่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีโอกาส
ปฏิสัมพันธ์กบั เพื่อนและกลุม่ และแหลง่ เรียนรู้หลากหลาย อยใู่ นระดบั มาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายการยัง
พบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมี
โอกาสปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและกลุ่มและแหล่งเรียนรู้หลากหลาย ต่ากว่าความคิดเห็นของครูผู้สอนทุก
รายการ รายการท่ีมคี ่าเฉล่ยี ตา่ สดุ คอื ครูผู้สอนส่งเสรมิ กจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรจู้ ากกลุม่ /เพอื่ น

(3) การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวทางร่างกายอย่างเหมาะสมกับวัยและ
ความสนใจ

สภาพการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้าย จังหวัดเลย ในการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายอย่างเหมาะสมกับวัยและความสนใจ คือ
ครูผสู้ อนไดจ้ ัดกิจกรรมให้ผเู้ รยี นได้มโี อกาสแสดงพฤตกิ รรมทส่ี อดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้, ครูผู้สอน
ได้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการช่วยเหลือกันภายในกลุ่ม, ครูผู้สอนได้จัดกิจกรรมภายนอกห้องเรียนเพื่อให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันกับกลุ่ม, ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติจากของจริง สถานท่ีจริง และ
สถานการณ์จริง, ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดกิจกรรมตามความเหมาะสมและ
ความสนใจ เมื่อพิจารณาในภาพรวม อยู่ในระดบั มาก ผู้เรยี นมคี วามคิดเหน็ ว่าการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของ
ครผู ูส้ อนในการจัดกจิ กรรมเคลื่อนไหวทางกายอย่างเหมาะสมกับวัยและความสนใจ อยู่ในระดับมาก ส่วน
ครูผู้สอนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมเคล่ือนไหวทางกาย
อย่างเหมาะสมกับวัยและความสนใจ อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมี
ความคดิ เห็นว่าการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ของครผู ู้สอนในการจดั กิจกรรมเคลอ่ื นไหวทางกายอย่างเหมาะสม
กับวัยและความสนใจ ต่ากว่าความคิดเห็นของครูผู้สอน 4 รายการ รายการท่ีความคิดเห็นของผู้เรียน
มากกว่าความคิดเห็นของครูผู้สอน คือ ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติจากของจริง สถานท่ีจริง และ
สถานการณ์จริง รายการทม่ี คี า่ เฉลยี่ ต่าสดุ คอื ครูผสู้ อนได้จดั กจิ กรรมภายนอกหอ้ งเรียนเพ่ือใหผ้ ้เู รียนเกิดการ
เรียนร้รู ่วมกับกล่มุ

112

(4) การเรยี นรตู้ ามกระบวนการตา่ งๆ
สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ

ด่านซ้าย จังหวัดเลย ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการต่างๆ คือ ผู้เรียนได้ฝึกคิดอย่าง
หลากหลายและสร้างสรรค์, ผู้เรียนได้แสดงออกอย่างมีเหตุผล, ครูผู้สอนได้จัดกิจกรรมเพื่อให้เกิด
กระบวนการเรยี นรู้ในการพัฒนาผูเ้ รยี นตามศักยภาพ, ครูผู้สอนไดจ้ ดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยมกี ารบูรณาการ
คุณธรรม จริยธรรม, ครูผูส้ อนจัดกิจกรรมโดยใช้กระบวนการทีเ่ หมาะสมกบั เน้อื หา เม่อื พจิ ารณาในภาพรวม
อยู่ในระดับมาก ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการเรียนรู้ตาม
กระบวนการต่างๆ อยูใ่ นระดับมาก ส่วนครูผู้สอนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน
ในการเรียนรู้ตามกระบวนการต่างๆ อยู่ในระดับมาก และเม่ือพิจารณาเป็นรายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมี
ความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการเรียนรู้ตามกระบวนการต่างๆ ต่ากว่าความ
คิดเห็นของครูผู้สอนทุกรายการ รายการที่มีค่าเฉล่ียต่าสุดคือผู้เรียนได้ฝึกคิดอย่างหลากหลาย และ
สร้างสรรค์

(5) การนาความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้
สภาพการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ

ด่านซ้าย จังหวัดเลย ในการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ คือ ครูผู้สอนจัดกิจกรรมเนื้อหาวิชาได้เหมาะสมกับ
สถานการณ์ปัจจุบันท่ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม, ผู้เรียนเป็นผู้ที่มี
ความสามารถในการคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น, ครูผู้สอนได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นาความรู้ไปจัดทา
โครงงานต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของผู้เรียน, ผู้เรียนสามารถใช้ส่ือการเรียนรู้
เทคโนโลยีเพ่ือค้นควา้ หาความรู้เพิ่มเตมิ ตามโอกาสที่เหมาะสม, ผู้เรียนสามารถนาเอาทักษะวิชาชีพไปใช้ให้
เกดิ ประโยชนต์ อ่ สังคม ชมุ ชนได้ เม่ือพิจารณาในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ อยู่ในระดับมาก ส่วนครูผู้สอนมีความ
คิดเหน็ ว่าการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ อยู่ในระดับมาก และเมื่อ
พิจารณาเปน็ รายการยงั พบอกี วา่ ผูเ้ รยี นมีความคิดเหน็ ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการนา
ความรูไ้ ปประยกุ ต์ใช้ ตา่ กว่าความคิดเหน็ ของครูผู้สอนทุกรายการ รายการท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุดคือครูผู้สอนจัด
กิจกรรมเนื้อหาได้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่าง
เหมาะสม

3) ข้ันประเมินผล
(1) วัดผลประเมนิ ผลด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย
สภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ

ดา่ นซา้ ย จังหวัดเลย ในการวัดผลประเมินผลด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย คือ ครูผู้สอนในสาขาวิชาได้ร่วมกัน
วางแผนการวดั ผลประเมินผล, การวัดผลประเมินผลครอบคลมุ ตามจุดประสงค์การเรียนรู้, ครูผสู้ อนได้มีการ
วัดผลประเมินผลดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลาย, ครูผู้สอนและผู้เรียนได้กาหนดวิธีการวัดผลประเมินผลร่วมกัน,

113

วธิ กี ารวัดผลประเมินผลสอดคล้องกับสภาพของผู้เรียน เม่ือพิจารณาในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ผู้เรียนมี
ความคิดเหน็ ว่าการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ขู องครผู ้สู อนในการวดั ผลประเมินผลด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย อยู่
ในระดบั มาก สว่ นครผู ้สู อนมีความคิดเหน็ วา่ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ของครผู ูส้ อนในการวัดผลประเมินผล
ดว้ ยวิธกี ารท่ีหลากหลาย อยู่ในระดบั มาก และเม่อื พิจารณาเปน็ รายการยังพบอีกวา่ ผเู้ รียนมีความคิดเห็นว่า
การจัดกจิ กรรมการเรียนรขู้ องครผู สู้ อนในการวัดผลประเมนิ ผลดว้ ยวธิ กี ารท่หี ลากหลายต่ากว่าความคิดเห็น
ของครผู ู้สอนทุกรายการ รายการทมี่ ีค่าเฉลีย่ ต่าสดุ คือวิธีการวดั ผลประเมินผลสอดคล้องกบั สภาพของผูเ้ รยี น

(2) วดั ผลประเมินผลตามสภาพจริง
สภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ

ด่านซ้าย จังหวัดเลย ในการวัดผลประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ คอื ครูผู้สอนมีการวัดผลประเมินผลจากการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้, ในกระบวนการวัดผลประเมินผลครูผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาผลงานตาม
ความเหมาะสม, ครูผู้สอนมีการวัดผลประเมินผลจากการปฏิบัติงานของผู้เรียน, ผู้เรียนมีโอกาสประเมิน
ตนเองและเพ่ือนตามเกณฑท์ ีก่ าหนดร่วมกัน, ครูผู้สอนประเมินผลจากพฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงของผู้เรียน
เม่ือพจิ ารณาในภาพรวม อย่ใู นระดบั มาก ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของครูผู้สอนใน
การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับมาก ส่วนครูผู้สอนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรูข้ องครูผู้สอนในการวดั ผลประเมนิ ผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับมาก และเมื่อพจิ ารณาเป็นรายการยัง
พบอีกวา่ ผ้เู รยี นมคี วามคิดเห็นวา่ การจดั กจิ กรรมการเรียนร้ขู องครผู ้สู อนในการวัดผลประเมินผลตามสภาพ
จรงิ ต่ากว่าความคดิ เหน็ ของครูผสู้ อนทุกรายการ รายการที่มีคา่ เฉล่ยี ต่าสุดคือผู้เรียนมีโอกาสประเมินตนเอง
และเพ่อื นตามเกณฑท์ กี่ าหนดรว่ มกัน

(3) วดั ผลประเมนิ ผลจากแฟม้ สะสมผลงาน
สภาพการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ

ด่านซ้าย จังหวัดเลย ในการวัดผลประเมินผลจากแฟ้มสะสมผลงาน คือ ครูผู้สอนและผู้เรียนได้ร่วมกัน
กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนจากกิจกรรมการเรียนรู้ไว้ชัดเจน, ครูผู้สอนและผู้เรียนได้ร่วมกันวัดผล
ประเมินผลจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้, ครูผู้สอนได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รวบรวมผลงานในแฟ้มสะสม
ผลงาน, ครูผู้สอนและผู้เรียนได้มีการกาหนดรายละเอียดข้อมูลในการจัดทาแฟ้มสะสมผลงานร่วมกัน,
ครผู สู้ อนมีการประเมนิ ผลจากแฟ้มผลงานของผู้เรียนเปน็ ระยะอยา่ งสม่าเสมอ เมื่อพิจารณาในภาพรวม อยู่
ในระดับมาก ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการวัดผลประเมินผลจาก
แฟ้มสะสมผลงาน อยู่ในระดับมาก สว่ นครผู สู้ อนมีความคดิ เหน็ ว่าการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ขู องครูผู้สอนใน
การวัดผลประเมินผลจากแฟ้มสะสมผลงาน อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายการยังพบอีกว่า
ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการวัดผลประเมินผลจากแฟ้มสะสม
ผลงานตา่ กว่าความคดิ เหน็ ของครผู ู้สอนทกุ รายการ รายการท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุดคือครูผู้สอนมีการประเมินผล
จากแฟ้มสะสมผลงานของผูเ้ รยี นเป็นระยะอย่างสมา่ เสมอ

114

4.1.2.2 อภิปรายผลการวิจยั
ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาสภาพพฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอน

ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย พบว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนทงั้ ภาพรวมและทกุ รายการตา่ กว่าความคิดเห็นของครูผู้สอน ทงั้ นีอ้ าจเปน็ เพราะว่า ครูผู้สอนคิดว่า
การจัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องตนนั้นมคี วามเหมาะสมดีแล้ว จึงมิได้มีการพัฒนาปรับปรุงให้ดีข้ึน แต่ผู้เรียน
ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ ผทู้ ่ีมสี ่วนได้ส่วนเสียโดยตรงมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนนั้นยังไม่
เหมาะสม ยังไมต่ รงกับความคาดหวงั ของตนเอง ครูผู้สอนควรได้มีการพัฒนาตนเองในการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ และพฒั นาปรับปรุงในทกุ ๆ ดา้ น คอื ในขน้ั เตรียมการ ข้ันดาเนนิ การ และขนั้ ประเมนิ ผล

4.1.2.3 ขอ้ เสนอแนะ
1) ข้อเสนอแนะท่ัวไป มดี งั นี้
(1) ครูผู้สอนควรสารวจความต้องการ และสภาพของผู้เรียน ก่อนการ

ออกแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
(2) ครูผู้สอนควรกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นมีความสนใจในการมีส่วนร่วมในการจัด

กจิ กรรมการเรยี นรู้ เชน่ การตงั้ ประเดน็ การพิจารณา การตัง้ คาถาม การจดั สถานการณ์
(3) ครผู สู้ อนควรใหผ้ ู้เรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะ ซึ่งอาจจะใช้กระบวนการ

กลมุ่ เพอื่ ให้ผู้เรยี นไดแ้ ลกเปลย่ี นเรียนรู้ และปฏสิ มั พนั ธ์กัน
(4) ครูผู้สอนควรมีการวัดผลประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย และ

จดั ทาเกณฑ์การประเมินผลใหช้ ดั เจน
(5) ครูผู้สอนควรสรุปผลการเรยี นรรู้ ว่ มกันกับผเู้ รียน

2) ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้ มดี งั นี้
(1) การศึกษาข้อมูลคร้ังน้ีเป็นการเก็บข้อมูลเพียงคร้ังเดียว อาจทาให้

ขอ้ มลู ไม่เป็นข้อมลู ท่ีแทจ้ ริงทั้งหมด ต้องมกี ารเก็บเป็นระยะอยา่ งต่อเน่อื ง ซ่ึงจะทาใหไ้ ดข้ ้อมูลทถ่ี กู ตอ้ ง
(2) ควรมีการเก็บข้อมูลด้วยเคร่ืองมือประเภทอ่ืน เพื่อให้ได้ข้อมูลที่

ครบถ้วน เชน่ การสงั เกต การสมั ภาษณ์ การประชุมกลมุ่ เปน็ ตน้
4.1.3 ผลการตรวจสอบเอกสารการสอน และการสงั เกตการสอนในชัน้ เรยี นของครูผ้สู อน
การตรวจสอบเอกสารการสอน และการสังเกตการสอนในช้ันเรียนของครูผู้สอน โดย

คณะกรรมการตรวจสอบเอกสารการสอน (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ค หนา้ 271) สรุปผลการศึกษา
ไดด้ ังนี้ (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ค หนา้ 244)

4.1.3.1 การตรวจสอบแผนการเรียนรสู้ มรรถนะ
การเขียนแผนการเรียนรู้สมรรถนะที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครูผู้สอนของ

วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ท่ีดาเนินการจัดทานั้นขาดองค์ประกอบที่สาคัญ เช่น งานท่ี
มอบหมายหรือกิจกรรมไม่ระบหุ ลักฐานร่องรอยท่ีแสดงให้เห็นเป็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เป็นรูปธรรม

115

งานทีม่ อบหมายหรือกิจกรรมไมแ่ สดงช่ือผลงานหรอื ชิน้ งานหรือความสาเรจ็ ของผู้เรียนท่ีบรรลุวัตถุประสงค์
งานท่ีมอบหมายหรือกจิ กรรมไม่แสดงผลสาเร็จทไี่ ดจ้ ากกิจกรรมการเรยี นรู้เปน็ ชนิ้ งาน ผลงานอะไร ไมแ่ สดง
รายการส่อื การเรยี นรู้, ชอื่ สื่อการเรียนรู้แตล่ ะชนดิ วา่ ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ข้ันใด ข้อใด ไม่
แสดงช่ือแหล่งเรยี นร,ู้ สถานท่ีทใี่ ชเ้ รียนรู้ไม่ชัดเจนว่าอยูท่ ่ใี ด เปน็ อะไร ไมแ่ สดงรายละเอยี ดของแหล่งเรียนรู้
ที่อยู่ในสถานศึกษาให้ชัดเจน ไม่มีการบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของแต่ละหน่วยท่ี
แสดงให้เห็นถึงผลการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับตัวผู้เรียนครบทุกหน่วย ไม่เขียนหรือกาหนดกิจกรรมการ
สอน/การเรียนรขู้ องท้งั ครูผสู้ อนและผูเ้ รยี นในแต่ละวัตถปุ ระสงค์ให้ชัดเจนว่าผู้เรียนต้องทาอะไรจึงเกิดการ
เรยี นรู้ ไมร่ ะบุว่างานทีม่ อบหมายให้ผูเ้ รยี นทาแล้วสามารถสะท้อนไดว้ ่าบรรลวุ ัตถุประสงค์ข้อนั้นๆ จริง ไม่มี
การบันทกึ ผลการเรยี นของผเู้ รียนของแตล่ ะหน่วยทแี่ สดงให้เหน็ ถงึ ผลการเปลยี่ นแปลงที่เกดิ ขน้ึ กบั ตัวผู้เรียน
ครบทุกหนว่ ย ไมม่ ีการแสดงใหเ้ ห็นว่ามีการนาผลการใชแ้ ผนการเรียนรู้ต่างๆ ไปปรับปรุงแผนการเรียนรู้ให้
สมบูรณย์ ง่ิ ๆ ข้นึ ไม่แสดงรายการ ชือ่ งานทมี่ อบหมายสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ ไม่ระบุแหล่งเรียนรู้
ทกี่ าหนดน้นั สามารถทาให้ผู้เรียนเรียนรู้แล้วบรรลุวัตถุประสงค์ได้จริง การบันทึกผลการใช้แผนการเรียนรู้
ของแต่ละหน่วยไม่ครบทุกหน่วย ไม่แสดงกิจกรรมที่เป็นงานมอบหมายให้ผู้เรียนทา/หรือปฏิบัติว่า ก่อน
เรยี น ขณะเรยี น และหลงั เรยี น ผู้เรยี นต้องทากิจกรรมอะไรบา้ ง งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมไม่สอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ไม่แสดงให้เห็นว่าการปฏิบัติกิจกรรมแต่ละตัวนั้นอยู่ในข้ันตอนใดบ้าง เช่น
กอ่ นเรียน ขณะเรียน และหลังเรียน ไม่แสดงหรอื ระบเุ กณฑ์การให้คะแนนการวัดผลของแต่ละวัตถุประสงค์
ไว้อยา่ งชัดเจน เปน็ ตน้ (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ค หน้า 244)

4.1.3.2 การสังเกตการสอนในช้นั เรยี นของครูผสู้ อน
จากการสงั เกตการสอนของครผู ู้สอนพบว่ามีค่าเฉลี่ยรวม อยู่ในระดับดี ( X =

2.64, S.D. = 0.21) และเม่ือพจิ ารณาเปน็ รายการพบว่า รายการท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ รู้จักควบคุมอารมณ์
และจัดการกับอารมณ์ได้อย่างเหมาะสมในระหว่างดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับดี ( X =
2.85, S.D. = 0.35) รองลงมาคือ เลือกใช้เครื่องมือวัดผลสอดคล้องและครอบคลุมจุดประสงค์และตรงกับ
สาระการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของหน่วยเรียน และมีบุคลิกภาพร่าเริงแจ่มใส เป็นมิตรและเป็นกันเองต่อ
ผเู้ รยี น อยู่ในระดบั ดี ( X = 2.78, S.D. = 0.41) สว่ นรายการทมี่ คี า่ เฉล่ียต่าสุดคือ เลือกกิจกรรมการเรียนรู้
ท่ีน่าสนใจหรอื สนุกสนาน หรือเร้าใจต่อผู้เรียน และเลือกใช้สื่อการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับจุดประสงค์ สาระ
และวัยของผู้เรียน อยใู่ นระดับดี ( X = 2.44, S.D. = 0.50) (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ค หนา้ 244)

4.1.3.3 อภปิ รายผลการศึกษา
การเขียนแผนการเรียนรู้ของครูผู้สอนนั้นส่วนใหญ่ไม่ได้มาจากการวิเคราะห์

โครงสร้างหลักสูตรอย่างถ่องแท้ บางส่วนคัดลอกมาจากแผนการเรียนรู้ของบุคคลอื่น หรือจากสานักพิมพ์
ตา่ งๆ ซ่งึ อาจทาให้ขาดสาระที่สาคัญบางส่วนไป หรอื บางส่วนไมส่ ามารถนามาใชไ้ ด้จริงกับบริบทของผู้เรียน
ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ได้ บางส่วนไม่ได้นาแผนการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรยี นร้ใู นทางปฏบิ ัตจิ รงิ เป็นผลทาใหแ้ ผนการเรียนรู้ทจ่ี ดั ทาขึ้นขาดความสาคญั ไป

116

ส่วนการจัดกจิ กรรมการเรียนรขู้ องครูผู้สอนนั้นสืบเนื่องมาจากการท่ีครูผู้สอน
จัดทาแผนการเรียนรู้ขาดสาระสาคัญบางส่วน และไม่ได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามท่ีกาหนดไว้ในแผนการ
เรียนรู้ จึงเป็นผลทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไม่สอดคล้องสัมพันธ์กับสภาพของผู้เรียนและสาระการ
เรียนรู้ ส่งผลให้ผู้เรียนขาดความสนใจในกิจกรรมการเรียนรู้ และผู้เรียนไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้
กาหนดไว้

4.1.3.4 ข้อเสนอแนะ
1) ข้อเสนอแนะท่ัวไป มดี ังนี้
(1) อบรมใหค้ วามร้แู กค่ รผู สู้ อนในการจดั ทาแผนการเรียนรู้ (รายละเอียด

ปรากฏในภาคผนวก ค หนา้ 272)
(2) มอบหมายให้หัวหนา้ สาขาวิชา ตรวจสอบ/ประเมินการจัดทาแผนการ

เรียนรู้ (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ค หนา้ 249)
(3) ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามแผนการเรยี นร้ทู ไี่ ด้กาหนดไว้

2) ข้อเสนอแนะในการนาผลการศกึ ษาไปใช้ มีดงั น้ี
(1) ควรมีการตรวจสอบ/ประเมินการจัดทาแผนการเรียนรู้ของครูผู้สอน

อย่างตอ่ เนือ่ ง และให้คาแนะนาการจดั ทาท่ถี ูกต้อง
(2) ควรสง่ เสริมใหค้ รผู สู้ อนนาแผนการเรียนรูไ้ ปใช้ในการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้
(3) ควรได้มีการนิเทศ กากับ ติดตาม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่าง

ต่อเน่อื ง
4.1.4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการสัมภาษณ์เชิงลึก (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ง หน้า

277)
4.1.4.1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู การสัมภาษณ์ครผู ู้สอน
1) การสารวจความตอ้ งการและขอ้ มลู ผู้เรียนเพอื่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรขู้ องครูผสู้ อนวทิ ยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง การสารวจความต้องการของผู้เรียนและ
ข้อมูลของผู้เรียนในการเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สรุปได้ว่าครูผู้สอนส่วนใหญ่มีการสารวจข้อมูล
ผู้เรียน กล่าวคือ ใหผ้ เู้ รียนเลอื กวา่ อยากเรยี นหนว่ ยไหนกอ่ น หรอื เรยี งลาดับความยากง่าย ต้องการทราบว่า
ผ้เู รยี นตอ้ งการเรียนรเู้ รอ่ื งอะไรบา้ งควรเรียนรู้เรอ่ื งอะไรก่อน ต้องการเนน้ ทฤษฎีหรอื ปฏิบัติ ตอ้ งการใหส้ อน
ในลักษณะใด และตกลงกันในการวัดผลควรใช้เกณฑ์อย่างไร และมีครูผู้สอนบางส่วนไม่สารวจ กล่าวคือ
ครผู ้สู อนจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามแผนที่ได้กาหนดไว้แล้ว เป็นรายวิชาท่ีได้กาหนดในโครงสร้างหลักสูตร
แล้ว

117

ในการสารวจความต้องการของผู้เรียนและข้อมูลของผู้เรียนนั้นเพื่อนา
ข้อมูลไปกาหนดเนื้อหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และวัตถุประสงค์การเรียนรู้ โดยต้องวิเคราะห์ตาม
โครงสรา้ งหลกั สตู ร ใหม้ คี วามสอดคล้อง และเหมาะสมกับสภาพของผเู้ รียน และนาไปสู่การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ และการวางแผนการวัดผลประเมนิ ผล

จากการสมั ภาษณ์ครูผู้สอนดังกล่าวน้ัน ครูผู้สอนไม่ได้นาเอาข้อมูลผู้เรียน
ไปใช้ประกอบในการวเิ คราะห์โครงสร้างหลักสูตรเพ่ือนาไปสู่การจัดทาแผนการเรียนรู้ เป็นผลทาให้ผู้เรียน
ขาดความสนใจในกิจกรรมการเรียนรเู้ พราะไม่ตรงกบั ความตอ้ งการของผ้เู รียน

2) การกาหนดส่อื การเรียนรู้
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ

เรยี นรขู้ องครผู ู้สอนวทิ ยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง การกาหนดสื่อการเรียนรู้ในแต่ละเน้ือหา
สรุปได้ว่า ครูผู้สอนควรได้มีการกาหนดสื่อการเรียนรู้ เช่น ของจริง หนังสือเรียน Power Point ใบงาน
อินเตอร์เน็ต แผ่นใส

ในการเลอื กสื่อการเรยี นรูเ้ พื่อใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพสงู สุดต่อการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้นั้น ครผู ูส้ อนจาเป็นต้องคานึงถึงองค์ประกอบในการเลือกส่ือการเรียนรู้ เช่น ต้องสอดคล้องกับ
วตั ถุประสงคก์ ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน ต้องคานึงถึงประสิทธิภาพของส่ือ
การเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้นั้นต้องมีความเหมาะสม ความถูกต้อง เท่ียงตรง และต้องมีคุณภาพ ซึ่งส่วนใหญ่
ครูผู้สอนมักจะคานึงถึงส่ือการเรียนรู้ที่สามารถทาได้ง่ายและสะดวก มักไม่คานึงถึงประโยชน์ที่ผู้เรียนจะ
ไดร้ บั จึงเป็นผลทาให้ผู้เรียนไม่สนใจในการใช้สื่อการเรยี นรู้เทา่ ที่ควร และท่สี าคญั ผเู้ รยี นไม่มสี ว่ นร่วมในการ
กาหนดส่อื การเรยี นรู้

3) การบรหิ ารจัดการแหลง่ เรียนรู้
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง การจัดเตรียมแหล่งเรียนรู้สา หรับการ
คน้ ควา้ ของผูเ้ รียน สรุปได้ว่า ส่วนใหญค่ รูผู้สอนได้ใชแ้ หลง่ เรียนรู้ภายในสถานศึกษาท่ีได้จัดเตรียมไว้ให้แล้ว
คอื ระบบอินเตอรเ์ นต็ ห้องสมุด ซึ่งเปน็ ลักษณะของการมอบหมายงานใหผ้ ้เู รยี นไปค้นคว้า หรือเป็นแหล่งท่ี
ครูผู้สอนมักจะมอบหมายให้ผู้เรียนค้นคว้าในขณะที่ครูผู้สอนไม่สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ เช่น
ประชุม หรอื ไปราชการ

การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้น้ัน ครูผู้สอนไม่ได้มีการวางแผนในการใช้
แหลง่ เรยี นรทู้ ้งั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ซ่งึ อาจตอ้ งบรรจุไวใ้ นกจิ กรรมการเรียนรู้ในแผนการเรียนรู้
ครผู สู้ อนตอ้ งมีการสารวจแหล่งเรียนรู้ และต้องกาหนดว่าผู้เรียนจะเรียนรู้อะไรจากแหล่งเรียนรู้น้ัน มีการ
สรุปองค์ความร้รู ว่ มกนั ระหวา่ งครูผสู้ อนและผู้เรียน

118

4) การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ของครผู ู้สอนวิทยาลัยการอาชพี ดา่ นซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ความแตกต่างกันระหว่างการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ในรายวิชาที่เป็นทฤษฎีและปฏิบัติ สรุปได้ว่า แตกต่างกัน ในรายวิชาที่เป็นทฤษฎีจะมีการจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้ คือ การรายงานหนา้ ชัน้ เรียนเป็นกลุ่ม การศึกษาค้นคว้าตามท่ีครูผู้สอนมอบหมาย การ
บรรยาย ส่วนรายวชิ าทเี่ ปน็ ปฏบิ ตั ิจะมีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ คือ ปฏิบัตติ ามใบงาน ทาแบบฝึกหดั

ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ในรายวิชาท่เี ปน็ ปฏิบัตินนั้ ส่วนใหญ่ครูผู้สอน
จะมอบหมายงานในลักษณะของใบงาน หรอื สั่งใหผ้ เู้ รียนปฏิบัติตาม ส่วนใหญไ่ มไ่ ดม้ งุ่ เน้นในการจัดกิจกรรม
ในลกั ษณะกลุ่มปฏิบัติการที่เรียนรู้ด้วยประสบการณ์ตรงจากการเผชิญสถานการณ์จริง และการแก้ปัญหา
เพื่อใหเ้ กดิ การเรยี นรจู้ ากการกระทา ผเู้ รยี นควรไดป้ ฏบิ ัตจิ ริง ฝกึ คิด ฝึกลงมอื ปฏิบัติ ฝึกทักษะกระบวนการ
ต่างๆ ฝกึ การแก้ปญั หาดว้ ยตนเอง และฝกึ ทกั ษะการเสาะแสวงหาความรู้ร่วมกันเป็นกลมุ่

5) การมอบหมายงานให้ผเู้ รยี น
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ

เรยี นรขู้ องครผู สู้ อนวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย เร่อื ง การมอบหมายงานให้ผเู้ รยี นปฏิบัติ สรุปได้
ว่า มีการมอบหมายงาน เช่น ปฏิบตั ติ ามใบงาน รายงานกลุ่ม ทาแบบฝึกหดั ทาโครงงาน

ซึ่งสว่ นใหญค่ รผู สู้ อนจะไมไ่ ด้กาหนดขน้ั ตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
คือ ครูผู้สอนเสนอปัญหา กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดแก้ปัญหา ผู้เรียนวางแผนงานเพ่ือการเรียนรู้ การรายงาน
ผลงานและกระบวนการทางาน การสรปุ องคค์ วามรูร้ ว่ มกนั ระหวา่ งครูผ้สู อนกับผู้เรียน

ในการมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปศึกษาค้นคว้าน้ันจะต้องเก่ียวกับส่ิงท่ี
ผ้เู รียนอยากจะรู้ ครผู ้สู อนต้องแนใ่ จว่าผู้เรียนทกุ คนมคี วามเขา้ ใจงานท่ีได้รับมอบหมายน้ัน หรือเม่ือมีความ
จาเป็นครูผู้สอนอาจให้ความช่วยเหลือเพื่อให้งานท่ีมอบหมายนั้นประสบผลสาเร็จ และครูผู้สอนต้องช้ี
แนวทางและวธิ ีการค้นคว้าใหผ้ ู้เรยี นทราบ

6) การวดั ผลประเมนิ ผล
จาก การ สัมภ าษณ์ กลุ่ มเป้าหม ายครูผู้ สอน เก่ีย วกับการ จัดกิจก รรม การ

เรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง วิธีการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ของ
ผูเ้ รียน สรุปได้ว่า การสอบ การส่งงานตามใบงาน การทาแบบฝึกหัด การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
การกาหนดเกณฑก์ ารเก็บคะแนน

สว่ นใหญแ่ ลว้ ครผู สู้ อนวดั ผลไมส่ อดคล้องกับวตั ถุประสงค์รายวิชา เป็นการ
วัดผลตามหนงั สือเรียน หรือจากหนังสืออ้างอิงจากสานักพิมพ์ต่างๆ ซึ่งการวัดผลจะต้องวัดพฤติกรรมของ
ผู้เรียนเป็นไปตามที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์รายวิชามากน้อยเพียงใด ครูผู้สอนจาเป็นต้องมีก ารวิเคราะห์
โครงสรา้ งหลักสตู ร ครูผู้สอนไม่ไดเ้ ลอื กเครือ่ งมอื วัดให้เหมาะสม เคร่ืองมืออาจไม่มีคุณภาพพอสาหรับเร่ือง

119

นั้นๆ หรือไม่เหมาะสมสาหรับผู้เรียน การวัดผลทางด้านทักษะ ครูผู้สอนไม่ได้วัดทั้งกระบวนการท่ีผู้เรียน
ปฏิบตั ิ ส่วนใหญจ่ ะดูเฉพาะผลงานทสี่ าเรจ็ แลว้

7) การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผู้เรียน
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
ผู้เรียนใหม้ ีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นสงู ขน้ึ สรุปไดว้ า่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้อยา่ งเปน็ ระบบ จัดหาวัสดุฝึก
ใหเ้ หมาะสมกับรายวิชา จดั หาสอ่ื การเรียนรใู้ ห้เพยี งพอ จดั กิจกรรมการเรียนรปู้ ฏิบตั ใิ ห้มาก จดั กิจกรรมการ
เรยี นรูโ้ ดยเนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ เนน้ การเรียนร้เู ปน็ โครงงาน ชิน้ งาน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในหลักสูตร
วิชาชีพระยะส้ันเพ่ิมเติม ครูผู้สอนควรได้รับการอบรมด้านเทคโนโลยีอย่างสม่าเสมอ การมอบหมายให้
ผ้เู รยี นศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตวั เอง ผูบ้ ริหารมกี ารติดตามการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผสู้ อน

4.1.4.2 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู การสัมภาษณ์ผ้เู รยี น
1) การมสี ่วนร่วมในการแสดงความต้องการการเรยี นรู้
จากการสัมภาษณ์กลมุ่ เปา้ หมายผ้เู รยี นเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ผู้เรียนมีโอกาสได้แสดงความต้องการในการ
เรยี นรตู้ ่อครผู ู้สอน สรุปไดว้ ่า มีโอกาส กล่าวคอื ได้แสดงความต้องการในการเรียนของวิชาน้ันๆ การศึกษา
นอกหอ้ งเรยี น การเรียนรูจ้ ากเทคโนโลยีใหมๆ่ การสอบถามในส่ิงทไ่ี มเ่ ข้าใจ

ซ่ึงความต้องการของผู้เรียนนั้นครูผู้สอนจะต้องนาไปประกอบการวาง
แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ซ่ึงเปน็ การเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ จะส่งผล
ให้ผู้เรียนมีความสนใจในกิจกรรมการเรียนรู้มากยิ่งข้ึน ซ่ึงส่วนใหญ่ครูผู้สอนจะเป็นผู้กาหนดกิจกรรมการ
เรยี นรูท้ ั้งหมด

2) การเรยี นร้จู ากสอ่ื การเรยี นรู้ต่างๆ
จากการสมั ภาษณ์กลุ่มเปา้ หมายผู้เรียนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ของครูผสู้ อนวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย เร่ือง ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้จากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
สรุปไดว้ า่ มีโอกาส กล่าวคือ การคน้ คว้าจากอินเตอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุด วีดิทัศน์
การศกึ ษานอกสถานท่ี

ส่ือการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้ศึกษาส่วนใหญ่ไม่ได้มาจากการท่ีครูผู้สอนได้
ออกแบบ หรอื จดั ซอื้ จัดหาใหม้ ีความเหมาะสมในรายวชิ าหรอื เน้ือหาทเ่ี กีย่ วข้อง เปน็ ผลทาให้ผเู้ รียนอาจขาด
ความสนใจในการเขา้ รว่ มในกจิ กรรมการเรียนรู้น้นั ๆ สอื่ การเรียนรู้ที่ดีต้องสามารถตอบสนองต่อการเรียนรู้
ของผเู้ รยี นได้ และต้องสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงคร์ ายวชิ า

3) การศกึ ษาหาความรเู้ พ่มิ เตมิ จากแหล่งเรียนรู้
จากการสัมภาษณ์กลมุ่ เปา้ หมายผู้เรียนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติมจาก

120

แหล่งเรียนรู้ต่างๆ สรุปได้ว่า ได้ศึกษาจาก อินเตอร์เน็ต ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ชุมชน สื่ออิเล็กทรอนิกส์
โทรทศั น์ หนงั สือ แหล่งธรรมชาติ

4) การมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ของครูผสู้ อน
จากการสมั ภาษณก์ ลุ่มเปา้ หมายผู้เรยี นเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ของครูผู้สอนวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย เร่ือง ผู้เรียนได้มีโอกาสเข้าร่วมในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูใ้ นแตล่ ะวิชา สรุปได้ว่า มีโอกาส กล่าวคือ ได้มีการแสดงความคิดเห็น และมีการนาเสนอในหัวข้อท่ี
ได้รับมอบหมายในแต่ละรายวิชา การนาเสนอในแต่ละหน่วยแลกเปล่ียนความคิดเห็นกัน การตอบคาถาม
การเล่นเกมส์

5) การฝกึ ทักษะ
จากการสมั ภาษณก์ ลุ่มเป้าหมายผเู้ รียนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ของครผู ู้สอนวทิ ยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย เร่อื ง ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะในการปฏิบัติ สรุปได้
วา่ มีโอกาส กล่าวคอื ได้ฝึกทกั ษะดา้ นการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฝึกในการบนั ทึกบัญชีในการเรียนรู้ และ
ในการทางานในสถานประกอบการ ฝึกทักษะในการปฏิบัติในการเรียนรู้ ทาแบบฝึกทักษะต่างๆ การ
ใหบ้ รกิ ารในโครงการ Fix It Center การให้บริการในโครงการอาเภอเคลือ่ นท่ี

6) การมีสว่ นร่วมในการวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
จากการสมั ภาษณก์ ลมุ่ เป้าหมายผ้เู รยี นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ของครผู ้สู อนวิทยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ผู้เรียนได้มีโอกาสในการวางแผนการฝึกทักษะ/
ปฏบิ ตั ิ หรอื การคน้ คว้าหาความรู้เพ่ิมเติม สรุปได้ว่า มีโอกาส มีการวางแผนกับเพ่ือนๆ ในหัวข้อท่ีเป็นงาน
กลุ่ม การวางแผนการฝึกทกั ษะปฏบิ ตั กิ อ่ นในการเรยี นร้หู รอื การค้นควา้ หาความรใู้ นการเรียนรู้ การวางแผน
การเรียนรู้ก่อนลว่ งหนา้ ในการเรียนรู้ และการคน้ คว้าการเรียนรเู้ พมิ่ เตมิ จากหนงั สอื

7) แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพอ่ื เพมิ่ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
จากการสมั ภาษณก์ ลมุ่ เปา้ หมายผู้เรยี นเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่พัฒนาผู้เรียนให้มี
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นสูงขน้ึ สรปุ ไดว้ ่า ควรจัดกระบวนการเรียนรู้ให้น่าสนใจ ควรจัดกระบวนการเรียนรู้
อย่างเคร่งครัด มีส่ือในการเรียนรู้ ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ เรียนทฤษฎีและปฏิบัติอย่างละ
เทา่ ๆ กนั ครูผสู้ อนต้องอธบิ ายเนอ้ื หาตา่ งๆ ของแตล่ ะการเรยี นรใู้ หเ้ ขา้ ใจก่อนจะสั่งงาน ต้องการพัฒนาให้มี
สื่อการเรียนร้ใู หด้ ขี ้ึน

4.1.4.3 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู การสมั ภาษณผ์ ้บู รหิ าร
1) การนเิ ทศการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
จดุ เด่น
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ของครูผสู้ อนวทิ ยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง จุดเด่นจากการนิเทศการจัดกิจกรรมการ

121

เรียนรู้ สรุปได้ว่า วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย มีจุดเด่นในด้านการพัฒนาครูผู้สอนในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ มีการส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผู้สอนใช้ส่ือการเรียนรู้ ครูผู้สอนมีความกระตือรือร้นใน
การใช้สอ่ื การเรียนรู้ จานวนผู้เรียนมีจานวนน้อยครูผู้สอนสามารถควบคุมช้ันเรียนในการทากิจกรรมต่างๆ
ได้อยา่ งทวั่ ถงึ อกี ทัง้ มสี ภาพแวดล้อมทีเ่ ออื้ อานวยตอ่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

สิง่ ท่ีควรพฒั นา
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ของครผู ูส้ อนวิทยาลยั การอาชพี ด่านซา้ ย จังหวดั เลย เรื่อง สง่ิ ทคี่ วรได้รบั การพฒั นาจากการนิเทศการ
จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ สรุปได้วา่ วสั ดอุ ุปกรณ์ ครุภณั ฑ์มีจานวนไม่เพยี งพอต่อผเู้ รียน บางส่วนอยู่ในสภาพที่
ชารุดไม่สามารถใช้งานได้ การนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ควรนามาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงการจัด
กจิ กรรมการเรียนรอู้ ยา่ งจริงจัง ครูผ้สู อนควรไดม้ ีการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู หม้ คี วามสอดคล้อง
กับหลักสูตรและสภาพของผู้เรียน ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะให้มากข้ึน
การวัดผลประเมนิ ผลควรมีความเชอื่ ถือได้ คอื ต้องสามารถวัดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนได้อย่าง
แทจ้ ริงตามวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร

2) สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวดั เลย

จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย สรุปได้ว่า ครูยังขาดความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงเวลาและเต็มเวลา ควรมีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายและมี
การบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ครูผู้สอนควรจัดหาสื่อการเรียนรู้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ครูผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มากขึ้น ครูผู้สอนควรสร้าง
แรงจูงใจใหผ้ ้เู รียนได้ฝกึ คิด ฝึกทา และการแก้ปญั หาได้ดว้ ยตนเอง ครูผู้สอนควรเป็นเพียงผู้แนะแนวทางใน
การเรยี นรู้

3) สาเหตุท่ีทาให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผเู้ รียนต่า
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ

เรยี นรขู้ องครูผูส้ อนวิทยาลยั การอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง ปัญหาที่พบท่ีเป็นสาเหตุทาให้ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของผเู้ รยี นต่า สรุปได้ว่า ผเู้ รยี นขาดความสนใจในกิจกรรมการเรียนรู้ ขาดความรับผิดชอบต่อ
งานที่ไดร้ ับมอบหมาย ไม่มวี ินัย พ้ืนฐานความรู้ของผ้เู รียนอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต่า ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการ
เรียนร้ไู มน่ า่ สนใจ ขาดการเตรยี มตวั ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ วัสดุอุปกรณ์ ส่ือการเรียนรู้ไม่เพียงพอต่อ
ผูเ้ รียน ครูผสู้ อนขาดการวางแผนการเรยี นรทู้ ่ีดี ครผู ู้สอนไมเ่ ข้าใจการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีต้องให้มีความ
สอดคล้องกับหลกั สูตรและผ้เู รยี น

122

4) ลกั ษณะของกจิ กรรมการเรียนรทู้ ีท่ าใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ขึน้
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น
ผเู้ รยี นเป็นสาคญั ทีจ่ ะทาใหผ้ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รียนสูงข้ึน สรุปได้ว่า ครูผู้สอนต้องมีทักษะในการ
จดั ทาแผนการเรยี นรู้ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ต้องให้มีความสอดคล้องกันระหว่างผู้เรียนและเนื้อหาวิชา
ตอ้ งเนน้ ให้ผ้เู รียนมสี ่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ได้มีโอกาสในการฝึกทักษะ และมีความสามารถในการที่
จะเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สถานศึกษาต้องส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเต็ม
ศกั ยภาพ จัดสรรวสั ดอุ ุปกรณใ์ ห้มคี วามเพียงพอ

5) การบรหิ ารทรัพยากรเพือ่ ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง การบริหารทรัพยากรเพ่ือการสนับสนุน
กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สรุปได้ว่า ครูผู้สอนต้องมีจานวนเพียงพอ และสามารถจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ได้เต็มตามศักยภาพตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ควรจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้ให้มีความเพยี งพอ เหมาะสมกบั ผเู้ รียน มีความพร้อมท่ีใช้งาน ได้รับการดูแลบารุงรักษา
อย่างตอ่ เน่อื ง

6) ผู้สนบั สนุนกจิ กรรมการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง บุคคลที่สามารถสนับสนุนกิจกรรมการ
เรยี นรู้ สรุปได้ว่า ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ รผู สู้ อนสามารถจดั กิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่าง
เต็มความสามารถ ครผู สู้ อนจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย
ดาเนินตามกิจกรรมท่ีกาหนด ชมุ ชนสนับสนนุ ในดา้ นของสถานฝึกประสบการณแ์ ละแหลง่ เรียนรู้

7) ขอ้ เสนอแนะ
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ

เรยี นรูข้ องครผู ู้สอนวิทยาลยั การอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ข้อเสนอแนะ สรุปได้ว่า ควรสารวจความ
พงึ พอใจของผู้ใชบ้ ริการผลผลติ ของสถานศึกษาเพื่อนามาปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูผู้สอนควร
จัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ หน้ า่ สนใจ และหลากลาย ครูผูส้ อนควรจัดหาส่ือการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับเน้ือหาที่
สอน ควรจัดกจิ กรรมการเรียนร้แู บบโครงงาน ชนิ้ งาน ใบงาน การทดลอง

4.1.4.4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู การสมั ภาษณ์ผู้ปกครอง
1) การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน

123

สรุปไดว้ ่า ผูเ้ รียนมีความกระตอื รอื รน้ มคี วามรับผดิ ชอบ ตรงต่อเวลา ทางานเป็นระเบียบเรียบร้อย มีความ
ขยนั รู้จักหน้าที่ของตนเอง การพดู จามีกาลเทศะ

2) การจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ นวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย จงั หวัดเลย
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรขู้ องครูผสู้ อนวทิ ยาลัยการอาชพี ด่านซา้ ย จงั หวัดเลย เรอ่ื ง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัยการ
อาชพี ด่านซ้าย จังหวดั เลย สรุปไดว้ ่า มีการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ดี่ ี มีสือ่ การเรียนรู้ทันสมัย มีการวางแผน
ทดี่ ี มกี จิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นได้เข้าร่วมเป็นอย่างดี มีการวางแผนในการจัดตารางเรียนที่สมดุล มีการบูรณาการ
สามารถนาความรทู้ ่ไี ด้ในการเรียนรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพไดจ้ รงิ

3) สภาพปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวดั เลย

จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน
วิทยาลยั การอาชีพ ดา่ นซ้าย จังหวัดเลย สรุปไดว้ า่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้มีความยืดหยุ่น ให้มีการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้ให้เป็นระบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครูผู้สอนควรมีระบบการควบคุมดูแลให้ผู้เรียน
เขา้ ร่วมกิจกรรม ครผู ู้สอนทีม่ อบหมายงานใหผ้ เู้ รยี นทีม่ ากเกนิ ไปอาจทาให้ผ้เู รียนเกดิ ความเบอ่ื หน่ายได้ การ
จดั คาบเรียนตดิ ต่อกนั 3-4 คาบ อาจทาให้ผู้เรียนเบื่อหน่ายได้ ควรจัดคาบเรียน 1-2 คาบ ต่อรายวิชาใน 1
วัน ผเู้ รยี นไม่ค่อยเขา้ เรียน การจดั ตารางเรียนท่เี ลกิ ค่าเกนิ ไป การทางานในชว่ งของวันหยดุ

4) การพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ลักษณะการเรียนรู้ท่ีสามารถพัฒนาให้
ผู้เรียนมีผลการเรียนท่ีสูงขึ้น สรุปได้ว่า ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการปฏิบัติด้วยเพ่ือทาให้
ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นและปฏิบัติได้ ควรมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการปฏิบัติควบคู่กัน
เพ่ือที่จะให้ผู้เรียนได้จาและทาได้ ควรมีอุปกรณ์ให้ครบทุกคน ควรบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้ง
ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ให้ผู้เรยี นได้มีโอกาสทางานเดีย่ วสลบั กับการทางานกลุ่ม มีการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้โดยมุง่ ใหผ้ ู้เรียน เรยี นรโู้ ดยการปฏิบตั ิมากกว่าการเรียนรู้ในหนังสืออย่างเดียว ควรมีการกระตุ้น
ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามสนใจในการเรยี นรู้ มกี จิ กรรมบางครงั้ เพอ่ื ให้ผู้เรียนได้พกั ผ่อน

5) ข้อเสนอแนะ
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัดกิจกรร มการ

เรียนรู้ของครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ข้อเสนอแนะ สรุปได้ว่า ควรมีการจัด
กิจกรรมให้ผู้เรียนมีเวลายืดหยุ่น ควรเลิกเรียนไม่เกิน 16.30 น. และควรเลิกพร้อมกันท้ังหมด ควรสร้าง
หอ้ งนา้ เพม่ิ เติมเพื่อความสะดวก

124

4.1.4.5 อภิปรายผลการศกึ ษา
จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการ

เรยี นรู้ คอื ผ้เู รียน ครผู ูส้ อน ผู้บรหิ าร และผู้ปกครอง ทาให้เห็นว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน
ส่วนใหญไ่ มไ่ ด้มีการวิเคราะห์หลักสูตรให้สอดคล้องกับผู้เรียน ท้ังนี้อาจเป็นเพราะว่า ครูผู้สอนจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ตามหนังสือเรียน ซึ่งครูผู้สอนบางส่วนอาจยึดหนังสือเรียนเพียงสานักพิมพ์เดียว ครูผู้สอน
บางส่วนนาแผนการเรยี นรู้จากสถานศกึ ษาอื่นมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูผู้สอนบางส่วนไม่ได้นาแผนการ
เรียนรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างแท้จริง เป็นผลทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไม่มีความ
สอดคลอ้ งกันกบั โครงสร้างหลกั สูตร และไม่เหมาะสมกับผู้เรียนท่ีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซ่ึงครูผู้สอนไม่ได้มี
การวิเคราะห์โครงสรา้ งหลกั สูตรในรายวิชาท่ีจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เป็นผลทาใหก้ จิ กรรมการเรียนรู้ไม่เป็นท่ี
น่าสนใจของผู้เรยี น

4.1.4.6 ขอ้ เสนอแนะ
1) ข้อเสนอแนะทั่วไป
(1) ครูผู้สอนควรมีการสารวจความต้องการ และสภาพของผู้เรียนก่อน

วางแผนการเรียนรู้
(2) ครผู สู้ อนควรวิเคราะหโ์ ครงสร้างหลกั สูตรในรายวิชาท่ีจัดกิจกรรมการ

เรยี นรู้
(3) ครผู ้สู อนควรจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ โดยการกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถ

คิดเปน็ ทาเป็น แกป้ ัญหาได้
(4) กิจกรรมการเรียนรู้ควรเน้นการปฏิบัติเป็นกลุ่ม เพื่อเปิดโอกาสให้

ผู้เรยี นได้แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และชว่ ยเหลอื ซ่ึงกนั และกัน
(5) ควรมีการวัดผลประเมินผลให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์รายวชิ า

2) ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการศึกษาไปใช้ มดี งั นี้
(1) ควรมกี ารรวบรวมขอ้ มูลด้วยเคร่ืองมอื ทหี่ ลากหลาย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่

ถกู ตอ้ ง เพอ่ื นาไปสู่กระบวนการพฒั นาครูผสู้ อนในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
(2) ควรมีการพฒั นาครูผสู้ อนในดา้ นการจัดทาแผนการเรียนรู้

4.1.5 ผลการประชุมกลุ่มเพื่อวิเคราะห์ SWOT ทรัพยากรในการสนับสนุนกระบวนการสอน
ของครูผ้สู อน

วทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ยไดแ้ ตง่ ตั้งคณะกรรมการวเิ คราะห์การบริหารทรัพยากรในการ
สนับสนุนกระบวนการสอนของครูผูส้ อน (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก จ หน้า 354) เพ่ือเป็นผู้ดาเนินการ
ในการประชุมการวิเคราะห์ SWOT ของผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียน ซ่ึงสรุปผลการวิเคราะห์ได้ดังน้ี
(รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก จ หน้า 344)

125

4.1.5.1 จดุ แขง็ (strenghts)
จากการวเิ คราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนุนกระบวนการ

สอนของครผู ้สู อน เรอ่ื ง จดุ แขง็ (strenghts) สรุปได้ว่า จานวนครูผูส้ อน และบุคลากรฝ่ายสนับสนุนมีความ
เพียงพอต่อจานวนผู้เรียน และมีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ อาคารสถานที่และห้องเรียนมี
จานวนเพยี งพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สภาพแวดล้อมมีความเหมาะสมมาก สามารถสนับสนุนการ
จดั กจิ กรรมการเรยี นรูไ้ ด้เป็นอยา่ งดี สอ่ื การเรยี นรู้และอปุ กรณ์การทดลองเพยี งพอต่อการเรียนรู้ หลักสูตรมี
ความเหมาะสมตอ่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา ไดร้ ับงบประมาณในการสนบั สนุนการ
ดาเนนิ กิจกรรมในโครงการต่างๆ

4.1.5.2 จุดอ่อน (weaknesses)
จากการวเิ คราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนุนกระบวนการ

สอนของครูผู้สอน เร่ือง จุดอ่อน (weaknesses) สรุปได้ว่า ผู้เรียนมีจานวนน้อย ผู้เรียนไม่มีความตรงต่อ
เวลา ขาดความสนใจใฝ่รู้ ไม่ต้ังใจเรียน ภาระของครูผู้สอนมากเกินไปและยังปฏิบัติหน้าที่หลายอย่าง
ครูผู้สอนบางส่วนขาดการเอาใจใส่ต่อผู้เรียน บุคลากรขาดการได้รับการส่งเสริมขวัญและกาลังใจ มีการ
ประชมุ บ่อยครง้ั ซึ่งมผี ลตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ อปุ กรณ์การทดลองเสียหายเพราะขาดงบประมาณใน
การบารุงรกั ษา ซอ่ มแซม ส่ือการเรียนรลู้ า้ สมัยและไม่เพียงพอ

4.1.5.3 โอกาส (opportunities)
จากการวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนุนกระบวนการ

สอนของครูผู้สอน เรื่อง โอกาส (opportunities) สรุปได้ว่า มีโอกาสเข้าถึงส่ือต่างๆ ได้ง่าย ได้รับการ
สนับสนุนในการจัดทาสิ่งประดิษฐ์ ครูผู้สอนได้มีโอกาสได้พัฒนาตนเองโดยการรับการอบรมหรือศึกษาหา
ความรู้เพิ่มเติม และได้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ ครูผู้สอนส่วนหนึ่งเป็นคนท้องถ่ินจึงไม่มีการย้ายงานบ่อย
สถานศึกษาได้รับความร่วมมือกับชุมชน มีแหล่งเรียนรู้ใกล้สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
ใหบ้ ริการอนิ เตอรเ์ นท็ อย่างทั่วถงึ

4.1.5.4 อปุ สรรค (threats)
จากการวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนุนกระบวนการ

จัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน เร่ือง อุปสรรค (threats) สรุปได้ว่า มีกิจกรรมอ่ืนๆ ที่ไม่เก่ียวข้องกับกิจกรรม
การเรยี นรู้มากไป จงึ ทาให้ท้ังครผู ูส้ อนและผูเ้ รียนไมค่ ่อยไดท้ ากิจกรรมการเรยี นรู้ ครูผู้สอนไปอบรมบ่อยทา
ใหไ้ ม่ได้จัดกจิ กรรมการเรียนรู้และทาให้ผู้เรียนไม่อยากมาเรียน ขาดแคลนงบประมาณเนื่องจากได้รับการ
จัดสรรไมเ่ พยี งพอ คุณภาพของผเู้ รียนที่เข้ามาเรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้ายค่อนข้างต่า ทัศนคติของ
ผปู้ กครองบางส่วนมคี วามคิดเหน็ ตอ่ วทิ ยาลัยการอาชพี ด่านซ้ายเปน็ ไปในเชิงลบ

126

4.1.6 ผลการประชุมหวั หน้าสาขาวิชาเพื่อสรุปผลการศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของ
ครผู สู้ อน (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ฉ หน้า 356)

4.1.6.1 สรปุ ปญั หาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
มติที่ประชุม จากผลการสารวจพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ผลการ

ตรวจสอบเอกสารการสอนและการสงั เกตการสอนในชั้นเรียนของครูผู้สอน ผลการสัมภาษณ์เชิงลึก และผล
การวิเคราะห์ SWOT มีความคิดเห็นร่วมกันเกยี่ วกับปัญหาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ดงั น้ี

1) ครูผู้สอนไม่ได้สารวจความต้องการ และสภาพของผู้เรียน ก่อนการ
ออกแบบกระบวนการเรียนรู้

2) ผเู้ รียนไมม่ ีความสนใจในการมีสว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
3) ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะโดยกระบวนการกลุ่ม เพื่อแลกเปล่ียน
เรยี นรู้ และปฏิสมั พนั ธ์กัน ค่อนขา้ งน้อย
4) ครูผู้สอนมีการวัดผลประเมินผลไม่หลากหลาย และจัดทาเกณฑ์การ
ประเมนิ ผลไม่ชดั เจน
5) ครูผสู้ อนขาดทักษะในการจดั ทาแผนการเรียนรู้
6) ครผู สู้ อนไมไ่ ดจ้ ดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามแผนการเรยี นร้ทู ี่ได้กาหนดไว้
7) ครูผู้สอนขาดทักษะในการกระตุ้นเร้าให้ผู้เรียนสนใจในการเข้าร่วม
กจิ กรรมการเรยี นรู้
8) ผเู้ รยี นขาดทกั ษะในการคดิ แก้ปัญหา และวางแผนแก้ปญั หา
9) ครูผู้สอนและผู้เรียนไม่ได้มีการวิเคราะห์ข้อมูล/ความรู้ร่วมกัน เพ่ือ
สรุปเป็นองคค์ วามรู้
4.1.6.2 แนวทางการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครผู สู้ อน
มติท่ีประชุม จากปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้น ส่งผลให้การจัด
กิจกรรมการเรียนรไู้ ม่บรรลุตามวตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร จึงไดก้ าหนดแนวทางแก้ไขปัญหารว่ มกัน ดังน้ี
1) ครูผู้สอนควรสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนมีความสนใจในการเข้าร่วม
กิจกรรมการเรยี นรู้
2) ครูผสู้ อนควรกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นคดิ แกป้ ญั หา และวางแผนแก้ปญั หา
3) ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะโดยกระบวนการกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยน
เรยี นรู้ และปฏิสมั พนั ธ์กัน
4) ผู้เรียนควรได้มีโอกาสศึกษา ค้นคว้า หาความรู้ด้วยตนเอง หรือ
กระบวนการกลมุ่
5) ครูผู้สอน และผู้เรียน ควรวิเคราะห์ข้อมูล/ความรู้ร่วมกัน เพ่ือสรุป
เปน็ องคค์ วามรู้

127

6) ครูผู้สอน และผู้เรียน ควรได้มีการสรุปประเด็นความรู้ และ
ประเมินผลร่วมกนั ด้วยวิธีการทห่ี ลากหลาย

4.1.7 ผลการจัดทากระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั

ผวู้ จิ ัยได้ศึกษาข้อมลู 2 ส่วน คอื
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องเก่ียวกับการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เช่น การสอนแบบปฏิบัติการ การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน วิธี
สอนโดยการทดลอง การสอนแบบวิทยาศาสตร์ และการสืบเสาะหาความร้เู ปน็ กลุ่ม

ส่วนที่ 2 ข้อมูลจากการเก็บรวบรวม เช่น ผลการสารวจพฤติกรรมการสอนของ
ครูผสู้ อนในวทิ ยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จังหวัดเลย การตรวจสอบเอกสารการสอนและการสังเกตการสอน
ในช้ันเรยี นของครูผู้สอน การสัมภาษณ์เชงิ ลึก การวิเคราะห์ SWOT ทรพั ยากรในการสนับสนุนกระบวนการ
สอนของครผู ู้สอน

จากข้อมูลท้ัง 2 ส่วน ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิเคราะห์ ผนวกกับมติท่ีประชุมหัวหน้า
สาขาวิชา (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ฉ หน้า 356) ในแนวทางการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครูผสู้ อน เพอื่ นามากาหนดเปน็ แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยให้มีความ
สอดคล้องกับสภาพ บรบิ ทของวิทยาลัยการอาชพี ด่านซา้ ย จังหวัดเลย เป็น "การเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซ่ึง
ใชป้ ญั หาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม" กาหนดเป็นขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้ (รายละเอียด
ปรากฏในภาคผนวก ช หน้า 367)

ขั้นตอนท่ี 1 การนาเขา้ สบู่ ทเรียน/เสนอปญั หา/ประเดน็
ข้ันตอนที่ 2 ศึกษาวิเคราะห์ กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาและวางแผน
แกป้ ัญหา
ข้นั ตอนที่ 3 การเก็บขอ้ มลู /การคน้ ควา้ หาความรู้
ขั้นตอนท่ี 4 การวเิ คราะห์ข้อมูล/รวบรวมข้อมลู เสนอผลการเรียนรู้
ขั้นตอนท่ี 5 สรปุ และประเมินคา่ คาตอบ
ขั้นตอนที่ 6 การปรบั ปรงุ การเรียนรแู้ ละนาไปใช้

128

ระยะท่ี 2 ผลการสร้างรปู แบบกระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอนทเี่ น้นผ้เู รยี นเปน็
สาคัญ

4.2.1 ผลการประชุม สนทนากลมุ่ กับหวั หน้าสาขาวชิ าเพอื่ หาฉนั ทามติ
จากการประชุมหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อหาฉนั ทามติในกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครผู ้สู อนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั โดยจดั ประชมุ เมอ่ื วันท่ี 10 สิงหาคม 2564 สรุปผลการหาฉันทามติ ได้ดังน้ี
(รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ซ หน้า 371)

4.2.1.1 มีผ้เู ขา้ รว่ มประชุมเป็นหัวหน้าสาขาวิชา จานวน 10 คน (รายละเอียดปรากฏ
ในภาคผนวก ซ หนา้ 378)

4.2.1.2 ผ้เู ข้ารว่ มประชมุ จานวน 10 คน มีความคิดเห็นว่า สภาพการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้ของครูผู้สอนของวทิ ยาลัยการอาชพี ดา่ นซา้ ย จงั หวัดเลย และกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอน
ของครูผู้สอน (รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม) มีความ
สอดคล้องกัน และสามารถท่ีจะนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ คิดเป็นร้อยละ 100 (รายละเอียด
ปรากฏในภาคผนวก ซ หน้า 381)

4.2.2 สรปุ ผลและนาเสนอกระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครผู ู้สอนท่ีเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ (การเรียนรทู้ ่ีเนน้ การปฏิบตั ซิ ่ึงใชป้ ัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุม่ )

กระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั (รปู แบบการ
เรียนรทู้ ีเ่ นน้ การปฏิบตั ิซง่ึ ใชป้ ญั หาเป็นฐานโดยกระบวนการกลมุ่ ) ได้นาเสนอหัวหนา้ สาขาวชิ า เพ่ือหาฉันทา
มติ ซง่ึ ทุกคนมคี วามเห็นว่าสามารถนาไปใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรไู้ ด้ ซ่ึงได้มกี ารปรับปรุงและเพิ่มเติม
สาระให้มคี วามสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้จริง ซ่ึง
ประกอบไปดว้ ยสาระสาคญั ดังน้ี (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ฌ หนา้ 386)

4.2.2.1 การเตรียมการจดั กระบวนการเรียนรู้
1) สารวจความต้องการของผู้เรยี น
2) วิเคราะหห์ ลกั สตู รและคาอธิบายรายวิชา
3) การจดั ทาแผนการเรียนรู/้ โครงการเรยี นรู้
4) การกาหนดสอื่ การเรยี นรู้
5) การจัดเตรียมแหล่งเรียนรู้
6) การกาหนดพฤติกรรมการประเมินผล

4.2.2.2 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
1) การนาเข้าสูบ่ ทเรยี น/เสนอปญั หา/ประเด็น
2) ศึกษาวิเคราะห์ กระตุน้ ใหผ้ ู้เรยี นคิดแก้ปญั หาและวางแผนแกป้ ัญหา
3) การเก็บขอ้ มลู /การคน้ ควา้ หาความรู้

129

4) การวเิ คราะหข์ อ้ มูล/รวบรวมข้อมลู เสนอผลการเรียนรู้
5) สรปุ และประเมินคา่ คาตอบ
6) การปรบั ปรงุ การเรยี นรแู้ ละนาไปใช้

การเรยี นรู้ 4.2.2.3 การประเมินผลตามสภาพจรงิ
เรียนรู้ 1) ความหมายของการประเมนิ ผลตามสภาพจริง
2) ลกั ษณะสาคัญของการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
3) แนวทางการนาวิธีการประเมินผลตามสภาพจริงไปใช้ในการจัดกิจกรรม

4) ส่งิ ทคี่ วรคานงึ ถึงเกยี่ วกบั การประเมินผลตามสภาพจรงิ
5) วิธีการประเมินผลตามสภาพจริง
6) การนาแนวคิดการประเมินผลตามสภาพจริงไปใช้ในการจัดกิจกรรมการ

4.2.2.4 การนเิ ทศกระบวนการเรยี นรู้
1) ความหมายของการนเิ ทศกระบวนการเรียนรู้
2) กระบวนการนิเทศการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ในช้นั เรยี น

ระยะที่ 3 ผลการตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได,้ ความสอดคลอ้ ง และความเป็นประโยชน์
ของกระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครูผ้สู อนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ

4.3.1 ผลการสอบถามในวงกวา้ งเกย่ี วกับความเหมาะสม, ความเป็นไปได,้ ความสอดคล้อง
และความเป็นประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ

เมอื่ ผ้วู ิจัยดาเนินการสรา้ งรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ได้ให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 7 คน ตรวจสอบความเหมาะสม, ความสอดคล้อง, ความ
เปน็ ไปได้ และความเปน็ ประโยชน์ ต่อการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ของรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรม
การสอนของครูผ้สู อนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ "รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดย
กระบวนการกล่มุ " (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ญ หนา้ 404) ปรากฏผลดังตารางท่ี 5-9

130
ตารางที่ 5 ผลการประเมิน รปู แบบการเรยี นรทู้ ี่เนน้ การปฏิบัตซิ งึ่ ใช้ปญั หาเป็นฐานโดยกระบวนการกล่มุ

ข้อที่ รายการ ผลการประเมิน
  แปลความหมาย
1 ดา้ นความเหมาะสม 4.66 0.97 มากที่สุด
4.74 0.97 มากทส่ี ุด
2 ด้านความเปน็ ไปได้ 4.57 0.21 มากที่สดุ
3 ดา้ นความสอดคล้อง 4.71 0.10 มากทสี่ ดุ
4 ด้านความเป็นประโยชน์ 4.67 0.03 มากที่สุด

รวม

จากตารางที่ 5 ผลการประเมิน รูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดย

กระบวนการกลุ่ม โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.67,  = 0.03) เมื่อพิจารณาตาม

รายการพบว่า รายการที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ด้านความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.74,  =

0.97) รองลงมา คือ ดา้ นความเป็นประโยชน์ อยูใ่ นระดับมากที่สุด ( = 4.71,  = 0.10) ส่วนรายการท่ีมี

คา่ เฉลี่ยต่าสดุ คือ ด้านความสอดคลอ้ ง อยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ ( = 4.57,  = 0.21)
เพือ่ ให้เห็นความแตกตา่ งในรายละเอียดเป็นรายขอ้ ของแต่ละดา้ นทีช่ ัดเจนยิ่งข้ึน จึงนาเสนอผล

การประเมิน รปู แบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ "รูปแบบ
การเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม" จาแนกตามรายการของแต่ละด้าน
ตามลาดับ ดงั น้ี

ตารางที่ 6 ผลการประเมนิ รปู แบบการเรยี นรูท้ ี่เนน้ การปฏบิ ตั ิซงึ่ ใชป้ ัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม
ดา้ นความเหมาะสม

ข้อที่ รายการ ผลการประเมนิ
  แปลความหมาย

1 รูปแบบการเรยี นรูท้ เี่ นน้ การปฏิบัตซิ งึ่ ใช้ปญั หาเป็นฐานโดย 4.85 0.37

กระบวนการกลุ่มท่สี ร้างขึ้นครอบคลุมองค์ประกอบสาคัญ

ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มากท่ีสดุ

2 รปู แบบการเรียนรู้ที่เนน้ การปฏิบตั ิซึ่งใชป้ ญั หาเป็นฐานโดย 4.42 0.53 มากท่สี ดุ

กระบวนการกล่มุ ทสี่ ร้างขึ้น มถี อ้ ยคา สานวนภาษาทเี่ หมาะสม

3 รูปแบบการเรียนรู้ท่เี น้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดย 4.57 0.53 มากที่สุด

131

ขอ้ ท่ี รายการ ผลการประเมนิ
 แปลความหมาย


กระบวนการกลมุ่ ที่สร้างขึน้ จดั ลาดบั การนาเสนอเน้ือหาไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสม

4 รูปแบบการเรยี นรูท้ เ่ี น้นการปฏิบัติซงึ่ ใชป้ ญั หาเป็นฐานโดย 4.57 0.53 มากทสี่ ดุ

กระบวนการกลุ่มที่สร้างข้นึ มแี นวทางในการจดั กิจกรรมการ

เรียนรทู้ ีช่ ดั เจน

5 รูปแบบการเรยี นรทู้ ่เี น้นการปฏบิ ัตซิ ึง่ ใช้ปัญหาเป็นฐานโดย 4.85 0.37 มากท่สี ดุ

กระบวนการกลมุ่ ที่สรา้ งขนึ้ มคี วามเหมาะสมกับสถานการณใ์ น

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ของสถานศกึ ษาในปจั จุบัน

รวม 4.66 0.09 มากทสี่ ุด

จากตารางที่ 6 ผลการประเมิน รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดย

กระบวนการกลุ่ม ด้านความเหมาะสม พบว่า อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.66,  = 0.09) เมื่อพิจารณา
ตามรายการพบวา่ รายการที่มคี า่ เฉลยี่ สงู สุด คอื รูปแบบการเรยี นรู้ที่เน้นการปฏิบตั ซิ ึ่งใชป้ ญั หาเป็นฐานโดย
กระบวนการกลุ่มท่ีสร้างข้ึนครอบคลุมองค์ประกอบสาคัญในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และรูปแบบการ
เรียนรทู้ เ่ี น้นการปฏิบัติซงึ่ ใชป้ ญั หาเปน็ ฐานโดยกระบวนการกลุ่มท่ีสร้างขึ้นมีความเหมาะสมกับสถานการณ์

ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของสถานศึกษาในปัจจุบัน อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.85,  = 0.37)
รองลงมา คือ รูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่มท่ีสร้างข้ึน
จดั ลาดบั การนาเสนอเนือ้ หาได้อย่างเหมาะสม และรูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐาน
โดยกระบวนการกลุม่ ทส่ี ร้างขึ้นมีแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีชัดเจน อยู่ในระดับมากที่สุด ( =

4.57,  = 0.53) สว่ นรายการที่มคี า่ เฉลย่ี ต่าสดุ คือ รูปแบบการเรียนรู้ทีเ่ นน้ การปฏบิ ัติซงึ่ ใช้ปัญหาเป็นฐาน

โดยกระบวนการกลมุ่ ทีส่ รา้ งขึน้ มีถ้อยคา สานวนภาษาทเ่ี หมาะสม อยู่ในระดบั มาก ( = 4.42,  = 0.53)

132

ตารางที่ 7 ผลการประเมิน รูปแบบการเรียนรู้ทเ่ี นน้ การปฏบิ ัตซิ ่ึงใชป้ ัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม
ดา้ นความเปน็ ไปได้

ข้อที่ รายการ ผลการประเมนิ
1 รปู แบบการเรยี นรทู้ เ่ี น้นการปฏบิ ตั ิซึง่ ใช้ปัญหาเป็นฐานโดย
  แปลความหมาย
5.00 0.00 มากท่สี ดุ

กระบวนการกลุ่มทีส่ ร้างขึ้นสามารถนาไปใช้ได้ในสถานการณ์

จริง

2 รปู แบบการเรียนร้ทู ่ีเนน้ การปฏิบตั ิซง่ึ ใช้ปัญหาเป็นฐานโดย 5.00 0.00 มากทส่ี ุด

กระบวนการกล่มุ ท่สี ร้างขึ้นมกี ระบวนการและแนวทางการ

ดาเนนิ งานท่ีชดั เจนเปน็ รูปธรรม

3 รปู แบบการเรยี นรทู้ ี่เนน้ การปฏิบัติซ่ึงใชป้ ญั หาเป็นฐานโดย 4.42 0.53 มาก

กระบวนการกลมุ่ ท่สี รา้ งขน้ึ สามารถทาให้ผเู้ รียนมีการพัฒนา

พฤติกรรมได้แท้จรงิ

4 รปู แบบการเรยี นรู้ทเ่ี น้นการปฏิบัตซิ ง่ึ ใชป้ ัญหาเป็นฐานโดย 4.57 0.53 มากทส่ี ุด

กระบวนการกลมุ่ ที่สร้างขึ้นทาใหค้ รูผู้สอนสามารถปฏิบัตไิ ดไ้ ม่

สร้างภาระมากเกนิ ไป

5 รูปแบบการเรียนรทู้ เ่ี น้นการปฏิบัตซิ ึง่ ใชป้ ัญหาเป็นฐานโดย 4.71 0.48 มากท่ีสดุ

กระบวนการกลุ่มทส่ี ร้างขน้ึ ทาใหส้ ถานศกึ ษาสามารถบริหาร

ทรพั ยากรไดอ้ ยา่ งคุ้มคา่

รวม 4.74 0.09 มากทส่ี ุด

จากตารางท่ี 7 ผลการประเมิน รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐาน

โดยกระบวนการกลุม่ ด้านความเป็นไปได้ พบวา่ อยใู่ นระดับมากท่ีสุด ( = 4.74,  = 0.09) เมอื่ พิจารณา
ตามรายการพบวา่ รายการท่ีมีคา่ เฉล่ยี สงู สุด คอื รูปแบบการเรยี นรู้ท่เี นน้ การปฏิบตั ิซง่ึ ใชป้ ญั หาเป็นฐานโดย
กระบวนการกลมุ่ ท่สี ร้างขนึ้ สามารถนาไปใชไ้ ดใ้ นสถานการณจ์ รงิ และรูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซึ่ง
ใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่มท่ีสร้างขึ้นมีกระบวนการและแนวทางการดาเนินงานท่ีชัดเจนเป็น

รปู ธรรม อยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ ( = 5.00,  = 0.00) รองลงมา คือ รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซึ่ง
ใช้ปญั หาเปน็ ฐานโดยกระบวนการกลุ่มท่ีสร้างข้ึนทาให้สถานศึกษาสามารถบริหารทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า

อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.71,  = 0.48) ส่วนรายการที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ รูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้น
การปฏบิ ัตซิ ง่ึ ใชป้ ัญหาเปน็ ฐานโดยกระบวนการกลุ่มที่สรา้ งข้นึ สามารถทาใหผ้ ูเ้ รียนมีการพัฒนาพฤตกิ รรมได้

แทจ้ ริง อยูใ่ นระดับมาก ( = 4.42,  = 0.53)

133

ตารางที่ 8 ผลการประเมนิ รปู แบบการเรียนรทู้ ี่เนน้ การปฏบิ ตั ิซง่ึ ใชป้ ัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลมุ่
ดา้ นความสอดคล้อง

ขอ้ ที่ รายการ ผลการประเมนิ
1 รปู แบบการเรียนรูท้ เี่ น้นการปฏิบัตซิ ึง่ ใชป้ ญั หาเป็นฐานโดย
  แปลความหมาย
5.00 0.00 มากทีส่ ุด

กระบวนการกล่มุ ทีส่ ร้างขึน้ มคี วามสอดคลอ้ งกับหลักการ และ

ทฤษฎที เ่ี กย่ี วข้อง

2 รปู แบบการเรียนรูท้ ีเ่ นน้ การปฏบิ ัติซ่ึงใชป้ ัญหาเป็นฐานโดย 4.42 0.53 มาก

กระบวนการกลุ่มที่สรา้ งขึน้ มีความสอดคลอ้ งกบั นโยบายพัฒนา

คุณภาพการจดั การศกึ ษาของหน่วยงานตน้ สงั กดั

3 รปู แบบการเรียนรู้ทเี่ น้นการปฏบิ ตั ซิ ง่ึ ใช้ปัญหาเป็นฐานโดย 4.28 0.75 มาก

กระบวนการกลมุ่ ท่ีสร้างขนึ้ มคี วามสอดคล้องและครอบคลมุ กับ

การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

4 รูปแบบการเรียนร้ทู เี่ น้นการปฏบิ ตั ิซึง่ ใช้ปัญหาเป็นฐานโดย 4.57 0.53 มากทส่ี ดุ

กระบวนการกลมุ่ ท่ีสร้างข้นึ สอดคลอ้ งกับสภาพปัจจุบนั /ปญั หา

ของสถานศึกษา

5 รปู แบบการเรยี นรู้ทีเ่ น้นการปฏบิ ตั ิซ่ึงใช้ปญั หาเป็นฐานโดย 4.57 0.53 มากที่สุด

กระบวนการกลุ่มที่สร้างข้ึนมีความสอดคล้องกับการจัดกิจกรรม

การเรยี นรูท้ ่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

รวม 4.57 0.21 มากทีส่ ดุ

จากตารางที่ 8 ผลการประเมิน รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดย

กระบวนการกลุ่ม ด้านความสอดคล้อง พบว่า อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.57,  = 0.21) เม่ือพิจารณา
ตามรายการพบว่า รายการทมี่ ีค่าเฉลย่ี สงู สดุ คอื รูปแบบการเรียนร้ทู ี่เนน้ การปฏบิ ตั ซิ งึ่ ใช้ปญั หาเป็นฐานโดย
กระบวนการกลุ่มท่ีสร้างขึ้นมีความสอดคลอ้ งกบั หลักการ และทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง อยู่ในระดับมากที่สุด ( =

5.00,  = 0.00) รองลงมา คือ รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการ
กลมุ่ ท่ีสร้างขึน้ สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน/ปัญหาของสถานศึกษา และรูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติ
ซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่มท่ีสร้างข้ึนมีความสอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น

ผู้เรียนเปน็ สาคัญ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.57,  = 0.53) ส่วนรายการท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ รูปแบบ

134

การเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่มที่สร้างข้ึนมีความสอดคล้องและ
ครอบคลมุ กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยใู่ นระดับมากทสี่ ดุ ( = 4.28,  = 0.75)

ตารางท่ี 9 ผลการประเมิน รปู แบบการเรยี นรทู้ ี่เน้นการปฏบิ ตั ซิ ึ่งใชป้ ญั หาเปน็ ฐานโดยกระบวนการกลุ่ม
ดา้ นความเปน็ ประโยชน์

ขอ้ ที่ รายการ ผลการประเมิน
  แปลความหมาย

1 รปู แบบการเรียนรู้ทเี่ นน้ การปฏบิ ตั ิซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดย 5.00 0.00 มากท่ีสุด

กระบวนการกลุ่มทีส่ รา้ งขึน้ มปี ระโยชน์ต่อการจดั กจิ กรรมการ

เรยี นรู้

2 รปู แบบการเรียนรู้ท่เี น้นการปฏบิ ัติซึ่งใชป้ ญั หาเป็นฐานโดย 4.85 0.37 มากท่สี ดุ

กระบวนการกลมุ่ ทสี่ ร้างขน้ึ เป็นแนวทางที่ดใี นการจดั กจิ กรรม

การเรยี นรูข้ องสถานศกึ ษาอ่นื

3 รปู แบบการเรียนรทู้ เี่ น้นการปฏิบัติซง่ึ ใช้ปัญหาเป็นฐานโดย 4.57 0.53 มากทส่ี ดุ

กระบวนการกลุ่มท่สี รา้ งขึ้นทาให้ครูผู้สอนสามารถพัฒนา

กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

4 รูปแบบการเรยี นร้ทู ี่เน้นการปฏบิ ัตซิ งึ่ ใช้ปญั หาเป็นฐานโดย 4.42 0.53 มาก

กระบวนการกล่มุ ท่สี รา้ งขึ้นเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพ

การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

5 รปู แบบการเรียนรทู้ ่เี นน้ การปฏบิ ตั ิซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดย 4.71 0.48 มากที่สดุ

กระบวนการกลมุ่ ทส่ี ร้างขึ้นเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพ

ของผู้เรยี น

รวม 4.71 0.10 มากที่สุด

จากตารางที่ 9 ผลการประเมิน รูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดย

กระบวนการกลุ่ม ความเป็นประโยชน์ พบว่า อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.71,  = 0.10) เม่ือพิจารณา
ตามรายการพบว่า รายการทมี่ คี า่ เฉลี่ยสงู สดุ คือ รปู แบบการเรยี นร้ทู ี่เนน้ การปฏบิ ตั ซิ ึ่งใชป้ ัญหาเป็นฐานโดย
กระบวนการกลุม่ ทสี่ รา้ งขน้ึ มีประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการรู้ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 5.00,

 = 0.00) รองลงมา คือ รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่มท่ี
สร้างข้ึนเปน็ แนวทางทด่ี ใี นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของสถานศึกษาอื่น อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.85,

 = 0.37) ส่วนรายการที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ รูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดย


Click to View FlipBook Version