187
1.4 ข้ันอภิปรายหลังการทดลอง เป็นข้ันของการนาเสนอข้อมูล และสรุปผลการ
ทดลอง ในขนั้ ตอนนค้ี รตู ้องนาการอภิปรายโดยใช้คาถามเพ่ือนานักเรียนไปสู่ข้อสรุป เพ่ือให้ได้แนวคิดหรือ
หลกั เกณฑท์ ี่สาคญั ของบทเรียน
2 วิธีสืบสอบท่ีครูเป็นผู้วางแผนให้ (less guided inquiry) เป็นวิธีสืบสอบท่ีครูเป็นผู้
กาหนดปัญหา แต่ใหน้ กั เรียนหาวธิ ีแกป้ ัญหาด้วยตนเอง โดยเริ่มตั้งแต่การตั้งสมมุตฐานวางแผนการทดลอง
ทาการทดลองจนถงึ สรปุ ผลการทดลอง โดยมคี รูเป็นผอู้ านวยความสะดวก อาจเรียกวิธีน้ีว่า วิธีสอนแบบไม่
กาหนดแนวทาง ลาดับขั้นของการสอนวิธนี ี้ คือ
2.1 สร้างสถานการณ์หรือปัญหา ซ่ึงอาจทาโดยการใช้คาถามใช้สถานการณ์จริงโดย
การสาธิต ใช้ภาพปริศนาหรอื ภาพยนตรเ์ พื่อเสนอปัญหา
2.2 นักเรียนวางแผนแก้ปัญหา โดยครเู ป็นผ้แู นะแนวทาง ระบุแหล่งความรู้
2.3 นักเรียนดาเนนิ การแกป้ ัญหาตามแผนทีว่ างไว้
2.4 รวบรวมขอ้ มูล วิเคราะห์ขอ้ มลู และสรุปผลการแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง โดยมีครูเป็น
ผู้ดูแลร่วมในการอภิปรายเพอื่ ให้ได้ความรูท้ ถ่ี ูกต้องสมบูรณ์
3 วิธีสืบสอบท่ีนักเรียนเป็นผู้วางแผนเอง (free inquiry) เป็นวิธีการท่ีนักเรียนเป็นผู้
กาหนดปัญหาเอง วางแผนการทดลองเอง ดาเนินการทดลอง ตลอดจนสรุปผลด้วยตัวนักเรียนเอง วิธีน้ี
นักเรียนมีอสิ ระเต็มท่ีในการศึกษาตามความสนใจ ครูเปน็ เพยี งผกู้ ระตุ้นเท่านั้น ซึ่งอาจเรียกว่า วิธีสอนแบบ
อสิ ระ วธิ ีน้ีครูอาจใช้คาถามเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนกาหนดปัญหาด้วยตนเอง เมื่อนักเรียนกาหนดปัญหาได้
ตามความสนใจของตนเองแล้ว นักเรียนจงึ ทาการวางแผนเพ่ือแก้ปัญหา แล้วดาเนินการแก้ปัญหาตลอดจน
สรุปผลด้วยตนเอง ซึง่ อาจทาเป็นรายบุคคล หรอื เปน็ กลุ่มก็ได้
วฒั นาพร ระงับทกุ ข์ (2545) ได้แบง่ ขนั้ ตอนกระบวนการสืบเสาะความรไู้ ว้เป็น 5 ขอ้ ดงั นี้
1 สรา้ งความสนใจ
1.1 จัดสถานการณ์หรือเร่ืองราวท่ีน่าสนใจเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสังเกต สงสัยใน
เหตุการณ์หรือเรือ่ งราว
1.2 กระตนุ้ ให้ผู้เรียนสร้างคาถาม กาหนดประเดน็ ที่จะศึกษา
2 สารวจค้นหา
2.1 ผู้เรยี นวางแผนกาหนดแนวทางการสารวจตรวจสอบ
2.2 ผู้เรียนลงมือปฏิบัติรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ วิธีการ
ตรวจสอบอาจทาได้หลายวิธี เช่น ทดลองภาคสนาม การศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งเอกสารอ้างอิง หรือ
แหล่งข้อมลู ตา่ งๆ เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลมาอย่างเพยี งพอ สรปุ ส่งิ ท่ีคาดจะเปน็ คาตอบของปญั หาน้ัน
3 อธิบายและลงขอ้ สรุป
3.1 ผู้เรียนนาข้อมูล ข้อสนเทศท่ีได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนาเสนอผลใน
รปู แบบต่างๆ
188
3.2 การคน้ พบในขั้นนี้อาจสนับสนุนหรือโต้แย้งกับสมมติฐานที่ต้ังไว้หรือไม่เกี่ยวข้อง
กับประเด็นทต่ี ้ังไว้ แตไ่ ม่วา่ ผลจะอยูใ่ นรปู ใดก็สามารถสรา้ งความร้แู ละช่วยให้เกิดการเรียนร้ไู ด้
4 ขยายความรู้ ผู้เรียนนาความรู้ที่สร้างข้ึนไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือแนวคิดท่ีได้
ค้นคว้าเพ่ิมเติมหรือนาข้อสรปุ ท่ไี ด้ไปอธบิ ายเหตกุ ารณ์อ่ืนๆ
5 ประเมิน เปน็ การประเมนิ การเรยี นร้ดู ้วยกระบวนการตา่ งๆ วา่ ผเู้ รยี นมคี วามรู้อะไรบ้าง
อยา่ งไรและมากนอ้ ยเพียงใด จากข้ันน้ีจะนาไปสู่การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรอื่ งอื่นๆ
สมพงษ์ สงิ หะพล (2545) ได้แบ่งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การดาเนินการไว้เป็น 5 ข้ัน
ดังนี้คือ
1 ขั้นการรับรูป้ ัญหาท่จี ะสอบสวน ขัน้ นค้ี รเู สนอปัญหา เหตุการณ์ปรากฏการณ์แก่ผู้เรียน
และอธิบายวิธีการสอบสวนทผ่ี ู้เรียนต้องปฏิบตั ิ เชน่ จดุ ม่งุ หมาย วิธีการถาม บทบาทของแต่ละคน ขั้นตอน
การประกอบกจิ กรรม ปรากฏการณ์ เหตุการณ์หรือปญั หาทค่ี รเู สนอต้องชัดเจน สามารถอธิบายได้ มีข้อมูล
มายืนยันได้ แปลกใหม่ น่าฉงน ก่อให้เกิดความรู้ ประการสาคัญคือ ปรากฏการณ์ควรเป็นปรากฏการณ์ท่ี
นา่ สนใจ สมควรที่จะสอบสวนสาเหตุ และมีรายละเอียดต่างๆ และหากเป็นปรากฏการณ์ท่ีสัมพันธ์กับชีวิต
จรงิ ของผูเ้ รยี นกจ็ ะทาให้เกดิ แรงกระตุน้ ในการสอบสวนมากยิง่ ขนึ้
2 ขน้ั รวบรวมและทาความกระจ่าง ในข้ันนี้ผู้เรียนต้องต้ังคาถาม ถามครูเพื่อให้ได้ข้อมูล
มากทส่ี ดุ เท่าท่จี ะมากได้ ซงึ่ ทาใหเ้ ขา้ ใจสถานการณ์ของปญั หาได้กระจา่ งชัดยงิ่ ข้นึ
3 ขั้นรวบรวมข้อมูล และทดสอบ ขั้นตอนน้ีคล้ายข้ันตอนท่ี 2 แต่แตกต่างกันในประเด็น
ของจุดมุ่งหมาย เมื่อผ่านข้นั ตอนท่ี 2 แลว้ ผู้เรยี นจะกาหนดสมมติฐานเพ่ืออธิบายปรากฏการณ์ จากนั้นจึง
ตั้งคาถาม ถามครูอีกต่อไป เพื่อนาข้อมูลที่ได้มาพิสูจน์ความคิดของตน การทดสอบจะทาหน้าที่สาคัญ 2
ประการคอื การสารวจและการทดสอบโดยตรง การสารวจไม่จาเป็นตอ้ งใช้ทฤษฎี หรือสมมติฐานเป็นตัวนา
แตข่ อ้ มูลทไี่ ดส้ ามารถนามาสทู่ ฤษฎไี ด้ สว่ นการทดสอบโดยตรงน้ัน ผเู้ รียนนาเอาสมมติฐานของตนไปพิสูจน์
กระบวนการนาเอาสมมติฐานไปสู่การทดสอบเป็นงานท่ีไม่ง่าย และต้องใช้การกระทา หรือลองปฏิบัติดู
ดังนัน้ คาถามท่ถี าม เพอื่ ทดสอบสมมตฐิ าน จึงตอ้ งได้รับการชแี้ นะจากครูวา่ ต้องเปน็ คาถามทต่ี อ่ เน่ืองในเร่ือง
เดียวกนั ตรงตามสมมติฐานทีก่ าหนดข้นึ และครอบคลุมมิตทิ กุ ดา้ นของสมมตฐิ าน
4 ขั้นสรา้ งคาอธิบายปรากฏการณ์ เมื่อนักเรียนได้รับคาตอบจากครูจนเป็นท่ีพอใจ และ
เหมาะสมกบั เวลาในการประกอบกิจกรรมแล้ว ครูให้นักเรียนสร้างคาอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึน การให้
คาอธิบายครคู วรใหท้ ุกคนมโี อกาสสรา้ งคาอธิบายของตนต่อปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนจากคาอธิบายของทุกคน
ครูก็ให้ชน้ั เรยี นสรปุ ออกมาเปน็ ความคดิ ของชั้นเรยี นทงั้ หมด
5 ข้ันวิเคราะห์กระบวนการสอบสวน ครูให้ผู้เรียนพิจารณาการสอบสวนของตน ผู้เรียน
อาจอธบิ ายขน้ั ตอนการสอบสวนของตน ระบุปัญหาอุปสรรคของการสอบสวน และอาจเสนอแนะแนวทาง
ปรับปรุงการสอบสวนในคราวต่อไป ข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนน้ี จะทาให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญของ
การสอบสวนหาความรู้และรู้แนวทางที่จะปรับปรุงการสอบสวนใหด้ ยี ง่ิ ข้นึ
189
กานต์ เนตรกลาง (2550) ไดแ้ บง่ กระบวนการสืบเสาะความรู้ ไวเ้ ป็น 3 ขน้ั ตอน ดงั น้ี
1 ขัน้ ตอนกระบวนการสืบคน้
1.1 กาหนดปัญหา จัดสถานการณ์หรือเรื่องราวท่ีน่าสนใจ เพ่ือกระตุ้นให้นักเรียน
สงั เกต สงสัยในเหตุการณ์หรือเรอ่ื งราว กระตุน้ ใหน้ กั เรียนระบุปัญหาจากการสงั เกตวา่ อะไรคือปญั หา
1.2 กาหนดสมมติฐาน ตงั้ คาถามใหน้ ักเรียนรว่ มกันระดมความคิด ให้นักเรียนสรุปสิ่ง
ทค่ี าดวา่ จะเป็นคาตอบของปญั หานน้ั
1.3 รวบรวมข้อมูล มอบหมายให้นักเรียนไปค้นคว้าหาข้อมูลจากเอกสารหรือ
แหลง่ ข้อมูลตา่ งๆ ให้นักเรียนวิเคราะห์และประเมินว่า ข้อมูลเหล่านั้นมีความเกี่ยวข้องกับปัญหาหรือไม่ มี
ความถกู ต้องนา่ เช่ือถอื เพยี งใด
2 ขั้นทดสอบสมมติฐาน ให้นักเรียนนาข้อมูลท่ีได้มาร่วมกันอภิปรายเพื่อสนับสนุน
สมมตฐิ าน
3 สรา้ งขอ้ สรปุ ใหน้ กั เรียนสรปุ ว่า ปญั หานั้นมีคาตอบหรือข้อสรุปอย่างไร อาจสรุปในรูป
ของรายงานหรือเอกสาร
จากการศกึ ษา ข้นั ตอนของการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบการสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่ม สรุป
ได้ว่า การจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบการสบื เสาะหาความรู้เป็นกลุ่มมีขั้นตอน คือ ขั้นสร้างความสนใจ เป็น
การจัดสถานการณ์ที่น่าสนใจเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างคาถาม ขั้นสารวจและค้นหา เป็นการวางแผน
กาหนดแนวทางการสารวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน กาหนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพ่ือเก็บ
รวบรวมข้อมูล ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรุป ผู้เรียนนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนาเสนอใน
รูปแบบต่างๆ ขั้นขยายความรู้ เป็นการนาความรู้ที่สร้างข้ึนไปเช่ือมโยงกับความรู้เดิม หรือแนวคิดท่ีได้
ค้นคว้าเพิ่มเติม และข้ันประเมินผล เป็นการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ ว่า
ผเู้ รยี นมคี วามร้อู ะไรบ้าง อย่างไร และมากนอ้ ยเพียงใด
6 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง
ยุรีย์ วรวชิ ยั ยันต์ และคณะ (2548 : บทคัดย่อ) รายงานการวิจัยการศึกษารูปแบบการจัดการ
เรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในวิชาสถิติ 1 มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ทราบถึงผลการปฏิบัติจากการใช้
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในวิชาสถิติ 1 ท่ีสอนในคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ผลการวิจยั ทาให้ได้รปู แบบการเรยี นการสอนที่มปี ระสิทธิภาพ และ
สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนในสาขาวิชาอื่นๆ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิง
สารวจ ประชากรทใี่ ชใ้ นการศึกษา คือ นักศกึ ษาทลี่ งทะเบียนเรียนวิชาสถิติ 1 ในปีการศึกษาท่ี 2/2547 ใช้
วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มในแต่ละชั้นภูมิ แบบสอบถามและข้อสอบกลางภาคเรียนและปลายภาค
เรยี นถูกใช้เป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่การนาเสนอข้อมูล
190
การวัดแนวโน้มเข้าสูส่ ่วนกลาง การวัดการกระจาย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การประมาณค่าแบบจุด การ
ทดสอบค่าเฉลี่ย และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญในวชิ าสถติ ิ 1 ชว่ ยพัฒนาการเรยี นการสอน โดยให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึนกว่าวิธีการสอนเดิม
อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติ
บันเทิง จันทร์นิเวศน์ (2547) ได้ทาการวิจัยสภาพและปัญหาในการจัดการศึกษาโดยเน้น
นกั เรยี นเป็นสาคัญของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร เปรียบเทียบ
ความคิดเห็นของครู-อาจารย์กับผู้บริหารในการจัดการศึกษาโดยเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ ประชากรที่ใช้ใน
การวิจัยครั้งน้ี เป็นครู-อาจารย์และผู้บริหารในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขต
กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยครู-อาจารย์ 13,478 คน และผู้บริหาร 116 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นครู-
อาจารย์ 216 คน และผู้บริหาร 96 คน รวมท้ังสิ้น 312 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น
แบบสอบถาม ซึง่ แบง่ ออกเป็น 3 ตอน ตอนท่ี 1 เป็นข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของครู-อาจารย์และผู้บริหาร
ตอนท่ี 2 เปน็ แบบสอบถามเกีย่ วกับสภาพการจัดการศึกษาโดยเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ มีคา่ ความเชือ่ ม่ัน 0.94
ตอนท่ี 3 ปัญหาในการจัดการศึกษาโดยเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่า
ร้อยละ ค่าเฉล่ยี คา่ ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างดว้ ยคา่ ที (t-test) ผลการวิจัยพบวา่
1 สภาพการจดั การศกึ ษาโดยเนน้ นกั เรียนเป็นสาคญั
1.1 การเตรียมการสอน ครูมีแผนการสอนที่ผ่านการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน มีการ
เตรยี มการจัดการเรียนการสอนที่ผสมผสานความรูด้ ้านต่างๆ อย่างได้สัดสว่ น
1.2 การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ก่อนสอนครูมีการนาเข้าสู่บทเรียนเสมอ ครูเปิด
โอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาหรือข้อสงสัยได้ตลอดเวลา ครูยกย่องชมเชยนักเรียนท่ีมีผลงานดีและให้
กาลงั ใจผลงานทต่ี อ้ งปรับปรุงแกไ้ ข
1.3 การประเมินผล ครูประเมินผลนักเรียนตามสภาพจริงเป็นรายบุคคล ครูนาผลการ
ประเมนิ ผ้เู รยี นมาใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการสอน
2 ปัญหาในการจัดการศึกษาโดยเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ พบว่า ขาดแคลนวัสดุ อุปกรณ์
เอกสาร สือ่ ประกอบการจัดการเรียนรู้ รปู แบบการนาเข้าสู่บทเรียนไม่น่าสนใจ การจัดกิจกรรมการสอนไม่
เป็นไปตามแผนที่วางไว้ นักเรียนขาดความสนใจในการสรุปผลการสอนในช่วงใกล้หมดเวลาเรียน ครูไม่
สามารถประเมนิ ผลการเรียนควบคู่ไปกับการสอนเพราะยงุ่ ยาก
3 การเปรยี บเทียบความคดิ เหน็ ระหวา่ งครู-อาจารย์กับผบู้ รหิ ารเก่ียวกับการปฏิบตั ิงานของ
ครู-อาจารย์ ไดแ้ ก่ การเตรียมการสอน การจดั กิจกรรมการสอน และการประเมินผล พบว่าครู-อาจารย์กับ
ผ้บู ริหารมคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05
ลักขณา เหลอื งวริ ิยะแสง (2549) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาครูกับความพร้อม
ของครูในการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตบางขุนเทียน
กรุงเทพมหานคร พบว่า สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุอยู่ในช่วง 31-45 ปี
191
ระยะเวลาในการปฏิบตั กิ ารสอนมรี ะยะเวลา 1-5 ปี ระดับการศกึ ษาสว่ นใหญอ่ ยู่ในระดับปริญญาตรี ครูเข้า
รว่ มพัฒนามาก 2 ดา้ น คือ 1) การเขา้ รับการฝึกอบรม มีครูเข้าร่วมการฝึกอบรม เรื่องการจัดการเรียนการ
สอนโดยยดึ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ 2) การศึกษาค้นควา้ มีครเู ขา้ ร่วมศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการ
สอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ จากตารา บทความ รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ ครูเข้าร่วมพัฒนาปาน
กลาง 2 ด้าน คอื 1) การแลกเปล่ียนการเรียนรู้ มีครูเขา้ ร่วมศกึ ษาดูงานนอกสถานท่ี ในสถานศึกษาท่ีจัดการ
เรียนการสอนโดยยึดผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 2) การรับการนิเทศ มีครูเข้าร่วมรับการนิเทศการสอนโดยยึดผู้เรียน
เป็นสาคญั จากผู้บรหิ าร เพือ่ นครู และศึกษานิเทศกข์ องสานกั การศึกษา สว่ นระดบั ความพรอ้ มของครูในการ
สอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ท่ีอยู่ระดับมาก คือ การจัดการเรียนการสอนในเร่ืองความตระหนักในการ
จัดการเรียนการสอนโดยยดึ ผู้เรียนเป็นสาคญั ระดับปานกลาง 2 ด้าน คอื 1) การใช้สื่อการเรียนการสอนใน
เรื่องความรู้ความเข้าใจ หลักการใช้ส่ือในการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ 2) การวัดผล
ประเมินผลในเร่ืองความรูค้ วามเข้าใจหลักการวัดผลและประเมินผลโดยยึดผ้เู รียนเป็นสาคัญ และพบว่า การ
พัฒนาครูมีความสัมพนั ธ์ในทางบวกกับความพร้อมของครูในการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยมีค่าสัม
ประสิทธส์ หสมั พันธเ์ ทา่ กับ .567 ที่ระดบั นัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ี .01
192
บรรณานกุ รม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
กานต์ เนตรกลาง. (2550). หลักสูตรและการเรียนการสอน. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสมี า.
จาปี นิลอรุณ. (2548). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความเท่ากันทุก
ประการของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนแบบปฏิบัติการ. ปริญญา
การศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ.
เฉลมิ วราวิทย์. (2531). แนวคิดใหม่ในแพทย์ศาสตร์ศึกษา. วารสารครุศาสตร,์ 16 (3), ก-ฐ.
ทัศน์ศรี เสมียนเพชร. (2552). การสร้างโจทย์ปัญหาในการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน.
วารจุลสารPBL, วลัยลกั ษณ.์
ทิศนา แขมณี. (2546). 14 วิธีสอนสาหรับครูมืออาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.
_______. (2551). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พแ์ ห่งมหาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
นภา หลิมรัตน์. (2546). การจัดการเรียนการสอน Problem Based Learning (PBL) รูปแบบการ
เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. เอกสารประกอบการอบรมสัมมนาอาจารย์ใหม่ มหาวิทยาลัย
ขอนแกน่ .
บันเทิง จันทร์นิเวศน์. (2547). สภาพและปัญหาในการจัดการศึกษาโดยเน้นนักเรียนเป็นสาคัญของ
โรงเรยี น มธั ยมศกึ ษา สังกดั กรมสามัญศึกษาในเขตกรงุ เทพมหานคร. กรุงเทพฯ.
บัวบาน สิงหแ์ ก้ว. (2547). ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรูเ้ รื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดยใชป้ ัญหา
เป็นฐาน สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนแจ้ห่มวิทยา จังหวัดลาปาง.
การศึกษาคน้ คว้าอิสระ ศษ.ม. กรงุ เทพฯ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจากัด 9119
เทคนคิ พรนิ้ ติ้ง.
ประภัสสร เบ้าชารี. (2554). การปรับปรุงการเรียนการสอนเรื่อง อัตราส่วนและร้อยละโดยใช้การสอน
แบบปฏิบัติการ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหล่มเก่าพิทยาคม จังหวัด
เพชรบูรณ์. บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่.
ปริญญา เชาวนาศัย. (2547). PBL และการเรียนการสอนทางด้านการจัดการ. Journal of
Management Science.
193
พรรณี ตริตรอง. (2546). การพัฒนากิจกรรมการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานในรายวิชาคณิตศาสตร์
ประยุกต์ สาหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพวิทยาลัยเทคนิคสระบุรี.
วทิ ยานพิ นธ์ ศษ.ม. กรงุ เทพฯ มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช.
พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต์. (2545). การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ แนวคิด วิธแี ละเทคนคิ การสอน
2. กรงุ เทพฯ : เดอะมาสเตอรก์ รปุ๊ .
พิสนธิ์ จงตระกูล. (2552). การจัดการเรียนการสอน Problem Based Learning (PBL). เอกสาร
ประกอบการอบรมโครงการพัฒนาคณาจารย์เพ่ือการเรียนการสอนยุคใหม่ : (Faculty
Development for Tomorrow Teaching : FDT). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
มนสภรณ์ วิทูรเมธา. (2545). การเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก ( Problem Based
Learning/PBL). โครงการความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยอัลบอร์ก.
50. มหาวิทยาลยั สยาม, มปป.
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. (2552). คู่มือการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based
Learning. PBL). งานนวัตรรมการเรียนรู้และการเรียนการสอน ส่วนส่งเสริมวิชาการ
มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์.
มณั ฑรา ธรรมบุศย.์ (2545). การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้โดยใช PBL (Problem Based Learning).
Main Entry : วิชาการ. ปีที่ 5. ฉบับท่ี 2.
ยุรีย์ วรวิชัยยันต์ และคณะ. (2548). รายงานการวิจัยการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญในวิชาสถิติ 1. ปทุมธานี : คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลธญั บุรี.
ยุวัฒน์ คล้ายมงคล. (2545). การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยการประยุกต์แนวคิดการใช้
ปัญหาเป็นหลักในการเรียนรู้เพ่ือสร้างเสริมสมรรถภาพทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 5 ท่ีมีความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต
ภาควิชามัธยมศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
ลักขณา เหลืองวิริยแสง. (2549). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาครูกับความพร้อมของครู
ในการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตบาง
ขุนเทียน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนดุสติ .
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2545). เทคนิคและกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. 2544. กรงุ เทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟคิ .
วัลลี สัตยาศัย. (2547). การเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเป็นหลกั รปู แบบการเรยี นรู้โดยผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง.
กรุงเทพฯ : เบรน็ เน็ท.
194
ศภุ สิ รา โททอง. (2547). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
เป็นหลัก (PBL) กับกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบของ สสวท. กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ เรื่องการวัดความยาว ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.
มหาสารคาม มหาวทิ ยาลัยสารคาม.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2544). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์
หลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สมพงษ์ สงิ หะพล. (2545). รูปแบบการสอน. นครราชสมี า สถาบนั ราชภฏั นครราชสีมา.
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2548). การจัดการ
เรียนร้ขู องครนู กั ปฏริ ูป. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ : การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. สานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา. กรงุ เทพฯ : ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั .
สานักมาตรฐานและพัฒนาการเรียนรู้. (2550). การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ :
สานักมาตรฐานการศึกษาและพฒั นาการเรียนรู้.
สุปรยี า วงษ์ตระหงา่ น. (2546). การจัดการเรียนการสอนที่ใชป้ ญั หาเป็นหลัก. กองบริการศกึ ษา.
สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา. (2550). 21 วิธีจัดการเรียนรู้ : เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด.
กรงุ เทพมหานคร : ภาพพิมพ์.
เอมอร จรัสพันธ์. (2550). การสร้างชุดการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียน
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสาหรับนักเรียน
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6. วทิ ยานิพนธ์ กศ.ม. มหาวทิ ยาลยั บรู พา.
Greenwald, N.L. (2000). Greenwal, Nina L. The Science Teacher, 67(4), 28-32.
Howard, Udith B. (1999). Using a Social Studies Theme to Conceptualize A Problem.
The Social Studies 90, 5, 45.
Lynda Keng Neo. (2002). Authentic Problem Based Learning. Rewriting Business
Education, Megan.
การศึกษาสภาพการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
ของครูผ้สู อนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จงั หวดั เลย
การศึกษาคร้งั น้ี เป็นการศกึ ษาสภาพการจดั กิจกรรมการเรยี นรขู้ องครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซา้ ย จังหวัดเลย ซ่งึ ผ้ศู ึกษาขอนาเสนอการสรปุ ผลการศึกษา ตามลาดับดงั นี้
1 ความเป็นมาและความสาคญั ของการศกึ ษา
2 วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา
3 วิธดี าเนินการศึกษา
4 สรุปผลการศึกษา
5 อภิปรายผลการศกึ ษา
6 ขอ้ เสนอแนะ
1 ความเป็นมาและความสาคัญของการศึกษา
ปัจจัยที่สาคัญที่ทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนสูงข้ึนและเป็นตามเกณฑ์ท่ีระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประเมินผลการเรียน ท้ังระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับ
ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชัน้ สูง กาหนด คือ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนเป็นผู้กาหนด ที่จะทาให้ผู้เรียน
ได้เกิดการเรยี นรทู้ ่แี ท้จริงเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ซึ่งมีองค์ประกอบหลายประการที่ครูผู้สอนต้อง
คานึงถึง
ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในวิทยาลัย
การอาชพี ด่านซ้าย จังหวัดเลย ได้ดาเนนิ การตามองค์ประกอบต่างๆ มากนอ้ ยเพยี งไร
2 วัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา
เพื่อศกึ ษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องครผู สู้ อน ในวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย
3 วิธดี าเนินการศกึ ษา
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
ประชากร
197
ประชากรทีใ่ ช้ในการศึกษาครงั้ น้ี ได้แก่ ผู้เรียน และครผู สู้ อนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย ในปีการศึกษา 2564 โดยแยกเป็น ผู้เรียน จานวน 448 คน และครูผู้สอน จานวน 32 คน รวมเป็น 480
คน
กลุ่มตวั อย่าง
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ ผู้ศึกษาได้สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ ได้แก่ ผู้เรียนใน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ในปีการศึกษา 2564 จานวน 200 คน และครูผู้สอน จานวน 14 คน
รวมเป็น 214 คน
3.2 เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการรวบรวมขอ้ มูล
เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการศึกษาคร้งั น้ี เปน็ แบบสอบถาม (questionnaires) 1 ชุด มี 2 ตอน มีลักษณะ
ดงั นี้
ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ
(checklist) ได้แก่ สถานะของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 แบบสอบถามการศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน ในวิทยาลัย
การอาชีพด่านซา้ ย จังหวดั เลย เปน็ แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (rating scale) มี 5 ระดบั
3.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ท้ังผู้เรียน และครูผู้สอน
จานวน 214 คน ในปีการศึกษา 2564 ผู้ศึกษาได้รับแบบสอบถามกลับคืน จานวน 214 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ
100
3.4 วธิ กี ารวิเคราะห์ข้อมูล
ในการศึกษาครั้งน้ี ทาการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ
สาหรบั การวิจยั ทางสังคมศาสตร์ การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถิตทิ ี่ใช้ในการศกึ ษา ดงั ต่อไปนี้
สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้แจกแจงความถี่และหาคา่ ร้อยละ
การศึกษาสภาพการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของครผู ู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย
โดยใช้คา่ เฉล่ียและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน โดยใช้สเกลของลิเคิร์ท (Likert) เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (rating
scale) ไดจ้ ากการวเิ คราะหร์ ายขอ้
การแปลความหมายของข้อมูล พิจารณาจากระดับคะแนนเฉลี่ยโดยใช้เกณฑ์ ดังน้ี (บุญชม
ศรีอาด. 2543)
4.51 – 5.00 หมายถึง มกี ารปฏบิ ัตอิ ยใู่ นระดับมากที่สุด
3.51 – 4.50 หมายถงึ มีการปฏบิ ตั ิอยใู่ นระดับมาก
2.51 – 3.50 หมายถงึ มีการปฏบิ ตั ิอยใู่ นระดบั ปานกลาง
198
1.51 – 2.50 หมายถึง มีการปฏิบัติอยใู่ นระดับน้อย
1.00 – 1.50 หมายถงึ มีการปฏบิ ัตอิ ยูใ่ นระดบั นอ้ ยท่สี ดุ
4 สรุปผลการศึกษา
ผลการศกึ ษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ขู องครผู ู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย
ผู้ศึกษาได้ศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของ วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวัดเลย โดยใชแ้ บบสอบถามความคดิ เห็นของครผู ู้สอน และผูเ้ รียน จานวน 214 คน โดยมีผลการศึกษาดงั นี้
ตารางท่ี 10 คา่ เฉลยี่ และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานสภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ของครผู สู้ อนในวิทยาลัยการ
อาชพี ด่านซ้าย จังหวดั เลย
ท่ี รายการ ครผู ู้สอน ผ้เู รยี น ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
1 ข้ันเตรียมการ 4.47 0.12 4.07 0.22 4.09 0.23
2 ข้นั ดาเนินการ 4.35 0.12 4.03 0.15 4.05 0.17
3 ขน้ั ประเมินผล 4.43 0.14 3.95 0.25 3.98 0.27
4.41 0.10 4.02 0.14 4.04 0.17
เฉลย่ี
จากตารางท่ี 10 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้ายในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.04, S.D. = 0.17) ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้ของครูผู้สอนอยู่ในระดับมาก ( = 4.02, S.D. = 0.14) ส่วนครูผู้สอนคิดว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ของครูผู้สอนอยู่ในระดับมาก ( = 4.41, S.D. = 0.10) และเม่ือพิจารณาเป็นรายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมี
ความคดิ เหน็ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในขน้ั เตรยี มการ ขัน้ ดาเนินการ และขั้นประเมินผล ต่ากว่า
ความคิดเหน็ ของครผู สู้ อน โดยเฉพาะขน้ั การประเมนิ ผลที่มคี า่ เฉล่ยี ตา่ สดุ ( = 3.95, S.D. = 0.25)
199
4.1 ขนั้ เตรยี มการ
ผลการศกึ ษาสภาพการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ของครผู ูส้ อนของวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย ในขัน้ เตรยี มการ ตามความคดิ เห็นของครูผู้สอน ผเู้ รยี น และในภาพรวม จานวน 214 คน ปรากฏดังตาราง
ท่ี 11 ดงั นี้
ตารางที่ 11 ค่าเฉลยี่ และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานข้นั เตรยี มการ
ท่ี รายการ ครผู ู้สอน ผู้เรยี น ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
1 การเตรียมตนเอง 4.58 0.29 4.10 0.39 4.13 0.40
2 การเตรยี มแหลง่ ขอ้ มลู 4.41 0.18 4.02 0.34 4.05 0.35
3 การจดั ทาแผนการเรยี นรู้ 4.41 0.18 4.08 0.36 4.10 0.36
4.47 0.12 4.07 0.22 4.09 0.23
เฉล่ยี
จากตารางที่ 11 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซา้ ยขน้ั เตรียมการ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.09, S.D. = 0.23) ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนขั้นเตรียมการอยู่ในระดับมาก ( = 4.07, S.D. = 0.22) ส่วนครูผู้สอนคิดว่า
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนอยู่ในระดับมาก ( = 4.47, S.D. = 0.12) และเม่ือพิจารณาเป็น
รายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการเตรียมตนเอง การ
เตรียมแหล่งข้อมูล และการจัดทาแผนการเรียนรู้ ต่ากว่าความคิดเห็นของครูผู้สอน โดยเฉพาะการเตรียม
แหล่งขอ้ มลู ท่ีมคี ่าเฉลยี่ ต่าสดุ ( = 4.02, S.D. = 0.34)
4.1.1 การเตรียมตนเอง
ตารางที่ 12 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานการเตรยี มตนเอง
ที่ รายการ ครผู ู้สอน ผู้เรยี น ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
1 ครูผสู้ อนมีการปรับกระบวนทศั น์ของตนเอง 4.64 0.49 4.06 0.80 4.10 0.80
ตามแนวคิดการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
200
ที่ รายการ ครูผู้สอน ผเู้ รยี น ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
ที่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั 4.64 0.49 4.14 0.77 4.17 0.77
2 ครูผู้สอนมกี ารปรับกระบวนการสอนจากแบบเดิม
สกู่ ระบวนการสอนแบบผ้วู ิจยั และพฒั นา 4.28 0.72 4.01 0.81 4.03 0.80
3 ครูผสู้ อนมกี ารศกึ ษาหลกั สตู รและการวิเคราะห์
หลักสูตร 4.71 0.46 4.08 0.86 4.12 0.85
4 ครูผู้สอนมีการศกึ ษาเนอ้ื หาวิชาทีส่ อนอย่างลกึ ซึ้ง 4.64 0.49 4.20 0.78 4.23 0.77
5 ครผู ู้สอนไดศ้ กึ ษาวิเคราะห์ผู้เรยี นเพื่อนาไปสู่
การกาหนดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4.58 0.29 4.10 0.39 4.13 0.40
เฉล่ยี
จากตารางที่ 12 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้ายในการเตรียมตนเอง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.13, S.D. = 0.40) ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่า
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการเตรียมตนเองอยู่ในระดับมาก ( = 4.10, S.D. = 0.39) ส่วน
ครูผู้สอนคดิ วา่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรูข้ องครูผ้สู อนในการเตรียมตนเองอยู่ในระดับมาก ( = 4.58, S.D. =
0.29) และเม่อื พจิ ารณาเป็นรายการยังพบอกี วา่ ผู้เรียนมคี วามคิดเหน็ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนใน
การเตรียมตนเอง ตา่ กว่าความคดิ เห็นของครผู ู้สอนทุกรายการ โดยเฉพาะครูผ้สู อนมกี ารศึกษาหลักสูตรและการ
วเิ คราะห์หลักสตู รที่มคี า่ เฉลยี่ ต่าสดุ ( = 4.01, S.D. = 0.81)
4.1.2 การเตรยี มแหลง่ ขอ้ มูล
ตารางท่ี 13 ค่าเฉล่ยี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานการเตรยี มแหล่งขอ้ มูล
ท่ี รายการ ครูผู้สอน ผ้เู รียน ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
6 ครูผูส้ อนมีการจัดเตรยี มเอกสาร ตารา ใบเนอื้ หา 4.28 0.61 4.04 0.85 4.05 0.84
201
ท่ี รายการ ครูผู้สอน ผเู้ รียน ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
ในวชิ าท่ีสอน 4.05 0.86 4.08 0.86
7 ครผู สู้ อนมีการเตรียมสื่อการสอนที่ใช้ในกจิ กรรม 4.57 0.75 3.99 0.79 4.02 0.79
การเรยี นรู้ 4.12 0.78 4.13 0.77
8 ครผู สู้ อนมกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มภายในท่ีเอื้อต่อ 4.57 0.64 3.93 0.77 3.96 0.76
การเรียนรู้ 4.02 0.34 4.05 0.35
9 ครูผสู้ อนมีการสารวจสถานประกอบการเพ่ือรว่ ม 4.28 0.72
จัดการศึกษา
10 ครผู สู้ อนได้มีการสารวจภมู ิปญั ญาท้องถิ่นเพื่อร่วม 4.35 0.63
จัดการศกึ ษา
เฉลี่ย 4.41 0.18
จากตารางที่ 13 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซา้ ยในการเตรยี มแหล่งขอ้ มูล ในภาพรวมอย่ใู นระดับมาก ( = 4.05, S.D. = 0.35) ผเู้ รยี นมีความคิดเห็น
วา่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรูข้ องครูผสู้ อนในการเตรียมแหล่งข้อมูลอยู่ในระดับมาก ( = 4.02, S.D. = 0.34)
ส่วนครูผู้สอนคิดว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการเตรียมแหล่งข้อมูลอยู่ในระดับมาก ( =
4.41, S.D. = 0.18) และเม่ือพิจารณาเปน็ รายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ของครผู ู้สอนในการเตรยี มแหล่งขอ้ มูล ต่ากว่าความคดิ เห็นของครูผู้สอนทุกรายการ โดยเฉพาะครผู ู้สอนได้มีการ
สารวจภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ เพอื่ ร่วมจดั การศกึ ษาที่มีคา่ เฉลยี่ ตา่ สุด ( = 3.93, S.D. = 0.77)
4.1.3 การจัดทาแผนการเรียนรู้
202
ตารางที่ 14 ค่าเฉลีย่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานการจัดทาแผนการเรียนรู้
ท่ี รายการ ครผู ู้สอน ผเู้ รียน ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
11 ครผู ู้สอนมกี ารจัดทาแผนการเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผเู้ รียน 4.50 0.51 4.19 0.77 4.21 0.76
เปน็ สาคัญ 4.01 0.80 4.04 0.80
12 ครผู ้สู อนได้จัดทาแผนการเรียนรทู้ ี่มีกิจกรรม 4.42 0.64 4.16 0.84 4.17 0.83
หลากหลายเหมาะสมกบั ธรรมชาติของรายวชิ า 4.03 0.81 4.06 0.81
13 แผนการเรยี นรมู้ กี ารเสนอแนะการใช้สอื่ และ 4.42 0.75 4.00 0.83 4.01 0.82
4.08 0.36 4.10 0.36
เทคโนโลยีไวอ้ ยา่ งหลากหลาย
14 ครผู สู้ อนมีการกาหนดเกณฑก์ ารวดั ผลประเมินผล 4.50 0.65
ตรงตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
15 ครผู ู้สอนมีการบันทกึ หลงั การสอน 4.21 0.57
เฉล่ยี 4.41 0.18
จากตารางท่ี 14 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้ายในการจัดทาแผนการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.10, S.D. = 0.36) ผู้เรียนมีความ
คิดเห็นวา่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ของครผู ู้สอนในการจดั ทาแผนการเรยี นร้อู ยู่ในระดับมาก ( = 4.08, S.D.
= 0.36) ส่วนครูผูส้ อนคดิ ว่าการจดั กจิ กรรมการเรียนรขู้ องครผู สู้ อนในการจัดทาแผนการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก
( = 4.41, S.D. = 0.18) และเมื่อพิจารณาเปน็ รายการยงั พบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นการจัดกิจกรรมการ
เรียนร้ขู องครูผ้สู อนในการเตรียมแหลง่ ขอ้ มูล ต่ากว่าความคิดเห็นของครูผู้สอนทุกรายการ รายการท่ีมีค่าเฉลี่ย
ต่าสุดคอื ครูผสู้ อนมกี ารบันทึกหลงั การสอน ( = 4.00, S.D. = 0.83)
4.2 ข้นั ดาเนินการ
ผลการศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ของครผู สู้ อนของวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย ในข้นั ดาเนินการ ตามความคิดเห็นของครผู ูส้ อน ผ้เู รียน และในภาพรวม จานวน 214 คน ปรากฏดังตาราง
ท่ี 15 ดงั นี้
203
ตารางที่ 15 ค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานข้ันดาเนินการ
ที่ รายการ ครูผู้สอน ผเู้ รยี น ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
1 จัดกจิ กรรมให้ผเู้ รียนได้คน้ พบคาตอบดว้ ยตนเอง 4.52 0.23 4.05 0.37 4.08 0.38
2 การจัดกจิ กรรมให้ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพนั ธก์ ับ 4.30 0.24 4.01 0.34 4.03 0.34
เพือ่ นและกลุ่ม และแหล่งเรียนรหู้ ลากหลาย
3 การจัดกจิ กรรมเคลอ่ื นไหวทางร่างกายอยา่ ง 4.27 0.27 3.98 0.33 4.00 0.33
เหมาะสมกับวัยและความสนใจ
4 การเรียนรู้ตามกระบวนการตา่ งๆ 4.28 0.37 4.01 0.36 4.02 0.37
5 การนาความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้ 4.37 0.27 4.10 0.34 4.12 0.34
4.35 0.12 4.03 0.15 4.05 0.17
เฉลย่ี
จากตารางท่ี 15 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซ้ายในขั้นดาเนินการ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.05, S.D. = 0.17) ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการ
จดั กิจกรรมการเรียนรขู้ องครูผู้สอนในข้ันดาเนินการอยู่ในระดับมาก ( = 4.03, S.D. = 0.15) ส่วนครูผู้สอน
คดิ ว่าการจัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องครผู ้สู อนในข้ันดาเนินการอยู่ในระดับมาก ( = 4.35, S.D. = 0.12) และ
เมื่อพิจารณาเป็นรายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในข้ัน
ดาเนินการ ต่ากว่าความคดิ เหน็ ของครผู ู้สอนทุกรายการ รายการทม่ี ีคา่ เฉลย่ี ตา่ สุดคอื การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหว
ทางร่างกายอยา่ งเหมาะสมกับวยั และความสนใจ ( = 3.98, S.D. = 0.33)
4.2.1 จดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรียนไดค้ ้นพบคาตอบด้วยตนเอง
ตารางที่ 16 ค่าเฉลี่ยและสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานการจดั กจิ กรรมใหผ้ ู้เรยี นได้ค้นพบคาตอบดว้ ยตนเอง
ท่ี รายการ ครูผู้สอน ผู้เรียน ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
16 ครูผูส้ อนจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดงออก 4.64 0.49 3.90 0.82 3.94 0.82
17 ครูผู้สอนใชส้ ื่อการสอนเพอ่ื ฝึกการคดิ การแก้ปัญหา 4.57 0.51 4.15 0.80 4.17 0.79
204
ที่ รายการ ครผู ู้สอน ผู้เรยี น ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
และการค้นพบองค์ความรดู้ ้วยตัวผเู้ รยี นเอง 4.57 0.64 3.98 0.84 4.02 0.84
18 ผเู้ รียนไดร้ ับการเสรมิ แรงใหค้ ิดหาคาตอบและ
4.42 0.64 4.31 0.81 4.32 0.80
แกป้ ัญหาดว้ ยตัวเอง 4.42 0.75 3.92 0.83 3.95 0.84
19 ผ้เู รยี นได้ศกึ ษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลด้วยตวั เอง
20 ผเู้ รยี นไดม้ โี อกาสคิดอย่างสร้างสรรค์จากการจัด 4.52 0.23 4.05 0.37 4.08 0.38
สถานการณข์ องครูผู้สอน
เฉลี่ย
จากตารางที่ 16 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซา้ ยในการจัดกจิ กรรมให้ผเู้ รยี นไดค้ น้ พบคาตอบด้วยตนเอง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.08, S.D.
= 0.38) ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ค้นพบ
คาตอบด้วยตนเองอยู่ในระดับมาก ( = 4.05, S.D. = 0.37) ส่วนครูผู้สอนคิดว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ของครผู สู้ อนในการจดั กจิ กรรมให้ผู้เรยี นได้ค้นพบคาตอบด้วยตนเองอย่ใู นระดบั มาก ( = 4.52, S.D. = 0.23)
และเม่ือพจิ ารณาเป็นรายการยังพบอีกวา่ ผเู้ รียนมคี วามคดิ เห็นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ของครผู ู้สอนในการจัด
กิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นไดค้ ้นพบคาตอบด้วยตนเอง ต่ากว่าความคดิ เห็นของครูผู้สอนทุกรายการ รายการท่ีมีค่าเฉล่ีย
ตา่ สดุ คือครูผสู้ อนจัดกิจกรรมส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นได้แสดงออก ( = 3.90, S.D. = 0.82)
4.2.2 การจัดกิจกรรมให้ผ้เู รียนมีโอกาสปฏสิ มั พนั ธ์กบั เพื่อนและกลุ่ม และแหลง่ เรียนรหู้ ลากหลาย
ตารางที่ 17 ค่าเฉลยี่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการจัดกจิ กรรมใหผ้ ู้เรยี นมีโอกาสปฏสิ มั พนั ธก์ บั เพอ่ื นและกล่มุ
และแหลง่ เรียนรหู้ ลากหลาย
ที่ รายการ ครผู ู้สอน ผู้เรียน ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
21 ครผู สู้ อนสง่ เสริมกิจกรรมแลกเปล่ยี นเรียนรู้ 4.28 0.72 3.80 0.79 3.83 0.79
จากกล่มุ /เพือ่ น
205
ที่ รายการ ครผู ู้สอน ผเู้ รียน ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
22 ครูผสู้ อนใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ทหี่ ลากหลายเพอ่ื เชอ่ื มโยง 4.50 0.51 4.10 0.76 4.13 0.75
4.13 0.74 4.14 0.74
ประสบการณก์ ับชีวติ จรงิ 4.02 0.83 4.03 0.83
4.02 0.79 4.02 0.79
23 ครผู สู้ อนได้เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้ฝกึ 4.35 0.63 4.01 0.34 4.03 0.34
ประสบการณ์จริงในสถานประกอบการ
24 ครผู ้สู อนได้มอบหมายใหผ้ ู้เรยี นศึกษาค้นคว้าด้วย 4.21 0.80
ตนเองจากแหล่งเรียนรูต้ ่างๆ
25 วิทยาลัยฯ ไดม้ ีการเชิญภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินมาให้การ 4.14 0.77
ศึกษาแก่ผู้เรียนในบางโอกาสทสี่ อดคลอ้ งกบั เนื้อหาวชิ า
เฉลี่ย 4.30 0.24
จากตารางที่ 17 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้ายในการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและกลุ่ม และแหล่งเรียนรู้หลากหลาย ใน
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.03, S.D. = 0.34) ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครผู ูส้ อนในการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและกลุ่ม และแหล่งเรียนรู้หลากหลายอยู่ใน
ระดับมาก ( = 4.01, S.D. = 0.34) ส่วนครูผู้สอนคิดว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการจัด
กิจกรรมให้ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนและกลุ่ม และแหล่งเรียนรู้หลากหลายอยู่ในระดับมาก ( =
4.30, S.D. = 0.24) และเมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ของครูผสู้ อนในการจดั กจิ กรรมใหผ้ ู้เรียนมโี อกาสปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนและกลุ่มและแหล่งเรียนรู้หลากหลาย ต่า
กว่าความคิดเห็นของครูผู้สอนทุกรายการ รายการที่มีค่าเฉล่ียต่าสุดคือครูผู้สอนส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยน
เรยี นรู้จากกลมุ่ /เพอ่ื น ( = 3.80, S.D. = 0.79)
4.2.3 การจดั กิจกรรมเคลือ่ นไหวทางกายอยา่ งเหมาะสมกบั วัยและความสนใจ
206
ตารางท่ี 18 ค่าเฉล่ียและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานการจัดกิจกรรมเคลอื่ นไหวทางกายอยา่ งเหมาะสมกับวัยและ
ความสนใจ
ท่ี รายการ ครูผู้สอน ผ้เู รยี น ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
26 ครผู สู้ อนได้จดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นไดม้ ีโอกาสแสดง 4.57 0.51 4.16 0.77 4.18 0.77
พฤตกิ รรมทีส่ อดคล้องกับจุดประสงค์การเรยี นรู้
27 ครูผสู้ อนไดเ้ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นมีการชว่ ยเหลือ 4.85 0.77 3.75 0.85 3.76 0.84
กนั ภายในกลุ่ม
28 ครผู ู้สอนได้จดั กิจกรรมภายนอกห้องเรยี นเพ่ือให้ 4.14 0.86 3.73 0.84 3.76 0.85
ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรรู้ ่วมกนั กบั กลมุ่
29 ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรูโ้ ดยการฝกึ ปฏบิ ตั ิจากของจริง 4.14 0.36 4.22 0.60 4.21 0.59
สถานท่จี ริง และสถานการณจ์ รงิ
30 ครผู สู้ อนเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการ 4.64 0.49 4.07 0.84 4.10 0.84
กาหนดกจิ กรรมตามความเหมาะสมและความสนใจ
เฉลยี่ 4.27 0.27 3.98 0.33 4.00 0.33
จากตารางท่ี 18 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซ้ายในการจัดกจิ กรรมเคลื่อนไหวทางกายอย่างเหมาะสมกบั วัยและความสนใจ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
( = 4.00, S.D. = 0.33) ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรม
เคลื่อนไหวทางกายอย่างเหมาะสมกับวัยและความสนใจอยู่ในระดับมาก ( = 3.98, S.D. = 0.33) ส่วน
ครผู สู้ อนคิดว่าการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายอย่างเหมาะสมกับ
วัยและความสนใจอยใู่ นระดับมาก ( = 4.27, S.D. = 0.27) และเม่อื พิจารณาเปน็ รายการยังพบอีกว่า ผู้เรียน
มีความคิดเหน็ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมเคล่ือนไหวทางกายอย่างเหมาะสมกับ
วัยและความสนใจ ต่ากว่าความคิดเห็นของครูผู้สอน 4 รายการ รายการท่ีความคิดเห็นของผู้เรียนมากกว่า
ความคิดเห็นของครูผู้สอน คือ ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติจากของจริงสถานที่จริง และสถานการณ์จริง
รายการท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือครูผู้สอนได้จัดกิจกรรมภายนอกห้องเรียนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันกับ
กลุม่ ( = 3.73, S.D. = 0.84)
207
4.2.4 การเรียนรตู้ ามกระบวนการตา่ งๆ
ตารางท่ี 19 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานการเรียนรู้ตามกระบวนการตา่ งๆ
ที่ รายการ ครูผู้สอน ผู้เรียน ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
31 ผ้เู รยี นได้ฝกึ คิดอย่างหลากหลายและสรา้ งสรรค์ 4.00 0.55 3.89 0.77 3.90 0.75
3.98 0.93 4.02 0.93
32 ผู้เรยี นได้แสดงออกอย่างมีเหตุผล 4.64 0.74 4.03 0.74 4.04 0.74
33 ผสู้ อนไดจ้ ดั กจิ กรรมเพ่ือให้เกดิ กระบวนการเรยี นรู้ 4.28 0.72 4.08 0.83 4.09 0.83
ในการพฒั นาผ้เู รยี นตามศกั ยภาพ 4.06 0.82 4.07 0.81
34 ครผู ู้สอนได้จัดกิจกรรมการเรียนร้โู ดยมี 4.35 0.84 4.01 0.36 4.02 0.37
การบูรณาการคณุ ธรรม จริยธรรม
35 ครูผ้สู อนจัดกจิ กรรมโดยใช้กระบวนการที่เหมาะสม 4.14 0.66
กับเนื้อหา
เฉล่ีย 4.28 0.37
จากตารางที่ 19 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซา้ ยในการเรียนร้ตู ามกระบวนการต่างๆ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.02, S.D. = 0.37) ผู้เรียนมี
ความคดิ เห็นวา่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของครผู ูส้ อนในการเรียนรตู้ ามกระบวนการตา่ งๆ อยใู่ นระดบั มาก (
= 4.01, S.D. = 0.36) ส่วนครผู ู้สอนคดิ ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรขู้ องครูผู้สอนในการเรยี นรตู้ ามกระบวนการ
ต่างๆ อยู่ในระดับมาก ( = 4.28, S.D. = 0.37) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมีความ
คิดเห็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการเรียนรู้ตามกระบวนการต่างๆ ต่ากว่าความคิดเห็นของ
ครผู สู้ อนทกุ รายการ รายการทีม่ คี ่าเฉลี่ยต่าสุดคือผเู้ รียนได้ฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์ ( = 3.89,
S.D. = 0.77)
208
4.2.5 การนาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้
ตารางที่ 20 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานการนาความรูไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้
ที่ รายการ ครผู ู้สอน ผเู้ รยี น ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
36 ครูผู้สอนจัดกิจกรรมเนื้อหาวิชาได้เหมาะสมกับ 4.14 0.66 3.75 0.71 3.78 0.72
สถานการณป์ จั จุบันที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชวี ติ ประจาวันไดอ้ ย่างเหมาะสม 4.03 0.74 4.04 0.72
4.23 0.64 4.23 0.63
37 ผู้เรยี นเป็นผทู้ ี่มีความสามารถในการคิดเป็น ทาเป็น 3.21 0.42
แกป้ ัญหาเป็น 4.21 0.79 4.23 0.78
4.30 0.80 4.31 0.78
38 ครผู ู้สอนไดส้ ง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นได้นาความรไู้ ปจดั ทา 4.35 0.49 4.10 0.4 4.12 0.34
โครงงานต่างๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับความรู้
ความสามารถของผู้เรยี น
39 ผูเ้ รยี นสามารถใช้สือ่ เทคโนโลยีเพือ่ ค้นควา้ หา 4.64 0.49
ความรู้เพิ่มเติมตามโอกาสทีเ่ หมาะสม
40 ผูเ้ รียนสามารถนาเอาทักษะวชิ าชพี ไปใช้ใหเ้ กิด 4.50 0.51
ประโยชน์ต่อสงั คม ชุมชนได้
เฉลี่ย 4.37 0.27
จากตารางท่ี 20 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้ายในการนาความรไู้ ปประยุกต์ใช้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.12, S.D. = 0.34) ผู้เรียนมีความ
คดิ เห็นว่าการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูข้ องครูผู้สอนในการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ อยู่ในระดับมาก ( = 4.10,
S.D. = 0.34) ส่วนครูผู้สอนคิดว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้อยู่ใน
ระดับมาก ( = 4.37, S.D. = 0.27) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ต่ากว่าความคิดเห็นของครูผู้สอนทุกรายการ
รายการที่มคี า่ เฉล่ียต่าสุดคือครูผสู้ อนจัดกิจกรรมเนือ้ หาวิชาได้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันท่ีสามารถนาไป
ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้อย่างเหมาะสม ( = 3.75, S.D. = 0.71)
209
4.3 ขั้นประเมนิ ผล
ผลการศกึ ษาสภาพการจดั กจิ กรรมการเรยี นรขู้ องครูผูส้ อนของวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย ในขัน้ ประเมินผล ตามความคดิ เห็นของครผู สู้ อน ผเู้ รียน และในภาพรวม จานวน 214 คน ปรากฏดังตาราง
ที่ 21 ดังนี้
ตารางท่ี 21 ค่าเฉล่ยี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานข้นั ประเมินผล
ที่ รายการ ครูผู้สอน ผู้เรยี น ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
1 วดั ผลประเมินผลดว้ ยวิธีการทีห่ ลากหลาย 4.40 0.26 4.00 0.44 4.03 0.44
2 วดั ผลประเมนิ ผลตามสภาพจริง 4.52 0.18 3.94 0.36 3.98 0.38
3 วดั ผลประเมนิ ผลจากแฟ้มสะสมผลงาน 4.37 0.30 3.92 0.40 3.95 0.41
4.43 0.14 3.95 0.25 3.98 0.27
เฉลยี่
จากตารางท่ี 21 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซ้ายในขั้นประเมินผล ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.98, S.D. = 0.27) ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการ
จัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องครผู ูส้ อนในข้ันประเมินผลอยู่ในระดับมาก ( = 3.95, S.D. = 0.25) ส่วนครูผู้สอน
คดิ ว่าการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ของครูผู้สอนในข้ันประเมินผลอยู่ในระดับมาก ( = 4.43, S.D. = 0.14) และ
เมื่อพิจารณาเป็นรายการยังพบอีกว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในขั้น
ประเมินผลตา่ กวา่ ความคิดเหน็ ของครูผ้สู อนทกุ รายการ รายการที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือวัดผลประเมินผลจากแฟ้ม
สะสมผลงาน ( = 3.92, S.D. = 0.40)
4.3.1 วัดผลประเมินผลด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย
ตารางท่ี 22 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานวดั ผลประเมนิ ผลด้วยวิธีการทหี่ ลากหลาย
ท่ี รายการ ครผู ู้สอน ผู้เรยี น ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
41 ครูผสู้ อนในสาขาวิชาได้ร่วมกันวางแผนการ 4.21 0.69 3.87 0.84 3.89 0.83
210
ท่ี รายการ ครผู ู้สอน ผเู้ รยี น ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
วัดผลประเมินผล 4.78 0.42 4.15 0.89 4.19 0.88
42 การวดั ผลประเมินผลครอบคลมุ ตามจดุ ประสงค์ 4.35 0.49 3.99 0.70 4.01 0.70
3.42 0.64 4.18 0.83 4.20 0.82
การเรยี นรู้ 4.21 0.69 3.84 0.83 3.86 0.82
43 ครผู สู้ อนได้มีการวัดผลประเมนิ ผลด้วยวธิ ีการ 4.40 0.26 4.00 0.44 4.03 0.44
ท่ีหลากหลาย
44 ครผู ูส้ อนและผเู้ รยี นได้กาหนดวิธีการวัดผล
ประเมินผลร่วมกนั
45 วิธีการวัดผลประเมินผลสอดคลอ้ งกับสภาพ
ของผเู้ รียน
เฉลยี่
จากตารางท่ี 22 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้ายในการวดั ผลและประเมินผลด้วยวิธีการทหี่ ลากหลาย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.03, S.D. =
0.44) ผู้เรยี นมคี วามคดิ เหน็ ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรขู้ องครูผู้สอนในการวัดผลและประเมินผลด้วยวิธีการที่
หลากหลายอยู่ในระดับมาก ( = 4.00, S.D. = 0.44) ส่วนครูผู้สอนคิดว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนในการวัดผลและประเมนิ ผลดว้ ยวิธีการที่หลากหลายอยู่ในระดับมาก ( = 4.40, S.D. = 0.26) และ
เมือ่ พิจารณาเปน็ รายการยังพบอีกว่า ผเู้ รียนมคี วามคดิ เห็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการวัดผล
และประเมินผลดว้ ยวธิ ีการท่หี ลากหลายต่ากวา่ ความคิดเห็นของครูผู้สอนทุกรายการ รายการที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด
คือวิธกี ารวดั ผลประเมนิ ผลสอดคล้องกบั สภาพของผูเ้ รยี น ( = 3.84, S.D. = 0.83)
211
4.3.2 วัดผลประเมินผลตามสภาพจรงิ
ตารางท่ี 23 ค่าเฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานวัดผลประเมินผลตามสภาพจรงิ
ท่ี รายการ ครูผู้สอน ผ้เู รียน ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
46 ครูผูส้ อนมกี ารวดั ผลประเมินผลจากการจดั กิจกรรม 4.57 0.51 3.96 0.84 4.00 0.83
การเรียนรู้ 3.94 0.82
4.04 0.86
47 ในกระบวนการวัดผลประเมนิ ผลครผู ู้สอนเปิดโอกาส 4.50 0.51 3.90 0.83 3.85 0.86
ให้ผ้เู รยี นไดพ้ ฒั นาผลงานตามความเหมาะสม 4.06 0.83
3.98 0.38
48 ครูผู้สอนมกี ารวดั ผลประเมินผลจากการปฏิบัติงาน 4.64 0.49 4.00 0.86
ของผู้เรียน
49 ผู้เรยี นมีโอกาสประเมินตนเองและเพื่อนตามเกณฑ์ 4.64 0.49 3.79 0.85
ท่กี าหนดร่วมกัน
50 ครูผ้สู อนประเมินผลจากพฤติกรรมท่เี ปล่ียนแปลง 4.28 0.72 4.05 0.83
ของผ้เู รยี น
เฉลีย่ 4.52 0.18 3.94 0.36
จากตารางท่ี 23 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้ายในการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.98, S.D. = 0.38)
ผูเ้ รยี นมีความคิดเห็นว่าการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ขู องครผู ้สู อนในการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริงอยู่ใน
ระดับมาก ( = 3.94, S.D. = 0.36) ส่วนครูผู้สอนคิดว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการวัดผล
และประเมนิ ผลตามสภาพจริงอยใู่ นระดับมาก ( = 4.52, S.D. = 0.18) และเม่ือพิจารณาเป็นรายการยังพบ
อีกวา่ ผเู้ รยี นมีความคดิ เหน็ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง
ต่ากว่าความคิดเห็นของครูผู้สอนทุกรายการ รายการท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือผู้เรียนมีโอกาสประเมินตนเองและ
เพือ่ นตามเกณฑ์ทก่ี าหนดร่วมกัน ( = 3.79, S.D. = 0.85)
212
4.3.3 วัดผลประเมนิ ผลจากแฟม้ สะสมผลงาน
ตารางท่ี 24 ค่าเฉล่ียและส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานวัดผลประเมนิ ผลจากแฟ้มสะสมผลงาน
ท่ี รายการ ครูผู้สอน ผเู้ รียน ภาพรวม
S.D. S.D. S.D.
51 ครผู ู้สอนและผ้เู รยี นได้รว่ มกนั กาหนดเกณฑก์ ารให้ 4.21 0.80 3.98 0.84 3.99 0.84
คะแนนจากกจิ กรรมการเรยี นรไู้ วช้ ดั เจน 3.91 0.74 3.93 0.74
3.99 0.91 4.02 0.91
52 ครผู สู้ อนและผู้เรยี นไดร้ ่วมกันวดั ผลประเมินผลจาก 4.21 0.57 3.90 0.75 3.94 0.76
การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 3.83 0.82 3.87 0.82
3.92 0.40 3.95 0.41
53 ครผู สู้ อนไดส้ ง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รียนได้รวบรวมผลงานใน 4.42 0.75
แฟม้ สะสมผลงาน
54 ครูผ้สู อนและผ้เู รียนไดม้ ีการกาหนดรายละเอยี ด 4.57 0.51
ข้อมูลในการจดั ทาแฟม้ สะสมผลงานรว่ มกัน
55 ครูผ้สู อนมีการประเมินผลจากแฟม้ ผลงานของ 4.42 0.51
ผู้เรียนเป็นระยะอย่างสมา่ เสมอ
เฉล่ีย 4.37 0.30
จากตารางท่ี 24 พบว่า สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้ายในการวัดผลและประเมินผลจากแฟ้มสะสมผลงาน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.95, S.D. =
0.41) ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการวัดผลและประเมินผลจากแฟ้ม
สะสมผลงานอยู่ในระดับมาก ( = 3.92, S.D. = 0.40) ส่วนครูผู้สอนคิดว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนในวัดผลและประเมินผลจากแฟ้มสะสมผลงานอยู่ในระดับมาก ( = 4.37, S.D. = 0.30) และเมื่อ
พจิ ารณาเปน็ รายการยังพบอกี ว่า ผ้เู รียนมคี วามคิดเหน็ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนในการวัดผลและ
ประเมินผลจากแฟ้มสะสมผลงานต่ากว่าความคิดเห็นของครูผู้สอนทุกรายการ รายการท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือ
ครผู สู้ อนมกี ารประเมนิ ผลจากแฟ้มผลงานของผเู้ รยี นเปน็ ระยะอยา่ งสมา่ เสมอ ( = 3.83, S.D. = 0.82)
213
5 อภปิ รายผลการศึกษา
ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการ
อาชีพด่านซา้ ย จงั หวัดเลย พบว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนทั้งภาพรวม
และทุกรายการต่ากว่าความคิดเห็นของครูผู้สอน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า ครูผู้สอนคิดว่าการจัดกิจกรรมการ
เรยี นร้ขู องตนนั้นมีความเหมาะสมดแี ลว้ จึงไม่ได้มกี ารพฒั นาปรับปรุงใหด้ ีขึ้น แตผ่ เู้ รียนซ่ึงถือว่าเป็นผู้ที่มีส่วนได้
ส่วนเสยี โดยตรงมีความคดิ เห็นวา่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนน้ันยังไม่เหมาะสม ยังไม่ตรงกับความ
คาดหวงั ของตนเอง ครูผู้สอนควรได้มกี ารพฒั นาตนเองในการจดั กระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาปรบั ปรุงในทุกๆ
ดา้ น คอื ในขัน้ เตรียมการ ขนั้ ดาเนนิ การ และขนั้ ประเมินผล
6 ขอ้ เสนอแนะ
6.1 ขอ้ เสนอแนะทว่ั ไป มีดังน้ี
6.1.1 ครูผสู้ อนควรสารวจความต้องการ และสภาพของผู้เรียน ก่อนการออกแบบการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้
6.1.2 ครูผู้สอนควรกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจในการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เช่น การตงั้ ประเดน็ การพจิ ารณา การตงั้ คาถาม การจัดสถานการณ์
6.1.3 ครูผู้สอนควรให้ผเู้ รยี นไดม้ โี อกาสฝึกทักษะ ซึ่งอาจจะใช้กระบวนการกลุ่ม เพ่ือให้ผู้เรียนได้
แลกเปล่ียนเรียนรู้ และปฏสิ ัมพนั ธก์ ัน
6.1.4 ครูผู้สอนควรมีการวัดผลประเมินผลด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย และจัดทาเกณฑ์การ
ประเมินผลให้ชดั เจน
6.1.5 ครผู ู้สอนควรสรปุ ผลการเรียนรู้รว่ มกันกับผเู้ รียน
6.2 ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการศกึ ษาไปใช้ มีดังน้ี
6.2.1 การศึกษาข้อมูลคร้ังน้ีเป็นการเก็บข้อมูลเพียงครั้งเดียว อาจทาให้ข้อมูลไม่เป็นข้อมูลที่
แท้จรงิ ท้ังหมด ตอ้ งมกี ารเกบ็ เป็นระยะอย่างตอ่ เน่อื ง ซงึ่ จะทาใหไ้ ด้ขอ้ มูลท่ถี กู ต้อง
6.2.2 ควรมีการเก็บข้อมูลด้วยเคร่ืองมือประเภทอื่น เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีครบถ้วน เช่น การสังเกต
การสมั ภาษณ์ การประชุมกลุ่ม เปน็ ต้น
การตรวจสอบเอกสารการสอน
และการสังเกตการสอนในช้ันเรยี นของครูผ้สู อน
วิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย
การศกึ ษาคร้ังนี้ เป็นการตรวจสอบแผนการเรียนรู้ของครผู ู้สอน และการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ของ
ครูผสู้ อน ในวิทยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย จังหวัดเลย ซึ่งผ้ศู กึ ษาขอนาเสนอการสรปุ ผลการศกึ ษา ตามลาดบั ดงั น้ี
1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของการศึกษา
2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
3 วธิ ีดาเนินการศกึ ษา
4 สรุปผลการศึกษา
5 อภปิ รายผลการศกึ ษา
6 ข้อเสนอแนะ
1 ความเป็นมาและความสาคญั ของการศกึ ษา
แผนการเรียนรู้ถือว่าเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของรายวิชา เพราะเป็นการเตรียมการเบ้ืองต้น เป็นการวางแผนของครูผู้สอน ก่อนท่ีจะมีการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้ การวางแผนการเรียนรู้เปน็ งานสาคัญของครูผู้สอน การสอนจะประสบผลสาเร็จด้วยดีหรือไม่ มากน้อย
เพียงใด ขึ้นอยู่กับการวางแผนการเรียนรู้เป็นสาคัญประการหน่ึง ถ้าครูผู้สอนมีการวางแผนการเรียนรู้ที่ดีก็
เทา่ กบั บรรลุจุดหมายปลายทางไปแล้วคร่ึงหน่ึง การวางแผนการเรียนรู้จึงมีความสาคัญหลายประการ เช่น ทา
ให้ครูผู้สอนสอนดว้ ยความมน่ั ใจ เมอื่ เกดิ ความมัน่ ใจย่อมจะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยความแคล่วคล่อง เป็นไป
ตามลาดบั ขนั้ ตอนอยา่ งราบร่นื ไม่ตดิ ขดั เพราะได้เตรียมการทกุ อย่างไว้พร้อมแล้ว การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ก็
จะดาเนินไปสู่จุดมุ่งหมายปลายทางอย่างสมบูรณ์ ทาให้เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีคุณค่า คุ้มกับเวลาท่ี
ผา่ นไป เพราะครูผสู้ อนจัดกจิ กรรมการเรียนรู้อย่างมแี ผน มีเปา้ หมาย และมีทศิ ทางในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
มิใช่จัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเล่ือนลอย ผู้เรียนก็จะได้รับความรู้ ความคิด เกิดเจตคติ เกิดทักษะ และเกิด
ประสบการณใ์ หม่ตามท่ีครผู สู้ อนวางแผนไว้ ทาให้เปน็ การเรียนรู้ที่มีคณุ ค่า ทาให้เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ทตี่ รงตามหลกั สูตร ทงั้ นเี้ พราะในการวางแผนการเรยี นรู้ ครูผ้สู อนตอ้ งศึกษาหลักสูตรทั้งด้านจุดประสงค์การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ เน้ือหาสาระที่จะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้ส่ือการเรียนรู้
และการวัดผลประเมินผล แล้วจัดทาออกมาเป็นแผนการเรียนรู้ เมื่อครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม
แผนการเรียนรู้ ก็ย่อมทาให้เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีตรงตามจุดหมายและทิศทางของหลักสูตร ทาให้
245
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพดีกว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ไม่มีการวางแผน
เนอ่ื งจากในการวางแผนการเรยี นรู้ครผู สู้ อนตอ้ งวางแผนอย่างรอบคอบในทุกองค์ประกอบของการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ รวมทัง้ การจดั เวลา สถานท่ี และส่ิงอานวยความสะดวกต่างๆ ซ่ึงจะเอื้ออานวยให้เกิดการเรียนรู้ได้
โดยสะดวกและงา่ ยดายขนึ้ ดังนนั้ เม่ือมีการวางแผนการเรียนรู้ท่รี อบคอบและปฏิบัตติ ามแผนการเรยี นรู้ทีว่ างไว้
ผลของการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ย่อมสาเรจ็ ไดด้ กี ว่าการไมไ่ ด้วางแผนการเรียนรู้
2 วัตถุประสงค์ของการศกึ ษา
2.1 เพ่ือศึกษาสภาพการตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซา้ ย จงั หวัดเลย
2.2 เพอ่ื ศกึ ษาการจัดทาแผนการเรยี นรู้ของครูผู้สอน ในวทิ ยาลยั การอาชีพด่านซา้ ย จงั หวัดเลย
2.3 เพอ่ื ศึกษาการจดั กจิ กรรมการเรียนรขู้ องครูผสู้ อน ในวิทยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย จังหวัดเลย
3 วิธีดาเนินการศึกษา
3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
ประชากร
ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย จานวน 32 คน
กลมุ่ ตวั อย่าง
กลมุ่ ตวั อย่างที่ใช้ในการศกึ ษาคร้ังนี้ ผู้ศึกษาได้ใช้กลุ่มประชากรท้ังหมดเป็นกลุ่มตัวอย่าง
จานวน 32 คน
3.2 เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูล
เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการศึกษาครงั้ น้ี คอื
3.2.1 แบบตรวจสอบแผนการเรียนรู้ เปน็ แบบตรวจสอบรายการ (check list)
3.2.2 แบบสงั เกตการสอนในชัน้ เรยี นของครูผสู้ อน เปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (rating
scale) มี 3 ระดบั
การแปลความหมายของขอ้ มูล พจิ ารณาจากระดบั คะแนนเฉล่ยี โดยใช้เกณฑ์ ดงั น้ี
2.51 – 3.00 หมายถึง มีการปฏบิ ัติอยใู่ นระดับดี
246
1.51 – 2.50 หมายถึง มกี ารปฏิบตั ิอยใู่ นระดบั พอใช้
1.00 – 1.50 หมายถงึ มีการปฏิบตั อิ ยใู่ นระดบั ควรปรบั ปรงุ
3.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
3.3.1 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบเอกสารการสอน (แผนการเรยี นรู้)
3.3.2 คณะกรรมการตรวจสอบเอกสารการสอน ดาเนินการตรวจสอบแผนการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนทกุ คน
3.3.3 คณะกรรมการตรวจสอบเอกสารการสอน ดาเนินการสังเกตการสอนในช้ันเรียนของ
ครูผสู้ อนทกุ คน
3.4 วิธกี ารวเิ คราะห์ขอ้ มลู
ในการศกึ ษาคร้งั น้ี ทาการวิเคราะหข์ ้อมลู ที่เก็บรวบรวมมาโดย
3.4.1 แบบตรวจสอบแผนการเรียนรู้ ใชว้ ิธแี จกแจงความถ่แี ละหาคา่ ร้อยละ
3.4.2 แบบสังเกตการสอนในชั้นเรียนของครูผู้สอน ใช้วิธีหาค่าเฉล่ีย และค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน
4 สรุปผลการศึกษา
4.1 การตรวจสอบแผนการเรียนรู้
การเขียนแผนการเรียนรู้สมรรถนะที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครูผู้สอนของวิทยาลัย
การอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ที่ดาเนินการจัดทาน้ันขาดองค์ประกอบท่ีสาคัญ เช่น งานที่มอบหมายหรือ
กิจกรรมไม่ระบุหลักฐานร่องรอยท่ีแสดงให้เห็นเป็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เป็นรูปธรรม งานท่ีมอบหมาย
หรือกิจกรรมไม่แสดงช่ือผลงานหรือชิ้นงานหรือความสาเร็จของผู้เรียนที่บรรลุวัตถุประสงค์ งานท่ีมอบหมาย
หรือกิจกรรมไม่แสดงผลสาเร็จท่ีได้จากกิจกรรมการเรียนรู้เป็นช้ินงาน ผลงานอะไร ไม่แสดงรายการสื่อการ
เรียนรู้, ช่ือส่ือการเรียนรู้แต่ละชนิดว่าใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นใด ข้อใด ไม่แสดงช่ือแหล่ง
เรียนรู้, สถานที่ท่ีใช้เรียนรู้ไม่ชัดเจนว่าอยู่ท่ีใด เป็นอะไร ไม่แสดงรายละเอียดของแหล่งเรียนรู้ท่ีอยู่ใน
สถานศกึ ษาใหช้ ัดเจน ไมม่ ีการบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของแต่ละหน่วยที่แสดงให้เห็น
ถงึ ผลการเปลยี่ นแปลงที่เกดิ ขน้ึ กบั ตัวผ้เู รยี นครบทกุ หนว่ ย ไมเ่ ขยี นหรือกาหนดกิจกรรมการสอน/การเรียนรู้ของ
ทัง้ ครูผู้สอนและผู้เรียนในแต่ละวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนว่าผู้เรียนต้องทาอะไรจึงเกิดการเรียนรู้ ไม่ระบุว่างานที่
มอบหมายใหผ้ ้เู รยี นทาแล้วสามารถสะท้อนได้วา่ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ ้อนั้นๆ จรงิ ไมม่ กี ารบนั ทึกผลการเรียนของ
ผ้เู รียนของแตล่ ะหน่วยท่แี สดงให้เห็นถึงผลการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นกับตัวผู้เรียนครบทุกหน่วย ไม่มีการแสดง
ใหเ้ ห็นว่ามกี ารนาผลการใชแ้ ผนการเรียนรู้ต่างๆ ไปปรับปรุงแผนการเรยี นรใู้ หส้ มบูรณย์ ง่ิ ๆ ขึ้น ไม่แสดงรายการ
247
ชื่องานที่มอบหมายสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ ไม่ระบแุ หล่งเรยี นรทู้ ก่ี าหนดนนั้ สามารถทาให้ผู้เรียนเรียนรู้
แล้วบรรลุวัตถุประสงค์ได้จริง การบันทึกผลการใช้แผนการเรียนรู้ของแต่ละหน่วยไม่ครบทุกหน่วย ไม่แสดง
กิจกรรมที่เป็นงานมอบหมายให้ผู้เรียนทา/หรือปฏิบัติว่า ก่อนเรียน ขณะเรียน และหลังเรียน ผู้เรียนต้องทา
กิจกรรมอะไรบา้ ง งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ไม่แสดงให้เห็นว่า
การปฏิบัติกจิ กรรมแตล่ ะตัวนนั้ อยใู่ นขนั้ ตอนใดบา้ ง เช่น กอ่ นเรียน ขณะเรียน และหลังเรียน ไม่แสดงหรือระบุ
เกณฑก์ ารให้คะแนนการวัดผลของแตล่ ะวัตถปุ ระสงคไ์ วอ้ ยา่ งชดั เจน เปน็ ตน้
4.2 การสงั เกตการสอนในชั้นเรยี นของครผู ูส้ อน
จากการสังเกตการณ์สอนของครูผู้สอนพบว่ามีค่าเฉล่ียรวม อยู่ในระดับดี ( X = 2.64, S.D.
= 0.21) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการพบว่า รายการท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ รู้จักควบคุมอารมณ์และจัดการกับ
อารมณ์ไดอ้ ย่างเหมาะสมในระหว่างดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับดี ( X = 2.85, S.D. = 0.35)
รองลงมาคือ เลอื กใชเ้ คร่ืองมือวัดผลสอดคล้องและครอบคลุมจุดประสงค์และตรงกับสาระการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ของหน่วยเรียน และมีบุคลิกภาพร่าเริงแจ่มใส เป็นมิตรและเป็นกันเองต่อผู้เรียน อยู่ในระดับดี ( X =
2.78, S.D. = 0.41) ส่วนรายการท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุดคือ เลือกกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีน่าสนใจหรือสนุกสนาน หรือ
เร้าใจต่อผู้เรียน และเลือกใช้ส่ือการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับจุดประสงค์ สาระ และวัยของผู้เรียน อยู่ในระดับดี
( X = 2.44, S.D. = 0.50)
5 อภิปรายผลการศกึ ษา
การเขียนแผนการเรียนรู้ของครูผู้สอนนั้นส่วนใหญ่ไม่ได้มาจากการวิเคราะห์โครงสร้างหลักสูตร
อย่างถ่องแท้ บางส่วนคัดลอกมาจากแผนการเรียนรู้ของบุคคลอื่น หรือจากสานักพิมพ์ต่างๆ ซึ่งอาจทาให้ขาด
สาระที่สาคัญบางส่วนไป หรือบางส่วนไม่สามารถนามาใช้ได้จริงกับบริบทของผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซา้ ย จังหวดั เลย ได้ บางส่วนไมไ่ ดน้ าแผนการเรยี นรูไ้ ปใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรใู้ นทางปฏบิ ัติจริง เปน็
ผลทาให้แผนการเรยี นรู้ท่จี ดั ทาขน้ึ ขาดความสาคัญไป
ส่วนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของครผู ู้สอนนน้ั สืบเนือ่ งมาจากการที่ครูผู้สอนจัดทาแผนการเรียนรู้
ขาดสาระสาคัญบางส่วน และไม่ได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามทก่ี าหนดไว้ในแผนการเรียนรู้ จึงเป็นผลทาให้การ
จดั กิจกรรมการเรียนรู้ไม่สอดคล้องสัมพันธ์กับสภาพของผู้เรียนและสาระการเรียนรู้ ส่งผลให้ผู้เรียนขาดความ
สนใจในกิจกรรมการเรียนรู้ และผูเ้ รียนไม่บรรลุตามวัตถุประสงคท์ ไ่ี ดก้ าหนดไว้
248
6 ขอ้ เสนอแนะ
6.1 ข้อเสนอแนะทั่วไป มดี งั น้ี
6.1.1 อบรมใหค้ วามรู้แก่ครูผสู้ อนในการจดั ทาแผนการเรียนรู้
6.1.2 มอบหมายใหห้ วั หนา้ สาขาวชิ า ตรวจสอบ/ประเมินการจดั ทาแผนการเรียนรู้
6.1.3 ครผู ู้สอนควรจัดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามแผนการเรียนรูท้ ีไ่ ด้กาหนดไว้
6.2 ข้อเสนอแนะในการนาผลการศึกษาไปใช้ มีดงั น้ี
6.2.1 ควรมีการตรวจสอบ/ประเมินการจัดทาแผนการเรียนรู้ของครูผู้สอนอย่างต่อเนื่อง
และให้คาแนะนาการจัดทาทถ่ี กู ตอ้ ง
6.2.2 ควรส่งเสรมิ ให้ครผู สู้ อนนาแผนการเรยี นร้ไู ปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
6.2.3 ควรไดม้ กี ารนิเทศ กากับ ติดตาม การจดั กิจกรรมการเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่อื ง
การสัมภาษณเ์ ชิงลึก
เกี่ยวกับสภาพการจดั การเรยี นรู้ในปัจจุบนั
การศึกษาคร้ังนี้ เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครผู ู้สอนในวิทยาลยั การอาชีพด่านซา้ ย จังหวัดเลย ซึง่ ผู้ศกึ ษาขอนาเสนอ ตามลาดบั ดงั นี้
1 ความเป็นมาและความสาคญั ของการศกึ ษา
2 วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา
3 วิธดี าเนนิ การศกึ ษา
4 สรุปผลการศึกษา
5 อภปิ รายผลการศกึ ษา
6 ข้อเสนอแนะ
1 ความเป็นมาและความสาคัญของการศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนน้ันมีบุคคลท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องด้วยกันหลายฝ่าย เช่น
ครูผู้สอน ผู้เรียน ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ซึ่งบุคคลต่างๆ เหล่าน้ีสามารถให้ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาได้
การสัมภาษณ์เชิงลึกกับบุคคลต่างๆ ก็เป็นอีกวิธีหน่ึงในการที่จะได้ข้อมูลนามาพัฒนาคุณภาพการจัดกิจกรรม
การเรียนรขู้ องครผู ู้สอนได้
ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงได้ดาเนินการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนใน
วทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย จังหวดั เลย
2 วตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษา
เพ่ือศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนในปัจจุบัน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย
3 วิธีดาเนนิ การศกึ ษา
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
ประชากร
278
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ ได้แก่ ผู้เรียน ครูผู้สอน ผู้บริหาร และผู้ปกครองในปี
การศึกษา 2564
กล่มุ ตัวอยา่ ง
กล่มุ ตวั อยา่ งท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ ผู้ศึกษาได้คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เรียน จานวน
19 คน, ครูผสู้ อน จานวน 9 คน, ผ้บู ริหาร จานวน 11 คน และผ้ปู กครอง จานวน 7 คน รวมเปน็ 46 คน
3.2 เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มลู
เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษาครัง้ นี้ เป็น แบบสัมภาษณ์ (interviews form) 4 ชุด
ชดุ ที่ 1 แบบสัมภาษณ์ผ้เู รียน
ชดุ ท่ี 2 แบบสมั ภาษณ์ครผู สู้ อน
ชดุ ท่ี 3 แบบสัมภาษณผ์ บู้ รหิ าร
ชดุ ท่ี 4 แบบสัมภาษณ์ผปู้ กครอง
3.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
เก็บรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตนเอง โดยแยกเป็น ผู้เรียน จานวน 19 คน, ครูผู้สอน จานวน 9 คน,
ผ้บู รหิ าร จานวน 11 คน และผปู้ กครอง จานวน 7 คน รวมเป็น 46 คน
4 สรุปผลการศึกษา
4.1 สัมภาษณค์ รผู ้สู อน
4.1.1 ในการเตรียมจดั กระบวนการเรียนรู้ได้มกี ารสารวจความต้องการและข้อมูลของผู้เรียน
หรอื ไม่ อย่างไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครผู ู้สอนวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย จังหวดั เลย เรอ่ื ง การสารวจความต้องการของผเู้ รยี นและข้อมูลของผู้เรียน
ในการเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สรุปได้ว่าครูผู้สอนส่วนใหญ่มีการสารวจข้อมูลผู้เรียน กล่าวคือ ให้
ผ้เู รียนเลอื กวา่ อยากเรยี นหน่วยไหนก่อน หรือเรียงลาดับความยากง่าย ต้องการทราบว่าผู้เรียนต้องการเรียนรู้
เร่ืองอะไรบ้างควรเรียนรู้เร่ืองอะไรกอ่ น ต้องการเน้นทฤษฎีหรอื ปฏบิ ตั ิ ต้องการให้สอนในลักษณะใด และตกลง
กนั ในการวดั ผลควรใช้เกณฑ์อยา่ งไร และมคี รูผู้สอนบางส่วนไมส่ ารวจ กล่าวคือ ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ตามแผนทไี่ ดก้ าหนดไวแ้ ล้ว เปน็ รายวชิ าที่ได้กาหนดในโครงสร้างหลกั สตู รแลว้
ในการสารวจความตอ้ งการของผเู้ รียนและข้อมูลของผูเ้ รยี นน้นั เพ่อื นาข้อมูลไปกาหนด
เนื้อหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และวัตถุประสงค์การเรียนรู้ โดยต้องวิเคราะห์ตามโครงสร้างหลักสูตร ให้มี
279
ความสอดคล้อง และเหมาะสมกบั สภาพของผเู้ รียน และนาไปสู่การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ และการวางแผนการ
วัดผลประเมนิ ผล
จากการสัมภาษณ์ครูผู้สอนดังกล่าวน้ัน ครูผู้สอนไม่ได้นาเอาข้อมูลผู้เรียนไปใช้
ประกอบในการวิเคราะหโ์ ครงสร้างหลักสตู รเพ่อื นาไปสกู่ ารจัดทาแผนการเรียนรู้ เป็นผลทาให้ผู้เรียนขาดความ
สนใจในกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พราะไม่ตรงกบั ความต้องการของผเู้ รียน
4.1.2 มกี ารกาหนดสื่อการเรยี นรูใ้ นแตล่ ะเนื้อหาหรือไม่ อยา่ งไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง การกาหนดส่ือการเรียนรู้ในแต่ละเน้ือหา สรุปได้ว่า
ครูผู้สอนควรได้มีการกาหนดส่ือการเรียนรู้ เช่น ของจริง หนังสือเรียน Power Point ใบงาน อินเตอร์เน็ต
แผ่นใส
ในการเลือกสอื่ การเรียนรู้เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
นัน้ ครูผสู้ อนจาเป็นตอ้ งคานงึ ถึงองคป์ ระกอบในการเลือกส่อื การเรยี นรู้ เชน่ ตอ้ งสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์การ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน ต้องคานึงถึงประสิทธิภาพของส่ือการเรียนรู้ ส่ือการ
เรยี นรู้น้นั ต้องมีความเหมาะสม ความถกู ตอ้ ง เท่ียงตรง และต้องมีคุณภาพ ซึ่งส่วนใหญ่ครูผู้สอนมักจะคานึงถึง
สอ่ื การเรียนร้ทู ีส่ ามารถทาได้ง่ายและสะดวก มักไมค่ านงึ ถงึ ประโยชนท์ ีผ่ ้เู รยี นจะได้รับ จึงเป็นผลทาให้ผู้เรียนไม่
สนใจในการใชส้ ื่อการเรยี นรูเ้ ท่าทค่ี วร และที่สาคญั ผูเ้ รียนไมม่ ีส่วนรว่ มในการกาหนดสอื่ การเรยี นรู้
4.1.3 มีการจัดเตรยี มแหลง่ เรยี นรสู้ าหรับการค้นควา้ ของผู้เรียนหรอื ไม่ อยา่ งไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนวทิ ยาลัยการอาชพี ด่านซา้ ย จงั หวัดเลย เรื่อง การจัดเตรียมแหล่งเรียนรู้สาหรับการค้นคว้าของผู้เรียน
สรปุ ไดว้ า่ สว่ นใหญค่ รผู สู้ อนได้ใชแ้ หลง่ เรียนรู้ภายในสถานศึกษาท่ีได้จัดเตรียมไว้ให้แล้วคือ ระบบอินเตอร์เน็ต
หอ้ งสมดุ ซงึ่ เปน็ ลักษณะของการมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นคว้า หรือเป็นแหล่งท่ีครูผู้สอนมักจะมอบหมาย
ให้ผู้เรียนค้นควา้ ในขณะท่คี รผู สู้ อนไมส่ ามารถจัดกิจกรรมการเรียนรไู้ ด้ เช่น ประชุม หรอื ไปราชการ
การบรหิ ารจัดการแหล่งเรียนรู้นั้น ครูผู้สอนไม่ได้มีการวางแผนในการใช้แหล่งเรียนรู้
ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ซึง่ อาจตอ้ งบรรจไุ วใ้ นกิจกรรมการเรียนรู้ในแผนการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องมี
การสารวจแหล่งเรียนรู้ และต้องกาหนดว่าผู้เรียนจะเรียนรู้อะไรจากแหล่งเรียนรู้น้ัน มีการสรุปองค์ความรู้
ร่วมกันระหว่างครูผสู้ อนและผเู้ รียน
4.1.4 มีวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาที่เป็นทฤษฎี และปฏิบัติแตกต่างกันหรือไม่
อยา่ งไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครผู สู้ อนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ความแตกต่างกันระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน
280
รายวชิ าท่เี ป็นทฤษฎีและปฏบิ ัติ สรุปได้วา่ แตกตา่ งกัน ในรายวิชาท่ีเป็นทฤษฎีจะมีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้คือ
การรายงานหนา้ ชนั้ เรยี นเป็นกลุ่ม การศึกษาคน้ คว้าตามที่ครูผู้สอนมอบหมาย การบรรยาย ส่วนรายวิชาที่เป็น
ปฏบิ ตั ิจะมกี ารจดั กิจกรรมการเรียนร้คู ือ ปฏิบัติตามใบงาน ทาแบบฝึกหัด
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาที่เป็นปฏิบัติน้ัน ส่วนใหญ่ครูผู้สอนจะ
มอบหมายงานในลักษณะของใบงาน หรือสั่งให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม ส่วนใหญ่ไม่ได้มุ่งเน้นในการจัดกิจกรรมใน
ลักษณะกลุ่มปฏบิ ัตกิ ารท่ีเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ตรงจากการเผชิญสถานการณ์จริงและการแก้ปัญหา เพ่ือให้
เกิดการเรยี นรู้จากการกระทา ผเู้ รยี นควรได้ปฏิบัติจริง ฝึกคิด ฝึกลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะกระบวนการต่างๆ ฝึก
การแกป้ ญั หาด้วยตนเอง และฝึกทักษะการเสาะแสวงหาความร้รู ่วมกนั เป็นกลุ่ม
4.1.5 มกี ารมอบหมายงานใหผ้ ้เู รียนปฏบิ ัติหรอื ไม่ อย่างไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง การมอบหมายงานให้ผู้เรียนปฏิบัติ สรุปได้ว่า มีการ
มอบหมายงาน เช่น ปฏบิ ตั ิตามใบงาน รายงานกล่มุ ทาแบบฝกึ หัด ทาโครงงาน
ซึ่งส่วนใหญ่ครูผู้สอนจะไม่ได้กาหนดข้ันตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ
ครผู ู้สอนเสนอปัญหา กระต้นุ ใหผ้ ู้เรยี นคดิ แกป้ ญั หา ผู้เรียนวางแผนงานเพ่ือการเรียนรู้ การรายงานผลงานและ
กระบวนการทางาน การสรุปองค์ความรูร้ ่วมกนั ระหว่างครูผู้สอนกบั ผูเ้ รียน
ในการมอบหมายงานให้ผเู้ รียนไปศึกษาคน้ คว้าน้นั จะตอ้ งเกย่ี วกับสิง่ ท่ผี ูเ้ รียนอยากจะรู้
ครูผสู้ อนตอ้ งแน่ใจวา่ ผเู้ รยี นทุกคนมีความเข้าใจงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายนัน้ หรือเม่ือมีความจาเป็นครูผู้สอนอาจให้
ความช่วยเหลือเพื่อให้งานท่ีมอบหมายนั้นประสบผลสาเร็จ และครูผู้สอนต้องชี้แนวทางและวิธีการค้นคว้าให้
ผ้เู รยี นทราบ
4.1.6 มกี ารวดั ผลประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผู้เรยี นด้วยวธิ ใี ด และดาเนนิ การอย่างไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนวทิ ยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวดั เลย เรอ่ื ง วิธีการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน สรุปได้ว่า
การสอบ การส่งงานตามใบงาน การทาแบบฝึกหัด การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน การกาหนดเกณฑ์การ
เกบ็ คะแนน
สว่ นใหญ่แล้วครูผู้สอนวัดผลไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์รายวิชา เป็นการวัดผลตาม
หนังสือเรียน หรือจากหนังสืออ้างอิงจากสานักพิมพ์ต่างๆ ซ่ึงการวัดผลจะต้องวัดพฤติกรรมของผู้เรียนเป็นไป
ตามท่ีระบุไว้ในวัตถุประสงค์รายวิชามากน้อยเพียงใด ครูผู้สอนจาเป็นต้องมีการวิเคราะห์โครงสร้างหลักสูตร
ครูผสู้ อนไม่ได้เลือกเคร่ืองมือวัดให้เหมาะสม เคร่ืองมืออาจไม่มีคุณภาพพอสาหรับเรื่องนั้นๆ หรือไม่เหมาะสม
สาหรบั ผูเ้ รยี น การวัดผลทางด้านทักษะ ครูผู้สอนไม่ได้วัดทั้งกระบวนการที่ผู้เรียนปฏิบัติ ส่วนใหญ่จะดูเฉพาะ
ผลงานทส่ี าเรจ็ แล้ว
281
4.1.7 หากต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น ควรจัดกระบวนการ
เรยี นรู้อย่างไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายครูผู้สอนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน สรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ จัดหาวัสดุฝึกให้เหมาะสม
กับรายวชิ า จดั หาสือ่ การเรียนรใู้ ห้เพยี งพอ จดั กิจกรรมการเรียนรู้ปฏิบัติให้มาก จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้น
ผเู้ รียนเป็นสาคัญ เน้นการเรียนรู้เป็นโครงงาน ช้ินงาน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน
เพ่ิมเตมิ ครผู สู้ อนควรไดร้ ับการอบรมด้านเทคโนโลยีอย่างสม่าเสมอ การมอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วย
ตวั เอง ผบู้ รหิ ารมีการตดิ ตามการจัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องครผู ู้สอน
4.2 สมั ภาษณ์ผ้เู รยี น
4.2.1 ผ้เู รยี นมีโอกาสไดแ้ สดงความตอ้ งการในการเรียนร้ตู อ่ ครูผู้สอนหรือไม่ อยา่ งไร
จากการสมั ภาษณก์ ลุม่ เปา้ หมายผู้เรียนเกี่ยวกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ของครผู ู้สอน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ผู้เรียนมีโอกาสได้แสดงความต้องการในการเรียนรู้ต่อครูผู้สอน
สรุปได้ว่า มีโอกาส กล่าวคือ ได้แสดงความต้องการในการเรียนของวิชานั้นๆ การศึกษานอกห้องเรียน การ
เรียนรู้จากเทคโนโลยใี หมๆ่ การสอบถามในสงิ่ ท่ีไม่เข้าใจ
ซึ่งความต้องการของผู้เรียนน้ันครูผู้สอนจะต้องนาไปประกอบการวางแผนการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ซง่ึ เปน็ การเปิดโอกาสใหผ้ ้เู รยี นไดม้ สี ่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ จะส่งผลให้ผู้เรียนมีความ
สนใจในกจิ กรรมการเรียนรูม้ ากยิง่ ขนึ้ ซ่ึงส่วนใหญ่ครผู สู้ อนจะเป็นผกู้ าหนดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ้งั หมด
4.2.2 ผเู้ รียนได้มโี อกาสเรียนรูจ้ ากส่อื ตา่ งๆ หรือไม่ อะไรบา้ ง
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเปา้ หมายผู้เรียนเกยี่ วกบั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้จากส่ือการเรียนรู้ต่างๆ สรุปได้ว่า มี
โอกาส กลา่ วคือ การค้นควา้ จากอนิ เตอร์เนต็ หนงั สือพมิ พ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุด วีดิทัศน์ การศึกษานอก
สถานที่
สอื่ การเรียนรทู้ ่ผี ู้เรียนได้ศึกษาส่วนใหญ่ไม่ได้มาจากการที่ครูผู้สอนได้ออกแบบ หรือ
จัดซอ้ื จดั หาใหม้ ีความเหมาะสมในรายวิชาหรือเน้อื หาท่ีเกี่ยวข้อง เป็นผลทาให้ผู้เรียนอาจขาดความสนใจในการ
เข้ารว่ มในกิจกรรมการเรยี นรู้นน้ั ๆ ส่อื การเรยี นร้ทู ีด่ ตี อ้ งสามารถตอบสนองต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ และต้อง
สอดคล้องกับวตั ถุประสงคร์ ายวชิ า
4.2.3 ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ หรือไม่ จากแหล่ง
ใดบา้ ง
282
จากการสมั ภาษณ์กลมุ่ เป้าหมายผเู้ รยี นเก่ยี วกบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูข้ องครูผู้สอน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
สรุปได้ว่า ได้ศึกษาจาก อินเตอร์เน็ต ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ชุมชน ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ โทรทัศน์ หนังสือ แหล่ง
ธรรมชาติ
4.2.4 ผู้เรยี นได้มีโอกาสเข้าร่วมในกิจกรรมการเรียนร้ใู นแต่ละวชิ าหรือไม่ อยา่ งไร
จากการสมั ภาษณ์กลมุ่ เปา้ หมายผ้เู รียนเกี่ยวกบั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของครผู ู้สอน
วทิ ยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ผเู้ รียนไดม้ โี อกาสเขา้ ร่วมในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นแตล่ ะวิชา
สรุปได้วา่ มีโอกาส กลา่ วคือ ได้มกี ารแสดงความคิดเห็น และมีการนาเสนอในหัวข้อท่ีได้รับมอบหมายในแต่ละ
รายวชิ า การนาเสนอในแตล่ ะหนว่ ยแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กนั การตอบคาถาม การเลน่ เกมส์
4.2.5 ผูเ้ รียนได้มโี อกาสฝกึ ทักษะในการปฏิบัติหรอื ไม่ อยา่ งไร
จากการสมั ภาษณก์ ลุ่มเป้าหมายผเู้ รยี นเกี่ยวกบั การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ขู องครูผู้สอน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะในการปฏิบัติ สรุปได้ว่า มีโอกาส
กลา่ วคือ ไดฝ้ ึกทกั ษะดา้ นการใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฝึกในการบันทกึ บญั ชีในการเรียนรู้ และในการทางานใน
สถานประกอบการ ฝึกทกั ษะในการปฏิบตั ใิ นการเรยี นรู้ ทาแบบฝกึ ทักษะต่างๆ การให้บริการในโครงการ Fix It
Center การให้บรกิ ารในโครงการอาเภอเคลือ่ นท่ี
4.2.6 ผู้เรียนได้มีโอกาสในการวางแผนการฝึกทักษะ/ปฏิบัติ หรือการค้นคว้าหาความรู้
เพม่ิ เติมหรอื ไม่ อยา่ งไร
จากการสมั ภาษณ์กลมุ่ เป้าหมายผูเ้ รียนเกี่ยวกับการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของครูผู้สอน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ผู้เรียนได้มีโอกาสในการวางแผนการฝึกทักษะ/ปฏิบัติ หรือการ
ค้นควา้ หาความรู้เพม่ิ เติม สรุปได้วา่ มโี อกาส มกี ารวางแผนกับเพื่อนๆ ในหัวข้อท่เี ป็นงานกลุ่ม การวางแผนการ
ฝกึ ทกั ษะปฏิบัติกอ่ นในการเรยี นรหู้ รือการค้นคว้าหาความรูใ้ นการเรียนรู้ การวางแผนการเรยี นรูก้ อ่ นล่วงหนา้ ใน
การเรยี นรู้ และการค้นควา้ การเรยี นรู้เพ่มิ เติมจากหนังสอื
4.2.7 หากต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน ควรจัดกระบวนการ
เรียนร้อู ย่างไร
จากการสัมภาษณก์ ล่มุ เป้าหมายผูเ้ รียนเก่ยี วกบั การจัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องครูผู้สอน
วทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย จังหวดั เลย เร่ือง การจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรยี นสงู ขึ้น สรปุ ไดว้ ่า ควรจดั กระบวนการเรียนรู้ให้น่าสนใจ ควรจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างเคร่งครัด มีส่ือใน
การเรียนรู้ ควรจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่มีคุณภาพ เรียนทฤษฎแี ละปฏิบัติอย่างละเท่าๆ กัน ครูผู้สอนต้องอธิบาย
เนอื้ หาต่างๆ ของแต่ละการเรยี นรูใ้ ห้เขา้ ใจก่อนจะสัง่ งาน ตอ้ งการพัฒนาให้มสี อ่ื การเรยี นรู้ให้ดขี ้นึ
283
4.3 สมั ภาษณ์ผู้บริหาร
4.3.1 จากการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่านคิดว่าสิ่งใดเป็นจุดเด่น และสิ่งใดควร
ไดร้ ับการพัฒนา
จุดเด่น
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนวิทยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย จังหวดั เลย เรื่อง จดุ เดน่ จากการนิเทศการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สรุปได้ว่า
วทิ ยาลัยการอาชพี ดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย มีจดุ เด่นในด้านการพัฒนาครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีการ
ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผู้สอนใช้สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอนมีความกระตือรือร้นในการใช้ส่ือการเรียนรู้ จานวน
ผู้เรียนมีจานวนน้อยครูผู้สอนสามารถควบคุมช้ันเรียนในการทากิจกรรมต่างๆ ได้อย่างท่ัวถึง อีกท้ังมี
สภาพแวดล้อมทีเ่ ออ้ื อานวยต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
สิ่งทคี่ วรพฒั นา
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครผู สู้ อนวทิ ยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง ส่ิงที่ควรได้รับการพัฒนาจากการนิเทศการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ สรุปได้ว่า วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์มีจานวนไม่เพียงพอต่อผู้เรียน บางส่วนอยู่ในสภาพท่ีชารุดไม่
สามารถใช้งานได้ การนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ควรนามาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้อย่างจรงิ จงั ครูผูส้ อนควรไดม้ ีการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ หม้ ีความสอดคลอ้ งกับหลักสูตรและ
สภาพของผู้เรียน ควรจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่ือให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะให้มากขึ้น การวัดผลประเมินผล
ควรมคี วามเชือ่ ถือได้ คือต้องสามารถวัดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนได้อย่างแท้จริงตามวัตถุประสงค์
ของหลกั สูตร
4.3.2 ท่านคิดว่าสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย
ปจั จุบนั เปน็ อยา่ งไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซ้าย จังหวัดเลย สรุปได้วา่ ครูยังขาดความเขา้ ใจในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ให้ตรงเวลาและเต็มเวลา ควรมีการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลายและมีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม
ครผู ้สู อนควรจดั หาส่อื การเรียนรปู้ ระกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ครูผ้สู อนควรเปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นมีส่วนร่วม
ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ้ หม้ ากข้นึ ครผู ู้สอนควรสรา้ งแรงจูงใจให้ผู้เรียนได้ฝึกคิด ฝึกทา และการแก้ปัญหา
ไดด้ ว้ ยตนเอง ครผู ู้สอนควรเปน็ เพยี งผูแ้ นะแนวทางในการเรียนรู้
284
4.3.3 ปญั หาท่ีพบ ทเ่ี ป็นเหตุทาใหผ้ ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผ้เู รยี นต่ามีอะไรบ้าง อย่างไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง ปัญหาท่ีพบท่ีเป็นสาเหตุทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ของผู้เรียนต่า สรุปได้ว่า ผู้เรียนขาดความสนใจในกิจกรรมการเรียนรู้ ขาดความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ
มอบหมาย ไม่มีวินัย พ้ืนฐานความรู้ของผู้เรียนอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต่า ครู ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไม่
น่าสนใจ ขาดการเตรียมตัวในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วัสดุอุปกรณ์ ส่ือการเรียนรู้ไม่เพียงพอต่อผู้เรียน
ครูผ้สู อนขาดการวางแผนการเรยี นร้ทู ีด่ ี ครูผู้สอนไม่เข้าใจการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีต้องให้มีความสอดคล้อง
กบั หลักสูตรและผเู้ รยี น
4.3.4 ทา่ นคดิ ว่ากิจกรรมการเรียนรู้ท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั ทีจ่ ะทาใหผ้ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
ของผเู้ รยี นสงู ขึน้ ควรมีลกั ษณะเปน็ อย่างไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครผู ู้สอนวทิ ยาลัยการอาชพี ด่านซา้ ย จงั หวดั เลย เร่อื ง ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญที่
จะทาใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนสูงขึ้น สรุปได้ว่า ครูผู้สอนต้องมีทักษะในการจัดทาแผนการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต้องให้มีความสอดคล้องกันระหว่างผู้เรียนและเน้ือหาวิชา ต้องเน้นให้ผู้เรียนมีส่วน
ร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ได้มีโอกาสในการฝึกทักษะ และมีความสามารถในการที่จะเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
สถานศกึ ษาต้องสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ครผู สู้ อนจัดกิจกรรมการเรยี นรู้อย่างเต็มศักยภาพ จัดสรรวัสดุอุปกรณ์ให้มี
ความเพียงพอ
4.3.5 ในการสนบั สนนุ กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ควรมกี ารบริหารทรัพยากร
เป็นอยา่ งไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง การบริหารทรัพยากรเพื่อการสนับสนุนกิจกรรมการ
เรียนรทู้ เ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั สรุปได้ว่า ครูผู้สอนต้องมีจานวนเพียงพอ และสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้
เตม็ ตามศักยภาพตามทีก่ าหนดไว้ในหลกั สูตร ควรจดั หาวสั ดอุ ปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความ
เพยี งพอ เหมาะสมกบั ผเู้ รยี น มีความพรอ้ มท่ีใชง้ าน ไดร้ บั การดแู ลบารงุ รักษาอย่างต่อเน่อื ง
4.3.6 ท่านคิดว่าผู้ที่สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญควรมีใครบ้าง ควร
สนับสนนุ อยา่ งไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผสู้ อนวิทยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย จงั หวัดเลย เรื่อง บุคคลท่ีสามารถสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ สรุปได้ว่า
ผู้บริหารสถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างเต็มความสามารถ
285
ครูผูส้ อนจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย ดาเนินตามกิจกรรมที่
กาหนด ชุมชนสนบั สนนุ ในด้านของสถานฝึกประสบการณแ์ ละแหลง่ เรียนรู้
4.3.7 ขอ้ เสนอแนะ
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้บริหารเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง ข้อเสนอแนะ สรุปได้ว่า ควรสารวจความพึงพอใจของ
ผใู้ ชบ้ ริการผลผลิตของสถานศึกษาเพื่อนามาปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ให้น่าสนใจ และหลากลาย ครูผู้สอนควรจัดหาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับเน้ือหาท่ีสอน ควรจัด
กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบโครงงาน ชิ้นงาน ใบงาน การทดลอง
4.4 สมั ภาษณผ์ ปู้ กครอง
4.4.1 จากการที่ผู้เรียนในความปกครองดูแลของท่านศึกษาในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวัดเลย ท่านคิดวา่ ผ้เู รยี นมพี ฤติกรรมเปลยี่ นแปลงอย่างไรบา้ ง
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครผู สู้ อนวิทยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย จังหวัดเลย เร่อื ง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน สรุปได้ว่า ผู้เรียน
มีความกระตอื รือรน้ มีความรบั ผดิ ชอบ ตรงต่อเวลา ทางานเป็นระเบียบเรียบร้อย มีความขยัน รู้จักหน้าที่ของ
ตนเอง การพดู จามกี าลเทศะ
4.4.2 ท่านเหน็ ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เป็น
อย่างไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผสู้ อนวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวัดเลย สรุปได้ว่า มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีดี มีสื่อการเรียนรู้ทันสมัย มีการวางแผนที่ดี มีกิจกรรมให้
ผเู้ รยี นไดเ้ ข้ารว่ มเป็นอยา่ งดี มีการวางแผนในการจัดตารางเรยี นที่สมดลุ มีการบูรณาการสามารถนาความรู้ท่ีได้
ในการเรียนรูไ้ ปใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้จริง
4.4.3 ท่านเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย มี
ปญั หาเรื่องใดบ้าง และควรแกไ้ ขอย่างไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครผู สู้ อนวิทยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย จังหวัดเลย เรื่อง ปัญหาในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ในวิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย สรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความยืดหยุ่น ให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้
เปน็ ระบบ การจดั กิจกรรมการเรยี นรคู้ รูผสู้ อนควรมรี ะบบการควบคุมดแู ลให้ผูเ้ รียนเข้าร่วมกิจกรรม ครูผู้สอนที่
มอบหมายงานใหผ้ ู้เรียนท่ีมากเกนิ ไปอาจทาให้ผู้เรยี นเกดิ ความเบอ่ื หน่ายได้ การจัดคาบเรียนตดิ ตอ่ กัน 3-4 คาบ
286
อาจทาให้ผู้เรียนเบ่ือหน่ายได้ ควรจัดคาบเรียน 1-2 คาบ ต่อรายวิชาใน 1 วัน ผู้เรียนไม่ค่อยเข้าเรียน การจัด
ตารางเรยี นทเ่ี ลกิ คา่ เกนิ ไป การทางานในช่วงของวันหยุด
4.4.4 ท่านคิดว่าลักษณะการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนมีผลการเรียนที่สูงข้ึนได้ ควร
เป็นอยา่ งไร
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เร่ือง ลักษณะการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนมีผลการ
เรียนที่สูงข้ึน สรุปได้ว่า ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการปฏิบัติด้วยเพ่ือทาให้ผู้เรียนมีความ
กระตอื รอื รน้ และปฏบิ ตั ไิ ด้ ควรมกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละการปฏบิ ตั คิ วบคกู่ ัน เพ่อื ที่จะให้ผูเ้ รียนได้จาและ
ทาได้ ควรมอี ุปกรณใ์ ห้ครบทุกคน ควรบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้
ผ้เู รียนได้มีโอกาสทางานเดี่ยวสลับกับการทางานกลุ่ม มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยมุ่งให้ผู้เรียน เรียนรู้โดย
การปฏิบัติมากกว่าการเรียนรู้ในหนังสืออย่างเดียว ควรมีการกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจในการเรียนรู้ มี
กิจกรรมบางครง้ั เพอื่ ให้ผู้เรยี นไดพ้ กั ผอ่ น
4.4.5 ข้อเสนอแนะ
จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียน รู้ของ
ครูผ้สู อนวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย เรื่อง ขอ้ เสนอแนะ สรปุ ได้ว่า ควรมีการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมี
เวลายดื หย่นุ ควรเลิกเรียนไม่เกิน 16.30 น. และควรเลิกพร้อมกันท้ังหมด ควรสร้างห้องน้าเพ่ิมเติมเพ่ือความ
สะดวก
5 อภปิ รายผลการศึกษา
จากการสัมภาษณ์เชงิ ลึกกับบุคคลท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ ผู้เรียน
ครูผู้สอน ผู้บริหาร และผู้ปกครอง ทาให้เห็นว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนส่วนใหญ่ไม่ได้มีการ
วิเคราะห์หลักสูตรให้สอดคล้องกับผู้เรียน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหนังสือ
เรียน ซ่ึงครูผู้สอนบางส่วนอาจยึดหนังสือเรียนเพียงสานักพิมพ์เดียว ครูผู้สอนบางส่วนนาแผนการเรียนรู้จาก
สถานศึกษาอื่นมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูผู้สอนบางส่วนไม่ได้นาแผนการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรอู้ ยา่ งแท้จริง เป็นผลทาใหก้ ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรไู้ มม่ คี วามสอดคล้องกันกับโครงสร้างหลกั สูตร และไม่
เหมาะสมกับผู้เรยี นทจ่ี ดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ซงึ่ ครผู สู้ อนไม่ได้มีการวิเคราะห์โครงสร้างหลักสูตรในรายวิชาท่ีจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ เป็นผลทาให้กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ม่เป็นที่นา่ สนใจของผเู้ รยี น
287
6 ขอ้ เสนอแนะ
6.1 ขอ้ เสนอแนะทั่วไป มีดงั นี้
6.1.1 ครผู ู้สอนควรมกี ารสารวจความตอ้ งการ และสภาพของผู้เรียน ก่อนวางแผนการ
เรียนรู้
6.1.2 ครูผู้สอนควรวเิ คราะห์โครงสรา้ งหลกั สตู รในรายวชิ าทจ่ี ัดกิจกรรมการเรียนรู้
6.1.3 ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถ คิดเป็น
ทาเปน็ แก้ปัญหาได้
6.1.4 กิจกรรมการเรียนรู้ควรเน้นการปฏิบัติเป็นกลุ่ม เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้
แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และชว่ ยเหลอื ซงึ่ กันและกัน
6.1.5 ควรมีการวดั ผลประเมนิ ผลให้สอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์รายวิชา
6.2 ข้อเสนอแนะในการนาผลการศึกษาไปใช้ มีดังนี้
6.2.1 ควรมีการรวบรวมข้อมูลด้วยเครื่องมือท่ีหลากหลาย เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง
เพอื่ นาไปสกู่ ระบวนการพฒั นาครูผ้สู อนในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
6.2.2 ควรมีการพัฒนาครูผสู้ อนในดา้ นการจดั ทาแผนการเรยี นรู้
การวิเคราะห์ SWOT
การบริหารทรพั ยากรในการสนบั สนนุ กระบวนการสอนของครูผ้สู อน
การศกึ ษาครัง้ น้ี เปน็ การวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนบั สนุนกระบวนการสอน
ของครผู ูส้ อน ในวิทยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย จงั หวัดเลย ซง่ึ ผศู้ กึ ษาขอนาเสนอการสรุปผลการศึกษา ตามลาดับ
ดงั นี้
1 ความเป็นมาและความสาคัญของการศึกษา
2 วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา
3 วธิ ีดาเนนิ การศึกษา
4 สรปุ ผลการศึกษา
1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของการศกึ ษา
ส่ิงต่างๆ ท่ที าให้การจัดการศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ ทรัพยากรทางการศึกษาจึงครอบคลุมอยู่ใน
ความหมายต่างๆ ไม่ว่าจะมองในแง่ของทางเศรษฐศาสตร์ หรือทางการบริหารก็ตาม การดาเนินการกับ
ทรัพยากรเหล่าน้ีต้องมีหลักการ วิธีการ และแนวคิดเป็นกรอบเพื่อให้เกิดผลและมีประสิทธิภาพสูงสุด แต่
เน่อื งจากการศึกษาเป็นงานใหญ่ ขอบข่ายกว้างขวางครอบคลุมหลายส่วน ทรัพยากรจึงมีเป็นจานวนมากและ
หลากหลายรูปแบบ เช่น ทรัพยากรทางการเงิน วัสดุอุปกรณ์ และการบริหารจัดการ รวมท้ังทรัพยากรบุคคล
ดว้ ย
การบริหาร จัดการจึงต้ องมุ่ง ตอบสนองเจตนารมณ์แห่งพร ะราชบัญญัติ การศึ ก ษาแห่งชาติ
พุทธศกั ราช 2542 ทเ่ี น้นความสาคญั ของตัวผเู้ รียน และเนน้ การบรหิ ารทใี่ ช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน ตามโครงสร้างการ
กระจายอานาจ การบริหารทรัพยากรจะเป็นกลไกหรือเคร่ืองมือสาคัญท่ีกระตุ้นให้สถานศึกษาดาเนินการเพ่ือ
ตอบสนองวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายในการจดั การศึกษาดงั กล่าว
ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการบริหารทรัพยากรในการสนับสนุนกระบวนการสอนของ
ครูผ้สู อนด้วยวิธีการวเิ คราะห์ SWOT
2 วตั ถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา
เพ่ือศึกษา จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ในการบริหารทรัพยากรในการสนับสนุน
กระบวนการสอนของครผู ูส้ อน ในวทิ ยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย
345
3 วธิ ดี าเนินการศกึ ษา
3.1 ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
ประชากร
ประชากรทใี่ ชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซา้ ย ในปกี ารศกึ ษา 2564
กลุ่มตวั อยา่ ง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ผู้ศึกษาได้คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจาก ผู้บริหาร
ครูผสู้ อน ผ้เู รยี น ในวิทยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ยในปีการศกึ ษา 2564 จานวน 50 คน
3.2 เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูล
เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการศึกษาครั้งน้ี เป็น แบบวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) การบริหาร
ทรพั ยากรในการสนับสนุนกระบวนการสอนของครผู สู้ อน
3.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตนเองโดยการระดมความคิดจาก ผบู้ รหิ าร ครูผ้สู อน ผู้เรียน โดยแยก
เป็นสาขาวิชา จานวน 8 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาช่างไฟฟ้า สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์
สาขาวชิ าการบัญชี สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาสามัญ สาขาวิชาเครื่องกล และสาขาวิชาอาหารและ
โภชนาการ ในวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย
4 สรุปผลการศกึ ษา
4.1 จุดแขง็ (strenghts)
จากการวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนุนกระบวนการสอนของ
ครูผสู้ อน เร่อื ง จดุ แข็ง (strenghts) สรุปได้ว่า จานวนครูผู้สอน และบุคลากรฝ่ายสนับสนุนมีความเพียงพอต่อ
จานวนผ้เู รยี น และมีความรู้ความสามารถในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ อาคารสถานท่ีและห้องเรียนมีจานวนเพียงพอต่อ
การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ สภาพแวดล้อมมีความเหมาะสมมาก สามารถสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้
เป็นอย่างดี ส่ือการเรียนรู้และอุปกรณ์การทดลองเพียงพอต่อการเรียนรู้ หลักสูตรมีความเหมาะสมต่อการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรูใ้ นแต่ละระดับการศึกษา ได้รับงบประมาณในการสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมในโครงการ
ตา่ งๆ
346
4.2 จุดออ่ น (weaknesses)
จากการวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนุนกระบวนการสอนของ
ครผู ูส้ อน เร่ือง จุดอ่อน (weaknesses) สรปุ ได้ว่า ผเู้ รยี นมีจานวนนอ้ ย ผู้เรียนไม่มีความตรงต่อเวลา ขาดความ
สนใจใฝร่ ู้ ไม่ต้งั ใจเรยี น ภาระของครผู ูส้ อนมากเกนิ ไปและยงั ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีหลายอย่าง ครูผู้สอนบางส่วนขาดการ
เอาใจใสต่ ่อผ้เู รยี น บคุ ลากรขาดการไดร้ บั การสง่ เสริมขวัญและกาลังใจ มีการประชุมบ่อยครั้งซ่ึงมีผลต่อการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ อุปกรณ์การทดลองเสียหายเพราะขาดงบประมาณในการบารุงรักษา ซ่อมแซม ส่ือการ
เรียนร้ลู ้าสมัยและไม่เพียงพอ
4.3 โอกาส (opportunities)
จากการวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนุนกระบวนการสอนของ
ครูผู้สอน เรื่อง โอกาส (opportunities) สรุปได้ว่า มีโอกาสเข้าถึงสื่อต่างๆ ได้ง่าย ได้รับการสนับสนุนในการ
จดั ทาส่ิงประดิษฐ์ ครผู ูส้ อนได้มโี อกาสไดพ้ ัฒนาตนเองโดยการรับการอบรมหรอื ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม และได้
พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ ครูผสู้ อนสว่ นหน่งึ เปน็ คนทอ้ งถน่ิ จงึ ไม่มีการย้ายงานบ่อย สถานศึกษาได้รับความร่วมมือ
กบั ชมุ ชน มีแหลง่ เรยี นรู้ใกล้สถานศกึ ษา วิทยาลยั การอาชีพด่านซ้ายให้บริการอินเตอรเ์ น็ทอยา่ งท่วั ถึง
4.4 อปุ สรรค (threats)
จากการวิเคราะห์ SWOT การบริหารทรัพยากรในการสนับสนุนกระบวนการสอนของ
ครผู ู้สอน เร่อื ง อปุ สรรค (threats) สรปุ ไดว้ ่า มกี จิ กรรมอ่นื ๆ ที่ไม่เก่ียวข้องกับกิจกรรมการเรียนรู้มากไป จึงทา
ให้ท้ังครูผู้สอนและผู้เรียนไม่ค่อยได้ทากิจกรรมการเรียนรู้ ครูผู้สอนไปอบรมบ่อยทาให้ไม่ได้จัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้และทาใหผ้ ้เู รียนไม่อยากมาเรียน ขาดแคลนงบประมาณเน่ืองจากได้รับจัดสรรไม่เพียงพอ คุณภาพของ
ผู้เรียนท่ีเข้ามาเรียนในวิทยาลัยฯ ค่อนข้างต่า ทัศนคติของผู้ปกครองบางส่วนมีความคิดเห็นต่อวิทยาลัยฯ
เป็นไปในเชงิ ลบ
สรปุ รายงานการประชุม
ฝา่ ยวิชาการ
วนั ศกุ ร์ท่ี 30 กรกฎาคม 2564
ณ หอ้ งประชุม อาคารศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร
........................................
ผู้เข้ารว่ มประชมุ
1. นายมณู ดตี รุษ รองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ
2. นางสาวสายสุณี ศรีวิเชียร หวั หน้าแผนกวิชาสามญั
3. นายสุเมธ โยทมุ หัวหนา้ แผนกวชิ าช่างยนต์
4. นางสาวพรชนัน ปุระมงคล หวั หนา้ แผนกวิชาชา่ งกลโรงงาน
5. นายพเิ สกณ์ แก้วยนต์ หัวหนา้ แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากาลงั
6. นายอนันต์ สุวรรณชาติ หวั หน้าแผนกวิชาชา่ งอเิ ล็กทรอนกิ ส์
7. นายมานิช โนรนิ ทร์ยา หัวหนา้ แผนกวชิ าชา่ งเชื่อมโลหะ
8. นางพนมจันทร์ เพชรประสทิ ธ์ิ หวั หน้าแผนกวชิ าการบญั ชี
9. นายศราวุฒิ วงษเ์ ดอื น หวั หนา้ แผนกวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ
10. นายประวทิ สีหะสทุ ธิ์ หวั หนา้ แผนกวชิ าคหกรรมศาสตร์
11. นางสาวหทัยรตั น์ วนั ทองสขุ เจ้าหน้าที่ธรุ การฝ่ายวิชาการ
ผู้ไม่เข้ารว่ มประชมุ
ไม่มี
เร่มิ ประชมุ เวลา 15.00 น.
เมื่อประธานกล่าวเปดิ ประชุมแลว้ ไดด้ าเนนิ การตามระเบียบวาระการประชมุ ดังต่อไปนี้
ระเบยี บวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ท่ปี ระชุมทราบ
1.1 การสอนแบบปฏบิ ตั กิ าร (เอกสารหมายเลข 1)
การสอนแบบปฏิบตั กิ ารหมายถึง การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญโดยให้
ผ้เู รยี นได้ทดลองทา ลงมือปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่างๆ เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มอันจะนาไปสู่การค้นพบข้อสรุป
มโนมติ กฏ สูตรของเน้ือหาด้วยตนเองซ่ึงครูมีหน้าท่ีคอยจัดสื่อและอุปกรณ์ต่างๆ ไว้ให้เหมาะสมกับการ
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมนั้นๆ
เสนอแนะการนาวิธีสอนแบบปฏิบตั กิ ารไวด้ งั นี้
1 ครูต้องแนะนาหรือเขียนข้อแนะนาในการปฏิบัติการให้ชัดเจน ในระยะแรก
ครผู ู้สอนอาจต้องสาธิตให้ดู
2 ขณะที่ผู้เรียนทากิจกรรมครูผู้สอนต้องคอยดูแลและช่วยเหลือให้เป็นไปตาม
ขอ้ แนะนาเเละความม่งุ หมาย
357
3 เม่ือผู้เรียนทากิจกรรมเสร็จควรจะให้ผู้เรียนรายงานผลการปฏิบัติกิจกรรมอย่าง
ย่อๆ และให้รจู้ กั สรุปผลของการทดลอง
4 สรปุ ผลและวัดผลการปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่ถูกต้องและจะได้
แก้ไขให้ดีข้ึนในคราวถดั ไป
ประโยชนข์ องการสอนแบบปฏิบัติการ
1 ปลูกฝงั ผเู้ รียนให้มนี สิ ัยในการคน้ คว้าหาความจรงิ ไม่เชอ่ื อะไรงา่ ยๆ
2 ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการทดลองเพ่ือค้นคว้าหาข้อเท็จจริงตามกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์
3 ทาให้ผู้เรียนสังเกตพิจารณาหาเหตุผลจากสิ่งแวดล้อมปรับตัวให้เข้ากับ
สิง่ แวดลอ้ มไดด้ ขี น้ึ
4 ทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยการกระทามีประสบการณ์ตรงเป็นการสร้างวิธีการที่ดีใน
การเรียนรู้ด้วยตนเองของผเู้ รียนตอ่ ไป
5 ทาให้ผู้เรยี นรักและสนใจในบทเรยี นเพราะเปน็ การเรยี นจากส่งิ ทเี่ ปน็ จริง
6 ทาใหผ้ ู้เรียนพฒั นาในด้านทกั ษะการใช้เครื่องมอื และการจัดกระบวนการ
7 เรียนรู้ได้แจม่ แจง้ แมน่ ยาสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
8 ทาให้ผู้เรยี นเป็นคนเชอื่ มนั่ ในตนเองไมเ่ ปน็ ผูท้ คี่ อยแตอ่ าศยั ผอู้ ่ืน
1.2 การเรียนท่ใี ชป้ ญั หาเป็นฐาน (เอกสารหมายเลข 2)
การจัดกจิ กรรมการเรียนร้โู ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ทีเ่ ร่ิมต้นจากปัญหาที่เกิดข้ึน โดยสร้างความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่ม เพ่ือแก้ปัญหาหรือสถานการณ์
เกย่ี วกับชวี ติ ประจาวันและมีความสาคัญต่อผู้เรียน ตัวปัญหาจะเป็นจุดตั้งต้นของกระบวนการเรียนรู้ และ
เป็นตัวกระตุ้นการพัฒนาทักษะ การแก้ปัญหาด้วยเหตุผลและการสืบค้นหาข้อมูลเพ่ือเข้าใจกลไกของตัว
ปญั หา รวมทงั้ วิธกี ารแก้ปญั หา มุ่งเน้นพัฒนาผ้เู รียนในดา้ นทกั ษะและกระบวนการเรยี นรู้ และพฒั นาผ้เู รียน
ให้สามารถเรยี นรโู้ ดยการช้นี าตนเอง ซึง่ ผเู้ รียนจะไดฝ้ กึ ฝนการสรา้ งองคค์ วามร้โู ดยผ่านกระบวนการคิดด้วย
การแก้ปญั หาอย่างมคี วามหมายตอ่ ผเู้ รยี น
ข้ันตอนการจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบใช้ปัญหาเปน็ ฐาน ไวด้ งั นี้
ขน้ั ที่ 1 เชื่อมโยงปัญหาและระบุปัญหา เป็นขั้นที่ครูผู้สอนนาเสนอสถานการณ์
ปญั หาเพ่ือกระตุ้นให้ผเู้ รยี นเกดิ ความสนใจและมองเห็นปัญหา สามารถระบุสิ่งท่ีเป็นปัญหาท่ีผู้เรียนอยากรู้
อยากเรยี นและเกดิ ความสนใจท่จี ะค้นหาคาตอบ
ข้ันที่ 2 กาหนดแนวทางที่เปน็ ไปได้ ผู้เรียนแตล่ ะกล่มุ วางแผนการศกึ ษา ค้นคว้า ทา
ความเข้าใจอภิปรายปัญหาภายในกลุ่ม ระดมสมองคิดวิเคราะห์ เพ่ือหาวิธีการหาคาตอบ ครูผู้สอนคอย
ช่วยเหลอื กระตุ้นใหเ้ กิดการอภปิ รายภายในกลุม่ ใหผ้ ูเ้ รียนเขา้ ใจวเิ คราะหป์ ญั หาแหล่งขอ้ มูล
358
ข้ันท่ี 3 ดาเนินการศึกษาค้นคว้า ผู้เรียนกาหนดส่ิงที่ต้องเรียน ดาเนินการศึกษา
ค้นควา้ ดว้ ยตนเองดว้ ยวิธีการหลากหลาย
ขน้ั ท่ี 4 สังเคราะห์ความรู้ ผู้เรียนนาข้อค้นพบ ความรู้ท่ีได้ค้นคว้ามา แลกเปลี่ยน
เรยี นรรู้ ่วมกัน อภปิ รายผลและสงั เคราะห์ความรูท้ ่ีไดม้ าวา่ มีความเหมาะสมหรอื ไมเ่ พยี งใด
ข้นั ท่ี 5 สรุปและประเมินค่าของคาตอบ ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสรุปผลงานของกลุ่ม
ตนเอง และประเมินผลงานว่าขอ้ มูลที่ศกึ ษาคน้ ควา้ มีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยพยายามตรวจสอบ
แนวคดิ ภายในกลุม่ ของตนอยา่ งอิสระ ทุกกล่มุ ช่วยกันสรปุ องค์ความรใู้ นภาพรวมของปญั หาอกี ครงั้
ขั้นที่ 6 นาเสนอและประเมินผลงาน ผู้เรียนนาข้อมูลท่ีได้มาจัดระบบองค์ความรู้
และนาเสนอเปน็ ผลงานในรปู แบบที่หลากหลาย ครผู สู้ อนประเมินผลการเรียนรูแ้ ละทักษะกระบวนการ
1.3 วิธีสอนโดยใช้การทดลอง (เอกสารหมายเลข 3)
วิธีสอนโดยใช้การทดลอง คือกระบวนการท่ีครูผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ีก่ าหนด โดยการใหผ้ เู้ รียนเป็นผูก้ าหนดปญั หาและสมมุติฐานในการทดลองและลง
มือทดลองปฏบิ ัติตามข้นั ตอนที่กาหนดโดยใช้วัสดอุ ปุ กรณ์ทจ่ี าเป็น เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป
อภิปรายผลการทดลอง และสรุปการเรยี นรู้ทไ่ี ด้รับจากการทดลอง
เทคนคิ และข้อเสนอแนะต่างๆ ในการใชว้ ธิ สี อนโดยใชก้ ารทดลองใหม้ ีประสิทธภิ าพ
1 การเตรยี มการ
ครูผูส้ อนจะต้องกาหนดจุดมุ่งหมาย กาหนดตัวปัญหาท่ีจะใช้ในการทดลอง และ
กระบวนการหรือขั้นตอนในการดาเนินการทดลองให้ชัดเจน รวมท้ังจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ท่ีจะใช้ในการ
ทดลองให้พร้อม และลองซ้อมทาการทดลองด้วยตนเอง เพ่ือจะได้เรียนรู้ประเด็นปัญหา ข้อขัดข้องหรือ
อุปสรรคต่างๆ ซึ่งอาจนามาใช้ในการปรับขั้นตอนการดาเนินการและรายละเอียดต่างๆ ให้รัดกุมขึ้น
ครผู ู้สอนอาจจาเป็นต้องทาเอกสารคมู่ อื การทดลองใหผ้ เู้ รยี น และควรจัดทาประเดน็ คาถามที่จะให้ผู้เรียนหา
คาตอบหรือแนวทางที่จะให้ผู้เรียนสังเกตผลการทดลอง นอกจากน้ันในบางกรณีที่การทดลองต้องอาศัย
พ้ืนฐานความรู้ที่จาเป็น ซ่ึงหากผู้เรียนขาดความรู้ดังกล่าวจะไม่สามารถทาการทดลองได้ จึงควรมีการ
ตรวจสอบความรู้ผู้เรียนก่อนใหท้ าการทดลอง โดยครูผ้สู อนจะต้องจัดเตรียมแบบทดสอบไว้ด้วย สาหรับการ
ทดลองท่มี อี นั ตราย เช่น การทดลองทางเคมี ครูผู้สอนจะต้องตรวจสอบความปลอดภัย รวมท้ังเตรียมการ
ทัง้ ทางด้านป้องกันและแกไ้ ขปัญหาท่อี าจจะเกดิ ขึ้นด้วย
2 การนาเสนอเรอื่ ง/ตัวปัญหาทีจ่ ะใชใ้ นการทดลอง
ครูผู้สอนอาจเป็นผู้นาเสนอปัญหาที่จะใช้ในการทดลอง แต่ถ้าทาให้ผู้เรียนมี
ความรู้สึกว่าปัญหามาจากตัวผู้เรียนเองได้ ก็จะยิ่งดี จะทาให้การเรียนรู้หรือการทดลองนั้นมีความหมาย
สาหรับผูเ้ รียนมากข้นึ
359
3 การให้ความร/ู้ ขน้ั ตอน/รายละเอียดในการทดลอง
ครผู สู้ อนอาจเปน็ ผู้กาหนดขนั้ ตอนและรายละเอียดในการทดลองเอง หรืออาจให้
ผูเ้ รียนร่วมกันวางแผนและกาหนดขนั้ ตอนในการดาเนนิ การทดลองก็ได้ แลว้ แตค่ วามเหมาะสมกับสาระ แต่
การให้ผู้เรียนร่วมกันดาเนินการน้ัน จะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะต่างๆ ได้เพิ่มข้ึนอีก และผู้เรียนจะ
กระตอื รือร้นมากข้ึนเพราะเปน็ ผู้คดิ เอง อยา่ งไรก็ตาม ครูผู้สอนจาเป็นต้องคอยดูแลให้คาปรึกษาและความ
ชว่ ยเหลอื อยา่ งใกล้ชิด
4 การทดลอง
การทดลองทาไดห้ ลายแบบ ครผู ู้สอนอาจให้ผู้เรียนลงมือทดลองตามขั้นตอนที่ได้
กาหนดไว้ทั้งหมดโดยครูทาหน้าท่ีสังเกต และให้คาแนะนาหรือให้ข้อมูลป้อนกลับแก่ผู้เรียน หรือครูผู้สอน
อาจลงมอื ทาการทดลองเองให้ผู้เรียนสังเกต แล้วทาการทดลองตามไปทีละข้ัน หรือครูผู้สอนอาจลงมือทา
การทดลองใหผ้ ู้เรียนดจู นจบกระบวนการ แล้วให้ผู้เรียนไปทาการทดลองด้วยตนเอง ครูผู้สอนจะใช้เทคนิค
ใดน้ันข้ึนกับความเหมาะสมกับลักษณะของการทดลองครั้งนั้น ครูผู้สอนจึงควรฝึกฝนทักษะดังกล่าวให้
ผู้เรียน ก่อนให้ผู้เรียนทาการทดลอง หรือไม่ก็ต้องฝึกไปพร้อมๆ กัน ครูผู้สอนจะสอนด้วยวิธีนี้ให้ได้ผลดี
จาเปน็ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ จงึ จะสามารถชว่ ยฝึกฝนผูเ้ รยี นตามปัญหาและความตอ้ งการของผู้เรยี นได้
5 การรวบรวมข้อมูล
ครูผู้สอนควรให้คาแนะนาแก่ผู้เรียนในการสังเกตการทดลอง บันทึกข้อมูลการ
ทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ รวมท้ังให้ความเอาใจใส่ในกระบวนการทดลอง และ
กระบวนการทางานรว่ มกนั ของผ้เู รียนด้วย
6 การวเิ คราะห์สรปุ ผลการทดลอง และสรุปผลการเรียน
ครูผู้สอนควรให้คาแนะนาแกผ่ ู้เรยี นเก่ียวกับวธิ กี ารวเิ คราะห์ข้อมูลและการสรุปผล
ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งสามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ในเรื่องอ่ืนๆ ได้อีกมาก นอกจากน้ันครูผู้สอนควรให้ผู้เรียนวิเคราะห์อภิปรายเกี่ยวกับ
กระบวนการในการแสวงหาความรู้ กระบวนการทางานและกระบวนการอื่นๆ และสรุปการเรียนรู้ร่วมกัน
ด้วย
ระเบียบวาระท่ี 2 เร่อื งรบั รองรายงานการประชมุ ครัง้ ทีผ่ า่ นมา
ไมม่ ี
ระเบียบวาระที่ 3 เรอ่ื งสืบเนื่องจากการประชุมคร้งั ท่ผี า่ นมา
ไม่มี
ระเบียบวาระท่ี 4 เรอื่ งเสนอให้ที่ประชมุ พิจารณา
4.1 ผลการสารวจพฤตกิ รรมการสอนของครผู สู้ อนในวทิ ยาลยั การอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย (เอกสารหมายเลข 4)
360
ผลการศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซ้าย
1 ขน้ั เตรียมการ
1.1 การเตรียมตนเอง
1.2 การเตรียมแหลง่ ขอ้ มลู
1.3 การจัดทาแผนการเรยี นรู้
2 ขัน้ ดาเนินการ
2.1 จัดกจิ กรรมให้ผู้เรียนได้คน้ พบคาตอบดว้ ยตนเอง
2.2 การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและกลุ่ม และแหล่ง
ความรู้หลากหลาย
2.3 การจัดกิจกรรมเคล่อื นไหวทางร่างกายอย่างเหมาะสมกับวัยและความสนใจ
2.4 การเรยี นร้ตู ามกระบวนการตา่ งๆ
2.5 การนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้
3 ขัน้ ประเมนิ ผล
3.1 วดั ผลและประเมินผลดว้ ยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย
3.2 วดั ผลประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
3.3 วดั ผลประเมนิ ผลจากแฟ้มสะสมผลงาน
ผู้วิจัยได้ศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้าย โดยใช้แบบสอบถามความคิดเหน็ ของครผู สู้ อน และผเู้ รียน จานวน 214 คน โดยมีผลการศึกษาดัง
เอกสารหมายเลข 4 (การศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของวิทยาลัยการอาชีพด่าน
ซา้ ย)
4.2 ผลการตรวจสอบเอกสารการสอน (แผนการเรียนรู้) (เอกสารหมายเลข 5)
การเขียนแผนการเรียนรู้สมรรถนะท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครูผู้สอนของวิทยาลัย
การอาชีพด่านซา้ ย จังหวัดเลย ที่ดาเนินการจัดทานั้นขาดองค์ประกอบที่สาคัญ เช่น งานท่ีมอบหมายหรือ
กิจกรรมไม่ระบหุ ลกั ฐานรอ่ งรอยทแ่ี สดงให้เหน็ เป็นผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนให้เป็นรูปธรรม งานท่มี อบหมาย
หรอื กิจกรรมไมแ่ สดงชอื่ ผลงานหรือชิน้ งานหรือความสาเรจ็ ของผู้เรียนทบี่ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ งานที่มอบหมาย
หรือกิจกรรมไม่แสดงผลสาเรจ็ ที่ได้จากกิจกรรมการเรยี นรูเ้ ป็นชนิ้ งาน ผลงานอะไร ไม่แสดงรายการสื่อการ
เรียนรู้ ชือ่ ส่ือการเรียนรู้แต่ละชนิดว่าใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ข้ันใด ข้อใด ไม่แสดงช่ือแหล่ง
เรียนรู้ สถานที่ท่ีใช้เรียนรู้ให้ชัดเจนว่าอยู่ท่ีใด เป็นอะไร ไม่แสดงรายละเอียดของแหล่งเรียนรู้ที่อยู่ใน
สถานศกึ ษาให้ชัดเจน ไม่มีการบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนของแต่ละหน่วยท่ีแสดงให้
เห็นถงึ ผลการเปลย่ี นแปลงที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียนครบทุกหน่วย ไม่เขียนหรือกาหนดกิจกรรมการสอน/การ
เรยี นรขู้ องทั้งครผู สู้ อนและผู้เรียนในแต่ละวตั ถุประสงคใ์ ห้ชดั เจนว่าผู้เรียนต้องทาอะไรจึงเกิดการเรียนรู้ ไม่