แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง ความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ ตนนับถือและศาสนาอื่นมีศรัทธาที่ถูกต้องยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด 1.1 ม.1/2 วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่มีต่อ สภาพแวดล้อมในสังคมไทย รวมทั้งการ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยได้ 2.นักเรียนสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้องเหมาะสมต่อความสำคัญของพระพุทธศาสนาในด้าน ต่างๆได้ 3.นักเรียนตระหนักเห็นความคุณค่าสำคัญของพระพุทธศาสนาที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของ พลเมืองในสังคม 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ การที่คนไทยนับถือพระพุทธศาสนามาเป็นเวลาช้านานทำให้พระพุทธศาสนามีความสำคัญ ต่อสังคมไทย เป็นศาสนาที่ พลเมืองชาวไทยนับถือมากที่สุดในปัจจุบันนี้ เป็นสถาบันหลักของ สังคมไทย เป็นสภาพแวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลุม สังคมไทย และเป็นหลักในการพัฒนาตนเอง และครอบครัว 6.สาระการเรียนรู้ ความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็น ศาสนาประจําชาติสถาบันหลัก ของสังคมไทย สภาพแวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลุมสังคมไทย 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. ทำความรู้จักทักทายนักเรียน ข้อตกลงในห้องเรียน ให้นักเรียนสะท้อนความคาดหวัง เกี่ยวกับรายวิชาสังคมศึกษา และกิจกรรมแนะนำตัวรู้จักตัวเองและเพื่อนในชั้นเรียน -นำภาพศาสนสถาน ศาสนวัตถุ ศาสนบุคคล และศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนา ให้นักเรียน ร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูอาจใช้คำถามชี้นำให้เกี่ยวข้องกับความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่ เกี่ยวข้องกับภาพนั้น ขั้นสอน 2. อธิบายถึงความสำคัญของศาสนาพุทธ ที่มีผลต่อสังคมไทยในด้านต่างๆ จากนั้นให้นักเรียน ศึกษาความสำคัญของพระพุทธศาสนา จากptt แล้วสรุปความสำคัญลงในสมุด 3. สุ่มออกมานำเสนอผลสรุปของตนเอง ให้เพื่อนนักเรียนได้ฟังและอภิปรายร่วมกัน 4. เปิดภาพจากสไลด์ให้นักเรียนดูตัวอย่างวิถีชีวิตของคนไทยที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา 5. ให้นักเรียนยกตัวอย่าง วิถีชีวิตของตนเองที่เกี่ยวข้องกับความสำคัญของพระพุทธศาสนาใน ฐานะที่เป็นสถาบันหลักของสังคมไทยม คนละ 1 ตัวอย่าง 6. อธิบายสรุปเพิ่มเติม เกี่ยวกับความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย แล้วให้ทำ ใบงาน ความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย ขั้นสรุป 7. เฉลยใบงาน แล้วแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ให้เกิดองค์ความรู้ ดังนี้ พระพุทธศาสนาเป็นสถาบันหลักของสังคมไทย มีหลักธรรมคำสอนที่สามารถนำไปปฏิบัติใน ชีวิตประจำวันเพื่อให้เกิดความสงบสุขในสังคม
9. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเสรีภาพในการนับถือศาสนาของคนไทย โดยเน้นการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุข 8.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2. สื่อนำเสนอ รูปแบบppt. เรื่องความสำคัญของพระพุทธศาสนาในสังคมไทย ใบงาน เรื่องความสําคัญของพระพุทธศาสนาในสังคมไทย 9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่1ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 5 ชั่วโมง เรื่องการเผยแผ่พุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ ตนนับถือและศาสนาอื่นมีศรัทธาที่ถูกต้องยึดมั่น และปฎิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม.1/1 อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับการสังคายนาและการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่เข้าสู่ ประเทศไทย 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์อิทธิพลเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในประเทศไทยได้ 3.นักเรียนตระหนักเห็นความสำคัญในพระพุทธศาสนาที่มีผลต่อสังคมชาวไทย 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทยตั้งแต่มีการสังคายนาครั้งที่ 3 โดยแบ่งออกเป็น 4 ยุค ตั้งแต่ ยุคเถรวาทสมัย พระเจ้าอโศกมหาราช จนถึงยุคเถรวาทแบบลังกาวงศ์ 6.สาระการเรียนรู้ การเผยแผ่ศาสนาเข้าสู่สังคมต่าง ๆ ทำให้ผู้คนได้เรียนรู้ หลักคำสอนและข้อปฏิบัติของศาสนา ช่วยให้มีหลักใน การดำเนินชีวิต และเป็นส่วนทำให้สังคมดำรงอยู่ได้ อย่างมั่นคง 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. เปิดภาพพระสงฆ์กำลังปฏิบัติศาสนกิจ และพุทธศาสนิกชนกำลังประกอบพิธีทางพระ แล้ว ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูให้กระตุ้นความคิด ดังนี้ -ภาพนี้เกี่ยวกับอะไร -เกี่ยวโยงกับพระพุทธศาสนาอย่างไร -พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในประเทศไทยอย่างไร โดยครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นและตอบคำถาม อย่างอิสระตามความเข้าใจของตนเอง ขั้นสอน 2.อธิบายและให้เรียน ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทยใน ยุคต่างๆ 4ยุค จากนั้นครู นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้ ดังนี้ -พระพุทธศาสนาเข้ามาเผยแผ่ในประเทศไทยครั้งแรกได้อย่างไร และมีอะไรเป็นหลักฐาน อ้างอิง ตอบ หลังจากการสังคายนาครั้งที่ 3 พระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งสมณฑูต ออกเป็น 9 สาย เผยแผ่พระพุทธศาสนายังดินแดนต่างๆ โดยมีพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนายังดินแดนสุวรรณภูมิ ซึ่งได้แก่ประเทศไทยในยุคปัจจุบัน หลักฐานได้แก่ สถูปเจดีย์ธรรมจักรและกวางหมอบแบบสมัยทวารวดี ที่ขุดพบที่จังหวัดนครปฐม -พระพุทธศาสนายุคเถรวาทแบบพุกามเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทยแถบบริเวณใด มีอะไร เป็นหลักฐาน ตอบ บริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ในปัจจุบัน มีเจดีย์วัดเจ็ดยอดที่จังหวัดเชียงใหม่เป็น หลักฐาน -พระพุทธศาสนาในยุคใดที่เป็นต้นแบบของพระพุทธศาสนาที่เจริญรุ่งเรืองในประเทศไทย จนถึงปัจจุบัน
ตอบ พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์ที่เจริญรุ่งเรืองอยู่ที่เมืองนครศรีธรรมราช และแผ่ ขยายสู่สุโขทัยเจริญรุ่งเรืองมั่นคงสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน 3.ให้นักเรียนทำใบงาน เรื่อง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทย แล้วเฉลยร่วมกัน ขั้นสรุป 4.ให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ พระพุทธศาสนาเผยแผ่เข้าสู่ประเทศไทย ครั้งแรกโดย พระโสณเถระแส พระอุตตรเถระ และพระพุทธศาสนาแบบนิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์เป็นต้นแบบ ของพระพุทธศาสนาที่เจริญรุ่งเรืองในประเทศไทย ในรูปแบบแผนผังความคิด ตามตัวอย่าง 8.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.สื่อ pptเรื่อง การเผยแผ่ศาสนาพุทธเข้าสู่ประเทศไทย 1.สรุปแผนผังความคิด เรื่อง การเผยแผ่ศาสนาพุทธเข้าสู่ประเทศไทย 2.ใบงาน เรื่อง การเผยแผ่ศาสนาพุทธเข้าสู่ประเทศ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา เข้า สู่ประเทศไทย ยุคที่ 1 พระพุทธศาสนาเผยแผ่เข้าสู่ ประเทศไทยทางดินแดนสุวรรณภูมิ สมัย ทวารวดี ซึ่งมีจังหวัดนครปฐม เป็น ศุนย์กลางในปัจจุบัน ยุคที่ 2 พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองใน อาณาจักร ศรีวิชัย ได้แก่ แถบอินโดนีเซีย ขยายมาจนถึงเมือง ไชยา จังหวัดสุราษฎร์ ธานี ยุคที่ 3 พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท แบบ พุกามเข้ามาเผยแผ่ใน อาณาจักรล้านนา ภาคเหนือของ ไทยในปัจจุบัน ยุคที่ 4 การเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา นิกายลังกาวงศ์ที่เมืองนครศรีธรรมราช แล้วเผย แผ่ ขยายไปยังสุโขทัย จนมั่นคงสืบเนื่องจนถึง ปัจจุบัน
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่1ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง พุทธประวัติ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม1/3 วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ จนถึงบำเพ็ญทุกรกิริยา หรือประวัติศาสดาที่ ตนนับถือตามที่กำหนด 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถมีอธิบายความรู้ความเข้าใจพุทธประวัติได้อย่างถูกต้อง 2.นักเรียนสามารถเรียนรู้คิดวิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงการปรินิพพานได้ 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าจากพุทธประวัติ ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำเนิน ชีวิตประจำวันได้ 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ จริยวรรตและการประพฤติปฏิบัติตนของผู้นำทาง ศาสนาเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิต และพัฒนาตนเองของศาสนิกชน 6.สาระการเรียนรู้ พุทธประวัติ คือ ประวัติของพระพุทธเจ้า การศึกษาพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงบำเพ็ญทุก กรกิริยาช่วยให้เกิดศรัทธาในพระพุทธเจ้า พระพุทธศาสนา และได้แบบอย่างในการดำเนินชีวิตในทาง ที่ถูกต้อง 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 1.ขั้นนำ 1.ครูนำภาพพุทธประวัติ มาให้นักเรียนดูแล้วให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ - ภาพที่ครูนำมา ให้นักเรียนดูนั้นเป็นภาพพุทธประวัติตอนใดเหตุการณ์ - ภาพดังกล่าวมีความสำคัญต่อชาวพุทธอย่างไรบ้าง 2.ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่า พระพุทธเจ้าเป็นผู้มีพระคุณต่อชาวโลก ทรงสั่งสอน แนวทางการดำเนินชีวิตที่ประเสริฐแก่บุคคลทั่วไป การศึกษาพุทธประวัติย่อมทำให้เห็นแบบอย่างการ ดำเนินชีวิตที่ดีมีคุณค่า ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตได้ 3.ครูตั้งคำถามให้นักเรียนตอบค่าถามเพื่อกระตุ้นความคิดและความรู้เดิมเกี่ยวกับพุทธประวัติ ของนักเรียน 2.ขั้นสอน 4.ครูแจกชุดแบบฝึกหัด ให้นักเรียน คนละ 1 ชุด แล้วครู เน้นย้ำให้นักเรียนปฏิบัติตามคำสั่ง อย่างเคร่งครัด 5.นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้และตอบคำถามในบทเรียนสำเร็จรูป(ครูกำหนดเวลาตาม ความเหมาะสม) 6.ครูสุ่มนักเรียนออกมาตอบคำถามจากบทเรียนสำเร็จรูปใน แต่ละกรอบ แล้วครูและนักเรียน ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง 3.ขั้นสรุป 7.นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ข้อคิดที่ได้จากการศึกษาพุทธประวัติ 8.นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง พุทธประวัติ ในตอนที่กำหนดให้ ดังนี้ - ตอนประสูติ ตอนตรัสรู้ -ตอนประกาศพระศาสนา - ตอนปรินิพพาน 9.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรียง พุทธประวัติ ด้วยใบงาน สรุปเหตุการณ์พุทธประวัติ
10. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง พุทธประวัติ โดยคิดคะแนนร้อย ละ 6 ผ่านเกณฑ์ ในกรณีที่นักเรียนบางคนไม่ผ่านเกณฑ์ให้กลับไปศึกษาบทเรียนสำเร็จรูปอีกครั้ง (นอก ทางร้าน หรือ เติมที่สร้างรอเข้าใจให้นักเรียน 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียน 1. หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2. ชุดแบบฝึกหัด เรือง พุทธประวัติ 3.เอกสาร pptเรื่อง พุทธประวัติ ชิ้นงาน/ภาวะงาน 1.ใบกิจกรรมประกอบ การเรียนเรื่องพุทธประวัติ 2.ใบงาน time line พุทธประวัติ
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ตรวจใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่1ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง พุทธประวัติ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม1/3 วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ จนถึงบำเพ็ญทุกรกิริยา หรือประวัติศาสดา ที่ตนนับถือตามที่กำหนด 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถมีอธิบายความรู้ความเข้าใจพุทธประวัติได้อย่างถูกต้อง 2.นักเรียนสามารถเรียนรู้คิดวิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงการปรินิพพานได้ 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าจากพุทธประวัติประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำเนิน ชีวิตประจำวันได้ 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ พุทธประวัติ คือ ประวัติของพระพุทธเจ้า การศึกษาพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงบำเพ็ญทุก กรกิริยาช่วยให้เกิดศรัทธาในพระพุทธเจ้า พระพุทธศาสนา และได้แบบอย่างในการดำเนินชีวิตในทาง ที่ถูกต้อง 6.สาระการเรียนรู้ จริยวรรตและการประพฤติปฏิบัติตนของผู้นำทาง ศาสนาเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิต และพัฒนาตนเองของศาสนิกชน 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 1.ขั้นนำ 1.ครูนำภาพพุทธประวัติ มาให้นักเรียนดูแล้วให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ - ภาพที่ครูนำมา ให้นักเรียนดูนั้นเป็นภาพพุทธประวัติตอนใดเหตุการณ์ - ภาพดังกล่าวมีความสำคัญต่อชาวพุทธอย่างไรบ้าง 2.ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่า พระพุทธเจ้าเป็นผู้มีพระคุณต่อชาวโลก ทรงสั่งสอน แนวทางการดำเนินชีวิตที่ประเสริฐแก่บุคคลทั่วไป การศึกษาพุทธประวัติย่อมทำให้เห็นแบบอย่างการ ดำเนินชีวิตที่ดีมีคุณค่า ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตได้ 3.ครูตั้งค่าถามให้นักเรียนตอบค่าถามเพื่อกระตุ้นความคิและความรู้เดิมเกี่ยวกับพุทธประวัติ ของนักเรียน 2.ขั้นสอน 4.ครูแจกชุดแบบฝึกหัด ให้นักเรียน คนละ 1 ชุด แล้วครู เน้นย้ำให้นักเรียนปฏิบัติตามคำสั่ง อย่างเคร่งครัด 5.นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้และตอบคำถามในบทเรียน (ครูกำหนดเวลาตามความเหมาะสม) 6.ครูสุ่มนักเรียนออกมาตอบคำถามจากบทเรียนสำ แต่ละกรอบ แล้วครูและนักเรียนช่วยกัน ตรวจสอบความถูกต้อง 3.ขั้นสรุป 7.นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ข้อคิดที่ได้จากการศึกษาพุทธประวัติ 8.นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง พุทธประวัติ ในตอนที่กำหนดให้ ดังนี้ - ตอนประสูติ ตอนตรัสรู้ - ตอนประกาศพระศาสนา -ตอนปรินิพพาน 9.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรียง พุทธประวัติ ด้วยใบงาน สรุปเหตุการณ์พุทธประวัติ
10. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง พุทธประวัติ โดยคิดคะแนนร้อย ละ 6 ผ่านเกณฑ์ ในกรณีที่นักเรียนบางคนไม่ผ่านเกณฑ์ให้กลับไปศึกษาบทเรียนสำเร็จรูปอีกครั้ง (นอก ทางร้าน หรือ เติมที่สร้างรอเข้าใจให้นักเรียน 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียน 1. หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2. ชุดแบบฝึกหัด เรือง พุทธประวัติ 3.เอกสาร pptเรื่อง พุทธประวัติ ชิ้นงาน/ภาวะงาน 1.ใบกิจกรรมประกอบtime line เรื่องพุทธประวัติ 2.ใบงาน time line เรื่องพุทธประวัติ 3.แบบทดสอบ เรื่อง พุทธประวัติ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่1 ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง พุทธประวัติ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม1/3 วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ จนถึงบำเพ็ญทุกรกิริยา หรือประวัติศาสดา ที่ตนนับถือตามที่กำหนด 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถมีอธิบายความรู้ความเข้าใจพุทธประวัติได้อย่างถูกต้อง 2.นักเรียนสามารถเรียนรู้คิดวิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงการปรินิพพานได้ 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าจากพุทธประวัติประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำเนิน ชีวิตประจำวันได้ 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ พุทธประวัติ คือ ประวัติของพระพุทธเจ้า การศึกษาพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงบำเพ็ญทุก กรกิริยาช่วยให้เกิดศรัทธาในพระพุทธเจ้า พระพุทธศาสนา และได้แบบอย่างในการดำเนินชีวิตในทาง ที่ถูกต้อง 6.สาระการเรียนรู้ ศาสนาเป็นบ่อเกิด ของขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยม ตลอดจนการดำเนินชีวิตของคนใน สังคม เพราะ ศาสนามีหลักคำสอนและข้อปฏิบัติที่ส่งเสริมให้ศาสนิกชนของตนเข้าใจชีวิต ดำเนินชีวิต อย่างสงบสุข สามารถ นำพาชีวิตตนไปสู่เป้าหมายที่ดีงามได้ รวมทั้งช่วยทำให้ สังคมดำรงอยู่ได้อย่าง มั่นคง 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 1.ขั้นนำ 1.ครูนำภาพพุทธประวัติ มาให้นักเรียนดูแล้วให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ - ภาพที่ครูนำมา ให้นักเรียนดูนั้นเป็นภาพพุทธประวัติตอนใดเหตุการณ์ - ภาพดังกล่าวมีความสำคัญต่อชาวพุทธอย่างไรบ้าง 2.ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่า พระพุทธเจ้าเป็นผู้มีพระคุณต่อชาวโลก ทรงสั่งสอน แนวทางการดำเนินชีวิตที่ประเสริฐแก่บุคคลทั่วไป การศึกษาพุทธประวัติย่อมทำให้เห็นแบบอย่างการ ดำเนินชีวิตที่ดีมีคุณค่า ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตได้ 3.ครูตั้งค่าถามให้นักเรียนตอบค่าถามเพื่อกระตุ้นความคิและความรู้เดิมเกี่ยวกับพุทธประวัติ ของนักเรียน 2.ขั้นดำเนินการสอน 4.ครูแจกชุดแบบฝึกหัด ให้นักเรียน คนละ 1 ชุด แล้วครู เน้นย้ำให้นักเรียนปฏิบัติตามคำสั่ง อย่างเคร่งครัด 5.นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้และตอบคำถามในบทเรียนสำเร็จรูป (ครูกำหนดเวลาตาม ความเหมาะสม) 6.ครูสุ่มนักเรียนออกมาตอบคำถามจากบทเรียนสำเร็จรูปใน แต่ละกรอบ แล้วครูและนักเรียน ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง 3.ขั้นสรุป 7.นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ข้อคิดที่ได้จากการศึกษาพุทธประวัติ 8.นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง พุทธประวัติ ในตอนที่กำหนดให้ ดังนี้
- ตอนประสูติ ตอนตรัสรู้ -ตอนประกาศพระศาสนา -ตอนปรินิพพาน 9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรียง พุทธประวัติ ด้วยใบงาน สรุปเหตุการณ์พุทธ ประวัติ 10. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง พุทธประวัติ โดยคิดคะแนน ร้อยละ 6 ผ่านเกณฑ์ ในกรณีที่นักเรียนบางคนไม่ผ่านเกณฑ์ให้กลับไปศึกษาบทเรียนสำเร็จรูปอีกครั้ง (นอก ทางร้าน หรือ เติมที่สร้างรอเข้าใจให้นักเรียน 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียน 1. หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2. ชุดแบบฝึกหัด เรือง พุทธประวัติ 3.เอกสาร pptเรื่อง พุทธประวัติ ชิ้นงาน/ภาวะงาน 1.ใบกิจกรรมประกอบ การเรียนเรื่องพุทธประวัติ 2.ใบงาน เรียง พุทธประวัติ 4.แบบทดสอบ เรื่อง พุทธประวัติ
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ตรวจใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ตรวจใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่2 พุทธประวัติพระสาวกศาสนิกชนตัวอย่างและชาดก เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง ชาดกน่ารู้ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.1/4 วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติ สาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้จากชาดกเรื่อง อัมพชาดกและติตติรชาดกได้ 2.นักเรียนสามารถจำแนกข้อคิดแบบอย่างคุณธรรมที่ได้จากการศึกษาชาดกได้ 3.นักเรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญในการนำข้อคิดที่ได้จากชาดกไปปฏิบัติใช้ใน ชีวิตประจำวัน 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ ศาสนาเป็นบ่อเกิด ของขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่า นิยม ตลอดจนการดำเนินชีวิตของคน ในสังคม เพราะ ศาสนามีหลักคำสอนและข้อปฏิบัติที่ส่งเสริมให้ศาสนิกช นของตนเข้าใจชีวิต ดำเนิน ชีวิตอย่างสงบสุข สามารถ นำพาชีวิตตนไปสู่เป้าหมายที่ดีงามได้ รวมทั้งช่วยทำให้ สังคมดำรงอยู่ได้ อย่างมั่นคง 6.สาระการเรียนรู้ ชาดก คือ เรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้า ก่อนที่จะมาประสูติและตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าใน ชาติสุดท้ายการศึกษาอัมพชาดกและติตติรชาดกจะทำให้เราได้ข้อคิดเกี่ยวกับคนที่กตัญญูรู้คุณคนอื่น ย่อมเป็นคนเจริญในที่ทุก สถานในกาลทุกเมื่อ และคนที่ฉลาดในธรรม มีความนอบน้อมถ่อมตนต่อ ผู้ใหญ่จักเป็นผู้ได้รับการสรรเสริญใน ปัจจุบันนี้และอนาคตต่อ ๆ ไป ซึ่งข้อคิดเหล่านี้สามารถนำไป ประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. จัดกิจกกรมเกมการเรียนรู้ kahoot เนื้อหาทดสอบก่อนเรียนเข้าสู่บทเรียนเรื่องอัมพชาดก และ ติตติรชาดกความกตัญญู และการเคารพผู้อาวุโส โดยให้นักเรียนใช้โทรศัพท์ในการทำกิจกกรม แสดงบนจอฉายแล้วให้นักเรียนร่วมกัน ตอบปัญหา คำถาม โดยช่วยกันวิเคราะห์ตอบคำถาม - การกระทำใดบ้างที่แสดงให้เห็นถึงความกตัญญู - การกระทําใดบ้างที่แสดงให้เห็นถึงการแสดงความเคารพผู้อาวุโส 2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การกระทำของบุคคลในวิดีทัศน์ ในเรื่อง ความกตัญญู กตเวทีและการเคารพผู้อาวุโส นั้นเป็นแบบอย่างที่ดี ซึ่งนักเรียนควรปฏิบัติตาม ขั้นสอน 3. ครูสอนที่มาของความหมายของนิทาน ชาดก จากนั้น จึงเปิดภาพแสดงเกี่ยวกับชาดก 2 เรื่อง คือ อัมพชาดก และ ติตติรชาดก พร้อมเล่าเรื่องราวพอสังเขป ให้นักเรียนฟัง 4. ครูให้นักเรียนศึกษาขาดก ทั้ง 2 เรื่อง คือ อัมพชาดก และ ติตติรชาดก จากหนังสือ แบบเรียน 5. ครูแลกเปลี่ยนอภิปรายความคิดเห็นของเรื่อง ข้อคิดที่ได้ จากชาดก ทั้ง 2 เรื่อง คือ อัมพ ชาดก และ ติตติรชาดก 6. ครูให้นักเรียน ทำใบกิจกรรม เรื่อง นิทานชาดก (อัมพชาดก และ ติตติรชาดก) แล้วสุ่ม นักเรียนนำเสนอผลงาน
ขั้นสรุป 7. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน แล้วแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซักถามเรื่องที่ผู้เรียน สงสัย 8. ครูอธิบายสรุปเพิ่มเติม ว่า ชาดก คือ เรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้า ก่อนที่จะมาประสูติ และตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย การศึกษาอัมพชาดกและติตติรชาดกจะทำให้เราได้ข้อคิด เกี่ยวกับคนที่กตัญญูรู้คุณ คนอื่น ย่อมเป็นคนเจริญในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ และคนที่ฉลาดในธรรม มีความนอบน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่จัก เป็นผู้ได้รับการสรรเสริญในปัจจุบันนี้และอนาคตต่อ ๆ ไป ซึ่ง ข้อคิดเหล่านี้สามารถนำไปประพฤติปฏิบัติใน ชีวิตประจําวันได้ 7. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน แล้วแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซักถามเรื่องที่ผู้เรียนสงสัย สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2. วิดีทัศน์เกี่ยวกับคุณธรรม เรื่องความกตัญญู และการเคารพผู้ 3. รูปภาพประกอบเอกสาร pptเรื่อง อัมพชาดก และ ติตติรชาดก ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบกิจกรรม เรื่องชาดกน่ารู้
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ตรวจใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ตรวจใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่2 พุทธประวัติพระสาวกศาสนิกชนตัวอย่างและชาดก เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เวลา 2 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือ ตัวชี้วัด ส1.2ม.1/5อธิบายประวัติความสำคัญและปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่ กําหนดได้ถูกต้อง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาได้ 2.เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตนในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 3.นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญในการปฏิบัติตนและเข้าร่วมกิจกรรมในวันสำคัญทาง พระพุทธศาสนา 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเป็น วันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญขึ้นในพระพุทธศาสนา โดย เกี่ยวข้องกับพระรัตนตรัย ที่รู้จักกันโดย ทั่วไป ได้แก่ วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา และวัน อาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันออก พรรษา และวันธรรมสวนะ 6.สาระการเรียนรู้ วันธรรมสวนะเป็นวันฟังธรรมและเป็นวันหลักแห่งการทำความดี ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล ในประเทศไทยเรียกว่า วันพระ มีเดือนละ 4 วัน เมื่อถึงวันธรรมสวนะชาวพุทธจะทำความดีต่าง ๆ เช่น ตักบาตร รักษาศีล ฟังธรรม ท่าสมาธิ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา และวันเทโวโรหณะ เป็นเทศกาลสำคัญในพระพุทธศาสนา เมื่อ ถึงเทศกาลเหล่านี้ชาวพุทธควรปฏิบัติตนให้ถูกต้องเหมาะสม วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันมาฆบูชา และวันอัฏฐมีบูชา เป็นวันสำคัญทาง พระพุทธศาสนาเมื่อถึงวันสำคัญเหล่านี้ ในฐานะที่เราเป็นชาวพุทธควรปฏิบัติตนให้ถูกต้องเหมาะสม ด้วยการละเว้นความชั่ว ทำความดี และทำจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใส 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูเปิดภาพสไลด์เกี่ยวกับวันสำคัญทางศาสนาต่างๆ ให้นักเรียนดู 2.ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่นักเรียนรู้จักแล้วให้นักเรียน ร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถาม ดังนี้ - นักเรียนรู้จักวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันใดบ้าง (ตัวอย่างคำตอบ วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา - ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนานักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ ทำบุญที่วัด กระทำแต่ความดีระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย) ขั้นสอน 3.ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาเรื่อง ประวัติและความสำคัญของวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและ เทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนา โดยการแบ่งกลุ่มให้นักเรียนศึกษา เพื่อออกมาอภิปรายนำเสนอ ผลการศึกษาหน้าชั้นเรียน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 วันมาฆบูชา กลุ่มที่ 2 วันวิสาขบูชา กลุ่มที่ 3 วันอัฐมีบูชา กลุ่มที่ 4 วันอาสาฬหบูชา กลุ่มที่ 5 วันธรรมสวนะ กลุ่มที่ 6 วันเข้าพรรษา กลุ่มที่ 7 วันออกพรรษา
ต่อจากชั่วโมงที่แล้ว 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นสรุป 4.จบการนำเสนอ ครูใช้คำถาม เพื่อทบทวนความรู้ในบทเรียนให้นักเรียนร่วมกันแสดงความ คิดเห็น ดังนี้ วันมาฆบูชาตรงกับวันใด มีความสำคัญอย่างไร (ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ความสำคัญ คือเป็นวันที่มีพระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมายพระพุทธเจ้าทรงแสดงหลักธรรม โอวาทปาติโมกข์) - วันวิสาขบูชาตรงกับวันโด มีความสำคัญอย่างไร (ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ความสำคัญ คือ เป็นวัน คล้ายวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า) - วันอัฐมีบูชาตรงกับวันใด มีความสำคัญอย่างไร (ตรงกับวันแรม 8 ค่ำ เดือน 6 ความสำคัญ คือ เป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ - วันอัฐมีบูชาตรงกับวันใด มีความสำคัญอย่างไร (ตรงกับวันแรม 8 ค่ำ เดือน 6 ความสำคัญ คือเป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ) - วันอาสาฬบูชาตรงกับวันใด มีความสำคัญอย่างไร ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ความสำคัญ คือ เป็นวันที่มีพระรัตนตรัยครบ 3 ประการ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์) - วันธรรมสวนะตรงกับวันอะไรบ้าง มีความสำคัญอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ ตรงกับวันขึ้น 8 ค่ำ วัน ขึ้น 15 ค่ำ วันแรม 8 ค่ำ และวันแรม 15 ค่ำ ความสำคัญ คือ เป็นประเพณีในการฟังธรรม ประชาชนได้ช่วยทำนุบำรุงวัด) 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2. รูปภาพประกอบเอกสาร pptเรื่องวันสำคัญทางศาสนา ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.กิจกรรมทำงานกลุ่ม เรื่องวันสำคัญทางศาสนา
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป