แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนาส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่4 พุทธศาสนสุภาษิต เวลา 4 ชั่วโมง เรื่องพุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาวพุทธตัวอย่าง เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.1/4 วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติ สาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติและผลงานของพระมหากัสสปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุ ตระตรเถระ อนาถบิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขามหาอุบาสิกา และพระเจ้าอโศก มหาราช 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อคิดและคุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างของพระมหากัสส ปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตรเถระ อนาถบิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขามหาอุบาสิกา และ พระเจ้าอโศกมหาราช ได้ 3.นักเรียนมีความชื่นชม นำข้อคิดและคุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างของ พระมหากัสส ปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตรเถระ อนาถบิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขามหาอุบาสิกา และ พระเจ้าอโศกมหาราชมาประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน
4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ ข้อคิดจากเรื่องราวของผู้ที่ศรัทธายึดมั่นในศาสนาเป็นแนวทางที่ดีในการดำเนินชีวิตหรือ พัฒนาตนของผู้อื่น 6.สาระการเรียนรู้ พุทธสาวก พุทธสาวิกาเป็นผู้ปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า และเป็นแบบอย่างที่ ดีที่ควรประพฤติและปฏิบัติตามชาดกเป็นเรื่องราวเหตุการณ์ในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพุทธ สาวกใช้เล่าประกอบการแสดงธรรมเพื่อสั่งสอนประชาชนผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูให้นักเรียนดูภาพพุทธบริษัท4ในหนังสือแบบเรียน แล้วอธิบายว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง 2.ครูเปิดวิดีทัศน์ให้นักเรียนดูเกี่ยวกับพุทธสาวกต่างๆที่นักเรียนควรรู้จักแล้วใช้คำถาม กระตุ้นความสนใจ 3.ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การศึกษาประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาจะทำให้เราเข้าใจวิถี การดำเนินชีวิตของท่านและสามารถนำคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างของท่านมาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน ซึ่งจะเป็นผลดีต่อตนเอง แล้วแจ้งให้นักเรียนทราบถึงพุทธสาวก พุทธสาวิกา และ พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ที่นักเรียนต้อง เรียนรู้และศึกษาในบทเรียนนี้ คือ พระมหากัสสปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตรเถระอนาถบิณฑิกเศรษฐีนางวิสาขามหาอุบาสิกาและพระเจ้าอโศก มหาราช ขั้นสอน 4.ครูนำเสนอภาพในสไลด์ พุทธสาวก พุทธสาวิกา และพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ที่นักเรียน ต้องเรียนรู้และศึกษา ในบทเรียนนี้ คือ พระมหากัสสปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตร เถระ อนาถบิณฑิกเศรษฐีนางวิสาขามหาอุบาสิกา และพระเจ้าอโศกมหาราช และอธิบายประวัติพอ สังเขป 5.ครูแบ่งกลุ่มให้นักเรียนศึกษา พุทธสาวก พุทธสาวิกา และพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ที่ นักเรียนต้องเรียนรู้ และศึกษา ในบทเรียนนี้ จากหนังสือแบบเรียน โดยแบ่งเป็น 7 กลุ่ม ตามบุคคลที่ ศึกษา
6.ครูให้แต่ละกลุ่มสรุป เป็นแผนผังความคิด แล้วออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน แล้วให้ครูและ เพื่อนนักเรียนอภิปรายถามตอบ ร่วมกัน 7.ครูให้นักเรียน ทำใบงาน เรื่อง พระมหากัสสปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตร เถระ อนาถบิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขามหาอุบาสิกา และพระเจ้าอโศกมหาราช ขั้นสรุป 8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงานที่ได้รับมอบหมายโดยร่วมกันอภิปรายถามตอบเพิ่มเติม 9.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดกและพุทธศาสนิกชน ตัวอย่างมีข้อคิดและแบบอย่างที่ดี ที่สามารถนำไปประพฤติปฏิบัติตนตามแนวทางพระพุทธศาสนา สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร pptเรื่อง พุทธสาวก พุทธสาวิกา และพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.งานจากกิจกรรมกลุ่ม แผนผังความคิด แผนผังสรุปความคิด(กลุ่ม) 2.โบงาน เรื่อง พระมหากัสสปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตรเถระ อนาถบิณ ฑิกเศรษฐี นางวิสาขามหาอุบาสิกา และพระเจ้าอโศกมหาราช
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนาส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่4 พุทธศาสนสุภาษิต เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง พุทธสาวกพุทธสาวิกาชาวพุทธตัวอย่าง เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.1/4 วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติ สาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติและผลงานของพระมหากัสสปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุ ตระตรเถระ อนาถบิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขามหาอุบาสิกา และพระเจ้าอโศก มหาราช 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อคิดและคุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างของพระมหากัสส ปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตรเถระ อนาถบิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขามหาอุบาสิกา และ พระเจ้าอโศกมหาราช ได้ 3.นักเรียนมีความชื่นชม นำข้อคิดและคุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างของ พระมหากัสส ปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตรเถระ อนาถบิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขามหาอุบาสิกา และ พระเจ้าอโศกมหาราชมาประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน
4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ ข้อคิดจากเรื่องราวของผู้ที่ศรัทธายึดมั่นในศาสนาเป็นแนวทางที่ดีในการดำเนินชีวิตหรือ พัฒนาตนของผู้อื่น 6.สาระการเรียนรู้ พุทธสาวก พุทธสาวิกาเป็นผู้ปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า และเป็นแบบอย่างที่ ดีที่ควรประพฤติและปฏิบัติตามชาดกเป็นเรื่องราวเหตุการณ์ในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพุทธ สาวกใช้เล่าประกอบการแสดงธรรมเพื่อสั่งสอนประชาชนผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.นักเรียนดูภาพพุทธบริษัท4ในหนังสือแบบเรียน แล้วอธิบายว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง 2.เปิดวิดีทัศน์ให้นักเรียนดูเกี่ยวกับพุทธสาวกต่างๆที่นักเรียนควรรู้จักแล้วใช้คำถามกระตุ้น ความสนใจ 3.คอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การศึกษาประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาจะทำให้เราเข้าใจวิถี การดำเนินชีวิตของท่านและสามารถนำคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างของท่านมาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน ซึ่งจะเป็นผลดีต่อตนเอง แล้วแจ้งให้นักเรียนทราบถึงพุทธสาวก พุทธสาวิกา และ พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ที่นักเรียนต้อง เรียนรู้และศึกษาในบทเรียนนี้ คือ พระมหากัสสปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตรเถระอนาถบิณฑิกเศรษฐีนางวิสาขามหาอุบาสิกาและพระเจ้าอโศก มหาราช ขั้นสอน 4.นำเสนอภาพในสไลด์ พุทธสาวก พุทธสาวิกา และพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ที่นักเรียนต้อง เรียนรู้และศึกษา ในบทเรียนนี้ คือ พระมหากัสสปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตรเถระ อนาถบิณฑิกเศรษฐีนางวิสาขามหาอุบาสิกา และพระเจ้าอโศกมหาราช และอธิบายประวัติพอสังเขป 5.โดยแบ่งกลุ่มให้นักเรียนศึกษา พุทธสาวก พุทธสาวิกา และพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ที่ นักเรียนต้องเรียนรู้ และศึกษา ในบทเรียนนี้ จากหนังสือแบบเรียน โดยแบ่งเป็น 7 กลุ่ม ตามบุคคลที่ ศึกษา
6.เสร็จ ให้แต่ละกลุ่มสรุป เป็นแผนผังความคิด แล้วออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน แล้วให้ครู และเพื่อนนักเรียนอภิปรายถามตอบ ร่วมกัน 7.ให้นักเรียน ทำใบงาน เรื่อง พระมหากัสสปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตร เถระ อนาถบิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขามหาอุบาสิกา และพระเจ้าอโศกมหาราช ขั้นสรุป 8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงานที่ได้รับมอบหมายโดยร่วมกันอภิปรายถามตอบเพิ่มเติม 9.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดกและพุทธศาสนิกชน ตัวอย่างมีข้อคิดและแบบอย่างที่ดี ที่สามารถนำไปประพฤติปฏิบัติตนตามแนวทางพระพุทธศาสนา สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร pptเรื่อง พุทธสาวก พุทธสาวิกา และพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.งานจากกิจกรรมกลุ่ม แผนผังความคิด แผนผังสรุปความคิด 2.โบงาน เรื่อง พระมหากัสสปะ พระอุบาลี พระโสณเถระและพระอุตระตรเถระ อนาถบิณ ฑิกเศรษฐี นางวิสาขามหาอุบาสิกา และพระเจ้าอโศกมหาราช
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่17 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่5 หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง วิถีชีวิตของพระภิกษุสงฆ์ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือ ตัวชี้วัด ส1.2 ม1/2อธิบายจริยวัตรของสาวกเพื่อเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติ และปฏิบัติตน อย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนาที่ตนนับถือ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ ส 1.2 ม1/2อธิบายจริยวัตรของสาวกเพื่อเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติ และปฏิบัติตน อย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนาที่ตนนับถือ 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ พระภิกษุเป็นผู้ประพฤติและปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าและเผยแผ่หลักคำ สอนแก่ประชาชน ศาสนิกชนควรประพฤติปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม 6.สาระการเรียนรู้ นักบวชเป็นองค์ประกอบหนึ่งของในหลายศาสนา ซึ่ง มีหน้าที่ในการฝึกฝน ปฏิบัติ เพื่อที่จะ นำเอาคำสอนของ ศาสนามาเผยแผ่ทั้งนี้ศาสนิกชนตามศาสนานั้นควรปฏิบัติตนอย่างสุภาพต่อนักบวช ของศาสนา 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.แสดงภาพและวิดีทัศน์เกี่ยวกับวิถีชีวิต บทบาท สำคัญของพระภิกษุสงฆ์ในการ เผยแผ่ ศาสนาพุทธ แล้วกระตุ้นนักเรียนด้วยคำถามและการร่วมอภิปรายแสดงคิดเห็ โดยครูใช้คำถาม ดังนี้ -พระภิกษุหมายถึงบุคคลในลักษณะใด -พระภิกษุสำคัญอย่างไรต่อพระพุทธศาสนา -พระภิกษุมีบทบาทหน้าที่อย่างไร จากนั้น ครูสรุปประมวลคำตอบของนักเรียนทั้งหมดเป็นแผนภาพบนสไลด์ ดังนี้ 2.ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับมรรยาทการปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ และ ให้ นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถาม ดังนี้ -นักเรียนเคยไปวัดหรือไม่ -นักเรียนปฏิบัติตนอย่างไร เมื่อไปวัด -นักเรียนรู้สึกอย่างไร เมื่อเห็นคนไปวัด และปฏิบัติตนแบบอย่างเดียวกัน ชั้นสอน 3.ให้นักเรียน ศึกษาเรื่อง วิถีชีวิต บทบาท ของพระภิกษุสงฆ์ในการเผยแผ่ศาสนาพุทธ การ ปฏิบัติ ตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์เข้าใจ 4.และนักเรียนร่วมกันสนทนาจากเรื่องที่ศึกษาโดยใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้เกิดความรู้ความ 5.ให้นักเรียนทำใบงาน เรื่อง การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระสงฆ์ ขั้นสรุป 6.ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน ที่ได้รับมอบหมายโดยร่วมกันอภิปรายถามตอบเพิ่มเติม
7.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ดังนี้พระภิกษุเป็นผู้สืบทอดและเผยแผ่คำสอนทาง พระพุทธศาสนา การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อ พระภิกษุตามมรรยาทของชาวพุทธ เป็นการ สืบทอดและรักษาขนบธรรมเนียมที่ดีงามให้ดำรงอยู่สืบไป สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสารpptเรื่องวิถีชีวิตบทบาทของพระภิกษุสงฆ์ในการเผยแผ่ศาสนาพุทธการปฏิบัติตนที่ เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงาน เรื่อง การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระสงฆ์
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม การปฎิบัติ การอธิบาย การตอบคำถาม การปฎิบัติ -เกณฑ์การการผ่านร้อย ละ60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ตรวจใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ตรวจใบงาน -เกณฑ์การการผ่านร้อย ละ60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน -ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน -ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่5 หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง การจัดพิธีกรรมและการปฎิบัติตนในศาสนาพิธี เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือ ตัวชี้วัด ส1.2 ม1/2อธิบายจริยวัตรของสาวกเพื่อเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติ และปฏิบัติตน อย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนาที่ตนนับถือ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนอธิบายวิธีการจัดโต๊ะหมู่บูชาและเครื่องประกอบโต๊ะหมู่บูชาได้ถูกต้อง 2.นักเรียนสามารถกล่าวคำอาราธนาศีล อาราธนาธรรม และอาราธนาพระปริตรได้ถูกต้อง ได้ อย่างถูกต้อง 3.นักเรียนสามารถปฏิบัติตนในศาสนพิธีที่ตนนับถือได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ พิธีกรรมทางศาสนาเป็นแบบแผนที่พึงปฏิบัติของศาสนิกชนเพื่อแสดงความเลื่อมใส ศรัทธา ต่อศาสนา 6.สาระการเรียนรู้ การจัดโต๊ะหมู่บูชาและเครื่องประกอบโต๊ะหมู่บูชา การจุดธูปเทียน และการอาราธนาต่าง ๆ เป็นศาสนพิธีที่ชาวพุทธควรปฏิบัติให้ถูกต้องเพื่อแสดงออกถึงความมีศรัทธาในพระรัตนตรัย และเพื่อ รักษาวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของชาติเอาไว้ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 1.ครูให้นักเรียนดูภาพสไลด์การประกอบพิธีกรรม ที่มีองค์ประกอบ คือ โต๊ะหมู่บูชา แล้ว ใช้คำถามกระตุ้นผู้เรียนว่า ว่าองค์ประกอบของโต๊ะหมู่บูชาที่มีในรูป มีรูปแบบและองค์ประกอบ สําคัญ คืออะไรบ้าง 2.ครูให้นักเรียนสังเกตโต๊ะหมู่บูชาหน้าห้องเรียน แล้วอธิบายให้ผู้เรียนฟังว่าการจัดโต๊ะหมู่ บูชาและเครื่องประกอบโต๊ะหมู่บูชา การจุดธูปเทียน และการอาราธนาต่าง ๆ เป็นศาสนพิธีที่ชาว พุทธ ควรปฏิบัติให้ถูกต้องเพื่อแสดงออกถึงความมีศรัทธาในพระรัตนตรัย และเพื่อรักษาวัฒนธรรม และ ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของชาติเอาไว้ ขั้นสอน 3.ครูอธิบายเกี่ยวกับความสำคัญของ การจัดโต๊ะหมู่บูชา ให้นักเรียนเกิดความเข้าใจ 4.ครูให้นักเรียนศึกษา และสาธิตการจัดโต๊ะหมู่บูชาแบบโต๊ะเดี่ยว โต๊ะหมู่ 4โต๊ะหมู่ 5 โต๊ะ หมู่ 7 และโต๊ะหมู่ 9 โดยให้นักเรียนได้อธิบายความแตกต่างของโต๊ะหมู่บูชาแต่ละแบบให้ นักเรียนเข้าใจ 5.ครูอธิบายถึงการสวดบทอาราธนาต่างๆ แล้วให้นักเรียนศึกษาบทสวดจากหนังสือแบบเรียน 6.ครูให้นักเรียนลองสวดบทอารธนาต่างๆพร้อมกันทั้งชั้นเรียนแล้วให้นักเรียนหมั่นฝึกฝน เพื่อ สามารถนำไปใช้ในการประกอบพิธีกรรมต่างๆในศาสนาพุทธได้ ขั้นสรุป สรุปเรื่อง การปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม แล้วให้นักเรียนสรุปเป็นแผนผังความคิด โดย สามารถดึงเอาความรู้จากหนังสือแบบเรียน มาช่วยเป็นแนวทางในการสรุปได้
สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร pptเรื่อง การจัดพิธีกรรมและการปฏิบัติตนในศาสนพิธี 3. โต๊ะหมู่บูชา ชุด 9 ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.แผนผังความคิด เรื่อง การปฏิบัติตนในศาสนพิธี 9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม การปฎิบัติ การอธิบาย การตอบคำถาม การปฎิบัติ -เกณฑ์การการผ่านร้อย ละ60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม การอธิบาย การตอบคำถาม -เกณฑ์การการผ่านร้อย ละ60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน -ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน -ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่19 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่5 หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง การบำเพ็ญประโยชน์และบำรุงรักษาวัด เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตน ตัวชี้วัด ส 1.2 ม1/1 บำเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของวัดและวิธีบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อวัดและ การบำรุงรักษาวัดที่ถูกต้องได้ 2.นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะและวิธีปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อศาสนสถานตามหลัก พระพุทธศาสนาได้ หรือ ศาสนาของตนเองได้ 3.นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของศาสนสถานและมีความรู้สึกอยากดูแลรักษาร่วมกัน 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ พิธีกรรมทางศาสนาเป็นแบบแผนที่พึงปฏิบัติของศาสนิกชนเพื่อแสดงความเลื่อมใส ศรัทธา ต่อศาสนา 6.สาระการเรียนรู้ การบำเพ็ญประโยชน์และการบำรุงรักษาวัด หรือการปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อศาสนสถาน ตามหลัก ของศาสนา เป็นหน้าที่ของศาสนิกชนที่ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องเหมาะสมเพื่อความเจริญมั่นคง และดำรงอยู่ ต่อไปของศาสนาที่ตนเองนับถือ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ชั้นนำ 1.สุ่มให้นักเรียนที่มีประสบการณ์การไปวัดออกมาเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตน ใน การไปวัดให้เพื่อนฟัง จากนั้นครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถาม ดังนี้ วัดมีความสำคัญอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ วัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน) -วัดเป็นสถานที่สำหรับใช้ทำอะไร(ตัวอย่างคำตอบประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา นักเรียนมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับวัดอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ ทำความดีโดย การไปทําบุญตักบาตรที่วัด) *นักเรียนสามารถบำเพ็ญประโยชน์และบำรุงรักษาวัดได้อย่างไร (ตัวอย่างคำตอบทํา ความสะอาดวัดโดยรอบ ช่วยกิจกรรมของวัดเมื่อมีงาน) 2.ให้นักเรียนยกตัวอย่างชื่อวัดที่อยู่ในหมู่บ้านหรือชุมชนของนักเรียน แล้วนำเสนอวัด ต่างๆที่มีชื่อเสียงในภูมิภาค หรือในประเทศที่นักเรียนควรรู้จัก ขั้นสอน 3.อธิบาย เรื่อง การบำเพ็ญประโยชน์และการบำรุงรักษาวัด แล้วให้นักเรียนศึกษา รายละเอียดจากหนังสือแบบเรียนจากนั้นจึงร่วมกันอภิปรายโดยครูใช้คำถามกระตุ้นการเรียนรู้ของ ผู้เรียน 4.แจกใบกิจกรรม เรื่อง บิงโกเที่ยววัดไทย ให้นักเรียนทุกคน แล้วเล่นกิจกรรมบิงโกวัดไทย ขั้นสรุป ขั้นสรุป การบำเพ็ญประโยชน์และการบำรุงรักษาวัด แล้วให้นักเรียนสรุปเป็นแผนผัง ความคิด โดย สามารถดึงเอาความรู้จากหนังสือแบบเรียน มาช่วยเป็นแนวทางในการ สรุปได้
สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. เรื่อง การบำเพ็ญประโยชน์และการบำรุงรักษาวัด ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. แบบสรุปแผนผังความคิด เรื่อง การบำเพ็ญประโยชน์และการบำรุงรักษาวัด 9.กระบวนการวัดและประเมินผล
จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม การปฎิบัติ การอธิบาย การตอบคำถาม การปฎิบัติ -เกณฑ์การการผ่านร้อย ละ60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ตรวจใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ตรวจใบงาน -เกณฑ์การการผ่านร้อย ละ60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน -ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน -ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่20 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่5 หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง ศาสนาอื่นๆในประเทศไทย เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้องยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.1/9 วิเคราะห์เหตุผล ความจำเป็นที่ทุกคนต้องเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ ม1/10 ปฏิบัติตน ต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เหมาะสม 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสนาที่สำคัญต่างๆ ในประเทศไทยได้ 2.นักเรียนสามารถอธิบายหลักธรรมและวิธีปฏิบัติตนที่เหมาะสมของศาสนาที่สำคัญต่างๆ ใน ประเทศไทยได้ นักเรียนสามารถปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมเมื่อต้องเข้าร่วมพิธีของศาสนาอื่นๆ 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ พิธีกรรมทางศาสนาเป็นแบบแผนที่พึงปฏิบัติของศาสนิกชนเพื่อแสดงความเลื่อมใส ศรัทธา ต่อศาสนา 6.สาระการเรียนรู้ ศาสนาอิสลาม คริสต์ศาสนา ศาสนาพราหมณ์ฮินดู และศาสนาสิกข์ เป็นศาสนาที่คนไทย บางส่วน นับถือ โดยศาสนาทุกศาสนาต่างมีหลักธรรมคำสอนให้ทุกคนทำความดี ละเว้นความชั่วและ สามารถนำ หลักธรรมมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตน บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อการ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. นำภาพ หรือสื่อวิดีทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับศาสนาอื่นๆ ที่สำคัญในประเทศไทย คือ ศาสนา อิสลาม คริสต์ศาสนา ศาสนาพราหมณ์ฮินดู และศาสนาสิกข์ มาเปิดให้นักเรียนได้ ดูแล้วร่วมกัน อภิปรายถึงประเด็นสำคัญ โดยครูใช้คำถามเพื่อกระตุ้นความคิดให้เกิดการ เรียนรู้ 2. อธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ประเทศไทยได้ให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาแก่ประชาชน ชาวไทย และศาสนาสำคัญที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ คือ พระพุทธศาสนาและยังมีศาสนาสำคัญใน ประเทศไทย คือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาสิกข์ ขั้นสอน 3. ใช้สื่อ ppt. อธิบาย เรื่อง ประวัติความเป็นมา คัมภีร์ หลักคำสอนสำคัญ สัญลักษณ์ และนิกายสำคัญของ คือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาสิกข์ โดย อธิบายจบในแต่ละศาสนา ให้นักเรียนได้ทำใบงาน ศาสนาที่สำคัญอื่นๆในประเทศไทย 4. ให้นักเรียนเล่นเกมส์ บิงโก เรื่อง ศาสนาน่ารู้ พร้อมอธิบายความรู้เพิ่มเติมประกอบขณะที่ เล่นเกมส์ 5. ให้นักเรียน ศึกษาจากการเรียนรู้ต่างๆ ในแต่ละศาสนา แล้วสรุปเป็นแผนผังความคิดตามที่ ตนเองเข้าใจ ขั้นสรุป 6. สรุปเรื่อง ศาสนาอิสลาม คริสต์ศาสนา ศาสนาพราหมณ์ฮินดู และศาสนาสิกข์เป็นศาสนา ที่คนไทยบางส่วนนับถือ โดยศาสนาทุกศาสนาต่างมีหลักธรรมคำสอนให้ทุกคนทําความดี ละเว้นความชั่วและสามารถนำหลักธรรมมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
7. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบ เรื่อง ศาสนาที่สำคัญอื่นๆในประเทศไทย 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. เรื่อง ศาสนาที่สำคัญอื่นๆในประเทศไทย 3. สื่อ pptเรื่อง บิงโก ศาสนาที่สำคัญอื่นๆในประเทศไทย ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.แบบสรุปแผนผังความคิด เรื่อง ศาสนาที่สำคัญอื่นๆในประเทศไทย 2.ใบงาน เรื่อง ศาสนาที่สำคัญอื่นๆในประเทศไทย 3.แบบทดสอบ เรื่อง ศาสนาที่สำคัญอื่นๆในประเทศไทย 9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่21 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่5 หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง การปฎิบัติตนตามหลักหน้าที่ชาวพุทธ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส1.1 ม1/10 ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นใน สถานการณ์ต่างๆได้ 2.นักเรียนสามารถอธิบายการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่างๆ ได้ 3.นักเรียนสามารถปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมเมื่อต้องเข้าร่วมอยู่ในสังคมหรือการประกอบ พิธีกรรมของศาสนาอื่นๆได้ 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ พิธีกรรมทางศาสนาเป็นแบบแผนที่พึงปฏิบัติของศาสนิกชนเพื่อแสดงความเลื่อมใส ศรัทธา ต่อศาสนา 6.สาระการเรียนรู้ การประพฤติปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่างๆ เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ ในการ สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างศาสนาต่างๆสามารถทำให้ทุกศาสนาอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.เปิดวิดีทัศน์ เรื่อง การอยู่ร่วมกันของพลเมืองที่นับถือศาสนาต่างๆ ให้ผู้เรียนชมแล้วร่วมกัน อภิปรายแสดงความคิดเห็น โดยใช้แนวคิดการอยู่ร่วมกันภายใต้ความแตกต่างของศาสนา ครูสามารถ ใช้คำถามเป็นการกระตุ้นการเรียนรู้และความสนใจของผู้เรียน ขั้นสอน 2.ให้นักเรียนทำใบงาน เรื่อง แตกต่างแต่ไม่แตกแยก โดยนักเรียนสามารถสืบค้นเนื้อหา เกี่ยวกับการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่างๆจากแหล่งข้อมูลเช่น หนังสือแบบเรียน หรือเว็บไซต์ ต่างๆ ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่างๆ 3.ยกตัวอย่างสถานการณ์ ปัญหาที่เกิดขึ้น จากความแตกต่างของศาสนา แล้วให้นักเรียน ร่วมกันวิเคราะห์ถึงสาเหตุและวิธีการแก้ไขปัญหา ของสถานการณ์นั้นๆ ขั้นสรุป 5.และนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน เรื่อง แตกต่างแต่ไม่แตกแยก โดยการอภิปรายคำตอบ ร่วมกัน 6.กล่าวสรุปกับนักเรียนว่าการประพฤติปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นสถานการณ์ ต่างๆ เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ในการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างศาสนาต่างๆ สามารถทําให้ทุกศาสนา อยู่ ร่วมกันได้อย่างสันติสุข 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. เรื่อง การประพฤติปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ ต่างๆ 3. สื่อวิดีทัศน์ เกี่ยวกับ การอยู่ร่วมกันของพลเมืองที่นับถือศาสนาต่างๆ
ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงาน เรื่อง แตกต่างแต่ไม่แตกแยก 9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม การปฎิบัติ การอธิบาย การตอบคำถาม การปฎิบัติ เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ตรวจใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ตรวจใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่22 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่6 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง เรียนรู้เรื่องวันสำคัญ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาว วรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส.1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือ ตัวชี้วัด ส 1.2 ม.1/4 จัดพิธีกรรม และปฏิบัติตนใน ศาสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับประวัติและการปฎิบัติศาสนพิธีในวันสำคัญทาง ศาสนาได้ 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ประวัติและการปฎิบัติศาสนพิธีในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ได้ 3.นักเรียนตระหนักและเห็นประโยชน์วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน
4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ พิธีกรรมทางศาสนาเป็นแบบแผนที่พึ่ง ปฏิบัติของศาสนิกชนเพื่อแสดงความเลื่อมใสศรัทธา ต่อศาสนามีความสำคัญต่อศาสนิกชนซึ่งเป็นชาวพุทธจะต้องกล่าวคำอาราธนาต่างๆ เข้าร่วมพิธีกรรม และปฎิบัติตนใน ศาสนพิธี และพิธีกรรมของพระพุทธศาสนาได้อย่างถูกต้อง 6.สาระการเรียนรู้ 1.ประวัติและความสำคัญของวันธรรมสวนะ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันเทโวโรหณะ 2.ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน การปฏิบัติตนใน วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฐมีบูชา วัน ธรรมสวนะ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ให้นักเรียนดูรูปภาพศาสนพิธีในวันสำคัญทางศาสนา ถามกระตุ้นความคิด 2.นักเรียนจะพบเห็นการเวียนเทียนในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวัน ใดบ้าง -วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชาและวันอาสาฬหบูชา จากนั้นครูให้นักเรียนดูภาพที่สอง เป็นภาพการถวายเทียนพรรษา 3. จากภาพเป็นศาสนพิธีใด -การถวายเทียนพรรษาในช่วงวันเข้าพรรษา เพราะเหตุใดพุทธศาสนิกชนจึงถวายเทียนในช่วงวันเข้าพรรษา ตอบ : เพราะในพุทธบัญญัติ กาหนดให้พระภิกษุสา พรรษาเป็นเวลา 3 เดือน ในสมัยโบราณ ที่ยังไม่มีไฟฟ้า พระภิกษุสงฆ์ จะใช้เทียนให้แสงสว่างในการศึกษาพระธรรมและการปฏิบัติศาสนกิจ ของสงฆ์ตลอด ช่วงจําพรรษา จึงกลายเป็นประเพณีที่พุทธศาสนิกชน จะถวายเทียนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อพระภิกษุ สงฆ์และวัด