เรื่องสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทยตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ โดยศึกษาค้นคว้า จาก อินเทอร์เน็ต,หนังสือเรียน,ห้องสมุด ในหัวข้อสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทยตามบทบัญญัติใน รัฐธรรมนูญมาอธิบายให้สมาชิกคนอื่นๆภายในกลุ่มฟัง ในประเด็นต่อไปนี้ โดยมีประเด็นหัวข้อให้ศึกษา ดังนี้ 1.สิทธิของประชาชนชาวไทยตามกฎหมาย 2.เสรีภาพของประชาชนชาวไทย 3.ผลดีของการเคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น 4.ผลเสียของการไม่เคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น 5.โดยให้แต่ละกลุ่ม อธิบายบอกความหมายตามหัวข้อที่ตนเองได้รับ แล้วบันทึกลงในสมุด 6.ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มมานำเสนอหัวข้อที่กลุ่มตัวเองได้รับมอบหมายโดยสรุปย่อบนกระดาน ให้สมาชิกกลุ่มอื่นบันทึกความรู้ในหัวข้อนั้นด้วย ขั้นสรุป 7.เมื่อนำเสนอหัวข้อที่ได้รับเรียบร้อยทุกกลุ่มแล้ว ครูอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม 8.แล้วร่วมกันสรุปความรู้ในเรื่อง สิทธิและเสรีภาพ โดย การถาม-ตอบ 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt.สิทธิมนุษย์ชน ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ทำรายงานสิทธิมนุษย์ชน
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่38 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมือง ส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่9 บทบาทและหน้าที่เยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง สิทธิมนุษย์ชน เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรง รักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 2.1 /ม1.4 แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิของตนเองและตนเอง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายสิทธิของบุคคลตามกฎหมายได้ 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ผลจากการเคารพในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่า รู้สิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในการกระทำสิ่งใดก็ตามตราบใดที่การกระทำนั้นไม่ละเมิดสิทธิ เสรีภาพของตนเองผู้อื่น ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ ส่วนรวมหรือขัดต่อศีลธรรม 6.สาระการเรียนรู้ • บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ โดยเน้นจิตสาธารณะ เช่น เคารพ กติกาสังคม ปฏิบัติตน ตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทาง สังคม อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์ • วิธีปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น • ผลที่ได้จากการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ วิธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) 1.ให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์หัวข้อข่าวต่อไปนี้ว่า เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด -ประชาชนรวมกลุ่มกันจำนวนมากปิดถนนเพื่อประท้วงการบริหารงานของรัฐบาล -วัยรุ่นนิยมใช้โทรศัพท์มือถือถ่ายภาพผู้หญิงก้าวขึ้นสะพานลอย -ส.ส.คนดังกล่าวขอโทษเพื่อนส.ส.ที่ตนนำเรื่องความลับภายในครอบครัวของเพื่อนมาพูดในที่ สาธารณะ 2.โดยครูเฉลยคำตอบและอธิบายความรู้เพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่าการกระทำของบุคคลใน ข่าวที่เป็นการกระทำที่ไม่เหมาะสมเพราะเป็นการแสดงถึงการไม่เคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น 3.แล้วครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นถึงความสำคัญของการเคารพสิทธิและเสรีภาพของ ตนเองและผู้อื่น ขั้นสอน 4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 7 คน5กลุ่ม ตามความสมัครใจให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ศึกษาความรู้
เรื่องสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทยตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ โดยศึกษาค้นคว้า จาก อินเทอร์เน็ต,หนังสือเรียน,ห้องสมุด ในหัวข้อสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทยตามบทบัญญัติใน รัฐธรรมนูญมาอธิบายให้สมาชิกคนอื่นๆภายในกลุ่มฟัง ในประเด็นต่อไปนี้ โดยมีประเด็นหัวข้อให้ศึกษา ดังนี้ 1.สิทธิของประชาชนชาวไทยตามกฎหมาย 2.เสรีภาพของประชาชนชาวไทย 3.ผลดีของการเคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น 4.ผลเสียของการไม่เคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น 5.โดยให้แต่ละกลุ่ม อธิบายบอกความหมายตามหัวข้อที่ตนเองได้รับ แล้วบันทึกลงในสมุด 6.ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มมานำเสนอหัวข้อที่กลุ่มตัวเองได้รับมอบหมาย โดยสรุปย่อบนกระดาน ให้สมาชิกกลุ่มอื่นบันทึกความรู้ในหัวข้อนั้นด้วย ขั้นสรุป 7.เมื่อนำเสนอหัวข้อที่ได้รับเรียบร้อยทุกกลุ่มแล้ว ครูอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม 8.แล้วร่วมกันสรุปความรู้ในเรื่อง สิทธิและเสรีภาพ โดย การถาม-ตอบ 9.ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มหาข่าวเกี่ยวกับบุคคลที่มีการกระทำที่สอดคล้องกับการ ปฏิบัติตนตามสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย 10.แล้วให้นักเรียนทำใบงานร่วมกัน เรื่องสิทธิและเสรีภาพ 11.ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบในใบงานเรื่องสิทธิและเสรีภาพ 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt.สิทธิมนุษย์ชน ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ทำรายงาน เรื่องสิทธิมนุษย์ชน
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การการผ่านร้อยละ60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่39 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมือง ส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่9 บทบาทและหน้าที่เยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรง รักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 2.1 /ม1.4 แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิของตนเองและตนเอง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายสิทธิของบุคคลตามกฎหมายได้ 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ผลจากการเคารพในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่า รู้สิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ
บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในการกระทำสิ่งใดก็ตามตราบใดที่การกระทำนั้นไม่ละเมิดสิทธิ เสรีภาพของตนเองผู้อื่น ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ ส่วนรวมหรือขัดต่อศีลธรรม 6.สาระการเรียนรู้ • บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ โดยเน้นจิตสาธารณะ เช่น เคารพ กติกาสังคม ปฏิบัติตน ตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทาง สังคม อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์ • วิธีปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น • ผลที่ได้จากการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ วิธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) 1.ให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์หัวข้อข่าวต่อไปนี้ว่า เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด -ประชาชนรวมกลุ่มกันจำนวนมากปิดถนนเพื่อประท้วงการบริหารงานของรัฐบาล -วัยรุ่นนิยมใช้โทรศัพท์มือถือถ่ายภาพผู้หญิงก้าวขึ้นสะพานลอย -ส.ส.คนดังกล่าวขอโทษเพื่อนส.ส.ที่ตนนำเรื่องความลับภายในครอบครัวของเพื่อนมาพูดในที่ สาธารณะ 2.โดยครูเฉลยคำตอบและอธิบายความรู้เพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่าการกระทำของบุคคลใน ข่าวที่เป็นการกระทำที่ไม่เหมาะสมเพราะเป็นการแสดงถึงการไม่เคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น 3.แล้วครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นถึงความสำคัญของการเคารพสิทธิและเสรีภาพของ ตนเองและผู้อื่น ขั้นสอน 4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 7คน5 กลุ่ม ตามความสมัครใจให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ศึกษาความรู้ เรื่องสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทยตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ โดยศึกษาค้นคว้า จาก อินเทอร์เน็ต,หนังสือเรียน,ห้องสมุด ในหัวข้อสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทยตามบทบัญญัติใน รัฐธรรมนูญมาอธิบายให้สมาชิกคนอื่นๆภายในกลุ่มฟัง ในประเด็นต่อไปนี้ โดยมีประเด็นหัวข้อให้ศึกษา ดังนี้ 1.สิทธิของประชาชนชาวไทยตามกฎหมาย
2.เสรีภาพของประชาชนชาวไทย 3.ผลดีของการเคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น 4.ผลเสียของการไม่เคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น 5.โดยให้แต่ละกลุ่ม อธิบายบอกความหมายตามหัวข้อที่ตนเองได้รับ แล้วบันทึกลงในสมุด 6.ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มมานำเสนอหัวข้อที่กลุ่มตัวเองได้รับมอบหมายโดยสรุปย่อบนกระดาน ให้สมาชิกกลุ่มอื่นบันทึกความรู้ในหัวข้อนั้นด้วย ขั้นสรุป 7.เมื่อนำเสนอหัวข้อที่ได้รับเรียบร้อยทุกกลุ่มแล้ว ครูอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม 8.แล้วร่วมกันสรุปความรู้ในเรื่อง สิทธิและเสรีภาพ โดย การถาม-ตอบ 9.ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มหาข่าวเกี่ยวกับบุคคลที่มีการกระทำที่สอดคล้องกับการ ปฏิบัติตนตามสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย 10.แล้วให้นักเรียนทำใบงานร่วมกัน เรื่องสิทธิและเสรีภาพ 11.ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบในใบงานเรื่องสิทธิและเสรีภาพ 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt.สิทธิมนุษย์ชน ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ทำรายงาน เรื่องสิทธิมนุษย์ชน
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การการผ่านร้อยละ60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่40 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมือง ส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่10 รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครองของไทย เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส2.2เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและ ธำรงรักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส2.1/ม1.1 อธิบายหลักการเจตนารมณ์ โครงสร้าง และ สาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย ฉบับ ปัจจุบันโดยสังเขป 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้และความสําคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้ 2.นักเรียนสามารถประยุกต์ใช้หลักการสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยใน ชีวิตประจำวัน 3.นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ รัฐธรรมนูญมีความสำคัญต่อการเมืองการบริหารประเทศในระบอบประชาธิปไตยกล่าวคือ เป็นกฎหมายสูงสุดในการบริหารประเทศ โดยได้กำหนดหลักการและโครงสร้างการบริหารประเทศ และยังเป็นกฎหมายสูงสุดที่คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย รวมทั้งเป็นกฎหมายที่ให้ การรับรองว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย โดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของ ประเทศ และใช้อำนาจอธิปไตยผ่านทางฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ 6.สาระการเรียนรู้ หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำคัญของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับ ปัจจุบัน 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง รัฐธรรมนูญกับการเมืองการ ปกครองของไทย 2.ให้นักเรียนดูภาพอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย จากหนังสือเรียนสังคมศึกษาฯ ม.1 จากนั้นครูตั้ง คำถาม สถานที่ในภาพมีความสำคัญอย่างไร ;ตอบ เป็นสถานที่อันเป็นสัญลักษณ์ ทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2482) 3.ครูเกริ่นนำเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้วสุ่มนักเรียนอธิบายความหมาย ของรัฐธรรมนูญตามความเข้าใจ สาระสำคัญที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยเกี่ยวข้องกับเรื่อง ใดบ้าง ;ตอบ เกี่ยวข้องกับเรื่อง สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ของประชาชน หน้าที่ของรัฐ และแนว นโยบาย แห่งรัฐ ขั้นสอน
4.อภิปรายเกี่ยวกับ ประเด็น ความเป็นมา ความสำคัญ เจตนารมณ์ หลักการ ตลอดจน โครงสร้างและสาระสำคัญ ของรัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นการอธิบายและทบทวนความรู้เพิ่มเติม 5.ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม สืบค้นข้อมูล จากหนังสือ เรียนสังคมศึกษาฯ ม.1และแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต ในประเด็นต่อไปนี้ • ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย • ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ • เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ • หลักการของรัฐธรรมนูญ • โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญ 6.ให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนำข้อมูลที่ตนได้จาก -การรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรู้ ระหว่างกัน นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอ ข้อมูล หน้าชั้นเรียนตามประเด็นที่ศึกษา และอภิปรายร่วมกัน ขั้นสรุป 7.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เนื้อหาความถูกต้อง 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.กิจกรรมสืบเสาะหาความรู้ ทำงานกลุ่ม
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นในการ ทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน -ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่41 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมือง ส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่10 รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครองของไทย เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส2.2เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส2.2/ม1.2วิเคราะห์บทบาทการถ่วงดุลอำนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้และความสําคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้ 2.นักเรียนสามารถประยุกต์ใช้หลักการสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยใน ชีวิตประจำวัน 3.นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ รัฐธรรมนูญมีความสำคัญต่อการเมืองการบริหารประเทศในระบอบประชาธิปไตยกล่าวคือ เป็นกฎหมายสูงสุดในการบริหารประเทศ โดยได้กำหนดหลักการและโครงสร้างการบริหารประเทศ และยังเป็นกฎหมายสูงสุดที่คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย รวมทั้งเป็นกฎหมายที่ให้ การรับรองว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย โดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของ ประเทศ และใช้อำนาจอธิปไตยผ่านทางฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ 6.สาระการเรียนรู้ หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำคัญของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับ ปัจจุบัน 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ยกตัวอย่างสาระสำคัญในโครงสร้างของ รัฐธรรมนูญมาอธิบายความรู้กับนักเรียน เพิ่มเติม เช่น ในมาตราที่บัญญัติไว้ว่า “ประชาชนชาวไทย ไม่ว่าเหล่ากำเนิด เพศ หรือศาสนาใด ย่อม อยู่ในความคุ้มครองของ รัฐธรรมนูญนี้เสมอกัน” โดยให้นักเรียนร่วมกันตีความและวิเคราะห์ประโยชน์ ที่คนไทยจะได้รับ ขั้นสอน 2.ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม โดยแต่ละกลุ่ม มีบทบาทหน้าที่ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ยกตัวอย่างข้อความที่เป็นสาระ สำคัญของรัฐธรรมนูญ จำนวน 10 ข้อความ กลุ่มที่ 2 ร่วมกันอภิปรายข้อความว่าตรงกับสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญในหมวดใด กลุ่มที่ 3 ร่วมกันอภิปรายถึงความถูกต้อง และความสอดคล้องของกลุ่มที่ 1 และกลุ่ม ที่ 2 3.โดยให้นักเรียนจดหัวข้อที่ตนเองได้รับ และแลกเปลี่ยนเขียนหัวข้อของเพื่อน ลงในสมุดให้ เรียบร้อย ขั้นสรุป 4.ครูให้นักเรียนทำใบงานกิจกรรมที่เกี่ยวกับ รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยในแบบฝึก สมรรถนะฯ หน้าที่พลเมือง
5.ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงาน,และแบบฝึกสมรรถนะ 6.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงาน, ทำงานกลุ่ม 9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสารในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่42 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมือง ส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่10 รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครองของไทย เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง อำนาจอธิปไตย เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา ไว้ซึ่ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ส2.2/ม1.2วิเคราะห์บทบาทการถ่วงดุลอำนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับการใช้อำนาจอธิปไตยทางด้าน นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการได้ 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของการถ่วงดุลอำนาจจากฝ่าย นิติ บัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าของการศึกษาอำนาจอธิปไตรมากขึ้น 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ รัฐธรรมนูญมีความสำคัญต่อการเมืองการบริหารประเทศในระบอบประชาธิปไตยกล่าวคือ เป็นกฎหมายสูงสุดในการบริหารประเทศ โดยได้กำหนดหลักการและโครงสร้างการบริหารประเทศ และยังเป็นกฎหมายสูงสุดที่คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย รวมทั้งเป็นกฎหมายที่ให้ การรับรองว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย โดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของ ประเทศ และใช้อำนาจอธิปไตยผ่านทางฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ 6.สาระการเรียนรู้ หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำคัญของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับ ปัจจุบัน 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูสุ่มถามถึงอำนาจอธิปไตยในความรู้ ความเข้าใจเบื้องต้นของนักเรียน 2.ครูนำข่าวหรือเหตุการณ์ทางการเมืองที่ เกี่ยวกับการประชุมรัฐสภา หรือการบริหาร ประเทศ มาสนทนากับนักเรียน 3.นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาอำนาจอธิปไตยจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต ตั้งประเด็นให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย ตามข่าว เพื่อเชื่อมโยงถึงบทบาทหน้าที่การทำงาน ขั้นสอน 4.สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนำข้อมูลที่ตนได้จาก การรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรู้ และคัดเลือกข้อมูลที่นำเสนอเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง 5.นักเรียนนำเสนอข้อมูลตามประเด็นที่ศึกษา อภิปราย และตอบคําถามร่วมกัน 6.ครูให้นักเรียนร่วมกันให้คำนิยามคำว่า "อำนาจอธิปไตย” และร่วมกันอภิปรายว่า อำนาจ อธิปไตยมีความสำคัญต่อการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอย่างไร (แนวตอบ อำนาจอธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุด ในการปกครองประเทศ เพื่อการปกป้อง คุ้มครอง สิทธิ เสรีภาพของประชาชน และ ป้องกันการผูกขาดอำนาจของบุคคลหรือ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง 7.ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้น บทบาทหน้าที่ของสมาชิกวุฒิสภา แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกชื่อ สมาชิกวุฒิสภาใน จังหวัดของตน,เขตตนเอง 8.ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงที่มาและ องค์ประกอบของอำนาจนิติบัญญัติไทย
สรุป เป็นแผนผังความคิด เพื่อเชื่อมโยงถึงที่มา ตลอดจนบทบาทหน้าที่ของสภา ผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา ขั้นสรุป 9.ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมถึงผลงานหรือการ ทำงานของรัฐมนตรีกระทรวงต่าง ๆ จาก หนังสือพิมพ์ หรือข่าวประจำวัน แล้วให้ นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ถึงผลดี และ ผลกระทบต่อสังคม 10.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้จากบทเรียน 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt.อำนาจอธิปไตร ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงาน,แผงผังความคิด
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่43 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมือง ส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่10 รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครองของไทย เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง อำนาจอธิปไตย เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา ไว้ซึ่ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ส2.2/ม1.2วิเคราะห์บทบาทการถ่วงดุลอำนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับการใช้อำนาจอธิปไตยทางด้าน นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการได้ 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของการถ่วงดุลอำนาจจากฝ่าย นิติ บัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าของการศึกษาอำนาจอธิปไตรมากขึ้น 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ รัฐธรรมนูญมีความสำคัญต่อการเมืองการบริหารประเทศในระบอบประชาธิปไตยกล่าวคือ เป็นกฎหมายสูงสุดในการบริหารประเทศ โดยได้กำหนดหลักการและโครงสร้างการบริหารประเทศ และยังเป็นกฎหมายสูงสุดที่คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย รวมทั้งเป็นกฎหมายที่ให้ การรับรองว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย โดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของ ประเทศ และใช้อำนาจอธิปไตยผ่านทางฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ 6.สาระการเรียนรู้ หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำคัญของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับ ปัจจุบัน 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูซักถามทบทวนนักเรียนเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตย ตามประเด็นที่นักเรียนได้ทำการศึกษาที่ ผ่านมาชั่วโมงที่แล้ว 2.โดยครูอภิปรายถึงที่มาของ อำนาจตุลาการ ในประเด็นที่มาและบทบาทหน้าที่ของศาล รัฐธรรมนูญ 3.ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับการทำหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญเพื่อประกอบการอภิปราย ถึงบทบาทหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ ขั้นสอน 4.โดยอภิปรายตัวอย่างเพิ่มเติมถึงกรณีศึกษาเกี่ยวกับ การมีอำนาจของศาลปกครองในกา พิจารณาวินิจฉัย ชี้ขาดข้อพิพาท มาร่วมสนทนากับนักเรียน ลักษณะขอเข้าพิพาทกระบวนการ พิจารณาคดีข้อพิพาท และตัวอย่างกรณีศึกษาความผิดที่อยู่ในอำนาจของศาลทหาร 5.ให้นักเรียนร่วมกันเปรียบเทียบบทบาทอำนาจหน้าที่ของศาลไทยทั้ง 4 ศาล อันได้แก่ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และศาลทหาร โดยวิเคราะห์ถึงความสำคัญ และความเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต ประจําวันของประชาชน 6.โดยครูเชื่อมโยงให้นักเรียนร่วมกัน สรุปถึงการแบ่งอำนาจอธิปไตย และความสมดุลของ อำนาจทั้ง
3ฝ่ายตามแผนผัง แสดงความสัมพันธ์การใช้อำนาจในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข 7.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการถ่วง ดุลอำนาจทั้ง 3 ฝ่าย 8.ครูให้นักเรียนร่วมกันเขียนแผนผังแสดงหลัก การถ่วงดุลอำนาจของ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่าย บริหาร และฝ่ายตุลาการของไทย พร้อมทั้ง ร่วมกันอภิปรายถึงการถ่วงดุลอำนาจระหว่าง 9.ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับ อำนาจอธิปไตย ในแบบฝึกสมรรถนะฯ ขั้นสรุป 10.ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้ 11.ตรวจสอบผลจากการทำใบงาน และแบบฝึก สมรรถนะฯ 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt.อำนาจอธิปไตร ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงาน
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่44 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมือง ส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่10 รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครองของไทย เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง การปฎิบัติตนตามบทบัญญัติในรัฐนูญเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและหน้าที่ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส2.2เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา ไว้ซึ่ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ส2.2/ม1.3ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบันที่ เกี่ยวข้องกับตนเอง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับ สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ได้ 2.นักเรียนสามารถปฎิบัติตนตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ รัฐธรรมนูญมีความสำคัญต่อการเมืองการบริหารประเทศในระบอบประชาธิปไตยกล่าวคือ เป็นกฎหมายสูงสุดในการบริหารประเทศ โดยได้กำหนดหลักการและโครงสร้างการบริหารประเทศ และยังเป็นกฎหมายสูงสุดที่คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย รวมทั้งเป็นกฎหมายที่ให้ การรับรองว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย โดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของ ประเทศ และใช้อำนาจอธิปไตยผ่านทางฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ 6.สาระการเรียนรู้ การปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบันเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และ หน้าที่ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูสุ่มถามนักเรียนถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของชนชาวไทย 2.สนทนากับนักเรียนในประเด็นการให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย การปกครองท้องถิ่นของตน สอดคล้อง กับหลักการของระบอบประชาธิปไตยอย่างไร ขั้นสอน 3.ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ แนวทางการปฏิบัติตนตามบทบัญญัติใน รัฐธรรมนูญ เกี่ยวกับ สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ จากหนังสือเรียนสังคมศึกษาฯ ม.1 และแหล่ง ข้อมูลต่างๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต -โดยตอบคำถาม บันทึกลงในสมุด 4.ให้นักเรียนจำแนกปัญหาจากสถานการณ์ แล้วเชื่อมโยงความเกี่ยวข้องกับแนวทาง การ ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ ตามประเด็น ด้านที่เกี่ยวกับตนเอง ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ด้านหลักวิชาการ -โดยทำเป็นแผนผังแล้วบันทึกลงในสมุด 5.ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับแนวทางการมีส่วนร่วมสังคมและการปฏิบัติตนตาม บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญด้วยความ เกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ
ขั้นสรุป 6.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ หรือใช้ PPT สรุปสาระสำคัญของเนื้อหา 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt.อำนาจอธิปไตร ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงาน,แผนผังความคิด
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที45 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมือง ส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่11กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล เวลา 5 ชั่วโมง เรื่องกฎหมายคุ้มครองเด็ก เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและ ธำรง รักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส2.1/ม.1.1 ปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองเด็กได้ 2.นักเรียนสามารถปฎิบัติตนตามกฎหมายคุ้มครองเด็ก 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าของการศึกษากฎหมายคุ้มครองเด็กเพิ่มมากขึ้น 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ ประชาชนชาวไทยทุกคนมีสิทธิต่าง ๆ โดยรัฐธรรมนูญได้บัญญัติสิทธิไว้ เช่น สิทธิส่วน บุคคล สิทธิในชีวิตและร่างกาย สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในการประกอบอาชีพ สิทธิในการศึกษา สิทธิในการ ได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ สิทธิชุมชน การมีสิทธิดังกล่าวทำให้ การดำรงชีวิตของ บุคคลเป็นไปอย่างปกติสุข มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นปัจจัย สำคัญที่ทำให้มีการ สร้างสรรค์ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ ดังนั้น เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และ เป็นหลักประกันว่าบุคคลได้รับความคุ้มครองตามบทบัญญัติของกฎหมาย จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมี บทบัญญัติของกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลออกมา 6.สาระการเรียนรู้ • กฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคล เช่น - กฎหมายคุ้มครองเด็ก - กฎหมายการศีกษา - กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค - กฎหมายลิขสิทธิ์ • ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายคุ้มครองสิทธิของ บุคคล 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูนำนักเรียนสนทนาถึงความสำคัญและ ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมาย คุ้มครองสิทธิของบุคคล โดยครูตั้งคำถาม ในประเด็นคำถาม ดังนี้ • นักเรียนมีสิทธิตามกฎหมายอะไรบ้างและนักเรียนปฏิบัติตนในการใช้สิทธินั้นอย่างไร (ตอบ มีสิทธิตามกฎหมาย เช่น สิทธิ ทางการศึกษา สิทธิผู้บริโภค ซึ่งเราสามารถ ปฏิบัติ ตนในการใช้สิทธิ เช่น พิจารณาถึง คุณภาพ ราคา ก่อนการเลือกซื้อสินค้าใน สิทธิผู้บริโภค) 2. เชื่อมโยงเกริ่นนำเกี่ยวกับสิทธิของบุคคลที่พึงได้รับตามกฎหมาย ขั้นสอน 3.โดยครูตั้งคำถาม เช่น • เมื่อนักเรียนนึกถึงสิทธิบุคคลที่พึงมี นักเรียน คิดว่าควรมีความรู้เกี่ยวข้องกับสิทธิใดบ้าง (แนวตอบ เกี่ยวข้องกับเรื่อง สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ของประชาชน หน้าที่ของรัฐ และ แนวนโยบายแห่งรัฐ