The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานคนสวยที่สุดในโลกใบนี้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Warunya Phalee, 2024-02-09 07:49:46

งานคนสวยที่สุดในโลกใบนี้

งานคนสวยที่สุดในโลกใบนี้

4.ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มโดยให้สมาชิกในกลุ่มมาจากกลุ่ม ซึ่งจะมีสมาชิกในกลุ่ม อย่างน้อย 4 คนบางวันได้ แต่ทุกกลุ่มจะต้องมีครบทุกวันสำคัญ ขั้นสอน 5.ให้นักเรียนทุกกลุ่มสรุปประวัติและการปฏิบัติศาสนพิธีใน วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาทั้ง 4วัน เป็นรูปแบบแผนผังความคิดใน หัวข้อ เรียนรู้เรื่องวันสำคัญ ลงในกระดาษ เป็นเวลาประมาณ 25 นาทีตามประเด็นที่กำหนดให้ คือ -วันที่เกิดเหตุการณ์ -เหตุการณ์สำคัญ -การปฏิบัติศาสนพิธี -ข้อคิดที่ได้จากวันสําคัญ ขั้นสรุป 6.ตัวแทนกลุ่มนักเรียนเพื่อนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ประมาณ 1-2 กลุ่ม ให้เวลากลุ่มละไม่ เกิน 5นาทีเมื่อนักเรียนนำเสนอจบครูให้นักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับวันสำคัญทาง พระพุทธศาสนา มีประเด็นดังนี้ -นักเรียนจะนำหลักธรรมหรือข้อคิดที่ได้จากวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้อย่างไร เช่น หลักธรรมความไม่ประมาทไม่ประมาทในการเรียน คือ จะต้องมีสติรู้ทำในการ ต่างๆ และไม่ประมาทในการเรียน 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. เรียนรู้เรื่องวันสำคัญ ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ทำใบงาน เรื่อง เรียนรู้เรื่องวันสำคัญ


9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป


3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป


แผนการจัดการเรียนรู้ที่23 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่6 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง พิธีกรรมในวันสำคัญทางพุทธศาสนา เวลา 2 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาว วรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือ ตัวชี้วัด ส 1.2 /ม1.5 อธิบายประวัติ ความสำคัญและปฎิบัติตนในศาสนพิธีพิธีกรรมได้ถูกต้อง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับปฎิบัติตนในศาสนพิธี 2.นักเรียนปฎิบัติจัดลำดับเหตุการณ์ในศาสนพิธีวันสำคัญได้ถูกต้อง 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าธำรงรักษาพระพุทธศาสนา 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน


1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ พิธีกรรมทางศาสนาเป็นแบบแผนที่พึงปฏิบัติของศาสนิกชนเพื่อแสดงความเลื่อมใสศรัทธาต่อ ศาสนา มีความสำคัญต่อศาสนิกชนซึ่งเป็นชาวพุทธจะต้องกล่าวคำอาราธนาต่างๆ เข้าร่วมพิธีกรรม และปฎิบัติ ตนใน ศาสนพิธี และพิธีกรรมของพระพุทธศาสนาได้อย่างถูกต้อง 6.สาระการเรียนรู้ ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน การปฏิบัติตนใน วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฐมีบูชา วัน อาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะ และเทศกาลสำคัญ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. นำรูปภาพวิดีทัศน์เกี่ยวกับ การเวียนเทียน โดยครูยกตัวอย่างคำถามชวนคิด ดังนี้ -นักเรียนปฎิบัติศาสนพิธีในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันใดบ้าง ตอบ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันาสาฬหบูชา -การเวียนเทียนมีจุดมุ่งหมายสำคัญอย่างไร ตอบเพื่อพุทธศาสนิกชนมีโอกาสได้ฟังธรรมคำสอนจากพระสงฆ์และเป็นการสืบทอด พระพุทธศาสนาและรำลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ขั้นสอน 2. แจกใบความรู้เรื่อง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา หลังจากนั้นให้ทํา ใบกิจกรรม 3. ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันเฉลยใบกิจกรรมแล้วให้ผู้เรียนยกตัวอย่างหลักธรรมสําคัญ ที่ เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญต่างๆ 4. เลือกหลักธรรมข้อใดข้อหนึ่งที่ผู้เรียนยกตัวอย่างมาอภิปรายกับผู้เรียนถึงความเกี่ยวเนื่อง ขั้นสรุป 5. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญเรื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 6. ให้นักเรียนเลือกหลักธรรมข้อใดข้อหนึ่งทํารายงาน โดยให้ครอบคลุมหัวข้อต่อไปนี้


- ความหมายและประเภท -ความสำคัญและประโยชน์ -การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. เรื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ทำรายงาน เรื่อง เรื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ต่อชั่วโมงที่แล้ว กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. นำรูปภาพวิดีทัศน์เกี่ยวกับ การเวียนเทียน โดยครูยกตัวอย่างคำถามชวนคิด ดังนี้ -นักเรียนปฎิบัติศาสนพิธีในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันใดบ้าง ตอบ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันาสาฬหบูชา -การเวียนเทียนมีจุดมุ่งหมายสำคัญอย่างไร ตอบเพื่อพุทธศาสนิกชนมีโอกาสได้ฟังธรรมคำสอนจากพระสงฆ์และเป็นการสืบทอด พระพุทธศาสนาและรำลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ขั้นสอน 2.โดยครูอภิปรายเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา หลังจากนั้นให้ทํา ใบกิจกรรม 3. ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันเฉลยใบกิจกรรมแล้วให้ผู้เรียนยกตัวอย่างหลักธรรมสําคัญ ที่ เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญต่างๆ 4. หลักธรรมข้อใดข้อหนึ่งที่ผู้เรียนยกตัวอย่างมาอภิปรายกับผู้เรียนถึงความเกี่ยวเนื่อง ขั้นสรุป 5. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญเรื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา - ความหมายและประเภท -ความสำคัญและประโยชน์


-การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 6.นักเรียนนำเสนอเนื้อหาหัวข้อรายงานแต่ละกลุ่ม โดยสุ่มจับสลาก แต่ละหัวข้อ สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. เรื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ทำรายงาน เรื่อง เรื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา


9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป


แผนการจัดการเรียนรู้ที่24 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่6 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง ศาสนพิธีในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาว วรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือ ตัวชี้วัด ส 1.2 ม.1/4 จัดพิธีกรรม และปฏิบัติตนใน ศาสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติศาสนพิธีศาสนาได้ 2.นักเรียนสามารถจัดลำดับการปฎิบัติศาสนพิธีของวันสำคัญทางพุทธศาสนาได้ 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าพระพุทธศาสนา 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน


1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ พิธีกรรมทางศาสนาเป็นแบบแผนที่พึงปฏิบัติของศาสนิกชนเพื่อแสดงความเลื่อมใสศรัทธาต่อ ศาสนา 6.สาระการเรียนรู้ -การจัดโต๊ะหมู่บูชาแบบ4หมู่ 5หมู่ 7หมู่ 9หมู่ -การจุดธูปเทียน การจัดเครื่องประกอบโต๊ะหมู่บูชา -คำอาราธนาต่างๆ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.คำถามชวนคิดให้นักเรียน ดูรูปภาพประกอบแล้วตอบคำถาม -นักเรียนรู้หรือไม่โต๊ะหมู่บูชามีกี่แบบ -นักเรียนจะพบเห็นโต๊ะหมู่บูชาในสถานที่ใดบ้าง -นักเรียนคิดว่าโต๊ะหมู่บูชามไว้เพื่อจุดประสงค์ใด ขั้นสอน 2.บรรยายความรู้เกี่ยวกับโต๊ะหมู่บูชาในแต่ละแบบโดยครูจะอธิบายโต๊ะหมู่บูชาแต่ละหมู่โดย ใช้ภาพประกอบแต่ละหมู่ให้เห็นภาพชัดเจน แบบหมู่ที่4 ใช้สำหรับพิธีการทำบุญที่บ้าน,ที่ทำงาน,ที่ไม่เป็นพิธีการมาก หมู่ที่5 ใช้สำหรับพิธีทำบุญที่บ้าน,ที่ทำงาน,ที่ไม่เป็นพิธีการมาก หมู่ที่7 ใช้สำหรับจัดเป็นประธานในศาสนพิธีสงฆ์ที่เป็นทางการ หมู่ที่9 ใช้สำหรับจัดเป็นพระประธานในศาสนพิธีสงฆ์ที่เป็นพิธีการใหญ่ 3.แล้วให้นักเรียนวาดภาพโต๊ะหมู่บูชาที่ตนเองสนใจ1หมู่โดยวาดโต๊ะหมู่บูชาลงในตำแหน่งให้ ครบถ้วน พร้อมระบุชี้แจงรายละเอียดและให้เหตุผลประกอบ ขั้นสรุป 4.เมื่อทำเสร็จแล้วให้ตัวแทนห้องออกมานำเสนอใบงานเรื่องโต๊ะหมู่บูชา ให้เพื่อนคนอื่นได้ แลกเปลี่ยนความคิดกัน ครูตรวจใบงาน และอธิบายความรู้เสริมเพิ่มเติมและร่วมกันสรุปผล


8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt.ศาสนพิธี ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ทำใบงาน เรื่องศาสนพิธีโต๊ะหมู่บูชา 9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป


แผนการจัดการเรียนรู้ที่25 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่6 วันสำคัญทางศาสนา เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง ประวัติของวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา ตัวชี้วัด ส 1.2 /ม1.5 อธิบายประวัติ ความสำคัญ และปฎิบัติตน ในศาสนพิธีพิธีกรรมได้ถูกต้อง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.อธิบายประวัติความเป็นมาของวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความสำคัญของวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 3.นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร


2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ พิธีกรรมทางศาสนาเป็นแบบแผนที่พึงปฎิบัติของศาสนิกชนเพื่อแสดงความเลื่อมใสศรัทธาต่อ ศาสนา 6.สาระการเรียนรู้ 1.ประวัติและความสำคัญของวันธรรมสวนะ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันเทโรโวหณะ 2.ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน การปฎิบัติตนในวัน มาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฐมีบูชา วันธรรม สวนะ วันอาสาฬหบูชา และเทศกาลสำคัญ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.คำถามกระตุ้นความคิดนักเรียนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันใดบ้าง ให้นักเรียนช่วยกัน ตอบ เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฐมีบูชา วันอาสาฬบูชา เป็นต้น 2.ให้นักเรียนดูภาพพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ปัจวัคีย์ ลองให้นักเรียนตอบว่าเป็นภาพ เกี่ยวกับวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันใด -โดยครูสรุปคำตอบและอธิบายถึงประวัติความเป็นมาของวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ขั้นสอน 3.ให้นักเรียนจัดกลุ่มคละความสามารถนักเรียน (เก่ง กลาง อ่อน) กลุ่ม ละ 4คนและเรียกกลุ่ม นี้ว่า “กลุ่มบ้านเรา” สมาชิกในกลุ่มจะได้รับ 4.ครูกำหนดหัวข้อเรื่องที่นักเรียนในกลุ่มบ้านเราจะต้องศึกษาความรู้ตาม หมายเลขที่สมาชิก แต่ละคนได้รับ 1 2 3 4 5.จากนั้นครูให้นักเรียนกลุ่มบ้านเราแยกย้ายไปรวมกับสมาชิกจากกลุ่มบ้านเรากลุ่มอื่นที่ได้ หมายเลขเดียวกัน เมื่อนักเรียนรวมกลุ่มแล้วให้เรียก กลุ่มนี้ว่า “กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ แล้วครูแจกใบความรู้ให้ศึกษาตามหมายเลขให้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทั้ง 4 กลุ่มศึกษาโดย ให้เวลา ประมาณ 10 นาที ใบความรู้ประกอบด้วย กลุ่ม 1 ประวัติของวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา


กลุ่ม 2 เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา กลุ่ม 3 หลักธรรมคำสอนในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา กลุ่ม 4 ศาสนพิธีในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 6.เมื่อครบตามกำหนดเวลา ให้สมาชิกจากกลุ่มบ้านเราผู้เชี่ยวชาญ นำความรู้ที่ได้จาก การศึกษาความรู้ตามหมายเลข อธิบายให้สมาชิกในกลุ่มบ้านเราฟังจนเข้าใจจนครบทุกหมายเลขตั้งแต่ หมายเลข1 จนถึงหมายเลข 4ตามลำดับ โดยให้เวลาในการแลกเปลี่ยน ความรู้ประมาณ 15 นาที ขั้นสรุป 7.ครูสุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละกลุ่มแต่ละหมายเลขออกมา เล่าถึงประเด็นวันสำคัญที่ได้รับตาม หมายเลข ให้เพื่อนฟัง 8.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความสำคัญของวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. เรื่องโยนิโสมนสิการ ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงานเรื่องการคิดแบบโยนิโสมนสิการ


9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป


แผนการจัดการเรียนรู้ที่26 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่7 การบริหารจิตและการเจริญปัญญา เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง อานาปานสติ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาว วรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส.1.2/ ม.1.6 เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบ โยนิโส มนสิการคือวิธีคิดแบบคุณค่าแท้ - คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณ – โทษ และทางออก หรือ การพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทำสมาธิ 2.นักเรียนสามารถปฎิบัติสมาธิเบื้องต้นตามหลักอานาปานสติ 3.นักเรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้


3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ การสวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิต และเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติและการคิดแบบ คุณค่าแท้-คุณค่า เทียม และวิธีคิดแบบคุณโทษ และ ทางออกนั้น เป็นส่วนสำคัญของการพัฒนาจิตเพื่อ การดำเนินชีวิตอย่างถูกต้อง 6.สาระการเรียนรู้ วิธีปฎิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและเจริญปัญญาการฝึกบริหารจิตและเจริญปัญญา ตามหลักวติปัฎฐานเน้นอานาปานสติ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ (โดยใช้การเรียนการสอนแบบวิธีสาธิต) 1.ให้นักเรียนดูรูปภาพคนนั่งสมาธิ แล้วถามในประเด็นต่อไปนี้ -จากภาพนักเรียนคิดว่าการนั่งสมาธิมีประโยชน์ต่อเราในเรื่องใดบ้าง ตอบ การทำสมาธิทำให้จิตใจของผู้ปฎิบัติมีความสงบ มีสมาธิอยู่กับตัว และมีประโยชน์ในการ เรียนของนักเรียนทำให้มีสมาธิในการเรียนและการทำงานต่างๆที่ได้รับมอบหมายจิตใจผ่องใสไม่โกรธ ง่ายและมีสุขภาพจิตที่ดี -นักเรียนคิดว่าเราทำเวลาไหนได้บ้าง ตอบ เช่นก่อนนอน ในเวลาว่าง ในเวลาที่เราต้องการสมาธิในการแก้ปัญหาต่างๆ ขั้นสอน 2.ให้นักเรียนเตรียมสถานที่โดยจัดโต๊ะเป็นตัวยู นั่งบนเก้าทำสมาธิหรือถ้าสามารถนั่งพื้นได้ก็ จะดีมากๆ 3.นักเรียนสมาชิกในห้องนั่งบนเก้าอี้ มือขวาทับมือซ้ายหลังตรงไม่งอ ขาทั้งสองชิดกันไม่เกร็ง จากนั้นครูอธิบายเกี่ยวกับการทำสมาธิในพระพุทธศาสนาเป็นวิธีการฝึกจิตให้เจริญปัญญา ทำให้เรามี สติแล้วก็จะสามารถทำสิ่งต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินชีวิตตัดสินใจได้อย่างไม่พลาด


4.จากนั้นครูอธิบายหลักการทำสมาธิตามหลักอานาปานสติ -อานาปานสติ หมายถึง การระลึกถึงลมหายใจเข้า – ออก โดยกำหนดจิตผ่าน การหายใจเข้า - ออก ซึ่งสามารถใช้การภาวนาผ่านลมหายใจเข้า - ออก โดยหายใจเข้าภาวนาว่า “เข้า หรือ พุทธ” หายใจออกภาวนาว่า “ออก หรือ โธ” ขึ้นอยู่กับความถนัดของนักเรียน 5.แล้วให้นักเรียนตั้งสติแล้วค่อย ๆ หลับตากำหนดลมหายใจเข้า - ออกพร้อมกับภาวนา ถ้าจิต ฟุ้งซ่านไปที่อื่นให้กำหนดรู้ แล้วกำหนดสติให้อยู่ กับลมหายใจอีกครั้ง” โดยครูปฏิบัติให้นักเรียนดูเป็น แบบอย่าง แล้วให้นักเรียนปฏิบัติตามในเวลาพอสมควร ประมาณ5-10 นาที ขั้นสรุป 6.เมื่อนักเรียนทำสมาธิแล้ว ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึก หลังจากการทํา สมาธิ ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นภายในห้องเรียน 7.แล้วร่วมกันสรุปความรู้และชี้นำให้นักเรียนเห็นประโยชน์ของการทำสมาธิ เช่น : การทำสมาธิสามารถทําได้ในทุกที ทุกเวลาและทุกวัย ถ้านักเรียนนั่งสมาธิเป็น ประจำ ก็จะช่วยให้สมาธิดีขึ้น ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่วอกแวก สุขภาพจิตดีสามารถอดทนต่อความโกรธได้และ มีสติปัญญาในการวิเคราะห์ พิจารณาหาทางออกในการแก้ปัญหาหรือการเรียนได้มากขึ้น 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. เรื่องอาปานสติ,รูปภาพ 3.การกำหนดลมหายใจเข้า-ออก ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ปฎิบัติสมาธิเบื้องต้นตามหลักอาปานสติ


9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการปฎิบัติ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการปฎิบัติ เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการปฎิบัติ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการปฎิบัติ เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป


แผนการจัดการเรียนรู้ที่27 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่7 การบริหารจิตและการเจริญปัญญา เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง บทวสวดมนต์พัฒนาสมาธิ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส 1.1/ม.1.7 สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติหรือตาม แนวทางของ ศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของบทสวดมนต์แปลและแผ่เมตตา 2.นักเรียนสามารถสวดมนต์แปลและแผ่เมตตาได้ 3.นักเรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน


4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ การสวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิต และเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติและการคิดแบบ คุณค่าแท้-คุณค่า เทียม และวิธีคิดแบบคุณโทษ และ ทางออกนั้น เป็นส่วนสำคัญของการ พัฒนาจิต เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างถูกต้อง 6.สาระการเรียนรู้ -บทสวดมนต์แปลและแผ่เมตตา -บทสวดมนต์ไหว้พระ -บทนมัสการพระพุทธ -บทสรรเสริญพระรัตนตรัย -บทแผ่เมตตา 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ให้นักเรียนรับชมวิดีทัศน์สวดมนต์บทสรรเสริญพระรัตนตรัย เป็นเวลา2นาที -ตั้งคำถามชวนคิดบทสวดมนต์บทนี้เกี่ยวกับอะไร -นักเรียนคิดว่าบทสวดมนต์บทนี้ มีความหมายถึงเรื่องใด ขั้นสอน 2.โดยครูนำสวดมนต์แปลและแผ่เมตตา (กล่าวคำนมัสการพระรัตนตรัย คํานอบน้อม พระพุทธเจ้า บทสรรเสริญพระพุทธคุณ บทสรรเสริญพระ ธรรมคุณ บทสรรเสริญพระสังฆคุณ และแผ่ เมตตาให้นักเรียนกล่าวตามจน เข้าใจ 3.จากนั้นให้นักเรียนสวดมนต์แปลและแผ่เมตตา (กล่าวคำนมัสการพระ รัตนตรัย คํานอบ น้อมพระพุทธเจ้า บทสรรเสริญพระพุทธคุณ บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ บทสรรเสริญพระสังฆคุณ และแผ่เมตตาโดยพร้อมเพรียงกัน


4.ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม จากนั้นครูแจกกระดาษ A4 กลุ่มละ 1 แผ่น แต่ละกลุ่ม ศึกษาตามหัวข้อดังนี้กลุ่มที่ กลุ่มที่ 1. แปลความหมายบทนมัสการพระรัตนตรัย กลุ่มที่ 2. แปลความหมายบทนอบน้อมพระพุทธเจ้า กลุ่มที่ 3. แปลความหมายบทสรรเสริญพระพุทธคุณ กลุ่มที่ 4. แปลความหมายบทสรรเสริญพระธรรมคุณ กลุ่มที่ 5. แปลความหมายบทสรรเสริญพระสังฆคุณ กลุ่มที่ 6. แปลความหมายบทแผ่เมตตา ขั้นสรุป 5.ครูให้นักเรียนแปลความหมายบทสวดมนต์ตามที่กลุ่มได้รับแล้วสรุป ความหมายของบท สวดมนต์นั้นตามความเข้าใจของนักเรียน นักเรียนสามารถศึกษาข้อมูลจากหนังสือเรียน พระพุทธศาสนาหรือในแหล่งเรียนรู้ อื่น ๆ เช่น อินเตอร์เน็ต ให้เวลาในการทำงานกลุ่มประมาณ 20 นาที 6.จากนั้นครูให้นักเรียนตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน ให้เวลาในการนําเสนอ กลุ่มละไม่เกิน 3 นาที ขั้นสรุป 7.ตั้งประเด็นคำถามให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันว่า“การทำสมาธิและสวดมนต์แผ่เมตตา มี ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต ของนักเรียนอย่างไร” นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น - การสวดมนต์และแผ่เมตตาทำให้จิตใจเราสงบ มีสมาธิมาก ขึ้นการแผ่เมตตาทำให้เรามีจิตใจที่เป็นสุขเพราะได้เผื่อแผ่ความสุขให้กับผู้อื่น,เสริมสร้าง กำลังใจให้ผู้สวดมนต์เมื่อพบความทุกข์,ทำให้เราได้เรียนรู้หลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าผ่านการ สวดมนต์ 8.จากนั้นครูสรุปความรู้โดยชี้แนะให้เห็นประโยชน์ของการทำสมาธิและสวดมนต์ และ แผ่ เมตตา 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt การบริหารจิตและการเจริญปัญญา ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.สวดมนต์แปลและแผ่เมตตา


2. แปลความหมายของบทสวด มนต์และแผ่เมตตา 9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป


4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 28 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่7 การบริหารจิตและการเจริญปัญญา เวลา 5 ชั่วโมง เรื่องการเจริญปัญญา เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส.1.1 / ม.1.6 เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบ โยนิโส มนสิการคือวิธีคิดแบบคุณค่าแท้ - คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณ – โทษ และทางออก หรือ การพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของวิธีคิดตามหลัก โยนิโสมนสิการ 2.นักเรียนยกตัวอย่างวิธีคิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่า เทียม และวิธีคิดแบบคุณ-โทษ และ ทางออก ได้ 3. นักเรียนเห็นคุณค่าของวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ นำไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้


3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ การสวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิต และเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติและการคิดแบบ คุณค่าแท้-คุณค่า เทียม และวิธีคิดแบบคุณโทษ และ ทางออกนั้น เป็นส่วนสำคัญของการพัฒนาจิตเพื่อ การดำเนินชีวิตอย่างถูกต้อง 6.สาระการเรียนรู้ 1. การบริหารจิตเจริญปัญญา 2. โยนิโสมนสิการ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น 1.นักเรียนในชั้นเรียนที่ได้คะแนนจากการสอบมากที่สุด หรือได้รางวัล จากการแข่งกิจกรรม ออกมาเล่าวิธีการพัฒนาตนเองจนประสบความสำเร็จให้เพื่อนร่วมชั้นเรียนฟังเปิดโอกาสให้นักเรียน ซักถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างกันและกัน 2.ต่อมาแนะนำให้นักเรียนเข้าใจ เราสามารถพัฒนาตนเองให้ประสบความสำเร็จ ได้เนื่องจาก พัฒนาปัญญา ซึ่งสามารถทำได้ 3 ทางคือ 1) สุตมยปัญญา : ปัญญาเกิดจากการฟัง 2) จินตามยปัญญา : ปัญญาเกิดจากการคิด 3) ภาวนามยปัญญา : ปัญญาเกิดจากการลงมือทำ 3.ให้นักเรียนดูภาพโทรศัพท์มือถือ แล้วตั้งประเด็นคำถามให้นักเรียน ร่วมกันตอบดังนี้ -นักเรียนคิดว่า โทรศัพท์มือถือสองรูปนี้มีความเหมือนหรือ แตกต่างกันอย่างไร


:ความเหมือนคือทั้งสองสามารถใช้โทรได้ ความต่างคือ โทรศัพท์ในภาพแรกไม่สามารถ ถ่ายรูปหรือเล่น อินเตอร์เน็ต และไม่ทันสมัยเหมือนโทรศัพท์ในภาพที่สอง สำหรับโทรศัพท์ในภาพที่ สองกำลังเป็นที่นิยมในสมัยปัจจุบันแต่มีราคาแพงมากกว่าโทรศัพท์ในภาพแรก -ในตอนนี้นักเรียนคิดว่า ตนเองน่าจะเหมาะสมกับโทรศัพท์ใน ภาพใด : ขึ้นอยู่กับแนวคิดของนักเรียน 4. และนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปบทเรียน ดังนี้ “โทรศัพท์ทั้งสอง แบบมีประโยชน์ที่ แท้จริงคือการใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร ถ้าเราใช้เพื่อ ติดต่อสื่อสารก็ไม่จำเป็นต้องใช้โทรศัพท์ที่มีราคา แพงมาก เพราะในปัจจุบัน ค่านิยมของคนในสังคมให้ความสำคัญกับราคาและความหรูหราทันสมัย มากกว่าการมองถึงการใช้ประโยชน์ที่แท้จริง ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดการก่อหนี้สินเพื่อซื้อสิ่งเหล่านี้ 5.แล้วครูอธิบายเชื่อมโยงว่า การมองถึงประโยชน์ที่แท้จริงของสิ่งต่าง ๆ นั้นตรงกับหลักการ คิดแบบโยนิโสมนสิการในทางพระพุทธศาสนาในหัวข้อ วิธีคิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม ซึ่งเป็น หลักการคิดเพื่อละกิเลสตัณหาโดย เน้นให้มองถึงประโยชน์สูงสุดมากกว่าการมองที่ความต้องการเพียง อย่างเดียว ขั้นสอน 6.อธิบายความรู้เกี่ยวกับหลักการคิดแบบโยนิโสมนสิการในทางพระพุทธศาสนาในหัวข้อวิธี คิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม และ วิธีคิดแบบ คุณ – โทษและทางออก 1.วิธีคิดแบบคุณ - โทษและทางออก คือ มองให้ครบทั้งข้อดีข้อเสีย และทางแก้ไข หาทางออกให้หลุดรอดปลอดพ้นจากข้อบกพร่องต่างๆเป็นวิธีมองสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริงอีก แบบหนึ่ง เน้นการศึกษาและยอมรับความจริง ตามที่สิ่งนั้นๆเป็นอยู่ทุกแง่ทุกมุมเพื่อให้รู้และเข้าใจ ถูกต้องตามความเป็นจริง ทั้งด้านดี ด้านเสีย จุดอ่อน จุดแข็ง 2) วิธีคิดแบบรู้คุณค่าแท้ – คุณค่าเทียมหรือการพิจารณาเกี่ยวกับ การใช้สอยหรือ บริโภค เป็นวิธีคิดแบบสกัดหรือบรรเทาตัณหา ตัดทางไม่ให้กิเลสเข้ามาครอบงำจิตใจแล้วชักจูง พฤติกรรมต่อไป คุณค่านี้จำแนกได้ เป็น 2 ประเภท ตามชนิดของความต้องการ คือ ข้อเสีย และ ทางแก้ไขหาทางออกให้หลุดรอดปลอดพ้นจากข้อบกพร่องต่าง ๆ ขั้นสรุป 7.และนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน ดังนี้ ทุกสิ่งในโลกล้วนมีสองด้าน เสมอคือด้านที่ดีและด้าน ที่ไม่ดี ดังนั้นนักเรียนสามารถนำหลักการคิดแบบ คุณ-โทษและทางออกไปใช้ในการตัดสินใจและแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ โดยมอง ให้รอบด้าน 8.ให้นักเรียนยกตัวอย่างวิธีคิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณ-โทษและ ทางออก ที่สอดคล้องกับเรื่องราวในชีวิตประจำวันและผลที่ เกิดขึ้นจากการนำหลักการคิดแบบคุณค่า แท้-คุณค่าเทียมและวิธีคิดแบบ คุณ-โทษ และทางออกไปใช้ในชีวิตประจำวัน


8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. เรื่องโยนิโสมนสิการ ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงานให้ยกตัวอย่างวิธีคิดแบบคุณค่าแท้- คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณ- โทษ และทางออก 9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป


แผนการจัดการเรียนรู้ที่29 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่7 การเรื่องการบริหารจิตและการเจริญปัญญา เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง โยนิโสมนสิการ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส.1.1/ ม.1.6 เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบ โยนิโส มนสิการคือวิธีคิดแบบคุณค่าแท้ - คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณ – โทษ และทางออก หรือ การพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายประโยชน์ของวิธีคิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียมและวิธีคิดแบบคุณโทษ และทางออกได้ 2.นักเรียนปฏิบัติตนตามวิธีการคิดแบบคุณค่าแท้- คุณค่าเทียมและวิธีคิดแบบคุณ-โทษ และ ทางออกตามหลักโยนิโสมนสิการ 3.นักเรียนเห็นคุณค่าและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์


1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ การดำเนินชีวิตโดยใช้ปัญญาในการ พิจารณาอย่างลึกซึ้งถึงประโยชน์ของสิ่งต่าง ๆ เพื่อ มอง ให้เห็นถึงด้านที่มีคุณประโยชน์และด้านที่เป็นโทษทำให้บุคคลสามารถตัดสินใจเลือกใช้ในสิ่งที่เป็น ประโยชน์แก่ตนเอง นำไปสู่การหาทางออก 6.สาระการเรียนรู้ 1. วิธีคิดแบบคุณค่าแท้– คุณค่าเทียม 2. วิธีคิดแบบคุณ - โทษและทางออก 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ กระตุ้นนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เรื่องการพัฒนาจิตและหลักการคิดตามหลักโยนิโส มนสิการ โดยให้นักเรียนตอบคำถามในประเด็นต่อไปนี้ 1.เราใช้การคิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียมเพื่อประโยชน์ในเรื่องใด : เพื่อพิจารณาเกี่ยวกับการใช้สอยหรือบริโภค เป็นวิธีคิดแบบ สกัดหรือบรรเทา ตัณหาไม่ให้เกิดความอยากได้อยากมีมากจนเกินไป 2. เราใช้การคิดแบบคุณ – โทษและทางออกเพื่อประโยชน์เรื่องใด : เพื่อมองให้เห็นทั้งสองด้านของสิ่งต่าง ๆทั้งด้านดีและไม่ดีรวมทั้งการแก้ปัญหาหรือ ทางออก และนำไปใช้ในการตัดสินใจและแก้ไข ปัญหาต่าง ๆโดยมองให้รอบด้าน สรุปคำตอบของนักเรียนและอธิบายถึงการนำแนวคิดแบบโยนิโส มนสิการทั้ง 2 แบบ ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันให้เหมาะสม เช่น การเลือกซื้อ สิ่งของต่าง ๆ โดยเน้นที่ประโยชน์ใช้สอย มากกว่าค่านิยมความหรูหรา หรือ สำหรับการแก้ปัญหาด้านการเรียน เป็นต้น ขั้นสอน


3.โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4 – 5 คน หลังจากนั้นให้สมาชิกแต่ละกลุ่ม สนทนา แลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับ การคิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม และ การคิดแบบคุณ-โทษ และ ทางออก ในประเด็น 1) ความหมาย 2) ตัวอย่างวิธีคิด 3)ประโยชน์และความสำคัญของการนำไปประยุกต์ใช้ ขั้นสรุป 4.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปความรู้ตามประเด็นที่กำหนดให้ลงในกระดาษฟลิปชาร์ทใน รูปแบบแผนผังความคิด โดยให้เวลาในการทำงาน ประมาณ 20 นาที 5.ให้ตัวแทนแต่กลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยให้เวลาในการ นำเสนอประมาณกลุ่มละ 3 นาที 6.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน ดังนี้ “เราสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้โดยการมองให้ รอบด้าน คำนึงถึงผลดีผลเสียของการตัดสินใจ ถ้าแก้ปัญหาด้วยการฆ่าตัวตายนั้นไม่มีผลดีเลย จึงเป็นการ แก้ปัญหาที่ไม่มีประโยชน์ 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. เรื่องโยนิโสมนสิการ ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงานเรื่องการคิดแบบโยนิโสมนสิการ


9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป


Click to View FlipBook Version