แผนการจัดการเรียนรู้ที่30 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่7 การเรื่องการบริหารจิตและการเจริญปัญญา เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง พุทธศาสนากับหลักความพอเพียง เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.1/8 วิเคราะห์และปฏิบัติตนตาม หลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือในการ ดำรงชีวิต แบบพอเพียง และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่ ร่วมกันได้อย่างสันติสุข 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายความรู้การใช้ทรัพยากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ 2.นักเรียนสามารถระบุหลักธรรมที่สอดคล้องกับ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - (ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุ้มกัน) 3. นักเรียนเห็นคุณค่าของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อตนเองและสังคม 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ การที่บุคคลกระทำสิ่งต่าง ๆ อย่างพอดีพอเหมาะแก่ตน มีเหตุผลของสิ่งที่กระทำและ กระทำ อย่างไม่ประมาท โดยอยู่ในกรอบของความรู้ที่ดีและความประพฤติที่เหมาะสม จะทำให้บุคคลมีชีวิต ที่สมดุล มั่นคงและยั่งยืนได้ 6.สาระการเรียนรู้ 1. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. หลักธรรมที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ชักถามเกี่ยวกับการใช้ชีวิตประจำวันการใช้จ่าย ปัญหาส่วนตัวต่างๆ พูดคุยแลกเปลี่ยนวิถี การดำเนินชีวิตกัน ให้นักเรียนชมวีดีทัศน์เรื่อง 2.ครูให้นักเรียนชมวีดีทัศน์เรื่องเกี่ยวกับความพอดีพอเพียง แล้วถามคำถามเกี่ยวกับวีดีทัศน์ที่ นักเรียนได้ชมนั้น แล้วตอบคำถาม ดังต่อไปนี้ - จากวีดีโอที่นักเรียนได้รับชมไปนั้นแสดงให้เห็นการดำเนินชีวิตแบบใด -การดำเนินชีวิตแบบพอเพียง - นักเรียนคิดว่าหลักการดำเนินชีวิตแบบพอเพียงหมายถึงอะไร -ดำเนินชีวิตแบบพอประมาณ อย่างมีเหตุผลและรอบคอบภายใต้ความรู้และ คุณธรรม ขั้นสอน 3.วันนี้เราจะร่วมกันพิจารณาองค์ประกอบของ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสอดคล้องกับ หลักธรรมทางพุทธศาสนา อย่างไรบ้าง
4.อธิบายความหมายและองค์ประกอบของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้สื่อการ สอนPowerPoint เรื่อง “พุทธศาสนากับความพอเพียง” ประกอบการสอน 5.ครูถามนักเรียนถึงความสอดคล้องกันระหว่างหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงกับหลักธรรมทางพุทธศาสนาอย่างไร - นักเรียนคิดว่ามีพุทธศาสนามีหลักธรรมที่สอนเรื่องความพอเพียง หรือไม่ อย่างไร -(มัชฌิมาปฏิปทา การเดินทางสายกลาง) - หลักธรรมกับความพอเพียง ประกอบการอธิบาย องค์ประกอบต่าง ๆ ของหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงสอดคล้อง กับหลักธรรม ความพอประมาณ กับ มัชฌิมมปฏิปทา ขั้นสรุป 6.สรุปความรู้ที่ทำจากใบงานและครูอธิบายเพิ่มเติมคำ โดยใช้แนวคำถามดังต่อไปนี้ หลักความพอเพียงมีความสำคัญและมีคุณค่าต่อการดำเนินชีวิตในสังคม ปัจจุบันหรือไม่อย่างไร -จำเป็นเพราะความพอเพียงทำให้มีความเป็นอยู่ที่ยั่งยืนมั่นคงภายใต้ความ เปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม นักเรียนสามารถปฏิบัติตามแนวทางของหลักความพอเพียงได้อย่างไรและผล ของการปฏิบัติจะเป็นอย่างไร -กระทำสิ่งต่าง ๆอย่างพอดีพอเหมาะและกระทำอย่างไม่ประมาท โดยอยู่ในกรอบ ของความของความรู้ที่ดีกระทำอย่างไม่ประมาท มั่งคงและยั่งยืน 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt.พุทธศาสนากับหลักความพอเพียง ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ทำรายงาน เรื่อง พุทธศาสนากับหลักความพอเพียง
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่31 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่8 ศาสนสัมพันธ์ เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง หลักศาสนา เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.1/9 วิเคราะห์เหตุผลความจำเป็นที่ทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่น ๆ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายหลักธรรมของศาสนาพุทธ คริสต์อิสลาม และฮินดู ได้ 2.นักเรียนสามารถนำเสนอแนวทางในการอยู่ร่วมกับ ศาสนิกชนของศาสนาอื่นได้อย่างสันติ สุข 3.นักเรียนสามารถอภิปรายประโยชน์ที่จากการศึกษาศาสนาอื่น ๆ ได้อย่างมีเหตุผล 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน
4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ ในสังคมประกอบไปด้วยศาสนาต่างๆหลากหลายจึงควรที่จะต้องทำความเข้าใจถึงการ ประพฤติปฏิบัติตนวิถีชีวิตของศาสนิกชนต่าง ศาสนา และหลักธรรมคำสอนเพื่อให้เกิดความ เข้าใจที่ ตรงกันและอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ปฏิบัติตนมาเป็นแบบอย่างในการดำรงชีวิต 6.สาระการเรียนรู้ 1.ศาสนิกชนของศาสนาต่างๆมีการประพฤติปฏิบัติตนและวิถีการดำเนินชีวิตแตกต่างกันตาม หลักความเชื่อและคำสอน ของศาสนาที่ตนนับถือ 2.การปฏิบัติอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่น ในสถานการณ์ต่างๆ 3.ตัวอย่างบุคคลในท้องถิ่นหรือประเทศที่ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์หรือมี ผลงาน ด้านศาสนสัมพันธ์ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.นักเรียนร่วมกันพิจารณาภาพที่เกี่ยวข้องกับศาสนิกชนในศาสนาต่าง ๆจากนั้นร่วมกัน อภิปรายเพื่อน เข้าสู่บทเรียน จากภาพนักเรียนเห็นศาสนิกชนของศาสนาอะไรบ้าง : คริสต์ อิสลาม พรามหณ์-ฮินดู ศาสนาแต่ละศาสนามีรูปแบบลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร : ทุกศาสนาสอนให้คนเป็นคนดี หลักปฏิบัติของแต่ละ ศาสนาต่างกัน 2.จากนั้น สำรวจนักเรียนในชั้นเรียนว่านับถือศาสนาใดบ้าง แล้วร่วมกันบอกว่าใน ประเทศ ไทยมีศาสนาใดบ้างที่คนไทยนับถือ ขั้นสอน
3.อธิบายบรรยายประกอบการซักถามเรื่อง ศาสนาสำคัญในประเทศไทย โดยใช้ Power Point เรื่อง ศาสนาสำคัญในประเทศไทย โดยมีแนวคำถาม เช่น -นักเรียนทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับศาสนาดังกล่าวหรือไม่ -คำสั่งสอนของศาสนาดังกล่าวเหมือนหรือแตกต่างจากคำสอนของ ศาสนาพุทธ อย่างไร 4.ให้นักเรียนดูข่าวแล้วพิจารณาข่าวเหตุการณ์ความขัดแย้งทางศาสนาแล้วให้นักเรียนร่วมกัน วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นว่าหลักธรรมใดในแต่ศาสนาที่สามารถแก้ปัญหา ความขัดแย้งนี้ได้ ขั้นสรุป 5.นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาศาสนาอื่น ๆ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างไร : นำไปอธิบายให้ผู้อื่นมีความเข้าใจที่ถูกต้อง - การเรียนรู้ศาสนาอื่น ๆ มีประโยชน์อย่างไรต่อตัวนักเรียน : ทำให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง สังคมเกิดความสงบสุข 6.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ หลักธรรมในต่ละศาสนาในชั้นเรียนร่วมแลกเปลี่ยนกัน 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt.ศาสนาสำคัญในประเทศไทย ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงานเรื่องศาสนาสำคัญในประเทศไทย
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่32 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่8 ศาสนสัมพันธ์ เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างศาสนา เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.1/10 ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชน อื่นในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายหลักความเชื่อและคำสอนของศาสนา อิสลาม คริสต์ พราหมณ์- ฮินดู สิกข์ได้อย่างถูกต้อง 2.นักเรียนสามารถอภิปรายแนวทางการปฏิบัติตนตามศาสนา อิสลาม คริสต์ พราหมณ์-ฮินดู สิกข์ได้อย่างเหมาะสม 3.นักเรียนเห็นคุณค่าแนวทางปฏิบัติตนต่อ ศาสนิกชนในศาสนา อื่นๆได้อย่างเหมาะสม 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ ในสังคมประกอบไปด้วยศาสนาต่างๆหลากหลายจึงควรที่จะต้องทำความเข้าใจถึงการ ประพฤติปฏิบัติตนวิถีชีวิตของศาสนิกชนต่าง ศาสนา และหลักธรรม คำสอนเพื่อให้เกิดความ เข้าใจที่ ตรงกันและอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 6.สาระการเรียนรู้ -ศาสนิกชนของศาสนาต่างๆมีการประพฤติปฏิบัติตนและวิถีการดำเนินชีวิตแตกต่างกันตาม หลัก ความเชื่อและคำสอน ของศาสนาที่ตนนับถือ -การปฏิบัติอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นใน สถานการณ์ต่าง ๆ -ตัวอย่างบุคคลในท้องถิ่นหรือประเทศที่ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์หรือมี ผลงานด้านศาสนสัมพันธ์ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ครูให้นักเรียนดูภาพข่าวขัดแย้งระหว่างศาสนาแล้วใช้คำถามดังต่อไปนี้ถาม - ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นน่าจะเกิดจากอะไร : การเข้าใจผิด ต่อกันระหว่างศาสนา 2.นักเรียนจะมีแนวทางอย่างไรให้ศาสนิกชนต่างศาสนาสามารถอยู่ร่วมกันได้ : ปฏิบัติต่อกันอย่างเข้าใจกัน ไม่ดูถูกเหยียดหยาม ระหว่างกัน วันนี้เราจะมาพิจารณาแนวทางการปฏิบัติ ต่อศาสนิกชนอื่นอย่างเหมาะสมกัน เพื่อเป็น แนวทางในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ขั้นสอน 3.ให้นักเรียนทำกิจกรรม โรงเรียนสันติสุข โดยกำหนดสถานการณ์ให้
ถ้านักเรียนเป็นผู้บริหารโรงเรียนประจำอยู่แห่งหนึ่งมีผู้อยู่อาศัยเป็นศาสนิกชนต่างศาสนากันอยู่ 4 ศาสนาได้แก่ 1) ชาวคริสต์ 2) ชาวอิสลาม 3) ชาวสิกข์ 4) ชาวฮินดู 4.โดยถามทบทวนนักเรียนเกี่ยวกับความรู้เรื่องความเชื่อหรือหลักปฏิบัติตนศาสนาต่างๆ หลังจากนั้นครูจะระบุสถานการณ์จำลองปฏิบัติตนศาสนาต่าง ๆ หลังจากนั้นครูระบุสถานการณ์ จำลอง เช่น ในทุกๆวัน นักเรียนในโรงเรียนแห่งนี้จะต้องมารับประทาน อาหารร่วมกัน โรงเรียนแห่งนี้มีพื้นที่ไม่ใหญ่มากนักจึงมีพื้นที่สำหรับใช้รวมกันประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนา จากสถานการณ์ที่กำหนด ครูให้นักเรียนร่วมกันคิดแนวทางในการ อยู่ร่วมกันอย่างสันติและ เหมาะสมกันของผู้อาศัยต่างศาสนาในโรงเรียนแห่ง นี้ โดยให้นักเรียนเขียนคำตอบลงในสมุด ใช้เวลา 10 นาที เมื่อครบ กำหนดเวลาครูสุ่มนักเรียนจำนวน 5 คน ออกมานำเสนอ 5. นักเรียนเละครูร่วมกันสรุปแนวทางการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่น ลงบน กระดาน โดยสรุปเป็นแผนผัง,ใบงาน ขั้นสรุป 6.โดยครูถามคำถามนักเรียนเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีศาสนิกชนหลากหลายศาสนา โดยใช้คำถามดังต่อไปนี้ - การที่สังคมมีศาสนิกชนต่างศาสนาอยู่รวมกันเป็นสิ่งที่ดีหรือไม่ (ดี) เพราะอะไร เพราะเราจะได้เรียนรู้วัฒนธรรมความเชื่อที่ หลากหลาย - เพราะเหตุใดเราจึงต้องเรียนรู้แนวทางการปฏิบัติตนอย่าง เหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่น : ในสังคมประกอบไปด้วยศาสนาต่าง ๆ หลากหลาย จึงควรที่จะต้องทำความเข้าใจ ถึงการประพฤติปฏิบัติตน วิถีชีวิตของศาสนิกชนต่างศาสนา และหลักธรรมคำสอนเพื่อให้เกิดความ เข้าใจที่ตรงกันและอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
- การเรียนรู้ศาสนาอื่น ๆ มีประโยชน์อย่างไรต่อตัวนักเรียน : ทำให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง - นักเรียนจะนำความรู้จากการศึกษาศาสนาอื่น ๆ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างไร : นำไปสอนให้คนอื่นมีความเข้าใจที่ถูกต้อง 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงาน,แผนผังความคิด
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำใบงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ 60ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่33 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่8 ศาสนสัมพันธ์ เวลา 4 ชั่วโมง เรื่องพุทธศาสนากับความพอเพียง เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส1.1/ม1.8 วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือในการดำรงชีวิตแบบ พอเพียง และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ 2.นักเรียนสามารถระบุหลักธรรมที่สอดคล้องกับองค์ประกอบของหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุ้มกัน ได้อย่างถูกต้อง 3.นักเรียนเห็นคุณค่าของหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ที่มีต่อตนเองและสังคมได้อย่างมี เหตุผล 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ การที่บุคคลกระทำสิ่งต่าง ๆ อย่างพอดีพอเหมาะแก่ตน มีเหตุผลของสิ่งที่กระทำและ กระทำ อย่างไม่ประมาท โดยอยู่ในกรอบของความรู้ที่ดีและความประพฤติที่เหมาะสม จะทำให้บุคคลมีชีวิตที่ สมดุล มั่นคงและยั่งยืนได้ 6.สาระการเรียนรู้ 1. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. หลักธรรมที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.นักเรียนคิดว่าองค์ประกอบต่างๆของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสอดคล้องกับหลักธรรม อะไรบ้าง (ความพอประมาณ กับ มัชฌิมมปฏิปทา) ดูรูปภาพประกอบ กระตุ้นความคิดตอบคำถาม ขั้นสอน 2.พุทธศาสนากับความพอเพียงครูอธิบายเรื่องความสอดคล้องกันระหว่างหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพียงกับหลักธรรมทางพุทธศาสนา พร้อมให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง พุทธศาสนากับความ พอเพียง 3.โดยให้นักเรียนเขียนถึงแนวทางการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และระบุหลักธรรมที่สอดคล้องกัน โดยมีทรัพยากรที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ - น้ำและการใช้น้ำ - การรับประทานอาหาร - ป่าไม้
- การใช้จ่ายเงิน – การใช้ไฟฟ้า 4.ถามคำถามสรุป โดยใช้ดังต่อไปนี้ -หลักความพอเพียงมีความสำคัญและมีคุณค่าต่อการดำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบัน หรือไม่ อย่างไรจำเป็นเพราะความพอเพียงทำให้มีความเป็นอยู่ที่ยั่งยืนมั่นคงภายใต้ควาเปลี่ยนแปลง ของสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม -นักเรียนสามารถปฏิบัติตามแนวทางของหลักความพอเพียงได้อย่างไรและผลของการ ปฏิบัติจะเป็นอย่างไร กระทำสิ่งต่าง ๆ อย่างพอดีพอเหมาะแก่ตนมีเหตุผลของสิ่งที่กระทำและกระทำ อย่างไปประมาท โดยอยู่ในกรอบของความรู้ที่ดี ขั้นสรุป 5.นักเรียนและครูร่วมกันสรุป โดยใช้แนวทางคำถามสรุปสร้างองค์ความรู้
-หลักความพอเพียงมีความสำคัญและมีคุณค่าต่อการดำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบันหรือไม่ อย่างไร : จำเป็นเพราะความพอเพียงทำให้มีความเป็นอยู่ที่ยั่งยืนมั่นคงภายใต้ความ เปลี่ยนแปลง ของสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม -ปฏิบัติตามแนวทางของหลักความพอเพียงได้อย่างไรและผลของการ ปฏิบัติจะเป็นอย่างไร : กระทำสิ่งต่าง ๆ อย่างพอดีพอเหมาะแก่ตน มีเหตุผลของสิ่ง ที่กระทำและ กระทำอย่าง ไม่ประมาท โดยอยู่ในกรอบของความรู้ที่ดีและความประพฤติที่เหมาะสม 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. พุทธศาสนากับความพอเพียง ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงาน
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่34 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาพระพุทธศาสนา ส21101 หน่วยการเรียนรู้ที่8 การปฎิบัติตินตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง หลักธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาต่างๆ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ตัวชี้วัด ส1.1/ม1.1 วิเคราะห์การกระทำของบุคคลที่เป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์และ นำเสนอ แนวทางการปฏิบัติของตนเอง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายหลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาต่างๆได้ 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์แนวทางปฎิบัติตามหลักธรรมในแต่ละศาสนาได้ 3.นักเรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญค่านิยมและจริยธรรมในแต่ละศาสนา 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน
4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ ในสังคมประกอบไปด้วยศาสนาต่างๆหลากหลายจึงควรที่จะต้องทำความเข้าใจถึงการ ประพฤติปฏิบัติตนวิถีชีวิตของศาสนิกชนต่าง ศาสนาและหลักธรรมคำสอนเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ ตรงกันและอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 6.สาระการเรียนรู้ 1. ศาสนิกชนของศาสนาต่าง ๆ มีการประพฤติปฏิบัติตนและวิถีการดำเนินชีวิตแตกต่างกัน ตามหลัก ความเชื่อและคำสอน ของศาสนาที่ตนนับถือ 2. การปฏิบัติอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นใน สถานการณ์ต่าง ๆ 3.ตัวอย่างบุคคลในท้องถิ่นหรือประเทศที่ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์หรือมี ผลงานด้านศาสนสัมพันธ์ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.สร้างบรรยากาศในชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้เพื่อการกระตุ้นให้เกิดความศรัทธา เลื่อมใส โดยกระตุ้นนักเรียน โดยการตอบคำถามจากภาพ คลิปวิดีโอแตกต่างแต่ไม่แตกแยก 2.ร่วมกันสรุปเนื้อหา ในคลิปวิดีโอว่า เกี่ยวข้องกับศาสนสัมพันธ์ที่เราจะเรียนอย่างไร ; เกี่ยวข้องโดยทำให้ได้เรียนรู้ที่จะยอมรับถึงความแตกต่าง รู้จักมองความต่างอย่าง สร้างสรรค์ และเป้าหมายในทุกศาสนาสอนให้คนเป็นคนดี ขั้นสอน
3.ให้นักเรียนจับคู่กันกับเพื่อนสนิท แล้วให้เป่ายิ่งฉุบ จากนั้นแยกเป็น2ฝั่ง คนแพ้และชนะ โดย จัดให้หันหน้าเข้าหากัน 2. ครูให้นักเรียนฝั่งที่ชนะบอกชื่ออะไรก็ได้ที่คิดว่า “กลม” ประมาณ 10 – 15 อย่างครูบันทึก ลงบนกระดาน และให้ฝั่งแพ้บอกชื่ออะไรก็ได้ที่คิดว่า “เหลี่ยม” แล้วบันทึกลงบนกระดานเช่นกัน จากนั้นให้แต่ละกลุ่มหาเหตุผลมาหักร้างกัน ว่าสิ่งที่ฝั่งตรงข้ามคิดว่า “กลม” หรือ “เหลี่ยม” มัน “ไม่ กลม” หรือ “ไม่เหลี่ยม” อย่าง ไร โดยถ้าครูเห็นว่าเหตุผลนั้นเป็นไปได้ให้ขีดฆ่าชื่อเหล่านั้นออก สุดท้ายให้นักเรียนทุกคนช่วยกันแบ่งปัน และเปรียบเทียบการ นับถือศาสนาที่แตกต่างกัน และ วิเคราะห์ร่วมกัน 3.โดยครูอธิบายเศาสนาทุกศาสนาสอนให้คนเป็นคนดีเป็นคำกล่าวที่ เรามักได้ยินบ่อย ๆ และ ต่างก็คงเชื่อมั่นในคุณในคุณงามความดี ตามหลักธรรมคำสอนของแต่ละศาสนา 4.นักเรียนร่วมกันคิดแนวทางในการ อยู่ร่วมกันอย่างสันติและเหมาะสมกันของผู้อาศัยต่าง ศาสนาในโรงเรียนนสรุปแนวทางการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่น โดยสรุปเป็นแผนผัง ดังนี้ ศาสนสัมพันธ์ เคารพให้เกียรติ บุคคลต่างศาสนา สิทธิเสรีภาพของ กันและกัน สร้างความรู้สึกว่าเป็น เพื่อนร่วมชาติ ไม่มีอคติกับบุคคลต่าง ศาสนา ส่งเสริมกิจกรรม ระหว่างศาสนา มีความรักและ ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ศาสนาอื่น
ขั้นสรุป 5.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับแผนผัง ศาสนสัมพันธ์ หลักการที่จะอยู่ร่วมกัน ในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสันติและเหมาะสมกันของผู้อาศัยต่างศาสนาใน -ให้นักเรียนแสดงความคิดนักเรียนแต่ละคน 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. ศาสนสัมพันธ์ ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงาน
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมิน การทำงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินการทำงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่35 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมืองส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่9 บทบาทและหน้าที่เยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง การเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีห รักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรง รักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 2.1 /ม.1/4 แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิของตนเองและตนเอง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความหมายเกี่ยวกับหลักการสิทธิมนุษย์ชนได้ 2.นักเรียนสามารถปฎิบัติตนตามหลักสิทธิมนุษย์ได้เป็นอย่างดี 3.นักเรียนเห็นคุณค่าบทบาทและหน้าที่ของเยาวชนเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน
4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในการกระทำสิ่งใดก็ตาม ตราบใดที่การกระทำนั้นไม่ละเมิดสิทธิ เสรีภาพของตนเองผู้อื่น ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ ส่วนรวมหรือขัดต่อศีลธรรม 6.สาระการเรียนรู้ • บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ โดยเน้นจิตสาธารณะ เช่น เคารพ กติกาสังคม ปฏิบัติตน ตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทาง สังคม อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์ • วิธีปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น • ผลที่ได้จากการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.กระตุ้นความคิดให้นักเรียนดูรูปภาพ แล้วตอบคำถามแลกเปลี่ยนความรู้กันโดยให้นักเรียน โดยนำข่าวมาให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวกับการเคราพสิทธิ และ เสรีภาพของตนองและผู้อื่น 2.สุ่มนักเรียนอธิบายถึงความหมายของสิทิเสรีภาพส่วนบุคล ตามความเข้าใจของนักเรียน ขั้นสอน 3.ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มละ5คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ สิทธิเสรีภาพของประชาชนตาม บทบัญญัติใน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จากแหล่ง ข้อมูลต่างๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต เคารพสิทธิของกันและกัน โดยมีหัวดังข้อต่อไปนี้ • ปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี มีความรับผิดชอบในหน้าที่ • ปกป้องสิทธิเสรีภาพของตนเอง
• มีส่วนร่วมในกิจกรรมของสังคม • เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน • หลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรง • เคารพในความแตกต่าง • ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานเพื่อการ คุ้มครองสิทธิมนุษยชน • ให้ความช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส • ส่งเสริมและสนับสนุนการเคารพสิทธิ เสรีภาพในสังคมไทย 4.ให้นักเรียนสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนำข้อมูลที่ตนได้จาก การรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยน ความรู้ และร่วมกันคัดเลือกข้อมูลที่นำเสนอเพื่อให้ได้ ข้อมูลที่ถูกต้องแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอ ข้อมูล อภิปราย และตอบคำถามร่วมกัน 5.โดยสุ่มนักเรียนให้ออกมานำเสนอสิทธิ และเสรีภาพของตนเองเพิ่มเติม ขั้นสรุป 6.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลจากการทำใบงานและ อธิบายเพิ่มเติม 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. สิทธิและเสรีภาพ ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.งานกลุ่ม
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่36 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมืองส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่9 บทบาทและหน้าที่เยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง การเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรง รักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 2.1 /ม.1/4 แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิของตนเองและตนเอง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความหมายเกี่ยวกับหลักการสิทธิมนุษย์ชนได้ 2.นักเรียนสามารถปฎิบัติตนตามหลักสิทธิมนุษย์ได้เป็นอย่างดี 3.นักเรียนเห็นคุณค่าบทบาทและหน้าที่ของเยาวชนเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในการกระทำสิ่งใดก็ตามตราบใดที่การกระทำนั้นไม่ละเมิดสิทธิ เสรีภาพของตนเองผู้อื่น ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ ส่วนรวมหรือขัดต่อศีลธรรม 6.สาระการเรียนรู้ • บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ โดยเน้นจิตสาธารณะ เช่น เคารพ กติกาสังคม ปฏิบัติตน ตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทาง สังคมอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์ • วิธีปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น • ผลที่ได้จากการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.สนทนากับนักเรียนในประเด็น เช่น - ถ้านักเรียนพบว่า สินค้าที่ซื้อไปไม่ได้ คุณภาพตามที่โฆษณาไว้ ควรดำเนินการ อย่างไรเพื่อ รักษาสิทธิของตนเอง ตอบ ควรแจ้งไปยังสถานที่จัดจำหน่าย หรือผู้ผลิต เพื่อเรียกร้องเงินค่าสินค้าหรือ ขอ เปลี่ยนสินค้าที่มีคุณภาพตามที่กำหนด 2.สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับแนวทางการ ปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิและเสรีภาพของ ตนเองและผู้อื่น สุ่มถามนักเรียนถึงความสำคัญของการ ปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิและเสรีภาพของ ตนเองและผู้อื่น และอภิปรายร่วมกัน ขั้นสอน 3.โดยครูให้นักเรียนกลุ่มเดิมร่วมกันหาข่าว,หรือหนังสั้น,วิดีโอเกี่ยวกับประเด็นกับการปกป้อง สิทธิและเสรีภาพของตนเอง การไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น • การใช้สิทธิและเสรีภาพตามกรอบแห่งกฎหมาย • การใช้สิทธิและเสรีภาพตามกรอบแห่งศีลธรรม และวัฒนธรรม •การมีจิตสาธารณะ • การไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา 4. นักเรียนนำเสนอเรื่องสั้นตามประเด็นที่ศึกษา โดยไม่บอกชื่อเรื่อง
5. โดยครูให้นักเรียนที่ไม่ได้นำเสนออยู่ ทายเรื่องสั้น ว่าเป็นเรื่องการปฏิบัติตนในการเคารพ สิทธิ และเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในประเด็นใด และเฉลยคำตอบร่วมกัน ขั้นสรุป 6.ครูให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงถึงผลที่ได้รับ จากการเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเอง และผู้อื่น ประเด็นข้างต้น โดยครูแนะนำเพิ่มเติม 7.กิจกรรมที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในแบบ ฝึกสมรรถนะหน้าที่พลเมือง ม.1 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. สิทธิและเสรีภาพ ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.งานกลุ่ม 2.ใบงาน
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่37 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมืองส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่9 บทบาทและหน้าที่เยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรง รักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 2.1 /ม.1.2 ระบุความสามารถของตนเองในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายสิทธิของบุคคลตามกฎหมายได้ 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ผลจากการเคารพในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ 3.นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่า รู้สิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.สาระสำคัญ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในการกระทำสิ่งใดก็ตามตราบใดที่การกระทำนั้นไม่ละเมิดสิทธิ เสรีภาพของตนเองผู้อื่น ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ ส่วนรวมหรือขัดต่อศีลธรรมชาวไทยทุกคนจะต้อง เคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 6.สาระการเรียนรู้ • บทบาทหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ โดยเน้นจิตสาธารณะ เช่น เคารพ กติกาสังคม ปฏิบัติตน ตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทาง สังคม อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์ • วิธีปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น • ผลที่ได้จากการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ วิธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) 1.ให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์หัวข้อข่าวต่อไปนี้ว่า เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด -ประชาชนรวมกลุ่มกันจำนวนมากปิดถนนเพื่อประท้วงการบริหารงานของรัฐบาล -วัยรุ่นนิยมใช้โทรศัพท์มือถือถ่ายภาพผู้หญิงก้าวขึ้นสะพานลอย -ส.ส.คนดังกล่าวขอโทษเพื่อนส.ส.ที่ตนนำเรื่องความลับภายในครอบครัวของเพื่อนมาพูดในที่ สาธารณะ 2.โดยครูเฉลยคำตอบและอธิบายความรู้เพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่าการกระทำของบุคคลใน ข่าวที่เป็นการกระทำที่ไม่เหมาะสมเพราะเป็นการแสดงถึงการไม่เคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น 3.แล้วครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นถึงความสำคัญของการเคารพสิทธิและเสรีภาพของ ตนเองและผู้อื่น ขั้นสอน 4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 7 คน5 กลุ่มตามความสมัครใจให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ศึกษาความรู้