แผนการจัดการเรียนรู้ที่53 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมือง ส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่12 วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง ความคล้ายคลึงและความแตกต่าง ระหว่างวัฒนธรรมไทย กับวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและ ธำรง รักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส2.1/ม1.3อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของวัฒนธรรมประเทศเพื่อนบ้านได้ 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความ คล้ายคลึงและความ แตกต่างของวัฒนธรรมได้ 3.นักเรียนเห็นคุณค่าของการ ศึกษาความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรม 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน
4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ วัฒนธรรมถือเป็นแบบแผนการดำเนินชีวิตอันดีงามที่แต่ละชนชาติได้สรรค์สร้างขึ้นประเทศ ไทยเองเป็นประเทศหนึ่งที่มีวัฒนธรรมประจำชาติที่เป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นและเป็นวัฒนธรรมที่ ผ่านการสร้างสรรค์และปรับปรุงมาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ลักษณะของ วัฒนธรรมไทยมีทั้งส่วนที่เหมือนและแตกต่างจากวัฒนธรรมของประเทศ เพื่อนบ้าน ด้วยเหตุนี้ การ เรียนรู้ทำความเข้าใจวัฒนธรรมของตนเองและประเทศเพื่อนบ้าน จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อประโยชน์ใน การนำวัฒนธรรมไปใช้ในทางเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และช่วยป้องกันการกระทำที่อาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันได้ 6.สาระการเรียนรู้ ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.ให้นักเรียนดูภาพวัดไชยวัฒนารามจังหวัดพระนครศรีอยุธยาประเทศไทย และภาพปราสาท หินนครวัด ประเทศกัมพูชา 2.ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นใน ประเด็นความคล้ายคลึงและความแตกต่าง ตลอดจนที่มาของสถานที่สำคัญของทั้งสอง ภาพ โดยครูแนะนำเพิ่มเติม ขั้นสอน 3.ซักถามนักเรียนถึงความเข้าใจเบื้องต้นในวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียน 4.ให้นักเรียนบอกถึงความประทับใจในวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านหรือประเทศใน ภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
5.ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่าง วัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากหนังสือเรียน สังคมศึกษาฯ ม.1 และแหล่งสืบค้นข้อมูล 6.สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนำข้อมูลที่ตนได้จาก การรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรู้ ระหว่างกัน ช่วยกันคัดเลือกข้อมูลที่นำเสนอเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องนักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทน นำเสนอข้อมูลและอภิปรายร่วมกัน 7.ให้นักเรียนทำแผนผังความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่าง วัฒนธรรมไทยกับ วัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชีย - ตะวันออกเฉียงใต้ ในประเด็นต่างๆ 8.โดยสุ่มตัวแทนกลุ่มแต่ละกลุ่ม เพื่อออก มาสรุปสาระสำคัญของการอภิปรายเรื่อง ความ คล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่าง วัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ขั้นสรุป 9.ครูอธิบายเพิ่มเติมในส่วนที่นักเรียนไม่เข้าใจ และร่วมกันสรุปองค์ความรู้ 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร pptความคล้ายคลึงและความแตกต่าง ระหว่างวัฒนธรรมไทย กับวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3.อินเทอร์เน็ต ภาระ/ชิ้นงาน 1.ใบงาน
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่54 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมือง ส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่12 วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่องวัฒนธรรมกับปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์อันดี เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและ ธำรง รักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส2.1/ม1.3อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของวัฒนธรรมประเทศเพื่อนบ้านได้ 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความ คล้ายคลึงและความ แตกต่างของวัฒนธรรมได้ 3.นักเรียนเห็นคุณค่าของการ ศึกษาความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรม 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ วัฒนธรรมถือเป็นแบบแผนการดำเนินชีวิตอันดีงามที่แต่ละชนชาติได้สรรค์สร้างขึ้นประเทศ ไทยเองเป็นประเทศหนึ่งที่มีวัฒนธรรมประจำชาติที่เป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นและเป็นวัฒนธรรมที่ ผ่านการสร้างสรรค์และปรับปรุงมาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ลักษณะของ วัฒนธรรมไทยมีทั้งส่วนที่เหมือนและแตกต่างจากวัฒนธรรมของประเทศ เพื่อนบ้าน ด้วยเหตุนี้ การ เรียนรู้ทำความเข้าใจวัฒนธรรมของตนเองและประเทศเพื่อนบ้าน จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อประโยชน์ใน การนำวัฒนธรรมไปใช้ในทางเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และช่วยป้องกันการกระทำที่อาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันได้ 6.สาระการเรียนรู้ ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.นำคลิปการแสดงหรือข่าวที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมมาให้นักเรียนดูจากนั้น ร่วมกันอภิปราย 2.ตั้งคำาถามให้นักเรียนร่วมกันตอบในความรู้ เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่ได้ศึกษาไปแล้ว ขั้นสอน 3.โดยตั้งคำถามให้นักเรียนร่วมกันตอบในความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่ได้ศึกษาไปแล้ว 4.นักเรียนน่าข้อมูลที่ตนได้จากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน 5.ให้นักเรียนที่เคยมีประสบการณ์พบเห็นเหตุการณ์เกี่ยวกับความเข้าใจผิดต่อกันอัน เนื่องมาจากปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม ออกมา เล่าประสบการณ์หน้าชั้นเรียน และเปิดโอกาส ให้ นักเรียนซักถาม 6.โดยให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ถึงแนวทางการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในการอยู่ร่วมกัน ของกลุ่มหรือชนชาติที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพิ่มเติม
ขั้นสรุป 7.สุ่มถามนักเรียนถึงการมีส่วนร่วมในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยและ วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน ในความคิดของนักเรียนผ่านการตอบคำถาม 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. วัฒนธรรมกับปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์อันดี 3.อินเทอร์เนต
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่55 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 วิชาหน้าที่พลเมือง ส21201 หน่วยการเรียนรู้ที่12 วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่องวัฒนธรรมกับปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์อันดี เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาววรัญญา พาลี วันที่ เดือน พ.ศ โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและ ธำรง รักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส2.1/ม1.3อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของวัฒนธรรมประเทศเพื่อนบ้านได้ 2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความ คล้ายคลึงและความ แตกต่างของวัฒนธรรมได้ 3.นักเรียนเห็นคุณค่าของการ ศึกษาความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรม 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน
4.สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.สาระสำคัญ วัฒนธรรมถือเป็นแบบแผนการดำเนินชีวิตอันดีงามที่แต่ละชนชาติได้สรรค์สร้างขึ้นประเทศ ไทยเองเป็นประเทศหนึ่งที่มีวัฒนธรรมประจำชาติที่เป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นและเป็นวัฒนธรรมที่ ผ่านการสร้างสรรค์และปรับปรุงมาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ลักษณะของ วัฒนธรรมไทยมีทั้งส่วนที่เหมือนและแตกต่างจากวัฒนธรรมของประเทศ เพื่อนบ้าน ด้วยเหตุนี้ การ เรียนรู้ทำความเข้าใจวัฒนธรรมของตนเองและประเทศเพื่อนบ้าน จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อประโยชน์ใน การนำวัฒนธรรมไปใช้ในทางเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และช่วยป้องกันการกระทำที่อาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันได้ 6.สาระการเรียนรู้ ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ 7.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1.นำคลิปการแสดงหรือข่าวที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมมาให้นักเรียนดูจากนั้น ร่วมกันอภิปราย 2.ตั้งคำาถามให้นักเรียนร่วมกันตอบในความรู้ เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่ได้ศึกษาไปแล้ว ขั้นสอน 3.โดยตั้งคำถามให้นักเรียนร่วมกันตอบในความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่ได้ศึกษาไปแล้ว 4.นักเรียนน่าข้อมูลที่ตนได้จากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน 5.ให้นักเรียนที่เคยมีประสบการณ์พบเห็นเหตุการณ์เกี่ยวกับความเข้าใจผิดต่อกันอัน เนื่องมาจากปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม ออกมา เล่าประสบการณ์หน้าชั้นเรียน และเปิดโอกาส ให้ นักเรียนซักถาม
6.โดยให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ถึงแนวทางการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในการอยู่ร่วมกัน ของกลุ่มหรือชนชาติที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพิ่มเติม ต่อจากชั่วโมงที่แล้ว 7.นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเสริมสาระ ที่เกี่ยวข้องกับสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ หรืออาเซียน 8.โดยให้นักเรียนทำใบงานหน้าที่พลเมือง,และทำแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ ขั้นสรุป 9.ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลจากการทำใบงานและแบบทดสอบ และอธิบายเพิ่มเติม 8.สื่อ/เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษาฯ 2.เอกสาร ppt. วัฒนธรรมกับปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์อันดี 3.อินเทอร์เน็ต
9.กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงการ เรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมิน 1.ทักษะ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน -เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 2.ความรู้ การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม ประเมินผลงาน -เกณฑ์การการผ่านร้อยละ60 ขึ้นไป 3.คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ -รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ -ใฝ่เรียนรู้ -มุ่งมั่นในการทำงาน -แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน -ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป 4.สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน -ความสามารถในการ สื่อสาร -ความสามารถในการคิด -ความสามรถในการใช้ ทักษะชีวิต -แบบประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน -ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ คุณภาพพอใช้ขึ้นไป