The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-07-19 08:32:13

ปรัชญาเบื้องต้น

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Keywords: ปรัชญา,ศาสนา

ปรชั ญาเบอ้ื งตน
(Introduction to Philosophy)

พระวิสิทธ์ิ ฐิตวสิ ิทโฺ ธ (วงคใ ส), ดร.

มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตเชยี งใหม
Mahachulalongkornrajavidyalaya University,
Chiang Mai Campus

ชื่อหนังสอื : ปรัชญาเบื้องตน (Introduction to Philosophy)
จดั พมิ พโดย : พระวิสทิ ธิ์ ฐติ วสิ ิทโฺ ธ (วงคใส), ดร.
ขอมูลทางบรรณนกุ รมของสํานักหอสมุดแหงชาติ
พมิ พค รงั้ ท่ี ๑. – เลย : สงั สุขสมการพมิ พ, ๒๕๖๑. ๒๙๑ หนา.
ISBN : 978-616-47-8312-6
สงวนลิขสิทธ์ิตามพระราชบญั ญัตกิ ารพมิ พ
พิมพคร้งั ท่ี ๑ : ๒๕๖๑ จํานวน ๕๐๐ เลม
ผูทรงคุณวฒุ ิกลั่นกรอง (Peer Reviews)

๑. รศ.,ดร. บุณย นิลเกษ
พธ.บ.(ปรัชญา-ศาสนา), M.A.(Philosophy), Ph.D.(Buddhist Studies)

๒. รศ.,ดร. วโิ รจน อินทนนท
พธ.บ.(ศาสนา), M.A.(Philosophy), Ph.D.(Philosophy)

๓. รศ.,ดร. ปรตุ ม บุญศรีตนั
ศษ.บ.(ภาษาไทย), อ.ม.(จริยศาสตรศกึ ษา), พธ.ด.(พระพทุ ธศาสนา)

๔. พระครูประวิตรวรานุยุต, ผศ., ดร.
พธ.บ.(ศาสนา), M.A.(Philosophy), M.Phil.( Philosophy),
Ph.D.(Pali & Buddhism)

๕. ผศ.,ดร. สมหวัง แกวสฟุ อง
ป.ธ.๙, พธ.บ.(ปรชั ญา), M.A.(Philosophy), Ph.D.( Philosophy)

๖. ผศ.,ดร. เทพประวณิ จนั ทรแรง
พธ.บ.(ศาสนา), ศศ.บ.(ไทยคดีศึกษา), M.A. (Buddhist Studies)
Ph.D.(Pali & Buddhism)

๗. ผศ., ดร. พนู ชยั ปนธิยะ
พธ.บ.(ศาสนา), ศศ.ม.(ปรชั ญา), Ph.D.(Buddhist Studies)

พมิ พท่ี : โรงพิมพสงั สุขสมการพิมพ
๓๑๓ หมทู ี่ ๑๑ ตําบลศรีสองรกั อาํ เภอเมือง จังหวดั เลย ๔๒๑๐๐
โทร. ๐๘๓๑๔๔๔๗๑๓
E-mail : [email protected]



คาํ นาํ

หนังสือเลมน้ีไดพัฒนาขึ้นเพ่ือสนับสนุนอาจารยของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม ท่ีมีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใชประกอบการเรียนการสอน
ประจําวิทยาลัยเขตเชียงใหม และเพ่ือสนองตอนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม ดงั น้ันเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเลมน้ีจึงจึงผลิตข้ึนตามคําอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบ้ืองตน โดยไดแยกออกเปน ๑๐ บท
ดวยกันในแตละบทจะประกอบไปดว ย เนื้อหาตาง ๆ ดังน้ี บทท่ี ๑ ความรูเบื้องตนเก่ียวกับปรัชญา
บทที่ ๒ ความสัมพันธระหวางปรัชญากับศาสตรตาง ๆ บทท่ี ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทท่ี ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทท่ี ๘
จริยศาสตร บทที่ ๙ สุนทรยี ศาสตร และบทที่ ๑๐ ปรัชญารวมสมยั

หวังวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนกับคณาจารย นิสิต ผูสนใจทั่วไป และผูเก่ียวของตาม
วัตถปุ ระสงคท จ่ี ะพัฒนาคณาจารยใ นการผลติ ตาํ ราในครั้งนี้

พระวิสทิ ธิ์ ฐิตวิสิทฺโธ (วงคใ ส)

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
วทิ ยาเขตเชยี งใหม

ข หนา

สารบญั ก

เรือ่ ง ๑

คํานํา ๑
สารบัญ ๒

บทท่ี ๑ ความรูเบอื้ งตน เกย่ี วกับปรชั ญา ๔
๑๑
ความนาํ ๑๒
๑. ความหมายของคาํ ศัพทและคําจํากัดความ ๑๔
๒. ปรัชญาเกิดข้นึ ไดอ ยางไร ๑๗
๓. วิวฒั นาการแหง ปรชั ญา ๒๓
๔. ความจําเปน ของการศึกษาวิชาปรัชญา ๒๕
๕. ขอบเขตการศึกษาวชิ าปรัชญา ๒๗
๖. ลักษณะของปรัชญา ๒๙
๗. ปญ หาสาํ คัญทางปรชั ญา
๘. ประโยชนของหนาท่ีวชิ าปรัชญา ๒๙
สรปุ ทา ยบท ๓๐
เอกสารอา งองิ ประจําบท ๓๑
๓๒
บทที่ ๒ ความสัมพันธร ะหวางปรชั ญากบั ศาสตรต า งๆ ๓๔
๓๔
ความนาํ ๓๖
๑. ปรัชญาและนกั ปรัชญา ๓๙
๒. ปรัชญากับศาสนา ๔๐
๓. ปรัชญากับพระพทุ ธศาสนา ๔๐
๔. ปรชั ญากับสงั คมศาสตร ๔๑
๕. ปรชั ญากับจิตวทิ ยา
๖. ปรชั ญากับวิทยาศาสตร
๗. ปรัชญากับกวีนิพนธ
๘. ญาณวิทยากบั ตรรกศาสตร
๙. อภปิ รชั ญากบั ตรรกศาสตร
๑๐. จติ วทิ ยา ญาณวทิ ยา และอภปิ รชั ญา มีความสัมพันธก นั อยางไร

ค หนา

เรือ่ ง ๔๒
๔๔
๑๑. ปรัชญากบั เทววทิ ยา ๔๖
สรุปทายบท ๔๗
เอกสารอางอิงประจาํ บท
๔๗
บทที่ ๓ ปรัชญาตะวนั ออก ๔๘
๔๘
ความนํา ๔๘
๑. ปรัชญาอินเดยี ๔๙
๙๙
๑.๑ การแบง ยคุ ของปรชั ญาอินเดยี ๙๙
๑.๒ การแบง สายของปรัชญาอนิ เดีย ๑๐๐
๑.๓ ปรัชญาอินเดียสายอาสติกะ ๑๐๒
๒. ปรชั ญาจีน ๑๐๓
๒.๑ ปรัชญาเตา ๑๐๕
๒.๒ ปรชั ญาขงจ้ือ
สรุปทา ยบท ๑๐๕
เอกสารอา งองิ ประจาํ บท ๑๐๖
๑๑๐
บทท่ี ๔ ปรชั ญาตะวันตก ๑๑๐
๑๑๐
ความนาํ ๑๑๐
๑. ฐานความเชื่อของชาวตะวันตก ๑๑๑
๒. ปรัชญาตะวันตกยุคเรม่ิ ตน ๑๑๒
๑๑๔
๒.๑ ปรชั ญาของธาเลส ๑๑๕
๒.๒ ปรชั ญาของอานักซมิ านเดอร ๑๑๕
๒.๓ ปรัชญาอนกั ซิเมเนส ๑๑๖
๒.๔ ปรชั ญาของพิธากอรัส
๒.๕ ปรัชญาของเฮราคลิตุส
๒.๖ ปรชั ญาของเซโนฟาเนส
๒.๗ ปรชั ญาของปารเมนิเดส
๒.๘ ปรชั ญาของเซโน
๒.๙ ปรัชญาของเอมเปโคเคลส

ง หนา

เร่ือง ๑๑๗
๑๑๘
๒.๑๐ ปรัชญาของอานกั ซากอรัส ๑๒๐
๒.๑๑ ปรชั ญาของเดมอคริตุส ๑๒๐
๓. ปรัชญาตะวนั ตกยคุ รุงเรือง ๑๒๒
๓.๑ ปรัชญาของโสคราตสิ ๑๒๗
๓.๒ ปรชั ญาของเพลโต ๑๓๘
๓.๓ ปรัชญาของอริสโตเตลิ ๑๓๙
๔. ปรชั ญาตะวนั ตกยุคเสื่อม ๑๔๑
๔.๑ ปรชั ญาสุขนิยมของเอปค ควิ รัส ๑๔๖
๔.๒ ปรชั ญาสาํ นกั สโตอิค ๑๔๘
๔.๓ ปรัชญาวมิ ตินยิ มและสงั คหนิยม ๑๕๔
๔.๔ ปรชั ญาเพลโตใหม ๑๕๖
สรปุ ทายบท ๑๕๗
เอกสารอางองิ ประจาํ บท
๑๕๗
บทที่ ๕ อภิปรชั ญา ๑๕๙
๑๖๐
ความนํา ๑๖๐
๑. ความสําคัญของอภิปรัชญา (Metaphysics) ๑๖๓
๒. ประวตั ิและความหมายของอภปิ รชั ญา ๑๖๓
๓. อภปิ รัชญากับวิทยาศาสตร ๑๖๔
๔. ปญหาสาํ คัญของอภปิ รัชญา ๑๖๔
๑๖๕
๔.๑ สภาพทีป่ รากฏกับสภาพทเ่ี ปนจริง ๑๖๘
๔.๒ สภาพทป่ี รากฏไมจ ําเปน ตอ งตรงกบั สภาพทเ่ี ปนจริง ๑๗๔
๔.๓ มนุษยใชสติปญญาแยกความเปนจรงิ ออกจากสภาพท่ีปรากฏ ๑๗๖
๔.๔ วญิ ญาณมีอยจู ริงหรอื ไม ๑๘๓
๔.๕ นอกจากสสารแลว ยงั มีส่ิงอื่นอีกหรือไม ๑๘๔
๔.๖ ปญ หาเรื่องพระเจา
๔.๗ ปรชั ญาจติ
สรุปทายบท
เอกสารอางอิงประจําบท

จ หนา

เร่ือง ๑๘๕
บทท่ี ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏคี วามรู
๑๘๕
ความนาํ ๑๘๗
๑. ปญ หาเรอื่ งบอเกดิ ของความรู ๑๘๗
๑๙๒
๑.๑ ลัทธเิ หตุผลนิยม (Rationalism) ๒๐๓
๑.๒ ลทั ธิประจักษนิยม หรอื ประสบการณนยิ ม (Empiricism) ๒๐๔
๒. ปญหาเรื่องธรรมชาตคิ วามรู – สิง่ ท่เี รารูคืออะไร ๒๐๗
๒.๑ ลัทธิจติ นยิ มแบบอตั นัย ๒๑๕
๒.๒ ลทั ธิสัจนิยม ๒๑๗
สรปุ ทา ยบท
เอกสารอา งองิ ประจาํ บท ๒๑๙

บทที่ ๗ ตรรกวทิ ยา ๒๑๙
๒๒๐
ความนํา ๒๒๐
๑. ความหมายและขอบขา ยของตรรกวทิ ยา ๒๒๐
๒๒๑
๑.๑ ความหมายของตรรกวิทยา ๒๓๐
๑.๒ ขอบขา ยของตรรกวทิ ยา ๒๓๑
๒. การอา งเหตุผลแบบนิรนยั (Deductive Reasoning) ๒๓๑
๓. การอา งเหตผุ ลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) ๒๓๒
๓.๑ การอุปนยั แสวงหาความจริงท่วั ไป ๒๓๔
๓.๒ วธิ อี ุปนยั เปนการสรุปเกินขอ อา ง ๒๓๕
๓.๓ ความนาเชอ่ื ถือของวธิ อี ปุ นยั ๒๓๕
๓.๔ ความเช่ือพ้ืนฐานของวธิ อี ุปนยั ๒๓๖
๔. เหตผุ ลวบิ ตั ิ (Fallacy) ๒๓๖
๔.๑ การใชภาษาอยา งไมรดั กุมในการอา งเหตุผล ๒๓๗
๔.๒ สงิ่ ทีน่ าํ มาอา งเปนเหตุผลบกพรอง ๒๓๘
๔.๓ วธิ ีการอางเหตผุ ลไมถกู ตอง ๒๓๙
๔.๔ การอา งสิง่ ทไี่ มใชเ หตผุ ลมาเปน เหตผุ ล
สรปุ ทา ยบท
เอกสารอา งองิ ประจาํ บท



เร่ือง หนา

บทท่ี ๘ จรยิ ศาสตร ๒๔๑

ความนาํ ๒๔๑
๑. ความหมายของจรยิ ศาสตร ๒๔๒
๒. ขอบเขตเน้ือหาของจรยิ ศาสตร ๒๔๓
๓. จริยศาสตรศ ึกษาเร่ืองอะไรบา ง ๒๔๓
๔. ประโยชนของการศึกษาวิชาจริยศาสตร ๒๔๕
๕. ความคิดของนกั จริยศาสตรท างดานอภิจริยศาสตร ๒๔๕
๖. แนวความคดิ ของนักจริยศาสตรเ กี่ยวกับอุดมคติชวี ติ ๒๔๗
๗. แนวความคิดเกี่ยวกับเกณฑต ดั สนิ คณุ คา ทางจรยิ ของนักปรชั ญาคนสําคัญบางคน ๒๕๓
สรุปทา ยบท ๒๕๙
เอกสารอา งองิ ประจาํ บท
๒๖๐
บทที่ ๙ สนุ ทรยี ศาสตร
๒๖๑
ความนาํ
๑. ความหมายและขอบขายของสุนทรียศาสตร ๒๖๑
๒. ความงามคืออะไร ๒๖๒
๓. ความงามมอี ยูจริงหรือไม ๒๖๓
๒๖๓
๓.๑ ลัทธอิ ัตวสิ ัย (Subjectivism) ๒๖๓
๓.๒ ลัทธิวตั ถุวิสัย ( Objectivism) ๒๖๕
๔. ศลิ ปะคืออะไร ๒๖๗
๔.๑ ศิลปะ คือการเลียนแบบธรรมชาติ ๒๖๙
๔.๒ ศลิ ปะ คอื การแสดงออก ๒๖๙
๔.๓ ศิลปะ คอื รปู แบบทม่ี ีนยั สาํ คญั ๒๖๙
๔.๔ ศลิ ปะ คอื อุปกรณใหเ กดิ ความพึงพอ ๒๗๐
๔.๕ ศิลปะ คือทางเขา ถงึ ความจรงิ ๒๗๐
๔.๖ ศิลปะ คอื ภาษา ๒๗๐
๔.๗ ศิลปะ คอื ทางแหงการพัฒนาศีลธรรม ๒๗๐
๕. อะไรเปนแรงจงู ใจใหเกิดผลงานทางศลิ ปะ ๒๗๑
๕.๑ ความตองการแสดงออก ๒๗๑

ช หนา

เรอื่ ง ๒๗๑
๒๗๑
๕.๒ การรบั รขู องสังคม ๒๗๑
๕.๓ การคลายความเครยี ดทางอารมณ ๒๗๒
๕.๔ การเลน ๒๗๒
๕.๕ การเกิดขึ้นของมโนภาพ ๒๗๒
๖. ประเภทของศิลปะ ๒๗๓
๖.๑ วิจิตรศิลป (Fine Art) ๒๗๔
๖.๒ ประยุกตศ ิลป ( Applied Art ๒๗๕
สรปุ ทา ยบท ๒๗๗
เอกสารอา งองิ ประจาํ บท
๒๗๗
บทท่ี ๑๐ ปรัชญารว มสมยั
๒๗๘
ความนาํ ๒๗๙
๑. ลักษณะทว่ั ไปของอัตถิภาวนยิ ม ๒๘๐
๒. โซเรน เคยี รเกการด (Soren Kierkegaard) ๒๘๒
๓. ไฟรดร ชิ นที เช (Friedrich Nitzsche) ๒๘๒
๔. ดารล แจสเปอรส (Karl jaspers) ๒๘๓
๕. มารต ิน ไฮเดกเกอร (Martin Heidogger) ๒๘๔
๖. กาเบรยี ล มารเ ชล (Gabriel Marcel) ๒๘๔
๗. ชัง ปอล ชารต (Jean Paul Sartre) ๒๘๖
๘. ปฏิฐานนยิ มทางตรรกวทิ ยา ๒๘๗
สรปุ ทา ยบท
เอกสารอา งองิ ประจาํ บท ๒๘๙

บรรณานุกรม

บทท่ี ๑
ความรเู บื้องตน เกย่ี วกบั ปรัชญา

ความนาํ

ปรัชญา ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลวา วิชาวาดวยหลักแหงความรูและ
หลักแหงความจรงิ โดยในบรรดาความรทู ้ังหลายของมนุษยชาตินั้น อาจแบง ไดเ ปน สองเรื่องใหญ ๆ

เร่ืองที่หน่ึง คอื เร่ืองเกีย่ วกับธรรมชาติ เชน ฟสิกส มีเปาหมายในการศกึ ษาเพื่อหาความจริง
ตา ง ๆ และเขาใจในธรรมชาติมากกวาส่ิงรอบตัวเพราะรวมไปถงึ จักรวาลทงั้ หมดอยางลึกซึ้ง ชีววิทยา
มีเปาหมายในการศึกษาเก่ียวกับสิ่งท่ีมีชีวิตทั้งหลาย เคมี มีเปาหมายในการศึกษาเกี่ยวกับธาตุและ
องคประกอบของธาตุ เปนตน นับแตสมัยกรีกโบราณมาจนถึงศตวรรษท่ี 19 การศึกษาวิชาดารา
ศาสตร การแพทย และฟสิกส เคยถูกรวมอยูสาขาปรัชญาธรรมชาติ (Natural philosophy)
จนกระท่ังการเติบโตของมหาวิทยาลัยสมัยใหม สงผลใหนักวิชาการหันไปพัฒนาศาสตรเฉพาะทาง
ขนึ้ มา

เร่ืองทสี่ อง คอื เรือ่ งเกี่ยวกับสงั คม เชน เศรษฐศาสตร มีเปาหมายในการศึกษาเก่ียวกบั ระบบ
เศรษฐกิจของสงั คม รัฐศาสตร มเี ปาหมายในการศกึ ษาเกยี่ วกบั ระบบการเมืองการปกครองของสังคม
นติ ศิ าสตร มเี ปาหมายในการศกึ ษาเกย่ี วกับระบบกฎหมายของสังคม เปนตน

เปาหมายในการศกึ ษาของปรัชญา คอื การครอบคลุมความรูและความจริงในทุกศาสตรและ
ในทุกสาขาความรูของมนุษย รวมทั้งชีวิตประจําวันของตนดวย ผลจากการศึกษาของปรัชญาก็
สามารถนําไปใชอางอิงได ผูท่ีมีความรู อุทิศตนเพื่อการศึกษาและการผลิตองคความรูในทางดานน้ี
เรยี กกนั วา นกั ปรัชญา ปราชญ หรอื นกั ปราชญ



๑. ความหมายของคาํ ศัพทและคาํ จาํ กัดความ

คําวาปรัชญาตามรูปศพั ทเปน คาํ มาจากคําในภาษาสนั สกฤต ๒ คํา คอื “ปร” กบั “ชญา” ปร
แปลวา ประเสรฐิ ดีเลิศวิเศษชญาแปลวาความรูดงั น้ันเม่อื รวม ปร และ ชญา (ปร+ชญา) เขากันจึงเปน
ปรัชญาแปลวา ความรอู นั ประเสริฐซงึ่ หมายถึงความรูทีเ่ กดิ ขึ้นหลังจากส้นิ ความสงสยั แลว

ปรัชญาน้นั ตรงกบั คําในภาษาไทยของเราวา ปญญา ปรชั ญาน้ีพจนานกุ รมไทยใหความหมาย
ไววา ความรอบรู ความรูท่ัว ความฉลาดเกนิ แตการเรียนและคิด สวนคําวาปรัชญา พจนานุกรมไทย
ใหความหมายไวว า วิชาวา ดว ยหลกั แหงความรแู ละความจรงิ

ปรัชญา ในภาษาองั กฤษใชค าํ วา Philosophy ซง่ึ ความหมายของคําท้ังสองคาํ นี้ไมตรงกันเลย
ทีเดยี วเพราะคําวา Philosophy มาจากคําในภาษากรีก ๒ คําคือ Philo (Love) แปลวา ความรัก
และ sophia (wisdom) แปลวา ความรู เมอื่ รวม Philo กับ sophia (Philo+Sophia)เขา ดว ยกนั จึง
เปน Philosophy= love of wisdom แปลวา ความรักในความรู ความรกั ในปญญา๑

จะอยางไรก็ตาม ปรัชญานี้ไดพูดถึงเฉพาะเร่ืองความรูเพียงอยางเดียวเทาน้ันแตปรัชญามี
ขอบเขตกวา งขวางมากและครอบคลุมเรื่องราวตางๆ ไวอยา งมากมาย จนกระทั่งปรัชญาเมธีไมคอยจะ
นยิ าม ความหมายวา ปรัชญาคืออะไร เพราะตระหนักดีกวา ไมสามารถใหความหมายของ ปรัชญา ท่ี
สามารถควบคุมเนอ้ื หาของปรัชญาดว ยคําสั้นๆได แมกระนั้นก็ตาม เมื่อจําเปนตอ งหาคํานิยามหรือคํา
จํากัดความของคาํ วาปรัชญา หรือ Philosophy นักปรัชญาแตละคนก็ใหคํานิยามไปตางๆกัน ตาม
แนวความคิดและความเช่ือถือของตน จึงขอยกเอาคาํ นิยามปรัชญาของนักปราชญที่มีชื่อเสียงของโลก
มาใหพิจารณา ดงั น้ี

Socrates ปรัชญาคอื ความรกั เปน ความรู
Kant ปรัชญาคอื ศาสตรแหงความรแู ละการพิจารณาความรู
Auguste Comte ปรชั ญาคือ ศาสตรของศาสตรทัง้ หลาย
Piato ปรชั ญามงุ จะรสู ่ิงนริ นั ดรแ ละธรรมชาติแทจริงของสง่ิ ทงั้ หลาย
Aristotie ปรัชญาคือ ศาสตรท่ีสืบคนถึงธรรมชาติของสิ่งที่มีอยูโดยตัวเอง ตลอดจน
คุณลกั ษณะตามธรรมชาตขิ องส่งิ น้นั
Fichte ปรชั ญาคอื ศาสตรแหง ความรู
Spencer ปรัชญานน้ั วา ดว ยทกุ สิ่งทกุ อยา งในฐานะที่เปนศาสตรสากล
John Lewis ปรชั ญาคอื จาํ นวนทัง้ หมดแหง ความเชือ่ ถอื ของตัวเขาเอง
Ducasses ปรัชญาคือ ทฤษฎเี ชิงวิจารณท ั่ว ๆ ไป

๑ ทองหลอ วงษธ รรมา, รศ., ดร., ปรชั ญาทวั่ ไป, (กรงุ เทพฯ : สํานกั พมิ พโ อเดียนสโตร, ๒๕๔๙), หนา ๑.



Joseph A. Leighton ปรัชญาก็เหมือนวิทยาศาสตรท่ีประกอบไปดวยทฤษฎีแหงการรู
ท้งั หลายทค่ี นพบวาเปน ผลแหงความคดิ ไตรตรองที่มีระบบ

Winderband ปรชั ญาคือ ศาสตรเ ชงิ วิจารณท ่ีวา ดว ยคุณคา สากล
Brighman ปรัชญาคือ วิถีทางอันสําคัญยิ่งในการเขาถงึ ประสบการณม ากกวาบทสรุปแหง
ประสบการณ
Dewey ปรัชญาแสดงถงึ ความสาํ เร็จแหง ความรูที่มอี ทิ ธิพลตอการปฏิบตั ิตนของมนุษย
Russell ปรัชญาคือ ส่งิ ที่อยทู า มกลางระหวางเทววทิ ยาและวิทยาศาสตร
Bernard Shaw ปรัชญาคือ ขอ สนั นิฐานเหนอื สิง่ ทเี่ ขาไดแสดงออกอยา งเปน กจิ นสิ ยั
Goblot แตละระบบก็มีทัศนะเฉพาะสําหรับนิยาย วิชาปรัชญากําหนดความสัมพันธกับ
วทิ ยาศาสตรแ ละชวี ิต จงึ ไมมหี นทางทจ่ี ะนิยามใหกนิ ความหมายถึงทุกระบบได

๒. ปรชั ญาเกดิ ขน้ึ ไดอยา งไร

เน่ืองจากมนษุ ยตอ งเผชิญหนาตอสภาพแวดลอมเหตกุ ารณแ ละปญหาตางๆ ในชีวิตประจําวนั
ทั้งดา นสังคม เศรษฐกิจ และการเมอื ง ทําใหตองดน้ิ รนหาทางแกไขปญหาเหลานั้น โดยการคนคิดหา
วธิ ีตา งๆมากมายตามแนวความเชอ่ื ประสบการณแ ละความรูของตนเอง จึงทําใหเกิดปญญาขึ้น ซ่ึงเรา
อาจสรุปสาเหตทุ ่ีกอ ใหเ กิดปรชั ญาขน้ึ ไดดังน๒้ี

๑. ความประหลาดใจ(Sense of Wonder) มนุษยยุคหินการตางๆของธรรมชาติใน
ชวี ิตประจาํ วนั เชน ฝนตก ฟา รอ ง ภเู ขาไฟ ระเบิด นํา้ ทว ม เปน ตน ก็เกิดความประหลาดใจ แลวนําไป
ขบคดิ พินิจ พจิ ารณา วา ทาํ ไมสิง่ เหลา น้ีจงึ เกดิ ขนึ้ และเกดิ เปน วิชาปรัชญา กลายเปนปญหา ทตี่ องหา
คาํ ตอบ

๒. ความสงสัย (Sense of Doubt)มนุษยเมื่อไดพบเห็นเหตุการณแ ละปรากฏการณตางๆ
ของธรรมชาติและชีวิตเชน ไฟไหมปา นํ้าทวม แผนดินไหว การเกิด แก เจ็บ ตาย เปนตน แลวเกิด
ความสงสัยวา ทําไมส่ิงเหลานี้จึงเกิดขึ้น ทําใหมนุษยตองนําไปขบคิดพิจารณาหาคําตอบเกี่ยวกับสิ่ง
ตา งๆ เหลาน้ัน จึงทาํ ใหเ กดิ ปญญาข้นึ

๓. การทดลองเชิงวิจารณ (Critical Examination)การทดสอบส่ิงหน่ึงส่ิงใดดวยการ
พิจารณาทบทวน วิพากษวจิ ารณ เทียบเคียง เพอื่ ใหไ ดผลสรปุ หรือคําตอบของสิ่งนนั้ ๆ กลายเปนความ
พยายามคนหาความจริงสงู สุดของสิ่งน้นั ๆ โดยการเขาถึงบทสรุปอยางมีเหตผุ ล แลววางแนวความคดิ
เปน หลักการ จงึ เกดิ ปรัชญาขน้ึ

๒ ศรัณย วงศค ําจันทร, ปรัชญาเบื้องตน, (กรุงเทพฯ : อมรการพมิ พ, ม.ป.ป.), หนา ๑๓-๑๔.



๔. ความใจกวาง(Tolerance) นักปรัชญาตองมีทัศนะที่กวางขวาง พรอมที่จะคบคิด
พิจารณาส่ิงตางๆ และปญหาตางๆ ที่แตกตางกันโดยเปดใจกวางท่ีจะรับฟง รับทราบและพรอมรับ
ปญหาตางๆ แตกตา งกัน อาจจะเปนเหตนุ าํ ไปสกู ารวิจารณและเกิดปรชั ญาข้นึ

๕. การยอมรับคาํ แนะนําทางประสบการณและเหตุผล(Acception of the Guidance
of Experience and Reason) โดยทั่ว ๆ ไปแลวนักปรัชญามักจะคิดตรึกตรองตามประสบการณ
และเหตุผลของตนเองแตจะไมดวนสรุป และเช่ือในประสบการณและเหตุผลของตนเองทันทีนัก
ปรัชญาพรอ มเสมอทจี่ ะรับฟง ประสบการณของผูอน่ื และเขาถงึ เหตุผลน้ันจึงเกิดปรชั ญาข้ึน

๖. ความไมม ีอปุ ทาน(Detachment) นักปรัชญาจะไมม ีความคดิ แบบยึดมั่นถือม่นั ในส่ิงใด
สิง่ หนง่ึ แตจะยอมรับเหตุผลเหนือสิง่ อน่ื ใดเชน การยอมรบั เหตุผลอยเู หนืออารมณ

๗. ความเพียรพยายามไมลดละ(Persistence) นักปรัชญาเมื่อยังไมไดรับขอสรุปหรือ
คาํ ตอบท่ีนาพอใจจะพยายามแสวงหาคนควาหาคาํ ตอบหรอื ขอ สรปุ ทีน่ าพอใจจนกวา ชวี ิตจะหาไม

๘. ความไมดวนสรุป(Absence of Hurry in Arriving at the Conclusions)นัก
ปรัชญาจะไมดวนสรุปอยางงายๆนอกจากจะมีขอพิสูจนที่แนนอนเสียกอนเขาจะไมก ังวลเร่ืองเวลาวา
เรว็ หรอื ชาในการกระทาํ ท่จี ะนาํ แนวความคิดและขอ พสิ จู นของตนไปสูระบบปรัชญา

๓. ววิ ัฒนาการแหง ปรชั ญา

วิชาปรัชญาน้ันไดเกิดขึน้ พรอมกับมนุษยและวิวัฒนาการควบคมุ กันมากับมนุษยเรากลาวคือ
มนุษยรูจักคิดต้งั แตย ุคแรกจากการคดิ น้ันกก็ อใหเกิดปญ หาเปนปรัชญาเม่ือมนุษยมีวิวัฒนาการเจริญ
มาเรื่อยๆความคิดและปญหาของมนุษยก็วิวัฒนาการเจริญขึ้นเปนลําดับควบคูกันมาจนปรากฏใหเรา
เห็นไดศึกษากันอยูในปจจุบันและจะตองวิวัฒนาการตอไปในอนาคตซึ่งอาจจะเปนไปในทางท่ีเจริญ
หรอื เสอื่ มกไ็ ด

มนุษยเราแตละยุคแตละสมัยยอมมีแนวความคิดและจุดสนใจแตกตางกันทั้งนี้กเ็ พราะมนุษย
อยูภายใตอิทธิพลของสิ่งแวดลอมที่แตกตางกันโดยปกตแิ ลวมนุษยจะคิดอันจะกอให เกิดปญญาข้ึนก็
พอสงิ่ เราหรอื แรงจงู ใจซงึ่ อาจจะมาจากภายนอกหรือเกดิ ข้ึนภายในจิตใจของเราเองทง้ั น้ันถา เราศึกษา
ปรชั ญาตอ ไปแลว เราจะเขา ใจวา ทาํ ไมมนุษยในยุคสมัยน้ันๆจึงคดิ ในเร่ืองราวตางๆเหลานั้นไดโดยปกติ
แลว ถือวาสิง่ แวดลอมมอี ทิ ธพิ ลทส่ี ําคญั ยงิ่



แมวาแนวความคิดของมนุษยอันกอใหเกิดปญญากลายเปนปรัชญานั้นจะมีวิวัฒนาการท่ี
แตกตางกันในแตละยุคแตละสมัยเราสามารถกลาวสรุปไดวาการวิวัฒนาการแหงปรัชญามีอยู ๓ สาย
คือ๓

๑. ปญญาทางศาสนา มนุษยมแี นวความคดิ และความเช่ือถือในดานเทพเจาการบูชายญั การ
ประกอบพิธีกรรมตางๆ ตลอดจนการกําหนดกฎเกณฑตางๆ ทางศีลธรรมจึงกอใหเกิด ลัทธิ ศาสนา
ขึ้น ผลก็คอื ความรทู เี่ กี่ยวขอ งกับพระเจา พิธีกรรมและศาสนา

๒. ปญญาทางปรัชญา มนุษยรูจักคิดและแสวงหาความจริงของธรรมชาติและส่ิงตางๆใน
โลก พยายามคนหาความจริง และอธิบายความจริงของสรรพส่ิงในโลก ดวยวิธีธรรมชาติวิทยาและ
เหตุผลตางๆ จึงเกิดเปนปญญาทางปรัชญาขึ้น ปญญาทางปรัชญาคือความรูตางๆ นอกเหนือจาก
ความรูท างศาสนา พระเจา พิธกี รรม การเกษตรและกสกิ รรม

๓. ปญญาทางวิทยาศาสตร มนุษยรูจักคิดและแสวงหาความจริงของธรรมชาติโดยวิธีการ
ตางๆ เชน รวบรวมขอมูล ประสบการณ เหตุการณและความรูตางๆ แลวสรุปเปนทฤษฎีและนําไปสู
การปฏิบัติ หรือทดลองอนั กอใหเ กดิ ความรูและสิ่งใหมๆ ขนึ้ ผลท่ไี ดรับจากการทดลองและปฏิบัติการ
นนั้ จงึ เปน ปญญาทางวทิ ยาศาสตร

จากทัศนะดังกลาวขางตนอาจนําไปสูขอสรุปที่วา โดยแทจริงแลวเราไมอาจบงชัดลงไปได
อยางแนนอนวา ปรชั ญาตริตรองในปญ หาใดกนั แน เราสามารถบอกไดชัดเจนวาตัวเลขเปนเน้ือหาของ
วชิ าเลขคณิต ปรากฎการณธ รรมชาตเิ ปนเนอ้ื หาของวชิ าวิทยาศาสตร แตเราไมอ าจกําหนดวาอะไรคอื
เนื้อหาของวิชาปรัชญา ท้ังน้ีเพราะปรัชญาหมายถึง การรักการสงสัย การมองเห็นปญหาท่ียังเปน
ปญหาและการพยายามหาคําตอบท่ีเปนไปไดสําหรับปญหาน้ัน ๆ และปรัชญาก็เร่ิมตั้งแตสมัยมนุษย
ดึกดําบรรพจวบจนทุกวันนี้ ดังน้ันส่ิงท่ีเปนปญหาหรือส่ิงที่มนุษยสงสัยจึงมีอยูมากมายจนไมอาจให
ขอจํากัดลงไปได ขอบเขตของวิชาปรัชญาจึงมีอยูกวางขวางมากและก็มวี วิ ัฒนาการเปนยุคสมัย ท้งั นี้
ในชน้ั แรกเราอาจแบงวิวฒั นาการของปรัชญาของมนษุ ยเ ปนยุคตา ง ๆ ไวด งั น้ี๔

๑. ปรัชญาดึกดําบรรพ (Philosophy of Primitive) หมายถึง ปรัชญาของมนุษยดึกดํา
บรรพ ตั้งแตเม่ือเริ่มมีมนุษยในโลก ซ่ึงนักวิทยาศาสตรเช่ือกันวามนุษยอุบัติข้ึนในโลกไมนอยกวา
๕๐๐,๐๐๐ ปมาแลวถึงแมวาไมอาจบอกไดแนนอนวามนุษยสมยั ดึกดาํ บรรพสงสยั ในปญหาอะไรบาง
แตกค็ าดกนั วามนุษยในสภาพไรอารยธรรมดังกลาวไมวาจะอยูมุมใดของโลก คงมีปญหารว มกันอยาง
หนง่ึ คอื ปญหาเรื่องภัยธรรมชาติ เชนภูเขาไฟระเบิด แผนดินไหว นํ้าทวม เปนตน ปญหาของคนสมยั
นั้นก็คอื ปญ หาท่วี าภยั ธรรมชาตเิ หลา นี้มาจากไหน และจะแกไ ขอยา งไร และคาดวาคาํ ตอบท่ีถูกใจและ

๓ บุญมี แทนแกว, สถาพร มาลีเวชรพงศ และประพัฒน โพธิ์กลางดอน, ปรัชญาเบ้ืองตน (ปรัชญา
๑๐๑), (กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พรน้ิ ต้งิ เฮาส, ๒๕๒๙), หนา ๑๓.

๔ ปานทพิ ย ศภุ นคร, ปรชั ญาเบอื้ งตน, (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง, ๒๕๔๒), หนา ๒-๙.



เปนท่ียอมรับกันก็คือ ภัยธรรมชาติเกิดจากเทพ หรือเทพเปนผูบันดาลใหเกิดภัยธรรมชาติขึ้น ฉะน้ัน
มนุษยจะพนภัยธรรมชาติไดกต็ องเอาใจเทพคอื ทําใหเทพพึงพอใจซ่ึงอาจจะในรูปถวายของบูชาเปน
ตน ปรัชญาท่ีแฝงอยูกับคําตอบดังกลาวก็คือ มนุษยสมัยดึกดําบรรพเช่ือกันวาโลกหรือเอกภพมี
กฏเกณฑท่ีไมแนนอนตายตวั ดังนั้นปรากฎการณธรรมชาติทง้ั หลายจึงเกดิ ขนึ้ ตามนํ้าพระทัยของเทพ
หรอื สดุ แลวแตเทพบันดาลใหเ กดิ ปรากฎการณธ รรมชาติไดข้ึนมาเชน อาจทาํ ใหเกดิ แผนดนิ ไหวเช่ือกัน
วามนษุ ยคงยึดถือปรชั ญาเชนนี้รวมกันเปนเวลากวา ๕๐๐,๐๐๐ ป ซง่ึ ตอ มาวิทยาศาสตรไดใหคาํ ตอบ
เกี่ยวกับปรากฏการณธรรมชาติอีกแนวหนึ่งคือ เอกภพมีกฎเกณฑแนนอนตายตัว ขอสังเกตก็คือ
สําหรับนักวิทยาศาสตรเองเขาเช่ือม่ันแลววาคําตอบน้ีเปนคําตอบที่ถูกตองแนนอน แตสําหรับนัก
ปรัชญาคําตอบของนักวทิ ยาศาสตรเ ปนเพยี งคําตอบหนึ่งท่ีเปนไปไดพอ ๆ กบั คําตอบของมนุษยดึกดํา
บรรพและในอนาคตอาจมีคําตอบที่เปนไปไดท่ีแตกตางจากคําตอบของนักวิทยาศาสตรและคําตอบ
ของมนษุ ยส มัยดกึ ดําบรรพ

บางแหง มนุษยด ึกดาํ บรรพสามารถสรางอารยธรรมไดเ ร็วก็ผลจากสภาพดึกดําบรรพเ ขาสู
สภาพอารยธรรมไดเร็ว เชน ชาวอยี ิปต ชาวเมโสโปเตเมีย ชาวอิสราเอล ชาวอนิ เดีย ชาวจนี ชาวกรกี
อยา งไรก็ตามมนุษยบ างแหงในโลกกย็ ังมสี ภาพไมแ ตกตางจากมนุษยด ึกดาํ บรรพเ ชน เดียวกัน

๒. ปรัชญายุคโบราณหมายถึง ปรัชญาของชนชาติโบราณตาง ๆ นับต้ังแตเริ่มมีหลักฐาน
บันทึกไว

๓. ปรชั ญายุคกลางหมายถงึ ปรชั ญาของมนษุ ยซ ง่ึ อยูในระหวางปค.ศ. ๕๒๙ ถงึ ปค.ศ. ๑๕๐๐
๔. ปรัชญายุคใหมหมายถึง ปรัชญาของมนุษยตั้งแตปค.ศ. ๑๕๐๐ เปนตน มาจนถึงสมัย
ปจจุบันขอสังเกตก็คือโดยเฉพาะตั้งแตปค.ศ. ๑๙๐๐ เปนตน มาชาวตะวันตกและชาวตะวันออกจะ
ศกึ ษาปรัชญาของกันและกันมากขน้ึ จนปรัชญามลี ักษณะผสมผสานหรือมอี ิทธิพลตอกันและกันอยาง
ไมรูต ัว
มนุษยไมวาจะอยูในแหลงอารยธรรมใดของโลกมักจะพัฒนาปรัชญาของตนผานยุคตาง ๆ
ของปรัชญาท้ัง ๔ ยุคดังกลาวขางตน ท้ังนี้จะขอกลาวถึงวิวัฒนาการของปรัชญาหรือประวัติศาสตร
ปรัชญาตามแหลงอารยธรรมของโลกดังตอไปนี้
ปรัชญาตะวันออกใกล (Near-Eastern Philosophy)หมายถึง ปรัชญาของชาวตะวันออก
ใกลหรือแหลงอารยธรรมแถบเปอรเซีย เชน ชาวอียิปต ชาวอิสราเอล ปรัชญาตะวันออกไดมี
ววิ ฒั นาการสืบเนอ่ื งดังตอ ไปน้ี
๑. ปรัชญาดึกดําบรรพ หมายถึง ปรัชญาของมนุษยแถบน้ีกอนเริ่มอารยธรรมโบราณ ซ่ึง
คาดการณวาชาวตะวันออกใกลในยุคดังกลาวกค็ งเหมือนกับมนุษยดกึ ดาํ บรรพค นอนื่ ๆ คือ มีปญหา
เกยี่ วกับเร่ืองภยั ธรรมชาตดิ ังกลาวแลว



๒. ปรัชญายคุ โบราณ หมายถึง ปรัชญาของชาวอียิปต ชาวเมโสโปเตเมีย ชาวอิสราเอล ซ่ึง
อยูในชว งสมัยทีไ่ ดพ ัฒนาอารยธรรมโบราณข้นึ แลว และชาวตะวันออกใกลดงั กลาวสามารถสรางอารย
ธรรมโบราณไดเร็วตัวอยางของปรัชญาชวงน้ีคือ ศาสนาซาลาทูสตรา หรือโซโลอัสเตอร ซึ่งมีทัศนะ
พืน้ ฐานวา พระเจา ผูยง่ิ ใหญ มี ๒ พระองคค อื พระเจาแหง ความดี และพระเจาแหงความชั่ว พระเจา
ทงั้ สององคแ ขง ขันกนั สรางสิ่งดี ๆ ส่ิงเลวขนึ้ มา ดังน้ันสรรพส่ิงจงึ เกิดจากการสรางของพระเจาท้ังสอง
องคไ มว า จะเปน สิง่ ดีหรือสิ่งเลวมนุษยเปนผลงานรวมของพระเจาท้ังสองกลาวคอื วิญญาณมนุษยเปน
สิ่งดี จึงเกิดจากการสรางของพระเจาแหงความดีรางกายเปนส่ิงเลว จึงเกิดจากการสรางของพระเจา
แหง ความเลว มนุษยผปู รารถนาจะหลดุ พนตอ งตดั ใจจากรางกาย

๓. ตง้ั แตค รสิ ตกาลเปน ตนมาปรัชญาตะวนั ออกใกลไดรวมเปนสวนหน่ึงของปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาตะวันออก (Eastern Philosophy)หมายถึง ปรัชญาของชาวตะวันออก ปรัชญา
ตะวันออกท่ีเปนท่ีรับรูและยอมรับกันในระดับโลกเวลานี้มี ๒ สาขาคือ ปรัชญาอินเดีย (Indian
Philosophy ) กบั ปรัชญาจนี (Chinese Philosophy)
ปรัชญาอินเดีย มูลบทของปรัชญาอินเดียสวนมากเช่ือในเร่ืองกฎแหงเหตุและผล กลาวคือ
เปน ความเช่ือทวี่ าผลตองเกิดจากเหตุ ดังน้ัน เหตกุ ารณในธรรมชาติเกดิ ขึ้นเพราะมสี าเหตุ และในทาง
ศีลธรรมเชื่อในเรื่องกฏแหงกรรมในแงที่วา สภาพของบุคคลเปนผลของกรรมเกาที่บุคคลผูน้ันได
กระทําลงไปในอดีตโดยไมมกี ารยกเวน นอกจากนี้ ปรัชญาอนิ เดยี สวนมากเชื่อวากิเลสเปนสาเหตขุ อง
การเวียนวายตายเกิด สาเหตุที่ทําใหมนุษยมีกิเลสก็คืออวิชชาหรืออะวิทยา ซ่ึงหมายถึงความรูท่ีไม
ถูกตอง อนั ทาํ ใหเกดิ เห็นผิดเปนชอบ การเห็นผิดเปนชอบคอื การยึดมั่นหรือผูกพันกบั ส่ิงท่ีปรากฏโดย
ไมส นใจสัจจธรรมอ่ืน ๆ ดังน้นั ผูใ ดทําลายอวิชชาก็สามารถทําลายกิเลสและ บรรลุโมกษะหรือวิโมกข
คือการหลุดพนจากความทุกขในชีวิตและการเวียนวายตายเกิด ซ่ึงพอจะเปรียบเทียบกับการเขาสู
นิพพานของพระพุทธศาสนา ปรชั ญาอนิ เดยี มีวิวฒั นาการเปนยุคดังนี้
๑. ปรัชญาอนิ เดียยุคโบราณ หมายถึง ปรชั ญาตอ ไปนี้ของชาวอินเดยี

๑.๑ ปรัชญาพระเวท พระเวทคือ คัมภีรศักด์ิสิทธ์ิของอินเดียซึ่งมีหลักฐานปรากฏ
ประมาณ ๑๕๐๐ ปก อ นครสิ ตศักราชซึ่งถอื กนั วาเปนจุดเริ่มตนของอารยธรรมอินเดีย คัมภีรประเภทมี
ท้ังหมดดว ยกนั ๔ เลมคือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวช และอถรรพเวท ปรัชญาอินเดยี ทีป่ รากฏในคัมภีร
พระเวทคอื เช่ือในเรอ่ื งพระเจา หรือมีลกั ษณะเปนเทวนิยม (Theism)

๑.๒ ปรัชญามหากาพย หมายถงึ ปรัชญาอนิ เดียที่ปรากฏในมหากาพยสําคัญของ
อินเดียคือมหาภารตะและรามายณะ

มหาภารตะ มหากาพยของอนิ เดียเลมน้ีเชื่อกันวาผูแตงคือ วยาสะ มีเน้ือเร่ืองเกี่ยวถึงพี่นอง
ปาณฑป ๕ คน ที่ตองสูญเสียสมบัติแกทุรโยธนตระกูลเการพ เพราะถูกโกงในการเลนสกา การลบ
ดเุ ดอื ดเกดิ ข้ึนระหวา งตระกลู ทงั้ สองเปน เวลา ๑๘ วันโดยปาณฆป เปนฝายชนะโดยมีพระกฤษณะเปน



ผูชวยบทแทรกท่ีสําคัญในมหาภารตะคือบทภควัทคีตา ซ่ึงจัดเปนหลักปรัชญาอินเดียทสี่ ําคญั อันหน่ึง
คือสอนหลกั จริยศาสตรสาํ คญั คอื การปฎิบตั ิหนา ท่เี พอื่ หนาทีแ่ ละถวายความภักดีตอพระเจา

รามายณะ มหากาพยอินเดยี เลมน้ีคาดวาผูแตงคอื วาลมิกิ มีเน้ือเร่ืองเก่ียวกับพระรามและ
ไดท รกปรชั ญาและคาํ สอนของศาสนาฮินดูไวทว่ั ไป

๒. ปรัชญาอินเดียยุครวมสมัย หรือสมัยสํานักปรัชญาหมายถึง สํานักปรัชญาที่สําคัญของ
อนิ เดีย ๙ สํานักดงั นี้

๒.๑ สํานักปรัชญาที่ไมยอมรับความศักดิ์สิทธ์ิของคัมภีรพระเวทหมายถึง สําหรับ
ปรชั ญา ๓ สํานักคือ จารวาก ไชนะหรือเชน และพุทธปรัชญา

๒.๒ สํานักปรัชญาอินเดียทีย่ อมรับความศักดส์ิ ิทธ์ิของคัมภีรพระเวทคือ ปรัชญา ๖
สาํ นกั ไดแก นยายะ ไวเศษกิ ะ สางขยะ โยคะ มมี างสา และเวทานตะ

ปรชั ญาจีน หมายถงึ ปรัชญาของชาวจนี ซ่ึงมวี วิ ัฒนาการเปนยุคสมยั ดงั น้ี
๑. ปรัชญายุคโบราณ หมายถงึ ปรัชญาของชาวจีนสมยั ทยี่ ังมิไดเริ่มสรางอารยธรรมโบราณ
ซึ่งเชอื่ กันวา ก็คงเหมอื นมนุษยดึกดาํ บรรพอ่นื ๆ ของโลกเปนปรัชญาทีส่ นใจปญ หาเรอื่ งภัยธรรมชาติ
๒. ปรัชญาจีนยุค ๒ ลทั ธิ หมายถงึ ปรัชญาจีนชว งทม่ี ีหลักฐานปรากฏเมื่อประมาณ ๕๐๐ ป
กอ น คริสตศกั ราชซ่ึงไดแ กปรัชญาของนักคิดสําคัญของจีนคือ ขงจื๊อ และ เลาจื๊อ เรียกวาลัทธิขงจ๊ือ
(Confucianism) และลทั ธเิ ตา (Taoism) ปญ หาปรชั ญาจีนสมยั นี้คือ จะปฏิบัตอิ ยางไรจึงจะเกิดสันติ
สขุ ในสงั คม ทง้ั นข้ี งจื๊อสอนปรัชญาไววา สังคมจะสันตไิ ดถาสมาชิกของสังคมทุกคนไดพฒั นาคุณธรรม
ในตนขนึ้ คณุ ธรรมสําคัญท่ที ุกคนตอ งพัฒนาขึ้นคอื ความรักและความเมตตาตอบุคคลอื่น ทั้งน้ีขงจื๊อ
เห็นวาครอบครัวเปนสิ่งสําคัญอันดับแรกที่จะทําใหมนุษยมีโอกาสพัฒนาคุณธรรมดังกลาวข้ึน สวน
เลาจื๊อ สอนปรัชญาธรรมชาตินิยม วา สันติสุขเกิดจากการท่ีมนุษยเขาใจวิถีธรรมชาติ และไมฝนวิถี
ของธรรมชาติ รวมทั้งความยึดม่ัน ความเรียบงายเปนสรณะ พรอมกับทําจิตใหวางจากการคํานึงถึง
ผลประโยชนใดๆ ทั้งส้ิน ลัทธิขงจื๊อ และเลาจ๊ือไดกอใหเกิดปฏิกิริยาโตตอบจนพัฒนาเปนระบบ
ความคิดอื่น ๆ ข้ึนมากมาย ลัทธิสําคัญที่ควรนํามากลาวคือ ลัทธิมอจื๊อ (Moism) ซ่ึงเปนลัทธิที่
เนนหนักความคิดวา สันติสุขของสังคมอยูท่ีคนทํางานหนักเพื่ออุทิศตนใหเกิดความสุขและ
ผลประโยชนแกคนสวนใหญ ซึ่งบุคคลจะสามารถทําเชนนั้นไดถาลดความเห็นแกตัว และประโยชน
ของตนลงพรอมทัง้ คํานึงถึงผลประโยชนของบุคคลอนื่ ๆ ใหเทากบั การคํานึงถึงผลประโยชนสวนตน
นอกจากน้ียังมีลัทธินิติธรรมเนียม (Legalism)ของจีน ซ่ึงเชื่อมั่นวาสังคมจะสันติถาใชกฎหมายและ
บทลงโทษท่ีรุนแรงในการปกครองประชาชน เพราะประชาชนน้ันช่ัวราย ดังนั้น ควรจะประพฤติดีก็
เพราะกลวั การลงโทษและปรารถนารางวัลตอบแทนเทา นน้ั



๓. ปรัชญาจีนยุคกลาง หมายถึง ยุคของปรัชญากินท่ีไดรับการผสมผสานทางความคิดกัน
มากมายระหวา งลัทธติ าง ๆ ของจนี ดว ยกนั เองรวมท้ังประสมประสานกับความคดิ คือพทุ ธปรัชญาจาก
อินเดยี ท่ีไดเ ผยแพรเ ขา ไปในจนี ตอนนีด้ ว ย พุทธศาสนาท่ีรงุ เรืองนิกายหนงึ่ ในจีนคอื นกิ ายเซน

๔. ปรชั ญาจีนยุคใหม หมายถงึ ปรชั ญาของคนจีนรนุ ใหมห ลังจากไดมีการศึกษาวิชาการและ
ความคดิ ของตะวันตกนักคดิ ชาวจนี ท่ลี กู รูจกั ดคี นหน่ึงคอื เหมา เจอ ตงุ

ปรัชญาตะวันตก (Western Philosophy) หมายถึง ปรัชญาของชาวยุโรปและชาว
อเมริกนั ซ่งึ มีววิ ฒั นาการณาการมาเปน ลําดับยคุ ดังนี้

๑. ปรัชญาดึกดําบรรพ หมายถึง ปรัชญาของชาวตะวันตกกอนเริ่มมีอารยธรรมโบราณซ่ึง
คาดวา ปญหาสําคญั ของปรัชญายุคนคี้ ือปญ หาเรื่องภยั ธรรมชาตเิ หมอื นทอี่ น่ื ๆ ดงั กลา วแลว

๒. ปรัชญากรีกโบราณ หมายถงึ ปรัชญาตะวันตกทีเ่ ร่ิมดวยชาวกรีก ซึง่ ไดเช่ือวาพัฒนาการ
อารยธรรมตะวนั ตกขึ้นครัง้ แรกปรัชญากรกี โบราณสามารถแบง ยอ ยไดเปน ๓ สมยั ดงั นี้

สมัยเริ่มตน ทาเลสไดช่ือวาเปนบิดาของชาวตะวันตกและเปนผูเริ่มปรัชญากรีกโบราณไว
ปญ หาทที่ าเลส ตริตรองตางไปจากปญ หาของปรชั ญาดึกดําบรรพ ปญ หาดังกลาวคอื ปญหาที่วามนุษย
สามารถอธิบายปรากฏการณธรรมชาติโดยไมตองจางเทพเจาไดหรือไม ทาเลสความเชื่อม่ันวา
สามารถอธิบายไดเพราะเอกภพมีกฎเกณฑตายตัวของมันเอง และถามนุษยสามารถเรียนรูกฎเกณฑ
ของธรรมชาติ ดังกลาวมนุษยก็สามารถควบคุมธรรมชาติไดเชนเดียวกัน นอกจากน้ีทาเลสยังเช่ือวา
ปรากฏการณธรรมชาติท้ังหลายน้ี วิวัฒนาการมาจากส่ิงตาง ๆ ส่ิงเดียวหรือวิวัฒนาการมาจากสาร
เบื้องตนเดียวกันคือน้ํา นั่นหมายความวา นํ้าน่ันเองไดวิวัฒนาการหรือเปล่ียนแปลงตนเองตาม
กฎเกณฑออกมาเปนปรากฎการณธรรมชาติท้ังหลาย นักปรัชญารวมสมัยกับทาเลส จึงไดไตรตรอง
ปญหาเดียวกันกับทาเลสคืออะไรคือ สารเบื้องตนของปรากฏการณธรรมชาติท้ังหลาย และสาร
เบ้ืองตนนี้เปล่ียนแปลงตามกฎเกณฑออกมาเปนปรากฎการณธรรมชาตทิ ั้งหลายอยางไร แตคําตอบ
ของเขาเหลาน้ันแตกตางไปจากคําตอบของทาเลสนักปรัชญาเหลาน้ีไดแก อแนกซิมมานเดอร
(Anaximander) อแนกสเิ มเนส (Anaximenes) เฮราคลิตสุ (Heraclitus) ปารเมนีเดส (Pamenides)
เอม็ เปโดเดลส (Empedocles) อแนกซากอรัส (Anaxagoras)

สมัยรุงเรือง หมายถึงปรัชญาของปราชญค นสําคญั ของกรีกโบราณคือ โสเครตีส (Socrates)
เพลโต(Plato) และอริสโตเต้ิล (Aristotle) ปญหาสําคญั ของนักปรัชญากรีกสมัยรุงเรืองกค็ ือ ปญหา
เรื่องสมรรถภาพหรือความสามารถของมนุษยทจี่ ะรูปญหาดังกลาวคอื มนุษยมคี วามสามารถพอที่จะรู
ความเปนจริงไดหรือไมน่ันหมายความวา ถามีส่ิงท่ีเปนจริง หรือสิ่งท่ีจริงท่ีสุดมีอยูจริง มนุษยสามารถ
พอหรอื ไมท่ีจะรจู กั ส่ิงน้ี ผูริเริม่ ปญหานค้ี ือ พวกโซฟส ต (Sophists) ทัง้ นเี้ พราะโซฟส ต ความเห็นวานัก
ปรัชญาสมัยเร่ิมตนไมอาจตอบไดตรงกันวาอะไรคือ สารเบื้องตนของปรากฏการณของธรรมชาติ
ดังนั้น มนุษยไมมีความสามารถท่ีจะรูวาอะไรคือสารเบ้ืองตน ของปรากฏการณของธรรมชาติแทจริง

๑๐

นักปรัชญาแตละคนจึงไดตอบไปตามความเห็นของตนเทานั้นโสเครตีส (Socrates) เพลโต(Plato)
และอริสโตเติ้ล (Aristotle) เช่ือวามนุษยมีสมรรถภาพพอทีจ่ ะรูความเปนจริงได ถามนุษยใชปญญา
หรือเหตุผลท่เี ปน สมรรถภาพเหนือผัสสะ

สมัยเสื่อม หมายถึงปรัชญากรีกยุคหลังอริสโตเตลิ้ (Aristotle) ซึ่งเปนเวลาในชวงสมัยของ
การขยายตวั ของมหาอาณาจกั รโรมนั ซึง่ โรมนั ใหเ สรีภาพในการเผยแพรศาสนา ดังน้ัน ผูนับถอื ศาสนา
ที่เคยเรียนรปู รัชญากรกี มากอน จงึ พยายามใชปรชั ญากรกี สนับสนุนความเช่ือทางศาสนาของตนซึง่ มกั
เนน หนักความสขุ ในโลกหนา อยางไรก็ตามนักปรัชญาทไี่ มน ับถือศาสนา กเ็ สนอวิธีการท่จี ะมีความสุข
ในโลกน้ีเชน ลัทธิเอปว ควิ รสุ (Epicurianism) ลัทธสิ โตอิค (Stocism) ลัทธซิ นี ิค (Cynicism)

๓. ปรัชญาตะวันตกยุคกลาง หมายถึง ปรัชญาตะวันตกตั้งแตเร่ืองปรัชญาคริสตจนถึง
ประมาณส้ินศตวรรษที่ ๑๕ ปญหาสําคัญของนักปรัชญาตะวันตกยุคน้ีคือ การประนีประนอมระหวาง
ปรัชญากรีกกับคริสตศาสนา นักปรัชญาคนสําคัญก็เชน ออกัสตนิ (St. Augustine) และ เซนท โธมัส
อควนิ สั (St.Thomas Aquinas)

๔. ปรัชญาตะวันตกยุคใหม หมายถงึ ปรัชญาตะวันตกนับตง้ั แตปรัชญาตะวันตกสมัยกลาง
ส้ินสุดลงคือประมาณศตวรรษท่ี ๑๕ เปนตนมา และเปนเวลาที่ฟานซิสเบคอนเริ่มปญหาใหมคือ
ปญหาเกย่ี วกับวิธีคิดซึ่งหมายถึง วิธีทถี่ ูกตองทสี่ ุดท่ีสามารถนําไปสูความรูที่แทจริงที่สุดหรือความรูท่ี
ถกู ตองเกี่ยวกับความเปนจริง นักปรัชญาตะวันตกยุคใหมน้ีแบงไดเปนสองกลุมคือ กลุมเหตุผลนิยม
(Rationalism) ซ่ึงเช่ือวาวิธีคดิ ท่ถี ูกตองคือการใชเ หตุผลนักปรัชญาคนสําคัญของกลุมน้ีคอื เดสการต
(Descartes) สปโนซา (Spinoza) และไลบน ติ ซ (Leibniz) อีกกลมุ หนึ่งคอื กลุมประสบการณนิยมหรือ
กลมุ ประจักษนิยม ( Empiricism) ซงึ่ เชอ่ื วาวิธคี ิดที่ถูกตอ งท่ีสดุ คือยดึ มน่ั ในประสบการณไดแก ความรู
ทผ่ี านประสาทสัมผัสนักปรัชญาคนสําคัญคือ จอหน ลอค (John Locke) และเดวิด ฮิวม (David
Hume)

ปรัชญาตะวันตกสมยั ใหมมาสิ้นสุดที่ เอม็ มานูเอล คานท (Immanuel Kant) หรือหลังจาก
คานทปรัชญาตะวันตกถูกเรียกวาเปนปรัชญาตะวันตกสมัยปจจุบันซ่ึงแบงเปนหลายกลุมเชน กลุม
ปฏิบัตินิยม (Pragmatism) กลุมอัตถิภาวนิยม ( Existrentialism) เปนตน ซ่ึงแตละกลุมก็มปี ญหา
และคําตอบท่ียึดม่ันไปคนละแบบเชน กลุมปฏิบัตินิยม เนนหลักการปฏิบัติใหเกิดประโยชนและกลุม
อัตถิภาวนิยมเนนหลักเสรีภาพของมนุษยเปนสําคัญกลาวคือ มนุษยควรเปนผูกําหนดคานิยมและ
บทบาทของตนเองโดยเปนอสิ ระจากสถาบนั และประเพณีทีส่ ังคมยดึ มน่ั

๔. ความจําเปน ของการศกึ ษาวชิ าปรชั ญา

เนือ่ งจากเนือ้ หาของวิชาปรัชญาน้ันกวางขวางมากและครอบคลุมถึงเนื้อหาของศาสตรตา ง ๆ
ดังนี้ Comte ทําใหคําจํากัดความของปรัชญาวา ‘ปรัชญาคือศาสตรของศาสตร

๑๑

ท้งั หลาย’(Philosophy is the Science of Sciences)ดงั น้ันการศึกษาวิชาปรัชญาซงึ่ เปนการศกึ ษา
ถึงเน้ือหาของศาสตรอน่ื ๆ ๆโดยสวนรวมดวย การศึกษาวิชาปรัชญาน้ันจะทําใหเราเขาใจสรรพส่ิงใน
โลกน้ียิ่งดีข้ึน เขาใจตัวเอง เขาใจคนอื่นๆ ที่อยูใกลๆตัวเรา เขาใจสังคมมีความเจริญทางปญญา
ยอมรบั ฟงประสบการณและเหตผุ ลของคนอ่นื ๆ มีความรูในส่งิ ตางๆตามสภาพทเี่ ปนจริงอันจะเปนการ
เอื้ออํานวยในการที่มนุษยจะกําหนดแนวทางแหงการดํารงชีพและกําหนดจุดมุงหมายแหงชีวิตของ
ตนเอง

ดังน้ันจะเห็นไดวา วิชาปรัชญาเปนส่ิงท่ีจําเปนที่เราจะตองศึกษาใหเกิดความรูความเขาใจ
อยางทอ งแท ซ่ึงจะอํานวยผลแกผทู ี่ศึกษาดังนี้๕

๑. ผลที่เกิดขึ้นแกผูศึกษา คนเราเมื่อศึกษาวิชาปรัชญาใหเปนที่เขาใจแลวจะเกิดความรู
ความเขาใจในสิ่งตางๆรอบๆตัวเราเอง และสิ่งตางๆในโลกตลอดถึงแนวความคิดตางๆของคนอ่ืนๆ
วิชาปรัชญาจะทําใหผูศึกษาสามารถกาํ หนดแนวทางแหงการดาํ รงชีพของตนเอง กาํ หนดจุดมุงหมาย
แหง ชวี ิตของตนเองได ในขณะเดยี วกันเขาก็สามารถปรบั ตัวเขา กบั สภาพแวดลอมไดเปนอยางดียิง่ อัน
จะสงผลใหเขาประสบความสาํ เร็จในชีวิต และบรรลถุ งึ จุดมงุ หมายแหง ชีวติ ของตวั เองได

๒. ผลท่เี กิดขึ้นแกสังคม จากผลดีที่เกิดขึ้นแกผูศึกษาปรัชญาน่ันเองจะมีผลถึงชีวิตของ
บคุ คลในสังคมโดยสวนรวมดวย โดยสังคมนั้นจะมีแตความสุขสงบ มีความอยูดกี ินดี เขาใจ ชวยเหลือ
รวมมือซึง่ กนั และกนั อนั เปนส่งิ ทจ่ี ะนําสังคมในฐานทีเ่ ปนสวนรว มของมนษุ ยไ ปสคู วามเจรญิ รุง เรือง

๓. ผลที่เกิดข้นึ แกว ัฒนธรรม ความคิดในทางปรัชญาของมนุษยนั้นไดสะทอนใหเห็นภาพ
แหงวฒั นธรรมและอารยธรรมของมนุษยในแตละยุคสมัย ซึ่งไดมีการวิวัฒนาการไปตามยุคน้ันๆ ตาม
สภาพแวดลอมของทองถ่ิน ในขณะเดียวกันจะทําใหมนุษยเกิดความชื่นชมยินดีในวัฒนธรรม อารย
ธรรมของตนเอง และหาทางสนับสนุนวัฒนธรรมและอารยธรรมของตนนั้นใหคงสืบตอไป ตลอดถึง
การยอมรบั วฒั นธรรมและอารยธรรมทดี่ งี ามของสังคมอนื่ ๆ มาสสู ังคมของตนเองดวย

ดงั น้ัน จะเห็นไดวา ปรัชญาเปนวิชาที่ศกึ ษาเรื่องมนุษย โลกธรรมชาติและชีวิตแบบรวมๆกัน
พยายามประมวลเหตกุ ารณแ ละความรูต า งๆเพอ่ื หาขอยตุ ทิ ีแ่ นนอนและปรัชญามไิ ดวาเร่ืองของความรู
อยางเดียวแตปรชั ญาพยายามคน ควา แสวงหาสงิ่ จริงความรทู แี่ นนอนทส่ี ามารถอธบิ ายทกุ อยา งได
จากความหมายโดยศพั ทข องคาํ วา ปรัชญา ดงั กลาวขา งตน เราจะพบวาปรัชญาเปนเรื่องราวของการ
ใชปญญาเพื่อไตรตรองในส่ิงท่ีตนยังสงสัย หรือในส่ิงที่ตนยังคิดวาเปนปญหาอยู และเปนการพยายาม
ใชปญญาไตรตรองถงึ คําตอบท่เี ปนไปไดสาํ หรับปญหาท่ตี นยังคิดติดใจสงสัย ดังนั้นปรัชญาจึงเปนเรื่อง
ของผใู ชปญญา ผูทไี่ มยอมรับสง่ิ ใดโดยงายดาย และเปน ผทู ี่สงสยั ใครร ตู ลอดเวลา ดว ยเหตุดังกลาว เรา
อาจจะกลา วไดวา ปรชั ญาเกดิ ขึน้ พรอมกบั มนุษยน่ันเอง ท่ีกลาวเชนนี้ก็เพราะวา มนุษยนั่นเองเปนผูมี

๕ คณู โทขันธ, ปรัชญาเบอื้ งตน, (ขอนแกน : ภาควชิ ามนษุ ยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร,
๒๕๒๗), หนา ๕.

๑๒

ปญญา ดังนนั้ เมอ่ื ไดช่ือวาเปนมนุษยก็ตองเปนผูมีปญญา และเม่ือเปนผูมีปญญาก็ตองเปนผูรักการใช
ปญญาคือ มีความปรารถนาจะฉลาด หรือมีความปรารถนาจะรูในสิ่งท่ีตนไมรู หรือมีความสงสัยจึง
มองเห็นปญหาอยูตลอดเวลา และมีความปรารถนาจะรูในส่ิงที่ตนไมรู หรือมีความสงสัยจึงมองเห็น
ปญหาอยูตลอดเวลา และมีความปรารถนาจะหาคําตอบท่ีเปนไปไดกับส่ิงทตี่ นยังสงสัยอยูดวย ดวย
เหตุดังกลาวแมแตมนุษยดึกดําบรรพจวบจนทุกวันน้ีลวนแตมีปรัชญาทั้งส้ิน อยางไรก็ตาม เราไม
อาจจะทราบไดแนนอนวา อะไรคอื ปญ หาของมนุษย สมยั เร่ิมแรกคอื เมอื่ ๕๐๐,๐๐๐ ปมาแลว ซงึ่ เปน
ขณะเวลาที่นักวิทยาศาสตรเชื่อกันวา มนุษยไดถือกําเนิดขึ้นจากสัตวชั้นสูง จึงจัดวาเปนยุคกอน
ประวัตศิ าสตรท ี่ยังไมม ีการบันทกึ เรื่องราวตาง ๆ ไว แตเราก็เชื่อวา มนุษยดึกดําบรรพก ็เร่ิมมีปญหาท่ี
ตนสงสัย และมีการพยายามหาคาํ ตอบสาํ หรับปญ หาเหลา นน้ั ไวเชนกัน

๕. ขอบเขตการศึกษาวิชาปรัชญา

จากการศึกษาวิวัฒนาการของปรัชญาตามแหลงอารยธรรมของโลกดังกลาวขา งตน ยอมเปน
หลักฐานยืนยันไดวา เนื้อหาของปรัชญาน้ันกวางขวางมาก บางคร้ังนักปรัชญาตริตรองเกี่ยวกับ
ปรากฎการณธรรมชาติบางครั้งนักปรัชญาตริตรองเกี่ยวกับวิธีคิดของมนุษย บางครั้งนักปรัชญาตริ
ตรองเกี่ยวกับปญหาสันติสุขของสังคมรวมทั้งการเมืองและการปกครอง บางคร้ังนักปรัชญาตริตรอง
เก่ยี วกับปญหาเรื่องการเวยี นวา ยตายเกิดในกองทุกข และการพน ทกุ ข ดงั น้ัน จึงไมอาจกําหนดเนื้อหา
ของปรัชญาลงไปไดแนนอนนอกจากนี้ลักษณะสําคัญอกี ประการหนึ่งของปรัชญาก็คอื แมแตคําตอบ
ตอปญหาอันเดียวกันน้ัน อาจมีคําตอบท่ีเปนไปไดหลายคําตอบโดยยังไมมีการกําหนดหรือยอมรับ
กันลงไปวาคําตอบใดเปนคําตอบท่ีถูกตองท่ีสุด วิชาปรัชญาถือวา คําตอบทุกคําตอบเปนไปไดทั้งสิ้น
เชน ตอปญหาท่ีวาโลกน้ีกําเนิดข้ึนมาอยางไรฝายท่ีเชื่อพระเจาตอบวา พระเจาสรางทาเลสตอบวา
วิวัฒนาการมาจากน้ํา นักวิทยาศาสตรเชื่อวาวิวัฒนาการมาจากการรวมตัวของอะตอม วิชาปรัชญา
ยอมรับทุกคาํ ตอบและอาจเปนไปไดทกุ คําตอบ และในอนาคตอาจมคี ําตอบทตี่ างไปจากน้ี ดงั น้ันจาก
การศึกษาวิชาปรัชญาจึงมีเพียงศึกษาปญหาตาง ๆ ท่ีมนุษยไดตริตรองแตยังศึกษาถึงแนวคําตอบที่
เปนไปไดหลายคาํ ตอบสําหรบั ปญหานั้น ๆ ดว ย๖

จากลักษณะของปรัชญาท่วี า เปนวิชาท่ีวาดวยปญหาตาง ๆ ทีม่ นุษยไดเ คยสงสัยและเคยให
คําตอบตางๆไวแลว จะพบวา แทจริงแลววิชาการอน่ื ๆ กเ็ ริ่มจากการเปนปญหาในวิชาปรัชญาน่ันเอง
ตวั อยางเชนเน้ือหาของวิชาวิทยาศาสตรคอื เร่ืองปรากฎการณธรรมชาตินั้นกเ็ ริ่มจากการเปนปญหา
ของปรัชญาน้นั เอง เชนทาเลสเคยตอบปญหามาแลว ปรากฎการณธรรมชาติทั้งหลายวิวัฒนาการหรือ
เปลีย่ นแปลงมาจากสารเบอ้ื งตนคือนํ้า อยา งมีกฎเกณฑข องการเปล่ียนแปลงที่แนนอนตายตวั และนัก

๖ พระพิทักษิณคณาธกิ ร, ปรชั ญา, (กรงุ เทพฯ : สาํ นักพิมพดวงแกว , ๒๕๔๔), หนา ๑๔.

๑๓

ปรัชญารวมสมัยกบั ทาเลสก็พยายามใหค ําตอบไวหลายคําตอบแตกตางกนั ออกไป ดังน้ันปรัชญาสมัย
กรีกโบราณเชน ปรชั ญาของทาเลสในวิชาวิทยาศาสตรถือวา เปนวิทยาศาสตรดกึ ดาํ บรรพ คร้ันตอมา
เมือ่ มกี ารคน ควาเก่ียวกบั ปรากฎการณธรรมชาติลึกล้ํายิ่งข้ึนและกวางขวางยิ่งขึ้น และไดวิวัฒนาการ
วิธีการศึกษายิ่งขึ้น รวมทั้งมีการใหคําตอบท่ียอมรับตรงกันข้ึนวิชาเกี่ยวกับปรากฏการณธรรมชาติก็
กลายมาเปนวิชาวิทยาศาสตรทเ่ี ปนศาสตรเฉพาะตัว ไมเกีย่ วของกับวิธีการที่นักปรัชญาใชสําหรับให
คําตอบเก่ียวกับปรากฎการณธรรมชาติอีกตอไป และปญหาเก่ียวกับปรากฎการณธรรมชาติก็
กลายเปนเนื้อหาท่ีมีคําตอบคอนขางแนนอนในวิชาวิทยาศาสตร เสนทางของวิชาอื่นๆเชน วิชา
จิตวิทยาวิ ชารัฐศาสตร ก็มีเสนทางของการวิวัฒนาการท่ีเริ่มจากเปนปญหาที่นักปรัชญาไดริเริ่มตริ
ตรองข้ึน เชน เพลโต ขงจื๊อ กลาวถึงทฤษฎีการเมืองการปกครองมาแลวนับแตอดีตอันไกลโพน เรา
คาดกันวาศาสนาเปนวิชาแรกท่ีแยกตัวออกจากปรัชญา โดยเม่ือมหี ลักปฏิบัตทิ ่ีแนนอนมวี ิธีการที่เปน
แบบแผนของกนั เอง รวมท้ังมกี ารถา ยทอดคาํ สัง่ สอนของทางศาสนาของตนเอง ศาสนาก็แยกจากการ
เปนเพียงปญหาและคําตอบทต่ี รติ รองกนั ในหมูนกั ปรชั ญา

แมปรัชญาจะเปนศาสตรท่ีมีขอบขายกวางขวางมากดังที่ไดกลาวถึงมาแลว แตในปจจุบัน
พอจะกลาวไดวา ปรัชญาศึกษาเรื่องใหญ ๆ ๕ เร่ืองดวยกัน หรืออาจกลาวไดวา วิชาปรัชญา แบง
ออกเปน สาขาใหญ ๆ ๕ สาขา คือ๗

๑. อภิปรัชญา (Metaphysics)
อภปิ รชั ญาเปน สาขาทวี่ าดว ยความเปนจริง (reality) โดยศึกษาวาโลกและจักรวาล ตลอดจน
ธรรมชาติของมนุษยมีความเปนจริงอยางไร ความเปนจริงที่อภิปรัชญาแสวงหานั้นเปนความจริง
สุดทายอันเปนพื้นฐานที่มาของความจริงอ่ืนๆ เปนความจริงสูงสุดหรือที่เรียกวา อันติมสัจจะ
(Ultimate Reality)
๒. ญาณวิทยา หรือทฤษฎคี วามรู (Epistemology or Theory of Knowledge)
ญาณวิทยาหรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา ทฤษฎีความรู เปนสาขาปรัชญาที่ศึกษาเพ่ือหาคําตอบ
วา เรารูความเปน จริงไดอยางไร ความรูทถ่ี ูกตองมีลักษณะอยางไร อะไรคือลักษณะทวั่ ไป ของความรู
มนษุ ยเ รารคู วามจริงไดแ คไหน และความรไู ดมาทางใด เปนตน
๓. จริยศาสตร หรอื จริยปรัชญา (Ethics or Ethical Philosophy)
จริยศาสตรหรือจริยปรัชญา เปนสาขาปรัชญาที่ศึกษาเก่ียวกับความดี ความชั่ว ความถูก
ความผดิ ตลอดจนศกึ ษาวา อะไรเปน สิง่ ดที สี่ ุดสําหรับชวี ิต มนษุ ยค วรแสวงหาอะไร และควรทาํ อยางไร
จึงจะไดช่ือวาเปนคนดี ความดีความช่ัวมีจริงหรือไม หรือเปนเพียงสิ่งสมมุติมีมาตรการตายตัวอะไร

๗ สุจิตรา ออนคอม, รองศาสตราจารย ดร., ปรัชญาเบื้องตน, (กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตรและ
สงั คมศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบุรี, ๒๕๔๘), หนา ๙-๑๐.

๑๔

หรือไมท่จี ะตดั สินคณุ ธรรมความดี และถามี มาตรการดังกลาวนั้นคอื อะไรจริยศาสตรจึงเปนเร่ืองของ
ความสัมพันธทมี่ นษุ ยม ตี อ ตวั เองและตอผูอ ่นื

๔. ตรรกวทิ ยา หรอื ตรรกศาสตร (Logic)
ตรรกวิทยา หรือตรรกศาสตร เปนสาขาปรัชญาที่วาดวยเหตุผลและการใชเหตุผลศึกษา
กฎเกณฑของการอา งเหตผุ ล ความถูกผิดในการโตแยง จุดบกพรองในการเสนอเหตผุ ลการอางเหตุผล
มีไดก ี่วิธี แตละวิธีมีลักษณะและขอดีขอเสียของตนอยางไร การอา งเหตุผลอยางไรจึงจะสมเหตุสมผล
เปนตน
๕. สนุ ทรยี ศาสตร (Aesthetics)
สุนทรยี ศาสตรเปนสาขาปรัชญาที่ศึกษาเก่ยี วกับคาทางสุนทรียะหรือความงามของส่ิง ตา ง ๆ
ในโลก รวมท้งั ความงามของผลงานทางศิลปะวาคืออะไร มอี ยูจริงหรือไม หรือเปนเพยี งความรูสึกของ
มนุษยและความงามน้นั มลี ักษณะเปนอตั วสิ ยั หรือวตั ถุวิสยั เปน ตน

๖. ลกั ษณะของปรัชญา

ปรัชญามีลักษณะ ๓ ประการคอื
๑. ปรัชญามีลักษณะวิพากษ
๒. ปญหาปรชั ญาเปนปญ หาพืน้ ฐาน และ
๓. ปรัชญาแสวงหาโลกทศั น

ซ่งึ จะไดอ ธิบายในแตล ะลักษณะดงั ตอไปน๘ี้
๑. ปรัชญามลี กั ษณะวิพากษ
เนื่องจากปรัชญาเกิดจากความอยากรูอยากเห็นของมนุษย เพราะมนุษยเปนสัตวรูคิดแต

บางคร้ังความอยากรูอยากเห็นของมนุษยก็เกิดขึ้นเพราะมนุษยตองการหาความรูเพ่ือท่ีจะแกปญหา
เฉพาะหนา เชน มนุษยสมัยแรกเร่มิ อยากรูวา ทําอยางไรจึงจะเก็บรักษาเนื้อสัตวทล่ี ามาไดไ วกนิ นาน ๆ
โดยไมบูดเนา แตบางคร้ังความอยากรูอยากเห็นของมนุษยก็มิไดเกิดข้ึนจากสาเหตุดังกลาวน้ี เชน
ธาเลส บิดาแหงปรัชญาอยากรูธาตุแทของโลกเพียงเพราะอยากรู มิไดหวังผลอ่ืนใดจากความรูนั้น
ความอยากรูอยากเห็นเปนธรรมชาติอยา งหน่ึงของมนษุ ยใ นฐานะเปน สัตวรูคดิ จึงทําใหเกดิ การซกั ไซไล
เลียงไปเร่ือยๆ อยางไมมสี ิน้ สดุ จนทําใหเกดิ ปรัชญาข้ึนมา

ปรชั ญาจะซักถามทุกอยา งทีจ่ ะซกั ได เหตผุ ลเปนเครื่องมอื ของนกั ปรัชญาที่จะวิพากษวิจารณ
ทุกส่ิงทุกอยาง เดสก ารตส (Descartes ๑๕๙๐ – ๑๖๕๐) นักปรัชญาชาวฝร่ังเศสเปนตัวอยางที่ดีใน
การช้ีใหเห็นลักษณะวิพากษข องปรัชญา สําหรับฮูม (David Hume ๑๗๑๑ – ๑๗๗๖) น้ันการ

๘ วิทย วศิ ทเวทย, ปรัชญาทวั่ ไป, (กรงุ เทพฯ : สาํ นักพิมพอ ักษรเจริญทัศน, ๒๕๒๕), หนา ๑๖๖-๑๖๙.

๑๕

วิพากษวิจารณของเขาไดทาทายวิทยาศาสตรเพราะวิทยาศาสตรตั้งอยูบนพ้ืนฐานของวิธีการอุปนัย
(induction) ถาวิธีการนี้เช่ือถือไมได วิทยาศาสตรก็มีไมได และฮูมเปนผูวิจารณความถูกตองของ
วิธกี ารอันน้ี

โดยท่ัวไปเราเชื่อวา สิ่งท่ีเราเห็นและจับตองไดเทานั้นที่เปนจริง แตเพลโต (Plato ๔๒๗-
๓๔๗ B.C.) ไดวิพากษความเช่ืออันนี้ เขาไมมีเครื่องมืออันใดนอกจากเหตผุ ล แตกระน้ันก็มีผูอาน
จํานวนไมน อยท่ีอานทรรศนะของเพลโตแลวเร่ิมสงสัยความเช่ือเดมิ ของตนวาจะเปนจริงหรือไม หรือ
วาโลกแหงมโนคติ (World of Idea) ของเพลโตเปนจริงกวา

เน่อื งจากปรชั ญามีลักษณะวิพากษแ ละในการวพิ ากษว ิจารณน ั้นก็จําเปนอยูเองท่ีจะตองทําให
เกิดการกระทบกระเทอื นตอความเชื่อและความรูสึกด้ังเดิมของผูอาน ท้ังน้ีมิไดหมายความวา ผูอาน
จะตอ งมารับความเชอื่ ใหม อาจจะยงั คงไวซ ่งึ ความเช่ือเดิมแตใ นลกั ษณะที่รดั กมุ ยง่ิ ขน้ึ

๒. ปญหาปรัชญาเปนปญหาพน้ื ฐาน
ถาเรากลาววาปญหาที่หนึ่งเปนปญหาพ้ืนฐานกวาปญหาที่สอง หมายความวา มติ หรือ
ทรรศนะท่ีเรามตี อปญหาที่หนึ่งนั้นสงผลกระทบกับปญหาเร่ืองอืน่ ๆ มากกวาปญหาทีส่ อง สมมตุ ิเรา
ถามปญ หาที่สองวา คนเราควรแสวงหาอะไรใหชีวิต ปญหานเ้ี ปนปญหาพื้นฐานเพราะทรรศนะท่ีเรามี
ตอปญหาน้ีจะเปนตัวกําหนดการศึกษาของเรา การปฏิบัติตอเพื่อนมนุษย อาชีพการใชเวลาวาง
ตลอดจนอุดมคติทางการเมืองของเรา แตปญหานี้ยังมีลักษณะพ้ืนฐานนอยกวาปญหาท่ีหนึ่ง เชน
ปญหาวา จิตหรือวิญญาณของมนษุ ยม ีหรือไม
ปญหาที่หนึ่งเปนปญหาพ้ืนฐานกวาก็เพราะวามติที่มีตอปญหานี้จะเปนตัวกําหนดมติของ
ปญ หาทสี่ อง และยงั เปน ตวั กาํ หนดเร่ืองอ่นื ดว ย เชน อสิ รภาพของมนษุ ย ความแตกตางระหวางมนุษย
กับสัตว และสงิ่ ไรชีวิต และปญหาเร่ืองความรูของมนษุ ย เปน ตน
ตวั อยางเชน สมมุติเราเช่ือวาจิตหรือวิญญาณมีอยูจริง และเปนอีกอยางหน่ึงท่ีแตกตางจาก
รางกาย ความเห็นของเราเก่ียวกับความหมายของชีวิตก็จะออกมาในรูปปญญานิยมหรือวิมุตินิยม
หลักศีลธรรมของเราก็จะมีลักษณะเหมือนของคานท Immanuel Kant ๑๗๒๔ – ๑๘๐๔) ทฤษฎี
ความรูของเราจะเปนแบบเหตุผลนิยม (Rationalism) ถาเราไมเห็นดว ยอยางน้ีเทากับความเห็นของ
เราขดั แยง กนั เอง
ปญหาเร่ืองความจงใจหรือเจตจํานงเสรี (free will) ก็เปนปญหาพ้ืนฐาน ทรรศนะของเรา
เกี่ยวกับปญหานี้จะโยงไปถึงทรรศนะของเราเก่ียวกับศีลธรรม กฎหมาย การลงโทษ การใหรางวัล
ตลอดจนปญหาสังคม เชน ถาเราเชื่อวามนุษยไมมีเจตจํานงเสรี เราก็ตองเห็นวามนุษยไมตอง
รับผดิ ชอบตอ การกระทําของตัวเขาเอง เราไมค วรสรรเสริญหรือประณามเขา อาชญากรเปนคนพิการ
ทางจติ มากกวาที่จะเปนคนเลว จึงควรสงเขาไปโรงพยาบาลโรคจติ แทนท่จี ะสงเขาเขา คกุ ตะราง ถาเรา

๑๖

ตอ งการแกปญหาสังคมเราก็ตองแกทส่ี ่ิงแวดลอมภายนอก เปนตน แตถาเราคิดวามนุษยมีเจตจํานง
เสรี ทรรศนะดังกลาวก็ตองไปอีกทางหน่งึ

๓. ปรชั ญาแสวงหาโลกทัศน
การโตแยงกันเกีย่ วกับปญหาพ้ืนฐานน้ันเราไมสามารถจะตดั สินใหเดด็ ขาดลงไปไดวาฝายใด
ผิดฝายใดถูก แตป ญหาเหลา นีก้ ็เปนปญ หาสําคัญ ทง้ั นเี้ พราะวา ทรรศนะที่เรามีตอปญหาเหลานี้จะเปน
ฐานทที่ ําใหทรรศนะของเราในเรื่องโลก มนษุ ย สงั คม และความหมายของชีวติ เปนไปในอกี แนวหน่งึ
เมื่อความรูทางวิทยาศาสตรยังไมสามารถพิสูจนไดวา ทรรศนะใดถูก ทรรศนะใดผิดเราจึง
จําตอ งยึดอันใดอันหนึ่งดวยความเชื่อ ความเชื่อของคนๆ หน่ึงน้ันมมี ากมายหลายเรื่อง เชน ศลี ธรรม
คา ของชีวิต อุดมการทางการเมือง ศาสนา ศลิ ปะ ฯลฯ ในเร่ืองตางๆ เหลาน้ีบางที่เราพิสูจนไมได เรา
จําตองเชอ่ื ตอนนป้ี รัชญาจะเขามามสี ว นคือ ปรชั ญาจะชวยทําใหความเช่ือของเราเปนระบบ กลาวคือ
ชวยทําใหความเช่ือในเรื่องตางๆ ของเราสอดคลองเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน ไมขัดแยงกัน และความ
เชอ่ื ของเราจะกลมกลืนกันไดก็ตอเม่อื มีหลักบางหลักเปนจุดรวมกันนั่นคือ เราจะตองมี ทรรศนะ เปน
พื้นฐานรองรับความเชื่อเหลาน้ัน วิชาปรัชญาพยายามทจี่ ะใหพ้ืนฐานอันน้ีแกเรา น่ันกห็ มายความวา
ปรชั ญาชวยใหเ ราแสวงหาโลกทัศน
โลกทศั น คือความเชอ่ื อนั เปนระบบ ในวถิ ีชวี ิตของคนๆ หนึง่ เขาอาจพดู คดิ ทาํ อะไรตออะไร
หลายอยาง แตถาเขาเปนคนคงเสนคงวา ความหลายหลากนี้จะเปนเพียงภาพสะทอนของทรรศนะ
พืน้ ฐานอันเดียวกัน ทรรศนะพ้ืนฐานน้ีแหละคือโลกทัศนของคนๆ น้ัน ทุกคนมีโลกทัศนไมวาเจาตัวจะ
รูหรือไมก็ตาม ปรัชญาจะชวยใหเราเห็นโลกทัศนของเราชัดข้ึน ทั้งนี้ก็โดย การวิเคราะห
วพิ ากษว จิ ารณ และการถกเถียงปญหาอันเปนพื้นฐาน
โลกทัศนเปนตัวกาํ หนดทิศทางของชีวิตแตล ะคน และเปนตวั กําหนดทิศทางของสังคมมนุษย
ดว ย ถาเราเห็นเรือลําหนึ่งกําลังแลนอยูในทะเล ปจจัยท่ีอธิบายการแลนของเรือลําน้ีมี สองอยางคือ
(๑) เครื่องยนตทําใหแ ลนไปได (๒) จุดหมายปลายทางท่ีเรือลําน้ันจะแลนไป ถา ไมมีสองอยางนี้พรอม
กัน การแลนของเรือก็คงไมเกิดข้ึน ชีวิตมนุษยก็เชนกัน ในการเดินทางของ นาวาชีวิต ความรูทาง
วิทยาศาสตรเปรียบเสมือนเคร่ืองยนต แตส่ิงท่ีกาํ หนดทิศทางคือโลกทศั น ซึง่ จะเปนตัวช้ีทาง ความรู
เปนแรงผลักดันใหเ คลื่อนไป ดังนน้ั จึงกลา วไดว า ไมมีผูใดทไี่ มมโี ลกทศั น

๗. ปญ หาสําคัญทางปรัชญา

นกั ปรชั ญาในแตล ะยคุ แตล ะสมยั ยอมคดิ ปญหาทางปรัชญาท่ีแตกตา งกัน ท้งั น้ีเพราะอิทธิพล
ของสิ่งแวดลอ มรอบๆ ตัวนักปรชั ญานน้ั ๆ นกั ปรัชญายอมมีอิสรภาพเสรีในการคดิ และคนหาความจริง
ตามแนวทางแหงความเช่ือและประสบการณของตนเอง ดงั นั้นปญหาทางปรัชญาท่นี ักปรัชญาและมุง
แสวงหาความจริงจึงแตกตางกันตามยุคสมัยและสภาพแวดลอมทางสังคม ปญหาสําคัญทางปรัชญา

๑๗

นั้นมีมากมาย และคําตอบที่นักปรัชญาพยายามตอบปญหานั้นๆจึงเกิดเปนสาขาหน่ึงๆ ของนัก
ปรัชญาขึ้น พอสรุปไดด งั นี้๙

๑. ปญหาเร่ืองความจริง เชน ความจริงคืออะไร ความจริงมีธรรมชาติเปนอยางไร
เปล่ียนแปลงหรือไมเปนจิตหรือสสาร หรือเปนทั้งจิตและสสาร ความจริงมีอยูดวยตัวมันเองหรือ
สัมพันธก ับสงิ่ อื่นเปน ตน ปญ หาเร่ืองความจริงนี้เปนการศึกษาถงึ ธรรมชาติของสิ่งตางๆที่ปรากฏอยูใน
โลกจงึ กลายเปนวชิ าอภปิ รชั ญาหรอื ภววิทยา

๒. ปญหาเร่ืองความรู เชน ความรูคืออะไร ความรูของมนุษยเกิดมาจากไหน ความรูมี
ลกั ษณะอยางไร ความรูนัน้ ผดิ ถกู อยา งไร ความรูเปนเรื่องของจิตหรือสสาร เปนตน ปญหาเรื่องความรู
นี้กลายเปนวิชาญาณวิทยา

๓. ปญ หาเร่ืองคุณคา เชน คุณคา คืออะไร คุณคามีจริงหรือไม คณุ คา มีไดด วยตวั มนั เองหรือ
ถกู มนษุ ยก ําหนดขนึ้ มา เปนตน ปญ หาเร่ืองคุณคาน้กี ลายเปนวชิ าคณุ วิทยาอนั มขี อบขายคลมุ ไปถึง

๓.๑ ปญ หาเรอื่ งความประพฤติ เชน ความดคี ืออะไร ความชั่วคืออะไร เหตใุ ดมนุษย
จึงตอ งทําความดี ดชี ่ัวมผี ลตอสงั คมมนษุ ยอยางไร มนั กลายเปนวิชาจริยศาสตร

๓.๒ ปญหาเร่ืองความงาม เชน ความงามคืออะไร ศิลปะคืออะไร ความงามนั้นมอี ยู
ดว ยตัววัตถุหรอื มนุษยก าํ หนดขนึ้ อันกลายเปนวิชาสนุ ทรียศาสตร

๓.๓ ปญหาเร่ืองเหตุผลและขอเทจ็ จริง เร่ืองนี้เปนปญหาที่นําไปสูการเปนเครื่องมือ
อันสําคญั ทางปรัชญา กลาวคอื เมือ่ มกี ารทะเลาะวิวาทโตเ ถียงกันเกิดขน้ึ ในเรื่องใดๆ จะตองมกี าร
เปรียบเทยี บ พิสูจนขอ เท็จจริงในเร่ืองน้ันๆ โดยอาศัยเหตผุ ลเปนเครื่องสนับสนุนอันกลายเปนวิชา
ตรรกวิทยา

จากลักษณะดังกลา วขางตนโดยแวดวงหรือขอบเขตของวิชาปรัชญานั้นกวา งขวางมากปญหา
ตา ง ๆเร่ิมตริตรองในหมนู ักปรัชญาทัง้ ส้ิน แตตอ มาปญหาบางปญหาก็แยกตัวออกไป โดยถูกศกึ ษาให
กวางขวางยง่ิ ขึน้ ศึกษาดว ยวธิ ีการทไี่ ดพ ฒั นาขนึ้ โดยเฉพาะและมีคาํ ตอบที่ยอมรับวาแนนอนพอสมควร
ปญ หานัน้ ก็กลายเปน ปญ หาของศาสตรหรือวชิ าอีกแขนงหนึ่ง เชน วิชาวทิ ยาศาสตร วิชาจิตวิทยา วิชา
รัฐศาสตร ดว ยเหตดุ ังกลาวในปจจุบันนี้เราสามารถกําหนดขอบเขตของปญหาท่ียังเปนปญหาปรัชญา
อยูได หรือเราสามารถกําหนดขอบเขตของปญหาที่ยังเปนปญหาที่นักปรัชญาศึกษากันมากท่ีสุด โดย
วิธีทีว่ ชิ าอืน่ ๆ ยังไมไดมงุ มน่ั ท่ีจะศกึ ษาปญหาเหลา นีท้ ้ังน้ีขอบเขตของปญหาปรัชญา๑๐

ปญ หาปรชั ญาท่ียงั จัดเปนปญ หาจรงิ ๆ เพราะยงั ไมม ีการถกู แยกออกไปศึกษาอยางกวา งขวาง
และมีคําตอบที่แนนอนตายตัวพอที่จะแยกเปนวิชาตางหากออกไป ปญหาสวนนี้จึงเปนเน้ือหาของ

๙ กรี ติ บุญเจือ, ปรัชญาเบ้ืองตน และ ตรรกวทิ ยาเบื้องตน , (กรุงเทพฯ : ผดุงวิทยาการพมิ พ, ๒๕๑๒),
หนา ๕๐.

๑๐ วโิ รจ นาคชาตรี, รศ., ปรชั ญาเบือ้ งตน , (กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๕๒), หนา ๑๐-๑๗.

๑๘

ปรัชญาจริง ๆ ที่ไมตองมีเนื้อหาเกยี่ วขอ งกับผลสรุปของวิชาอน่ื ๆ ท้งั น้ีเราเรียกกันวาเปนปญหาหรือ
ขอบเขตปรชั ญาบรสิ ุทธ์ิ (Pure Philosophy)

ปรชั ญาบริสุทธิ์ หมายถึงปญหาเรอื่ งขอบเขตของปรัชญาท่เี ปนเร่ืองของปรัชญาโดยเฉพาะไม
เก่ียวของกับขอสรุปของวิชาอ่ืน ๆ ท่ีแยกตัวออกไปจากวิชาปรัชญา ปรัชญาบริสุทธิ์ศึกษาถึงปญหา
เกยี่ วกบั ความเปนจรงิ ในประเด็นปญ หาตอไปนี้

๑. ความเปน จรงิ คอื อะไร (What is Reality?)
นักศึกษาสามารถเขา ใจเร่ืองความเปนจริงไดดขี ้ึน ถาไดศึกษาจากตัวอยางตอไปน้ี เมื่อเวลา
นักศึกษาจุมไมล งไปในนํ้า ไมในน้ําน้ันปรากฏแกสายตาของนักศกึ ษาคือไมโคง งอ ซึ่งถาเราเชื่อผัสสะ
เราก็จะตองเช่ือวาลักษณะที่แทจริงของไมคอื โคง งอ แตเรารูวาในความเปนจริงของไมแลว ไมนั้นตรง
ดงั น้ันภาพปรากฏของไมในนํ้าคือโคงงอ แตความเปนจริงของไมคือตรง โดยท่ัวไปก็เชนเดยี วกัน เรา
เชื่อกันวาลักษณะที่ปรากฏของโลกตอผัสสะของเราเปนลักษณะท่ีแทจ ริงของโลก หรือเราเชื่อกันวา
โลกท่ีเราเห็นคือความเปนจริง เราไมสงสัยเลยวาโลกเบ้ืองหลังลักษณะที่ปรากฏตอผัสสะของเรา
อาจจะแตกตา งออกไปจากนี้ ดังนั้น น่ันหมายความวาความเปนจริงคือสิ่งตรงกันขามกบั ส่ิงท่ปี รากฏ
แตคนโดยทั่วไปยอมรับวาสิ่งท่ีปรากฏคือความเปนจริง โดยไมไดสงสัยวามีความเปนจริงท่ีซอนอยู
เบ้ืองหลัง แตนักปรัชญานั้นยังสงสัยตอไปวา อาจมีความเปนจริงบางอยางซอนเรนอยูเบื้องหลัง
ปรากฎการณ เชน ทาเลสเชอ่ื วาสง่ิ ทซ่ี อนเรนอยูเบื้องหลังปรากฏการณธรรมชาติท้งั หลายคอื นํ้าดังน้ัน
น้ําคือความเปนจริง ดงั น้ัน การศึกษาเรื่องความเปนจริงคืออะไร คือการศึกษาทม่ี ีวัตถุประสงคจะทํา
ใหก ระจางแจงวาสิ่งทบ่ี รรจุอยูในอวกาศและเวลาตามทมี่ นุษยไดรับรูหรือไดเห็นอยูทุกวันน้ีเปนเพยี ง
ส่งิ ปรากฏของสง่ิ อน่ื ที่มคี วามเปนจรงิ มากกวา หรือตัวของมนั เปนความจริงแลว และไมม ีความเปนจริง
อื่นใดท่ีนอกเหนือไปจากน้ี หรืออาจกลาวไดวาความเปนจริงคืออะไร ? คือปญหาที่นักปรัชญาตองตริ
ตรองวาอะไรคอื ส่ิงท่ีจริงที่สุด หรืออะไรคือความแทจริงที่สิ้นสุด ทไ่ี มมีอะไรจริงไปกวานั้นอีกแลวหรือ
ถาจะอธิบายงาย ๆ คือปญหาท่ีตริตรองถึงสัจธรรมของส่ิงท้ังหลาย ปญหาทั้งหลายปรัชญาท่ีศึกษา
เรอ่ื งความเปนจริงคอื อะไร นเี่ รยี กกันวา เปนปญหาอภิปรัชญา (Metaphysics)คือ ศกึ ษาเหนือไปกวา
ปรากฎการณท างกายภาพของโลกหรือสรรพสิง่ ดังนั้นอภิปรชั ญาคือสาขาแรกของปรัชญาบริสุทธิ์หรือ
เปนปญ หาเกี่ยวกับความเปนจรงิ ปญหาแรก
จากคําอธบิ ายขางตน จึงสรุปไดว า ปญ หาอภปิ รัชญาคือปญหาท่อี ะไรคอื ความเปนจริง มุง ทจ่ี ะ
สืบคนถึงสิ่งท่ีจริงที่สุดที่อาจซอ นอยูเบ้ืองหลังปรากฎการณของลกู ที่ปรากฏตอผัสสะของมนุษย โดยมี
สมมุติฐานวามนุษยสามารถไลเลียงโลกต้ังแตภาพทป่ี รากฏไปจนถึงสารเบื้องตน ซ่งึ ซอนอยูเบ้ืองหลัง
ปรากฎการณทง้ั หลายของโลกได ซงึ่ นักปรัชญาบางคนก็เช่ือวาสารเบ้ืองตนของโลกอาจมีอยูประเภท
เดยี ว บางคนกเ็ ชอ่ื วามีสองประเภท บางคนก็เชื่อวามีตง้ั แตสามประเภทขึ้นไป ดังนั้นคาํ ตอบตอปญหา
ท่วี าอะไรคอื ความเปนจริงของโลกอาจจะแบง ไดเปน ๓ แนวคาํ ตอบในเบื้องตน ดังนี้

๑๙

๑. สารเบื้องตนท่ีเปนความจริงและซอนอยูเบื้องหลังปรากฏการณของโลกมีเพียงประเภท
เดียวเรยี กวาทฤษฎีเอกนยิ ม

๒. สารเบ้อื งตน ท่ีเปนความเปนจรงิ และซอนอยูเบ้ืองหลังปรากฎการณของโลกมีสองประเภท
เรียกวาทฤษฎีทวนิ ิยม

๓. สารเบ้ืองตนท่ีเปนความเปนจริงและซอนอยูเบื้องหลังปรากฏการณของโลกมีต้ังแตสาม
ประเภทขึ้นไปเรียกวา ทฤษฎีพหุนยิ ม

อยางไรก็ตาม ยังมีความเห็นแตกตางกันในหมูนักปรัชญาอีกดวยวา สารเบ้ืองตนมีลักษณะ
เปนจิตกลาวคอื เช่ือวาจิตเปนส่ิงเร่ิมแรก และอยูเบ้ืองหลังปรากฏการณทั้งหลายของโลกเรียกวาฝาย
จติ นยิ ม หรือบางคนเชือ่ วาสารเบอ้ื งตน มลี กั ษณะเปน สสารกลาวคอื เชอ่ื วาสสารเปนสิ่งเริ่มแรกและอยู
เบ้ืองหลังปรากฏการณท้ังหลายของโลกเรียกวา ฝายสสารนิยม ดังน้ัน แนวคําตอบเก่ียวกับสาร
เบื้องตน ๓ แนวดงั กลาวขางตนสามารถแยกอยา งละเอยี ดออกไปไดเ ปน ๕ แนวคําตอบ

๑. เอกนิยมจิตนิยม เปนแนวคําตอบที่มีความเห็นวาสารเบื้องตน มีเพียงประเภทเดียวและมี
ลกั ษณะเปนจิต

๒. เอกนิยมสสารนิยม เปน แนวคําตอบท่มี ีความเห็นวา สารเบ้ืองตน มีเพยี งประเภทเดยี วและ
มลี กั ษณะเปน สสาร

๓. ทวินิยม เปนแนวคําตอบท่ีมีความเห็นวา สารเบ้ืองตนมีสองประเภทคือจิตกับสสา รเปน
สารเบอ้ื งตน คกู ันมาแตเ ร่มิ แรก

๔. พหุนิยม เปนแนวคําตอบที่มีความเห็นวา สารเบ้ืองตนมีต้ังแตสามประเภทขึ้นไปและมี
ลกั ษณะเปน จิตทัง้ หมด

๕. พหุนยิ มสสารนยิ ม เปนแนวการคาํ ตอบที่มคี วามเห็นวาสารตง้ั ตน มสี ามประเภทขึ้นไปและ
สารเบือ้ งตน เหลานนั้ มลี กั ษณะเปนสสารทั้งหมด

การศกึ ษาเรอ่ื งความเปนจรงิ นัน้ นกั ปรัชญามไิ ดศกึ ษาเฉพาะความเปนจริงของโลกเทาน้ัน แต
ยังศึกษาไปถึงความเปนจริงของจิตหรือวิญญาณทั้งนี้เราไมอ าจปฏิเสธไดวามนุษยมพี ฤติกรรมทางจิต
หลายอยางเชน ดใี จ เสียใจ หึงหวง และรูจิต ท่ีไดชื่อวาเปนบอเกดิ ของพฤติกรรมทางจิตเหลานั้นคือ
อะไรกันแน จิตคือตัวจิต จริง ๆ ท่ีเปนสิ่งท่ีแตกตา งจากสสารท้ังหลายและเปนอมตะ หรือเปนเพียง
สสารอยางหนง่ึ แตเ น่ืองจากเปนระบบที่ซับซอนจึงสามารถแสดงพฤติกรรมท่ีละเอยี ดออน เชน เสียใจ
และหึงหวงได นอกจากเร่อื งความเปนจริงของจิตหรือวิญญาณแลวมนุษยบางกลุมยังเช่ือในความมอี ยู
ของพระเจา นักปรัชญาจึงตองการที่จะตอบปญหาเกยี่ วกับพระเจาวา พระเจาคืออะไร พระเจามีจริง
หรือมแี ตเพยี งความคิดเกี่ยวกบั พระเจา ของมนุษยเ ทา นน้ั แตพระเจาจริงไมม อี ยู ดังนั้น ปญหาเก่ียวกับ
ความเปนจรงิ คอื อะไรหรอื ปญหาอภิปรชั ญาสามารถจําแนกเปน ๓ ปญ หาดงั น้ี

๑. อภิปรัชญาวา ดวยพระเจา หรอื ปรัชญาเทวะ

๒๐

๒. อภปิ รัชญาวา ดวยจิตหรอื ปรชั ญาจิต
๓. อภปิ รัชญาวาดวยธรรมชาติหรอื โลกหรือปรัชญาจกั รวาล
๒. เรารคู วามเปน จริงไดอยางไร (How to know Reality?)
ปญหานี้ดูไมเปนปญหาสําหรับคนท่วั ไปเชนเดยี วกัน ท้ังนี้เพราะโดยท่ัวไปยอมรับกันอยางไม
สงสัยเลยวาโลก หรือส่ิงภายนอกคือความเปนจริงแลว มิใชสิ่งปรากฏของความเปนจริงหรือสาร
เบื้องตนท่ีซอนอยูเบ้ืองหลัง นอกจากนี้ยังยอมรับอยางไมสงสัยวา ถาโลกท่ีปรากฏคือความเปนจริง
มนุษยก็มสี มรรถภาพพอที่จะรบั รโู ลกอยา งที่โลกเปน หรือความรูเกย่ี วกบั โลกของมนุษยน้ันตองตรงกับ
ขอ เทจ็ จรงิ ของโลกเสมอ อยางไรก็ตาม สําหรับนักปรัชญาแลวยังมีปญหาของใจอยูวา อาจมีความเปน
จริงอ่ืนไดที่จริงกวาภาพปรากฏของโลกกลาวคอื โลกววิ ัฒนาการมาจากสารเบ้ืองตนบางอยาง ดังนั้น
ถามีความเปนจริงบางอยางซอนเรนอยูนอกขอบเขตของประสาทสัมผัส มนุษยมีสมรรถภาพไหนบาง
ไหมท่ีสามารถหยั่งรูเลย ภาพปรากฏของโลกไปสูความเปนจริงนั้นตอ ปญหาดังกลาว โซฟสตเคยตอบ
มาแลววามนษุ ยไ มม ีสมรรถภาพใดทีส่ ามารถทาํ ใหมนษุ ยร ทู ะลไุ ปถึงความเปนจริงน้นั ไดแตเพลโต และ
อริสโตเติล้ เชื่อวามนุษยมีความสามารถพอที่จะรูทะลุไปถงึ ความเปนจริงน้ัน ไดกลาวโดยสรุปปญหา
ที่วาเรารูความจริงไดอยางไร คือปญหาท่ีสืบเนื่องมาจากปญหาอภิปรัชญาท่ีวา ถาความรูเปนจริง
แตกตางจากภาพปรากฏของโลก มนษุ ยจ ะมีสมรรถภาพไหนบางทีพ่ อจะทาํ ใหมนุษยรูถงึ ความเปนจริง
ดงั กลาวได ปญหาดงั กลาวนั้นทางปรชั ญาเรียกวา เปนปญหาเกยี่ วกบั บอเกดิ ของความรู (The origin
of Knowledge)ตอปญหาดังกลาวมีแนวคาํ ตอบสําคญั อยู ๒ แนวคือ
๑. ทฤษฎเี หตุผลนยิ ม (Rationalism) เปนแนวคําตอบท่มี ีความเหน็ วาเหตุผล (Reason) คอื
บอ เกดิ ของความรทู ี่ถกู ตอง
๒. ทฤษฎปี ระสบการณน ิยม (Empiricism) เปน แนวการตอบทม่ี คี วามเหน็ วา ประสบการณ
คือ บอเกดิ ของความรูท ี่ถกู ตอ ง
นอกจากนี้ โดยท่วั ไปมักจะยอมรับกันอยางไมสงสัยเลยวา ความรูเก่ียวกับโลกภายนอกของ
มนุษยน ้นั ตองตรงกันหรือสอดคลองกันกบั ขอเทจ็ จริงของโลกภายนอก เชน ถามนุษยรูวาดอกกุหลาบ
มกี ล่ินหอม มนุษยก ม็ กั จะยอมรับกนั อยางไมสงสัยวา มดี อกกุหลาบทีม่ ีกล่ินหอมจริง ๆ และมนุษยรับรู
ขอ เทจ็ จริงดงั กลา วไดตรงกันกบั ขอ เท็จจรงิ นนั้ นั่นคอื โดยทัว่ ไปยอมรับความเปนจริงของโลกอยางเปน
อิสระจากการรับรูของมนุษยและการรับรูของมนุษยคือการถายทอดขอเท็จจริงของโลกเทาน้ันเอง
มนุษยจึงเปนฝายดูดซึมขอมูลเกี่ยวกับโลกหรือความรูเก่ียวกับการท่ีมนุษยดูดซับขอเท็จจริงของโลก
เทา นั้น แตเ นอ่ื งจากนักปรัชญาบางกลุมยังสงสัยวามนุษยไมไดเปนเพยี งฝายดดู ซับขอเทจ็ จริงของโลก
เทา นน้ั แตม นุษยนนั่ เองเปนผูสรางความรูเก่ยี วกับโลกข้ึนมาดว ยตวั เองหรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา ขอมูล
เก่ียวกับโรคนั้นมาจากการกาํ หนดของมนุษยโดยเปรียบเทียบกับขอเท็จจริงที่วาถามนุษยทกุ คนสวม
แวนตาสีเขียว โลกที่ปรากฏแกมนุษยคือโลกที่มีสีเขียว ดังน้ัน สีเขียวของโลกถูกกําหนดโดยมนุษยผู

๒๑

สวมแวนตาสเี ขยี ว และถามนุษยสวมแวนตาสีเขยี วโดยไมถอดเลยมนั ก็ตองมีความเช่ือรวมกันอยางไม
สงสัยวาโลกมีสีเขยี วท้ัง ๆ ท่ตี นเองเปน ผูกําหนดความมีสีเขียวใหกบั โลก กลาวโดยสรุปปญหาเกยี่ วกบั
ความรูในแงน ี้ก็คือปญหาทวี่ า ความรขู องมนุษยสัมพันธกับความเปนจริงอยางไรความรูของมนุษยตรง
กับความเปนจริงภายนอกหรือไม หรือความรูของมนุษยน้ันเปนสิ่งท่ีมนุษยสรางข้ึนมาเองจึงไม
สอดคลองกบั ความเปน จริง ปญ หาเกีย่ วกบั ความรดู ังกลา วเรียกวา ปญหาธรรมชาติของความรู ปญหา
นี้มจี ุดเริ่มตนท่ี ยอรช เบอรคเลย (George Berkeley) กลาวคอื แตเดมิ เชื่อกันวาวัตถุทงั้ มวลรอบ ๆ
ตัวมนุษย เชน ภูเขา ตนไม แมน้ํา มอี ยูจริงอยางท่ีมนุษยรับรูทุกประการ และเปนอิสระจากการรับรู
ของมนุษย แตรปู เบอรค เลย กลบั มีความเห็นวา ไมเคยมคี วามเปนจริงของสิ่งเหลานี้ สิ่งเหลานี้มขี ้ึนได
เพราะการรับรขู องมนุษยเ ทา นน้ั ดังน้ันสิ่ งใดจะปรากฏขึ้นตอ งอาศัยการรับรูข องมนษุ ยเ ปนตวั กําหนด

แนวคาํ ตอบสาํ หรับปญหาดังกลาวมีอยดู วยกัน ๒ แนวคาํ ตอบสําคญั คือ
๑. ทฤษฎีสัจนิยม (Realism) เปนแนวคําตอบที่มีความเห็นวา มีความเปนจริงของโลก
ภายนอกท่ีเปนอสิ ระจากการรับรูของมนุษยดงั น้ัน ตนไม ภูเขา และดอกกุหลาบ มีอยูจริงมนุษยจะมี
ความรเู ก่ยี วกับสิง่ เหลา นี้ไดก ็คือดูดซบั ขอมูลของความเปน จรงิ น้ี
๒. ทฤษฎีจิตนิยม (Idealism) เปนแนวคําตอบที่มีความเห็นวาไมมีความเปนจริงใดท่ีเปน
อสิ ระจากการรบั รขู องมนุษย มนษุ ยนัน่ เองเปน ผูสรา งขอ มูลของความรูเกี่ยวกับโลกขน้ึ มาเอง
ดังน้ีจะเห็นวาปญหาท่ีวา เราจะรูความเปนจริงไดอยางไร น่ันก็คือปญหาเก่ียวกับความรู
นั่นเอง ซึ่งทางปรัชญาเรียกวา เปนปญหาญาณปรัชญาหรือญาณวิทยา (Epistenology) ซ่ึงกลาวถึง
ปญ หาสําคัญเกยี่ วกับความรู ๒ ปญ หาคือ ปญ หาบอกเกดิ ของความรูแ ละปญ หาธรรมชาติของความรู
๓. เราพงึ ปฏิบัตติ นอยางไร จึงจะสอดคลอ งกบั ความเปน จรงิ (How to act according
to Reality?)
ปญหาน้ีจะกลาวถึงจุดมุงหมายของชีวิตที่มนุษยควรแสวงหา หรือเปนปญหาเก่ียวกับ
อุดมการณหรืออุดมคติของชีวิตหรือส่ิงที่ดสี ูงสุดของชีวิต นอกจากน้ี มนุษยนั้นไมไดอ ยูโดดเดยี่ วตาม
ลําพงั ตนเอง แตตองอยูรวมกับคนอนื่ ๆ เปนสังคม ปญหาดังกลาวจึงรวมถึงปญหาที่มนุษยควรปฏิบัติ
ตอ เพอ่ื นมนษุ ยด ว ยกนั อยา งไรปญหาท่ีกลาวมาแลวท้ังสองปญหาสัมพนั ธกบั ปญหาเร่ืองความเปนจริง
กเ็ พราะวา การทีใ่ ครจะมอี ุดมคติชีวิตอยางไรหรือการทีบ่ ุคคลใดจะเห็นวาสิ่งใดเปนส่ิงดีสูงสุดของชีวิต
และเขาควรจะปฏิบัติตนตอคนอ่ืน ๆ อยางไรในสังคมนั้น ความเห็นน้ันตองสอดคลองกับทัศนะ
เกี่ยวกับความเปนจริงตัวอยาง เชน ผูท่ียอมรับความเปนจริงของวัตถุเทานั้น หรือยอมรับวาสาร
เบ้ืองตนของวัตถุคือสสารไมมีอะไรท่ีจริงไปกวาน้ี ผูน้ันจะมีทัศนะวา สิ่งดีที่มนุษยควรแสวงหาคือ
ความสุข อันเกิดจากความสะดวกสบายทางวัตถุ ดังนั้น มนุษยจะดีหรือเลวก็ข้ึนอยูกับวาสภาพทาง
วัตถุจะดีหรือไม สวนผูทยี่ อมรับวาโลกแหงวัตถทุ ี่เราจับตอ งไดนั้นมีความเปนจริงนอยกวา โลกอีกโลก
หนง่ึ ซง่ึ เปนนามธรรม แตจีรังกวา ผูน้ันจะมีความเห็นวาส่งิ ดที ี่มนุษยควรแสวงหาจึงไมใชความสุขทาง

๒๒

ผัสสะ เชน รปู รส กลิน่ เสยี ง แตส ิ่งทีม่ นษุ ยควรแสวงหาหรือมจี ุดหมายไปสคู อื โลกท่ีเปนนิรันดรดรน้ัน
และมนษุ ยค วรคํานงึ ถงึ สันติสขุ ทางจิตมากกวาการแสวงหาความรํา่ รวยทางวตั ถุ

ปญ หาท่ีวาเราพึงปฏบิ ัติตนอยางไรจงึ จะสอดคลองกับความเปนจรงิ น้ี ทางปรัชญาเรียกวาเปน
ปรัชญาจริยะ (Ethical Philosophy)หรือบางทา นเรียกรวมรวมวาเปนปญหาจริยศาสตร (Ethics)ซ่งึ
หมายถงึ ปญหาทางปรัชญาที่เกีย่ วกบั เรื่องความประพฤตแิ ละคุณคา (Value) หรือสิ่งดีสูงสดุ ทีม่ นุษย
ควรแสวงหาในชวี ิตและเนื่องจากวาเปนเรื่องเกี่ยวกับคณุ คา จึงเรียกอีกอยางหน่ึงวาเปนปรัชญาคณุ คา
หรอื คุณวทิ ยา (Axiology)

นอกจากศึกษาถึงเรื่องคุณคาในแงของความประพฤติแลว นักปรัชญายังพูดถึงปญหาเรื่อง
คุณคาของความงาม ดังน้ันปรัชญาคุณคาหรือคุณวิทยา ยังหมายรวมถึงคุณคาของความงามหรือ
คณุ คาของสุนทรียภาพไวดวย เรียกวาปรัชญาศิลปะ (Philosophy of Art) หรือสุนทรียศาสตร
(Aesthetics)

กลา วโดยสรุป ปรัชญาบริสทุ ธิค์ อื ปรัชญาทเี่ กย่ี วของกับปญหาเรือ่ งความเปนจริงซ่ึงเชื่อกันวา
เปนเร่ืองของปญหาปรัชญาโดยเฉพาะ ไมจําเปนตอ งเก่ยี วของกับผลสรุปของวชิ าอ่ืน ๆ ทแี่ ยกตัวออก
จากวิชาปรชั ญาไปแลว ปญหาเก่ยี วกบั ความเปนจริงนนั้ มีอยู ๓ ปญหาทีส่ าํ คญั คือ

๑. ความเปนจริงคืออะไร? หมายถึง ปญหาอภิปรัชญาทีต่ องการสืบคนไปถึงสิ่งทจ่ี ริงท่ีสดุ ท่ี
อาจซอ นอยเู บือ้ งหลงั ปรากฏการณของธรรมชาติหรือโลกจติ หรือวญิ ญาณและพระเจา

๒. เรารูความเปนจริงไดอยางไร? หมายถึงปญหาญาณปรัชญาหรือญาณวิทยาท่ีตองการ
สืบคนไปถึงเร่ืองของบอเกิดของความรูท่ีถูกตองท่ีสามารถนําไปสูการรูจักหรือมีความรูที่ถูกตอง
เกี่ยวกับความเปนจริงไดรวมท้ังปญหาเก่ียวกับความสอดคลองหรือความสัมพันธระหวางความรูกับ
ขอเทจ็ จริงหรอื ความเปน จริง

๓. เราพึงปฏิบัตติ นอยางไร? จึงจะสอดคลองกับความเปนจริงหมายถึงปรัชญาจริยะหรือจริย
ศาสตรท ต่ี อ งการสบื คน ถงึ สง่ิ ดสี ูงสดุ ท่มี นุษยควรแสวงหาและแนวทางท่ีมนุษยพ ึงปฏบิ ัตติ อเพื่อนมนุษย
ดว ยกนั ซึ่งมีรากฐานมาจากทศั นะของการยอมรับวาอะไรคอื ความเปน จริงของแตล ะคน

ปรัชญาประยุกต (Applied Philosophy)หมายถึง ปญหาปรัชญาเฉพาะเร่ือง เพราะเปน
ปญ หาปรชั ญาทพ่ี าดพิงกับผลสรุปของวิชาอื่น ๆ ท่แี ยกตวั ออกไปจากวิชาปรชั ญาแลว

ปญหาปรัชญาเฉพาะเร่ือง (Special Topic) หมายถงึ ปญหาท่ียังครอบคลุมไปถึงผลสรุปของ
วิชาอ่ืน ๆ ท่ีแยกตัวออกไปจากวิชาปรัชญาแลว ท้ังนี้เรียกกันวาเปนปญหาเฉพาะเร่ืองหรือขอบเขต
ของปรชั ญาประยุกต (Applied Philosophy) โดยพยายามศึกษาสวนท่ียังคงเปนปญหาใหตริตรอง
ได ปญ หาปรัชญาเหลา น้เี รียกชอ่ื ตามวชิ าทปี่ รชั ญาเขาไปเกยี่ วขอ ง

๑. ปรัชญาศาสนาเกี่ยวของกบั คําสอนของศาสนาตาง ๆ จําเรียกช่ือไปตามช่ือของศาสนาท่ี
เก่ียวของดว ยเชน ปรัชญาพุทธศาสนา ปรชั ญาศาสนาครสิ ต ปรัชญาศาสนาอิสลาม

๒๓

๒. ปรัชญาวิทยาศาสตร (Philosophy of Science)
๓. ปรชั ญากฎหมาย (Philosophy of Law)
๔. ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy)
๕. ปรชั ญาการศึกษา (Philosophy of Education)
๖. ปรชั ญาภาษา (Philosophy of Language)
๗. ปรชั ญาจิต (Philosophy of Mind)
๘. ปรชั ญาประวัติศาสตร (Philosophy of History)
๙. ปรชั ญาคณิตศาสตร (Philosophy of Mathematics)
๑๐ ปรชั ญาสังคม (Social Philosophy)

๘. ประโยชนของหนาทว่ี ิชาปรัชญา

วิชาปรัชญามีอิทธิพลตอชีวิตมนุษยทั้งในฐานะสวนตัวและสังคม ดังน้ันเมื่อเราศึกษาวิชา
ปรชั ญาแลว จะเหน็ ไดว า ปรัชญาน้นั มีประโยชนต อชวี ิตมนุษยและสังคมอยางยงิ่ ดังจะสรุปไดดังน๑ี้ ๑

๑. ปรัชญามบี ทบาทตอชีวติ มนุษยส ว นบคุ คล การศึกษาวชิ าปรชั ญานัน้ จะทําใหเราสามารถ
มองเหน็ ปญหาการรับรอบตวั เองไดดใี นขณะเดยี วกันก็สามารถกําหนดแนวทางแหงการดาํ รงชีวิตของ
เราไดน ั่นคือ เราไดเ จอจุดมุงหมายถึงชีวิตของเราเลือกท่ีจะเดนิ ไปสงตามจุดมุงหมายน้ัน การกระทํา
ใดๆ ถากระทําโดยมจี ุดมุงหมายแลว ยอมจะประสบผลสําเร็จได ดงั คําคมท่ีวา ‘การเริ่มตนท่ดี ีเทา กบั
สําเรจ็ ผลแลวคร่ึงนงึ ’ อีกประการหน่งึ การศกึ ษาปรัชญา ศลี ธรรม หรือจริยศาสตร จะชวยใหมนุษยรูดี
รูชั่ว รูถูก รูผิด แลวเลือกกระทําแตสิ่งที่ดีมีประโยชนตอตนเองและสังคม อันจะสงผลใหเราประสบ
ผลสาํ เร็จในชีวติ

๒. ปรชั ญามบี ทบาทตอ มนุษยในการประพฤติปฏบิ ตั ติ นตอคนอน่ื
การศกึ ษาวิชาปรัชญาน้ันจะทําใหเราสามารถ เขา ใจ ความแตกตางระหวางบุคคลในสังคมไดด ีและใน
ขณะเดียวกันเราก็จะรูจักการกําหนดแนวทางที่พึงปฏิบัติตอเพ่ือนมนุษยในสังคมนั้นๆ กลาวคือ
ประพฤตปิ ฏิบตั ิท่ีแสดงตอ คนอื่นในสังคมจะถูกกําหนดโดยปรัชญาชีวิตของแตละคน เชน นาย ก เปน
คนเจาอารมณหรอื นาย ข เปน คนสภุ าพเรียบรอยผูศกึ ษาปรัชญาเม่ือรูขอแตกตางระหวางนาย ก และ
นาย ข เขาใจนาย ก และนาย ข ไดดีเราจะสามารถกําหนดพฤตกิ รรมที่พึงปฏิบัตติ อนาย ก และนาย
ขไดอยางถูกตอ ง

๑๑ สกล นิลวรรณ, ปรัชญาเบื้องตน, (กรุงเทพฯ : ภาควชิ าปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยครูสวนดุสิต,
๒๕๒๒), หนา ๑.

๒๔

๓. ปรชั ญามีบทบาทตอชวี ิตในสังคม
การศึกษาวิชาปรัชญาจะทําใหเราเขาใจความสัมพันธตางๆ ทางสังคมไดดีเนื่องจากมนุษยเปนสัตว
สังคมตองมกี ารรวมกลุมเปนหมคู ณะ กอ ใหเกิดสังคมข้ึน เชน ครอบครัว หมบู าน เมือง เปนตน วิชา
ปรัชญาช้ีบอกถึงหนาท่ีที่มนุษยในสังคมจะพึ่งกระทําตอกันและชี้ถึงความสําคัญของความสัมพันธท่ี
สังคมน้ันๆทจ่ี ะพงึ มตี อ สังคมอื่นๆ เมื่อมนุษยในสังคมเขาใจหนาที่ของตนเองที่จะพึงกระทําเพอ่ื ตนเอง
และเพือ่ สังคมที่ตนอาศัยอยู และปฏิบัตหิ นาที่อันน้ัน จะทาํ ใหผลดีบังเกิดตอชีวิตสวนของเขาเอง ใน
ขณะเดยี วกันกส็ งผลดีตอสังคมดว ย

๔. ปรชั ญามีบทบาทตอการเมือง
การศึกษาวิชาปรัชญาโดยเฉพาะปรัชญาการเมืองจะทําใหเรามีความรูความเขาใจในระบบการ
ปกครองตางๆไดดีและสามารถกําหนดแนวทางของการมีสวนรวมในดานการเมืองของตนเองได ใน
ขณะเดยี วกนั จะสามารถวางตัวในฐานะผูนําและผูตามท่ีดีไดอีกดวยปรัชญาการเมอื งระบบตางๆ เชน
สังคมนิยม ประชาธิปไตย คอมมูนิสต เผด็จการ คณาธิปไตย เปนตน กอใหเกิดการปกครองและรับ
แบบตา งๆ
เราผูอยใู นสงั คมนั้นๆจะเขา ใจสทิ ธิและหนา ทข่ี องตนเองที่จะพงึ ปฏิบัติตอ สังคมตนเอง

๕. ปรชั ญามีบทบาทตอเศรษฐกิจ
เราทุกคนตอ งทํางานและหารายไดเพอ่ื เล้ียงชีพของตนเอง การศึกษาวิชาปรัชญาจะทําใหเรากําหนด
แนวทางไดวา เราจะทํางานที่มลี ักษณะอยางไร และหารายไดมาอยางไรจึงจะมีความสุข ไมเกิดทุกข
และโทษแกตนเอง ในขณะเดียวกันปรชั ญาจะชใ้ี หเรากําหนดไดวาจากรายไดของเรานน้ั เราควรใชจาย
อยา งไรจงึ เหมาะสมแกก ารดํารงชพี ของตนเอง

๖. ปรัชญามีบทบาทตอวฒั นธรรม
ปรชั ญาของนกั ปรัชญาเมธชี าติยอ มจะเปน เครื่องบง ช้ีถึงความเจริญกาวหนาทางวัฒนธรรมของชาตินั้น
ๆ ดวย ปรชั ญาซึ่งมอี ทิ ธิพลตอวัฒนธรรมในทุก ๆ ดาน อารซี เจ บาย กลาวไววา ‘ถาไมมปี รัชญา ก็
ไมอาจจะมีอารยธรรมไดฯ ลฯ’ ความเจริญกาวหนาทางปรัชญาจะเปนเคร่ืองแสดงความกา วหนาทาง
วฒั นธรรมใหป รากฏและเมอ่ื เราเขา ใจเชน นีแ้ ลว จะกอ ใหเ กิด

๒๕

สรปุ ทายบท

ปรัชญาเปนยอดของสติปญญาเชิงสรางสรรคของมนุษย เพราะเปนสิ่งที่ยกระดับการ
ดํารงชีวิตของมนุษยตามยถากรรมไปสูการดํารงชีวิตที่มีความหมาย ปรัชญาเปนความพยายามอัน
พากเพียรไมทอถอยท่ีจะทําความเขาใจชีวิตของมนุษย โลกทัศนหรือปรัชญาน้ันไมใชความคิดในรูป
ของทฤษฎีทป่ี ราศจากความสําคัญในทางดานปฏิบัติ แตปรัชญาเปนสวนหนึ่งของตัวของเรา ปรัชญา
เปนองคประกอบในชีวิตประจําวันของเรา ปรัชญานั้นหย่ังลึกลงไปเพ่อื หาหลักการข้นั มลู ฐานของชีวิต
ซึ่งเปน สิง่ ทีท่ ําใหคนทัง้ หลายเกดิ ความรูสึกวา ปรัชญาเปนเร่ืองทีห่ า งไกลจากชีวิตประจําวัน แตชีวิตท่ี
ปราศจากหลักการน้ันหาเปนชีวิตที่มีคุณคาอันใดไม เราอาจจะกระทํากิจการอันใดกต็ ามถา หากมีการ
ถกเถียงถึงเรื่องทางดานการปฎิบัติแลว ท่ีน่ันก็จะตองมีการพูดถึงหลักการอยูทุกคร้ังไป ลักษณะ
นามธรรมของปรชั ญา ไมไดแ สดงวาปรชั ญานนั้ ไมมคี วามสําคัญแกชีวิต หนทางของปรัชญาเปนหนทาง
ทยี่ ากลําบากแตเปนหนทางที่นําไปสูความเขาใจเรื่องของชีวิตท่ีสมบูรณกวาเดมิ เรื่องของชีวิตท่ีดีงาม
กวาเดิม

ปรัชญาเกิดขน้ึ เพราะมนุษยรูจักคิด ดังท่ีอริสโตเติลกลาวไววา “มนุษยเปนสัตวรูคิด” ซ่ึง
สมรรถภาพในการคิดเปนเอกลักษณของมนุษยทแี่ ยกมนุษยออกจากสัตวโลกอื่นๆ ปรัชญาจึงเปนเรื่อง
ของมนุษยในฐานะท่ีเปนมนุษย เปนความพยายามของมนุษยในการท่จี ะเขา ใจโลกและชีวิตวา มคี วาม
เปน จรงิ อยางไร เรารูความจรงิ ไดอยางไร รวมทัง้ การเสนออดุ มคติของชีวิตวาคืออะไรเปน ตน

อยางไรก็ตาม เน่ืองจากปรัชญาเปนศาสตรท่ีมีขอบขายกวางขวางมาก การจะใหคําจํากัด
ความปรัชญาอยางแนนอนตายตัวลงไปจงึ เปน เรอื่ งทม่ี อิ าจทาํ ได นอกจากน้ีปญหาทางปรัชญาก็ยังเปน
ปญหาที่มิอาจใหคําตอบที่แนนอนตายตัวได เพราะถาเปนเชนน้ันปญหาดังกลาวก็จะไมเปน ปญหา
ทางปรชั ญาอกี ตอ ไป แตจ ะแยกตัวออกไปเปนศาสตรเฉพาะของตนและเน่ืองจากเหตุผลเปนเครื่องมือ
เพียงอยางเดียวของปรัชญา คําตอบท่ีนาจะเปนไปไดจึงข้ึนอยูกับเหตุผลที่มาสนับสนุนและคําตอบ
ดังกลาวก็ไมสามารถทดสอบไดวาจริงหรือเท็จ ปรัชญาจึงแตกตางจากวิทยาศาสตรในแงน้ี เพราะ
คําตอบทางวทิ ยาศาสตรน้ันสามารถตรวจสอบความจริงเท็จของมนั ได

สําหรับผูเรียน ปรัชญามิไดมีหนาที่ตัดสินวาคําตอบใดถูกหรือผิด ปรัชญาเพียงแตเสนอ
คําตอบที่เปนไปไดและใชเหตุผลมาสนับสนุนคําตอบน้ันๆ จึงเปนหนาท่ีของผูเรียนท่ีจะใช
วิจารณญาณของตนเอง ตัดสินวาจะเห็นดวยกับคําตอบของลัทธิใด อันเปนการฝกใหผูเรียนรูจักคิด
อยางมีเหตุผล มีโลกทัศนท่ีกวางข้ึน นอกจากน้ีปรัชญายังมีประโยชนในแงท่ีทําใหผูเรียนเปนผูมีใจ
กวาง ยอมรับฟง ความคิดเห็นและเหตุผลของผูอืน่ แมจะไมต รงกับความคิดเห็นของตน ไมเปนคนคับ
แคบและดิ่งในความเห็นของตนแตฝายเดยี ว จนเปนเหตุใหเขากบั ผูอืน่ ไมได ปรัชญาสงเสริมใหผูเรียน
รูจกั และเขาใจตัวเองอันถือวา เปน ส่ิงสาํ คัญที่สุดทพ่ี งึ่ ไดจ ากการศกึ ษาปรัชญา

๒๖

เพราะฉะน้ันการศึกษาเร่ืองทัศนะแหงชีวิตของปรัชญาตา ง ๆ ท่ีแขงขันขับเค่ียวกันมาตามท่ี
ปรากฏในประวัติศาสตรแหงความคิดของมนุษย ตลอดท้ังเหตุผลของทัศนะแหงชีวิตท่ีแตกตางกัน
เหลานั้น จึงเปนภาระหนาท่ีและความรับผิดชอบของบุคคลผูมีสติปญญา และความคิดทุกคนจะพึง
กระทาํ

๒๗

เอกสารอางองิ ประจําบท

กีรติ บญุ เจอื . ปรชั ญาเบอื้ งตน และ ตรรกวทิ ยาเบอ้ื งตน. กรงุ เทพฯ : ผดงุ วทิ ยาการพมิ พ, ๒๕๑๒.
คณู โทขนั ธ. ปรัชญาเบอื้ งตน. ขอนแกน :ภาควิชามนษุ ยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร,

๒๕๒๗.
ทองหลอ วงษธ รรมา, รศ., ดร. ปรชั ญาท่วั ไป. กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พโอเดยี นสโตร, ๒๕๔๙.
บญุ มี แทน แกว , สถาพร มาลเี วชรพงศ และประพฒั น โพธิก์ ลางดอน. ปรชั ญาเบือ้ งตน

(ปรัชญา ๑๐๑). กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริน้ ต้ิง เฮาส, ๒๕๒๙.
ปานทพิ ย ศภุ นคร. ปรัชญาเบื้องตน . กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๔๒.
พระพทิ ักษิณคณาธิกร. ปรัชญา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพด วงแกว, ๒๕๔๔.
วิทย วศิ ทเวทย. ปรชั ญาทว่ั ไป. กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พอ ักษรเจรญิ ทศั น, ๒๕๒๕.
วโิ รจ นาคชาตร,ี รศ. ปรชั ญาเบอ้ื งตน. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๕๒.
ศรัณย วงศค าํ จนั ทร. ปรัชญาเบอื้ งตน. กรงุ เทพฯ : อมรการพิมพ, ม.ป.ป.
สกล นิลวรรณ. ปรัชญาเบ้ืองตน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยครูสวนดุสิต,

๒๕๒๒.
สุจิตรา ออนคอม, รองศาสตราจารย ดร. ปรัชญาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตรและ

สงั คมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี, ๒๕๔๘.

บทที่ ๒
ความสัมพันธระหวา งปรัชญากับศาสตรต า งๆ

ความนํา

เม่อื ไดย นิ หรืออานพบคําวา “ปรัชญา” คําถามแรกทเี่ กิดข้ึนคือ ปรัชญาคืออะไร? การตง้ั คําถามน้ี
เปน เร่ืองงา ย แตเปน เรื่องยากท่ีจะตอบใหถกู ตอ ง แมแตนกั ปรัชญาเองก็ตอบคําถามนแ้ี ตกตา งกัน เชนบาง
คนกลาววาปรัชญาเปนการมองดูโลกและชีวิตแบบลึกซึ้ง ในขณะที่หลายคนอธิบายวา ปรัชญาเปนวิธีการ
คดิ และแสวงหาความรูโดยใชเหตุผล นอกจากน้ันยงั มีนักปรัชญาจาํ นวนไมนอยที่เขาใจวาปรัชญาเปน วิธกี าร
วิเคราะหความรูและภาษาในศาสตรตางๆ ใหกระจางแจงเพ่ือชวยใหเกิดความเขาใจอยางถองแท ถึงแม
ความคิดเห็นในเรื่องความหมายของ “ปรัชญา” แตกตางกัน แตนกั ปรัชญาทุกคนกย็ อมรับวาธรรมชาติของ
ปรัชญาคือการใชเหตุผลวิเคราะห วิพากษ และสังเคราะหใหเกิดความรูใหมๆ ข้ึนมาเพอ่ื ตอบสนองความ
อยากรอู ยากเหน็ ของมนุษย

ความอยากรูอยากเหน็ เกิดข้ึนเพราะมนุษยสามารถตั้งคําถาม “ทาํ ไม?” ได เนื่องจากเปน สัตวโลก
ประเภทเดียวท่ีมีเหตุผล ซ่ึงทําใหอยากรูอยากเขาใจสิ่งตางๆ รอบตัวท่ีเปนปริศนาใหคิด ไมวาส่ิงมีชีวิต
หรือไมมีชีวติ เพราะทุกสิ่งทุกอยางท่ีมองเห็นลวนแตนาฉงนสนเทห ดวยกันทง้ั น้ัน แมแตชีวิตมนุษยเองก็
เปนสิ่งนารูนาเห็นไมน อยกวาโลกและจักรวาล ความอยากรูอยากเหน็ ความอยากหาคาํ ตอบในเรื่องตางๆ
ท่ีสงสัยไมเขาใจ เปนแรงจูงใจสาํ คัญท่ีทําใหมนุษยไมยอมอยูเฉยมุงแสวงหาความรู ตราบใดที่มนุษยไ มได
ความรูทีต่ องการ จติ ที่อยากรูอยากเห็นก็จะไมมีวันมสี งบและเปนสขุ โดยเหตทุ ีค่ วามรูเปนสิ่งไมมีขอบเขต
จํากัดและจับตองไมได ดังน้ันมนุษยจึงตองแสวงหาความรูสืบตอกันไปเรื่อยๆ โดยไมสิ้นสุด นี่เปนสิ่งท่ี
มนุษยต อ งแลกกับการเปนสัตวโ ลกที่มีเหตุผล
มนษุ ยอ าจมรี างกายเล็กกวา หรือมีพลงั นอยกวาสัตวใ หญ เชนชา ง แตม นุษยก ็เปน สิง่ มีชีวิตท่คี ิดเห็น ในเรือ่ ง
เร่ยี วแรงแลว มนุษยอาจไมแ ขง็ แกรงเชนตน ออที่ตองโอนเอนไปมาตามแรงลม แตมนษุ ยก เ็ ปนตนออที่คิด

๓๐

๑. ปรชั ญาและนกั ปรชั ญา

ปรัชญาเกิดจากการที่มนุษยมีความสามารถที่จะคิดหรือใชเหตุผล ในนัยน้ีในฐานะท่ีเปนมนุษย
เราทุกคนเปนนักปรัชญาในความหมายทั่วไปได ถาหากคิดวิเคราะห และวิพากษส่ิงตางๆที่พบเห็น และ
ใฝห าความรใู สต ัวใหเ ปน คนฉลาด ในอารยธรรมตะวันตก นักปรัชญาแตกตา งจากคนท่ัวไป เพราะเปนคนรัก
ความรูเปนชวี ิตจติ ใจและมคี วามสุขจากการแสวงหาความรูมากกวา อยา งอื่น การมุงมั่นหาความรู ทําใหนัก
ปรัชญามีจิตใจวิพากษ และไมยอมรับหรือทําอะไรท่ีไมสมเหตุสมผล เห็นจะเปนดวยเหตุน้ีบรรดาผูนิยมมี
ชีวิตตามกระแสสังคม และอยูกับความทึกทักหรือความไมรู จึงไมตองการคบคาสมาคมกับนักปรัชญาที่
ชอบต้ังคําถามตางๆใหตนตองคิดและไมสบายใจตามมา นักปรัชญากรีกชื่อโสเครตีสเปนตัวอยางของนัก
ปรัชญาที่กลาวมา คนท่ัวไปพยายามหลีกหนีการพบปะกับโสเครตีสที่พยายามปลุกตนใหตื่นจากการ
หลับใหลในความไมร ู ในขณะเดยี วกนั การวเิ คราะห วิพากษสงั คมของนักปรัชญาผูนท้ี ําใหนกั การเมืองถอื วา
โสเครตีสเปนอันตรายตอความปลอดภัย และความม่ันคงของบานเมือง โสเครตีสจึงมีสมญาวาเปน “ตัว
เหลือบ” ของสังคมเอเธนสในสมัยนั้น เพราะชอบไปรบกวนคนในสังคมไมใหพอใจในชีวิตที่ปรารถนาการ
วพิ ากษตวั เอง

การดําเนินคดีโสเครตีสเปนเหตุการณสําคัญในประวัติศาสตรอยางหน่ึงของมนุษยชาติ ขอ
กลาวหาท่ีโจทยฟองศาลมีหลายขอดวยกันรวมท้ังการที่โสเครตีสเปนภัยตอความสงบเรียบรอยและ
เสถยี รภาพของสังคมดวยการสอนคนใหคิดและตั้งคําถามเกี่ยวกับระบอบการปกครอง กฎหมาย บา นเมือง
รัฐบาล และจารีตประเพณี การดําเนินคดีจบลงดวยการพิพากษาใหประหารชีวิตโสเครตีสผูไมยอมรับผิด
และขอความกรุณาจากศาล แตก ลบั ประกาศยืนยันทจ่ี ะทําตามอุดมคตขิ องตนตอไปโดยการสอนคนใหคิด
และวิพากษร ะบอบการปกครองและจารตี ประเพณีตา งๆ เพ่ือใหส ิ่งใหมๆเกิดขน้ึ ในเอเธนส ความตายของโส
เครตสี ไมใชเปนจุดจบของปรัชญา แตเ ปนการเริ่มตน ของพฒั นาการที่ติดตอกันเปนเวลายาวนาน

ในประวัติศาสตรของมนุษยชาติ นักปรัชญาเชนโสเครตีสมีอยูทุกยุคทุกสมัยและมีสวนชวยให
ชวี ิตมนษุ ยเ จรญิ งอกงามและสังคมมพี ฒั นาการตางๆเกิดข้ึน นกั ปรัชญาท่ีรูจักกนั ท่ัวไป และเปนเหมือนดาว
ประกายพฤกของปญญามนุษยมีหลายคนรวมท้งั เพลโต และอริสโตเติลในกรีกสมัยโบราณ พระพุทธเจาโค
ตะมะในอินเดีย เลาจ๊ือและขงจื๊อในจีน ความคิดของนักปรัชญาเหลานี้มีอิทธิพลตอวัฒนธรรมและปญญา
ความคดิ ของคนในยุคสมัยตางๆจนถงึ ปจ จุบัน๑

๑ ออนไลนจ าก http://www.crs.mahidol.ac.th/thai/philosophy_currious.htm เมื่อวนั ที่ ๒๕ พฤศจิกายน
๒๕๓๙.

๓๑

๒. ปรชั ญากบั ศาสนา

ปรชั ญาและศาสนาน้ี ถา มองดตู ามแนวปรัชญาและศาสนาของโลกตะวันออกปรชั ญาและศาสนามี
ความสมั พันธก ันอยา งแนบแนน แทบจะแยกไมอ อกวา อะไรคือปรัชญาและอะไรคือศาสนา เพราะปรัชญา
ต้ังอยูบนพื้นฐานทางศาสนา นักปรัชญาเมธีตะวันออกเปนท้ังนักปรัชญาผูกอตั้งศาสนาในขณะเดียวกัน
ดงั นัน้ เม่ือเขาจะสอนคนอน่ื เขาจึงตอ งทําตัวเปนแบบอยางตามหลักธรรมคําสอนของตนเองดว ย เขาทํานอง
ท่ีกลาววา “จงทําอยางทขี่ าพูดและทําอยางท่ีขาทํา” ความจริงทางปรัชญาจึงสัมพันธกับความจริงทาง
ศาสนาและปรัชญาและศาสนาท้ังสองมีผลเพ่ือกูลซ่ึงกันและกันถามองดูตามแนวทางของโลกตะวนั ตกเรา
จะเห็นความแตกตางกันอยางเห็นไดชัดวาอะไรคือศาสนาอะไรคือปรัชญาแตกระท่ังก็ตามปรัชญาและ
ศาสนากม็ ีเก้ือกลู ตอ กนั และมคี วามสัมพนั ธก นั อยางใกลชดิ

กอนที่จะศึกษาปรัชญาและศาสนา เราควรจะมาทําความเขาใจกับคําศัพทเสียกอนวาปรัชญาคือ
อะไรและศาสนาคืออะไร แตเ น่อื งจากคําวา “ปรัชญา” ไดมีการอธบิ ายไวแลวในบทแรก(ศกึ ษาเพื่อศึกษา
และทาํ ความเขา ใจจากบทแรก)จงึ จะไมขอกลาวถึงอีก จะกลาวถึงเฉพาะคาํ วา “ศาสนา” เทานน้ั

“ศาสนา” มาจากคําวา “ศาสนะ” ในภาษาสันสกฤต แปลวา “คําสอน” หมายถึงหลักธรรมคาํ
สอนของศาสดาผูประกาศศาสนานั้น ๆ ซึ่งมีจุดมุงหมายอยูที่ความสําเร็จ ความสงบสุข สันติสุข ของผู
ประพฤติปฏิบัติตาม ในภาษาอังกฤษที่ใชคําวา Religion ซ่ึงเปนคํามาจากภาษาละตินวา Religio มี
ความหมาย ๓ อยางคือ ๑. ความผูกพันกับพระเจา ๒. การสวดมนตห รือรําลกึ ถึงพระเจา ๓. การหวน
กลบั มาหาพระเจา ซ่งึ ถาสรปุ ตามความหมายน้ีก็ไดความวา “ศาสนาคือเคร่ืองนําพามนษุ ยใ หไปสัมพันธกับ
พระเจา” แตถ า มองตามคาํ นิยามของศาสนาแลว ไดมนี กั ปราชญใ หค าํ นิยามไวต าง ๆ กนั เชน

แมทธิว อารโ นล ศาสนาคือ ศีลธรรมทเี่ ราเขา ถึงไดดว ยความรูสกึ ทางจติ ใจ
เบิรคเลย ศีลธรรมที่เราปฏิบัติตนเลยขอบเขตของศีลธรรม กลายเปนความดีข้ันสูงๆข้ึนไป
จนกระทง่ั ถึงจุดสดุ ยอดเรา เรียกวา ศาสนา
ฮอฟดง้ิ ศาสนาคอื ความเช่ือในเรือ่ งการสงวนรักคณุ ธรรม คณุ คา หรอื ความดี
แพททรกิ ศาสนาคือ ความเช่อื ในอาํ นาจนอกตัวเราในฐานะท่ีเปน ผกู ําหนดความดี ความชั่ว
วูนต ศาสนาคือ ความรนู กึ คิดในอุดมคติ
ปรชั ญาและศาสนาท้งั ๒ น้ี มีความสมั พันธกันอยางใกลชิดและมีประเด็นท่พี ิจารณาดงั นี้
๑. ปรัชญาเปนเร่ืองของเหตุผลและยึดถือเหตุผลและยึดถือเหตุผลเหนือสิ่งอื่นใด สวนศาสนาน้ัน
เปนเรอ่ื งราวความเชอื่ ถอื การยอมรบั นับถอื
๒. ปรชั ญาเปน เรื่องของทฤษฎี สว นศาสนาเปนเร่อื งของชีวิตที่เพียบพรอมดว ยการปฏบิ ัติ หมายถึง
การปฏบิ ัติตามแนวทางของตนแหงชีวิตน้ันๆ

๓๒

๓. ปรัชญาเปน เรอื่ งของทศั นคติแหง ชวี ิต สวนศาสนาเปนเร่ืองของแนวทางแหง ชีวิต
๔. ปรัชญาเปนเรอ่ื งของมโนภาพอันเฉียบแหลม สวนศาสนาเปนเรื่องของการจุตแิ ละเกิดแหงชีวติ
ดังนน้ั ปรัชญาจะใชความคิด อยางมีเหตุผลเก่ยี วกบั สจั ธรรม เพ่ือใหม ีความเขา ใจอยา งทะลุปรุโปง
เกี่ยวกับโครงสรางของสากลจักรวาล ตลอดจนความสัมพันธระหวางมนุษยกับสากลจักรวาล ศึกษาคนควา
เกีย่ วกับธรรมชาติของ สสาร ชวี ติ วญิ ญาณ พระผูเปน เจา ตลอดจนความสมั พันธของสงิ่ ดงั กลาวที่มีตอกัน
ศาสนามุงถึงความเช่ือในบรมศักดิ์ หรืออํานาจที่คอยควบคุมและชี้แนะจุดหมายปลายทางของมนุษย
แสดงถึง ความกลัว ความเคารพ ความรัก และ ความภักดี ตลอดจนการปฏิบัติตนตอส่ิงเหลาน้ัน เม่ือมันเกิดขึ้น
ทงั้ นี้จะศึกษาไดจ ากศาสนาใหญๆ ระดับโลก ซึ่งตา งก็มงุ สอนใหม นุษยเราเขาใจธรรมชาตขิ องสากลจกั รวาล
ดว ยจติ ใจ ตลอดจนความสมั พันธร ะหวางมนุษยก ับสากลจักรวาล ปลูกฝงใหเกิดศรัทธาและพยายามท่จี ะชว ยให
มนุษยเ ราปรบั ตวั ใหสามารถดาํ รงตนอยูในสากลจกั รวาลได
ปรัชญา และ ศาสนา มีวัตถุประสงคคลายกัน คือ ตางก็พยายามท่ีจะทําความเขาใจเก่ียวกับ
ธรรมชาติของสากลจักรวาล ฐานะ หนาท่ี ตลอดจนจุดหมายปลายทางของมนุษยในสากลจักรวาล ถึง
กระนั้นก็ตาม ปรัชญากบั ศาสนา ก็ยังแตกตา งกัน ศาสนาเกี่ยวกับความรูสกึ เม่ือปรากฏมาในรปู ของ ความ
กลวั ความเคารพ ความรัก และ ความภกั ดี ตอบรมศกั ด์ิ และ เนนถึงหลักปฏิบัติ แนวปรัชญา เนน ถึงการ
ใหเหตผุ ล การวพิ ากษวจิ ารณ ศาสนายดึ เอาศรัทธา ความเคารพ และ ความสุขทางใจเปน หลกั สวน ปรัชญาเรอ่ื ง
ถึงการใชวิจารณญาณ ความรูท ี่เกิดข้ึนโดยอาศัยศาสนาคลุมเครือ ไมสมบูรณ แตความรูท่ีเกิดจากปรัชญา
แจมแจง มเี หตผุ ล เปนระบบศาสนาตอ งอาศัยการอธิบายแบบเปรียบเทยี บใหเกิดภาพพจนโ ดยใชรูปเคารพ
หรือสญั ลักษณชวยในการอธิบาย พอจะประมวลความไดวา ศาสนาก็คือ การคนควาคําตอบในเรื่องโลก
และชีวิตตามแนวแหงการปฏิบัติตามหลักที่ไดวางไว สวน ปรัชญา น้ัน ก็คือการคนควาหาคําตอบในเร่ือง
โลกและชีวิตตามแนวแหง เหตุผล
ฉะนั้น พอท่ีจะสรุปไดวา ถึงแมวาปรัชญาและศาสนาจะมีวิธีการที่จะบรรลุจุดหมายปลายทาง
แตกตา งกัน แตก ็มีความเก่ยี วของกันอยางใกลช ิด แนวทางปรัชญาและศาสนา มีวัตถุประสงคเชนเดยี วกัน
คือ ซาก็สบายสากลจักรวาลตามวิธีการของตนเพ่ือชวยใหมนุษยเราปรับตัวเขากับส่ิงที่มีความสัมพันธกับ
ตัวเองได และสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยา งมีสงบสุข

๓. ปรชั ญากบั พระพุทธศาสนา

ลักษณะเดนอยางหนึ่งของพุทธศาสนาคือ เปนท้ังศาสนาและปรัชญา เพราะพระพุทธเจาทรง
เปนนักคิดและนักปฏิบัติ ในฐานะเปนนักคิด พระองคทรงสราง “ปรัชญาแหงทางสายกลาง” ในการ
แสวงหาความรูและในการพนทุกข และ “ปรัชญาแหงเสรีภาพ” เพ่ือปลดปลอยมนุษยใหพนจากอํานาจ

๓๓

ตางๆ ท้ังภายในตัวและนอกตัวมนุษยจะไดมีเสรีภาพสมบูรณแบบ และความสุขสูงสุด ปรัชญาแหงมนุษย
นิยม สงเสริมมนุษยใหมน่ั ใจในศักยภาพของตนทีจ่ ะชว ยตัวเองใหพน ทุกขและ มีความสขุ ทแ่ี ทจริงไดด วย
การกระทาํ ของตัวเองโดยไมตองอาศัยอํานาจนอกตัว “ปรัชญาแหง สันตสิ ุข” เพ่ือใหมนุษยมีจิตใจเปด
กวางในเรือ่ งศาสนาและความจรงิ ไมยดึ ติดกับความคิดเหน็ และความเช่ือของคนเปนสําคัญพรอมทั้งมีความ
รกั ความเอ้ืออาทรตอกัน นอกจากนั้นยังทรงเนนให ชาวพุทธใหเ หตุผลและประสบการณทดสอบพระธรรม
ดวยตัวเองใหเห็นความจริงกอนที่จะยอมรับและปฏิบัติตาม พระพุทธองคไมทรงตองการใหผูใดนับถือ
ศาสนาพุทธดวย “ศรัทธา” เทานั้น เพราะความเช่ือศาสนาที่มีแตศ รัทธาอยา งเดียวยอ มนําอันตรายมาสศู า
สนิกชนและสังคมไดง า ย เน่อื งจาก “ศรทั ธา” และ “ความงมงาย”มักจะอยดู วยกัน

ในฐานะท่ีเปนผูนําทางศาสนา พระพุทธเจาทรงสอนวิธีปฏิบัติตางๆ ที่จะชวยใหคนพนทุกข
ประเภทตางๆ จนสามารถมีความสุขสูงสุดไมมีความทุกขเจือปนอยูเลยได การปฏิบัติท่ีสําคัญท่ีสุดคือการ
ปฏิบัติตามมรรค ๘ หรือที่เรียกสั้นๆ วา ศีล สมาธิ ปญญา เพื่อใหหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิดใน
สงั สารวฏั

พุทธปรัชญาและพุทธศาสนาเปนเหมือนกิ่งกานและลําตนของตนไมเดียวกัน การตรัสรูท่ีเปน
ปญญารูแจงของพระพุทธเจาเปนผลของการคิดและการปฏิบัติของพระองคตอเนื่องกันมาเปนเวลานาน
แสนนาน การตรัสรเู ปนรากแกวของตันไม ในขณะที่พุทธศาสนาเปนลาํ ตน และ พุทธปรัชญาเปน ก่ิงกาน
ทั้งลําตน และกิ่งกานตอ งอยูดวยกัน ตนไมจึงจะเจริญเติบโตมใี บดอกและผลตามมา “ความรู” หรือ “ความ
เ ข า ใ จ ” เ ป น หั ว ใ จ ข อ ง พุ ท ธ ป รั ช ญ า เ ช น เ ดี ย ว กั บ “ก า ร ป ฏิ บั ติ ” เ ป น หั ว ใ จ ข อ ง พุ ท ธ
ศาสนา “ความรู” “ความเขาใจ” ทําใหชาวพุทธซาบซ้ึงในพระปญญาธิคุณ และพระกรุณาธิคุณของ
พระพุทธเจาท่ีทรงนําความจริงท่ีทรงรูแจงมาเผยแพรในรูปของพระธรรม เพ่ือประโยชนสุขของชาวโลก
และ “การปฏิบัติ” ชว ยใหช าวพทุ ธไดรับประโยชนเ ตม็ ที่จากพุทธศาสนาเหมือนกบั ล้ินท่ีไดลิม้ รสอาหาร เรา
อาจเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางพุทธปรัชญาและพุทธศาสนาไดกับแผนที่และการเดินทางขึ้นภูเขา
พทุ ธปรัชญาเปนแผนที่ของทางข้ึนภูเขาและบริเวณรอบภเู ขาท่ีเราตองการปนใหถึงยอด พทุ ธศาสนาหรือ
การปฏิบัติเปนเหมือนการออกเดินทาง (หลังจากไดศึกษาแผนท่ีอยางละเอียด) ไปสูยอดเขา การเดินทาง
อาจชาหรอื เร็วขนึ้ อยกู ับความสามารถของผเู ดนิ ทาง ชาวพุทธทีต่ องการบรรลุเปา หมายสูงสุดในพุทธศาสนา
จึงควรศึกษาพทุ ธปรัชญาเพ่ือนํามาสรางปรัชญาชวี ิตของตนสําหรับกําหนดเปาหมายชีวิต และการดําเนิน
ชีวติ ใหมคี ุณคา สงู สุด พรอมทง้ั ปฏบิ ตั ติ ามปรัชญาความคดิ น้ัน

๓๔

๔. ปรชั ญากับสังคมศาสตร

ปรชั ญาเปนวิชาทว่ี าดวยการศึกษาเพ่ือคนหาความจรงิ ของชีวิต และส่งิ ที่มอี ยูใ นโลกท้งั มวล ตลอด
ถึงความสมั พันธร ะหวางส่ิงดังกลา วกับโลกอน่ื หรือพระผูเปน เจา โดยการใชเหตุผลเขา พิสูจน เพ่ือใหไดค วาม
จริงโดยอาศัยปญญาเปนบรรทัดฐาน เพราะปรัชญาเช่ือวาเม่ือมีผลยอมมีเหตุเปนส่ิงท่ีทําใหเกิด และเหตุ
ดังกลาวนั้นคืออะไร มูลเหตุที่เราไมรูน้ีแหละเปนปรัชญา คือเมื่อคนคิดมีเหตุผลแยบยลสรุปผลไดอยางไร
ความรูจริงหรือรูแจงในส่ิงนั้นเกิดข้ึน เราจึงเรียกวา “ปรัชญา” ฉะนั้น ปรัชญาจะมีไดตอเม่ือหมดความ
สงสัย ความแปลกใจหรือความไมรูจริงโดยเด็ดขาดแลว สว นสังคมศาสตรเปน วชิ าที่วาดว ยการศึกษาสงั คม
โดยอาศยั หลกั เกณฑท างวิทยาศาสตร นติ ศิ าสตร เศรษฐศาสตร รฐั ศาสตร ภาษาศาสตร สังคมวิทยา ทัณฑ
วยิ า มานุษยวทิ ยา การศกึ ษา จริยศึกษา ศลิ ปะ ปรชั ญา เปนตน๒

๕. ปรชั ญากับจิตวิทยา

ปรัชญาและจิตวิทยามีความสัมพันธกันอยางใกลชิด เพราะถาเรามองดูขอบขายของปรัชญาแลว
วชิ าบางวิชาเปน สาขายอยของปรัชญา เชน ตรรกวิทยา และจริยศาสตร ตางก็เกยี่ วเนื่องสัมพันธกันอยาง
แนบสนทิ กบั จติ วทิ ยา และจิตวทิ ยาเองกเ็ กิดขึ้นจากปรัชญานั่นเอง

จติ วทิ ยา เมอ่ื มองดูตามรูปศพั ทแลว มาจากคําวา จติ ตะ และ วิทยะ ในภาษาสันสกฤตแปลวา
วชิ าทว่ี า ดว ยจิตเปนวชิ าที่ศกึ ษาถงึ ธรรมชาติของจิตสภาพของจติ ท่ีมีผลในการแสดงออกทางพฤติกรรมตา งๆ
ของมนุษย กระบวนการของการคดิ หาเหตผุ ลในฐานะท่ีเปนการแสดงออกทางจิต ฯลฯ

เดิมทีเดียวจิตวิทยาก็รวมอยูในปรัชญา แตเม่ือกาลเวลาผานมา จิตวิทยาไดเริ่มมีการเจริญและ
วิวัฒนาการเรื่อยมา จนในที่สดุ ก็แยกออกเปนปรชั ญาและกลายเปนวิชาอิสระ คือ จติ วิทยาที่เรารูจักใน
ปจจุบัน

จติ วิทยาและปรัชญามีความแตกตางกันหลายประการ ดังตอไปน๓ี้
๑. จิตวิทยาใชวิธีการทางวิทยาศาสตรเชน การทดลอง การพิสูจน การสังเกต เปนตน สวน
ปรชั ญาใชวธิ กี ารทางปรชั ญาเองเชน ตรรกวิทยา เปน ตน
๒. ปญหาที่นํามาคิด ปรัชญาคิดปญหาในแบบรวมหนวยหรือรวมยอดและเปนแบบสังเคราะห
สวนจิตวิทยาคิดปญหาจํากัดอยูเฉพาะในวงของตนเองและเน่ืองจากวิทยามีวิธีการเปนวิทยาศาสตร จึงมี
ลกั ษณะเปนการวิเคราะหดวย

๒ ทองหลอ วงษธ รรมา, รศ.,ดร., ปรชั ญาท่ัวไป, (กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพโอเดยี นสโตร, ๒๕๔๙), หนา ๑๕.
๓ ศรณั ย วงศค ําจันทร, ปรัชญาเบอ้ื งตน, (กรุงเทพฯ : อมรการพมิ พ, ม.ป.ป.), หนา ๒๖-๒๗.

๓๕

๓. ขอบเขตของเน้ือหา จิตวิทยาคือการศึกษาพฤติกรรมตางๆของมนุษย สวนปรัชญาคือ
การศึกษาหาความรทู ุกแงท กุ มุมที่เกีย่ วของ

แมวา ปรัชญากบั จติ วิทยา จะมีแงมุมท่แี ตกตางกัน แตใ นสว นลึกแลว ท้งั สองฝายมีความสัมพนั ธกัน
อยา งแนบสนทิ และเก้ือกูลซึง่ กนั และกันดงั ประเด็น ตอไปนี้

๑. ความจริงทุกชนิดทางดานปรัชญาตา งก็มีจิตวิทยาเปนพื้นฐาน เพราะความรูทุกชนดิ จะเกดิ ข้ึน
โดยกระบวนการทางจิตวทิ ยาเทานัน้

๒. ปญหาทางปรัชญาโดยเฉพาะอภิปรัชญา ถาสรุปกลาวแลวก็คือเรื่องกระบวนการของจิตและ
การคิดน่ันเอง

๓. สาขาของปรัชญา เชน ตรรกวิทยา จริยศาสตร เปนวิชาท่ีไมสามารถแยกออกจากกนั ไดโ ดย
เดด็ ขาดจากจิตวทิ ยา จิตวทิ ยาและปรัชญาจึงสัมพนั ธก นั อยางแนบสนิท

๔. จติ วิทยามีบอ เกิดมาจากปรัชญาและในเบื้องแรกก็เปน อัน หนงึ่ อนั เดียวกนั กบั ปรัชญา
จะเหน็ ไดวาสัตวท ั้ง ๒ นี้ สัมพันธกนั อยางแนบสนิทและเกื้อกูลกัน ดงั นี้ เบคอน กลาววา การ
สืบคนหาปรัชญาตองมีจติ วิทยาเปนพ้ืนฐาน
ดังน้ัน ปรัชญาจึงเปนวิชาที่คนหาความจริงอันติมะหรือศึกษาเก่ียวกับความเปนจริง ซ่ึงความจริง
ดังกลา วจะตองศกึ ษาหรอื คนควา ใน ๓ ทาง คอื
ก. ความเปนจริงคอื อะไร สาขาปรชั ญาทคี่ นควา เกี่ยวกบั เร่ืองนี้เรียกชื่อวา “อภิปรัชญา”
ข. เรารูความจรงิ ไดอยา งไร สาขาปรัชญาทค่ี นควาเก่ยี วกบั เร่ืองน้ีชอ่ื วา “ญาณวทิ ยา”
ค. เราพึงประพฤติตนอยางไรจึงจะเหมาะสมกบั ความเปน จรงิ สาขาปรัชญาที่คน ควาเกี่ยวกับเรื่อง
นีช้ ื่อวา “จริยปรัชญา” หรอื “จรยิ ศาสตร”
สว นจิตวิทยาเปนวิชาท่ีวาดว ยการศึกษาสภาพของสิ่งท่ีมีชีวิตโดยมนุษยและสัตว ซึ่งจะตองศึกษา
เนนลงไปถึงจิตใจ พฤตกิ รรมของมนษุ ยแ ละสัตว ซงึ่ มนษุ ยแ ละสตั วเหลาน้ันทําปฏิกริ ิยาตอบสนองตอสิ่งเรา
อยางไร โดยท่ัวๆ ไปเม่ือเราพูดถึงจิตวิทยา เรามักจะหมายถึงวิชาที่วาดวยขอเท็จจริง หลักเกณฑการ
ทดลอง คนควาและผลของการทดลองคนควา ทําใหผูศึกษาไดเรียนรูและเขาใจธรรมชาติ ตนเหตุ
แบบอยางของปฏิกิริยาของพฤติกรรมของมนุษยและสัตว ดังท่ีพระพุทธองคตรัสเรียกวา “จริต” นั่นเอง
จติ วิทยาจงึ ชวยใหเขาใจวา เพราะเหตุใดคนเราจึงมีลักษณะที่เหมือนกันบางประการและมีลักษณะตางกัน
บางประการ ถาหากไดศกึ ษาวิชาน้ีเปนอยา งดีแลว อาจจะชวยใหตวั ผูศึกษาเองแกปญหาตางๆในชีวิตไดดี
ข้ึนอีกดวย
แมจิตวิทยาจะเปนเพียงแงหนึ่งของปรัชญา แตยังมีความสัมพันธกันอยางใกลชิดระหวางวิชาท้ัง
สอง เพราะเปนวิชาที่สามารถแกไขปญหาชีวิตไดเปนอยางดี กลาวคือจิตวิทยาอาจจะเปรียบเสมือนผู

๓๖

ปฏิบัติการ ปรัชญาเปรียบเสมือนเปนพี่เลี้ยงผูใหความอุปการะคุมครอง ฉะน้ันผูปฏิบัติการถาปราศจากพี่
เลย้ี งอปุ การะอาจจะผดิ พลาดได

๖. ปรชั ญากบั วิทยาศาสตร

เปน ท่ีนา สังเกตวาในสมัยท่ีศาสตรตางๆ ยังไมเกดิ ข้ึน ปรัชญาเปนศาสตรเดียวที่ศึกษาเก่ียวกับโลก
และชีวิต แมแตว ิทยาศาสตรเองก็เปนสวนหน่ึงของปรัชญาเชนกัน กอนสมยั กาลิเลโอความรูประเภทหน่ึงท่ี
นักปรัชญาแสวงหา เปนเรอื่ งของปรากฏการณธ รรมชาตแิ ละกฎธรรมชาติท่ีเก่ียวของ ความสาํ คัญอยางหนึ่ง
ของกาลิเลโออยทู ี่เปน คนแยกวิทยาศาสตรออกจากปรัชญามาเปนศาสตรเ อกเทศโดยกําหนดใหการทดลอง
เปน สวนสาํ คญั ของการแสวงหาความรู นับแตนั้นมาวธิ ีการแสวงหาความรูมพี ัฒนาการมาเปนลาํ ดับจนเปน
“วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร”๔ ประกอบดว ยการสังเกต การตั้งสมมุตฐิ าน การคาํ นวณ และการทดลองและมี
วัตถปุ ระสงคทจี่ ะไดความรูท่เี ท่ียงแทแนนอนมาตอบสนองความอยากรูอยากเห็น

ในฐานะปรัชญาอาศัยการใครครวญตามตรรกวิทยา โดยยึดหลักวาเมื่อคิดตามหลักเหตุผลจะ
สามารถเขาถึงความแทจริงได และปรัชญาท่ีถูกตอง จะตองรวบรวมข้ึนจากวิธีการทางวิทยาศาสตร แต
นักวิทยาศาสตรไมใชปรัชญา เพราะวิทยาศาสตรจะศึกษาแคบๆ เจาะลงไป เชน ฟสิกส เคมี ชวี วทิ ยา นัก
วิทยาศาสตรไมเคยรวบรวมคําตอบไววาความแทจริงอันติมะ คืออะไรความรูของคนเราไดมาจากไหน
นักวิทยาศาสตรสวนมากเปนนักสสารนิยม เขาไมเคยเก่ียวของระหวางวิวัฒนาการของจักรวาลกับ
วิวัฒนาการของสงั คมเลย นักสังคมวิทยาศึกษาความเปน อยูของมนุษย แตไมอาจทราบไดวามนษุ ยม ีความ
เก่ียวของกับบรรพบุรุษของเขาอยางไรกับธุลคี อสมิคในสากลโลก และเปนความจริงอยางไรหรือไมแตนัก
ปรัชญาจะไมมองแคบๆ อยางน้ัน และพยายามหาคําตอบใหแกปญ หากวา งๆท่ีนักวทิ ยาศาสตรละเวนไวไ ม
ตอบ นักปรัชญาอาจนาํ ขอเท็จจริงและทฤษฎีทางวิทยาศาสตรมาใชในการนี้ พยายามนําเอาตรรกวิทยามา
ใชแ ละคดิ เก็งความจรงิ ตอไป จนไดคาํ ตอบเปนท่พี อใจ๕

ปรัชญาและวิทยาศาสตรมีความสัมพันธกันอยางใกลชิดและเกื้อกูลซ่ึงกันและกันเปนอยางย่ิง
ปรัชญาและวทิ ยาศาสตรมีบอเกิดที่เหนือกันและศึกษาปญหาตา งๆ ทคี่ ลายคลึงกัน เชน โลกและชวี ิต เปน
ตน ในขณะเดียวกัน ถาเรายอมรับหลักการของComte วา’’ปรัชญาคือศาสตรแหงศาสตรทั้งหลาย’’

๔ วิทย วศิ ทเวทย, ปรชั ญา, (กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๑๓), หนา ๖.
๕ บุญมี แทนแกว, สถาพร มาลีเวชรพงศ และประพัฒน โพธิ์กลางดอน, ปรัชญาเบื้องตน (ปรัชญา ๑๐๑),
(กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พริ้นต้งิ เฮาส, ๒๕๒๙), หนา ๘.

๓๗

วิทยาศาสตรก็เปนสวนหน่ึงของปรัชญาและเจริญวิวัฒนาการไปจากปรชั ญา มีท้งั นกั ปราชญบางทานกลาว
วา วิทยาศาสตรเ กดิ ขึ้นจากปรชั ญาถา ไมมีปรัชญาวทิ ยาศาสตรก ็จะมีไมไดเ ลย

กอนท่ีจะศกึ ษาปรัชญาและวิทยาศาสตร เราควรศกึ ษาและทําความเขาใจกับรูปศัพทเสียกอ น คํา
วา ปรัชญามรี ายละเอยี ดไดก ลาวไวในบทแรก สว นคาํ วา วิทยาศาสตร มาจากคาํ ในภาษาสนั สกฤต “วทิ ยะ”
และ “ศาสตระ” หมายถึง “ศาสตรแหงความรู” หรือเรื่องแหงความรู และมีความหมายเจาะจงลงไปวา
“ความรูที่แนนอนรัดกุมและเปนระเบียบ” เพยี รสัน ไดใ หคํานิยมไววา “วทิ ยาศาสตรคอื การบรรยายขอมลู
ของประสบการณอยางสมบูรณและกลมกลืนกันดว ยคําพูดท่ีงายที่สดุ ” วิทยาศาสตรเปนศาสตรที่มวี ิธีการ
ระบบและกฎเกณฑท่แี นนอนตายตัวซ่ึงพอสรุปเปนขั้นตอนไดดงั น้ี

๑. การรวบรวมขอ มลู
๒. การบรรยายขอ มลู

๒.๑ ใหค าํ นิยมและบรรยายอยา งกวางๆ
๒.๒ วเิ คราะห
๒.๓ จัดประเภท
๓. อธบิ ายขอมลู
๓.๑ กําหนดสาเหตุ
๓.๒ ตัง้ กฎ
ปรัชญาและวิทยาศาสตรม คี วามสัมพันธก ันอยา งใกลช ิด ซึง่ พจิ ารณาไดจ ากประเด็นตอ ไปน้ี
๑. ปรัชญาและวทิ ยาศาสตรมตี น กําเนิดท่ีเหมือนกัน คือ ตางกเ็ กิดจากความสงสัยและประหลาดใจ
จากธรรมชาติ
๒. ในระหวางปรชั ญาและวทิ ยาศาสตรน ้ัน วิทยาศาสตรยอมเกิดจากแนวความคิดทางปรัชญา และ
เมื่อความรูใ หมใ นทางวิทยาศาสตรเกดิ ข้ึนกเ็ กิดขึ้นโดยนักวิทยาศาสตรที่เปนนกั ปรชั ญาเทา น้นั
๓. แมวาวิทยาศาสตรเกิดจากปรัชญา แตใ นปจจุบัน เราเห็นความแตกตางระหวางปรัชญาและ
วิทยาศาสตรค อื ปรชั ญาเปนเรือ่ งแหง ทฤษฎี สว นวิทยาศาสตรเ ปนเรอื่ งของการทดลองและการปฏิบตั ิ
๔. เมอื่ วิทยาศาสตรสาขาใหมพยายามแยกตวั ออกจากปรชั ญาจะมปี ญ หาเกดิ ขน้ึ ๒ อยางคอื
ก.ขอถกเถียงในหมูนักวิทยาศาสตรวา จะใชว ิทยาศาสตรสาขาใหมหรือไมแตขอถกเถียง
ทํานองน้ีจะไมมีในหมูนักปรัชญาเลย เพราะนักปรัชญาจะพิจารณาทุกๆสิ่งท่ีอยูในขอบขายที่ปรัชญา
เกี่ยวขอ ง
ข.วิทยาศาสตรที่แตกตัวออกจากปรัชญาเมื่อถึงภาวะวิกฤตจะกลับคืนสูปรัชญาอีกคร้ัง
และนกั วิทยาศาสตรจะพยายามทําตนเหมือนนักปรัชญา

๓๘

๕. วิทยาศาสตรเปนศาสตรท่ีมีความกาวหนา แตปสยาไมมีความกาวหนาเลยเพราะจะไปติดอยูท่ี
ณ จดุ ๆ หน่งึ เชน พระเจา ฯลฯ

๖. วิทยาศาสตรเปนเรื่องของเคร่ืองยนตกลไก เครื่องมอื ตางๆ ทเี่ ปนวัตถุ แตป รัชญาเปนเรื่องของ
ความคดิ เปน นามธรรม

๗. ปญ หาภายในและปญหาภายนอกของปรัชญาและวิทยาศาสตร นกั ปรัชญาและนักวิทยาศาสตร
จะพจิ ารณาปญหาเดียวกนั แตคนละลักษณะ กลาวคือ ปญหาภายนอกของวิทยาศาสตรจะกลายเปนปญหา
ภายในของปรัชญาและปญ หาภายในของวิทยาศาสตรจะกลายเปนปญ หาภายนอกของปรัชญา เชน กฎคือ
อะไร ซ่ึงเปนปญ หาภายนอกของวิทยาศาสตรแตเปนปญหาภายในของปรัชญาและอะตอม ซ่ึงเปนปญหา
ภายในของวิทยาศาสตรแ ตเ ปนปญหาภายนอกของปรชั ญา

๘. ปญหาของปรัชญาและวิทยาศาสตรปญหาของปรัชญานั้นคําตอบไมไดอยูทตี่ ัวปญหา แตนัก
ปรัชญาตองพยายามแสวงหาคําตอบจากสงิ่ ตางๆ และปญหาของปรัชญาน้ันเปนปญ หาท่ีหาคําตอบไมได
(Pseudo Problems) สวนปญหาของวทิ ยาศาสตรคําตอบอยูท่ีตัวปญหาเอง โดยใชวิธีการทดลอง สังเกต
รวบรวมขอมูล และการพิสจู น โดยกฎตา งๆกจ็ ะพบคาํ ตอบ

๙. ปญหาของปรัชญาเปนปญหาที่มีลักษณะท่ัว ๆ ไปและมีขอบขายกวางขวางสวนปญหาของ
วทิ ยาศาสตรเ ปนปญหาเฉพาะอยา งอยางซ่งึ มีอยใู นธรรมชาติ

เราจะเห็นไดวาในขั้นสุดทายก็จะตองมีนักปรัชญาสมัยใหมนําขอเท็จจริง กฎและทฤษฎีทาง
วิทยาศาสตรมาใชในการคนคดิ ปรัชญา และใชต รรกวทิ ยาดว ย ผลทไ่ี ดก็จะเปน ปรัชญาวิทยาศาสตรโ ดยท่ัว
ถวน แลวตอจากน้ีปรัชญาก็จะกลืนเขากับวิทยาศาสตรไดสนิท และกลายเปน “ปญญา” อันถองแทแหง
มวลมนุษย

ถงึ แมวา ปจ จุบนั วิทยาศาสตรยังสามารถบรรลวุ ัตถุประสงคดงั กลา ว แตค วามรูทางวทิ ยาศาสตรก็มี
เปอรเซ็นตข องความเปนไปไดสงู กวาความรูจากศาสตรอ่ืน เพราะความรูทางวิทยาศาสตรไดผ านขบวนการ
ทดสอบทุกข้ันตอนมาแลวเปนอยางดี ดังนั้นจึงเปนความรูท่ีมีคนเชื่อถือและไววางใจมากที่สุดในเวลาน้ี
แมแ ต นักปรัชญาเองกย็ อมรับวาคําตอบทางวิทยาศาสตรเ กีย่ วกับโลกมีเหตผุ ลและประจักษพยานชัดแจง
กวาทฤษฎีทางปรชั ญา และยุติบทบาทของคนในการเปน ผู “แสวงหาความรู” เก่ียวกับโลกและหนั มาสนใจ
ปญ หาเก่ียวกับชีวติ ท่ียังไมมีศาสตรใดใหคําตอบที่แนนอนและชัดเจนได นอกจากน้ันนักปรัชญายังสนใจท่ี
จะวิเคราะหและวพิ ากษค วามรูทางวิทยาศาสตรและศาสตรตางๆ เพื่อใหมีความชัดเจนทางเหตุผลมากขึ้น
และเพื่อบูรณาการความรูจากศาสตรตา งๆ ใหเปนเอกภาพเดียวกนั ถึงแมวาวิทยาศาสตรและปรัชญาแยก
ออกจากกันออกเปนสองศาสตรเอกเทศ แตในวงการศึกษาตะวันตกระดับอุดมศึกษานิยม เรียกปริญญา
บัตรของผูจบการศึกษาระดับปริญญาเอกทางวิทยาศาสตรวา ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Doctor of

๓๙

Philosophy) หรอื Ph.D (มาจากภาษาละติน Philosophiae Doctoris) อยเู ปนเวลานาน และมาเปลี่ยน
ชือ่ เปนวทิ ยาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต (Doctor of Science หรอื Dsc.) ไมกี่สิบปเพ่ือใหส อดคลอ งกับความเปน
จริง อยา งไรกต็ ามมหาวทิ ยาลัยเกา แกทมี่ ชี ือ่ เสยี งหลายแหง เชน มหาวิทยาลยั เยล ในประเทศสหรัฐอเมริกา
ยงั คงนิยมใชช อื่ เดิมของปริญญาบัตรอยู

๗. ปรชั ญากบั กวนี พิ นธ

ท้ัง ปรัชญา และ กวีนิพนธ ตางก็อธิบายความลี้ลับของสากลจักรวาล แตท่ีตางกัน กวีนิพนธอาศัย
อารมณกับแรงดลใจ สวนปรัชญาอาศัยปญญาและวิจารณญาณ อารมณจึงจัดเปนเคร่ืองมือของกวีนิพนธ
และเหตุผลจัดเปนเครื่องมือของปรัชญา นักกวีนิพนธใชอารมณ นักปรัชญาใชความคิด นักกวีนิพนธยึดความ
อบอุนเขาใจ ความเพลิดเพลินมีคาเหนือส่ิงอื่นใด สวนนักปรัชญายึดเอาความบริสุทธ์ิความเลอเลิศแหง
ปญญา นักกวีนิพนธเขาใจธรรมชาติของสากลจักรวาลดวยจิตใจ นักปรัชญาเขาใจธรรมชาติของสากล
จักรวาลดวยปญญา นกั กวีนิพนธใชสัญลักษณและจินตนาการ นักปรัชญาใชความคิดอยางมีเหตุผลลวนๆ
มิใชจนิ ตนาการ นกั กวนี ิพนธอธบิ ายสากลจักรวาลใหเห็นเปนสัญลักษณและรูปราง นักปรัชญาธบิ ายใหเหน็
เปน เหตผุ ล นักกวนี พิ นธอ ธบิ ายพระผูเปน เจาใหเห็นเปนรูปราง นักปรัชญาอธิบายใหเ ห็นเปนเหตุผล

นักกวีนิพนธคนหาความงามในสากลจักรวาล เชน ความงามของธรรมชาติ ความงามของมนุษย
ท้ังชายหญิง เปนตน ตลอดจนความงามซึ่งเปนที่ประจักษแกประสาทสัมผัส และความงามท่ีรับรูดวยจิตตาม
ทศั นะของนักกวนี ิพนธ ความงาม ก็คอื ความจริง ความจริง ก็คอื ความงาม แต นักปรัชญา คนควาหาทาง
ที่จะรวม ความจริง (Truth) ความดี (Good) และ ความงาม (Beauty) เขาดวยกัน พยายามท่ีจะเขาใจสัจ
ธรรมอยางส้ินเชิงทุกแงทุกมุม ซ่งึ ปรากฏอยใู นรูป ความจริง ความดี และ ความงาม

นกั ปรัชญาบางทาน เชน เปอรรี่ พยายามท่ีจะจัดนักปรัชญากับนักกวีนิพนธออกเปน ๒ พวก๖ คือ
พวกนกั กวีนิพนธท่ีเปนนักปรัชญา (Philosopher-Poets) และ พวกนักปรัชญาที่เปนนักกวีนิพนธ (Poet-
Philosophers) หมวกแรกเชน Milton, Dante, Wordsworth, Browning เปน ตน พวกหลังเชน Plato,
Hegel เปน ตน พวกแรกเปนนักจนิ ตกวี เปนนกั คิดทพี่ ยายามตีความหมายสง่ิ ตา งๆ ตามอารมณและแรงดล
ใจ พรอมกันนั้นก็ไดพ ยายามโนม นา วจติ ใจปวงชนใหมคี วามเชื่อม่ันในศรัทธาหลักศาสนา ศีลธรรม ตลอดจน
ขนบธรรมเนียม ประเพณอี นั ดีงาม ใหรูจักบาปบญุ คุณโทษ ใหรูจกั พระผูเปน เจา ตลอดจนธรรมชาติของสิ่ง
ตา งๆ ท่ีมคี วามสมั พันธกับมนุษย สวนพวกหลงั คือพวกนกั ปรัชญาที่เปนนักกวีนพิ นธกพ็ ยายามบรรยายสากล

๖ อมร โสภณวเิ ชษฐวงศ, ผูชวยศาสตราจารย, ปรัชญาเบ้อื งตน , (กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, ๒๕๒๔),
หนา ๑๗.

๔๐

จักรวาลตามความคดิ ที่มเี หตผุ ล เพ่ือใหปวงชนมีความพอใจที่จะใชเหตผุ ลในการดํารงชวี ิตใหมีความสนใจในหลกั
ศาสนา ศลี ธรรม ตลอดจนสนุ ทรียธรรม เพอื่ ทาํ ชวี ติ ใหมีคณุ คาโดยอาศยั หลกั ดังกลา ว

๘. ญาณวิทยากบั ตรรกศาสตร

ญาณวิทยา เปนการศึกษาถงึ กําเนดิ ธรรมชาติ ขอบเขต และ ความสมบูรณแ หงความรูศึกษาถึง
เหตุปจจัยที่จะใหเกิดความรูอยางสมบูรณ ตรรกศาสตรหมายถึง ศาสตรแหงการใชความคิด (Science
of Thinking) การใชความคิดเพ่ือความจริง หรือความรูมาปอนจิตใจ ตรรกศาสตร ทําหนาที่สืบคนถึง
หลักฐานวิธีการตางๆ ท่ีจะพิสูจนตลอดจนเหตุปจจัยท่ีจะชวยใหหลักฐานและการพิสูจนสมบูรณ
ตรรกศาสตร ศึกษาคนควาถึงธรรมชาติและความสมบูรณแหงการอนุมาน (Inference) แบบตางๆ
ท้ังนิรนัย (Deduction) และอุปนัย (Induction) ตรรกศาสตร หลีกเลี่ยงที่จะแตะตองอภิปรัชญา แต
ญาณวิทยา จําตองสืบคนถึงธรรมชาติของ สัจธรรม ซึ่งเกี่ยวของกับ อภิปรัชญา โดยเฉพาะ ดังน้ัน ญาณวิทยา
จึงมีความสัมพันธกับ อภิปรัชญา อยางใกลชดิ ญาณวิทยา สืบคนถึงเหตุปจจัยทั่วๆไป ของความสมบูรณ
แหงความรูเทาน้ัน มิไดสืบคนถึงรายละเอียดของขบวนการพิสูจนตางๆ แต ตรรกศาสตร พยายามท่ีจะ
สืบคนถึงกระบวนการพิสูจน หรือหลักฐานพรอมกับความสมบูรณแหงกระบวนการพิสูจน และหลักฐาน
โดยเฉพาะ

๙. อภปิ รชั ญากับตรรกศาสตร

อภิปรัชญา ทําหนาท่ีศึกษาคนควาเก่ียวกับสัจธรรมโดยใชเหตุผล ตลอดจนการวิเคราะห และการ
สังเคราะหทางตรรกศาสตร วิธีการของอภิปรัชญาใชทั้ง ตรรกศาสตร และ เหตผุ ล ฉะนั้น อภิปรัชญา จึง
เก่ียวของกับ ตรรกศาสตร ถึงกระนั้นก็ตาม อภิปรัชญา วาดว ยลักษณะของส่ิงที่มีอยูจริง ซ่ึงเรียกวา สัจ
ธรรม แต ตรรกศาสตร วาดวยความสมบูรณแหงหลักฐานหรอื การพิสูจนเทา นนั้ ไมสบื คน ถึงธรรมชาติ หรือ
ลักษณะของส่ิงที่มีอยูจริง หรือสัจธรรม ตรรกศาสตรเพียงแคคาดคะเนตามหลักฐานของการพิสูจน เทย
เลอร ผูเขียนหนังสือเก่ยี วกบั อภิปรชั ญา ชอื่ Elements of Metaphysics ก็มที ัศนะทํานองเดียวกันกับที่
กลาวมาแลว คือ ยอมรับความคลายคลึงกันของท้งั สอง วาดวยขอบขายและวธิ ีวเิ คราะห และยอมรบั ความ
แตกตา งกันในเรอื่ งการสืบคน คอื อภปิ รชั ญา สบื คนถงึ ลกั ษณะของส่ิงทมี่ ีอยจู รงิ แต ตรรกศาสตร สืบคนถึง
ลักษณะของส่ิงท่ีพออนมุ านไดวาจริงหรือไมจริง ตรรกศาสตร พิจารณาความจริงโดยอาศัยแบบและความ
จรงิ ในเน้อื หา ความจริงตามแบบ เชน บทสรุปตรงกับประพจนท ี่เปน เหตุ โดยไมคาํ นึงถึงเนื้อหาทีว่ าเปนจริง
หรอื ไม ความจรงิ ในเนือ้ หา เชน ประพจนทเี่ ปน เหตตุ รงกับความเปนจริงท่ีประจักษ

๔๑

เฮลเกล มคี วามเหน็ วา ตรรกศาสตร กับ อภิปรัชญา เปนอันเดยี วกัน ตรรกศาสตรเปนสัตว วา ดวย
การใชความคิด อภิปรัชญา วาดวยส่งิ ท่ีมีอยูจริง ความคิดกับสิ่งท่ีมีอยูจริงก็คือสิ่งเดียวกัน ส่ิงใดที่มีอยูจริง
ยอมมีเหตุผล ส่ิงท่ีมีเหตุผลคือสิ่งท่ีมีอยูจริง วิภาษวิธีท่ีมนุษยใชเปนเชนเดียวกับวิภาษวิธีของอภิจิตหรือ
พระผูเปนเจา มนุษยเรามีโครงสรา งทางความคิดเปนเชน เดียวกันกับอภิจิต ฉะน้ัน เฮลเกล จึงใชแตเ พียงคําวา
ตรรกศาสตร ชวยอธิบายลักษณะของส่งิ ที่มอี ยูจรงิ ตลอดจนแบบตา งๆ ของการอนมุ าน

ทัศนะของ เฮลเกล ไมเปนท่ียอมกัน ตอมาถูกคัดคานเพราะสวนมากไมเห็นดวยเฮลเกลท่ีถือวา
จิตของมนุษยกับอภิจิตเปนเชนเดียวกัน ความเปนจริงแลวจิตของมนุษยอาจยังไมเขาใจสัจธรรมทุกแงทุก
มุม ถึงจะรูจักใชเหตุผลก็ตาม แตก็ยังอยูในภาวะที่ไมสมบูรณ ซ่ึงตรงกันขามกับอภิจิตเปนจิตสมบูรณ
การใชเ หตผุ ลกเ็ ปนเหตุผลทสี่ มบูรณปราศจากขอโตแยง

๑๐. จิตวทิ ยา ญาณวทิ ยา และอภิปรัชญา มคี วามสมั พันธกนั อยา งไร

จิตวิทยา เปนศาสตรวาดวย จิต คือเปนการศึกษาเก่ียวกับเร่ือง จิต เพื่อแสดงใหเห็นวาความรู
ทีเ่ จริญงอกงามในจติ ของแตล ะคนนัน้ เปนมาอยางไร เพื่อใหวิเคราะหใหเ ห็นวา ความรูที่เจรญิ งอกงามในจติ
ของแตละคนนั้นเปนอยางไร เพื่อจะวิเคราะหใหเห็นสภาพและขบวนการที่จิตของคนเราไดพัฒนาข้ึน
จากภาวะเบ้ืองตนที่เรียกวา งายที่สุด ตอการเขา ใจจนถึงภาวะที่สลับซับซอน เพื่ออธิบายใหเห็นขบวนการ
ตลอดจนสภาพอันแทจริงของจติ จิตวทิ ยาเกย่ี วกับสว นที่มชี ีวิตของมนษุ ยเรา

จติ วิทยา ไมพยายามจะศึกษาคนควาไปถึง ความถูกตอ ง คอื ศึกษาแตเ พียงวิวฒั นาการของความรู
และไมศึกษาเก่ียวกับธรรมชาติ และความถูกตองของความรู จิตวิทยาสมมุติ ความเปนไปไดของความรู
สืบสาวไปถึงพัฒนาการทางจิตใจของมนุษยดวย เม่ือจิตวิทยาไดแสดงใหเห็นถึงวิวัฒนาการทางดานจิตใจ
ของมนุษย ก็ทําใหเกดิ ปญ หาขึน้ วา ความรูจ ะเปนไปไดอ ยางไร แลว มนษุ ยเ ราจะรูสิ่งตา งๆไดอ ยางไร

จติ วทิ ยา ศกึ ษาคนควา ขอเท็จจรงิ ญาณวทิ ยา ก็ศึกษาเก่ยี วกบั ขอเท็จจริงท่ีเปนไปได จติ วิทยา ได
สมมติส่ิงที่มีอยูวา เปนจิต และ เปนโลก และการทจ่ี ะมคี วามรูเกี่ยวกับโลกก็ดว ยอาศัยจิต เปนผูร ู แตวา
ญาณวิทยา พยายามที่จะศึกษาคนควา ไปถึงเหตปุ จจัยซ่ึงทําใหเกิดความรูขึ้น ณานวิทยา หมายถึง ศาสตร
วาดวยความรู เปนการคนควาถึงธรรมชาติ บอเกิดขอบเขตเหตุปจจัยที่ทําใหเกิดความรู พยายามที่จะ
อธิบายหรอื ตอบปญ หาดงั ตอไปนี้

ความรูส่ิงท่ีมอี ยูจริงจะเปน ไปไดห รอื ไม? หรือสง่ิ ท่มี ีอยจู ริงรูไ ดห รือไม? อะไรเปนธรรมชาติ อนั
แทจริงของความรู หรืออะไรคอื ความรู? และความรูเกิดขึ้นไดอยา งไร? ความรูมีอะไรเปนสาเหตุ? และ
ความรูมขี อบเขตแคไหนเพยี งไร? อะไรเปนเหตุปจ จัยท่ีทาํ ใหเกิดความรูถูกตอง? ตลอดจนปญหาทว่ี าอะไร


Click to View FlipBook Version