The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-07-19 08:32:13

ปรัชญาเบื้องต้น

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Keywords: ปรัชญา,ศาสนา

๑๔๒

สํานักสโตอิคไดทําการสอนปรัชญาใหกบั ชาวเอเธนสอยูหลายรอยป สโตอิคเกามี เซโน เปน
เจาสํานักในชวงพ.ศ. ๓๐๐ สโตอิคกลางสอนโดย ปาเนติอุส ในชวงประมาณ พ.ศ.๔๐๐ สวนสํานัก
สโตอิคใหมโดย อนั เนอุส เซเนคคา ในชวงปลายๆ พ.ศ. ๖๐๐ ปรัชญาสโตอิคท่ีจะกลาวถึงสวนใหญ
คอื สโตอคิ เกาของ เซโน

ปรัชญาสโตอิคมงุ สอนอภิปรัชญาและตรรกศาสตรเพ่ือใชเปนฐานรองรับจริยศาสตร ในการ
ดําเนินชีวิตใหสอดคลอ งกับธรรมชาติ (Live according to Nature) เชนเดียวกับทางพุทธศาสนา
ตรรกศาสตรของปรัชญาสโตอิคเปนตรรกศาสตรแหงประโยค (Logic of Proposition) ท่คี ิดคนข้ึน
โดย ครีสซิปปุส แหงสโตอคิ กลาง ปรัชญาสโตอคิ ไมเช่ือวาตรรกศาสตรแบบคาํ ดงั เชนของอริสโตเติล
คิดขึ้นนั้นจะใหความจริงเพียงพอ ท้ังยังไมเห็นดวยกับทฤษฎีมโนคติหรือแบบของเพลโตและของ
อริสโตเตลิ ที่กลาววา มสี ิ่งสากลแทรกสถิตอยูภายในสิ่งเฉพาะ สโตอิคมีความเห็นวา สิ่งเฉพาะที่รับได
โดยประสาทสมั ผัสเทา น้ันที่มอี ยู สวนส่ิงสากลไมมีอยูจริง ดังนกั ปรัชญาสโตอิคคนหนึ่งคาน “แบบ”
ของเพลโตโดยกลา วอยางลอ เลียนวา “ขา พเจาเห็นแตม า ตัวหนง่ึ แตไมเ ห็นความเปน มา ”

ทศั นะดงั กลา วจึงถอื วา อยูตรงขามกับปรชั ญาของเพลโต ซ่ึงเชื่อวาขอมูลไดจากสัญชานเปนได
แคค วามเชื่อ หาเปนความรไู ม สว นสโตอคิ เชอ่ื วา สัญชานหรือประสบการณจ ากประสาทสัมผสั เปนบอ
เกดิ ของความรทู ุกอยาง

กลาวโดยสรุป ทฤษฎีความรูหรือญาณวิทยาของชาวสโตอิคเปนแบบประสบการณนิยม
(Empiricism) สวนของเพลโตและอริสโตเติลเปนแบบเหตผุ ลนิยม (Rationalism) แตประสบการณ
นยิ มของชาวสโตอิคก็ไมไดปฏิเสธการใชเหตุผลเสียเลยทีเดียว ชาวสโตอิคเพมิ่ เติมวา สัญชานใดจะให
ความรูแทจ ริงหรอื ไมน้ันขนึ้ อยูกบั เงื่อนไขทวี่ า สัญชานนั้นสามารถทําให “จิต” มีการปลงใจ (Assent)
ไดห รอื ไม

แนวความคิดนีม้ ีสอนไวใ นปรัชญาพทุ ธ วา ขอ มูลทีไ่ ดจ ากการรับรดู ว ยประสาทสัมผัสทงั้ ๕ คือ
ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส น้ันบางครั้งทําให เวทนา สัญญา สังขาร หรือ วิญญาณ บิดเบือนออกไป
จากความเปนจริงไดดว ยธรรมารมณแ หงกิเลสและตัณหา สัญชานอนั เต็มไปดวยอารมณจึงอาจไมใช
ความรู (Knowledge) แตเปนเพียงความเช่ือ (Belief) ความศรัทธา (Faith) หรือเพียง ปสาทะ
ปรัชญาสโตอคิ กลาววา“การปลงใจ คอื อาการทีจ่ ิตยอมรับวา ภาพที่เห็นหรือเสียงที่ไดยินเปนของจริง
โดยไมมคี วามสงสัยหรือระแวงแคลงใจแตประการใด สัญชานใดเกิดขึ้นพรอมกับความปลงใจเช่ือดวย
เหตผุ ลจึงจะเปนสัญชานท่ีใหความจริงแท คนท่ีมองเห็นเงาตะคุม ๆทามกลางความ มืดในเวลาค่ําคืน
แลวเชื่อวามีผีนั้น เปนสัญชานอนั เกิดจากอารมณความรูสึกกลัว สัญชานเชนน้ีจึงไมอาจใชเ ปนเกณฑ
ในการตดั สนิ ความจริง”

ในทางอภิปรัชญา ชาวสโตอิคมีความเชื่อเชนเดียวกับเฮราคลิตสและอริสโตเติลวา ดั้งเดิม
จกั รวาลเกิดมาจากหลักการเบื้องตน ๒ ประการคือ กัตตภุ าวะ (พระเจา) และ กัมมภาวะ (สสาร) แต

๑๔๓

ท้ังสองภาวะถือวาเปนส่ิงเดยี วกันคอื เกิดมาจากไฟ ไฟเปนส่ิงแรกที่มีในจักรวาล สรรพส่ิงเกิดจากและ
จะกลบั ไปสูไฟ พระเจาก็คือไฟ แตเปนไฟทีล่ ะเอยี ดปราณีต เม่ือทุกสิ่งลวนเกิดมาจากไฟ ส่ิงแทจริงทุก
อยา งลวนเปนสสาร

อยางไรก็ตาม แมวา อภปิ รัชญาของชาวสโตอคิ จะเปน สสารนิยม แตก็ยังเช่ือและถือวาพระเจา
ทรงเปนปญญาอันสมบูรณแ ละเปน วจนะ (Logos) คือเปนกฎแหงเหตผุ ลที่จัดระเบียบใหกบั จักรวาล
เชน เดยี วกับ กฎธรรมชาติ หรือ อทิ ัปปจจยตาในทางพุทธศาสนา ตางกันตรงที่ปรัชญาพทุ ธไมกลาวถงึ
หรือไมเชื่อวากฎแหงเหตผุ ลน้ีคอื พระเจา แตเปนกฎทม่ี ีอยูกอนแลวไมวาจะมหี รือไมม ีตถาคตหรือนัก
ปรัชญาผูมีปญญาเลิศใด ๆ เกิดข้ึนมาก็ตาม เลาจื๊อมีความเห็นเชนเดียวกัน แตเขาไมเรียกวา กฎ
ธรรมชาติ ไมเรยี กวา ธรรมนยิ าม ไมเ รียกวา พระเจา แต เลาจื๊อ เรยี กวา เตา

ปรัชญาสโตอิคเชื่อในตอนแรกวาท้ังพระเจาและสสารคือส่ิงเดียวกัน ตางอยูภายใตกฎ
ธรรมชาติและเปล่ยี นแปลงอยูภายใตการควบคมุ ของกฎเหตผุ ล แตปรัชญาสโตอิคยุคหลังกลับสอนวา
สรรพส่ิงในโลกเกิดขึ้นและมีการเปล่ียนแปลงไปตามแผนการและวัตถุประสงคที่พระองคกําหนดไว
ลวงหนา พระเจา คอื ผกู ําหนดชะตากรรมของมนุษย ปรัชญาสโตอิคจึงมองดูคลายจะเปนสสารนิยมถึง
จิตนิยมและเช่ือใน “พรหมลิขิต” แบบชะตานยิ ม (Fatalism) หรือ นิยัตินิยม (Determinism) ทีเ่ ช่ือ
วา สรรพสิ่งท้ังหลายตองมีอันเปนไปตามชะตากรรม มนุษยไมมีเจตจํานงเสรี (Free Will) ในการ
กาํ หนด วิถีชีวิตหรือหลีกเล่ียงชะตากรรมท่ีพระเจากําหนดไวลวงหนา สรรพส่ิงทั้งหลายเกิดมาจากไฟ
จึงตองกลับไปสูไฟ ในวันหน่ึงขางหนาไฟจะไหมโ ลกเหลือแตพระเจา ตอจากนั้นพระเจาจะกลายเปน
โลกแลวกลับไปสูไฟอกี เวียนวายอยูในลักษณะเชนน้ีไมมที ่ีสิ้นสุด การเกดิ ใหมข องโลกแตละครั้งจะซ้ํา
รอยเดิมทุกประการ ไมมีอะไรเกิดขึ้นใหมในจักรวาล ตางเกิดขึ้นตามกฎธรรมชาติตามวจนะของ
พระองค เพราะวญิ ญาณของมนุษยด วงแรกเกิดจากพระเจา สวนวิญญาณอนื่ เกิดสืบตอกนั มาจากบิดา
มารดาลงไปยังบุตรธิดา วิญญาณของมนุษยจึงตระหนักรูกฎธรรมชาติและพรอมที่จะปฏิบัติ ตามพระ
ประสงคของพระองค ปรัชญาสโตอิคเช่ือวา วิญญาณของมนุษยเมื่อตายลงจะรออยูจนถึงวันไฟไหม
โลก เมื่อถงึ วนั น้นั วิญญาณ ของคนดเี ทานนั้ จึงจะมีโอกาสกลับสพู ระเจา

พึงสังเกตวา ความเช่ือเชนน้ีมีปรากฏอยูในศาสนาอิสลามเชนเดียวกัน อภิปรัชญาสโตอิค
ดังกลาวมาน้ีนําไปสูความเช่ืออันเปนรากฐานทางจริยศาสตร ๒ ประการ คือ เชื่อวาจักรวาลถูก
ปกครองดว ยกฎเหตุผลที่ตายตัว ธรรมชาตอิ ันเปนแกน แทของมนุษยคือการคิดอยางมีเหตผุ ลที่ควรรู
และตระหนักในกฎธรรมชาตเิ พือ่ ใหการดําเนินชีวิตมีความสอดคลองกับธรรมชาติ กบั ทง้ั ยอมรับและ
คลอ ยตามกฎเกณฑแ ละระเบียบประเพณีของสังคม เซโน นักปรชั ญาชาวสโตอิคกลา ววา

“ชีวิตตามธรรมชาติหมายถึงชีวิตที่ดําเนินตามเหตุผล ใหสอดคลองกับธรรมชาติอยางมี
คุณธรรม เพราะวาธรรมชาตินํามนุษยสูคณุ ธรรม ธรรมชาติของมนุษยคือสวนหน่ึงของธรรมชาตแิ หง

๑๔๔

จักรวาล คุณธรรมคือสภาพจิตท่ีคลอยตามเหตุผล คุณธรรมเปนส่ิงนาปรารถนาในตัวเอง ไมใ ชความ
ปรารถนาเพราะความคาดหวงั ความกลัว หรือจากแรงจงู ใจจากภายนอก”

หลักคุณธรรมของสโตอิคจึงเหมือนกับของเพลโตและอริสโตเติล กลาวคือ ประกอบดวย
ปญญา ความกลาหาญ การรูจักประมาณ และความยุติธรรม คุณธรรมท้ัง ๔ ประการมคี วามสัมพันธ
กนั อยางแยกไมออก คนดีคือคนมคี ุณธรรมครบทั้ง ๔ ประการ เซโนกลาววา ในบรรดาคุณธรรมหลัก
ทั้ง ๔ ประการ ปญญาถือวามีความสําคัญท่ีสุด เพราะเปนปจจัยที่มนุษยใชวิเคราะหแยกความดอี อก
จากความช่ัว แยกความเหมาะสมออกจากความไมเหมาะไมควร ผูมีปญญายอมจะทําความดีและ
หลกี เลีย่ งความชั่ว เซโนเหน็ ดวยกบั โสคราตสิ ในคาํ กลาวทว่ี า “ความรคู อื คุณธรรม คนมีความรูคือคนมี
ปญญา คนมปี ญญาคอื คนมีคณุ ธรรมคนมีความรูแ ตขาดคุณธรรมคอื คนที่ไรป ญ ญา”

จุดเดนของปรัชญาสโตอิค อยูท่ีการสอนใหมนุษยรูจักฝกฝน เพื่อกําจัดอารมณความรูสึก
ออกไปใหหมด มนุษยเปรยี บเหมอื นนักแสดง เขาตอ งแสดงไปตามบทท่ีพระเจากําหนดไวลวงหนาโดย
ไมมีทางหลีกเล่ยี ง ดังนั้น มนุษยจึงไมควรแสดงความรูสึกและอารมณ ชอบ ชัง ดใี จ เสียใจ พอใจหรือ
ไมพอใจ ในบททต่ี นเองไดรับ แตควรทําใจใหเปนกลางเขาถึงอุเบกขา ๓๔ (Apathy) หากมนุษยทํา
ไดม ากเทา ใดเขากจ็ ะบรรลุอสิ รภาพของจิตใจไดม ากเทาน้ัน อสิ รภาพของจิตหมายถึงความสุขที่แทจริง
ชาวสโตอคิ ถอื วา อารมณ ความรสู ึกเปนตัวทําใหจิตใจยบุ พอง ทําใหจิตขาดเหตุผลขาด ปญญาอันเปน
แกนแทของมนุษย ขัดกับกฎธรรมชาติจึงควรหาทางกําจัดใหสิ้นไป จริยศาสตรสโตอิค จัดเปน
แนวความคิดสากลนิยม (Cosmopolitanism) โดยถอื วา

“มนุษยทุกคนมีธรรมชาติเปนสัตวสังคม การอยูรวมกันของมนุษยถูกกําหนดไวแลวลวงหนา
ดวยเหตุผลภายในจิต ดังนั้น มนุษยทุกคนจึงเกิดมาในฐานะท่ีเปนเพื่อนรวมโลกที่ควรไดรับความ
ปรารถนาดีตอกัน ทาสและศัตรูจึงควรไดร ับการใหอภัยและไดรับ ความกรุณาจากอิสรชน มนุษยทั้ง
ผองลว นแตเปนพ่ีนอ งกนั มนุษยท ง้ั หลายจึงควรมีสทิ ธิทจ่ี ะอยูรว มภายใตก ฎระเบียบและอาณาเขต อัน
เปน สากลรวมกนั อยา งมคี วามเสมอภาคและภราดรภาพ”

เมอ่ื กลา วโดยสรุป ปรัชญาสโตอคิ มีทฤษฎีความรูเปนแบบประสบการณน ิยม เพราะเชื่อวาจิต
คอื กระดานชนวนทว่ี างเปลา (Tabula rasa) เชนเดียวกบั ทางพุทธศาสนาที่เช่ือวา “จิตดั้งเดิมน้ันเปน
ปภัสสร นกั ปรัชญาองั กฤษสมัยตอ มา เชน จอหน ลอค (John Lock) เห็นดวยและเปนผูนําประโยคนี้
มาใชจนเปนท่ีรูจักในปรัชญาสมัยใหม อยางไรก็ตาม แมวาสโตอิคจะเช่ือวาความรูได จาก
ประสบการณแบบสสารนิยม แตก็ตองอาศัยจิตท่ีมีเหตุผลเขา ไปเปนตัวตัดสิน ปรัชญาสโตอิคจึงเปน
การประนีประนอมระหวางหลักการของสสารนิยมกับจิตนิยม เปนประสบการณนิยมรวมกับเหตุผล
นิยม ที่กลาวถึง กัตตุภาวะ รวมอยูกับ กัมมภาวะ หรือระหวางพระเจากับสสาร ดังที่ เอมมานูเอล
คานท (Emmanuel Kant) นักปรชั ญาชาวเยอรมันนาํ มาใชเ มื่อสองรอยปท ีผ่ า นมา

๑๔๕

อภปิ รชั ญาของชาวสโตอิคเปน วัตถุนิยม เชอ่ื วา ทุกส่งิ ทุกอยางแมแตพระเจาเกิดมาจากไฟตาม
ความเช่ือเดิมของเฮราคลิตุส สวนจริยศาสตรของชาวสโตอิคจัดวาเปนวิมุตินิยม สอนใหมนุษยรูจัก
กําจัดอารมณความรูสึก เชนเดียวกับพุทธศาสนาที่จัดวาถือเปนกิเลสตัณหา เปนสิ่งที่ควรตองขจัด
ออกไปเพ่ือใหจิตเขาถึงความสงบเปนอิสระอันจะนําไปสูความสุขที่แทจริงโดยอาศัยคุณธรรม ๔
ประการ โดยเฉพาะอยา งย่งิ คือ ปญญา

นอกจากนี้ จรยิ ศาสตรของชาวสโตอิคยงั มสี ว นคลา ยคลึงกบั หลกั ธรรมของพทุ ธศาสนาในเรื่อง
ของการทาํ จติ ใหส งบ อยกู ับธรรมชาติ ยอมรบั ในกฎเกณฑข องธรรมชาติ และสอนใหใชชีวิตสอดคลอง
กับธรรมชาติ มองมนุษยและสัตวทั้งหลายเปนเพ่ือนรวมโลกเดยี วกนั ทีค่ วรแผเมตตาจิตใหตอ กัน จะ
แตกตางกันตรงอภิปรัชญาทชี่ าวสโตอิคเปนเทวนิยมและเปนวัตถุนิยมในเวลาเดียวกันสวนอภิปรัชญา
พทุ ธเปนอเทวนิยมและเปนสัจนิยมทยี่ อมรับวามีสสารอยูตา งหากจากจิตแตจิตเปนนาย สวนกายคือ
สสารน้ันเปนบาวทอี่ ยูใ ตก ารควบคมุ ของจติ

ปรัชญาสโตอิคพยายามรวบรวมแนวคิดทางปรัชญากับแนวคิดทางศาสนาในขณะน้ันเขา
ดวยกันเพื่อใหเปนที่พึ่งทางใจของประชาชนชาวกรีกที่กําลังสิ้นหวังเพราะตกเปนเมืองขึ้นของมหา
อาณาจักรโรมนั อันเกรียงไกร ศาสนาและปรัชญาวิมตินิยมมักถือกําเนิดขนึ้ เพราะความส้ินหวังเสมอ
พทุ ธศาสนาก็ถือกําเนิดขึ้นมาในลักษณะคลายๆ กนั โดยที่เจาชายสิทธตั ถะทรงเห็นความไมเปนธรรม
ในสังคมระหวางชาวอารยันผูปกครองกับชาวดราวิเดียนผูเปนทาส แตเปนที่นาสังเกตวาทั้ง ๆ ที่
พระองคทรงประสูติในวรรณะกษัตริยชาวอารยัน ไมใชตกอยูในฐานะเยี่ยงชาวสโตอิคที่กาํ ลังเปนทาส
ของชาวโรมัน แตพระองคยังทรงมองเห็นความจริงตามหลักจริยศาสตรสากลนิยมที่ประสงคใหมนุษย
ทุกคน ทุกชัน้ วรรณะมคี วามเทาเทียมกนั ในทางสงั คม

อยางไรก็ตาม แมวาปรัชญาสโตอิคจะเกิดจากแนวความคิดของชนชาติกรีกในฐานะผูอยูได
ปกครอง แตก็ไดรับความนิยมและชนะใจชนชั้นสูงชาวโรมันในสมัยนั้นอยูเปนอยางมาก แมแต
จักรพรรดิ โรมนั ช่ือ มารคุส เอาเรริอุส กเ็ ปนนักปรัชญาคนสําคญั ของสํานักสโตอิค ปรัชญาสโตอิคได
เร่ิมขยาย ตัวเขาไปในผูเล่ือมใสชาวโรมันจนเคยเปนคูแขงกับศาสนาคริสตที่ขยายอิทธิพลเขาไปใน
จักรวรรดิ โรมนั ในเวลาไลเลี่ยกัน แตนาเสียดายท่ตี อมาปรัชญาสโตอิคไดเสื่อมสลายลงไปดว ยอาํ นาจ
แหงคริสตจักรในขณะนัน้ อยางไรกต็ าม ปรชั ญาครสิ ตในสมัยกลางก็ไดรบั อิทธิพลความคิดความเชื่อไป
จากปรชั ญาสโตอคิ อยูไ มน อ ยในเวลาตอมา

สโตอิคเปนปรัชญาวิมุตินิยมที่ถือวาความสงบคือความสุข ความสงบคือการควบคุมใหจิต
ตั้งอยูในอุเบกขา ตัดสินความถูกตองดวยเหตุผลและวิจารณญาณ ควบคุมการใชอารมณในการ
วเิ คราะหป ญ หา สโตอคิ สอนใหมนุษยเ อาชนะใจตนเอง สลดั ความลุมหลงความสําราญอนั เกิดจากวัตถุ
ภายนอก ฝกจิตใจใหอยูในคุณธรรม ๓ ประการคือ ความอดทน ความอดกลั้น ความยุติธรรม

๑๔๖

ชาวสโตอิค เชื่อวา ความอดทนจะชวยมนุษยใหพนกับความเจ็บปวดจากความขัดแยง ความอดกลั้น
จะชวยใหเ ราขจัดสิ่งเยา ยวนใจ และความยุติธรรมชวยใหเ รามีคณุ คา เมือ่ ตอ งสมาคมกบั ผูอน่ื

ชาวสโตอคิ เชื่อวา คนดคี ือคนมีคุณธรรมทั้งสามประการท่จี ะทําใหเราเปนตวั ของตัวเองเปน
คนท่ีมีความเมตตาชวยเหลือผูอื่น สโตอิคสอนใหคนรักความสงบ แตไมสอนหรือแนะนํามนุษยให
หลบหนีสังคมเพื่อเอาตัวรอดเชนคนปฏิเสธโลก (World Negative) แตสอนใหสูโลก (World
Affirming) ดว ยปญญาและจิตอันสงบซึง่ แตกตางจากปรัชญาวิมุตินิยมของชาวซินนิค (Cynic) ที่สอน
ใหมนุษยหนีโลกโดยการใชชีวิตอยางงายขจัดความตองการทางกาย จนบางคร้ังเลยเถิดทําใหชีวิตมี
ความเปนอยูใกลกับสัตว ปฏิเสธความเจริญรุงเรือง ดวยการประชดประชันหรือเหยียดหยามความ
สมบรู ณพนู สุขและกรอบธรรมเนยี มประเพณีอนั ดงี ามของสงั คม ดงั ทีม่ ีเร่ืองเลาวา

ครั้งหนึ่ง ไดโอจินีส (Diogenes) ชาวซินนิคกําลังเปลือยกายอาบนํ้าอยูในท่ีสาธารณะกลาง
กรงุ เอเธนสในฤดูหนาว เม่อื พระเจาอเลกซานเดอรมหาราชทรงมาผานมาพบเขา ทรงรูสึก สังเวชและ
สลดพระทัย จึงชกั มาเขาไปใกล แลวตรสั ถาม ไดโอจีนสี วา

ไดโอจนิ สี ! เธอ คงจะยากจนมาก เราอนญุ าตใหเ อย ขออะไรก็ได ท่ีเราจะสามารถ ใหได
ไดโอจินีส ทูลตอบโดยทนั ใดวา
“ขาพเจาขอพระองคทานเพียงอยางเดียวเทาน้ันคือ ขอใหพระองคทรงขยับมาออกไปจาก
ตรงท่ขี า พเจา กาํ ลังอาบนํ้าใหเ รว็ สักหนอ ย เพราะวามาที่พระองคกําลังทรงอยูนี้ ยืนบังแสงแดดท่กี ําลัง
ใหค วามอบอุนแกข าพเจาอยู”
น่ีคือปรัชญาของชาวซินิค! กลาวโดยสรุป สโตอิคและซินนิคเปนปรัชญาวิมตินิยม หากจะ
เปรียบใหชดั เจนยิ่งข้ึน สโตอคิ มปี รชั ญาคลายพุทธ ชินนคิ มปี รัชญาคลาย ฮนิ ดนู กิ ายโยคหรือฤาษีชีไพร
ท้งั คูมีความเชือ่ แบบอสุขนยิ ม (Non-Hedonism) เชนเดียวกบั ปรชั ญาปญญานิยมของโสคราติสเพลโต
และของอรสิ โตเตลิ

๔.๓ ปรชั ญาวมิ ตนิ ิยมและสงั คหนยิ ม
การศกึ ษาถงึ ปรชั ญาวิมตินยิ มชว ยใหเรามองเหน็ รองรอยความเส่ือมของปรัชญากรีกไดชัดเจน
ย่ิงขึ้น ปรัชญาที่เกิดจากการใฝรูของ ธาเลส เฮราคลิตุส เดมอคริตุส ตลอดจนทฤษฎีความรู อันเกิด
จากการใชป ญ ญาของ โสคราตสิ เพลโต และอรสิ โตเตลิ ไดพังทลายลงจากปรัชญาวิมตินิยมที่ประกาศ
วา ความจรงิ เปน สงิ่ ทม่ี นษุ ยไมอาจรูได หรือแมแตความดี ความงาม อันเปนคณุ คาทางจริยธรรมก็ถูก
ชาววมิ ตินิยมรื้อทิง้ อยา งถอนรากถอนโคน
เรามาพิจารณากันตอ ไปวาวมิ ตินยิ มเชือ่ และคดิ อะไรเก่ียวกบั ปรัชญาของเขาในยุคท่ีบานเมอื ง
ตกอยใู นสถานภาพทเ่ี ปนเพียงรัฐหนึง่ ของอาณาจกั รโรมนั อนั เปน ผลใหชนชาติกรีกขาดความริเริ่มหรือ
แมแ ตจะสานตอเพือ่ ใฝหาความจริงเกย่ี วกับชวี ิตและจักรวาลจากนักปรชั ญารนุ กอนๆ

๑๔๗

ปรัชญาวิมตินิยม (Scepticism) เช่ือวา ความจริงเปนสิ่งที่มนุษยไมสามารถรูไดจากการใช
เหตผุ ลหรือจากประสาทสัมผัส เพราะวามนุษยมขี ีดจาํ กัดของศักยภาพในการแสวงหาส่ิงเหลานั้น คํา
วา Sceptic มาจาก Skeptikoi ในภาษากรีก ซ่ึงแปลวา คนชางสงสัยหรือนักคน ควา แตเปนท่ีนา
เสียดายวาความสงสัยของชาววิมตินิยมไมสามารถหาคําตอบใหกับตัวเองได เขาเลยดวนสรุปอยาง
งายๆวา ความจริงเก่ียวกับโลกและชีวิตเปนสิ่งมืดมนที่มนุษยไมควรแสวงหามันตอไป ความเช่ือใน
ลักษณะเชนนี้เราจะพบในปรัชญากรีกต้ังแตสมัยโซฟสต ดังรายละเอียดที่ไดกลาวไวแลวตั้งแตตอน
แรกๆ ตอมาอีกสองพันปเมื่อปรัชญากรีกยางเขาสูยุคเส่ือม แนวคิดแบบวิมตินิยมจึงไดกลับมา
แพรกระจายในหมูช นชาติกรีกอีกในสมัยเดียวกนั กับท่ี เอปคคิวรัส สอนใหคนแสวงหาความสุขสําราญ
และเซโนสอนใหใ ฝห าความสงบเพอื่ ใชเ ปน แนวทางในการดําเนนิ ชวี ิต

ไพรโร (Pyrrho พ.ศ. ๑๗๘-๒๗๓) คือเจาของปรัชญาวิมตินิยมดั้งเดมิ เขาเคยติดตามกองทัพ
ของพระเจาอเลกซานเดอรมหาราชไปยังประเทศอนิ เดีย สันนิษฐานวา นา จะไดรับการถา ยทอดปรัชญา
ของชาวชมพูทวีปกอนเดินทางกลับไปตั้งสํานกั ปรัชญาและมีการถายทอดใหกบั ศษิ ยใ นเวลาตอ มา

ไพรโ รมคี วามเชอื่ วา สัญชาน (Perception) และเหตุผลไมสามารถใหความรูแทจริงแกม นุษย
เพราะวาประสาทสัมผัสรับรูไดเฉพาะปรากฎการณอันผิวเผินโดยไมสามารถหย่ังรูสัจธรรมท่ีอยู
เบ้ืองหลังประสาทสัมผัสสวนใหญใหขอมูลท่ีบิดเบือนในองคความรูใหญๆอยูเสมอ ดังท่ีคนเราตางมี
การรับรูแตกตางกันออกไป ทง้ั เหตุผล (Reasoning) ก็มไิ ดชวยใหเราเขาถึงสารัตถะอันเปนแกน แท
ของ สรรพสิ่ง ไมวาเราจะใชเหตผุ ลสนับสนุนความเช่ือของเราอยางไร ก็ยอมมเี หตุผลของคนอืน่ ๆ มา
หักลา งไดเสมอ ดงั นั้น เหตผุ ลจงึ ไมใ ชเ กณฑใ นการตดั สินความจริงเชนเดยี วกันกบั สัญชาน ความจริงที่
เรารูจ งึ ไมส ามารถเชอื่ ไดว า ตรงกับความจรงิ ของคนอืน่ เสมอไป เขากลาววา“ขา พเจาเห็นสีขาว ของสิ่ง
นนั้ จึงเปนสขี าวในความเห็นของขาพเจา”

อารเซสิลาอุส ชาววิมตินิยม ศิษยของไพรโรอกี คนหน่ึงกลาววา “ขาพเจาไมแนใจอะไรเลย
แมก ระท่ังความไมแนใ จของขาพเจา เอง”

ดวยทัศนคติท่ีมีอยูเชนนี้ ไพรโร จึงมีความเห็นทางจริยศาสตรวา คนเราน้ันควรยับยั้งช่ังใจ
กอนตัดสินวาอะไรถูกผิด อะไรดีหรือชั่ว เพราะวาไมมีทางพิสูจน เขาเห็นวา ความดีความงามอยูท่ี
มมุ มองของแตละคน ไมม ีส่ิงใดถูกหรือผิด ดีหรือช่ัวในตวั ของมันเอง กลาวอีกอยางหน่ึงคือ คุณคา ทาง
จริยธรรมเปนเพยี งอัตวิสัยเมื่อมนุษยไมส ามารถตัดสินไดวาอะไรคือความจริงแทส่ิงเดียวท่เี ราควรทํา
คือ การวางเฉย ไพรโร สอนใหมนุษยปลอยวางทุกส่ิงทุกอยาง ไมตองการและไมมีความเห็นในการ
ตดั สินใจไมวาเก่ียวกับเร่ืองใดๆ นั่นคอื การขจัดตัณหาและทิฐิอนั เปนวิธีการแกปญหาอยางงายๆ ของ
ชาววิมตินิยม ความเช่ือของปรัชญาสํานักนี้คือ การทําใจยอมรับสถานการณอยางสงบโดยไมคิด
ตอ ตานหรอื เปลยี่ นแปลงอะไรเลย การกระทาํ เชนน้ีชาววิมตินิยมถือวาเปนชีวิตท่ีมีความสงบทางใจคดิ

๑๔๘

ดแู ลวก็มีสวนคลายกับคติของผูปฏิบัติธรรมชาวพุทธบางสวนที่เขาใจในเร่ือง อุเบกขา และ กฎ แหง
กรรม อยา งผิดๆ โดยเชือ่ วา นค่ี ือแกนแทของพุทธศาสนา!

ปรัชญาโซฟส ตสอนใหคนเราใฝแสวงหาส่ิงที่เห็นวาเปนประโยชนเอามาไวเปนของตนเองให
มากที่สุด สโตอิคสอนใหดําเนินชีวิตตามทางสายกลางโดยกําจัดอารมณความรูสึกโลภ โกรธ หลง
สวนวมิ ตินิยมกลับสอนใหใ ชชีวิตอยางสงบโดยไมตัดสินใจเลือกอะไรเลย ชาววิมตินิยมวิจารณปรัชญา
สโตอิควา การปลงใจเช่ือไมอาจประกนั ความถูกตอ งของสญั ชาน โลกเราน้ีไมไดมีความดีงามหรือความ
เพียบพรอมดวยเหตุผลจากการจัดระเบียบโดยพระเจาอยางท่ีชาวสโตอิคเช่ือ ปรัชญาวิมตินิยม
กลาววา

“ถา พระเจามีความรูสึกหรือมีประสาทสัมผัสรับรูเชนน้ัน พระองคกเ็ ปนอนิจจัง ไมเปนอมตะ
แตถ า พระองคเ ปน อมตะพระองคก ห็ ยดุ น่ิงไรชีวิต ถา พระเจาเปนสสารพระองคก็เปนอนิจจังและมีการ
ดับสูญ และถาไมใชสสารพระองคก็ยอมไมมีความรูสึกหรือไมมีประสาทสัมผัส ถาพระเจามีความดี
พระองคก็ตกอยูภายใตกฎศีลธรรม นั่นแสดงวาไมยิ่งใหญ ถาพระเจาไมมีความดีพระองคก็ดอยกวา
มนุษย”

น่ีคือตรรกบทของคารเนอาดสี นักปรัชญาคนหน่ึงของชาววิมตนิ ิยม เมื่อชาวกรีกพบทางตัน
ทางความคิดเชงิ ปรัชญาเชน น้ี ชาวโรมนั ผูปกครองนา จะสรา งสรรคงานปรัชญาตอจากชาวกรีกบาง แต
ปรากฎตามประวัติศาสตร ชี้วา ชาวโรมนั นน้ั เปนเพียงนักรบเจา สาํ ราญท่ีรูจักนําเอาศิลปวิทยาการของ
ชาวกรีกมาใชใหเ กิดประโยชนตอการปกครองและการขยายอาณาจักรใหกวางใหญไพศาลออกไปท่ัว
ยุโรปเทานั้น สวนอจั ฉริยภาพในทางปรัชญานั้นมีไมเทาชาวกรีก ดังนั้น สิ่งที่ชาวโรมันสามารถทําไดก็
คือการผสมผสานปรัชญากรีกที่เดน ๆ เขาเปนปรัชญาของตน เรียกวา ปรัชญาสังคหนิยม
(Eclecticism) ในสมยั น้ันชาวโรมนั ผมู ่ังคงั่ นยิ มสง ลกู หลานเขา ไปศึกษาในสํานักตางๆ ของชนชาติกรีก
เปน จาํ นวนมาก มกี ารนําเอาปรชั ญาสโตอคิ ผสมกับปรัชญาของอริสโตเตลิ และอุดมรัฐของเพลโตมาต้ัง
สาํ นักปรัชญา โปตามอน (Potamon) ท่ีเมอื งอเลกซานเดรยี ผสมแนวคิดของ สโตอิค ซนี คิ พธิ ากอรัส
เพลโต และอริสโตเตลิ ต้งั เปนสาํ นกั ปรชั ญาแหงกรงุ โรม เปนตน

๔.๔ ปรชั ญาเพลโตใหม
ปรัชญาตางๆ ของชนชาติกรีกเกิดข้ึนมาเนื่องจากความใครรู คําตอบท่ีมนุษยไดจากวิชา
ปรัชญาจงึ เปนจุดเร่ิมตน ของศิลปวิทยาการแขนงตางๆ ท้งั ในดานศาสตรและศิลป ธาเลส และศิษยให
คําตอบเก่ียวกับปฐมธาตุของโลกและจักรวาลอยางพ้ืนฐาน เดมอคริตุสอธิบายไดลึกลงไปถึงระดับ
อะตอม อันเปนพื้นฐานทางวทิ ยาศาสตรในเวลาตอมา โสคราติส เพลโต มุงหาคําตอบเกยี่ วกับคณุ คา
ในทางจริยศาสตรเพื่อการดําเนินชีวิต อริสโตเติลเนนในการใชปญญาเปนเครื่องนําทางตัดสินปญหา

๑๔๙

พรอมกับเสนอศาสตรตางๆทางธรรมชาติใหมนุษยไดเรียนรู เฮราคลิตุส สอนเรื่องการเปล่ียนแปลง
ความไมเท่ยี ง หรือความเปน อนิจจัง ของสรรพส่ิงทั้งหลาย สว นพธิ ากอรัสสรางปรชั ญา

ทางศาสนา สอนวถิ ีความหลดุ พน ของวญิ ญาณภายหลงั ชวี ติ ดับสูญลง ปรัชญากรีกสมยั เร่ิมตน
เปนเรื่องเก่ียวกับความอยากรูในส่ิงทั่วๆไป สมัยรุงเรือง แสวงหาคุณธรรมจริยธรรม คร้ันมาถึงสมัย
เสื่อมที่ชนชาติกรีกตกอยูใตการปกครองของชาวโรมัน ปรัชญากลับมุงไปรับใชศาสนาเชนเดียวกับ
ปรชั ญาอนิ เดยี ปรัชญาจีน

ดวยเหตุนี้ พอไดยินคําวาปรัชญา ใจคนสวนใหญจึงนึกถึงคําวาศาสนาขึ้นมาทันที เพราะมี
ทศั นคติวา ปรัชญาเปนเรื่องของศาสนา นักปรัชญาชอบพูดถึงพระเจาพูดถึงวิญญาณภายหลังตายพดู
ถึง พรหม เตา นิพพาน ไกวัลย ปรัชญาเพลโตใหม (Neo-Platonism) ที่จะกลาวถึงตอไปนี้ก็เชน
เดยี วกนั เปน ปรัชญาท่มี ุง เนนทางจักรวาลวทิ ยา เพอื่ ดึงความเช่ือลงมารับใชศาสนา ปรัชญาเพลโตใหม
ไดนําเอา โลกแหงแบบและมโนคติ ของเพลโตมาเจียระไนใหกลายเปน พระเจา ของนักปรัชญาใน
ศาสนาเทวนิยมของยุโรปยคุ กลาง

ปรัชญาเพลโตใหมเกิดหลังปรัชญาเอปคคิวเรียนและปรัชญาสโตอคิ ประมาณ ๕๐๐ ป หรือ
ประมาณ ๗๐๐ ถงึ ๘๐๐ ปห ลังพทุ ธกาล ในยคุ นั้นชาวกรกี ตกอยูในภาวะชะงักงันทางปญ ญา ชาววิมติ
นิยมสอนวาความจริงไมอาจรูไดดว ยประสาทสัมผสั หรือดวยเหตุผล แมแตความดีความงามก็เปนสิ่งที่
มนษุ ยไมอ าจรูไดเ ชน เดยี วกนั การประกาศเชน นี้เทากบั นักปรชั ญากรีกในยุคเส่ือมยอมรับขอจํากดั ของ
มนุษย ทําใหชาวกรีกเริ่มทอถอยหมดพลังในการแสวงหาความจริงทางปรัชญา ลัทธิเพลโตใหมถือ
โอกาสแกปญหานี้โดยการประกาศวิธีใหมใ นการแสวงหาความจริง น่ันคือวิธีการท่ีองิ อาศัยความเชื่อ
ความศรัทธาในประสบการณลกึ ลับทางศาสนาอันเปนวิธีท่ใี ชไดผลมาโดยตลอดแมแ ตในยุคปจจุบันท่ี
มนษุ ยเ ต็มไปดว ยภูมิปญญาในทางวิทยาศาสตรเ ทคโนโลยี๑๕

นอกจากลัทธิเพลโตใหมที่ใชวิธีการเชนนี้ นักปรัชญายิว ช่ือ ฟโล (Philo) ก็ไดนําปรัชญา
เพลโตเก่ียวกับมโนคติไปผสมผสานใหเขากันไดกับคําสอนในศาสนายูดาย ดังที่รูจักกันในนามของ
ปรัชญายิว-กรีก (Jew-Greek Philosophy) พรอมกนั น้ัน อพอโลนิอุส (Apolonius of Tyana) นัก
ปรัชญาชาวกรีก ผูมีชีวิตในชวงตนคริสตศตวรรษก็ไดนําปรัชญาของพิธากอรัสเก่ียวกบั เรื่องวิญญาณ
และการเวยี นวา ยตายเกดิ ไปสรางปรัชญาพธิ ากอรสั ใหมเ ชน เดยี วกนั

จากหลกั ฐานการบนั ทึกของ ฟลาวิอสุ ฟลอสเตรสตสุ ในคริสตศตวรรษท่ี ๒ กลาววา ปรัชญา
พิธากอรัสใหม (Neo-Pythagorus) ของอพอลโลนิอุส คือแนวคดิ ทเ่ี ขาไดไปจากปรัชญาพระเวทและ
อุปนิษัทของอินเดยี ตามบันทึกเลาวา อพอลโลนิอสุ เดิมเปนชาวเมือง Tyana ในแควนกปั ปะโดเซีย
อันเปนนครรฐั หนึ่งทีอ่ ยภู ายใตก ารปกครองของกรกี ในสมัยปลายๆของพระเจาอเลกซานเดอรมหาราช

๑๕ กรี ติ บุญเจือ, ปรัชญาเบ้ืองตน และ ตรรกวทิ ยาเบ้ืองตน, (กรุงเทพฯ : ผดุงวิทยาการพิมพ, ๒๕๑๒),
หนา ๓๗.

๑๕๐

เขาไดเ ดนิ ทางมาอยูทเ่ี อเชียไมเนอรและมีโอกาสติดตามกองทัพกรีกเขา มาศกึ ษาปรัชญาอินเดยี ทเ่ี มอื ง
ตักศิลาในสมัยตนคริสตกาล หลักฐานในเร่ืองน้ีมีการยืนยันและพิสูจนวาเปนความจริง โดยเซอร
จอหน มาแชล นักโบราณคดีชาวองั กฤษในสมยั หลังท่ีขุดคน รองรอยของผังเมืองตกั ศิลาซงึ่ พบวาเปน
จริงตามบนั ทึกของอโพลโลนิอุสทุกประการ

จากบันทึกของอโพลโลนอิ สุ ในตอนท่ีเดนิ ทางเขามายังอินเดียน้ัน เขาไดพบเห็นอนุสาวรียของ
สุริยเทพและอนุสรณสถานของพระเจาอเลกซานเดอรมหาราชทท่ี ําดวยทอง ตั้งประดิษฐานเปน สงา
อยูหนากําแพงท่ีกอดวยหินสีแดง ซึ่งตรงกับหลักฐานทางโบราณคดีของเซอร จอหน มาแซล
เชนเดยี วกัน ตามหลักฐานกลาววา อพอลโลนิอสุ ไดรับเชิญใหเปนราชอาคันตกุ ะของกษัตรยิ เช้ือสาย
กรกี ทป่ี กครองอนิ เดียตอนเหนืออยูในเวลานนั้ ไดมีโอกาสศึกษาปรัชญาและสนทนาธรรมกับพระและ
พราหมณที่เขาใจภาษากรีก เขาใหความสนใจเปนพิเศษเกี่ยวกับหลักปรัชญาอุปนิษัท วาดวยเร่ือง
อดตี ชาตแิ ละการเวยี นวายตายเกดิ เรอื่ งเกี่ยวกบั จิตวญิ ญาณและการเรียนรูเ ก่ยี วกับ อัตตาอพอลโลนิอุ
สยืนยันในบันทึกของเขาวาบรรดาพราหมณท่ีเขาไดมีโอกาสเขาไปเรียนรูเหลานั้นตางรูจักช่ือเสียง
ของพิธากอรัสนักปรัชญากรีกตลอดจนประวัติเกี่ยวกับสงครามแหงเมืองทรอยเปนอยางดีแสดงวา
ปรัชญาของชาวอารยันในชมพูทวีปไดไปบรรจบพบกับปรัชญากรีกแลวตั้งแตสมัยกอนคริสตกาล ใน
บั้นปลายชีวิต อพอลโลนิอุส ไดเ ดินทางกลับจากอินเดยี โดยลองเรือไปตามแมนํ้าสินธุจนถึง ปากอาว
แลวเดินทางตอไปยังเมืองบาบิโลนมุงสูอิยิปตในฐานะของนักพรต จึงไมเปนท่ีนาแปลกใจวาเหตุใด
ปรัชญาพธิ ากอรัสใหม จึงกลาวถึงเร่ืองจิตวิญญาณและการเวียนวายตายเกิดไวไดคลายคลึงกับความ
เชอื่ ในปรัชญาของชาวชมพูทวปี

เชนเดียวกับการเกิดของปรัชญาพิธากอรัสใหม (Neo Pythagorus) อัมมานิอุส สัคคัส
(Ammanius Saccas พ.ศ. ๗๑๘-๗๘๕) แหง เมอื งอาเลกซานเดรีย กไ็ ดก อต้ังปรัชญาเพลโตใหมขนึ้ มา
จากการวบรวมทฤษฎีมโนคติของเพลโต ผสมผสานเขากับปรัชญาคริสตท ี่ทานเคยนับถือมากอ นตอมา
ลัทธิเพลโตใหมไดรับการปรับปรุงและพัฒนาอยางเปนระบบ โดยผลงานของโพลตินุส (Plotinnus
พ.ศ. ๗๔๗-๘๑๒) ทต่ี ั้งสํานักปรัชญาสอนชาวโรมันช้ันสูงในกรุงโรม ปอรฟรีย (Porphyry) ศิษยของ
เขาไดดําเนนิ การสอนและแตงตําราเกยี่ วกบั ลัทธิเพลโตใหมโ จมตีความเชื่อเดิมของชาวคริสตเปนผลให
หนงั สือท้งั หมดถูกผเู ลือ่ มใสศรัทธาในศาสนาครสิ ตเผาท้ิงใน พ.ศ. ๙๙๑

ปรัชญาเพลโตใหมไดมีพัฒนาการอันยาวนานอยูเกือบ ๓๐๐ ปในสํานักตางๆ เชน สํานัก
โพลตินุสโดยปอรฟรียท่ีกรุงโรม สํานักซีเรียโดย เอียมบลิคุส (lamblichus) ศิษยของปอรฟรีย
สํานักเปอรกามอนโดย อาเดซิอสุ (Aedesius) ทเ่ี มืองนี้ จักรพรรดจิ ูเลียนไดเคยใชป รัชญาเพลโตใหม
สนับสนุนศาสนาพหุเทวนิยมตามความเช่ือดั้งเดิมของชาวโรมนั โจมตีศาสนาคริสตที่แผกระจายและ
กาํ ลงั ไดร ับความนยิ มในหมูประชาชนในชวงทีศ่ าสนานับถอื พระเจาหลายองคก ับศาสนาคริสตท ี่เช่ือใน
พระเจา องคเ ดยี วไดด ําเนินการตอ สทู างความคดิ ความเชอ่ื กันอยูอยา งรุนแรง

๑๕๑

นอกจากนัน้ ลทั ธเิ พลโตใหมไ ดก ระจายสาํ นักปรัชญาไปยังกรุงเอเธนส โดยนําเอาปรัชญาของ
เพลโตและของอริสโตเติลมารวมเขาเปนปรัชญาเดยี วกนั สํานักอาเลกซานเดรียของ อัมโมนิอสุ สัคคัส
ยังดําเนินการเผยแพรปรัชญาเพลโตใหมในเวลาตอมา โดยนักปรัชญาหญิงช่ือ ฮิปาเดีย (Hypatia)
เปนเหตใุ หเธอถูกฆาตายโดยชาวคริสตหัวรุนแรงใน พ.ศ.๙๕๘ ความเชื่อดวยความหลงใหลในศรัทธา
ปสาทะอันสูงยิ่งของมนุษยที่ไมไดใชวิจารณญาณดวยปญญา กอใหเกิดการตอสูทางความคิด และ
กลายมาเปนการตอสูโ ดยการฆา รนั ฟนแทงเอาชนะกันดว ยกําลงั อํานาจมดื โดย ความเห็นชอบจากศาล
ทางศาสนา (Inquisition) ไดเ คยมมี าแลวในประวัติศาสตรของศาสนาเทวนิยมที่สอนใหมนุษยเชื่อโดย
อาศัยศรัทธาแทนปญญา เบอรทรันด รัสเซลล (Bertrand Russel) นักปรัชญาอังกฤษเคยกลาว
วิจารณไ ววา"เรอ่ื งราวเชน น้ี ไมเคยปรากฏอยู ในประวตั ิศาสตรของทางพุทธศาสนา”

ปรัชญาเพลโตใหมของโพลตินุส เลือกเอาเฉพาะความเชื่อเก่ียวกับจักรวาลวิทยาและเทว
วิทยาของเพลโตเร่ืองพระเจา (Demiurge) วาเปนผูจัดระเบียบใหกับโลก มโนคติใหญห รือวิญญาณ
โลกคือท่ีมาแหงคุณคาของความดี เปนอมตภาพของวิญญาณ พระเจาเปนอันติมสัจจะ (Ultimate
truth) หรือเปนความจริงสูงสุดเพยี งประการเดยี ว โพลตินุส เรียกวา เอกัตตะ (The One) พระองค
เปนหน่ึงเดียวแยกออกเปนสวนๆ ไมได ทรงอยูเหนือโลก (Trancendence) ไมสามารถรับรูไดโดย
ประสาทสมั ผัส พระเจา เปนนิรวจั นยี  (Ineffable) ซ่งึ มนุษยไมสามารถรูหรืออธิบายได เพราะขดี จํากดั
ของภาษา พระเจาคือความดี พระองคคือมโนคติ และทรงเปนประธานสูงสุดแหงมโนคติ ทรงเปน
“นิจจัง” คือไมมกี ารเปล่ียนแปลง พระเจาไมใชสสารจึงไมตองการเนื้อที่ ไมเคล่ือนไหว ไมค ิด ไมทํา
การใด ๆ พระองคท รงเปนอจิณไตยท่ีมนุษยไมสามารถรับรูไดดว ยประสาทสัมผัสแตมนุษยรับรูไดดวย
ประสบการณทางจิตอยางลึกลับ (Trancendental experience) อันเกิดจากภาวะการรวมเปนหนึ่ง
กบั พระองค ปรัชญาเพลโตใหม เชื่อวา พระเจาคือแหลงกาํ เนิดของจักรวาล กอนที่สรรพส่ิงทั้งหลาย
ถือกําเนิดขึ้นมา มแี ตพระเจาองคเดยี วเทาน้ัน และแลวโลกกับสรรพสิ่งท้ังหลายจึงถือกําเนิดโดยการ
ลนบาออกมาจากพระองค การลนออกมาเปนไปตามกฎแหงความจําเปนที่นักปรัชญากรีกในสมยั น้ัน
เช่อื วา

“ส่งิ สมบรู ณน อ ยกวายอ มกระจายออกมาจากสงิ่ ที่สมบรู ณมากกวาเปรยี บประดุจพระ อาทิตย
ที่เปนตนกําเนิดของแสงสวางในจักรวาล ยอมแผกระจายรังสีและลําแสงออกไปไกลรอบตัว รัศมียิ่ง
หางจากจุดศูนยกลางเทาใด ความเขมขนแหงรังสียอมจะนอยลง ในท่ีสุดก็จะคอยมืดมัวสลัวลง
จนกระทงั่ ดับหายไปในความมืดมิดพนรศั มีแหงดวงตะวนั ”

พระเจาก็มลี ักษณะเชนเดียวกนั พระองคทรงเปนเอกัตตะ (The One) ประหน่ึงดวงอาทิตย
สงิ่ ท่ีลนบาออกจากพระองคเปรียบไดกบั แสงสวางแหง ดวงตะวัน สสารเปรียบไดกับความมืดมดิ อนั อยู
เลยขอบเขตแหงรัศมีของพระองค ส่ิงแรกสุดท่ีลนออกมาจากพระเจา เรียกวา มโน (Nous) มโนคือ
ความคิดถงึ มโนคติ เนอ่ื งจากพระเจาไมคิด แตมโน หรือแบบ ตามท่ีใชเรียกในปรัชญาเพลโตทําหนาท่ี

๑๕๒

คดิ มโนจึงเปรยี บไดกับสวนหน่งึ ของพระเจา (Demiurge) ที่ทาํ หนา ที่คิดวางแผนจัดความเปนระเบียบ
ใหก ับจักรวาลตามความเช่ือเดิมของเพลโตถัดหางจากมโนออกไป เปนสวนของวิญญาณโลก (World
Soul) เปนสวนท่ลี นบาออกมาจากมโน วิญญาณโลกจึงมีความจริงนอยกวามโน เชนเดยี วกับท่มี โนมี
ความจริงรองลงมาจากเอกัตตะหรือพระเจา วิญญาณโลก ทาํ หนาท่ีประสานชองวางโดยเปนสื่อกลาง
ระหวา งมโนกับโลกแหงสสาร (Material World) และมสี ว นทาํ ใหโลกแหงสสารเลียน แบบมโนคติ

ปรชั ญาเพลโดใหมถ ือวาวิญญาณโลกเปนทีม่ าของกฎธรรมชาติ เน่ืองจากโลกแหงสสารคอื ส่ิง
ทอ่ี ยูหางไกลจากรังสีแหงเอกัตตะมากทสี่ ุด โลกของสสารจึงมีแตความมดื บอด ดังเชนปรัชญาอินเดีย
ใชคาํ วา อวิทยา หรือ อวิชชา โพลตินุส เชื่อวา สสารเปนทมี่ าแหงความช่ัวราย (Problem of Evil)
เชนเกิดน้ําทวม แผนดินไหวตลอดถึงภัยธรรมชาติอ่ืน ๆ ความช่ัวรายเหลานี้ไมไดลนมาจากพระเจา
หรือเอกัตตะ แตสสารตา งหากทเี่ ปนตนเหตขุ องความช่ัวรายในโลก เน่ืองจากสสารอยูไกลสุดโพนหาง
จากความสมบรู ณของพระองค โลกและสสารจงึ มคี วามบกพรอ ง ปรัชญาเพลโตใหมเ ชื่อวารางกายของ
มนุษยเปนกรงขังของวิญญาณ มนุษยประกอบดวยวิญญาณสองสวน คือวิญญาณฝายตํ่าท่ีใฝหา
อารมณในทางผัสสะ กับวิญญาณฝายสูงที่ตองการเปนอิสระหลุดพนจากรางกายเพ่ือไปรวมเปนอัน
เดยี วกับพระเจา วญิ ญาณสวนน้ีจะพยายามยกระดับตนเองข้ึนเปน ๓ ข้นั ตอน

ขนั้ แรก คือการควบคมุ ตัวเองเพ่ือชาํ ระวิญญาณใหบ รสิ ุทธิด์ ว ยการประพฤติปฏิบตั ิคุณธรรม ๔
ประการคือ ปญ ญา ความกลา หาญ รจู ักประมาณ และ ความยตุ ิธรรม

ขั้นท่ีสอง คือการปฏิบัติเพื่อใหเขาถึงมโนดวยการสละความสนใจในระดับผัสสะมุงสูการใช
เหตผุ ลทางดา นปญ ญา

ขนั้ ที่สาม เมื่อฝก ปฏบิ ตั ิจนวิญญาณยกระดับสูงกวาสองข้ันแรก วิญญาณจะเกดิ ความปติทว ม
ทนเขาไปรวมเปนอันหน่ึงกับพระเจา ความรูแจงตอพระองคเกิดข้ึนจากประสบการณลึกลับแหง
อัชญตั ิตกิ ญาณ (Intuition) ท่ีอยเู หนอื เหตผุ ลและประสาทสมั ผัส

ปรชั ญาเพลโตใหมม ีความคลายคลึงกับปรัชญาอุปนิษทั เปนอยางยิ่ง เปนทีน่ าสงสยั วาแนวคิด
เร่ืองวิญญาณและเร่ืองพระเจาที่ อัมโมนิอุส สัคคัส และโพลตินุส เจาของปรัชญาเพลโตใหมเช่ือวา
นาจะไดรับการถา ยทอดทัศนคติบางสวนมาจากปรัชญาตะวันออกเชนเดยี วกับปรัชญาพิธากอรัสใหม
ดังกลาวมาแลว เพราะตามหลักฐานทางประวัติศาสตรก็บันทกึ ไวคลายๆ กันวา โพลตินุสเคยติดตาม
กองทัพของจักรพรรดกิ อรเดียนเขาไปถงึ เปอรเซีย เมโสโปเตเมีย และเขตแดนทางตะวันตก ของชมพู
ทวปี ซ่งึ ขณะน้นั อิทธิพลความเช่ือในคัมภีรพระเวทของชาวอนิ โดอารยันมีแพรหลายอยูท่วั ไป ทั้ง อมั
โมนิอสุ สคั คัส และ โพลตนิ ุส เคยศึกษาและต้ังสํานักปรัชญาอยูท่เี มอื งอเลกซานเดรีย ดนิ แดนอันเปน
จุดนัดพบแหงศิลปวิทยาการระหวางตะวันตกกบั ตะวันออกในสมัยน้ัน ความเชื่อในเรื่องพระเจาและ
วิญญาณของศาสนาพราหมณท ี่เกิดกอนศาสนาคริสตหลายรอยป นาจะมีอิทธิพลตอความคิดของนัก
ปรัชญาเพลโตใหมอยูไมมากก็นอ ย

๑๕๓

อน่ึง เปนทีน่ าสงั เกตวา พระเจาหรือเอกัตตะ (The One) ในลัทธิเพลโตใหมคลายกบั คาํ วา
อทั ไวดะ (ความเปนหน่ึงไมมีสอง) ในศาสนาพราหมณ และคําวานิรวัจนีย (Ineffable) ก็ตรงกบั การที่
ศาสนาฮินดูบรรยายถึงพรหม วา เนติ เนติ ท่ีทางพุทธศาสนาเรียกวา อจิณไตย หรือ เตา เรียกวา
นิรนาม

แมวาปรัชญาเพลโตใหมมีทัศนคติวาพระเจาคือความจริงสูงสุด แตลัทธิเพลโตใหมที่ไดรับ
ความเช่ือความนับถืออยูในหมูชาวโรมันชั้นสูงในสมัยนั้น ก็ถูกโจมตีอยางรุนแรงจากศาสนาคริสตท่ี
กาํ ลังแผกระจายเขา ไปสูความศรัทธาของประชาชนในระดับชาวบานชาวโรมันในสมยั น้ัน ลัทธิเพลโต
ใหมกับศาสนาคริสตไดตอสูกันทางความคดิ ความเชื่ออยูเปนเวลานาน นักปรัชญาลัทธิเพลโตใหมถูก
ทาํ รายรางกายและถกู รุมประชาทัณฑจากชาวคริสตห ัวรุนแรง งานนิพนธถูกนําเอาไปเผาและหามใช
สอนในมหาวิทยาลัย สํานักปรัชญาถูกสั่งปด และในท่ีสุด ลัทธิเพลโตใหมก็สูญหายไปภายหลังที่
จักรพรรดิ จัสเนียนแหงคอนสแตนติโนเปลออกพระราชกฤษฎีกา หามประชาชนชาวโรมันนับถือ
ศาสนาและลัทธิอื่นนอกจากศาสนาครสิ ตใ นป ค.ศ. ๕๒๙ หรือ พ.ศ. ๑๐๗๒ ปรัชญาตางๆของกรีกท่ีมี
ความคิดความเช่ือแตกตางจากศาสนาคริสตจึงไดปดฉากลง อยางไรก็ตามนักปรัชญาคริสตในสมัย
กลางไดนําเอาหลักปรัชญาเพลโตใหมมาปรับปรุงโดยผสมผสานความเช่ือเรื่องพระเจาใหเกิด ความ
กลมกลืนเขา กับคาํ สอนทางศาสนาของตนในเวลาตอมา

๑๕๔

สรุปทายบท

ปรัชญาตะวันตกเริ่มตนขึ้นดวยความใครรูของมนุษยเก่ียวกับโลกและจักรวาลวาเกิดข้ึนมา
จากอะไร และมใี ครเปนผสู รา ง ธาเลส คือนักปรชั ญาตะวันตกคนแรกที่ใหคําตอบวา สรรพสิ่งทั้งหลาย
ในจักรวาลเกิดมาจากน้ํา ตอมาศิษยของเขาแหงสํานักปรัชญาไมลาตุสไดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงความ
เชือ่ ในเร่อื งน้ีในเวลาตอมาวา โลกและจักรวาลเกิดจากปฐมธาตุ ๔ อยางคอื ดิน นํ้า ลม และ ไฟ แนว
ความ คดิ ของชาวกรกี โบราณเชน อานักซมิ านเดอร ไดมกี ารพัฒนาตอวา ปฐมธาตุเปนสสารไรรูป ไมมี
การเปลี่ยนแปลง มีอยูเปนอนันต (Infinite) เดมอคริตุส เช่ือวาอนุภาคของปฐมธาตุทเี่ ล็กสุดเรียกวา
อะตอมหรือปรมาณู นับไดวา ปรัชญากรีกเร่ิมตนขึ้นจากปรัชญาสสารนิยม (Materialism) ตอมา
พธิ ากอรัสไดเ พิ่มเติมจริยศาสตรวาดวยความหลุดพนทางวิญญาณแทรกเขาไปจากอิทธิพลความเช่ือ
ตามลัทธิออรฟสต เฮราคลิตุสไดเพ่ิมความเช่ือใหกับชนชาติกรีกในสมัยตอมาวา สรรพส่ิงท้ังหลายมี
เอกภาพที่ตั้งอยูบนความขัดแยง มีการเปลี่ยนแปลง ไมมีแกนแทอันคงท่ีถาวร ความเห็นของเฮรา
คลิตุสมีความคลายคลึงกับ ทุกขตา และ อนิจจตา ในกฎไตรลักษณของทางพุทธศาสนา แตจะ
แตกตางกันตรงที่เฮราคลิตุสยังมองไมเห็นในความเปนอนัตตาของสรรพส่ิงท้ังหลายเหมือนกับ
พระพุทธเจา นักปรัชญากรีกในสมัยแรกสวนใหญจึงเปนพหุสสารนิยมที่เช่ือวาปฐมธาตุมีมากมาย
หลายประการ ตอมาในสมัยรุงเรือง ปรัชญากรีกเร่ิมเปล่ียนแนวความคิดจากการใชประสบการณใน
แบบสสารนิยมไปเปนการใชความคิดและใชเหตุผลมากย่ิงขนึ้ โสคราติสเริ่มเตือนชาวเอเธนสใหมอง
เห็นความสําคญั ทางคุณธรรม เพลโตเช่ือวาโลกแหงแบบ หรือโลกแหงมโนคติมีอยูจริงนอกเหนือจาก
โลกแหงประสาทสัมผัสหรือโลกแหงสสาร ความดคี วามงามอันเปนคุณคา ทางจริยธรรม เปนภววิสัย
หรือเปนปรวิสัยท่ีมนุษยควรนํามาเปนแนวทางดําเนินชีวิตดว ยการรูจักใชปญญาใครครวญตัดสินหา
ความจริง อริสโตเตลิ เสริมตอแนวปรัชญาจิตนยิ มของเพลโตผูเ ปนครูออกมาอยางเปนรูปธรรม พรอม
กับไดรวบรวมและนําความรูท่ีสมัยน้ีเรียกวาวิทยาศาสตรธรรมชาติมาใหกับชาวเอเธนสไดใชความคิด
ความเชื่อ ในยุคนี้จึงเต็มไปดวยวิชาท่ีกอใหเกิดปญญา ไมวาจะเปน อภิปรัชญา จริยศาสตร ทฤษฎี
ความรู วิทยาศาสตรธรรมชาติ รัฐศาสตร การเมืองการปกครอง ตลอดจนสุนทรียศาสตร และ
วาทศลิ ป ปรัชญากรีกไดเปล่ียนจากสสารนิยมในยุคแรกใหกลายมาเปนจิตนิยมในยุคท่ีมคี วามรุงเรือง
ทางความคดิ

ตอจากนั้นชนชาติตะวันตกไดสญู เสียความเปนผูนําทางความคิดและการใชปญญา ภายหลัง
จากถกู ปกครองโดยอาณาจักรโรมนั นักปรัชญาตะวันตกอยูอยางสิ้นหวัง แนวคิดทางดานปรัชญาได
เสื่อมถอยลงมีการนําเอาปรัชญาเดิมทเี่ ห็นวาเดน ออกมาปดฝุนรวบรวมเขาเปนปรัชญารวมท่ีเรียกวา
ปรัชญาสังคหนิยม มีการสรางปรัชญาใหมข้ึนอยางขาดความม่ันใจทางปญญา เชนปรัชญาวิมตินิยม
นําเอาความคดิ มโนคติของเพลโตหรอื เรื่องวิญญาณของพิธากอรัสมาปรับปรุงใหมเพ่อื แขงขันกบั ความ
เช่ือทางศาสนาคริสตซึ่งขณะนั้นกาํ ลังไดรับความเลื่อมใสศรัทธาอยูในหมูชาวโรมัน ปรัชญาวิมุตินิยม

๑๕๕

แบบสโตอคิ แสวงหาความสงบ ปรัชญาชินนิคดําเนินชีวิตดวยการหนีโลกหนีสังคม ลัทธิเพลโต ใหมใน
ฐานะท่เี ปนคแู ขงกบั ศาสนาคริสตไ มสามารถนาํ เอาปรัชญาทเี่ ขาใจยากใหเขา ถึงประชาชนทวั่ ไปในท่ีสุด
ชัยชนะก็ตกเปนของศาสนาคริสตใ น พ.ศ. ๑๐๗๒ ปรัชญากรีกจึงไดส้ินสุดลงนับตง้ั แตน้ันเปนตนมา
อยางไรก็ตาม ปรัชญากรีกไดใหความรูและปญญาแกโ ลกในเวลาตอมาจนมีการกลาววา ปรัชญา คือ
ขุมแหง ภูมิปญญา อันเปนฐานความเชอ่ื ของชาวตะวนั ตก

๑๕๖

เอกสารอางองิ ประจําบท

กรี ติ บุญเจือ. ปรัชญาเบ้ืองตน และ ตรรกวทิ ยาเบือ้ งตน . กรงุ เทพฯ : ผดุงวิทยาการพิมพ, ๒๕๑๒.
จํานงค ทองประเสริฐ. ปรัชญาประยุกต ชุดตะวนั ตก. กรุงเทพฯ : ตน ออ แกรมม่ี จาํ กัด, ๒๕๓๙.
ทองหลอ วงษธรรมา, รศ.,ดร. ปรัชญาทว่ั ไป. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๔๙.
พระธรรมปฎ ก (ป.อ.ปยตุ โต). การพัฒนาทย่ี ่งั ยนื . กรุงเทพฯ : มูลนธิ พิ ทุ ธธรรม, ๒๕๓๙.
พนิ ิจ รัตนกุล, ดร. ปรัชญาชวี ิตของโสเครตีส. นนทบุรี : วิทยาลัยศาสนศกึ ษา มหาวิทยาลัยมหิดล,

๒๕๔๗.
วิชติ ดารมย, ดร. นับต้ังแตโ สเครตสี . กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พริ้นต้งิ เฮาส, ๒๕๓๗.
วิทย วิศทเวทย. ปรัชญา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๑๓.
ศรณั ย วงศคาํ จันทร. ปรชั ญาเบอ้ื งตน . กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ, ม.ป.ป..
สดใส โพธิวงศ. ปรชั ญาเบ้อื งตน . ขอนแกน : มหาวิทยาลยั ขอนแกน , ๒๕๓๔.
สุวัฒน จันทรจํานง, นายแพทย. ความเชื่อของมนุษย เกี่ยวกับปรัชญา และศาสนา. (กรุงเทพฯ :

สุขภาพใจ, ๒๕๔๐.
ออนไลนจาก https://www.jw.org/th/ เมอื่ วนั ที่ ๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๙.

บทที่ ๕
อภิปรชั ญา

ความนาํ

จากการศึกษาเรื่องของปรัชญา จะเห็นไดวาปรัชญามีบอเกิดมาจากความสงสัย หรือความ
ประหลาดใจ เริ่มตนต้ังแตสมัยกรีกโบราณ ซ่ึงมีความสงสัยเกี่ยวกับปฐมธาตุของโลก ตางคนตาง
พยายามหาคําตอบเกยี่ วกับคาํ ถามที่วา อะไรเปนปฐมธาตุของโลก หรืออะไรเปนบอเกิดของโลก บาง
คนบอกวา น้ํา เปนปฐมธาตุของโลก บางคนบอกวา ดิน เปนปฐมธาตุของโลก เหลาน้ีเปนตน การ
ยึดถือแนวความคิดอยางนี้ลวนแลวแตเกดิ ข้ึนมาจากความสงสัยเพ่ือตอ งการคนหา หรือสืบคนความ
แทจริงของโลก

สํานกั ปรัชญาตะวันออก เชน นักปรัชญาอนิ เดียโบราณ กม็ ีความสงสัยเก่ียวกบั ปรากฏการณ
ทางธรรมชาติ เชน ดวงอาทติ ย ดวงจนั ทร ฝนตก เปนตน ทานเหลานน้ั คดิ วาเหตทุ ี่เปนเชนน้ัน อาจจะ
เปนเพราะมีเทพเจาสิงอยู อาจจะเปนเพราะมีพระผูเปนเจาผูสราง มีลักษณะการสราง การ
ควบคุมดแู ล และการทําลาย ใชหรือไม จึงพยายามคนหาความเปน จรงิ ของโลก

ตอมานักปรัชญาตะวันตกสมัยใหม ก็มีความสงสัยเก่ียวกับสิ่งใกลตัวนั่นคือสงสัยเกี่ยวกับ
ตัวตน เก่ยี วกบั วิญญาณ เกีย่ วกบั พระเจา แลวพยายามสืบคน หาหลักฐานอา งอิงเพอ่ื หาความจริงของ
สิ่งเหลาน้ี เมอ่ื เปนเชนน้ี ความสงสัยจึงเปนบอเกิดแหงปรัชญา เพราะเปนบอเกิดแหงความคดิ และ
การคิดก็กอ ใหเ กิดการคดิ หาเหตผุ ล การวเิ คราะหว ิจารณตอมา

เราจะสังเกตเห็นวา แนวคิดเร่ืองแรกท่ีนักปรัชญาคนคิดก็คือเรื่องเกี่ยวกับโลก หรือ
ปรากฏการณทางธรรมชาติ เชน อะไรเปนปฐมธาตุของโลก ฝนตก ฟารอง เหลาน้ีเกิดมาจากอะไร
เปนสงิ่ ทม่ี ีอยูอยา งแทจรงิ หรือไม ลกั ษณะการคดิ เชนน้ี เปน การคิดเกยี่ วกบั สาขาของปรัชญาสาขาหน่ึง
ซง่ึ เรยี กวา “อภปิ รชั ญา” (Metaphysics)

อภิปรัชญา จัดเปนปรัชญาบริสุทธิ์ คือเปนเน้ือหาของวิชาปรัชญาแท ๆ เพราะเปน
แนวความคิด หรือเปนทฤษฎีลวน ๆ อภิปรัชญาเปนปรัชญาแบบเกา หรือท่ีเรียกวา “ปรัชญาสมัย
โบราณ”

อภิปรัชญา เปนสาขาของปรัชญาสาขาหนึ่ง เปนสาขาท่ีรวมศาสตรที่วาดวยความมีอยูของ
จักรวาล เปนสาขาที่คน หาเรื่องสภาวะแหงความเปนจริง อะไรเปนสิ่งท่ีเปนจริง และอะไรเปนสิ่งท่ีได
จากส่ิงท่ีเปนจริง โลกคืออะไร จักรวาลมไี ดอ ยางไร วัตถุหรือจิตเปนความจริง มนุษยคืออะไร เหลานี้
ลวนแตเปนปญหาท่ีจะหาคําตอบไดจ ากอภิปรชั ญา

๑๕๘

เมือ่ เปนเชนนี้ อภิปรัชญา จึงเปนสาขาของปรัชญาที่ศึกษาถึงความเช่ือเกี่ยวกบั ความเปนจริง
ซ่ึงพยายามจะหาคําตอบจากสิ่งตาง ๆ มากมาย เชน อะไรคือจิต จิตมีจริงหรือไม อะไรคือพระเจา
พระเจามีจริงหรือไม จิตกับพระเจามีความสัมพันธซ่ึงกันและกนั อยางไรหรือไม อะไรแนท่ีเปนความ
แทจรงิ

๑๕๙

๑. ความสาํ คัญของอภปิ รัชญา (Metaphysics)

อภิปรัชญาเปนศาสตรประเภทหน่ึง และเปนสาขาหน่ึงของวิชาปรัชญา ท้ังเปนเนื้อหาที่
สําคญั ของปรัชญาดวย ในคัมภีรท างพระพทุ ธศาสนา เราไดพ บพระสูตรบางสูตรกลาวถงึ อภปิ รัชญาไว
วา ที่อภิปรัชญาเปนเรื่องไกลตัวของมนุษย และไรสาระ ปญหาทางอภิปรัชญาพระพุทธเจาจึงไมทรง
ตอบ ดงั เชน อันตคาหกิ ทฎิ ฐิ ๑๐ ประการ (หรือเรียกวา อัพยากตปญ หา คือ ปญหาท่ีพระพุทธองคไม
ทรงตอบ) เม่ือพิจารณาพระสูตรดังกลาวน้ีจะเห็นไดวาปญหาทางอภิปรัชญา เปนเรื่องเหลวไหล ไม
นา สนใจ และไมเกี่ยวกับสวัสดิภาพของมนษุ ย แตถ า เราศึกษาอภิปรัชญา ใหเ ขา ใจแลว จะเห็นไดวาการ
มองเรอ่ื งขางตน เปน การมองอยา งผวิ เผิน และมองอยา งมีอคติ

ความจริงแลว แนวคิดทางพระพุทธศาสนาเปนอภปิ รัชญาอยางหน่ึง แตไมเหมอื นกับแนวคดิ
ทางปรัชญาของลัทธิอื่น จากการศึกษาอภิปรัชญาลึกซ้ึง เราสามารถสรุปแนวคิดมนุษยเปน ๓ แนว
ใหญ ๆ คอื ๑

ก. สสั สตทิฎฐิ (Eternalism) ไดแ ก แนวความคิดทวี่ า มีสิ่งท่ีเท่ียงแนนอนและตัง้ อยูอยาง
ถาวรไมเปล่ียนแปลง คําวา “มี” ในความหมายทรรศนะนี้ หมายถึง มีเปนรูปเปนราง รูไดทาง
ประจักษป ระมาณ เปน ความมีอยูใ นทีใ่ ดทหี่ นงึ่

ข. อุจเฉททิฎฐิ (Annihilism) ไดแก แนวความคิดที่เห็นวาไมมสี ิ่งใดที่มีอยูอยางเที่ยงแท
แนนอน การเกิดขนึ้ และตั้งอยู ไมมีสาเหตอุ ะไร การดบั ไปก็ไมมีปจจัย หากแตเปนไปตามธรรมดาของ
มนั ทกุ สิ่งเมื่อแตกสลายแลวกส็ ้ินสุดลงแคน้ัน คาํ วา “ไมมี” ที่ทัศนะน้ีเขาใจ ไมมอี ะไรเลยทีเ่ ปนเหตุ
ปจจยั มแี ตความวางเปลา ดุจแกวไมม นี ํา้ หรอื ถวยไมม ีแกงฉะน้นั

ค. มชั ฌมิ าทิฎฐิ (Middle View) ไดแก แนวความคดิ ที่เปนไปในทางสายกลาง โดยไมเขา
ไปของแวะทางท้ังสองขา งตนน้ัน ทรรศนะน้ียอมรับวาสิ่งท่ีมีอยูตอ งมีเหตปุ จจัยเปนแดนเกดิ และแดน
ดบั สว นปญ หาทวี่ า อะไรคือเหตปุ จจัยน้ัน เปนปญหาท่ีจะตอ งพจิ ารณาในตอนตอไป

เมื่อแนวความคิดมี ๓ แนวเชนน้ี เปนหนาที่ของผูศึกษาจะตองพิจารณาศึกษาแยกแยะวา
แนวความคิดใดมีเหตุผลสมพอเช่ือถือได การศึกษาแยกแยะนั้นจะตองอาศัยเหตุผลเปนเครื่องมือ
กรอบกับการมีใจกวาง ผูที่ศึกษาแนวความคิดอยางมีเหตุผล และมีใจกวางยอมจะไดความรูความ
เขาใจท่ถี กู ตอง ไมต กเปนทาสของตํารา ศึกษาอภิปรัชญา มีจุดมุงหมายทีส่ ําคัญ คือ เพ่ือใหมนุษยเปน
ตวั ของตัวเองมคี วามคิดเหน็ เปนอสิ ระ รจู กั วิพากษวิจารณปญหาปรัชญาตามหลักแหง เหตุผล

๑ สดใส โพธวิ งศ, ปรัชญาเบื้องตน, (ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน , ๒๕๓๔), หนา ๙-๑๐.

๑๖๐

๒. ประวัตแิ ละความหมายของอภิปรชั ญา

คําวา “อภิปรัชญา” (Metaphysics) บัญญัติขน้ึ ใชแทนคําในภาษาอังกฤษวา Metaphysics
เม่ือดูตามรูปศัพทแลว อภิปรัชญานาจะแปลวา “ปรัชญาชั้นสูง หรือปรัชญาที่ประเสริฐ” อยางไรก็
ตาม เมื่อเราบัญญัติคํานี้ขึ้นแทน Metaphysics เราก็ควรจะถือความหมายจากรูปศัพทใน
ภาษาองั กฤษเปนหลัก ไมใชแ ปลตามรูปคําของ “อภิปรัชญา” วาเปนความหมายทถ่ี ูกตอง เปนทัศนะ
ที่แคบแตไ มตรงตามความจริง

Metaphysics เปนคําที่มีรากศพั ทมาจากภาษากรีก วา”meta ta physika” = The work
after the physics คําวา “เมตาฟสิกส” เปนคําทใี่ ชเรียกงานเขียนของ อริสโตเตลิ (Aristotle)
ไดแ ก “ปฐมปรัชญา" ( First Philosophy)

ทม่ี าของเรื่องน้ี พระเจาวรวงศเธอกรมหม่ืนนราธิปพงษป ระพนั ธ ทรงนิพนธไวในหนังสือท่ี
ระลกึ วันราชบัณฑิตยสถาน (๓๑ มีนาคม ๒๔๘๖) ในเร่อื ง “คําอธบิ ายปรชั ญาและอภิปรัชญา” วา

“หลังจาก โสกาตรีส เพลโต และอริสโตเติลใหทําใหวิชา Philosophy เจริญข้ึนเพลโตถ ือวา
วิชาน้ีเปนวิชาเกี่ยวกับหลักความจริงที่ไมเปล่ียนแปลง แตอริสโตเติลมีหัวคิดทางอยางจริงจัง เชน
อันดบั แรกพิจารณาวิชาคณติ ศาสตร อันดบั สองวชิ าฟสกิ ส (หรือ ท่ีเขาเรยี กวา กายภาพของโลก) และ
อนั ดบั ที่สามกม็ าพิจารณาวิชา First Philosophy หรือ First principles คือวิชา “ปฐมปรัชญา”
อนั ดับทสี่ ่ี พจิ ารณาวิชาตรรกศาสตร (Logic) , จิตวิทยา (Psychology), จริยศาสตร (Ethics), และ
สุนทรียศาสตร (Aesthetics)๒

โดยท่วี ชิ าปฐมปรัชญา( First Philosophy) เปนวิชาที่อริสโตเติ้ลพิจารณาหลังวิชากายภาพ
ของโลก หรือวิชาฟสิกส ตอ มาจงึ ไดเรียกวิชาปฐมปรัชญา “อภิปรัชญา” Metaphysics น่ันเอง ซึ่ง
ตามรูปศพั ทแปลวา “ขอความที่อยูหลงั ฟสิกส”

คําวา Metaphysics น้ัน จะแปลตามรูปศพั ทก็คงไมไ ดความที่ชัดเจน เพราะเปนคาํ ที่ผูกขึ้น
เน่ืองจากเหตุบังเอิญท่ีอริสโตเต้ิลจัดวิชาปฐมปรัชญาไวหลังวิชาฟสิกส ดังน้ัน เราจะตองแปลโดย
คาํ นงึ ถึงวชิ าปฐมปรชั ญาเปน หลัก ”

๓. อภปิ รชั ญากับวิทยาศาสตร

อภิปรัชญามีการคาดคะเนความจริงกอนวิทยาศาสตร ชาวกรีกโบราณเห็นวาวิชาปรัชญากับ
วิชาฟสิกส หรือศาสตรทางกายภาพ มีความแตกตางกันเล็กนอย โดยความเปนจริงแลว การศึกษา
สภาวะของโลกกายภาพเคยถือกันวา เปนหนาท่ีของนักปรัชญาที่จะตองคดิ คน ปรัชญารุนแรก ๆ ของ
โลกตะวันตก เชน นักจักรวาลวิทยา (Cosmologists) และนักปรัชญาแหงเกาะไอโอเนีย (Ionain

๒ คูณ โทขันธ, ปรชั ญาเบ้อื งตน, (ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน , ๒๕๒๗), หนา ๙.

๑๖๑

Philosophers) สมยั ศตวรรษท่ี ๖ กอ น ค.ศ. พากันคิดถงึ ปญหาเก่ียวกับจักรวาลวา อะไรเปนปฐม
ธาตุของโลก หรอื โลกเกดิ ขนึ้ มาจากอะไร๓

๓.๑ ธาเลส (Thales B.C. ?- ๕๔๕)
ปรัชญาเมธีคนแรก และถือวาเปนบิดาแหงปรัญญาตะวันตก ธาเลสคดิ วาโลก และเอกภพมี
กฎเกณฑตายตัวกันเอง น่ันคือ เปนจักรวาลที่มีระเบียบ (cosmos) ไมใชเปนกลีภพไรระเบียบ
(chaos) อยางท่ีคนสมัยกอนคิดกนั ธาเลสเสนอความคิดเห็นวา นํ้าเปนปฐมธาตุ (First Element)
ของสรรพส่ิง ทุกสง่ิ ทกุ อยางเกิดขนึ้ จากนํา้ และในทีส่ ุดสงิ่ เหลานั้นก็จะกลับกลายไปเปนนํ้า เพอื่ แปรไป
เปน สง่ิ อืน่ ตอ ไป

๓.๒ อแน็กซิมานเดอร (Anaximander ๖๑๐ - ๕๔๕ B.C.)
ผูเปนศิษยของธาเลส กลับมคี วามเห็นขัดแยงกับธาเลสผูเปนอาจารย คือ อแน็กซิมานเดอร
เห็นวา ปฐมธาตุตขิ องโลกก็คือสารไรรูป (Formless material) ซง่ึ มีปริมาณไมจํากัด มกี ระจายอยู
ทว่ั ไป ส่ิงนี้ไดชื่อวา “อนันตต ภาพ” (Infinity) โดยตวั ของมันเองแลว สารไรรูปนี้ยังไมเปนอะไรเลย
จึงมีศักยภาพท่จี ะแปรเปล่ียนเปนอะไรก็ได เชน อาหารที่เรากินเขาไป จะตองทิง้ รูปอาหารกลายเปน
สารไรรปู เสียกอ น จึงจะรบั รปู ใหมได คอื แปรไปเปนเลอื ดเนื้อของมนษุ ย เปนตน

๓.๓ อแนก็ ซเิ มเนส (Anaximenes ? - ๕๒๙ B.C.)
ตอ มาไมนานก็มีผูคดิ คน เรื่องปฐมธาตุของโลกโดยไมหยุดหยอน อเน็กซิเมเนส เห็นดวยกับ
แนวคดิ ของอเล็กซิมานเดอร ที่วา ปฐมธาตุเปนสารไรรูป แตไมเห็นดวยทีว่ า “สารไรรูปไมเปนอะไร
เลย” เพราะฉน้ันก็เทากับยอมรับวาไมม ีอะไรเลย ถา สารไรรูปนั้นเปนส่ิงท่ีมีอยูจริงมันก็ตองเปนอะไร
สักอยาง เพราะฉะน้ัน อเน็กซเิ มเนสเสนอความคิดเห็นวา สารไรรูปของ อเล็กซิมานเดอรนั้นคงไดแ ก
“อากาศ”(Ether) ซง่ึ เปนของที่มองไมเ ห็น ไมมรี ูปราง (Formless) ซง่ึ เปนอะไรบางอยูแลว อยางนอย
ก็มีเน้ือสารถาจะเปน อะไรกไ็ ด
ดั้งน้ัน อากาศนาจึงจะเปนปฐมธาตุของโลกมากกวาน้ํา เพราะอากาศมีมากกวา แผกระจาย
อยทู ุกหนทกุ แหง โดยขอเท็จจริงแลว วัตถุดิบนาจะดีมากกวาของสําเร็จรูป เพราะฉะน้ันอากาศนาจะ
เปนวัตถุดบิ ของนํา้ มากกวา นาํ้ เอามาใชเทาไหรก ็ไมห มด

๓ จํานง ทองประเสริฐ, ปรัชญาประยกุ ต ชดุ ตะวนั ตก, (กรุงเทพฯ : ตน ออ แกรมม่ี จํากัด, ๒๕๓๙), หนา
๒๙-๓๕.

๑๖๒

๓.๔ เฮอราคลิตุส (Heraclitus ๕๔๐ - ๔๗๐ B.C.)
มคี วามเห็นวา ไฟเปนปฐมธาตุของสรรพสิ่ง เพราะไฟเปนส่ิงที่มีพลังในตัวเอง จะแปรสภาพ
เปนอะไรกไ็ ด ความจริงไฟกแ็ ปรสภาพตัวเองอยตู ลอดเวลา “ทุกส่ิงคือไฟ และไฟคือทุกสิ่ง” ดังน้ัน ทุก
ส่งิ จึงแปรสภาพตัวเองอยูต ลอดเวลา ไฟเปน ส่ิงนริ ันดร ไฟเปนพระเจา ดนิ นํ้า ลม หิน ทเ่ี ราเห็นอยูน้ัน
โดยความเปนจรงิ มันก็แปรสภาพอยูตลอดเวลา แตมนั แปลชาเกนิ กวาท่ีอายตนะของเราจะรูสึกเห็นได
หลักปรชั ญาทร่ี ูจ ักเฮอราคลิตสุ คอื “One cannot step twice into the same river”

๓.๕ พารม ีนเิ ดส ( Parmernides ๕๑๕ - ๔๕๐ B.C.)
เห็นวา ปฐมธาตุของสรรพสิ่งคือ “สัต” (Being) ซึ่งรวมทุกสิ่งทุกอยางไวเปนหนวยเดยี วกัน
อัน สัตเปนภาวะที่คงอยูแนนอน ไมผันแปร หรือกลับกลายเปนอ่นื สัตเปนภาวะที่สมบูรณดํารงอยูได
ดวยตวั ของมันเอง (thing - in- itself )

๓.๖ เอม็ พโี ดเคลส (Empedocles ๕๐๐ - ๔๔๔ B.C.)
ประนปี ระนอมทกุ ฝายดว ยทัศนะที่วา ปฐมธาตุของสรรพส่ิงท่ีมี ๔ อยาง ทเี่ รียกวา “ธาตุ ๔”
(Four Empedocles) ไดแก ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ สิ่งตางๆเกิดขึน้ จากการรวม
ตัวการของธาตุ ทั้ง ๔ อยาง ไดสัดสวน เม่ือธาตุทั้ง ๔ รวมตัวกันถูกสวนท่ีจะเกิดผลลัพธข้ึนมาคือ
“ชีวะ” แตถ ารวมตัวกนั ผิดสัดสวนก็จะเกิดผลเปน “อชีวะ” การเปลี่ยนแปลงเกิดจากการเปลี่ยน
อัตราสวน และการสูญสลายไปเกดิ จากการแยกตวั ของธาตุท้ัง ๔ ลําพังวัตถุธาตุท้ัง ๔ เปนสิ่งคงตัว
แนนอน ไมลด ไมเพ่มิ และไมส ูญหายไปจากโลก

๓.๗ เซโนฟาเนส (Xenophanes ๕๗๐ - ๔๗๐ B.C.)
เสนอความเห็นวาดินเปนปฐมธาตุของสรรพสิ่ง เซโนฟาเนส สังเกตเห็นหินท่ีมีซากสัตวและ
พชื ฝงอยู พบเปลอื กหอยบนพนื้ ดนิ พบโครงรางของปลาและสาหรายทะเลฝงอยูในดนิ จากสิ่งที่เขาได
พบ เซโนฟาเนสจึงสรุปวา โลกเกิดจากทะเล ตอ ไปบางสวนก็จะกลับจมลงไปในทะเลอกี มนุษยก็จะถึง
ความพนิ าศ โลกกจ็ ะตองโผลขนึ้ มาจากทะเลอกี และมนุษยช าติก็จะเกดิ ขึ้นอีกเชน กนั
เซโนฟาเนสจมความเชื่อทางศาสนาของชาวกรีกในสมัยน้ัน เพื่อใหมีการเขาใจเทพในทาง
บรสิ ุทธ์กิ วา เดิม ศาสนาของชาวกรีกขณะน้ันมีความเชื่อในเทพ มีรูปรางอยางมนุษยเขาโจมตีเรื่องน้ีวา
“เปนเรอื่ งนา ขนั ทีจ่ ะบอกวา เทพเรร อนจากทห่ี น่งึ ไปยังอกี ที่หนง่ึ ดงั ท่ไี ดบอกไวในตาํ นานกรีก นาขันท่ี
จะคิดวาเทพมกี ารเกิด และเปน เรอ่ื งนา อบั อายท่เี ทพยงั มีการฉอ โกงประพฤตผิ ดิ ศลี ธรรม”

๑๖๓

๓.๘ อแน็กซาโกรสั (Anaxagoras ๕๐๐ - ๔๒๘ B.C.)
มีความเห็นวา ปฐมธาตุของโลกและสรรพสิ่งมี ๒ อยาง ไดแก จิต(mind) และ สสาร
(matter) สําหรับสสารนั้นมมี ากมายหลายชนิดจนนับไมถว น เขากลาววา “ในทุกสิ่งมีสวนหนึ่งของ
ทุกส่ิง”( In everything there is a portion of everything) เชน ในขาวมีสวนประกอบของสสาร
ทุกชนิด เชนเลือด เน้ือ ดิน กระดูก เปนตน แรธาตุ (หรืออณู) ของขาวมีมากกวาธาตุอยางอื่น ซ่ึง
แสดงออกมาภายนอกเปน ขา ว

๓.๙ เดโมคริตสุ (Democritus ๔๖๐ - ๓๗๐ B.C.)
ผูใหกําเนดิ ลทั ธอิ ะตอม (Atomism) เดโมคริตสุ เห็นวา ปฐมธาตุของสรรพส่ิง คืออะตอมหรือ
ปรมาณู อันเปนองคประกอบสูงสุดของสสาร ถาเราเปนสสารออกไปเรื่อย ๆ ในที่สุดก็จะถึงหนวย
ยอยที่สุด ซ่ึงไมส ามารถแบงแยกตอไปไดอีกแลว หนวยยอยทเี่ ราแบงตอไปอีกไมไดนั่นแหละ เรียกวา
”อะตอม หรอื ปรมาณ”ู (Atom)
อะตอมมจี ํานวนเปนอนันตและเล็กทสี่ ุดจนไมสามารถจะรับรูดวยประสาทสัมผัสธรรมดาได
อะตอมทง้ั หลายประกอบดวยสสารชนิดเดียวกนั และเปนสิ่งที่ไรคณุ สมบัติ ความแตกตางของอะตอม
จึงไมใ ชท างคุณสมบตั ิ แตเปน ทางปรมิ าณ คือ ตางกนั ทขี่ นาดและรูปราง การรวมตัวกนั ของอะตอมทาํ
ใหเกิดโลกซึ่งมีอยูมากนับไมถวน โลกที่มนุษยอาศัยอยูเปนเพียงโลก ๆ หนึ่ง เมื่อถึงจุด ๆ หนึ่ง
อะตอมก็จะแยกจากกนั เมอื่ นนั้ แหละภาวะของโลกก็ถงึ ความสลาย
ปญหาวา อะไรเปนปฐมธาตุของโลก เปนอันยังไมยุติ นักปรัชญายังคิดคนเรื่อยมาจนตราบ
เทาทุกวันน้ี การคาดคะเนความจริง (speculation) กอนวิทยาศาสตรเก่ียวกับธาตุประกอบของโลก
หรือส่งิ ตางๆ ในโลกนถี้ อื กันวาเปน หนา ทีข่ องอภิปรชั ญาในสมยั นน้ั

๔. ปญหาสําคัญของอภิปรัชญา

๔.๑ สภาพที่ปรากฏกบั สภาพท่เี ปน จรงิ
ถานิสิตยืนอยูในทุงหญา หรือทุงนาที่กวางสุดลูกหูลูกตา นิสิตจะมองเห็นวาโลกท่ีเราอยูน้ัน
เปนแผนดินซึ่งแบน แตดวยปญญา และเหตุผลเราทุกคนก็รูวาโลกไมไดแบนอยางท่ีเราเห็นแตโลก
กลมเหมือนผลสม ดว ยสายตาเรามองเห็นวาดวงอาทิตยมีขนาดไมตรงเกินไปกวาลูกฟุตบอลแตดวย
สติปญ ญาเรากร็ วู า ในความเปน จรงิ ดวงอาทิตยม ขี นาดใหญกวา โลกท่เี ราอยูมากมายหลายเทา
สภาพที่ปรากฏ (appearance) คือ สภาพท่ีเรารบั รดู ว ยประสาทสัมผัส เปนสภาพทป่ี รากฏ
ตอตา หู ลิ้น และกายของเรา เชน โลกท่ีเราเห็นวาแบน ดวงอาทิตยท่ีเราเห็นมีขนาดเล็ก ความ
ไพเราะของดนตรีท่เี ราไดยนิ ความหอมของดอกไมท่ีปรากฏตอจมูกของเรา ความหวานของน้ําตาลท่ี
ปรากฎตอลิน้ ของเรา และความออ นนุม อบอนุ ของรา งกายลูกนอ ยหรอื คนรกั ทเี่ ราไดสัมผัส

๑๖๔

สภาพที่เปน จริง (reality) คอื ความเปนจริงเบื้องหลังสภาพทปี่ รากฏเปนสภาพท่ีส่ิงตางๆ
เปน อยูจรงิ ๆในตัวของมนั เอง ไมไ ดถ ูกบดิ เบือนหรอื แปรเปล่ยี นไปตามการรับรูของใคร เชน ความกลม
อันเปน ลักษณะทเี่ ปนจริงของโลก ขนาดท่แี ทจริงของดวงอาทิตย เสียงสูงตํา่ ของดนตรี (ความไพเราะ
ของดนตรี ไมใ ชล ักษณะท่ีแทจ ริงของดนตรี แตเปนสภาพทป่ี รากฏตอหูของอีกคนหน่งึ ไมไพเราะกไ็ ด)

๔.๒ สภาพทป่ี รากฏไมจาํ เปนตองตรงกบั สภาพที่เปน จริง
ส่ิงที่เรารูเห็นดวยประสาทสัมผัสนั้น ไมตรงกับความเปนจริงก็ได เพราะในการรับรูดวย
ประสาทสัมผัส ลักษณะท่ีแทจริงของสิ่งตางๆ จะถูกบิดเบือนแปรเปลี่ยนไปตามสภาพแวดลอมใน
ขณะที่รบั รู เชน ระยะใกลไกลระหวางส่ิงท่ีถกู รับรู การทเ่ี ราเห็น โลกเปนแผนดินทแี่ บนก็เพราะขนาด
ของโลกใหญมากเมอ่ื เทยี บกับตวั เรา และเราอยใู กลโลกมากเกินไปจนมองไมเ ห็นลักษณะท่ีแทจ ริงของ
โลก ถา เราถอยหางออกจากโลกพอสมควร เชน มนุษยอวกาศที่ออกไปโคจรอยูนอกโลกก็จะมองเห็น
รปู รา งท่ีแทจรงิ ของโลกวามลี ักษณะกลม การที่เรามองเหน็ ดวงอาทติ ย มีขนาดเล็กกวาท่ีเปนจริงมากก็
เพราะดวงอาทติ ยอ ยไู กลจากเรามากถึง ๙๓ ลา นไมล
แสงและเสียงที่เรารับรูก็ตองเดินทางผานตัวกลาง เสียงท่ีเราไดยินเกิดจากคล่ืนของความ
สั่นสะเทือน ใชอากาศเปนตัวกลางในการสั่นสะเทือนมากระทบประสาทหูของเรา ดังนั้น ถาเราออก
อยูในอวกาศและมีลูกอุกกาบาตวิ่งมาชนกันระเบิดขึ้น เราก็จะเห็นแตเพียงภาพ ไมไดยินเสียง
เหมือนกับดูหนังใบ เพราะในอวกาศไมมีอากาศเปนตัวกลางใหความส่ันสะเทอื นเดินทางมากระทบหู
เราได นักศกึ ษาท่ีเคยเรยี นเรือ่ งการหกั เหของแสงเมือ่ เดินทางผานตวั กลางทีม่ ีความหนาแนนไมเทากนั
คงจะจําไดถึงปรากฏการณที่ทอนไมตรงๆ ดูเหมือนวาการหักงอเม่ือแชอยูในน้ําครึ่งทอนถา จําไมไดก็
ขอใหลองเอาตะเกียบมาใสลงในแกวน้ําท่ีมีนํ้าอยูครึ่งแกว จะเห็นวาตะเกียบที่อยูตรงน้ันดูเหมือนหัก
งอตรงรอยตอระหวางอากาศกับนํ้าเพราะแสงจะหักเหเมื่อเดินทางผานอากาศสูตัวกลางที่มีความ
หนาแนนมากกวาคือนํ้า การหักเหของแสงทําใหเราเห็นวาตะเกียบนั้นหักงอท้ังๆท่ีความจริงตะเกยี บ
นัน้ ตรง

๔.๓ มนษุ ยใ ชส ติปญ ญาแยกความเปน จรงิ ออกจากสภาพที่ปรากฏ
ปรากฏการณต างๆ อา ยนองนี้มอี ยูมากมาย จึงทําใหมนุษยรูวาประสาทสัมผัสนั้นหลอกลวง
เราได เราจึงไมเชอื่ วาสง่ิ ท่เี รารูเห็นดวยประสาทสัมผัสตองเปนจริงอยางนั้นเสมอไปมนุษยเราพยายาม
ใชสติปญญาเพื่อแยกความเปนจริงออกจากสภาพท่ีปรากฏ มนุษยเช่ือวาดวยการใชสติปญญาและ
เหตผุ ลอยา งถูกตอ ง เราจะสามารถแสวงหาความรูที่แทจ ริงได ถาเราใชสตปิ ญญาคิดหาเหตผุ ลในสิ่งที่
เราพบเหน็

๑๖๕

เรามองเห็นวารางรถไฟทั้งสองขางสบเขาหากัน และบรรจบกันเมื่อเรามองไปจนสุดสายตา
แตเ มอ่ื คิดตามหลกั เหตผุ ลวา ถาเปน เชน นน้ั จริง รถไฟก็คงวงิ่ ไปไมไดตลอด และตองตกรางในท่ีสดุ เรา
กไ็ มเ ชอื่ ในสง่ิ ท่ีเราเห็น เราเช่ือตามที่เหตุผลบอกวารางรถไฟท้ังสองขา ง ตอ งขนานกันไปตลอดท้ัง ๆ ที่
ความเช่ือนนั้ ขัดกบั ส่ิงทีเ่ ราเหน็

ตุมใสน ํา้ ท่ไี มป ด ฝาเอาไว เราอาจจะเห็นวามีลูกน้ําเกิดขน้ึ ไดเองทั้ง ๆ ที่ถาใสนํ้าลงไปทแี รกยัง
ไมมลี ูกน้ําหรือส่ิงมีชีวิตอน่ื อยูในนั้น เราอาจเห็นวาสัตวที่ตายแลวเม่ือเนาก็มหี นอนขึ้นไดเองทงั้ ๆเมื่อ
ตายใหม ๆ ก็ยงั ไมม หี นอน คนท่ีเคยรูมาวาสิ่งมีชีวิตจะเกิดขึน้ เอง จากสิ่งที่ไมมชี ีวิตไมไ ด สิ่งมีชีวิตตอง
เกิดจากสิ่งท่ีมชี ีวิตดวยกันเทานั้น กย็ อมไมเชื่อในส่ิงท่ีตนเห็นคอื ลูกน้ําและหนอนเกดิ ขึ้นไดเองโดยไม
ตองมีแมหรือผูใหกําเนิด คนท่ีอยากเขาใจและมีความรูเก่ียวกับลูกนํ้าเกิดจากยุงลายและหนอนเกิด
จากแมลงวนั ท่แี อบมาทิ้งไขไวใ นขณะทเ่ี ราไมเ ห็น

ในสมัยทมี่ นุษยย ังไมร จู กั เชอ้ื โรค จากประสบการณทําใหค นบางคนเชื่อวา โรคภัยไขเจ็บตา งๆ
เปนส่ิงท่ีเกิดขึ้นไดเองโดยไมมีสาเหตุที่แนนอน แตคนที่มีสติปญญาในสมัยน้ัน บางคนเช่ือวาทุกส่ิงที่
เกิดขึน้ ตองมสี าเหตุที่แนนอนของมันเอง เขาจึงไดพยายามสังเกตและทดลองจนในทสี่ ุดก็คน พบความ
จรงิ วา ส่งิ มชี ีวิตท่ีมีขนาดเลก็ มากจนมองดว ยตาเปลาไมเหน็ เปนเหตุทําใหเกดิ โรคตาง ๆ ข้ึน

๔.๔ วญิ ญาณมีอยูจริงหรือไม
นักวิทยาศาสตรคนหน่ึงอธิบายวา สิ่งตางๆที่เราเห็น เชน ภูเขา ตนไม บาน โตะ เกาอ้ี สุนัข
แมว คน ฯลฯ ความจริงเปนเพียงอะตอม (atoms) ท่ีรวมตัวกันในรูปแบบตางๆ แลวปรากฏตอ
ประสาทสัมผัสของเราเปนสิ่งตางท่ีเห็นดังกลาว ตามคําอธิบายน้ีนักวิทยาศาสตรผูนี้เชื่อวา สภาพท่ี
เปนจริงของทุกสิ่งในจักรวาลท้งั ที่มีชีวิตและไมมีชีวิตเปนอะตอมทุกสิ่งมีกําเนิดมาจากส่ิงเดียวกัน คือ
อะตอม ซ่ึงเปนสสารเปนวัตถุที่ไรชีวิตจิตใจ แตมีนักวิทยาศาสตรอ่ืนๆ และคนอีกจํานวนมากดวย
ทัศนะดังกลาวของนักวิทยาศาสตรคนแรก พวกหลังเช่ือวา ถึงแมวาคนจะมีรางกายซึ่งเปนอะตอม
เหมือนกบั กอ นหนิ โตะ เกาอี้ แตคุณก็ยงั มีอะไรบางอยางไมใชว ัตถหุ รือสสาร อะไรบางอยางที่วาน้ี คอื
จิต หรือวญิ ญาณและจิตหรอื วญิ ญาณนี้เองทท่ี ําใหค นตา งจากกอ นหิน ตน ไม และสิง่ อนื่ ๆ ทไ่ี รช ีวติ
มนุษยมักเห็นสภาพท่ีปรากฏเหมือน ๆ กนั แตอาจมีความสภาพที่ปรากฏน้ีตางกันออกไป น่ี
เปนเหตุหน่ึงที่ทาํ ใหคนเรามีทัศนะหรือความเห็นขัดแยงกันในเร่ืองตา ง ๆ ตามสภาพท่ีปรากฏเราทุก
คนเห็นวา มนุษยมีท้ังรางกายและจิตใจ ( body and mind) เรามีแขนมีขา ซ่งึ ถา หากตกจากท่ีสูง
แขนขาเรากจ็ ะหักมีเลือดไหลและรสู กึ เจบ็ ปวด การท่ีแขนขาหักและเลือดไหล เปนสภาพทีป่ รากฏของ
รางกาย ความรูสึกเจ็บปวด ดีใจ เสียใจ รัก เกลียด เปนสภาพท่ีปรากฏของจติ ใจตามสภาพท่ีปรากฏ
มนษุ ยมีทงั้ กายและจิต แตใ นความเปนจริงมนุษยมีท้งั กายและจิตหรือไม ปญหาที่วาความจริงมนุษยมี
รางกายหรือไม ปญหานี้คนสวนใหญเห็นพองตองกันวา มนุษยมรี างกายจริง แตพอมาถงึ ปญหาวาใน

๑๖๖

สภาพทเ่ี ปนจรงิ มนษุ ยมีจิตหรอื วญิ ญาณเหมือนกับสภาพท่ปี รากฏหรือไม ปญหานี้คนเรามี ความเห็น
ตางกันเปน ๒ พวก คือ พวกจิตนิยม (Idealism) ที่เช่ือวา มนุษย มีวิญญาณ และพวกวัตถุนิยม
(Materialism) ทเ่ี ช่อื วา มนุษยไมมีวญิ ญาณ มนษุ ยมีแตร างกายซ่ึงเปน วตั ถ๔ุ

๔.๔.๑ จิตนยิ ม (Idealism)
ชาวจิตนิยมโดยทั่วไปเช่ือวา มนุษยมอี งคป ระกอบ ๒ อยาง คือ จิต กับกาย ถึงแมวาจิตนิยม
จะถือวา มนุษยมีท้งั จิตและกาย แตจิตนิยมก็ถึงวาวิญญาณสําคัญกวารางกาย เพราะจิตเปนตวั ตนท่ี
แทจ รงิ ของคนเรา รางกายไมใชต ัวตนทแ่ี ทจริง การที่จิตนิยมถือวาจิตเทา น้ันที่เปนตวั ตนที่แทจ ริงของ
มนษุ ยก ด็ ว ยเหตุผล ๒ ประการ คือ๕
ประการแรก จิต คือ หรือวิญญาณเปนอมตะ ไมมีการผุพงั เส่ือมสลายไปเหมือนกบั รางกาย
คนท่เี ชอ่ื เรือ่ งกรรมและการเกดิ ใหมเ ชอ่ื วา เม่อื เกดิ การปฏิสนธิขนึ้ ในครรภของสตรผี ูเปนมารดานั้น ได
มีวิญญาณของผูที่มาเกิดใหมเขามาอยูในรางกายของทารกในครรภ เมื่อครบกําหนดคลอดออกมา
ทารกนั้นก็เจริญเติบโตข้ึนเปนผูใหญ ระหวางท่ีมีชีวิตอยูนั้นเขาก็ไดทําทั้งกรรมดีและกรรมช่ัวถาถึง
เวลาตายรางกายของเขาก็จะเปนซากศพท่ีผุพังเนาเปอยเสื่อมสลายไป เหลือไวแตวิญญาณซ่ึงเปน
อมตะตองไปชดใชกรรมดี หรือกรรมช่ัวของตนในสวรรคหรือนรก เมือ่ ชดใชกรรมจนครบกําหนดแลว
วิญญาณก็มาเกิดเปนมนุษย ถาทํากรรมดีและกรรมชั่วตอไปอีก วนเวียนอยูอยางนี้ไมมีท่สี ้ินสุด ไมว า
คนจะเกดิ และตายกค่ี รง้ั จติ หรอื วิญญาณของคนก็ไมเสอื่ มสลายไป ยงั เปนจติ ดวงเดยี วกันอยู อยูคนแต
ละคนจงึ มรี างกายไดห ลายรา งแตกตางกนั ออกไปในแตล ะชาติ แตเขากย็ งั เปนดวงเดมิ อยูนั่นเอง ดงั น้ัน
ตวั ตนท่ีแทจริงของคนจึงตองเปนจิต ไมใชรางกายที่เส่ือมสลายแปรเปลี่ยนไปในแตละชาติทเี่ กิดเปน
มนษุ ย
เหตุผลประการท่ีสอง ท่ีทําใหจิตนิยมเช่ือวาจิตเปนตัวตนท่ีแทจ ริงของมนุษยคือรางกายของ
เรา ไมไดร ิเรมิ่ ทําอะไรเอง จิตของเราเปนผบู ังคับใชร างกายใหป ฏิบตั ิตามความตอ งการของเรา เมือ่ เรา
อยากรสู อบไลไดปริญญา เราคือจิต ก็บังคับตวั เราคือรางกายไมใหเดนิ ออกไปหาแฟนหรือเดนิ ไปนอน
แตเราบังคับใหร างกายของเราเดนิ ไปหยิบหนังสือมาอาน และทําแบบฝกหัด การท่เี ราอยากมีความรู
สอบไดป ริญญานนั้ จิตนิยมหรือวา ตวั ท่ีอยากคือจิตของเราไมใชรางกายเพราะหลังจากท่เี ราใชรางกาย
ใหทาํ งานมาทั้งวันจนเหน็ดเหน่ือยแลว ในตอนคํา่ รางกายกค็ งอยากพกั ผอนมากกวาท่ีจะเรียนหนังสอื
แตจิตของเรากพ็ ยายามบังคับรางกายใหเอาชนะความเม่ือยลา อยากนอนไปศกึ ษาหาความรจู นได

๔ ฌอง-ฟรองซัว เรอเวล และ มัตติเยอ ริการฺ, ภิกษุกับนักปรัชญา บทสนทนาพุทธศาสนา-ปรัชญา
ตะวนั ตก, แปลโดย งามพรรณ เวชชาชวี ะ, พมิ พครั้งที่ ๓, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพอ อรคดิ , ๒๕๔๕), หนา ๑๘๑.

๕ วิโรจ นาคชาตรี, รศ., และคณะ, ปรัชญาเบื้องตน, (กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรชั ญา คณะมนุษยศาสตร
มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๒๒), หนา ๒๗.

๑๖๗

๔.๔.๒ วตั ถนุ ิยม (Materialism)
ชาววัตถุนยิ มเชอ่ื วา ในสภาพท่ีเปนจรงิ แลว มนุษยไมมจี ติ หรือวิญญาณเหมือนสภาพทป่ี รากฏ
ท่ีดูเหมือนวานาจะมี ชาววัตถุนิยมจึงไมเชื่อเรื่องกรรมและการเกิดใหม เพราะถือวาคนมีแตเพียง
รางกายอยางเดยี ว เมื่อตายกไ็ มมีอะไรเหลืออยู นอกจากรางกายท่ตี องเนาเปอยผุพังหมดไป ไมมีส่งิ ท่ี
เรยี กกันวาวิญญาณออกจากรางไปชดใชก รรมหรือไปเกิดใหม
ตามสภาพท่ปี รากฏมนุษยดเู หมือนมจี ิต หรือวิญญาณเพราะวาสามารถทําอะไรไดหลายอยาง
ที่กอนหินและตนไมทําไมได แตถาใครคิดวามนุษยมีจริงๆ และก็ชาววัตถุนิยมบอกวาเขาเขาใจผิด
เพราะในความเปนจริงส่ิงท่ีควบคมุ รางกายใหเลือกทํา หรือไมทําอะไรไดจนดูเหมือนมีจิตควบคุมนั้น
คือสมองตางหาก สมองของเด็กคนไหนไมเจริญเติบโตจนเปนปกติ เดก็ คนนั้นก็จะเปนคนปญญาออน
ไมสามารถทําอะไรไดเหมือนคนที่มีสมองปกติ คนที่ถูกทํารายหรือไดรับอุบัติเหตุสมองไดรับความ
กระทบกระเทือนจนเสยี หายไปบางสว น กอ็ าจกลายเปน จติ ผิดปกติ เชน ความจําเสื่อมจําคนที่เคยรูจัก
ไมไ ด สตเิ ล่ือนลอย หรอื ไมก ็อาจกลายเปน อมั พาต เพราะสมองไมสามารถบังคบั รางกายบางสวนได
สมองของมนษุ ยท าํ งานไดด ีมปี ระสิทธิภาพสงู เสยี จนกระทงั่ คนเขา ใจผิดคิดวามีจิตคอยส่ังการ
แกรางกาย สมองเปรียบเหมือนเคร่ืองคอมพิวเตอร เพียงแตสมองทําดวยเลือดเน้ือ และมี
ประสิทธิภาพสูงกวาเคร่ืองคอมพิวเตอรท่ีมนุษยสรางขึ้น มนุษยเปนผลงานสรางสรรคอันมหัศจรรย
ของธรรมชาติ ผานกระบวนการท่ีพัฒนาการอันยาวนานมาจากส่ิงมีชีวิตช้ันต่ํามีโครงสรางรางกาย
งายๆ ไมสลับซับซอนจนมาเปนสัตวช้ันสูงมีโครงสรางของรางกายและสมองสลับซบั ซอน จนกระทํา
การตางๆ ไดด ุจมจี ติ คอยบงั คบั บญั ชาอยู
ถานิสิตเคยอานขา วเกี่ยวกับหุนยนตคอมพวิ เตอร ที่ทําหนาที่เปนคนรับใชภายในบานมาแลว
นิสิตก็คงจะเขาใจความคิดของชาววัตถุนิยมในเรื่องจิตไดดีขึ้น หุนยนตคอมพิวเตอรไดรับการ
ออกแบบสรา งใหมปี ระสทิ ธิภาพสูงจนทํางานตางๆไดเกือบเหมือนคนจริง ๆ เชน ทําความสะอาดบาน
ได สง เสียงรอ งเอ็ดองึ ขนึ้ เม่ือมีขโมยเขา มาในบานได เปดประตูและกลาวตอ นรับแขกท่ีมาเยือนได การ
ที่หนุ ยนตสามารถแยกพฤตกิ รรมของคนทมี่ าเยอื นไดว า เปนแขกหรือขโมยทาํ ใหดูเหมอื นวาหนุ ยนตจ ิต
ทค่ี อยวนิ จิ ฉัยตัดสินได แตเราก็รวู ามนั ไมมจี ิตจริง ๆ การทม่ี ันทาํ อยางนั้นไดกเ็ พราะคอมพิวเตอร หรือ
สมองกลในตัวมันไดรับการออกแบบกําหนดมาวา ถาผูมาเยือนมีพฤติกรรมอยางนี้ ใหกลาวตอนรับ
อยางนี้ ถาผูมาเยือนมีพฤติกรรมอยางน้ันใหสงเสียงรองเอ็ดอึงข้ึนวาขโมย ๆ มนุษยเราก็เหมือนกับ
หุนยนตคอมพิวเตอรนั่นเอง ที่มนุษยกระทําการตาง ๆ ไดมากกวาคอมพิวเตอรก็เพราะสมองของ
มนุษยมปี ระสิทธิภาพสูงกวาสมองกลของหุนยนตน่ันเองหาใชเปนเพราะมนุษยมีจิตหรือวิญญาณแต
อยางใดไม นค่ี อื คําอธิบายในเร่อื งจิตของลทั ธวิ ัตถุนยิ ม

๑๖๘

๔.๕ นอกจากสสารแลวยังมีสง่ิ อนื่ อกี หรือไม
“นอกจากสสารแลว ยังมีสิ่งอื่นอกี หรอื ไม” นิสิตบางคนอาจไมเขาใจคาํ ถามน้ีที่ถามวา “ยังมีส่ิง
อ่ืนอีกหรือไม” ส่ิงอืน่ นนั้ คอื อะไร สิ่งอ่ืนนั่นคือ ส่ิงที่ไมใชวตั ถสุ สารทเี่ รียกกันวา อสสาร ดังนั้น คําถาม
ขา งตน จงึ อาจถามใหมไ ดว า “สิ่งทเี่ ปน อสสารมอี ยูจ รงิ หรือไม”
นิสิตบางคนก็อาจจะยังไมเขาใจอยูดีวา อสสาร หมายถึง อะไร ผูสอนคิดวาวิธีที่นักศึกษา
เขา ใจ อสสาร หมายถึงอะไร นักศึกษาจะตองเขาใจเสียกอนวา เม่ือคนเราใชคําวา “สสาร” น้ัน เขา
หมายถึงสิ่งท่มี ีลกั ษณะหรือคณุ สมบัติเชน ไร เมอ่ื เขา ใจคาํ วา สสารหมายถงึ อะไรแลว นักศึกษายอไดเ อง
วา เมอ่ื ใครคนหน่งึ อา งวา อสสารเปนสิ่งที่มอี ยูจริง เขาหมายความวานอกจากสสารแลว ยังมีส่ิงอื่นอกี
ท่ไี มมลี กั ษณะหรือคณุ สมบตั ิของสสาร พดู ใหช ดั กวา น้กี ค็ อื ส่ิงที่ไมใชส สารมอี ยูจริง
๔.๕.๑ สสารคืออะไร
เม่อื นสิ ติ เรยี นวิชาวทิ ยาศาสตรใ นสมัยทเี่ ปน เดก็ นกั เรยี นนน้ั วิทยาศาสตรบอกวา สสารคอื ส่ิง
ท่ีมีนํ้าหนัก ตองการที่อาศัย และสามารถรับรูไดดวยประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่ง เชน การ
มองเห็นได ทาํ เสียงดังได มีกล่ิน มรี ส หรือจับตองได ตวั อยางเชน กอ นหิน เปนสสารเพราะมีน้ําหนัก
ตอ งการทีอ่ ยูคอื กนิ ที่ (ถาเราเอากอนหินใสลงไปในแกวนะน้ําที่มนี ํ้าเต็มเปยม นํ้าจะลนออกมาเพราะ
กอ นหินเขาไปกนิ ท่ีจนน้ําบางสวนไมม ีที่อยู ตอ งลนออกมา) และจะตอ งได วิชาวิทยาศาสตรพยายาม
บอกนักศึกษาวา อากาศท่ีเรามองไมเห็นน้ีก็เปนสสาร เพราะเปนส่ิงท่ีกินที่และมีน้ําหนัก เพราะมี
อากาศครองท่ีภายในแกวอยู ลูกโปง ๒ ใบ ที่มีน้ําหนักเทากัน ถานําใบหน่ึงมาเผาอากาศใสจนเต็ม
แลวนาํ ไปชัง่ บนตาช่งั ๒ แขน แขนขา งทมี่ ีลูกโปง อัดอากาศไวจะยังลง เพราะวาลูกโปงมีอากาศอัดอยู
หนกั กวาลกู โปงท่ีไมมีอัดอากาศ แสดงวาอากาศมีน้ําหนักและอากาศนั้นแมเราจะมองไมเห็น แตเราก็
จบั ตอ งสัมผสั ได เมอื่ ลมพดั มาถกู ตวั เรา เรากร็ สู ึกถงึ การท่อี ากาศมาสมั ผสั ตัวเรา
อันที่จริงแลวทกุ ๆ ส่ิงมีนํ้าหนักและสมั ผัสไดยอ มเปนส่ิงท่กี นิ ที่เสมอ ไมมสี งิ่ ใดทม่ี ีนํ้าหนักและ
สัมผสั ไดไมก นิ ท่ี ดังนน้ั ลกั ษณะของสถานทีก่ ลา วมาทงั้ ๓ ประการดงั กลาว จึงสรปุ ลงไดเด๋ียววา สสาร
เปน สง่ิ ที่กนิ ที่
ลักษณะอกี ประการหน่งึ ของสสาร คอื เปนส่ิงท่ีกินเวลาหรือดํารงอยูในเวลาเพราะทกุ สิ่งท่ีกนิ
ทต่ี องเปนส่งิ ที่ดาํ รงอยูใ นเวลาดว ย กลาวคอื ถาเราบอกวาสสารอยางหนึ่งมีอยูเราตองบอกไดวาสสาร
ส่ิงนั้นมีอยทู ี่ไหน มอี ยูเม่อื ไหร ถาเราไมส ามารถบอกไดวา สสารสิ่งน้ันอยูทไี่ หน เม่ือไหร กห็ มายความ
วา สสารสิ่งนั้นไมไดมีอยูจริงๆ เชน ถา มีใครคนหนึ่งมาบอกกบั นักศึกษาวา เขามไี กตัวหน่ึงออกไขเปน
ทองคํา นักศกึ ษาคงตอ งรีบถามเขา ไกตัวนั้นอยูทีไ่ หนชวยพาไปดหู นอย เพราะไกตวั น้ันไมไดอยูทไี่ หน
เลย แตมนั กม็ ีอยูจริงๆ คาํ ตอบของเขายอมไรสาระ เพราะขดั แยงกันเอง ถา ไกตวั น้ันมอี ยูจริง มันตอง
อยทู ี่ไหนสกั แหง หน่ึง จะมอี ยโู ดยไมอ ยูทไี่ หนเลยยอมเปน ไปไมได

๑๖๙

แตถา เขาอธิบายตอไปวา ตอนนี้มนั ไมไดอ ยูที่ไหนเลย เพราะมันตายไปแลวเม่อื กอนมนั เคยอยู
ทบ่ี านเขา แตเม่อื ปทีแ่ ลวทองมีราคาแพงมาก เขาจึงบังคับเคีย่ วเขญ็ ใหไ กต ัวน้ันออกไขม ากเกินกาํ ลัง
จนมันทนไมไหวตายไป คราวน้คี ําตอบของเขาไมไรสาระ เพราะอาจเปนไปไดท่เี ม่อื ปท่ีแลว ไกตวั น้ันมี
อยูแลวตอนนี้ไมมีอยู แตค ําตอบนี้จะจริงหรือไมเปนอกี เร่ืองหนึ่ง แตสมมติวาแทนทเ่ี ขาจะอธิบายกับ
นักศกึ ษาอยา งนี้ เขากลับบอกวา ถึงแมว าไกตวั นี้ไมไดอยูที่ไหนเลยแตกม็ ีอยูจริงและมีอยูตลอดไปดวย
นกั ศึกษากค็ งจะรูวา ไกต วั นี้ไมไ ดมีอยูจ รงิ แน มนั คงเปนเพยี งความคิดฝนของชายคนน้ันเพราะส่ิงที่เปน
สสารยอ มไมส ามารถมีอยตู ลอดไปเปน อมตะ หรือเปนนริ ันดรได

การกลาววา สสารส่ิงหน่ึงมีอยูยอมหมายความวา มนั มีอยูในชวงใดชวงหนึ่งของเวลาเทาน้ัน
ถาไกตัวนั้นมีอยูจริง มันก็จะตองมีอยูเฉพาะชวงหนึ่งของเวลา คือ ต้ังแตมันเกิดจนมันตายเทาน้ัน
กอ นท่ีมนั จะเกดิ และหลังจากทม่ี นั ตายมันยอ มไมม ีอยู แมแ ตสถานท่ีไมม ชี ีวิตกเ็ ชนเดยี วกนั โตะตวั หน่ึง
มอี ยูก็เฉพาะในชวงเวลาที่มันถูกสรางข้ึนจนถึงเวลาที่มันพังไปเทาน้ันกอนหนาท่ีจะถูกสรางข้ึน และ
หลังจากที่ผานไปแลว โตะตัวน้ียอมไมมีอยู สุริยะจักรวาลของเรานี้ก็ยอมมีชวงอายุของมันเอง สมัย
หนึ่งกอนจะเกิดมีสุริยะจักรวาลก็ยอมไมมสี ุริยะจักรวาลอยูอยู ตอไปในเวลาขา งหนาไมว าจะนานแค
ไหนก็ตาม ก็ตอ งมวี นั หนึ่งทีจ่ กั รวาลนจี้ ะแตกดับไป

ถามีส่ิงหนึ่งซึ่งเปนอมตะ คือไมมีการเกิดขึ้น ไมมีการแตกดับไป แตมีอยูอยางเปนนิรันดร
ตลอดไป เชนพระผูเปนเจาในศาสนาคริสต อิสลาม และฮินดู พระองคยอมไมม ีดาํ รงอยูในระบบของ
เวลา เม่ือพระองคมีอยูตลอดมาและตลอดไป ไมเคยมีสมัยใดเลยท่ีพระองคไมมีอยู การถามวาองคมี
อยูเ มอื่ ไหร จงึ เปน คําถามทีไ่ รความหมาย เพราะการถามวาสงิ่ หนึ่งมีอยูในเวลาใดนน้ั จะมีความหมายก็
ตอ เมื่อส่ิงน้ันในบางเวลามีอยู ในบางเวลาไมมอี ยู ท่ีเราถามวาส่ิงนั้นมอี ยูเม่ือไหร เราตองการรูเวลาท่ี
สิง่ น้นั มีอยู แตถาสิ่งนน้ั มีอยูทกุ เวลา การถามหาเวลาท่ีส่ิงน้ันมอี ยูก็ไรความหมาย ถาเราถามวาสมเดจ็
พระนเรศวรมหาราชทรงมพี ระชนมชีพอยูในสมยั ใด อาณาจักรอยุธยามีอยูเม่ือไหร เรากําลังตองการรู
วา สองสิ่งนี้ดํารงอยูในชวงเวลาใดของประวัตศิ าสตร คาํ ถามหรือความอยากรูของเราไมไรความหมาย
เพราะมบี างเวลาที่สองสิ่งไมมีอยูคือ เวลากอ นที่พระนเรศวรจะประสูติ และเวลาหลังจากที่พระองค
สิ้นพระชนม เวลากอนกอต้ังอาณาจักรอยุธยาและเวลาหลังจากอาณาจักรอยุธยาลมลงแลว แตถา
ชาวคริสตผ หู นึ่งถามพระบาทหลวงวา พระผูเปนเจาทรงมีชีวิตอยูเม่ือไหร ก็แสดงวาเขายังไมท ราบวา
พระผูเปนเจาเปนส่ิงอมตะมีอยูอยางนิรันดร ถาเขาทราบแตยังคงถามอยู คําถามของเขายอมไร
ความหมาย เพราะเขาจะไดรับคําตอบเขาทราบอยูแลว คอื พระองคมอี ยตู ลอดเวลา

การท่ียกตวั อยางท่ีไปมามากมายน้ีสิ่งที่ผูสอนพยายามจะอธิบายใหนิสิตทราบก็คือ สิ่งท่ีเปน
อมตะ ยอ มไมดํารงอยใู นระบบของเวลาคือ การพูดเรื่องเวลาสิ่งทเี่ ปนอมตะน้ันไรความหมาย ไมทําให

๑๗๐

รูอะไรมากข้นึ ดังนน้ั สสารแตล ะสิ่งซ่ึงไมใชส ง่ิ ที่เปน อมตะ แตเปนส่ิงท่ีมเี กดิ มดี ับ จึงตองเปนสิ่งท่ีดาํ รง
อยูใ นระบบของเวลา๖

๔.๕.๒ อสสารคอื อะไร
ตัวอยางของอสสารทเ่ี ราคุน เคยกนั ดี คือ จิตหรือวิญญาณ และพระผูเปนเจาในศาสนาคริสต
อสิ ลาม และฮินดู คนทีเ่ ชื่อวา วิญญาณหรือผีมีอยูจริง เขายอมถอื วาวิญญาณน้ันอยูนอกเหนือกฎของ
สสาร เพราะมันไมใชสสาร วิญญาณเปนสิ่งไมกินที่ ดังน้ัน จึงสามารถผานทะลุกําแพงมาไดโดยไมติด
หรือชน สมมตุ ิวา นกั ศึกษาเชื่อวา ผีมีจริง และมีผตี วั หนึ่งกําลงั ตามหลอกนักศึกษาอยู ถา นักศึกษาจะว่ิง
หนีผผี เี ขา ไปอยูใ นหอ ง และปด ประตูอยา งแนนหนา การทําอยางน้กี ็คงไมสามารถปองกันผีไมใหเขา มา
ในหองได เพราะผีไมใชสสารเหมือนรางกายคน มันจึงไมติดประตู แตผานทะลุเขามาได สมมุติวา
นักศึกษาสูกับผีตัวนั้นจนสามารถจับมันโยนออกไปนอกหนาตางได มันก็คงไมตกลงไปตายขางลาง
เพราะมนั ไมมีนํ้าหนัก ความจริงแลว นักศึกษาไมส ามารถจับผีโยนออกไปไดหรอก เพราะมันไมมตี ัวตน
ถา พดู ตามศัพททางวิทยาศาสตรก ค็ อื ผไี มมีมวล (mass) จึงไมมีตัวตนตอ งและไมมีน้ําหนัก ดังนั้น คน
ท่ีกลัววา ผีจะมาบบี คองนั้ กค็ วรจะเลิกกวาไดเพราะผีไมม มี วล จึงไมม อี ะไรมาบีบคอเราได ถา มีผีจริงสิ่ง
ทมี่ ันจะทําไดค ือหลอกตาเราเห็นมนั เปนรูปรางตา งๆใหเราตกใจกลัวเทานั้น ถา เราไมกลัวมันทําอะไร
เราไมไ ด ผอี าจทาํ รายจติ ใจเราไดแตไ มสามารถทาํ รา ยรางกายเราได
๔.๕.๓ วิทยาศาสตรตอบไมไดวาอสสารมอี ยูจรงิ หรอื ไม
หาท่ีคนเราถกเถียงกันมามาหลายรอยหลายพันปแลวก็คือ อสสารเปนส่ิงที่มีจริง หรือไม
แมกระท่ังในปจจุบันมีคนเราก็ยังคงถกเถยี งมีกันอยู โดยไมสามารถพิสูจนตัดสินลงไปอยางแนนอนได
วา อสสารมีอยูจรงิ หรอื ไม ทําไมจึงเปน เชน น้ี ทาํ ไมวชิ าวิทยาศาสตรเจริญมากในปจจุบันจึงไมสามารถ
ใหคําตอบในเร่ืองน้ีแตเราได เหตผุ ลกค็ ือปญหาน้ีอยูนอกขอบขายท่ีวิทยาศาสตรจะศึกษาได นิสิตได
เรียนวิธีการทางวิทยาศาสตรมาแลว คงทราบวา นักวิทยาศาสตร เม่ือศึกษาส่ิงใดนั้นนอกจากจะใช
เหตุผลคิดหาสมมตฐิ านตงั้ เปนทฤษฎีแลว การพิสูจนยืนยันในช้ันสุดทายวา สมมติฐานหรือทฤษฎนี ั้น
เปนจริงหรือไมดวยการทดลองที่ใดที่หนึ่งในเวลาใดเวลาหนึ่ง ดังน้ัน การพิสูจนดวยการทดลองวา
อสสารมอี ยจู รงิ หรอื ไม จึงทําไมไ ด เพราะอสสารไมอ ยูในระบบของอวกาศและเวลา
ชายคนหนง่ึ เช่ือวา อสสารเปนส่งิ ทีม่ อี ยจู ริง คืนหนง่ึ ในขณะท่ีเขานั่งอานหนังสืออยูในหองคน
เดียว มีอะไรอยางหนึ่งเขามาในหอง เขาจําไดวาน่ันเปนเพ่ือนท่ีไดตายไปแลว เขาบอกกับตัวเองวา
วิญญาณของเพือ่ นคงมาหาดวยความคิดถงึ เขาจึงไมกลัว เขาพดู คุยกบั เพอ่ื นอยูครูหน่ึงเพือ่ นกจ็ ากไป
วันรุงขึ้นไอคนน้ันก็ไปเลาใหเพ่ือนอีกคนหนึ่งฟง เพื่อนคนน้ันไมเช่ือบอกวาชายคนนั้นเรื่องเก่ียวกับ

๖ บญุ มี แทน แกว, สถาพร มาลีเวชรพงศ, ประพัฒน โพธ์ิกลางดอน, ปรัชญาเบอ้ื งตน (ปรชั ญา ๑๐๑),
(กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พิมพโ อเดียนสโตร, ๒๕๒๙), หนา ๙๘.

๑๗๑

วิญญาณมากไป จึงเกิดประสาทหลอนขน้ึ คิดไปเองวาที่ตายไปแลวมาหาชายคนน้ันยืนยันวาเขาไดพบ
วิญญาณของเพ่ือนจริง ๆ ไมไดคิดไปเอง เพ่ือนจึงบอกวาไมเชื่อหรอกวาวิญญาณมีจริง ถาจะใหเช่ือ
ตองจับวิญญาณน้ันไวใหดู ชายคนนั้นจึงบอกวาเพื่อนยังไมเขาใจวาวิญญาณนั้นเปนอสสาร จึงไม
สามารถจับวิญญาณขังไวในหองเหมือนขังคนได เพ่ือนจึงบอกวาถาอยางน้ันก็ไมเชื่อหรอกเพราะไม
สามารถพิสูจนทดลองได เวลาท่ีนักวิทยาศาสตรบอกวาเชื้อโรคมีจริง นักวิทยาศาสตรยังสามารถจับ
เช้ือโรคมาแสดงใหค นทวั่ ไปดูไดเ ลย

ความแตกตา งระหวา งเช้ือโรคกับวญิ ญาณคือ เชอื้ โรคเปนสสาร สามารถพิสูจนทดลองความมี
อยูของมันไดดวยกฎเกณฑของสาร แตวิญญาณเปนอสสาร ถาสมมุติวามันมีอยูจริง เรากไ็ มสามารถ
พิสูจนการมีอยูของมันไดดวยวิธีการที่พิสูจนการมีอยูของสสารเชน จับมันเอาไวเอามาช่ังดูวาหนัก
เทาไหร ถูกความรอนแลวขยายตวั มากนอยแคไหน มคี วามหนาแนนเทาไรมคี วามถวงจําเพาะเทา ไหร
ฯลฯ

สิ่งทพ่ี ดู ไมไ ดก าํ ลงั พยายามอธิบายใหนิสติ เชื่อวา วิญญาณมีอยูจริง แตพยายามอธิบายใหนิสิต
เขาใจวา ถาสมมุตวิ าวิญญาณมีอยูจริงแลว เน่ืองจากธรรมชาติของมันตา งจากสสารการพยายามรูจัก
มัน หรือพิสูจนการมีของมันดวยวิธีการที่ใชกับสสารยอมเปนไปไมได น่ีเองเปนเหตุผลที่วาทําไม
วิทยาศาสตรจึงตอบปญหาวา อสสารมอี ยูจริงหรือไม ไมไดเ พราะวิธีการทางวิทยาศาสตรใชศึกษาได
เฉพาะกับส่ิงทีเ่ ปน สสาร ซง่ึ อยใู นระบบของอวกาศและเวลาเทา น้นั

การพิสูจนทดลองในวิชาวิทยาศาสตรอาจเปนการใชประสาทสัมผัส เพอื่ รับรูส่ิงที่ถกู ทดลอง
อยางละเอียดแมนยําและเปนระบบ เครื่องมือในทางวิทยาศาสตรตาง ๆ สรางข้ึนเพ่ือชวยให
นักวทิ ยาศาสตรรับรูขอ มลู ไดล ะเอียดถูกตองมากยิ่งขึ้น แตการรับรูขอ มูลเหลานี้ยังคงตองใชประสาท
สัมผัสอยูดี เชน ตองใชของนั้นรอนแคไหน แตเขาก็ตองใชตาอานอุณหภูมิของของน้ันบน
เทอรโมมิเตอร และสิ่งท่ีจะถูกรับรูไดดวยประสาทสัมผัสก็คือ คือสสารที่อยูในระบบของอวกาศและ
เวลา ไมส ามารถรับรไู ดโดยประสาทสัมผัส การทดลองวทิ ยาศาสตรจึงใชกบั ส่งิ ที่เปน อสสารไมได

ในเมื่อเคร่ืองมืออยางหนึ่งในการแสวงหาความรูของมนุษยคือ การใชประสาทสัมผัส ไม
สามารถตดั สนิ ไดวาอสสารมอี ยูจริงหรือไม กต็ องหันไปหาเคร่ืองมอื ช้ินสุดทายแสวงหาความรูคือ การ
คิดเอาดวยเหตุผล การแสวงหาความรดู วยการคดิ เอาดวยเหตผุ ลไมสามารถใหขอ ยุติเปนท่ีนาพอใจแก
ทุกคนไดเหมือนกันหมด เหมือนกบั การใชประสาทสัมผัสเพราะตางคนก็มีเหตุผลของตนเองท่ีตางกัน
ออกไป ถา เราเถยี งกันวา นายสมชายหนักกกี่ ิโลกรมั เรากเ็ อานายสมชายใหนั่งบนเคร่ืองชั่ง เมือ่ ทุกคน
เห็นนํ้าหนักของสมชายบนเคร่ืองชั่ง ทกุ คนก็ยอมรับไมถกเถยี งกันอีกตอไป แตถาถาเถียงกันวา นาย
สมชายมวี ิญญาณหรอื ไม ในเมอ่ื การชา งและวัดดวยวิธีการวิทยาศาสตรไมสามารถตัดสินไดวา สมชาย
มวี ญิ ญาณหรือไมเหมือนกบั การตัดสินไดวาเขาน้ําหนักเทาไหร หรือมีเช้ือโรคทองรวงอยูในตัวหรือไม
เรากต็ องใชเ หตผุ ลคิดตัดสินเอา นกั ศกึ ษาก็ไดเห็นตวั อยางการใชเหตผุ ลโตแยงกันระหวางพวกจิตนิยม

๑๗๒

นิยม ในเรื่องที่วา มนุษยมีวิญญาณหรือไมมาแลว วาฝายหนึ่งผิด อีกฝายหน่ึงถูก แมนักศึกษากลุม
หน่ึงอาจเห็นวา เหตุผลของจิตนิยมตองนาเช่ือถือมากกวาของวัตถุนิยม แตก็อาจมีนักศึกษาอีกกลุม
หน่ึงมีความเห็นวาวัตถนุ ิยมมีเหตุผลนาเช่ือถือกวาจิตนิยม ญาติทที่ ุกคนในโลกจะเห็นตรงกันหมดวา
ฝายหนึ่งผิดอกี ฝา ยหน่ึงถกู แตส มมตวิ าในสมยั หน่งึ คนเชอ่ื ตรงกันหมดวา วญิ ญาณมีจรงิ เมือ่ เวลาผาน
ไปนานๆ กอ็ าจมีคนบางกลมุ ไมเ ชอ่ื วญิ ญาณมอี ยจู รงิ เกดิ ถกเถียงกนั ดวยเหตผุ ลข้นึ มาอีกก็ได

ปญ หาใดท่สี ามารถพิสูจนล องดว ยประสาทสัมผัสได วิชาวทิ ยาศาสตรกร็ ับหนาที่ศึกษาคําตอบ
ไป แตปญ หาใดทพี่ ิสจู นทดลองดวยประสาทสัมผสั ไมไดก็เปนหนาที่ของวิชาปรัชญาทตี่ องใชเหตุผลคดิ
หาคําตอบตอ ไป แมวาจะไมมีคําตอบใดแมเพยี งแตคําตอบหน่ึง ในวิชายาเปนที่ยอมรับของทุกคนใน
ทุกสมัยก็ตาม แตการพยายามใชวิธีการของปรัชญาเพ่ือคิดหาคําตอบท่ีไดมีการวิพากษวิจารณ
ตรวจสอบดวยเหตุผลก็ยังคงมีอยูตราบเทาท่ีมนุษยยังคงไมยอมจํากัดความ อยากรูอยากเห็นของ
ตนเองไวภายในขอบเขตของสิ่งท่ีรับรูไดดวยประสาทสัมผัสเทา นั้น น่ีเองเหตุผลทวี่ า ทาํ ไมทง้ั ๆ ที่วิชา
วิทยาศาสตรเพลินข้ึนมากจนสามารถใหคาํ ตอบในหลายๆเรื่องได แนนอนกวาวิชาปรัชญา แตคนกย็ ัง
ไมเลกิ ศึกษาวิชาปรัชญา

คนเปน จาํ นวนมากยงั คงสนใจทอี่ ยากรวู าในจักรวาลของเราน้ีนอกจากจะมีสสารทรี่ ับรูไดดวย
ประสาทสมั ผัสแลว จริงๆไมอยใู นระบบของอวกาศและเวลา ไมสามารถรับรูไดดวยประสาทสัมผัส จะ
มีอยูจ ริงๆหรอื ไม ปญหาน้ีถา พูดแบบชาวบานกค็ ือ ปญหาท่ีวา คนเรามีวิญญาณหรือไม พระเจามีจริง
หรือไม นรกสวรรคม ีอยูจริงหรือเปลา ความดคี วามช่ัวเปนส่ิงท่ีมีอยูจริงๆหรือเปนคาํ ทม่ี นุษยกําหนด
ขึน้ เอง กฎแหง กรรมมีจริงหรอื ไม ส่ิงเหลา น้สี มมุติวา มีอยูจ ริงเรากไ็ มสามารถมองเห็นมันได ไมสามารถ
จับตองมันไดเพราะมันไมใชสสาร เม่ือเราไมสามารถรูจักมันไดดวยประสาทสัมผัส คนที่เชื่อวาส่ิง
เหลานม้ี ีอยูจริง ก็บอกวาเราตองรูจักมันดว ยปญญา คอื คดิ เอาดว ยเหตผุ ลจนยอมรับวามันมีอยู สวน
คนท่ีไมเช่ือวาส่ิงเหลานี้มีอยู ก็ตองโตแยงวา คิดดวยเหตุผลแลวมันตองไมมีอยู ไมใชมาโตแยงวา
มองเห็นไมไ ด จับตองไมได ฉะน้ันไมมีอยูเพราะถาโตแยงแบบน้ีก็แสดงวายังไมเขาใจวา กาํ ลังโตแยง
เรือ่ งอะไรอยกู ันอยู

ปญหาท่ีกลาวขางตน คนจํานวนหน่ึงอาจจะไมสนใจที่จะซักไซหาคําตอบโดยตัดบทเสียวา
วิทยาศาสตรพิสูจนไมไดก็ยอมไมมอี ยูจริง การตัดบทเชนน้ีก็เทากับยอมรับโดยปริยายวา อะไรที่เรา
รับรูไมไดดวยประสาทสัมผัสยอมไมมีอยูจริง สวนคนอีกจํานวนหนึ่งสนใจปญหาเหลานี้ แตไมได
พยายามใชเหตุผลคิดหาคําตอบ แตใชศรัทธาที่มีตอศาสนาท่ีตนนับถือเปนวิธีหาคําตอบ กลาวคือ
เชื่อตามคําสอนของคัมภีรหรือคําสอนของศาสดาของตน น่ีเปนวิธีหาคําตอบดวยวิธีการของศาสนา
คือ ใชศรัทธาเหตุผล สวนคนที่สนใจปญหาเหลานี้อีกจํานวนหนึ่ง ไมยอมใชศรัทธาอยูเหนือเหตุผล
พยายามใชเหตุผลถกเถียงวิพากษวิจารณหาคําตอบท่ีนาจะเปนไปไดมากท่ีสุดในทัศนะของตน พวก
สุดทายน้ีใชว ธิ กี ารของปรัชญา

๑๗๓

สาขาของวิชาปรัชญาที่สนใจปญหาท่ีวา อสสารมีอยูจริงหรือไมโดยเฉพาะคือ อภิปรัชญา
(Metaphysics) อภิปรัชญาศึกษาปญหาที่วา ความเปนจริงคืออะไร (What is reality ? ) ความเปน
สสารหรืออสสารอยางใดอยางหน่ึง หรือวาความเปนจริงมีทั้งที่เปนสสารและอสสาร คําตอบที่ได
อภิปรัชญาแบง ออกไดเ ปนพวกใหญๆ คือ พวกจติ นยิ ม ทีถ่ อื วา อสสารมอี ยูจรงิ และพวกวัตถุนิยมถือวา
ความเปน จรงิ มีแตเพยี งสสารเทานน้ั นอกจากสสารแลว ไมมีอะไรทเ่ี ปนจริง อสสารเปนสิ่งท่ีไมมีอยู แต
บางคนเขาใจผดิ คดิ ฝนไปเองวา มี

จิตนิยมมที ศั นะวา มีอะไรบางอยา งท่ไี มไ ดเ ปน วัตถสุ สาร แตก เ็ ปนสิ่งที่มอี ยูจริงๆ เชน พระเจา
ความดี ความงาม จิตนิยมถือวาความดีและความงามเปนคา (Value) ทม่ี ีอยูจริงๆ อายอยางเปนวัตถุ
วิสัย จิตนิยมเมื่อใครคนหนึ่งบอกวากระทําอยางน้ีดี มิไดหมายความแตเพียงวาเขารูสึกเห็นดวยทํา
อยางนี้เทานั้น มีแตหมายความวาเขาเห็นคาของความดีวามีในการกระทํานั้นจริงๆ อายเมื่อใครคน
หน่ึงเห็นวาภาพนี้งาม มิไดหมายความแตเพียงเขารูสึกชอบภาพนี้เทานั้น แตห มายความวาเขาเห็น
ความงามทมี่ ีอยูในภาพน้ันจริงๆ ๆความดีและความงามจึงไมไดเปนอัตวิสัยท่ีข้ึนอยูความรูสึกชอบไม
ชอบของแตละคน แตมีอยูจริงๆในตัวของมันเองอยางเปนวัตถุวิสัย เนื่องจากความดีและความงาม
ไมไดเปนสสาร ดังน้ันผูท่ียอมรับวาความดีและความงามมีอยูจริงอยางวัตถุวิสัย จึงเทากบั ยอมรับวาอ
สสารมอี ยูจ รงิ ดังนัน้ จึงเปนผูมที ัศนะแบบจติ นิยม๗

วตั ถุนยิ มมีทัศนะวา จิต พระเจา ความดี และความงาม เปนส่ิงท่ีมนุษยคิดข้นึ เอง ส่ิงเหลาน้มี ี
อยูในความคิดของมนุษยเทาน้ัน ไมไ ดมอี ยจู ริงๆ เหมอื นโตะ เกาอท้ี ่เี ปน สสารวตั ถุนิยม คือวาความดไี ม
มอี ยจู ริง สง่ิ ทีม่ ีอยจู ริงคอื การกระทําทาํ ตามที่คนเราชอบและไมช อบการกระทาํ ท่ีคนชอบเขาก็เรียกวา
มันดี ถาไมชอบเขาก็บอกวามันไมดี ความดี - ความชั่ว จึงเปนความรูสึกของแตล ะบุคคล ความงามก็
เชนกัน ภาพน้ีเราชอบเราก็บอกวางาม เพ่ือนเราไมชอบภาพน้ี เขาก็บอกวามันไมงาม ความงามจึง
ไมไ ดมีอยูในภาพจริงๆ เปน แตเพียงความรูสกึ ของคนท่ีมีตอ ภาพเทา นนั้

นิสิตอยาลืมวา ความดีกบั การกระทําที่ดี เปนคนละสิ่งกัน ทําเปนสสารเพราะการกระทําแต
ละคร้ังตองกระทําทใ่ี ดท่ีหน่ึง ในเวลาใดเวลาหน่ึง การกระทําจึงอยูในระบบของอวกาศและเวลา แต
ความดเี ปนอเพราะสามารถปรากฏอยูในการกระทําที่ดที ี่เกิดขน้ึ ในท่ตี าง ไดพรอมกันในเวลาเดยี วกัน
ความดีจึงไมอยูในระบบของอวกาศและเวลา ความงามส่ิงที่สวยงามกเ็ ชนกัน ส่ิงทส่ี วยงามเปนสสาร
ความงามเปน อสสาร เพราะสามารถไปปรากฏอยูใ นสิ่งท่ีสวยงามในทต่ี า งๆในเวลาเดียวกนั ได

สําหรับจิตนิยมเม่ือเห็นภาพท่สี วยงาม เขาเห็นความเปนจริง ๒ อยาง คือตัวแผนภาพน้ันซึ่ง
เปนสสาร กบั ความงามในภาพซึง่ เปนอสสาร ทง้ั ๒สง่ิ น้มี อี ยจู รงิ ๆ เหมือนกันความงามมีอยูจริงๆ อาย

๗ กรี ติ บุญเจือ, ปรัชญาเบ้อื งตนและตรรกวทิ ยาเบอื้ งตน , (กรุงเทพฯ : ผดงุ วทิ ยาการพมิ พ, ๒๕๑๒), หนา
๕๒.

๑๗๔

เหมือนกบั ที่แผนภาพมีอยู เพียงแตความงามเปนอสสาร เราจึงจับตอ งมันไมไดเหมือนกบั การจับตอง
แผนภาพ เราก็รับรูความงามไดดว ยจิตของเรา ที่เปนอสสารเหมอื นกันเมื่อในตาของเราซ่ึงเปนสสาร
มองเห็นแผนภาพท่เี ปนสสาร จิตปญญาของเราก็เปนอสสาร ก็มองเห็นความงามที่เปนอสสารเชนกัน
แตสําหรับพวกวัตถุนิยมเม่ือเขาเห็นภาพทส่ี วยงาม เขาบอกวา สิ่งท่ีมอี ยูจริงๆ คอื ตัวแผนภาพเทา น้ัน
สวนความงามน้ันไมมีอยูจริงในภาพ งามเปนแตเพยี งความรูสึกชอบทีเ่ ขามีตอภาพน้ีเทานั้น ถา ทกุ คน
ตายหมดไมมีใครมาดูภาพน้ีแลวเกิดความรูสึกชอบ ความงามก็จะไมมีอยู เพราะความงามเปน
ความรูสึกท่ีอยูในใจคน เม่ือคนไมมีอยู ความงามก็ไมมีอยู แตพวกจิตนิยมบอกวาแมคนจะตายหมด
โลก จนไมเหลอื ใครมาดูภาพนี้ ความงามก็ยังมอี ยู เพราะความงามมอี ยูในภาพ ไมไดอ ยูในใจคน

๔.๖ ปญหาเร่อื งพระเจา

เปน ปญ หาสาํ คัญปญหาหนึ่งในวงการปรชั ญา นักปรัชญาและนกั การศาสนาไดพ ยายามหา
เหตผุ ลมาพสิ จู น นักการศาสนาฝายเทวนิยมพยายามพิสจู นวา พระเจา มี ขณะทฝ่ี า ยอเทวนยิ มก็
พยายามพิสูจนว า พระเจา ไมมี (ฝายเทวนิยมคือฝายท่เี ชอ่ื วามพี ระเจา สว นฝา ยอเทวนยิ มคอื ฝายทไ่ี ม
เช่ือวามพี ระเจา หรือเช่อื วา พระเจา ไมมี ซง่ึ จะไดกลาวทั้งสองฝา ยดังตอ ไปนี้)๘

๔.๖.๑ ฝา ยเทวนยิ ม
คือฝายท่ีเชื่อวาพระเจามีจริง โดยบอกวาพระเจามีคุณลักษณะดังนี้ เชน เปนอสสาร
(noncorporeal) คอื เปนจิตบริสุทธ์ิ ไมมีตัวตนทจี่ ะเห็นได หรือสัมผัสไดอยางสสาร ทรงสรรพเดชะ
(omnipotent) คอื มอี ํานาจเตม็ บริบูรณ ซง่ึ สามารถทําทุกอยางไดโดยไมมีอะไรตดิ ขดั เชน สรางโลก
มนุษย สัตว พชื ทรงสรรพญาณะ (noniscient) คือ ทรงมีความรูเต็มบริบูรณ ทรงรอบรูทุกส่ิงทุก
อยางในจักรวาล ทรงมีอยูทุกแหงและทุกขณะ (omnipresent) คอื ไมถกู จํากัดดวยอวกาศและเวลา
ทรงเปนองคแ หงความดสี ูงสดุ (all - good) ทรงรกั และเมตตาตอ มนุษยทกุ คน แมกระท่ังคนชั่วหรือ
คนบาป
จากคุณลักษณะดังกลาวน้ีแลว ฝายเทวนิยมยังพยายามท่ีจะพิสูจนวาพระเจามีอยูจริง ขอ
พิสจู นหรอื เหตุผลทน่ี าสนใจเชน
๑) ขอ พสิ ูจนจากการเปนสาเหตุ ( The Casual Argument) คือ อา งเหตผุ ลวาส่ิงตางๆ ใน
ธรรมชาติเกิดข้ึนเองลอยๆ ไมได ตองมีสาเหตุหรือตัวการใหมันมีอยูกลาวคือ ทุกส่ิงทุกอยางตองมี
สาเหตุ ส่ิงตางๆ ในจักรวาลมีอยูจริง สาเหตุของอยูมันก็ตองมีอยูจริงเชนกัน สาเหตุน้ันจะตองไมใช
มนุษย หากย่ิงใหญกวา มนษุ ยซ ่งึ จะขอเรียกส่งิ นั้นวา พระเจาดังนนั้ พระเจา มอี ยูจรงิ

๘ อมร โสภณวเิ ชษฐวงศ, ผูช วยศาสตราจารย, ปรัชญาเบื้องตน , (กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง,
๒๕๒๔), หนา ๒๓๔.

๑๗๕

๒) ขอพิสูจนจากความเปนระเบียบของธรรมชาติ (Argument From Design) คือ อาง
เหตผุ ลวา ความเปนไปของสิง่ ตางๆ ในธรรมชาติดาํ เนินไปอยางมรี ะเบยี บมีกฎเกณฑ และเปนเชนนี้มา
นับรอยๆ ลานปแลว สิ่งเหลาน้ีไมนาจะเปนไปโดยบังเอิญ ผูกําหนดระเบียบหรือกฎเกณฑหรือ
ออกแบบสรางไวอยา งดี และมีเปาหมาย และผนู ัน้ ขอเรียกวา พระเจา ดังน้นั พระเจา ตองมีจรงิ

๓) ขอ พสิ ูจนทางจริยธรรม (The Moral Argument) คือ อางเหตผุ ลวา ความเปนไปใน
โลก หรือในความเปน จริงทีเ่ ราพบเหน็ นนั้ บางคร้งั คนทาํ ช่ัวไดดมี ีสุข คนทาํ ดีกับไดทกุ ข แลวคนเหลานี้
กต็ ายจากโลกไปทั้งๆ ทย่ี งั ไมไดรบั ความยุติธรรม ความยุตธิ รรมจริงและชีวิตในโลกนี้เพียงชีวิตเดียวยัง
ไมไดรับความยุติธรรม ตองรอไปรับในชีวิตหนา และผูประกันความยุติธรรมใหแกมนุษยตองยิ่งใหญ
กวา และมีอํานาจเหนือกวามนุษย ผูนั้นคือพระเจา ดังน้ัน พระเจาตองมี มนุษยจึงจะไดรับความ
ยุตธิ รรม โดยพระองคจ ะใหความยตุ ิธรรมอยางสมบูรณแ กมนุษยทุกคนในชวี ติ หรอื ในปรโลก

๔) ขอ พิสูจนทางภววิทยา (The Ontological Argument เซนตอ ันเซลม (Saint Anselm
๑๐๓๓ - ๑๑๐๙ ) เปนคนแรกท่ีเสนอพิสูจนแบบน้ีขนึ้ ในสมยั กลาง เปนการพสิ ูจนวาพระเจามีอยูโดย
อาศยั ความเขาใจของมนุษยเก่ียวกับพระเจาหรือพิสูจนจากการนิยามคาํ วา “พระเจา” โดยเสนอวา
พระเจาเปนสัตท่ีสมบูรณ (Perfect Being) คอื เปน ๔ ไมมีอะไรทยี่ ิ่งใหญกวาที่เราสามารถเขาใจได
เมอื่ เราเขาใจคํานิยามนี้ เราก็พอเขาใจพระเจา ถา เราเขาใจวาพระเจาเปนส่ิงที่มอี ยูในความคดิ เทา นั้น
เราก็สามารถเขาใจวา พระเจาเปนส่ิงท่ีมีอยูในความคิด และมีอยูในความเปนจริงดวย ซึ่งย่ิงใหญกวาท่ี
มีอยูในความคิดเพียงอยางเดียว ดังน้ัน ตามนิยามท่ีวาพระเจาเปนส่ิงซ่ึงไมมีอะไรย่ิงใหญกวาที่เรา
สามารถเขาใจไดน้นั พระเจาตองมอี ยูในความเปน จรงิ ดว ย

๔.๖.๒ ฝา ยอเทวนิยม
คือ ฝายที่ไมเช่ือในความมีอยูของพระเจา ขณะท่ีฝายเทวนิยมพยายามหาเหตุผลมาพิสูจน
ความมีอยูของพระเจา ฝา ยอเทวนิยมกพ็ ยายามหาเหตุผลมาลบลา งขอ พสิ ูจนเ หลานัน้ เชน
๑) การอางวาทุกสิ่งตองมีสาเหตุ และสาเหตุนั้นคือ พระเจาเปนการอางท่ีมีขอบกพรอง
เพราะถาอางวาทุกสิ่งมีสาเหตุ และขออางน้ีเปนจริง พระเจาก็ตองมีสาเหตุการมีอยูของพระองค
เชนกัน และอะไรเปนสาเหตุใหพระเจามีอยู ถาตอบวาพระเจาไมตองมีสาเหตุใหพระองคมีอยู
พระองคท รงเปน เอง กจ็ ะขดั กบั การอา งเดิมท่ีวา ทกุ สงิ่ ตองมีสาเหตุ จึงเปนเหตผุ ลที่ขัดแยง ในตัวเอง
ถาแกว า ทุกส่ิงตอ งมีสาเหตุ ยกเวนพระเจา พระองคทรงเปนเอง หรือเปนสาเหตุของตวั เอง
ถา อยา งนนั้ สง่ิ อื่นในจักรวาลก็นาจะเปน เองหรอื มมี าเองไดเ ชนกัน
๒) การอา งวาความเปนไปของส่ิงตา งๆ ในจกั รวาลเปน ไปอยางมีระเบียบ แสดงถงึ มีผวู างแผน
สรางไวอยางดี ผูนั้นคือพระเจา การอา งเชนน้ีบกพรอง สมมุติวาเราเดนิ ทางเขา ไปในปาลึกที่ไมมีบาน
หรือผคู น ครั้นแลวไปพบบา นหลังหนงึ่ เรากต็ องแนใจวาตองมีคนมาสรางมันไวการอางเชนน้ีเปนไปได
เพราะเราเคยมปี ระสบการณค ือเคยเห็นคนสรางบานหลังอื่นๆ มาแลว แตในกรณีของจักรวาล เรายัง

๑๗๖

ไมเ คยเห็นการสรางดวงดาวอื่นๆมากอน ถา เราเคยเห็นพระเจาสรางดวงจนั ทร สรางดาวองั คาร เราก็
สรุปไดว าโลกกต็ อ งมผี ูสรางเชน กัน แตใ นความเปนจริง เราไมเ คยเห็นพระเจาและไมเคยเห็นการสราง
ดวงดาวตา งๆ ในจักรวาลเลย ฉะน้ัน การอางวาโลกตองมีผูสรางจึงเปนการอางทไี่ มถูกตอ ง เปนเพียง
การเดาเทานัน้

๓) การอา งวาพระเจาทรงรกั มนุษยและโลก เปนการอา งทข่ี ัดแยงกับสภาพความเปนจริงใน
โลก คอื สภาพในโลกยังมีความช่ัวรายทีม่ นุษยตอ งประสบอยูเสมอ เชน โรคภัยไขเจ็บ ภัยพิบัติ ความ
อดอยาก หิวโหย เปนตน ถา พระเจาทรงรกั และเมตตาตอ มนุษยอยางแทจริง พระองคตอ งขจัดความ
ช่ัวรายใหหมดไปจากโลก เน่ืองจากพระองคทรงสรรพเดชะแตเมื่อยังมีความช่ัวราย แสดงวาพระเจา
มไิ ดรักหรอื เมตตาตอมนุษยจริง หรือถาพระองคเมตตาจริง แตไมสามารถขจัดความช่ัวรายได กแ็ สดง
วา พระองคไมส รรพเดชะจรงิ

๔) การอางวาผูท่ีไมไดรับความยุติธรรมในโลกนี้ จะไปไดรับในโลกหนา โดยพระเจาจะเปน
ผูใหความยุติธรรมแกเขา การอางเชนนี้ยังไมเพียงเพราะอาจเปนความจริงของโลกเองที่ไมมีความ
ยุติธรรมตอมนุษยอยูแลวหรือเปนลักษณะที่เปนอยูแลวอยางนั้นเอง โดยไมตองไดรับความยุติธรรม
อะไร และการท่ีจะไปไดร ับความยุติธรรมในโลกหนากไ็ มร แู นวาโลกหนามีจริงหรือไม หรือในความเปน
จริงหากมีความยุติธรรมและมีโลกหนา มนุษยก็สามารถไดรับความยุติธรรมในโลกหนาไดโดยไม
จําเปนตอ งมีพระเจา

๕) การพิสูจนทางภววิทยาที่พิสูจนความมีอยูของพระเจา จากความเขาใจในเร่ืองพระเจา
หรือจากคาํ นิยามของคาํ วา “พระเจา” ไมใชข อ พสิ ูจนท่ีถกู ตอง เปนเพียงการเลน คาํ เทา น้ัน

๔.๗ ปรชั ญาจติ

ปญหาเรื่องจิตมนุษยเปนปญหาสําคัญมากปญหาหนึ่งในปรัชญา ดูเหมือนจะเปนปญหาที่
ลึกลับและมืดมนมากกวาเร่ืองอื่นๆ ๆสิ่งท่ีมนุษยอยากรูเกี่ยวกับจิตก็คือ จิตคืออะไร หรือปญหา
เกยี่ วกบั ธรรมชาติทางจิต จิตมีความสัมพันธกบั กายอยางไร จิตมีเสรีภาพในการตดั สินใจเลือกกระทํา
ตา งๆหรอื ไม และเมอ่ื รางกายแตกดบั ไปจิตจะมสี ภาพอยา งไร เปน ตน

ปญ หาสาํ คัญในปรชั ญาจติ มีอยู ๔ ประเดน็ คือ

๑) ปญหาเก่ียวกบั ธรรมชาติของจิต
๒) ปญหาเรอื่ งความสัมพนั ธร ะหวางจิตกบั กาย
๓) ปญหาเรื่องเจตจาํ นงเสรี ( Free Will)
๔) ปญ หาเรอ่ื งอมฤตภาพของจิต (Immortality)

ปญหาทง้ั ๔ น้ี เปนที่กลา วขา งตน มีคาํ ตอบในแตล ะประเด็นดังตอ ไปน้ี

๑๗๗

๔.๗.๑. ปญ หาเกย่ี วกับธรรมชาติของจติ
คอื ปญหาวาจติ คอื อะไร อนั น้มี คี าํ ตอบ ๕ กลมุ ท่สี ําคญั ไดแก
๑. จติ คอื สสาร
คําตอบน้ีเปนของสสารนยิ มซง่ึ ลทั ธนิ ม้ี คี วามเช่ือพื้นฐานวา ความเปนจรงิ ในจกั รวาลมแี ตส สาร
เพียงอยางเดียวเทานั้น ไมมีความเปนจริงอ่ืนใดอีก นอกจากสสารหรืออนุภาคของมวลสารท่ีเคล่ือน
จิตไมใชสัต ( Being) หรือสาระ (Substance) อกี ชนิดหนึ่งที่แตกตางไปจากสสาร แตเปนรูปแบบ
การทาํ งานของสสาร สสารทีม่ ีโครงสรางซับซอน สามารถทํางานไดมากกวาสสารท่ีมีโครงสรางงายๆ
โดยเฉพาะรางกายมนุษยมีระบบประสาทซ่งึ เปนสสารเช่ือมโยงกับสมอง ซงึ่ ก็เปนสสารเชนกัน ระบบ
ประสาทและสมองทาํ งานรวมกันจนสามารถคิดหรือมีปฏิกิริยาโตตอบตอ ส่ิงเราได เหตุการณท างจิต
(mental event) เชน การรูสึก คดิ และเหตกุ ารณท างกายมีลักษณะอยางเดียวกนั คอื เกิดจากการ
ประสานสัมพันธของมวลสาร (matter) ท่ีเคล่ือนไหว การเคลื่อนไหวทางกายภาพที่เกดิ ขน้ึ ในสมอง
เรียกวา การคิดและนี่เปนผลของเหตุการณอ ่ืนในโลกของสสารไมวาในรางกายเรา หรือนอกรางกาย
เรา และโดยนยั นีม้ ันสามารถทาํ ใหเ กิดการเคลอื่ นไหวทางกายภาพในตัวเรา หรือนอกตัวเรา ความรูสึก
ทุกอยางเชน ความเจ็บปวด การรับรู ความจํา เปนตน ไมใชอะไรอ่ืนนอกจากกระบวนการทาง
กายภาพ ในระบบประสาทและสมองของเรา เม่อื จิตคือ การทาํ งานของระบบประสาทและสมองเม่ือ
รางกายแตกสลาย จิตก็ดบั สญู ไปดว ย
๒. จิต คอื สาระ
เปนคาํ ตอบของกลุมจิตนิยม ซึ่งเช่ือวาจิตคือสัต หรือสาระ ในรูปหน่ึงที่ไมใชสสาร แบงแยก
ไมได และเปนอมตะ คําวา “สาระ” หมายถงึ แกนแท หรือความเปนจริงเบ้ืองหลัง หรือตัวยืนโรง ที่ให
คณุ ภาพตางๆมีอยไู ดเ ชน ขผี้ ้งึ เปน สาระท่มี ีคณุ ภาพเฉพาะตัว คือ มสี ีเหลืองคลํ้า ออ นนุมเมอ่ื ถูกลนไฟ
เกาะติดกับวัตถุได เปนตน ถาเราเอาคุณภาพเหลานี้ออกใหหมดจะมีอะไรเหลือ คําตอบคือสิ่งที่
เหลืออยคู อื สาระ หรือแกนแทท่ีใหคุณภาพเหลานั้นมีอยูได เชนเดยี วกับจิตมีคุณภาพสามารถเขา ใจได
คิดได จําได หรือมีจินตนาการได ถาเอาคุณภาพเหลานี้ออกใหหมดจะเหลืออะไรบางอยางที่ให
คณุ ภาพเหลานน้ั มอี ยูไ ด อะไรบางอยางนี้เรียกวา สาระ (Substance) แตจิตเปนสาระที่ไมใชวัตถุหรือ
สสาร จึงมองไมเหน็ หรือจบั ตอ งได
๓. จิต คอื ตัวการจดั ระเบียบ
เปนความคิดของคา นท ซ่ึงไมเห็นดวยกับลัทธิท่ีถือวาจิตคือสาระ หรืออัตตา คานทถือวาจิด
หรอื มนสั เปนตัวการกมั มันต  หรอื ตวั จดั การที่จดั การสิ่งตา งๆ เขามาสูตวั เราทางประสาทสัมผัสใหเปน
ระบบความรู เปน ตวั การกลไกในการรับรสู ิง่ ตางๆ เราจะรูวาสงิ่ ตางๆ เปนอยา งไรกต็ องผานการจัดการ
ของจติ หรอื มนัส จิตมีกลไกการถา ยแบบสงิ่ ภายนอกใหเราเขา ใจได จิตไมใชส่ิงหรือสาระที่เปนเอกเทศ
ตา งหาก แตเ ปนการจัดระบบและจัดเอกภาพของประสบการณข องมนุษยใหเ ปนความรู

๑๗๘

คานทคิดวาส่ิงท่ีเรารับรูไดคือ ประสบการณของเราเอง เหตุผลและความเขาใจเปนตัว
จัดระบบประสบการณใหเปนความรู ดงั น้ัน จิตหรือมนัสจึงเปนหนวยเอกภาพของจิต เปนศนู ยกลาง
ของการจดั ระบบความรู

๔. จติ คือ ผลรวมทั้งหมดของประสบการณ
นักปรัชญาชาวองั กฤษช่อื ฮมู (David Hume ๑๗๑๑ - ๑๗๗๖) ไดโจมตีลัทธิท่ีถือวาจิตเปน
สาระชนิดหน่ึงตางหากจากรางกาย ฮมู ใชหลักของประสบการณน ิยมในทฤษฎีความรูของเขานําไปสู
ขอสรุป ในทฤษฎีความรูข องเขาถือวา ความรูทกุ อยางจากประสบการณและสิ่งท่ีมใี นจิตหรือความคดิ
คือภาพพิมพใจ (impression) และมโนคติ (Idea) ภาพพิมพใจคอื ส่ิงท่ีเรารับรูขณะมปี ระสบการณ
มโนคติคอื ภาพท่ีเลือนลางหลังจากประสบการณนั้นผานพนไปแลว เมือ่ เราสํารวจดูความคิดของเรา
เราจะพบแตประสบการณที่ผานไปแตละครั้งและภาพในความทรงจําของประสบการณ สิ่งของส่ิงนี้ไม
คงที่ และเราไมพ บหลกั ฐานอะไรเลยที่จะเรยี กวา สาระหรืออัตตาทีค่ งท่ีอยตู ลอดไป
ดงั น้ัน ในทรรศนะของฮูม จิตหรือมนัสรวมทั้งสมรรถนะและคุณลักษณะของความเปนจริง
ไมใชอะไรอ่นื นอกจากการประสมประสาน หรือผลรวมของการรับรูทางประสาทสัมผัส เขาจึงปฏิเสธ
การมอี ยขู องจติ หรอื วิญญาณหรืออัตตา
๕. จติ คือ รูปแบบของพฤตกิ รรม
ดวิ อ้ี (John Dewey ๑๘๕๙ - ๑๙๕๒)๙ ชาวอเมริกัน ตัวแทนของกลุมปฏิบัตินิยม
(Pragmatism) ถือวาจิตและการคิดเปนลักษณะของการทํางาน หรือการมีปฏิกิริยาตอกันของ
เหตุการณในธรรมชาติ จิตเปนลักษณะภายนอกธรรมชาติของสิ่งของ มนุษยและธรรมชาติเปนสวน
หนงึ่ ของกระแสตอเนอื่ งอันเดยี วกนั ดิวอี มีทศั นะวา จิตเปน จติ รกรรมแกปญหา เมอ่ื เราเผชิญกับปญหา
เราก็กําหนดลักษณะของปญหานั้นและคิดวาจะแกอยางไร น่ีคือกิจกรรมของจิต สรุปก็คือ จิต คือ
พฤติกรรมที่มีการปรับปรุงตัวเม่ือเผชิญกับสิ่งเราในธรรมชาติ หรือปญหาขอขัดแยงเพื่อใหสามารถ
ดาํ รงชีวิตอยูได จติ จึงเปน เครื่องมอื หรอื อปุ กรณเพื่อประโยชนในการดํารงชวี ติ
๔.๗.๒ ปญหาเร่ืองความสมั พนั ธร ะหวางจิตกับกาย
นับแต เดการต ส (Rene Descartes ๑๕๙๖ - ๑๖๕๐) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศสไดแยกความ
แตกตางอยางชัดเจนระหวางจิตกับกาย แนวคดิ แบบทวินิยมเขากอใหเกิดปญหายุงยากตามมา ไดแก
ปญ หาเมือ่ จิตและกายเปน สาระคนละประเภท ที่แตกตา งกันอยางส้ินเชิงแลวเปนไปไดอยางไรทีจ่ ิตจะ
กอใหเกิดการเปล่ียนแปลงทางกาย หรือกายกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางจิต เชน การเคล่ือนไหว

๙ William S. Sahakian, Outline History of Western Contemporary Philosophy (ปรัชญา
ตะวนั ตก ยุครวมสมัย), เรียบเรียงโดย ดร.บุณย นิลเกษ, (เชยี งใหม : ภาควิชา มนุษยสัมพนั ธ คณะมนษุ ยศาสตร
มหาวิทยาลยั เชียงใหม, ๒๕๒๑), หนา ๒๐.

๑๗๙

ของมือ การเดิน หรือจิตสั่งใหกายเคลื่อนไหวไดอยางไร และเม่ือเราถูกมีดบาด (เหตุการณทางกาย)
แลวเรารูสึกเจ็บ (เหตุการณทางจติ ) เปนตน

คาํ ตอบท่ีพยายามอธบิ ายความสมั พนั ธร ะหวางจิตกบั กายมีดงั น้ี๑๐
๑. เดการตส ใหค าํ ตอบในเรื่องนี้วา จิตกับกายเปนสิ่งแตกตา งกันอยางสิ้นเชิง คอื จิตเปนส่ิง
ไมกินท่ีแตคิดได แตกายเปนส่ิงกินที่แตคิดไมได เหตุการณทางจิตอยูในขอบเขตของมันเองตางหาก
เชนเดียวกับเหตุการณทางกาย คือ เปนเหตกุ ารณคนละระบบ แตนอกเหนือจากเหตุการณทางกาย
และเหตุการณทางจิต ซึ่งเปนคนละระบบแลว เหตกุ ารณท างกายเปนสาเหตุใหเกิดเหตกุ ารณทางจิต
เชน ถาเราถูกตีศีรษะ (เหตุการณทางกาย) เราจะรูสึกเจ็บ (เหตุการณทางจิต) คล่ืนแสงกระทบ
ประสาทตา ทาํ ใหเราเห็นภาพ เปนตน ทุกๆครั้งท่ีมสี ิ่งเรามากระทบกาย จะทําใหเกดิ ความรูสึกอยาง
ในจิต ขณะเดียวกนั เหตกุ ารณทางจิต เชน เมอื่ เราตกใจ กท็ ําใหเกิดเหตกุ ารณทางกาย คือ หัวใจของ
เราจะเตน เร็วกวาปกติ อนั เปนขอพิสูจนอยางชัดแจงวา เหตกุ ารณทางจิตและเหตกุ ารณทางกายเปน
สาเหตุของกันและกันกลาวคือ จติ และกายมปี ฏกิ ริ ยิ าตา งกนั หรอื มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ลัทธินี้จึง
มีช่อื เรยี กวา Interactionism เพาะกายและจิตตางกม็ ีปฏิกริ ยิ าตอ กัน
แตป ญ หาที่ตามมาก็คือ จิตซึ่งเปนส่ิงท่ีไมกินที่และไมใ ชสสาร จะมากระทบตอ กาย เปนสสาร
และกนิ ทไ่ี ดอยา งไร หรือเหตุการณท างกายเปนการกระทําของสสารจะมีผลกระทบตอส่ิงที่ไมใชสสาร
และไมกินท่ีไดอยางไร เร่ืองน้ีเดการตส เสนอคําตอบโดยใชความรูทางการแพทย และจิตวิทยาเปน
ขอมูล เขาเสนอคําตอบวาจิตติดตอกับรางกายโดยผานสมอง การเคลื่อนไหวทางกายภาพบางสวน
ไมไ ดกอใหเกิดเหตกุ ารณท างจิต เชน (ความรูสึกเจ็บ) ข้ึนได ในทาํ นองเดียวกนั การกระตุนจุดบางจุด
ในเซลลสมองดวยเคร่ืองมอื ทางการแพทยโดยไมใหกระทบตอสวนอื่นของรางกาย สามารถทําใหเกิด
ความคิดข้นึ ได ตวั อยางท่เี ดการต สยกมาก็คือ เมอ่ื บุคคลทีเ่ สยี แขนถกู กระตุนทจี่ ุดบางจุดของเนื้อสมอง
ทาํ ใหผ นู น้ั รูส ึกวาแขนของเขาเคล่อื นไหวได หรือทําใหเกิดความรสู ึกเจ็บไดโดยกระตุนท่ีระบบประสาท
จากขอมูลเหลาน้ีเดการตส จึงลงความเห็นวา ตองมีความสัมพันธระหวางจิตกับกายในรูปใดรูปหน่ึง
และจดุ สัมผัสหรือจดุ ตดิ ตอ มาทางกายไดก ็คือ ตอมพเี นียล (pineal gland) ในสมองซึ่งอยูสวนลางของ
เน้ือสมอง
ข้ันตอนเชนนี้ก็มีปญหาตามมาอีกวา ตอมพีเนียลเปนสสารหรือเปนจิต ถาเปนสสาร จิตซ่ึง
เปน สง่ิ ไมกนิ ท่ีสัมผัสตอมนีไ้ ดอยางไร แตถ า มนั เปนสทิ ธจ์ิ ะตดิ ตอกบั สมองเปนสสารไดอยาง

๑๐ บญุ มี แทน แกว, ผชู วยศาสตราจารย, ปรัชญาตะวนั ตก(สมัยใหม), (กรงุ เทพฯ :สํานกั พิมพโอเดียนส
โตร, ๒๕๔๕), หนา ๑๕.

๑๘๐

๒. ลทั ธภิ าวะขนาน (Parallelism)
คําตอบของลัทธิ Interactionism ทําใหมีปญหาตามมาดังกลาวแลว ลัทธิภาวะขนานจึง
อธิบายวา เหตุการณ ๒ ประเภทน้ี ไมไ ดเก่ยี วเน่ืองถึงกัน หรือเปนสาเหตุตอกัน ดนิ กระบวนการทาง
กายมีความเปนจริงเทาเทากัน ไมไดมีความสัมพันธในลักษณะท่ีเปนสาเหตุแกกัน เพียงแตทั้งสอง
กระบวนการเปนไปดว ยกนั และพรอมๆกนั ดว ยเหตกุ ารณไมไดก ระทบหรือเปนสาเหตุของเหตุการณ
ทางกาย และเหตุการณทางกายก็ไมไดกระทบหรือเปนสาเหตุของเหตุการณทางจิต แตเปนไป
เหมอื นกบั รถไฟ ๒ ขบวน ว่งิ คไู ปพรอมๆกัน บนทางรถไฟคู
๓. สสารนิยม
ตอบวา ความเปนจริงน้ันรางกายเปนสสารเทาน้ัน รางกายมรี ะบบประสาททํางานเช่ือมโยง
กับสมองซ่ึงก็เปนสสาร แตเปนสระท่ีมีโครงสรางซับซอนมาก จนเกิดผลพลอยไดมาจากระบบของ
สสารนั้น จิตจึงเปนปรากฏการณพ ลอยไดเทาน้ัน หรือเปนเงาของรางกายเหมือนกับไฟกอใหเกดิ ควัน
ฉะน้นั ไมไ ดเปนอกี ส่ิงหน่ึงแตกตางกาย เมื่อรางกายแตกดับจิตหรือปรากฏการณพ ลอยไดของรางกาย
เชน การคิด การรสู กึ ตวั กด็ บั ตามไปดวย
๔.๗.๓ ปญ หาเร่ืองเจตจํานงเสรี
ปญ หาเรือ่ งเจตจํานง ( Will) เปน ปญหาเก่ยี วกบั มนษุ ยโดยเฉพาะการตดั สินใจเลือกกระทําส่ิง
ตา งๆ ของมนุษยคอื เจตจํานงเสรี (Free will) ซ่ึงประสบการณใ นชีวิตประจําวันของเรา เราจะพบ
ลักษณะที่ตรงกันขา มสองลักษณะคอื ลกั ษณะแรกเรารูสกึ วา เรามีเสรีภาพ หรือเราสามารถตัดสินใจใน
การกระทาํ สิ่งตางๆ ดว ยตัวเอง เชน เมอ่ื เราจะทําอะไรสักอยาง เราจะพิจารณาในเร่ืองน้ันกอ นวา ถา
เรากระทําอยางนี้ ในสถานการณเชนนี้จะเกิดผลอยางไร และถากระทําอีกอยางหนึ่งในสถานการณ
เชนเดิม จะเกดิ ผลอยางไร กลาวคือ มีการพิจารณาทางไดทางเสียกอนตดั สินใจกระทําในลักษณะใด
ลักษณะหน่ึง การตดั สินทางเลือกของเราในลักษณะนี้คอื เราสามารถเลือกเองโดยเสรี ไมม ีใครหรือสิ่ง
ใดมาบังคับใหตองทําเชน น้ัน๑๑
สวนในลกั ษณะทส่ี องคือ ในประสบการณของเรามีบางครั้งหรือหลายครั้งท่ีเราคิดวาเรามีการ
ตัดสนิ ใจเลอื กโดยเสรีนั้น ท่ีจริงเราไดรับอทิ ธิพลมาจากสิ่งอ่ืนโดยที่เราไมรูสึกตัว ส่ิงอ่ืนๆ ๆที่มอี ิทธิพล
ตอการสินใจของเรา ไดแก การอบรมเลี้ยงดูในวัยเดก็ ศกึ ษาอบรมที่ไดรับมาตงั้ แตอดีตจนถึงปจจุบัน
สภาพแวดลอ มทางเศรษฐกจิ และสงั คม สภาพทางชีววิทยา ฯลฯ ซง่ึ บางคร้ังเราพบวาสง่ิ เหลาน้ีเปนตวั
ผลักดัน หรือมีอทิ ธิพลตอการตดั สินใจของเราเปนอยางมาก กลาวคือ เราไมสามารถตัดสินใจโดยเสรี
นนั่ เอง

๑๑ ทองหลอ วงษธรรมา, รศ., ดร., ปรชั ญาทวั่ ไป, (กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๔๙), หนา ๙๕.

๑๘๑

เก่ียวกับปญ หาเรื่องเจตจาํ นงเสรีนี้ มผี ูเหน็ ตา งกนั ๒ ทัศนะ คอื ๑๒
๑. ลทั ธเิ หตุวิสยั (Determinism)
ลัทธินี้มที รรศนะวา มนุษยไมมีเจตจํานงเสรีการตดั สินใจเลือกกระทําสิ่งตางๆ ของเราเกิดขึ้น
โดยไดรับอิทธิพลจากสิ่งตางๆ รอบตัวเรามาผลักดันหรือบีบบังคับใหเราตองตัดใจกระทําอยางหน่ึง
อยางใดลงไป กลาวคือ การตัดสินใจแตละคร้ังของเราเกดิ จากสาเหตุอะไรบางอยาง ที่ทําใหเราตอง
ตดั สนิ ใจอยา งนั้น
ทัศนะเชนน้ีเปนแบบจักรกล (Mechanism) คือ วาสิ่งตางๆ ในธรรมชาติดํารงไปตามกฎ
กลศาสตร เหตุการณอ ยางหนึ่งเกิดข้ึนเพราะมีเหตกุ ารณอกี อยางหนึ่งมากระทําตอมัน มิไดเกิดลอยๆ
โดยปราศจากเหตุ เหตุการณทุกเหตุการณลวนมีสาเหตุท้ังสิ้น เชน ขณะนี้ฝนกําลังตก การท่ีฝนตก
ไมไดเ กิดข้นึ ลอยๆ แตม ีสาเหตลุ วงหนา มากอ น คอื มลี มพดั เมฆสีดําลอยตํา่ หลงั จากนั้นฝนจึงตก หรือ
การที่ตนไมใ นกระถางทเี่ ราปลูกไวเกิดเหี่ยวเฉาและตายไปก็มีสาเหตคุ ือ ขาดนํ้า ขาดปุยเนื่องจากเรา
ลืมใหป ุยรดน้าํ มนั มาหลายวันตดิ ตอ กนั เปนตน
ในกรณีของมนุษยก็เชนกนั มนุษยเปนส่ิงหน่ึงของธรรมชาติเปนไปตามกฎของธรรมชาติ การ
ตดั สินใจเลือกกระทําในส่ิงตา งๆ ของเราแตล ะคร้ังยอมมสี าเหตนุ ําหนามากอน คือ ความประสงคของ
บุคคลหนึ่งในขณะนี้ถูกกําหนดตายตัวความประสงคใ นอดีต อุปนิสัยหรือรสนิยมท่ีมอี ยูในตัวเราไมไ ด
เกดิ ขนึ้ ลอยๆ แตไดมาจากการปรุงแตง โดยกรรมพันธุและสิ่งแวดลอม การทําทกุ อยางของมนุษยแต
ละคนกําหนดโดยสภาพแวดลอ ม ทมี่ ีเสรีภาพในการตดั สินใจเลือกกระทําตา งๆ คอื ไมมเี จตจํานงเสรี
น่นั เอง
๒. ลทั ธิอิสรวิสยั (Indeterminism)
ลทั ธินไี้ มเ หน็ ดว ยกับลัทธิเหตุวิสัยที่วา มนุษยไมมเี จตจํานงเสรีลัทธิอิสรวิสัยแยงวา จีนอยู แม
การกระทาํ ของเราบางอยางอาจไดรบั อทิ ธพิ ลจากสิง่ แวดลอ ม แตกม็ บี างคร้ังหรือหลายคร้ังที่เราไมเห็น
คลอ ยตามส่ิงแวดลอม หรือไมเ ห็นดว ยกบั คนสวนใหญในสังคมก็ได กลาวคือ แมส่ิงแวดลอมมอี ิทธิพล
ตอ การตัดสินใจของเรา แตก็มิใชทุกครั้งไป ประสบการณเ รารูสึกวา ในบางครั้งไมมีอะไรมาบังคับเรา
หรอื แมบางครั้งอาจถกู บงั คับแตเ ราไมท าํ ตามก็ไดดงั นี้เปน การยืนยันวา เรามเี จตจาํ นงเสรี
อยางไรก็ตาม แมเราจะมีเสรีในการตัดสินใจกระทําส่ิงตางๆ แตก็ตองในขอบเขตจํากัดของ
ธรรมชาติและของรางกาย รางกายเปนสสารยอมอยูภายใตกฎธรรมชาติเชนเดียวกับสสารอ่ืนๆ เชน
ถูกแรงดึงดูดของโลกดึงดูดเอาไว เราจะตัดสินใจเลือกใหเราลองลอยไปในอวกาศเหมือนนกไมได
เพราะสภาพรางกายของเรากบั ของนกไมเ หมือนกัน

๑๒ สดใส โพธวิ งศ, ปรชั ญาเบ้อื งตน, หนา ๓๕-๓๗.

๑๘๒

ลัทธิอิสรวิสัยมีความเห็นวา ถา มนุษยไมมีเจตจาํ นงเสรี การยกยองสรรเสริญและการตําหนิติ
เตียนกจ็ ะไรความหมาย โดยเฉพาะอยางย่ิงการลงโทษผูกระทําพี่จะทําไมได ถาเรายอมรับวาเขาถูก
บงั คบั ใหทําชว่ั การยอมรับเร่ืองการลงโทษของผูกระทําผดิ ยอมแสดงวาเขาตอ งรับผิดชอบการกระทํา
ของเขา เน่ืองจากเขาเปนผูกระทําเอง ทง้ั ๆที่เขาอาจหลีกเลี่ยงไมกระทําเชนน้ันก็ได กลาวคือ คอื เปน
การยอมรับวา มนษุ ยม เี จตจาํ นงเสรี หรือมอี ิสระในการตัดสนิ ใจจะทําสง่ิ ตางๆ

ทัศนะของศาสนาโดยทั่วๆ ไป ถอื วา มนุษยม ีเสรีภาพในการเลอื กกระทาํ ดหี รือช่ัวได จึงสอนให
ทําดีละเวนช่ัว ถามนุษยไมมีอิสระในการตัดสินใจ การสอนเชนน้ันจะไรความหมาย ศาสนาและ
ศีลธรรมจะกลายเปนสิง่ ไรสาระ หากมนษุ ยไ มมเี จตจํานงเสรี

๔.๗.๔ ปญ หาเรือ่ งอมฤตภาพของจติ
ปญหานี้เปนเร่ืองเก่ียวกับชีวิตหลังความตาย กลาวคือ เม่ือคนๆหน่ึงตายลง ชีวิตของเขา
ส้ินสุดเพียงนั้นหรือไม ซึ่งก็คือปญหาวาตายแลวเกิดหรือตายแลวสูญน่ันเอง ปญหาน้ีมีคาํ ตอบเปน ๒
กลมุ คือ๑๓
๑. กลุมท่ีเชอ่ื วาจติ หรอื วญิ ญาณเปน อมตะ
กลุมนี้ถือวามนุษยประกอบดวย ๒ สวนคือ สวนท่ีเปนรางกายกับสวนท่ีคิดได เม่ือตายลง
รา งกายแตกสลายไป แตสว นที่คิดไดหรือจติ วิญญาณยังมีอยูไมแตกสลายตามรางกายเพราะเปนอมตะ
ดังนั้น เมื่อรางกายแตกสลาย จิตหรือวิญญาณก็อาจไปหารางใหมอยูเรียกวาไปเกิดใหม หรืออยูใน
สภาพทไี่ มม รี างกาย เปน ตน
กลุมเชื่อวาจิตหรือวิญญาณเปนอมตะ ไดแก ลัทธิเพลโต (Platonism) ลัทธิพราหมณ
(Brahmanism) ศาสนาคริสต และศาสนาอสิ ลาม เปนตน
๒. กลุม ทีเ่ ชือ่ วาจติ หรอื วญิ ญาณไมเปน อมตะ
กลุมน้ีมที รรศนะวา มนุษยประกอบดว ยสสารอยางเดยี ว ส่ิงท่ีเรียกวาจิตวิญญาณกเ็ ปนสสาร
เชนเดียวกบั รา งกาย จึงมีแตมีดับเชนเดยี วกบั รางกาย จิตหรือวิญญาณจึงมิใชส่ิงที่จะคงอยู ชั่วนิรันดร
กลุมทเี่ ชอ่ื วา จิตหรอื วิญญาณไมเปน อมตะเชน พวกสารนิยม ลัทธิจารวากอินเดีย เปน ตน

๑๓ อมร โสภณวเิ ชษฐวงศ, ผชู ว ยศาสตราจารย, ปรัชญาเบ้ืองตน , หนา ๒๒๒.

๑๘๓

สรปุ ทายบท

อภิปรัชญาเปนสาขาปรัชญาท่ศี ึกษาเกี่ยวกับความเปนจริงของชีวิต โลก มนุษย และจักรวาล
โดยอยากรวู า สงิ่ เหลา น้ีมคี วามเปนจรงิ อยางไร และอะไรเปน ความจริงสูงสดุ หรอื ความจริงสุดทาย ใน
ฐานะที่เปนปรัชญาความเปนจริงท่ีมนุษยอยากรูจึงมี ๓ ลัทธิใหญๆ คือ ๑) ทฤษฎีสสารนิยม
(Materialism) ทฤษฎีน้ีพยายามศึกษาคนควา เกี่ยวกบั สิ่งทีส่ ามารถรบั รไู ดดว ยประสาทสัมผัส เพราะ
ยอมรับเรอ่ื งของวัตถุ หรือสสารเปนส่ิงท่ีมีอยูจริง จึงพยายามหาความจริงเกี่ยวกับสสาร ๒) ทฤษฎจี ิต
นิยม (Idealism) ทฤษฎนี ีพ้ ยายามศึกษาคน ควาเกี่ยวกบั อะไรคือธาตุแทของมนุษย โดยเนนไปทเี่ รื่อง
ของจิต เพราะยอมรบั วา จิต เทานัน้ เปน ส่ิงท่ีมีอยูจริง ๓) ทฤษฎีธรรมชาตินิยม (Naturalism) ทฤษฎี
น้ีพยายามศึกษาคนควาเกี่ยวกับเอกภพ หรือธรรมชาติวา อะไรเปนผูสราง เกิดขึ้นมาไดอยางไร มี
ลักษณะเปนอยางไร รวมไปถึงเร่ืองของพระผูเปนเจา ซึ่งถือวาเปนผูมีอํานาจสรางโลก ควบคุมโลก
และทาํ ลายโลก เหลา นเี้ ปน ตน

๑๘๔

เอกสารอางอิงประจําบท

กรี ติ บญุ เจอื . ปรัชญาเบอื้ งตน และตรรกวทิ ยาเบื้องตน. กรงุ เทพฯ : ผดงุ วิทยาการพมิ พ, ๒๕๑๒.
คูณ โทขนั ธ. ปรัชญาเบอ้ื งตน. ขอนแกน : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน , ๒๕๒๗.
จํานง ทองประเสรฐิ . ปรชั ญาประยกุ ต ชดุ ตะวันตก. กรงุ เทพฯ : ตนออ แกรมมี่ จํากดั , ๒๕๓๙.
ฌอง-ฟรองซัว เรอเวล และ มัตติเยอ ริการฺ ภิกษุกับนักปรัชญา บทสนทนาพุทธศาสนา-ปรัชญา

ตะวันตก. แปลโดย งามพรรณ เวชชาชีวะ. พิมพครั้งท่ี ๓. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพออรคิด,
๒๕๔๕.
ทองหลอ วงษธรรมา, รศ., ดร. ปรัชญาทว่ั ไป. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๔๙.
บุญมี แทนแกว. ผูชวยศาสตราจารย. ปรัชญาตะวันตก(สมัยใหม). กรุงเทพฯ :สํานักพิมพโอเดียน
สโตร, ๒๕๔๕.
บุญมี แทนแกว, สถาพร มาลีเวชรพงศ และประพัฒน โพธ์ิกลางดอน. ปรัชญาเบื้องตน (ปรัชญา
๑๐๑). กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พโ อเดียนสโตร, ๒๕๒๙.
วิโรจ นาคชาตรี, รศ., และคณะ. ปรัชญาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญา คณะมนุษยศาสตร
มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, ๒๕๒๒.
สดใส โพธิวงศ. ปรัชญาเบอ้ื งตน. ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน , ๒๕๓๔.
อมร โสภณวิเชษฐวงศ, ผูชวยศาสตราจารย. ปรัชญาเบอื้ งตน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง,
๒๕๒๔.

William S. Sahakian. Outline History of Western Contemporary Philosophy (ปรัชญา
ตะวนั ตก ยุครว มสมัย). เรยี บเรียงโดย ดร.บณุ ย นลิ เกษ. เชียงใหม : ภาควิชา มนุษยสัมพันธ
คณะมนษุ ยศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม, ๒๕๒๑.

บทท่ี ๖
ญาณวทิ ยา หรอื ทฤษฏีความรู

ความนํา

ญาณวิทยาเปนสาขาท่ีสําคัญที่สุดสาขาหนึ่งของปรัชญา เปนสาขาที่คนควาถึง ตนกําเนิด
โครงสราง วิธีการ และความสมเหตุสมผลของความรู ในภาษาอังกฤษใชคาํ วา Epistemology ซ่ึงมี
รากศัพทม าจากคําวา episteme ซึ่งแปลวา ความรู (knowledge) กับ logos ซึ่งแปลวา ทฤษฎี
(theory) ดังนั้น ในภาษาไทยจะเรยี กญาณวิทยาวา ทฤษฎีความรูก็ได และในภาษาอังกฤษจะใชคําวา
theory of knowledge แทน Epistemology กไ็ ด๑

ขอบเขตของญาณวิทยา
จะพิจารณาวา ญาณวทิ ยามีความสัมพันธกบั ศาสตรอื่น ๆ ทีม่ ีความเกีย่ วขอ งอยางไร ศาสตร
ที่เกีย่ วขอ งกับญาณวทิ ยามีอยู ๓ ศาสตรดวยกัน คือ อภิปรัชญา (metaphysics) ตรรกวิทยา (logic)
และจิตวทิ ยา (psychology)
๑. ญาณวิทยา กบั อภปิ รัชญา
โดยท่ัวไปถือวา อภิปรัชญากับญาณวิทยาเปน ๒ สาขาของปรัชญาคูเคยี งกันโดยอภิปรัชญา
น้ันเปนการคนควาถึงธรรมชาตขิ องความแทจริงสุดทาย สวนญาณวิทยาเปนการคนควาถึงธรรมชาติ
ของความรู ตอปญหาท่ีวาระหวางญาณวิทยา กับอภิปรัชญาน้ี อะไรควรจะสําคัญกวากันก็มีการ
ถกเถียงกนั มาก นกั ปรัชญาบางกลุมเหน็ วา ญาณวิทยาตองมากอ น เพราะการตรวจสอบถึงความเปนไป
ไดแ ละขอบเขตของความรูน้ันเปนสิ่งสําคัญอันเปนพืน้ ฐานในการแสวงหาและคนควา ถงึ ธรรมชาติของ
ความแทจรงิ สดุ ทายซ่ึงเปนเรื่องของอภิปรัชญา แตนักปรัชญาบางกลุมก็ไดเร่ิมตนปรัชญาของเขาดวย
อภิปรชั ญา และถอื วา ญาณวิทยาตองสอดคลองหรือคลอยตามอภปิ รัชญา ระหวาง ๒ กลุมน้ีมที ัศนะท่ี
เปนกลางคือ ยอมรับวา โดยเหตุผลแลว ญาณวทิ ยากบั อภปิ รัชญาตอ งขน้ึ อยูซง่ึ กันและกนั
๒. ญาณวิทยา กับ ตรรกวทิ ยา
ขอบเขตของทั้งสิงศาสตรน้ีสามารถกําหนดลงไดช ัดเจน คอื ญาณวิทยาศึกษาสภาพทั่ว ๆ ไป
ของความรูโดยกวาง ๆ เชน กาํ เนิดของความรู ความสมเหตุสมผล ขอบเขตและขอจํากัดของความรู
สวนตรรกวิทยาเปนศาสตรที่วาดวยรูปแบบของหลักการในการใหเหตุผลท่ีเหมาะสม หรือกลาวให
ชัดเจนก็คือ วาดวยกฎเกณฑในการใชเหตุผล ซ่ึงเปนการศึกษาท่ีเฉพาะเจาะจงลงไปมากกวา นัก
ปรัชญาสวนมากยอมรับวา ตรรกวิทยาเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูปรัชญา เพราะปรัชญาตองใช

๑ สดใส โพธิวงศ, ปรชั ญาเบอ้ื งตน , (ขอนแกน : มหาวทิ ยาลัยขอนแกน , ๒๕๓๔), หนา ๓๘.

๑๘๖

กฎเกณฑของเหตผุ ลอยูเสมอ ดงั นั้น ผูทจี่ ะศึกษาปรัชญาใหเขา ใจไดดี กค็ วรตอ งรูกฎเกณฑในการใช
เหตผุ ลเสียกอน

๓. ญาณวทิ ยา กบั จิตวิทยา
ความสาํ พนั ธระหวา ง ญาณวทิ ยา กับจิตวทิ ยาคอนขา งจะใกลชิด เพราะวาจิตวิทยาคนควาถึง
ขบวนการรูการเขาใจในเร่ืองการรับรู การจํา การจินตนาการ การสรางความคดิ รวบยอดและการใช
เหตุผล ซึง่ ก็เปนเนื้อหาเฉพาะของญาณวิทยาเชนกัน แตการอธิบายจะตางกันไป โดยเฉพาะทศั นะใน
เร่ืองขบวนการรูการเขาใจของจิต โดยการอธิบายของจิตวิทยาจะใชวิธีการวิทยาศาสตร คือเปนการ
อธิบายเก่ยี วกับขบวนการท่รี ูส กึ ตัวในเหตกุ ารณเฉพาะตาง ๆ ท่ีสํานึกรู หรือ เปนการกระทําตาง ๆ ใน
การรับรู สวนญาณวทิ ยาจะสนใจในประเด็นทว่ี า สง่ิ ทีเ่ รารับรูนั้นอางถงึ สิง่ ใดหรือบงช้ถี งึ อะไร เชน การ
ปรากฏของความรูทพ่ี าดพิงถึงโลกภายนอก โดยสรุปกค็ ือ จิตวิทยาจะตรวจสอบถึงสภาวะจิตทุกอยาง
รวมทง้ั การรูการเขาใจในขอบเขตของชีวิตทางจิต แตญาณวิทยาจะตรวจสอบเฉพาะสภาวะตาง ๆ ที่
เปนการรเู ทา นัน้
ปญ หาทางญาณวทิ ยา
ปญ หาทางญาณวิทยานนั้ มหี ลายปญ หาทีเดียว ซ่ึงคาํ ตอบตอปญหาเหลานจี้ ะใหความกระจาง
ตอ เรื่องของธรรมชาตแิ ละขอบเขตของการคน ควา ทางญาณวิทยาปญ หาเหลา นก้ี ค็ ือ
- ปญหาวา คนเราสามารถจะไดรบั ความรทู ่แี ทจริงไดห รอื ไม
- ปญ หาวา คนเราสามารถรไู ดใ นขอบเขตใดบาง
- ปญหาวา คนเราไดร ับความรูม าโดยทางใด หรือปญหาเรอื่ งบอ เกดิ ของความรู
- ปญหาวา ส่งิ ที่เรารูคืออะไร ซง่ึ อันนีเ้ ปนปญหาเรอื่ งธรรมชาตขิ องความรู
- ปญ หาวา คนเราจะมคี วามรทู ไี่ มต องอาศยั ประสบการณไ ดห รือไม
- ปญหาเรื่องความสมเหตุสมผลของความรู
เน่ืองจากหนังสอื น้ีมีจดุ มุงหมายเพือ่ จะใชเ ปนตาํ ราในวชิ าปรัชญาเบ้อื งตน เทาน้ัน จึงไมอาจจะ
ศกึ ษาถึงปญหาท้ังหมดได ในทน่ี ้ีจึงไดนําปญหาเพียง ๒ เรื่องเทานั้นมาศึกษาโดยละเอียดคือ ปญหา
เรือ่ งบอเกดิ ของความรู อันเปน ปญ หาเกาแกแ ละคอ นขางจะเปนพื้นฐานที่สดุ กบั ปญหาเรื่องธรรมชาติ
ของความรู ปญ หา ๒ เร่อื งนส้ี ามารถจะทําความเขาใจไดโดยงายเพราะไมลึกซง้ึ มากนัก

๑๘๗

๑. ปญ หาเร่ืองบอ เกดิ ของความรู

สําหรับปญหาเร่ืองบอเกิดของความรูนี้ก็คือ ปญหาที่วามนุษยเราเกิดมีความรูข้ึนมาได
อยางไร? ถาลองพจิ ารณาถงึ ความรูทีม่ นษุ ยม ีอยนู ้ัน กจ็ ะพบวามนุษยมคี วามรูใน ๒ ระดับ คือ ระดับที่
เปนรปู ธรรม และระดบั ทีเ่ ปนนามธรรม ระดบั รูปธรรม ไดแก ความรใู นวัตถุ และคุณสมบัติตาง ๆ ของ
วัตถุตลอดจนเหตุการณท้ังหลาย ซ่ึงเปนระดับของขอเท็จจริงนั่นเอง สวนระดับนามธรรม ก็เชน
ความรูในแบบบริสุทธิ์ของคณิตศาสตร ตรรกวิทยา และความรูในเร่ืองจริยธรรม เปนตน ซึ่งเปน
ความรูระดบั สูงขึน้ มาจากขอ เทจ็ จริงธรรมดาเพราะเปนความรใู นหลกั การทว่ั ไปซง่ึ เปนสากล การไดมา
ซ่ึงความรูในระดับรูปธรรมดาเพราะเปนความรูในหลักการทวั่ ไป ซ่ึงเปนสากล การไดมาซึ่งความรูใน
ระดับรูปธรรมหรือขอเท็จจริงนั้นก็ตองอาศัยการสังเกตและการรับรูทางประสาทสัมผัส สวนในการ
ไดมาซง่ึ ความรูในระดับนามธรรมซ่ึงเปนหลักการทั่วไปน้ัน กต็ องอาศยั การใชความคิด หรือสตปิ ญญา
ของมนุษย ดังนี้ จะเห็นไดว าในการแสวงหาความรูของคนเราน้ัน จะเก่ียวขอ งกับปจจัยสองอยาง คือ
ความสามารถในการสังเกตและรับรู กบั ความสามารถทางความคิดของมนุษย จึงเกิดปญหาระหวาง
สองปจจัยนี้วา ส่ิงใดที่เปนปจจัยพืน้ ฐานในอนั ที่จะชวยใหความรูไดอบุ ัติข้ึนเริ่มแรกในตัวมนุษย หรือ
กลาวใหชัดเจนยิ่งขึ้นก็คือวา จิตของคนเราน้ันมีความสามารถอยูกอน หรือมีความรูแฝงฝงอยูแลว
กอ นทเี่ ขาจะไดร ับความรมู าจากการสังเกตและการรับรูหรอื เปลา หรือวาจิตของคนเราเริ่มจะทําหนาท่ี
รูแ ละคิดภายหลังจากทไี่ ดร บั ความรูม าจากการรบั รทู างประสาทสัมผัส ตอ ปญหาดังกลาวไดมีนักคิด ๒
กลุม ไดใหแนวความคิดเอาไวตางกัน กลุมหนึ่งยํ้าความสําคัญของความคิดวาเปนปจจัยพนื้ ฐานของ
ความรู กลุมน้ีมีช่ือเรียกวา นักเหตุผลนิยม (Rationalist) อีกกลุมหนึ่ง ยืนยันความสําคัญของการ
สงั เกตและรบั รู หรือเรยี กวา นกั ประจักษนิยม หรอื ประสบการณน ิยม (Empiricist) อยางไรก็ตาม นัก
เหตุผลนิยมสวนใหญก ็ยอมรับบทบาทและหนาทีบ่ างอยางของประสบการณ ขณะท่ีนักประจักษนิยม
สวนมากก็ไมป ฏิเสธวา เหตุผลหรอื ความคดิ เปนสวนประกอบอนั หนึ่งของความรูเ ชนกนั ๒

ตอไปนีม้ าพจิ ารณาถึงแนวความคดิ ท่ีสําคญั ของท้งั สองกลมุ

๑.๑ ลัทธิเหตผุ ลนิยม (Rationalism)
นักปรัชญาเหตุผลนิยมท่ีสําคัญ เชน เพลโต ซ่ึงเปนนักปรัชญายุคกรีกโบราณ, เดการต
(Descartes) สปโ นซา (Spinoza) และไลบนิซ (Leibriz) ทัง้ ๓ ทานนีจ้ ดั เปนนกั ปรัชญาในยุคใหม๓

๒ พระพทิ ักษณิ คณาธิกร, ปรัชญา, (กรงุ เทพฯ : สาํ นักพมิ พด วงแกว, ๒๕๔๔), หนา ๕๐.
๓ บุญมี แทนแกว, สถาพร มาลีเวชรพงศ และประพัฒน โพธิ์กลางดอน, ปรัชญาเบ้ืองตน (ปรัชญา
๑๐๑), (กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พโอเดียนสโตร, ๒๕๒๙), หนา ๑๐๘.

๑๘๘

๑. ความเชือ่ รว มกนั ของนักเหตผุ ลนิยม
หัวขอนก้ี ค็ อื เร่ืองของลกั ษณะทว่ั ไปของลัทธเิ หตผุ ลนยิ มน่ันเอง นักเหตุผลนิยมแตละคนยอมมี
ความคิดของตนเอง ซ่ึงแตกตางกันไปในรายละเอียดปลีกยอย แตโดยสวนรวมแลว ก็มีความเช่ือใน
หลกั การบางอยางรวมกนั คือ๔
๑) เชื่อในความรู “กอ นประสบการณ” (“A priori” knowledge)
ความรู “กอ นประสบการณ” หมายถงึ ความรูท่คี นเรามีไดเอง โดยไมตอ งอาศัยประสบการณ
ชาวเหตุผลนิยมถือวา จิตของมนุษยมีความสามารถท่ีจะรูในความจริงท้ังหลายในจักรวาล ซ่ึงการ
สงั เกตและรับรทู างประสาทสัมผัสไมอาจใหแ กเราไดความจริงเหลาน้ันเปนความจริงชนิดที่จําตองเปน
(necessary truth) เปน ความจริงท่ไี มม ีวนั ผดิ พลาดได ตวั อยางเชน ขอความวา “ส่ิงหน่ึงไมอ าจจะอยู
ในสถานที่สองแหงในเวลาเดียวกันได” หรือ “เหตุการณทุกเหตุการณท่ีเกิดขึ้นยอมมีสาเหตุ” หรือ
“เสนตรงท่ีขนานกันจะไมมีวันมาบรรจบกันได” หรือ “สองบวกสองตองเทากับส่ี” ขอความเหลานี้
เปนขอ ความชนิดที่ตองจริงตลอดไปโดยที่ไมตองพสิ ูจนกันอีก ซง่ึ ตรงขามกันกับขอความอีกชนิดหนึ่ง
ซึ่งเปนขอความที่อาจจะเปนจริงก็ได เพราะมันเปนความจริงในชนิดที่เปลี่ยนแปลงได (contingent
truth) ตวั อยา งเชน “ในหอ งเรยี นน้มี ีนกั ศึกษาอยู ๖ คน” หรือ “สุนัขบางตัวมีสีขาวทัง้ ตัว” ความจริง
ของขอความประเภทนี้จะไมแนนอนตายตวั เสมอไป เพราะข้ึนอยกู บั เหตุการณทจ่ี ะเกิดข้ึนจึงเปนความ
จริงชว่ั คราวเทา น้ัน
ถา จะถามวา อะไรทําใหค วามจริงชนิดจําตองเปนมคี วามแนนอนตายตวั เสมอไป คาํ ตอบกค็ ือ
เพราะวาความจริงเหลา นเ้ี ปน ส่งิ ทรี่ ูไ ดโ ดยไมตอ งมปี ระสบการณม ายืนยัน แตเปนสิ่งท่ีรูไดโดย “อชั ฌตั
ติกญาณ” (intuition) เรยี กวา เปน ความรู “กอ นประสบการณ” มันจะเปนจริงในทุก ๆ กรณี ไมวาจะ
เปนวันน้ี พรุงน้ีหรือ กี่ลานปก็ตาม เชน ถาหากขณะนี้ศรีอยูในกรุงเทพ เราก็ไมจําเปนตองไป
ตรวจสอบวาเขาจะอยูท่ีโคราชดวยหรือไม ตรงกันขามกับความจริงชนิดเปลี่ยนแปลงได ตองมี
ประสบการณเกิดข้ึนกอนจึงจะยืนยันขอความนั้นวาจริง และไมอาจแนใจไดว ามันจะเปนอยางน้ันได
รอยเปอรเซ็นต เชน ขณะน้ีในหองเรียนมีนักศึกษาอยู ๖ คนจริงแต ๕ นาทีตอมา ก็อาจมีเพิ่มเปน ๗
คน เพราะมคี นท่เี พิ่งเดนิ ทางมาถึง ดงั นั้น ความจริงชนิดหลังน้ีเราตอ งรู “ภายหลังประสบการณ” (a
posteriori) ซึ่งประสบการณเ พียงแตแ สดงออกถึงความรูช นดิ น้ี แตไ มไดพสิ ูจนวามันตองเปนจริงเสมอ
ไป

๔ วโิ รจ นาคชาตรี, รศ., ปรัชญาเบ้ืองตน, (กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๕๒), หนา ๑๒๘-
๑๓๑.

๑๘๙

โดยสรุปก็คือ นักเหตผุ ลนิยมเชื่อวามีความรู “กอ นประสบการณ” ซ่งึ เปนความจริงที่จําตอง
เปน คือ ตองจริงในทุกท่ีและทุกเวลา โดยไมตองมีส่ิงใดมายืนยันและจิตของมนุษยก็สามารถรูความ
จรงิ ชนดิ น้ีไดโ ดยอชั ฌัตตกิ ญาณ

๒) ยอมรับการคดิ หาเหตุผลแบบนิรนยั (Deduction)
พวกเหตุผลนิยมถือวา ความรูเปนระบบของความจริงทตี่ ั้งอยูบนพน้ื ฐานอันมั่นคง พื้นฐานน้ี
ประกอบดวยหลักการอันแรกหลาย ๆ หลักการ ซึง่ กค็ ือ ความรู “กอ นประสบการณ” ทก่ี ลาวมาแลว
น่ันเอง จากหลักการแรกทงั้ หลาย เราสามารถจะรูในความจริงอื่น ๆ ออกไปไดอยางไมจํากดั วิธีการ
นิรนัยคือ การพิสูจนความเช่ือใด ๆ โดยอาศัยความจริงพื้นฐานท่ีมีอยูกอน หรือที่ยอมรับท่ัวไปเปน
หลัก คือ ถา เรามีความรูในส่ิงใดสงิ่ หน่ึงอยูกอน เราก็ใชค วามคดิ สืบสาวจากความรูน้ันไปเพ่ือท่จี ะรูใน
สิง่ อื่น ตัวอยา งเชน

โลหะทกุ ชนดิ เปนสอ่ื ไฟฟาได
ทองแดงเปน โลหะชนิดหน่งึ
ดงั น้นั ทองแดงเปนสอื่ ไฟฟาได
สองขอความแรก คือสวนท่ีเปนขออาง (premise) ซ่ึงเปนสวนที่เรารูวาจริงสวนขอความ
สุดทาย คือสวนทีเ่ ปนขอสรปุ (conclusion) ซ่ึงเปนความจริงท่ีเราดึงหรือโยงมาจากขอ อาง จะเห็นวา
ในวิธีการนิรนัยนั้น ขอสรุปตองไดมาจากขออาง ถาหากวาขออางเปนจริง ขอสรุปก็ตองจริงดวย
คณิตศาสตรและเราขาคณิตก็ใชวิธีการนิรนัยแสวงหาความจริงโดยไมอาศยั การพสิ ูจนหรือยืนยันจาก
ประสบการณ แตอาศัยการใชความคิดหรือปญญา จะเห็นวาเวลาที่เราคิดหาคําตอบจากโจทยเลข
คณิตนั้น เราอาศัยการคิดตามเหตุผลกจ็ ะไดคําตอบที่ถกู ตอ งออกมา ถา หากเราคิดอยางถูกวิธี โดยที่
เราไมตองไปสังเกตจากเหตุการณใด ๆ เลย เรขาคณิตก็เชนกัน เราสามารถพิสูจนทฤษฎีบทตาง ๆ
โดยเริ่มตนจากส่ิงท่ีเห็นจริงแลว (axiom) ทชี่ ัดเจน และไมซ ับซอนแลวก็ใชส่ิงน้ีพิสูจนทฤษฎีบทอื่น ๆ
ไปทีละข้นั ก็จะไดความจรงิ ใหมที่สลบั ซบั ซอนข้ึนไปตามลาํ ดบั
๓) สถานะของประสบการณทางผัสสะ (sense experience) ในทัศนะของพวกเหตุผล
นิยม
พวกเหตผุ ลนิยมไมไดป ฏิเสธวา สิ่งท่ีประสาทสัมผัสรายงานแกเราน้ันไมจริงหรือไมใ ชความรู
แตถ อื วาความรจู ากประสาทสมั ผสั ไมอาจใหความจริงท่ีคงตวั เชน ปกติน้ําออ ยทเ่ี ราดืม่ เปนประจํามีรส
หวานหอม แตมีครั้งหนึ่งท่ีเราเผอิญรับประทานขนมทองหยิบกอน แลวมาดื่มนํ้าออยก็ปรากฏวา
น้ําออ ยไมห วานเลย และบางคร้ังประสาทสัมผัสกห็ ลอกลวง เชน ถาเรามองตามรางรถไฟท่ีทอดยาว
สุดตาจะเห็นวาปลายของรางบรรจบกันทง้ั ท่ีในความเปนจริงรางรถไฟไมไ ดพบกนั เลย แตขนานกันไป
ตลอด หากเราเช่ือตามที่ตาเราเหน็ เราก็ผิด ดงั นน้ั สาํ หรบั เหตผุ ลนิยมแลว ความรูท่แี ทจริงยอ มจะไมใ ช

๑๙๐

ไดมาจากประสาทสัมผัส แตความรูท่ีแทจริงตองไดจากความคิดหรือ เหตุผลซ่ึงเปนกิจกรรมในทาง
ปญญา การที่เราไมเชอื่ ตามท่ตี าเหน็ วา รางรถไฟบรรจบกนั กเ็ พราะเราตระหนักดีในความจริงวา “เสน
ขนานยอมจะไมมีวันบรรจบกัน” ขอความนี้เปนจริงอยางจําตองเปน และไมมีประสบการณใดมา
ยืนยนั เราอาศยั การใชความคิดวา เมอื่ รางรถไฟเปนเสนขนานแลวมันกย็ อมจะอยูในขายทีเ่ ปนไปตาม
ความจริงน้ัน คือ ไมสามารถบรรจบกัน ฉะนั้นถาคนเราใชปญญาคิดไตรตรองตามหลักเหตุผลก็จะ
สามารถพบความจรงิ ได

ควรกลาวไวดวยวา มีนักเหตุผลนิยมจํานวนไมนอยยอมรับวาประสบการณทางผัสสะเปน
จุดเร่ิมตน ของความรูในแงท่ีวา เราเร่ิมท่ีจะรูสุกตัวจริง ๆ ก็เมื่อเราเริ่มท่ีจะใชประสาทสัมผัสของเรา
แตมันก็เปนเพียงสิ่งท่ีมาจุดประกายใหสติปญญาเริ่มทํางานเทาน้ัน นั่นก็คือวา ความรูมิใชเริ่มเกิด
ข้ึนมาจากประสบการณ แตประสบการณเปนส่ิงเราอันแรกของความรูเทาน้ันเอง มิไดมีความสําคัญ
มากมายเหมอื นปญญา ดังในขอเขยี นของนกั เหตผุ ลนิยมคนหนงึ่ ชอื่ สปโนซา (Spinoza)

โดยพลังทม่ี โี ดยธรรมชาติ ปญญาไดใ ชต วั เองเปนเครื่องมอื แสวงหาความเฉลยี วฉลาด ซึง่ ทาํ ให
ไดมาซงึ่ พลังความสามารถท่ีจะใชดําเนินกจิ กรรมทางความคดิ อ่ืน ๆ ขณะเดยี วกันก็ไดมาซึ่ง
เคร่ืองมือใหม ๆ หรือความสามารถที่จะแสวงหาตอ ไป ดังนั้น ปญญาจะกาวหนาไปเรื่อย ๆ
จนกระท่งั ถึงยอดสุดของความรอบรู
นักศึกษาไดทราบถงึ ลักษณะทั่วไปของลัทธิเหตุผลนิยมมาแลว ตอนี้ไปจะกลาวถึงทัศนะของ
นักปรัชญาในลทั ธิน้ีเพ่อื เปน ตัวอยา งใหม คี วามเขาใจในแนวความคดิ ของลัทธนิ ้ีมากย่งิ ขึ้น
๒. นักปรัชญาเหตุผลนยิ มคนสําคัญ : เดการต (๑๕๙๖ – ๑๖๕๐)
นกั ปรัชญาทีย่ ึดถือวาเหตุผลเปนแหลงที่มาของความรูคนเดน ๆ นั้นมอี ยูหลายคนดว ยกัน ดัง
ไดกลาวแลว แตในทนี่ ี้จะขอนํามากลาวเพยี งคนเดียวคอื เดการต เดการตเปนนักปรัชญาชาวฝร่ังเศส
เปนผูท่ีไดฟนฟูแนวคิดเหตุผลนิยมขึ้นมาอยางจริงจัง ในศตวรรษท่ี ๑๗ ดวยการท่ีเขาเปนนัก
คณิตศาสตร เขาจึงพยายามทจ่ี ะทําความรูของคนเราใหเปนระบบชัดเจนในรูปแบบเรขาคณิต น่ันคือ
เขาไดนําวิธีการของเรขาคณิตมาใชในความคิดทางปรัชญาของเขา เรขาคณิตน้ันจะมีจุดเร่ิมตนจาก
“สง่ิ ท่ีเหน็ จริงแลว” (axioms) ที่เปนจริงอยางแจมแจงและชัดเจนจนไมอาจจะมีขอสงสัยได และสิ่งน้ี
เองท่ีจะเปนขอสมมติฐานในการพิสูจนถึงความจริงอ่ืน ๆ ตอไป ดวยเหตนุ ี้เขาจึงคิดวาสําหรับความรู
ของมนุษยน ั้น มสี ่งิ ใดบางหรือไมทเี่ ปน จริงในทํานองเดยี วกนั น้ี เพื่อทจี่ ะไดน ํามาเปนหลักในการพสิ ูจน
ความรูอ่ืนตอไป
๑) เดการตไดเสนอวิธีการของเขา ซ่งึ มีหลักอยู ๔ ขอ ดวยกัน ประการที่หนึ่งจะไมย อมรับสิ่ง
ใดก็ตามวาเปนจริงถาหากวาเรายังไมมีความรูเกี่ยวกับมันอยางชัดเจนและแจมแจง ประการท่ีสอง
ตองนําวธิ กี ารวเิ คราะหปญหามาใช ประการที่สาม การวิเคราะหตอ งเร่ิมตนจากความคดิ เบ้ืองตน ท่ีไม

๑๙๑

ซับซอน แตมีความแนนอน และขยายไปสูความคิดที่ซบั ซอนมากขึ้น ประการสุดทาย ตอ งตรวจดทู ุก
สงิ่ อยา งถ่ถี ว ยโดยไมมกี ารยกเวน

๒) เดการตจงึ เริ่มตนดว ยการมีความสงสัยในทกุ ๆ ส่ิง คอื ไมเช่ือในสิ่งใดเลย เพราะวาบางส่ิง
ที่เราเชื่อวาจริงก็อาจจะไมจริงได หรือสิ่งที่เราคิดวาไมจริงก็อาจจริงได มีบอยคร้ังที่ประสบการณ
หลอกลวงเราทําใหเราเขา ใจผิด ดงั นัน้ อะไรที่เปดโอกาสใหสงสัยไดก็จะสงสยั กอนวา มนั ไมจริง จนกวา
จะพบจดุ ทเี่ ราไมอ าจมคี วามสงสยั ได

๓) ในทสี่ ุดมสี ิ่งหนึ่งที่เราสงสัยไมได และการยนื ยนั วาสง่ิ นจ้ี ริงกไ็ มผิดนั้นคือขอความที่วา “ฉนั
คิด ดังน้นั ฉนั จึงมีอยู” (I think, therefore I exist) เพราะวาการสงสัยเปนการคดิ อยางหน่ึง ในขณะ
ทเี่ ราสงสัย ก็คือการท่เี ราคิดน่ันเอง การคดิ ก็ตองมีผูคิด ดงั น้ันเราไมอ าจสงสัยการมีอยูของตัวเองใน
ฐานะเปนผูคิดได เปนอันวา เดการตพบวาสิ่งที่เปนความจริงอยางชัดเจนและแจมแจงก็คือ “ฉันคิด
ดงั น้ัน ฉนั จงึ มอี ย”ู นี่เปนหลักปรชั ญาขอแรกของเขา

๔) การยอมรับความจริงของขอความนี้ ก็คือการยืนยันวามีจิต หรือสิ่งแทจริงท่ีรูคิดได
(thinking substance) เดการตกลาวถงึ ความเปนมนุษยวา ประกอบดว ยกาย (body) กับวิญญาณ
(soul) ซึง่ สองอยา งนีม้ คี วามแตกตางกันทีว่ า กายนัน้ ไมอ าจเคล่ือนไหวไดดวยตวั เอง ไมอาจสรางความ
เปล่ียนแปลงใด ๆ ได แตกายตองเปนตัวรองรับการกระทําหรือความเปล่ียนแปลง สวนวิญญาณเปน
ตัวทาํ ใหกายมกี ารเคลอ่ื นไหวเปล่ียนแปลงเปนตวั รับรูสิง่ ตา ง ๆ และท่ีสําคัญคือเปนตัวคิด คาํ วา “คิด”
มีความหมายกวาง คอื หมายถงึ การสงสยั ยืนยนั ปฏิเสธ และตง้ั ใจ วิญญาณในฐานะเปน ตัวทําใหกาย
เคลอ่ื นไหวและเปน ตัวรบั รูนน้ั ตองอาศยั รางกายคอื ตอ งมรี างกาย วิญญาณ จึงจะทําหนาที่สองอยางนี้
ได และบางครงั้ การรับรโู ดยอาศัยรา งกาย คอื ประสาทสัมผสั ทั้งหลายน้ัน กอ็ าจหลอกเราได แตในการ
คิดนั้น ไมตองอาศยั รา งกายเลย การคิดเปนคณุ สมบัตปิ ระจาํ ตวั ของวิญญาณ ฉะนั้น เราตองยอมรับวา
มนุษยม ีตวั ตนอยูใ นฐานะเปน ส่ิงท่ีคิด

๕) เดการต เช่อื วา คนเรามี “ความคดิ ท่ีมีมาแตกําเนิด” (innate ideas) ซ่ึงเปนความคิดหรือ
ความรูที่ทุกคนมีเหมอื นกันโดยธรรมชาติ มีอยูกอนท่ีจะมีการรับรูจากประสบการณ โดยทั่วไปในจิต
ของคนเราจะมีความคิดหรือความรูท่ีไดจากประสบการณ เชน ความคิดเก่ียวกับวัตถุตาง ๆ และ
เหตกุ ารณทั้งหลาย นอกจากนี้ ก็ยังมีความคิดทจ่ี ิตจินตนาการข้นึ เอง ซึง่ ความคิดทัง้ สองประเภทนี้ไม
แนนอนชัดเจนเสมอไปแตความคิดที่เรียกวา “ความคิดท่ีมีมาแตกําเนิด” น้ัน ไมไดมาจาก
ประสบการณและไมไดมาจากจินตนาการของจิตคน แตก็เปนความคิดที่ชัดเจนและแจมแจง เชน
ความคิดเกี่ยวกับส่ิงในเรขาคณิต เชน ความคิดเร่ืองวงกลม สามเหลี่ยม และอีกสิ่งหนึ่งที่สําคัญคือ
ความคิดเกี่ยวกับพระเจา หรือส่ิงสมบูรณ ความคิดดังกลาวน้ีไมเคยปรากฏในประสบการณ ไมมี
วงกลมใดท่ีเราพบในประสบการณจะกลมโดยสมบูรณ แตวงกลมที่เราคิดนั้นกลมอยางสมบูรณ ใน
เรื่องเกี่ยวกับพระเจาก็เชนกัน คนเราไมมีความบกพรอง, มีชีวิตอยูเพียงในชวงเวลาหน่ึงเทาน้ัน แต


Click to View FlipBook Version