The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-07-19 08:32:13

ปรัชญาเบื้องต้น

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Keywords: ปรัชญา,ศาสนา

๔๒

คือความสัมพนั ธระหวาง ญาณวิทยา กับ อภิปรัชญา ญาณวิทยา เปน ทฤษฎีวา ดวยความรู แต อภิปรัชญา
หรอื ภาววทิ ยา เปน ทฤษฎที ่ีวาดว ยสิ่งทมี่ ีจรงิ

อภิปรชั ญา จะตองใช ญาณวิทยา เปนเคร่ืองมือ คอื ญาณวิทยา จะตองมากอน อภิปรชั ญา เราไม
สามารถท่จี ะคน ควา ถึงธรรมชาตทิ ่ีเปน จริงหรือเปน ปรมัตถได นอกจากวามวี ิธีที่จะหย่ังรูหรือมีวิธีท่จี ะพิสจู น
วา ความรูเปนส่งิ ท่ีเปนไปได หากยอมรับวา สัจธรรมหรือสิ่งทีม่ ีอยูจรงิ รูไมได หรือวาความรูเปน ไปไมได ถา
ถือวาจะไดประโยชนจากการศึกษาคนควาธรรมชาตขิ องสง่ิ ที่มีอยจู ริง ญาณวิทยายอมเปนพ้ืนฐาน หรือมูล
รากท่ีทาํ ใหเกดิ ปรชั ญาน้ัน

เริม่ แรกนักปรัชญากต็ ้งั ขอ สมมติฐานขึ้นวา สจั ธรรม มอี ยจู ริง แลวก็พยายามที่จะประมวล ทุกสงิ่
ทกุ อยางในสากลจักรวาลวา เปน สจั ธรรม โดยปราศจากการคนควาเขาไปถึงปญหาทวี่ า สามารถที่จะรูมันได
หรือไม แตก ็เปน การเชอื่ ถอื กันมาชนดิ ฝง หัว ถงึ แมวา ญาณวิทยา เปนส่งิ ท่ีจําเปน เรยี กวา เปนบันไดขัน้ แรก
ท่ีนําไปสูวิทยาศาสตร และเปนพื้นฐานของวิทยาศาสตร ดัง จอหน ลอค นักปรัชญาประจักษนิยมชาว
อังกฤษไดกลาวไว แตหากวามีเฉพาะ ญาณวิทยาเทาน้ัน ปรัชญาก็ไมสมบูรณ ความจริง ญาณวิทยา กับ
อภปิ รัชญา มีความสัมพันธก ันอยางใกลชิด ส่ิงหนง่ึ ไมสามารถที่จะคงอยูหากปราศจากส่งิ หนงึ่

ทฤษฎวี า ดวยความรนู ําไปสคู วามรสู ่งิ ตางๆ ทฤษฎแี ตละทฤษฎีก็ชว ยใหเขาใจเฉพาะสิ่ง ความรูชว ย
ใหเขา ใจ สัจธรรม สจั ธรรม ไมสามารถท่ีจะรูได นอกจากจะรูวิธีทีท่ ําใหมันมีความสัมพันธก ับความรู ปญ หา
เกย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละความถูกตองของความรู และปญหาที่เก่ียวกับธรรมชาตอิ ันเปน อนั ตมิ ะ ความจริงมันก็เปน
วิธีการทอ่ี ธบิ ายส่ิงเดยี วกัน ถึงแมจะแยกออกเปน ญาณวิทยา กับ อภปิ รัชญา ก็เพ่ือชว ยใหมนุษยเ ราเขาใจ
ส่ิงทั้งหลายตามความเปนจริงอยางมีวธิ ีการ๗

๑๑. ปรชั ญากบั เทววทิ ยา

อภิปรัชญา ศึกษาเก่ียวกับส่ิงท่ีมีอยูจริง หากศึกษาเก่ียวกับพระผูเปนเจาเรียกกันวา เทววิทยา
ดงั น้ัน เทววิทยา เทากับศาลวาดวย พระผเู ปน เจา ซึง่ ถือวา เปน สวนหนึ่งของปรัชญาเม่ือนกั ปรัชญายอมรับ
วา มพี ระผูเปนเจา เทววิทยา ชวยใหเขาใจเกี่ยวกับพระผูเปนเจา และความสัมพันธข องพระผูเปนเจา ที่มีตอ
มนษุ ยแ ละโลก ทก่ี ลาวถึงนีเ้ ปนเทววิทยาตามธรรมชาติ เพราะวาไดศึกษาคน ควาถึงสิ่งท่ีมอี ยูตามธรรมชาติ
โดยศึกษาจากความเปนอยูของมนุษย และจากโลกที่มนุษยอาศัยอยู ซึ่งถือวาเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้น
จากพระองค เรียกไดวาเปน เทววิทยา ท่ใี ชเหตุผล เพราะวา เทววิทยา ตัวน้ใี ชเหตุผลในการศึกษาคนควา
ไมใ ชจะเช่ืออยางงมงาย

๗ พระพทิ กั ษิณคณาธิกร, ปรัชญา, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพดวงแกว , ๒๕๔๔), หนา ๒๓-๒๕.

๔๓

แตคาํ วา เทววทิ ยา ท่ีใชก ันในบางศาสนา หมายถงึ เทววทิ ยา ที่เปนเทวโองการ หรือเทววิทยา ที่
พระผูเปน เจา ไดบ ันดาลใหม นุษยไ ดรับรู หรอื เรียกวา ศาสดาพยากรณ เปน สอื่ ทีจ่ ะนําคําสอนมาจาก พระผู
เปนเจา เชน ศาสนาฮินดู มีเทววิทยา คริสเตียน ก็มีเทววิทยา และศาสนาอ่ืนๆ ที่ยอมรับวามีพระผูเปนเจา ก็
เชน เดยี วกัน ถงึ แมวา เทววทิ ยา จะแบงออกเปน เทววทิ ยาโดยอาศัยเหตุผล และ เทวดาตามธรรมชาติ ก็ไม
มีความสัมพนั ธกับชีววิทยาที่เปน แบบเทวโองการ ถึงกระนนั้ ก็ตาม เทววิทยาแบบเหตุผลหรือแบบธรรมชาติจะตอง
ยอมรับเทววิทยาแบบหลัง คือ แบบที่พระผเู ปนเจาดลใจ การศึกษาชีววิทยาจะตองวิจารณทฤษฎตี างๆ หรือคํา
สอนตา งๆ ขอศาสนาทั้งหลายโดยอาศัยเหตผุ ล และโดยอาศยั การใชปญญาวิจัยเพ่ือใหเขาถึงปรมัตถสัจ ซึ่งเปน
วิธีการที่จะเขาถึงความจริงท่ีศาสนาทุกศาสนายอมรับกัน เพ่ือที่จะขจัดส่ิงท่ีถือวางมงาย ดังนั้น เทว
วิทยาธรรมชาติหรือเทววิทยาโดยอาศัยเหตุผลซึ่งถือวาเปนสาขาหนึ่งของปรัชญา ถือวาเปนความจรงิ อนั
เปนแกน ของศาสนาท้ังหลายที่นับถอื พระผูเ ปนเจา

๔๔

สรุปทา ยบท

ในปจจุบนั มศี าสตรแ ละวทิ ยาการตา งๆเกดิ ข้นึ มากมาย ดังนั้นแตละศาสตรมีเปาหมายและเนอื้ หาท่ี
แตกตา งกัน แตทวามนั ก็มีความสําพันธกัน สามารถนํามาใชประโยชนซ่ึงกันและกันได เชนวิชาจริยศาสตร
ไดน ําทฤษฏีบางอยา งของจติ วทิ ยามาอา งสนับสนนุ หลักการของตน

ความสัมพันธปรัชญากับศาสตรอื่น ๆ ถือวาเปนสิ่งที่เห็นไดชัดเจน ดังตัวอยางเชน ศาสตรแหง
จริยะที่ไดมีความสัมพันธทางจิตวิทยาเชิงปรัชญาเพราะวาในวิชาจริยศาสตรไดพูดถึงสิ่งดีสิ่งช่ัว ส่ิงควร
กระทําหรือสิง่ ไมควรกระทํา ซ่ึงการจะไดค วามหมายท่ีลึกซ้ืงและเขาถงึ ปญหาของมัน ตองอาศัยการพินจิ พิ
จรณาและการคิดในเชิงปรัชญา และปรัชญาอิสลามเนนใหพิจรณาสัจธรรมของอัลกุรอาน เปนสิง่ ท่ีชวย
สง เสรมิ สตปิ ญ ญาในการศกึ ษาปรากฏการณทางธรรมชาติ และจากการท่ไี ดยอมรับปรัชญาทําใหปรัชญานั้น
ชวยสรางความสมบูรณในศาสตรอื่นๆ ทําใหมนุษยเรียนรูและคนควาสรรพส่ิงตางๆและความล้ีลับของ
ธรรมชาติ จนทําเกิดทฤษฎีตางๆและศาสตรแขนงตางๆข้ึนในเวลาตอมา ดังน้ันปรัชญาถือวาเปนศาสตร
หน่งึ ท่ีมีความสมั พันธกับศาสตรอ ่ืนๆ

ความสัมพันธข องปรัชญากับวิทยาศาสตร ศาสนาและความเชื่อ
ธรรมชาตแิ ละปญ หาเรื่องความสัมพนั ธ
กําเนดิ และพฒั นาการของการแสวงหาความจรงิ ของมนษุ ย เราสามารถแบงเปน ศาสตรสําคัญ ๆ ได
๓ สาย ไดแ ก ปรัชญา ศาสนา และวิทยาศาสตรแขนงตาง ๆ โดยมหี ลกั การเกย่ี วกบั แตละศาสตรวา
๑. แมวา แตละศาสตรตา งมีเปาหมายเหมือนกัน คือ การแสวงหาความจริง แตเปน การมุงสูความ
จริง ในมิติที่ตางกัน (ปรัชญาเนนดานคุณคา/ความหมายของความจริง ศาสนาเนน ความจริงเพื่อมุงสูความ
รอดพน วิทยาศาสตรเ นนความจริงดา นปริมาณ /คุณลกั ษณะ เพื่อการนาํ ไปใชใ นชวี ิตประจําวัน)
๒. แตล ะศาสตรจงึ มคี ําถามตอ ความจริงตามรูปแบบ/ธรรมชาติของตน กลาวคือ แตละศาสตรตาง
มีวิธีการ และมาตรการ มุงสคู วามจริงตามรูปแบบของตน กลาวคอื

๒.๑ ปรัชญา ใหความสําคัญตอ การเขาใจความจริง ดวยการใชเ หตุผล โดยมพี ื้นฐานวา
มนุษยม ีสติปญญา ท่ีสามารถเขา ใจความจรงิ

๒.๒ ศาสนา ใหความสําคัญตอการเผยแสดง/การหย่งั รู ทม่ี นุษยไดรับจากความเปนจริง
สูงสุด (ศาสนาแนวเทวนิยม) หรือการท่ีมนษุ ยบําเพ็ญตนจนบรรลถุ ึงความจริง (ศาสนาแนวอเทวนิยม) โดย
มีพนื้ ฐานบนความเช่ือศรทั ธาตอ ความเปนจริงสูงสุดหรอื ตอ คําสอน/วิธีการขององคศาสดา

๒.๓ วทิ ยาศาสตร ใหความสําคัญตอความจริงที่นาํ ไปใชเ ปนประโยชนตอชีวิตประจําวัน
เพอ่ื การควบคุมและทาํ นายผลท่ีจะเกิดขึ้น บนประสบการณระดับประสาทสมั ผสั ไดแ ก การกําหนดปญ หา

๔๕

การต้ังสมมติฐาน การรวบรวมขอมูล การแยกประเภทและการวิเคราะหขอมูล การประเมินผลและการ
นาํ ไปใช

๓. แตล ะศาสตรต า งยืนยันวาขอมูลที่ตนไดรับ เปนหนทางสูการบรรลถุ ึงความจรงิ อัน เปนความรูท่ี
ถูกตอ ง ตอบสนองธรรมชาติในศาสตรข องตน

๔. ปญหา มีการลว งล้ําการแสวงหาความจริงเกินมิติในกรอบของแตละศาสตร รวมถึงการนํา
วิธกี ารและมาตรการในศาสตรข องตนไปใชก ับศาสตรอ ื่น เชน ปรัชญาเหน็ วาศาสนา ไมคอยมีเหตมุ ีผล มีแต
ความเช่ือ ศาสนาเห็นวาปรัชญาเนนแตเหตุผล จะไดความจริงทั้งครบไดอยางไร วิทยาศาสตรเห็นวา
สามารถนํามาแทนที่ศาสนาและปรัชญาได เปน ตน

จึงตองมีการพิจารณาถึงความสัมพันธของศาสตรตาง ๆ วาเปนอยางไร แตละศาสตรควรมีทาที
อยางไร เพ่ือวา แตล ะศาสตรจะไดไ มนํามาซึ่งความสับสน ความขัดแยงในการแสวงหาความจริงของมนุษย
แตตรงกันขาม ใหแตละศาสตรมีสวนชวยเหลือเก้ือกูลเพ่ือตอบสนองความตองการแสวงหาความจริงของ
ชีวติ และความปรารถนาของมนุษยอยา งสมดุล

๔๖

เอกสารอา งอิงประจาํ บท

ทองหลอ วงษธ รรมา, รศ.,ดร. ปรชั ญาทัว่ ไป. กรุงเทพฯ : สํานกั พิมพโ อเดยี นสโตร, ๒๕๔๙.
บญุ มี แทน แกว, สถาพร มาลีเวชรพงศ และประพัฒน โพธ์ิกลางดอน. ปรัชญาเบื้องตน (ปรัชญา ๑๐๑).

กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พรนิ้ ติ้ง เฮาส, ๒๕๒๙.
พระพทิ ักษณิ คณาธิกร. ปรชั ญา. กรงุ เทพฯ : สาํ นักพมิ พด วงแกว , ๒๕๔๔.
วทิ ย วศิ ทเวทย. ปรชั ญา. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๑๓.
ศรัณย วงศค าํ จนั ทร. ปรัชญาเบอ้ื งตน . กรงุ เทพฯ : อมรการพมิ พ, ม.ป.ป.
อมร โสภณวิเชษฐวงศ, ผูชวยศาสตราจารย. ปรัชญาเบ้ืองตน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง,

๒๕๒๔.
อ อ น ไ ล น จ า ก http://www.crs.mahidol.ac.th/thai/philosophy_currious.htm เ ม่ื อ วั น ที่ ๒ ๕
พฤศจกิ ายน ๒๕๓๙.

บทที่ ๓
ปรชั ญาตะวนั ออก

ความนํา

ปรัชญาตะวันออก หมายถงึ ระบบแหง แนวความคดิ หลักการและความรูตา ง ๆ ทางปรัชญา
ที่เกดิ ข้นึ ในซีกโลกตะวนั ออกทั้งหมด ซึง่ นักปรัชญาเมธเี ชื้อชาติในซกี โลกตะวันออกไดค ิดคนขน้ึ กอ ตงั้
ขน้ึ กอ กําเนิดข้ึน หรอื ต้ังสาํ นักขึ้น และระบบปรชั ญาตะวนั ออกนี้แบง ออกเปน ๒ สายดว ยกันคือ

๑. ปรัชญาอนิ เดยี
๒. ปรัชญาจนี
ปรัชญาท้ังสองสายน้ีปรัชญาอินเดียถือวาเปนสายใหญและสําคัญที่สุดเพราะมีอิทธิพลมาก
แพรขยายไปทั่วดินแดนของซีกโลกตะวันออกทั้งหมด แมกระทัง่ ในดินแดนของประเทศจีน และมี
อทิ ธิพล มีผลตอ การดาํ เนินชวี ิตของชาวจนี ควบคไู ปกบั ปรัชญาจีน

๔๘

๑. ปรชั ญาอนิ เดีย

ปรชั ญาอนิ เดยี หมายถงึ ปรชั ญาทุกสํานกั ทุกระบบทีเ่ กิดขึ้น เจริญข้ึนในอินเดยี ทง้ั หมด โดยมี
นักปรัชญาผูกอต้ังแนวคิด หรือศาสดา เปนชาวอินเดียท้ังในอดีตและปจจุบัน เชน ปรัชญาฮินดู อัน
ไดแก ปรัชญาอนิ เดียยุคพระเวท ปรัชญาอุปนิษทั ปรัชญาภควัทคีตาฯลฯ ปรัชญาพทุ ธ ปรัชญาจาร
วาท ปรชั ญาเชน เปน ตน

๑.๑ การแบงยุคของปรชั ญาอินเดีย
การแบงยุคของปรัชญาอินเดียนั้น นักปรัชญาท้ังหลายไดมีความคิดเห็นไมตรงกันแตเปนที่
ยอมรับกันตามทัศนะของศาสตราจารย ดร.ราธกฤษณัน นักปรัชญาอินเดียสมัยปจจุบัน วาปรัชญา
อินเดียนน้ั แบงออกเปน ๓ ยุคดวยกันคือ๑
๑. ยุคพระเวท (Vedic Period)เร่ิมตั้งแตมีการเกิดมีพระเวทข้ึนตามประวัติระบบแหง
แนวความคดิ ของอินเดยี กาํ หนดระยะเวลาระหวาง ๑,๐๐๐ ปถึง ๑๐๐ ป กอ นพทุ ธกาล
๒. ยุคมหากาพย(Epic Period)เปนยุคแหงการเกิดขึน้ ของพระมหากาพยท่สี ําคัญ ๒ เร่ือง
คือ ๑ รามายนะ และ ๒ มหาภารตะ กําหนดระยะเวลา ๑๐๐ ปกอ นพุทธกาลถงึ พ.ศ ๗๐๐(ยุคนี้เปน
ยุคที่ศาสนาพทุ ธและศาสนาเชนรุง เรืองเปน คแู ขง ของศาสนาพระราหมณ)
๓. ระบบทั้งหก(Period of the Six Systems)เปนยุคแหงการขึ้นของระบบท้งั ๖ แหง
ปรัชญาฮนิ ดู คือ ปรชั ญานยายะปรชั ญาไวเศษิกะ ปรัชญาสางขยะ ปรัชญาโยคะ ปรัชญาปูรวมมี ามสา
และปรัชญาเวทานตะ กําหนดระยะเวลาระหวางพ.ศ ๗๐๐ ลงมายุคน้ีเปนยุคที่ศาสนา
พราหมณ วิวฒั นาการเปน ศาสนาฮนิ ดู
อินเดียคือ ถาจะแบงยุคปรัชญาอินเดียออกเปน ๓ ยุคคือ ๑. ยุคพระเวท ๒. ยุคอุปนิษัท
๓. ยุคระบบท้งั ๖ ตามกําหนดระยะเวลาท่ีแบงขางตน จะทําใหมองเห็นวิวัฒนาการและพัฒนาแหง
แนวความคดิ ทางปรชั ญาของอินเดียไดแจม แจง และชดั เจนยิ่งขนึ้

๑.๒ การแบงสายของปรัชญาอนิ เดยี
ปรัชญาอินเดียแบงออกเปน ๒ สายใหญ ๆ ดวยกนั ตามแนวทางแหง ความเชือ่ ถือ คือ๒

๑. ปรัชญาอินเดยี สายอาสตกิ ะ
๒. ปรชั ญาอินเดยี สายนาสติกะ

๑ คูณ โทขนั ธ, ปรัชญาเบ้ืองตน, (ขอนแกน :ภาควชิ ามนษุ ยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร,
๒๕๒๗), หนา ๑๓๖-๑๓๗.

๒ วโิ รจ นาคชาตรี, รศ, ปรัชญาเบอ้ื งตน, (กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง, ๒๕๕๒), หนา ๕๖.

๔๙

ปรัชญาอนิ เดียสายอาสตกิ ะ หมายถงึ ระบบปรัชญาท่ียอมรับนับถือ และเชื่อถือความมีอยูของ
พระเจาวา พระเจาเปนสิ่งท่ีสูงสุด ยอมรับนับถือความขลัง ความถูกตองสมบูรณและความศกั ดิ์สิทธ์ิ
ของคมั ภีรพระเวท ปรชั ญาสายน้ีก็คือระบบปรัชญาพราหมณ หรือท้ังหมดอันไดแก ปรัชญาอนิ เดียยุค
พระเวท ปรัชญาอุปนิษทั ปรัชญาภควัทคีตา ปรัชญาระบบท้งั ๖ แตที่สําคัญที่สุดไดแ กปรัชญาระบบ
ท้ัง ๖ คอื ๑. ปรชั ญานยายะ ๒. ปรชั ญาไวเศษิกะ ๓. ปรัชญาสางขยะ ๔. ปรัชญาโยคะ ๕. ปรัชญา
ปรู วมีมามสา ๖. ปรัชญาเวทานตะ

ปรัชญาอินเดียสายนาสติกะ หมายถงึ ระบบปรัชญาที่ปฏิเสธพระเจา ปฏิเสธความขลังและ
ความศักด์ิสิทธิ์ของคัมภีรพระเวท เปนระบบปรัชญาทต่ี รงขามกบั สายอาสติกะมีอยู ๓ ระบบดว ยกัน
คือ ๑. ปรัชญาจารวาก ๒. ปรชั ญาเชน ๓. ปรัชญาพทุ ธ

จะอยางไรก็ตามปรัชญาอินเดียทุกระบบลวนแตไดรับอิทธิพลจากคัมภีรพระเวทท้ังสิ้น
กลาวคือ ปรัชญาอนิ เดยี ทุกระบบที่มคี วามเช่ือถือในเร่ืองพระเจาความขลังความศักดิ์สิทธ์ิของคมั ภีร
พระเวท ถือวาไดรับอิทธิพลโดยทางตรง จากคัมภีรพระเวท อันไดแก ปรัชญาอินเดียสายอาสติกะ
สวนปรัชญาอินเดียทุกระบบที่ปฏิเสธไมยอมเชื่อถือในเรื่องพระเจา ความขลัง ความศักด์ิสิทธิ์ของ
คมั ภรี พ ระเวทถอื วาไดรับอิทธิพลโดยทางออมไดแ กปรัชญาอินเดยี สายนาสติกะ

๑.๓ ปรัชญาอินเดียสายอาสติกะ
ปรัชญาอนิ เดียสายอาสติกะ มีระบบปรัชญาท่ีจะตองศกึ ษาดงั ตอ ไปนี้

๑. ปรัชญาอินเดียยคุ พระเวท
ปรัชญาอินเดียยุคพระเวทเร่ิมนับตั้งแตสมัยเริ่มมีพระเวทขึ้นมาซ่ึงเชื่อกันวายุคพระเวทอยู
ระหวาง ๑๐๐๐ ปถงึ ๑๐๐ ปกอ นพทุ ธกาลกอนที่จะเกิดมีพระเวทนั้นคนพื้นเมอื งเดิมของอินเดยี มี
ความเชือ่ ถอื นับถอื และบูชาโลกธาตุทง้ั ๔ คือ ดนิ นํา้ ลม ไฟ รวมทัง้ ตนไม ภูเขา เปน ตน แนวความคิด
และความเชื่อถือมีลักษณะเปน วิญญาณนิยม (Aminism) คือ ถอื วาวิญญาณเปนส่ิงศักด์ิสิทธ์ิท่ีสิง
สถิตอยูในสิ่งที่ตนนับถือ และสามารถใหคุณและโทษแกมนุษยไดแกมนุษยไดจึงไดมีพิธีบูชาเซนไหว
บวงสรวงเพ่อื เอาอกเอาใจวิญญาณมีใหบ นั ดาลสงิ่ ท่ีเปนโทษภยั เกดิ ข้ึนแกตนเอง และในขณะเดียวกนั ก็
มีการบูชาเซน ไหวบวงสรวงเพอื่ ขอและใหไ ดมาสิ่งทีต่ นตอ งการและปรารถนา เมือ่ เวลาผานไปวิญญาณ
ไดรับการยกยองขึ้นเปนเทพเจาคนอินเดียเดิมเชื่อวาไฟเปนทูตของเทพเจา จึงทําการบูชาเซนไหว
บวงสรวงเทพเจาดวยส่งิ ของตา ง ๆ เชน เนื้อสัตวข นมนมเนย เปนตน ดว ยการใสเขา กองไฟโดยเช่ือวา
การบูชาแบบน้ีนอกจากจะแลเห็นวาสิ่งท่ีตนนํามาบูชาถูกไฟเผาผลาญไปหมดทํานองเดียวกันกับเทพ
เจาไดส ังเวยแลวควันไฟทล่ี อยพงุ ขึ้นสูอากาศเบื้องบนยังถอื วาเปนสาสนใหเทพเจาไดร ับรูการกระทํา
ของตนอกี ดวย

๕๐

คัมภรี พระเวท ไดร บั การยอมรบั วา เปน วรรณคดที ีเ่ กา แกท ่ีสุดของอินเดีย พระเวทเปนคัมภีรท่ี
รวบรวมแนวความคิด ความเช่ือ วิธีปฏิบัติรวมทั้งปรัชญาและศาสนาไวในตวั มันเอง ลักษณะเดมิ ของ
พระเวทยเ ปน ศรตุ ิ คอื เปน คัมภีรทไี่ ดร ับฟงสืบตอกนั มา อาจารยไดถา ยทอดใหแกศิษยโดยการเลาและ
จดจํากันมา พวกพราหมณถือวาพระเวทยเกิดข้ึนโดยการรับฟงจากพระพรหมคือพระพรหมเปนผู
ประธานใหโดยผานพวกพราหมณ พระเวทนั้นแบงออกเปน ๔ อยา ง คอื ๓

๑. ฤคเวท มีลักษณะเปน คําฉันทซ่ึงเปน บทรอยกลองสาํ หรับใชส วดสรรเสริญเทพเจาตางๆ
๒. ยชรุ เวท มีลักษณะเปน รอ ยแกว อานไดวา ดวยระเบยี บวธิ ใี นการประกอบพิธีบูชายัญเซน
ไหวบ วงสรวงตา งๆ
๓. สามเวท มลี กั ษณะเปน คาํ ฉนั ทใ ชส ําหรับสวดขับกลอมเทพเจา และใชสวดในพิธีถวายนํ้า
โสมแกพระอินทร
๔. อถรรพเวท ทรี่ วบรวมเวทมนตรคาถาอาคมตางๆ สําหรับใชรายแกเสนียด จัญไร นํา
สวัสดิมงคลมาสตู น และเพ่ือใชท ําลายหรือใหเ กดิ ผลรายแกศ ัตรู
คําวา “เวท” แปลวา “ความรู” เช่ือกันวาในระยะแรกเกิดมีฤคเวทกอน จากน้ันจึงเกิดมเี วท
อื่นๆ ภายหลัง ในสมัยพทุ ธกาลมีเพียง ๓ เวทแรกเทา นั้น เพราะปรากฏคําวา “ไตรเวท” สวนเพศที่
๔ คงเกิดขนึ้ หลังสมยั พุทธกาลแนน อน ไพรเวชแตล ะคัมภรี แ บง ออกเปน ๔ ตอนคือ
๑. หมวดมนั ตะ ใชส าํ หรบั สวดมนตสรรเสริญออนวอนเพ่อื ขอศริ ิมงคลและขจัดภยันอันตราย
ตา ง ๆ มันตระแตละชนดิ เรยี กวา สํหิตา ซึ่งประกอบดว ย
- ฤคสหํ ิตา เปนรอ ยกรองสาํ หรับสวดมนตส รรเสรญิ เทพเจา ที่อยูตามธรรมชาตติ างๆ
- ยชรุ สหํ ิตา เปน รอ ยแกว วา ดวยระเบยี บวธิ ใี นการบวงสรวงตา งๆและระเบยี บปฏิบตั ติ างๆ
- สามสํหิตา เปนบทรอยกรองสําหรับสวดขับกลอมเทพเจาในการบูชายัญและสวดในพิธี
ถวายน้าํ โสมแกพ ระอนิ ทร
-อถรวสํหิตา เปนท่ีรวบรวมบทสวดมนตสรรเสริญสําหรับพธิ ีมงคลและบทสาบแชงหรือขจัด
อนั ตรายสําหรบั พธิ อี วมงคล
๒. หมวดพราหมณะ เปน บทรอยแกวสําหรบั อธิบายขอ ความในพระเวทยใ หชดั เจนย่ิงข้ึน
๓. หมวดอรัญยกะ เปนตาํ ราท่กี ลา วถงึ วิธีการออกไปอยปู า บาํ เพญ็ ตบะเพ่อื ทําใจใหเปนสมาธิ
และปราศจากอารมณต า งๆ
๔. หมวดอปุ นิษทั เปนคมั ภรี ที่เกดิ ขึน้ จากการไดรวบรวมแนวความคิดของพระเวทซึ่งกระจัด
กระจายกนั อยเู ขา เปน หมวดหมเู ดยี วกนั อธิบายความหมายและแนวปฏิบัตใิ นพระเวทใหช ัดเจนย่ิงขน้ึ

๓ ศรัณย วงศค ําจันทร, ปรชั ญาเบื้องตน , (กรงุ เทพฯ : อมรการพมิ พ, ม.ป.ป.), หนา ๓๑.

๕๑

มันตระและพราหมณะแหงพระเวทยรวมกันเรียกอีกอยางหนึ่งวา กรรมภัณฑ (กรรม-กาณ
ฑะ)เพราะวาดว ยการประกอบพิธีกรรมตาง ๆ สวนอรัญญกะและอปุ นิษัท รวมกันเรียกอีกช่ือหน่ึงวา
ญาณกณั ฑ (ชญาณกาณะฑะ) เพราะเปน ตอนท่ีวาดวยความรูในสง่ิ ตางๆ

ปรัชญาอนิ เดยี ยุคพระเวทนี้ถอื วา การสวดมนต การออนวอน การทําพิธีกรรมฯลฯ เปนสิ่งท่ี
สําคัญย่ิง หมายสูงสุดได เพราะการกระทําดังกลาวจะทําใหเทพเจาผูศักด์ิสิทธ์ิตางๆพึงพอใจและ
อาํ นวยผลใหแกผูประกอบพิธีกรรมไดบรรลุจุดหมายของตนตามท่ีปรารถนา ในคัมภีรพระเวทน้ี ไดมี
การแบง คนในสงั คมออกเปน ๔ วรรณะคอื

๑ วรรณะพราหมณ ไดแ กพวกที่ทําหนา ทศ่ี ึกษา ทรงจําและสืบตอ คัมภีรพระเวท
๒.วรรณะกษัตรยิ  ไดแ กพ วกทท่ี ําหนาที่ปกครองบา นเมือง เปน นักรบทําศกึ สงคราม
๓. วรรณะแพศย ไดแ กผ ทู ี่ทาํ หนาท่ีคาขาย เกษตรกรรมและศลิ ปหตั ถกรรมตาง ๆ
๔. วรรณะศทู ร ไดแกพวกท่ีทาํ งานบริการ รับใช เปนกรรมกรท่ีใชแรงงานแบกหามและงาน
อนื่ ๆทีม่ ีลกั ษณะเปนการบริการวรรณะอื่นๆ
ในคัมภีรพระเวท ไดบงชี้ถึงกําเนิดของวรรณะท้ัง ๔ วา “วรรณะพราหมเกดิ จากพระโอษฐ
ของพระบามวรรณะกษัตริยเกิดจากแขนของพราหม วรรรณะแพศย เกิดจากสวนรางกายของพระ
พรหม และวรรณศูทร เกิดจากเทาของพระพรหมวรรณะท้งั ๔ นี้แลว น้ีแลวยัง นี้แลว ยังมีพวกนอก
วรรรณะอกี ซึ่ง จากการแตง งานกันขา มวรรณะเชน กษัตริยก ับพราหมณ กษตั ริยกับศทู ร เปนตน เดก็ ท่ี
เกดิ มากลายเปนพวกนอกวรรณะซ่ึงเรยี กวา จัณฑาล พวกน้ีเปน ท่รี ังเกียจของวรรณะอ่ืน ๆ”

๒. ปรัชญายุคอุปนิษัท
อุปนิษัทเปนตอนสุดทายแหงคัมภีรพระเวท ซึ่งเรียกชื่ออีกอยางหนึ่งวา เวทานตะ คําวา
อปุ นษิ ทั มาจากคาํ วา อปุ , นิ, ษท, อปุ แปลวา ใกล เขา ไปใกล นิ แปลวา ต้งั อกต้ังใจ ษท แปลวา นั่ง
ลง ทําลาย การทําลายใหสูญสิ้น ฉะน้ัน อุปนิษัท จึงแปลวา การน่ังลงใกลอยางตั้งอกต้ังใจ โดยมี
ความหมายวา การนง่ั ลงใกลอ าจารยข องผเู ปน ศิษย เพือ่ รับคาํ สอนอยางต้งั อกตง้ั ใจเกย่ี วกบั เรื่องความ
จรงิ หรือสัจจธรรมที่จะบรรเทาความสงสัย และทําลายอวิชชาของผูเปนศษิ ยใหหมดไป หรือการท่ใี ห
ศษิ ยนั่งลงใกลอาจารยของตนดวยใจภักดี รับรูอันติมสัจจะทําใหหมดส้ินความสงสัยทุกประการแลว
กําจัดความโงเขลาใหหมดส้ิน และตอมาคํานี้ไดหมายถึง คําสอนลึกลับเกี่ยวกับความจริง
หรอื สัจจธรรม๔

๔ สุวัฒน จันทรจํานง, นายแพทย, ความเช่ือของมนุษย เกี่ยวกับปรัชญา และศาสนา, (กรุงเทพฯ :
สขุ ภาพใจ, ๒๕๔๐), หนา ๙๒.

๕๒

อปุ นษิ ัท เรง่ิ เกิดข้นึ ประมาณ ๑๐๐ ป กอนพทุ ธกาลและสิ้นสุดลงในราว พ.ศ. ๗๐๐ อุปนิษทั
ไดพยายามยกยองเชิดชูและประกาศแนวความคดิ แบบเอกเทวนิยม ฉนั้นอุปนิษทั จึงมเี ทพเจาที่ไดรับ
การยกยองเชดิ ชวู าเปนเทพเจาผูยง่ิ ใหญ ผสู รา งโลกและสรรพสง่ิ เพยี งองคเ ดยี ว คือ พระพรหม คําสอน
เร่อื งอุปนษิ ัททส่ี าํ คัญและศังกราจารย(นักปราชญชาวอนิ เดีย) ไดแ ตงและอธบิ ายไวม ี ๑๐ อปุ นิษทั คือ

๑. พฤหทารณั กะ
๒. ฉานโทคยะ
๓. ไอตเรยะ
๔. ไตตตริ ียะ
๕. อศี ะ
๖. เกนะ
๗. กฐะ
๘. ปรศั นะ
๙. มณุ ฑกะ
๑๐. มาณฑูกยะ
ตามคัมภีรอุปนิษทั กลาววา ความรูที่แทจ ริงคือความรูทเ่ี กี่ยวกับอาตมัน หรือพรหมนั เพราะ
การรูจักอาตมัน หรือพรหมันเทาน้ันท่ีจะทําใหบุคคลหลุดพนจากความทุกขทั้งปวงไดและในคัมภีร
มณุ ฑกะอุปนษิ ทั ไดก ลา วไววา ความรูทีค่ วรรแู จง มี ๒ ชนิดคอื
๑. ความรูอยางตํ่า (อปรวิทยา) ไดแกความรูท่ีไดรับจาก ฤคเวท สามเวท อถรรพเวท
พธิ ีกรรม การเรียน เปนตน
๒. ความรูอยา งสูง (ปรวทิ ยา) ไดแ กความรเู ก่ยี วกับพรหมนั อันเปน อมตะ
หลกั คาํ สอนสําคญั ในคัมภีรอปุ นิษทั
๑. เรื่อง อาตมนั อาตมันแรกทีเดยี วหมายถงึ ลมหายใจซึง่ ทําใหชีวิตดํารงอยูไดคือดํารงอยู
ตราบเทาที่มีลมหายใจอยู แตภายหลังความหมายแปลเปลี่ยนไปและหมายถึงความรูสึก จิต วิญญาณ
และเจตภตู ตามทัศนะของอปุ นิษทั อาตมันคอื ตัวตนท่แี ทจ ริง เปนสิ่งสากลยิ่งใหญ และสูงสุด เอกภพ
ดํารงอยูและเคลื่อนไหวอยูในอตั มัน อาตมันอยูเหนือความสงสัยและความขดั แยงทั้งมวล ฯลฯ ดงั น้ัน
จึงสรุปไดวาอัตตามันเปนส่ิงที่ทําใหทุกสิ่งทุกอยางเปนอยูเคล่อื นไหวและดํารงอยูได อาตมันคอื อันติม
สัจจะเปน ความจริงสงู สุด (Ultimate Reality) อาตมันเปนส่ิงทแี่ ทจรงิ ไมมวี นั เปล่ียนแปลง
๒. เรื่อง พรหมัน พรหมนั มาจากคําวา “พรุห” หมายความวา เจริญเตบิ โต,เจริญงอกงาม
และวิวัฒนาการ ในขนั้ แรก พรหมัน หมายถึง การบูชายัญ หรือยัญพธิ ี แตต อมาก็เรียนเปล่ียนเปน
หมายถึง ผูสวดสรรเสริญเทพเจา และทายสุดหมายถึง “ความจริงสูงสุดหรืออันติมสัจจะ ซึ่งได
ววิ ฒั นาการมาเปนโลกและสรรพส่ิงในโลก”

๕๓

คมั ภรี ฉานโทคยะอุปนิษทั กลาววา พรหมันเปนที่เกดิ ของโลก เปนทกี่ ลับคืนสูของโลก เปน
ท่ีอางอิงอาศัยและดํารงอยูของโลก และคัมภีร ไตตติรียะ อุปนิษัทก็กลาววา พรหมันเปนที่เกิดแหง
สรรพส่ิง เปนทอี่ ิงอาศัยอยูแหงสรรพสิ่ง และเปนทีก่ ลับคืนแหงสรรพส่ิงจึงเห็นไดว า พรหมนั หมายถึง
อนั ตมิ สจั จะ พรหมันเปน คาํ น้ีเปน ปฐมเหตขุ องสรรพส่ิง เปนทีอ่ ิงอาศัยอยูดํารงอยู และกลับเขามาของ
สรรพสิ่ง

อุปนิษัท กลาววา พรหมันกอใหเกิดวิวัฒนาการของโลก พรหมันวิวัฒนาการใหเกิดอากาศ
อากาศใหเกิดลม ลมใหเกดิ ไฟ ไฟทําใหเกดิ น้ํา น้ําใหเกิดดิน และดนิ กอใหเกดิ สิ่งมีชีวิตส่ิงตาง ๆ ใน
คัมภีร ไตตติรียะ อปุ นิสัยกลาววา (ชวี ะ) เกิดข้ึน (ตามทฤษฎเี ปลอื ก) ตามลําดบั ๕ ขั้นดงั น้ี

๑. อนั นมยั เปน รา งกาย หรือวัตถุ ซง่ึ สาํ เรจ็ มาจากอาหาร
๒. ปราณมยั เปน ชีวิต หรอื ลมปราณ ซึ่งสาํ เรจ็ เปนส่ิงมชี วี ติ ท้งั หลายทัง้ ปวง
๓. มโนมยั เปนจติ คอื สวนที่สาํ เรจ็ มาจากจิต เชนเปนสัญชาตญาณ เปนความคิด ความดาํ ริ
เปน ตน
๔. วญิ ญาณมยั เปนสมั ปชัญญะ คือชีวะทีส่ ําเรจ็ เปน วญิ ญาณ คอื สว นที่รจู กั คิดและมีเหตผุ ล
๕. อานันทมัย เปนนิรามิสสุข ซ่ึงเปนส่ิงสูงสุด คือชีวะที่สําเร็จเปนความสุข ซ่ึงเปนชีวะ
อนั ดบั สูงสุด เปนอนั ติมสจั จะท่สี มบูรณ
พรหมัน หรือ พรหม แบงออกเปน ๒ ชนิด คือ
๑. อปรพรหม เปนปฐมเหตุของโลก เปนผูสราง ผูรักษา และผูทาํ ลาย เปนเจาของสรรพสิ่ง
สรรพส่ิงอิงอาศัยพรหม (อปรพรหม) และพรหมเปนผูควบคุมสรรพสิ่ง พรหมประมวลสรรพส่ิง
ทงั้ หลายเขาดวยกนั รจู กั ธรรมชาติ แตธ รรมชาติหารจู กั พรหมไม
๒. ปรพรหม เปนความแทจริงที่สุด เปนส่ิงท่ีไมสามารถอธิบายได ไมอาจวัดไดบ รรยายไมได
พูดถึงลกั ษณะทีแ่ ทจ ริงไม เปน พืน้ ฐานของความรูทั้งมวล
โดยสภาวะท่ีแทจริง อาตมัน และพรหมัน เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เพราะคําวา” ผูใดเห็น
อาตมัน หรืออาตมัน ผูนั้นเห็นพรหม รูพรหม ” และ “ตัด ตรัม อสิ” ทานคอื สิ่งนั้นจึงกลาวไดวา
“อาตมนั คอื พรหมัน”
แตพิจารณาคนละแมจึงเรียกชื่อตางกัน มองในแงอัตวิสัย หรือในฐานะผูรูก็เรียกวา อาตมัน และถา
มองในแงวัตถุวิสัย หรือในฐานะท่ีถูกรูกเ็ รียกวา พรหมนั คําสองคําน้ีหมายถึงส่ิงเดียวกัน คือ อนั ติม
สัจจะ หรอื สงิ่ สมบรู ณ (Ultimate Reality or Absolute)
๓. เร่ืองมายา หรืออวทิ ยา ในศเวตาศตวตรอุปนิษัท “พระผูเปนเจามายิน” หมายความวา
พระผูเปนเจา เปนผูมีมายา อนั ไดแก เปนผูมอี ํานาจในการสรางสรรคหรือเนรมิตสิ่งตาง ๆ ขึน้ ไดตาม
ความปรารถนาของตน ดงั นนั้ จงึ เหน็ ไดวา “มายาไดแกทพิ ยอํานาจ” ซง่ึ ทพิ ยอํานาจนี้สามารถบันดาล
สิง่ ตาง ๆ ไดตามปรารถนาของผูใ ช ในคมั ภีรฤคเวทกลาววา ใชมายาจําแลงองคใหม ีรูปรางตาง ๆ สวน

๕๔

ในคัมภีรอุปนิษัทกลาววา พระอิศวรผูเปนพระมหาเทพไดใ ชมายาดลบันดาลใหเกิดโลกขึน้ ทรงสราง
มนษุ ยข น้ึ จากฝุนของโลก แลวทรงหายใจใหชีวาตมันเขาไปสงิ สูอ ยู ในรางกายของมนุษยทที่ รงสรางข้นึ
จะเหน็ ไดวา “มายาทําใหม รี ูปรางเกดิ ขึ้นมาได สิง่ ทีไ่ มม รี ปู ราง ”

ในแงของชีวตมัน Maya เรยี กชอื่ อกี อยา งหนึ่งวา “อวิทยา” (อวิชชา) ไดแกความไมรูอวิทยา
เปนสิ่งที่เหมือนมานปดบังดวงปญหาทําใหชีวตมันไมรูความเปนจริงวา ตนกับพรหมัน (สิ่งสมบูรณ)
นั้น เปนอันหนึ่งอันเดยี วกัน เพราะความไมรู (อวิทยา) นี่เอง เปนเหตใุ หชีวาตมนั ตองเวียนวายตาย
เกดิ อยใู น สงั สารวฏั ไมม ที ี่สนิ้ สุด และในขณะเดยี วกันชีวะสามญั กท็ าํ กรรมดบี างช่วั บาง แลวก็ไดร ับผล
ของกรรมน้ันเปนสขุ บาง เปนทกุ ขบาง หมนุ เวยี นกันไปตามกรรมเมอื่ ใดชีวาตมันเห็นแจง ในความเปน
จรงิ และขจดั อวิชาเสียได เม่ือนั้นกบ็ รรลคุ วามหลุดพน กลับเขาสูความเปน อันเดียวกันกับพรหมนั

๔. เรือ่ งกฎแหงกรรมและการเกดิ ใหม
ในเร่ืองกฎแหงกรรม อุปนิษัทกลาววา กรรมเปนเครื่องปรุงแตงสัตวท ้ังหลายกรรมเปนเคร่ือง
ผูกพันใหม นุษยตอ งเวียนวายตายเกิด มนษุ ยท กุ คนตกอยูในอํานาจของกฎแหงกรรมที่เขาทาํ ไวจะหลีก
หนีไมพน คือทํากรรมใด ไวก็จะไดรับผลแหงกรรมน้ัน แตอาจชาหรือเร็วเทานั้น เร่ืองของกฎแหง
กรรมในปรัชญาอินเดียมีความหมายเปน ๒ นัย คอื
๑. กฎแหง กรรม หมายถงึ กฎแหงธรรมชาติ หรือกฎแหง เหตุและผล หมายความวาทุกส่ิงทุก
อยางเกิดข้นึ เปน ไปดว ยอาํ นาจของเหตปุ จ จัย คือทุกสงิ่ เกิดขึ้น ดาํ รงอยูและเส่ือมสลายไป เพราะมเี หตุ
ใหตอ งเกิดข้ึน ใหดํารงอยูและใหเส่ือมสลายไป ไมวาสิ่งใดเกดิ ข้ึน ดํารงอยูและดับสลายไปอยางลอย
ลอย โดยไมมเี หตุปจจยั
๒ กฎแหงกรรม หมายถงึ กฎแหงศีลธรรม เปนกฎแหงการกระทําของมนุษยโดยมหี ลักอยูวา
ทาํ ดยี อมไดร บั ผลดี ทาํ ชั่วยอ มไดร ับผลชวั่
ในเรื่องการเกิดใหม อุปนิษัทกลาววา เมื่อรางกายน้ีแตกดบั หรือตายไป ชีวาตมันเพอ่ื นออก
จากรางกายเกาไปสูรางกายใหม เหมือนคนเปลี่ยนเส้ือผาชุดเกาออกแลวสวมใสเส้ือผาชุดใหม แต
กอ นทช่ี ีวาตมนั จะออกจากรางเกามันจะตองหารา งใหมใหไดเสียกอน เมือ่ พบรางใหมแลวมันจึงจะท้ิง
รา งเกา ไปและเขา อาศัยในรางใหม รางใหมนั้นจะดหี รือเลวข้นึ อยูก ับกรรมดีหรือกรรมช่ัวท่มี ันเคยทําไว
ในอดีตชาติ ในขณะเดียวกนั ผลแหงการศึกษา รแู ละผลแหง กรรมยอมติดตามชวี าตมัน มาเชนกัน
และการเกดิ ใหมของมนุษยเราน้นั จะยุตหิ รือสิ้นสุดลงเมอ่ื มนุษยเรากําจัดอวิทยา (ความไมรู)
อยา ได เขาถงึ ซงึ่ พรหมนั ซ่ึงเรียกวา บรรลโุ มกษะ

๓. ปรชั ญาภควทั คีตา
คมั ภีรภควัทคีตา เปนสวนหน่ึงของมหากาพย มหาภารตะ เปนคัมภีรทม่ี ีช่ือเสียงท่ีสุดและมี
อิทธิพลตอชีวติ ของชาวอินเดยี มากทีส่ ุด คัมภีรนี้เกดิ ขึน้ เมือ่ ประมาณ ๒๐๐๐ ปกอน คริสตศักราช

๕๕

ภควัทคีตา จากคําวา “ภควา” แปลวา พระผูเปนเจา พระผูโชคดี และ “คีตา” แปลวาเพลง
ในภาษาสนั สกฤต ดังนน้ั แปลวา “เพลงของพระผูเปนเจา” คมั ภีรน ้ีชาวฮนิ ดูไดถ ือวาเปนศรุติ (ศรุติ คอื
คาํ สอนเปนของพระผเู ปน เจาโดยตรง มิใชเ ปน คําสอนมนษุ ยคนใดคนหนึ่งแตงขึ้นหรือประดิษฐขน้ึ ) แต
ถอื วาเปนสัมฤติ ไดแกเร่ืองที่เปนประเพณีนําสืบตอกันมา ยาของภควัทคีตา เนนหนักเร่ืองกรรม ซึ่ง
ต้ังอยบู นชญาณหรอื ความรสู นบั สนุนดวยความภกั ดีที่มตี อพระผเู ปนเจา สูงสดุ คอื พระพรหม

ภควัทคีตา กลาวไวว า อาตมัน (ตวั ตน) เปน สิ่งท่ีอยูยงคงกระพัน เทยี่ งแท ไมมีอะไรทําลายได
ไมมีการเกิด ไมมีการแตกดับ ดํารงอยูตลอดไป ไมเคล่ือนไหว ไมเสื่อมสลายเปนส่ิงดั้งเดิม สิ่งที่ทํา
รายไดคอื รางกาย สวนอตั มนั เปนส่ิงท่ีคงท่ีไมมีอะไรมาทาํ ลายใหแ ตกดับได การเคลือ่ นจากรางเกาท่ี
แตกดับแลวในรางใหมของอาตมัน เปนเสมือนคนเราเปลี่ยนเส้ือผาชุดใหม รางกายของคนเรา
เปลี่ยนแปลงได แตอาตมันไมเปล่ียนแปลง เมือ่ บุคคลแจงในสภาวะที่แทจริงของพรหมัน ประจักษถึง
ความเปนอันหนงึ่ อันเดยี วกนั ระหวางชวี าตมันและพรหมนั เมื่อน้นั กจ็ ะบรรลุโมกษะ

ปรัชญาภควทั คตี า เปน ปรชั ญาท่ปี ระสานความรู กรรมและความภักดีเขาดวยกนั โดยกลาววา
มนุษยเปนสิ่งมีชีวิตท่ีประกอบดวยสติปญญาเจตจํานงและอารมณ สติปญญากอใหเกิดความรู
เจตจํานงกอใหเกิดกรรม และอารมณกอใหเกิดความภักดี บุคคลสามารถเขาถึงโมกษะไดโดยวิธีท่ี
แตกตางกันคอื คนอาจมีโมกษะดวยความรู บางคนเขา ถึงดวยกรรมและบางคนอาจเขาถึงดว ยความ
ภกั ดี คาํ สอนนี้เรียกวา โยคะ ซึง่ มีอยู ๓ อยา งคอื

๑. ชญาณโยคะ หมายถงึ วธิ ีเขาถึงอนั ตมิ สัจจะ ดว ยความรู แกแจง ความจริงวาชีวาตมนั เปน
อันเดียวกันพรหมัน ทผ่ี บู ําเพญ็ เพยี ร (โยค)ี อาศัยความรูเปนแนวทางแหง การเขา ถึง โดยการขจัดกิเลส
ตัณหาใหห มดสนิ้ ไป

๒. กรรมโยคะ หมายถึง การกระทาํ ภควัทคีตา ถอื วาเอกภพ หนูไดดวยการกระทํา กจิ กรรม
ตางๆ ที่มนุษยทําเปนเคร่ืองชวยใหเอกภพดํารงอยูได อุดมคติตองการของภควัทคีตา ก็คือ “การ
ปฏิบัติภารกิจตามหนาที่ดว ยความรูสึกปลอยวาง” หมายถึงการกระทําท่ีไมหวังผลตอบแทนใดๆเลย
ถือวา เปน ท่ที จ่ี ะตอ งกระทํา เปน การกระทําตามหนาท่ที ผ่ี ูกระทาํ มไิ ดหวงั ผลทจี่ ะเกิดขึ้นแกต น

๓. ภักติโยคะ หมายถึงการประกอบความภักดีซ่งึ ไดแกการใหบริการแกพระผูเปนเจา โดยไม
หวังผลตอบแทนและกระทําไปโดยความจงรักภักดีดว ยความบริสุทธ์ิใจดังนั้น ตามนัยนี้ พระผูเปนเจา
เปนผูดงึ ผูทีจ่ งรักภักดตี อพระองคข้นึ จากสงสารสาคร ความจงรักภักดีจึงเปนเหตใุ หบุคคลไดรับความ
ชวยเหลือใหหลุดพนจากความทุกขท้ังปวง ภควัทคีตากลาววา เม่ือความจงรักภักดีมีความสมบูรณ
เตม็ ท่ีแลว บคุ คลที่มคี วามภักดกี ็จะเขา รวมเปน อนั หนึง่ อันเดยี วพระผเู ปนเจา แลวดํารงอยูในฐานะแหง
ความสขุ ทางจิตอนั สูงสุด จากนัน้ ผูเ ปน เจา และผจู งรกั ภกั ดกี จ็ ะปรากฏเปนชีวิตอนั เดียวกัน

๕๖

ตามทศั นะของภควทั คีตา รูหรือชญานะ เปนสิ่งสําคัญท่ีสุด กรรมและความภักดีเปนแตเพียง
การแสดงออกของความรู ถา ปราศจากความรู การหลุดพน การเขาถึงโมกษะ การละความยึดม่ันถือ
ม่นั ในการกระทาํ และการจงรักภักดตี อ พระเจาโดยไมหวงั ผลตอบแทนก็ยอมไมอาจเกดิ มขี ึ้นได

๔. ปรชั ญาอนิ เดยี ยุคระบบทั้ง ๖
ปรชั ญาอนิ เดยี ยคุ ระบบท้ัง ๖ มอี ยู ๖ สาํ นักดวยกันคือ

๑. ปรชั ญานยายะ
๒. ปรชั ญาไวเศษกิ ะ
๓. ปรัชญาสางขยะ
๔. ปรชั ญาโยคะ
๕. ปรัชญปรู วมีมามสา
๖. ปรัชญาเวทานตะ
ซึ่งมีสาระสําคัญทจี่ ะพึงศกึ ษาดงั ตอไปนี้

๑. ปรชั ญานยายะ
ปรัชญานยายะน้ี ฤาษีโคตมะ หรือเคาตมะ หรืออักษะปาทะ เปนผูกอตั้งข้ึน นยายะแปลวา
“การโตแยง” เปนระบบปรัชญาท่ีเนนหนักไปในทางสงเสริมสติปญ ญา การวิเคราะห และการโตแ ยง
เชิงตรรกะวิทยาและญาณวิทยา ปรัชญาระบบน้ีมีชือ่ เรียกอีกหลายช่ือ เชน ตรรกศาสตร ศาสตรแหง
การใชเหตผุ ล ประมาณศาสตร ศาสตรว าดว ยวิธีแสวงหาความรูเหตวุ ทิ ยา วาทวิทยา ศาสตรแหงการ
โตวาทะ และอานวีกสกิ ศี าสตรแหงศกึ ษาอยา งละเอียดถถ่ี ว น
ปรัชญานยายะถอื วา “ความรูเปนสิ่งที่เปดเผยใหปรากฏทั้งผูรู ( Subject) และสิ่งท่ีถูกรู
(object) โดยทตี่ ัวความรูเองไมไดเปนทั้งผูรูและส่ิงที่ถูกรู ความรูทกุ ประเภทเปนสิ่งที่ถกู รูปรากฏตัว
ออกมา (ปรากฏตัวข้นึ ) เหมอื นดวงไฟท่ีสองแสงสวางทาํ ใหวัตถทุ อี่ ยใู นท่มี ดื ปรากฏตวั ขน้ึ
ปรัชญานยายะ กลาววา บอเกิดแหง ความรมู ี ๔ อยา ง คือ
๑. ปรัตยักษะ ( Perception) คือความรูประจักษ ไดแกความรูท่ปี รากฏชัดดวยสายตาของ
เราหรือความรทู เี่ กดิ จากประสบการณตรง
โคตมะ กลาววา “ความรูประจักษไดแก รับรูท่ีปราศจากการผิดพลาด ซึ่งเกิดจากการ
ประจวบกันแหงอายตนะภายในกับอายตนะภายนอก เปนการรับรูที่ไมเก่ียวของดวยส่ือและมี
ความหมายชดั เจน”
ความรูประจักษนี้ เปนความรูที่เกิดโดยผานทางประสาทสัมผัส นยายะกลาววาความรู
ประจักษนี้เกิดข้นึ จากการทอ่ี าตมนั ผสมกับมนัส (จิต) มนัสสัมผัสกับอายตนะภายใน (ตา หู จมูก ล้ิน

๕๗

กาย) อายตนะภายในสัมผัสกบั อายตนะภายนอก (รูป เสียงกล่ิน รส และสิ่งที่ถกู ตอ งดวยกาย) ตาม
ทัศนะนี้การกระทบหรือการสัมผัสระหวางอายตนะภายในเสียกอน และการสัมผัสของมนัสกับ
อายตนะภายในกเ็ กดิ ข้นึ ไมไ ด หากอาตมันไมส ัมผัสกับมนัสกอ น ฉะน้ันการเกดิ ข้ึนของความรูประจักษ
จงึ เรมิ่ สมั ผสั ระหวา ง อาตมัน- มนสั มนสั - อายตนะภายใน อายตนะภายใน - อายตนะภายนอก

นยายะกลา ววา ความรูป ระจกั ษแ บงออกเปน ๒ ชนดิ คือ
๑. เลากิกะ คือความรูในระดบั สามัญ ไดแก การท่ีประสาทสัมผัสรับผัสสะกับสิ่งทเ่ี ปนวิสัย
ตามปกติ เชน ตาเห็นรปู หูไดย นิ เสียง เปนตน เปน ความรูท่ีเกิดจากประสาทสัมผสั
๒. อเลากิกะ คือความรูในระดบั วิสามัญ (ระดับ สูง) ไดแกความรูท่ีเกิดจากปญหาที่ไดรับการ
ฝกฝนหรือประสบการณ เปนความรูท่ีเกดิ ขน้ึ โดยผานทางตัวกลางอยางอื่น ๆ เชนเรามองเห็นมะนาว
และรูสกึ ถงึ รสเปร้ียวของมะนาวนั้น เพราะเรามีประสบการณใ นการกินมะนาวมากอ น การรูซ้งึ ถึงรส
เปร้ียวคลองมะนาวเปนความรอู เลากิกะ
๒. ศัพทะ ไดแก ความรูท่ีเกดิ ขน้ึ จากการศกึ ษาเลาเรียน การไดยินฟงจากการบอกเลาของ
คนอนื่ นยายะ แหลงความรชู นิดน้อี อกเปน ๒ ชนดิ คอื

๑. ไวทิกะ ไดแก ความรูที่ไดรับจากคัมภีรพระเวท เปนความรูท่ีถูกตอง
แนนอนไมมีขอ ผิดพลาด พระเวทเปน ถอยคําของพระผูเปนเจา

๒. ลากกิ ะ ไดแ ก ความรูทไี่ ดร ับจากการบอกเลาของชาวโลกท่ัว ๆ ไป และ
ความรูชนิดน้ีจะถือวาถูกตองก็ตอเมื่อเปนคําพูดของบุคคลท่ีเช่ือถือได และผูฟง และฟงเขาใจ
ความหมายคําพดู น้นั

๓. อนุมาน ไดแ ก ความรูสึกที่เกิดข้ึนจากการหาเหตุผล เปนความรูทตี่ อง
อาศยั ความรูอ นื่ เปน พื้นฐาน อาศยั การถา ยโยงจากส่งิ ท่ีรแู ลวไปยังส่งิ ที่ไมรู หรืออาศัยการต้งั สมมตฐิ าน
แลวสรุปความ นยายะไดกลาววา “การอนุมาน หมายถึงการรับรูอยางหนึ่งท่ีเปนบุพพภาคแหงการ
รับรูอ ีกอยางหนง่ึ เปน ความรูชนิดหา งไกลและโดยออ ม” อนุมานจึงเปนความรูทเี่ กิดขนึ้ มาจากความรู
อีกอยา งหนง่ึ ทม่ี ีอยูมากอ น หรือความรทู ่ีไดรับใหมโดยอาศยั ความรูเกาทมี่ ีอยูแลวเปนพ้นื ฐาน อนุมาน
นี้ วิทยาตะวนั ตกเรยี กวา Syllogism

ลาํ ดบั การเกดิ ความรแู บบอนมุ าน มีขนั้ ตอนดังน้ี
(ปรตฺ ิชญา) ภเู ขามไี ฟ
(เหต)ุ เพราะวา ภูเขามคี วนั
(อุทาหรณ) มีควนั ที่นั้นมไี ฟ เชน เตาไฟ
(อุปมัย) ภเู ขามคี วัน ซ่ึงยอ มจะตองมีไฟ
(นคิ ม) เพราะฉะนั้น ภเู ขามไี ฟ

๕๘

จะเห็นไดวา ความรูชนิดนี้เกิดขึ้นจากความเช่ือมโยงของควัน คือเราเคยเห็นควันที่เตาไฟ

และเห็นวาท่เี ตาไฟมไี ฟดว ย ดังนั้นเม่ือเราเห็นควันทภ่ี ูเขาจึงสรุปไดวา ภูเขาไฟ

หลักการอนุมานน้ี มีลักษณะคลาย Syllogism ของอริสโตเติล เพราะประกอบดวยเทอม

(Term) ๓ เทอมเหมือนกัน คือ เทอมหลัก (สางขยะ) เทอมกลาง (ลงิ คะหรือเหตุ) Syllogism ของ

อริสโตเติลมี ๓ ขัน้ ดงั การเปรียบเทยี บ ดงั น้ี

นยายะ อริสโตเตลิ

๑. ภเู ขามีไฟ ๑. ทใ่ี ดมคี วันทน่ี ัน่ มไี ฟ

๒. เพราะภเู ขามีควนั ๒. ภูเขามีควนั

๓. ทใี่ ดมคี วัน ท่ีนัน่ มไี ฟ เชน เตาไฟ ๓. เพราะฉะน้ันภูเขามีไฟ

๔. ภเู ขามีควนั ซง่ึ ยอ มจะตอ งมไี ฟ

๕. เพราะฉะนัน้ ภเู ขามีไฟ

จากตัวอยา งน้ี ไฟ เปนเทอมหลัก ภเู ขาเปน เทอมรอง และควันเปนเทอมกลาง ดงั น้ัน นยายะ

จึงนิยามวา “ความรูโดยอนุมาน คือ ความรูทเี่ กย่ี วกับการปรากฏอยูของเทอมหลักในเทอมรอง โดย

อาศยั เทอมกลางในเทอมรอง และเทอมกลางน้ันมีความสัมพนั ธอ ยา งแนนอนกบั เทอมหลัก”

๔. อุปมาน ไดแก ความรูท่ีเกิดขึ้นจากการเทียบเคียง การเปรียบเทียบ

สภาวะตั้งแตสองอยางขึ้นไป โดยอาศัยความเกา ความใหม ความแตกตาง เปนตน ความรูชนิดนี้

เก่ียวของกับการอุปมา เปนความรูท่ีเนื่องดวยความสัมพันธระหวางคําพูดและสิ่งท่ีคําพูดนั้นมุง

หมายถงึ และเนื่องดว ยการรูค วามคลายคลึงของสิ่งท่ีมีลักษณะเหมือนกัน เชน นาย ก. ไมเคยเห็นเสือ

มากอนเลย แตทราบจากเพ่ือน ๆ วา เสือมีรูปรางใหญโตกวาแมว เมื่อเขาเขาไปสูปาไดเห็นสัตวที่มี

รูปรางเหมือนแมวและโตกวาแมว เขาจึงสรุปวา สัตวตัวนั้นคือเสือ นี้คือความรูเกิดจากการ

เปรียบเทยี บการอปุ มา

นยายะเปนปรัชญาประเภท พหุปรมาณูนิยม (เช่ือในความมีอยูของปรมาณูแหงธาตุตาง ๆ

จาํ นวนมากมาย) ตรรกสจั นยิ ม (แสวงหาความจริงตามหลักการแหงเหตุผลตามหลักตรรกวิทยา) และ

สจั นิยม (แสวงหาความจริงอยางแทจริงทม่ี เี หตุผล)

ปรัชญานยายะอธิบายเรื่องโลกวา วัตถุ วัตถุปจจัยของสากล ไดแก ปรมาณูของธาตุ ๔ คือ

ดนิ นํ้า ลม ไฟ สวนการกปจจัย (ผูทําการ) ของจักรวาลไดแกพระเจา ปรมาณขู องธาตุทั้ง ๔ เปนส่ิง

อนันต มีปริมาณที่นับไมได และเปนนิรันดร ดํารงอยูตลอดไป สรางข้ึนไมไดและทําลายไมได โลก

เกิดข้ึนจากการทพี่ ระเจาทรงนําเอาปรมาณูของธาตุ ๔ มารวมกันเขาตามสัดสวนทีเ่ หมาะสม ดังนั้น

ตามทัศนะนี้ การเกิดขึ้นของสรรพส่ิงก็คือ การรวมตัวของปรมาณูและการแตกดับก็คือ การแยกตัว

ออกจากกันของปรมาณู

๕๙

ปรัชญานยายะแสดงทัศนะเร่ือง อตั ตา (อาตมัน) วา อตั ตา คือเนื้อสารอยางหน่ึงมีเพียงหน่ึง
สาํ หรบั ทุกคน เปน สงิ่ นิรันดร มีคณุ สมบตั คิ อื รคู วามสขุ ความทุกข เจตนา บาป บุญ และนยายะเช่ือวา
บาป – บุญ เปน ผลกรรมของอาตมัน อาตมันเปนศูนยกลางของสรรพส่ิงเปนส่ิงประณีต ไมสลาย ไมมี
เบ้ืองตนและท่ีสุด อาตมันมีจิตปรากฏอยูตลอดชีวิต การแยกจิตออกจากอาตมันไดก็คือการบรรลุ
โมกษะ

ปรัชญานยายะ ไดแสดงทัศนะเร่ืองพระเจาวาพระเจาทรงเปนผูสราง ผูพิทักษและผูทําลาย
โลก ความภักดตี อ พระเจา เปน ส่งิ จําเปนทจ่ี ะทําใหพระเจาทรงมีเมตตากรุณาดลบันดาลใหผูภักดีไดรับ
ความรูที่ถูกตอ งเกี่ยวกับสิ่งแทจริงหรือสัจธรรม ความรูทถี่ ูกตองจะนําไปสูโมกษะคอื การหลุดพนจาก
ทุกขทั้งปวง

นยายะกลาววา พระเจา นั้นทรงเปนสิ่งสมบรู ณท ถี่ ึงพรอ มดว ยความสมบรู ณ ๖ ประการคอื
๑. ความเปนใหญ
๒. ความมีอาํ นาจ
๓. ความรุงเรอื ง
๔. ความงาม
๕. ความรู
๖. ความมีอิสรภาพ

๒. ปรชั ญาไวเศษิกะ
ปรชั ญาไวเศษิกะนี้ กนาทะ (หรอื อุลูกะ) เปน ผกู อตง้ั และ ไวเศษกิ ะ มาจากคาํ วา “วิเศษ” ซึ่ง
แปลวา วิเศษ เฉพาะหรือแตกตาง หมายถงึ คุณลักษณะเฉพาะตัวของสวนประกอบของสิ่งตา ง ๆ ใน
จักรวาล คุณลักษณะของสิ่งท่ีประกอบกันข้ึนเปนจักรวาลนี้ นยายะถือวามีจํานวนนับประมาณมิได
และแตละสงิ่ มีลักษณะแตกตา งกัน คัมภรี ของปรัชญาไวเศษกิ ะเรยี กช่อื วา “ไวเศษิกสตู ร”
ปรัชญาไวเศษิกะน้ี เปนปรัชญาคูกับปรัชญานยายะ มีจุดมุงหมายเหมือนกันคือการหลุดพน
จากทุกขข องชวี าตมัน และบางแหง เรียกชอ่ื รวมระบบปรชั ญาทัง้ ๒ วา ปรัชญานยายะ-ไวเศษกิ ะ
ปรชั ญาไวเศษิกะมีสาระทจี่ ะตอ งศึกษาดังน้ี
๑. ทฤษฎแี หงความรู ปรัชญาไวเศษิกะ ยอมรับทฤษฎีแหงความรูท้ังหมดของปรัชญานยายะ
และยอ ทฤษฎีนนั้ ลงมาเปน ๒ อยาง คือ

๑. ปรตั ยักษะ (ความรูประจกั ษ)
๒. อนุมาน
โดยรวมเอา ศัพทะ (ความรูท่ีเกิดขน้ึ จากการเลาเรียน ไดยินไดฟง มา) เขากับความรูประจักษ
(ปรัตยกั ษะ) และรวมเอา อุปมาน (ความรูท เี่ กิดข้นึ จากการเปรยี บเทียบ) เขา กับอนมุ าน

๖๐

๒. ปทารถะ
ปรัชญาไวเศษิกะกลาววา สิ่งที่เรารับรูไดดวยประสาทสัมผัสเปนสิ่งท่ีมีอยูจริงและสิ่งที่มีอยู
จริงนัน้ มจี ํานวนมากมายจนนับไมถว น ซึง่ เรียกวา “ปทารถะ” แปลวา “ส่ิงท่ีแสดงใหร ูไดดว ยคาํ พดู ”
แตโดยความแลว ปทารถะ หมายถึงส่ิงทเ่ี รารูไดหรือส่งิ ที่มอี ยูจริงท่รี บั รไู ดทั้งหมด
ปทารถะนนั้ มีอยู ๗ อยา ง คอื

๑. ทรัพยะ (สสาร) ไดแก สิ่งอันเปนมูลฐาน ซึง่ เปนทอ่ี ิงอาศัยอยูของคุณสมบัติและ
อากัปกิริยา ถาขาดสสาร คุณสมบัติและอากัปกิริยาจะมีไมได (แตถาปราศจากคุณสมบัติและ
อากัปกริ ิยาเราก็ไมสามารถรูจักสสารได) ทรัพยะหรือสสารน้ัน มอี ยู ๙ อยางคอื ๑. ดนิ ๒. นํ้า ๓. ลม
๔. ไฟ ๕. อากาศ (อีเธอร) ๖. กาละ (เวลา) ๗. อวกาศ (ท่ีวาง) ๘. อาตมัน และ ๙. มนัสหรือ (จิต)
ทรัพยะเหลานี้เปนอันติมะท่ีไมจํากัดและเปนหนวยที่เล็กที่สุด เมื่อทรัพยะเหลานี้มารวมกันในอัตรา
และสภาวะที่เหมาะสมแลว จะกอใหเกิดการเคลื่อนไหวและสภาวะตา ง ๆ ขน้ึ

๒. คณุ ะ (คณุ สมบัต)ิ ไดแก สิ่งท่ีอิงอาศัยอยูกับสสาร (ทรัพยะ) โดยที่ตัวมันเองไมมี
คณุ สมบัติหรอื กมั มนั ตภาพใด ๆ สสารเปน ส่งิ ท่ีมอี ยูไดดว ยตัวเองและเปนเน้ือสารของส่งิ ตา ง ๆ แตคุณ
จะมีอยูดวยตัวเองไมไ ด อยูไดโดยการอิงอาศัยสสาร คุณะนั้นมีอยู ๒๔ ชนิด คือ ๑. รูป ๒. เสียง ๓.
กล่นิ ๔. รส ๕. สัมผัส ๖. จาํ นวน ๗. ปรมิ าณ ๘. ความแตกตาง ๙. การรวม ๑๐. การแยก ๑๑. ความ
หางไกล ๑๒. ความใกล ๑๓. การรบั รู ๑๔. ความสขุ ๑๕. ความทกุ ข ๑๖. ความปรารถนา ๑๗. ความ
โกรธ ๑๘. ความเพียร ๑๙. ความหนัก ๒๐. ความเหลว ๒๑. ความเหนียว ๒๒. ความโนมเอียง ๒๓.
ความดี และ ๒๔. ความไมด ี

คณุ สมบัติท้ัง ๒๔ ชนิดน้ี เปนคุณสมบัตพิ ้ืนฐาน คณุ สมบัติอื่น ๆ ทน่ี อกเหนือไปจาก
นี้ลวนแตเ ปนคณุ สมบตั ปิ ลยี อ ยของคณุ สมบตั ิเหลา นีท้ ั้งสิน้

๓. กรรมะ (อากปั กิริยา) ไดแก อากัปกริ ิยาของสสาร เปนคุณลักษณะท่ีไมอยูนิ่งของ
สสาร อากัปกริ ิยานี้เปนสาเหตอุ ิสระที่ทาํ ใหเกิดการรวมตัวและการแยกตัวออกจากกันของวัตถุตาง ๆ
กรรมะจึงเปน การเคลื่อนไหวของสสาร เปนพลังผลักดันหรือแรงขับเคลื่อนใหสสารเปลี่ยนสภานะหรือ
สภาวะเปนอยางอ่นื ซ่ึงอากัปกิริยาหรือการเคล่ือนไหวน้ี แบง ออกเปน ๕ อยา ง คือ

๑. การเคลอื่ นไหวขนึ้ ขา งบน
๒. การเคลื่อนไหวลงขา งลา ง
๓. การหดเขา
๔. การขยายออก
๕. การเคลอ่ื นไหวไปในทิศทางตา ง ๆ
๔. สามานยะ (ลักษณะสามญั หรือลักษณะรวม) ไดแ ก ลักษณะรวมของสิ่งตาง ๆ ที่
อยูในประเภทเดียวกนั คอื ลักษณะท่สี าํ คญั เหมือนกันทุกอยางของส่งิ ตา ง ๆ ในประเภทเดยี วกนั เชน

๖๑

สัตวช นดิ หน่งึ เรียกวา โค สัตวชนิดนี้ ไมวาตัวไหน ๆ เล็กหรือใหญก็เรียกวา โค ทงั้ นี้
เพราะมีลักษณะของความเปนโคเหมือนกัน เปนตน ความมีลักษณะรวมนี้ ไวเศษิกะ กลาววาเปน
ลักษณะรวมที่มอี ยูในโคทกุ ตวั (หาใชม ีลักษณะรวมอยภู ายนอกเหมอื นเปลโตไม)

๕. วิเศษะ (ลักษณะเฉพาะ) ไดแก ลักษณะเฉพาะตัวของสิ่งตาง ๆ เปนลักษณะของ
สภาวะอยางหน่ึง ซ่ึงทําใหเห็นวาแตกตางไปจากอีกสภาวะหนึ่ง ทั้งน้ี เพราะทกุ อยางมีสภาวะเฉพาะ
เปนของตนเอง ไวเศษิกะกลาววา ลักษณะเฉพาะของสสารอันติมะแตละหนวยแตกตางกัน ทําให
ปรมาณูของวัตถุอันหนึ่งแตกตางไปจากปรมาณูของวัตถุอีกอันหนึ่งเราจะมองเห็นไดวา สามานยะ
กําหนดสวนรวม สว นวิเศษะกําหนดสวนยอย

๖. สมวายะ (ความแนบเนื่อง) ไดแก ความสัมพันธที่แยกกันไมออกของส่ิง ๒ สิ่ง
เปนความสัมพันธแนบเนื่องชนิดอนุสัย เปนความสัมพันธตลอดกาลของส่ิง ๒ ส่ิงที่แยกจากกันไมได
เปนความสัมพันธท ่สี ิง่ หนง่ึ อาศยั อยใู นสง่ิ หน่งึ เชน ความสัมพันธระหวางคุณสมบัตกิ ับสสาร คณุ สมบัติ
เปน สิ่งแนบเนื่องหรอื อนสุ ัยอยใู นสสารในลักษณะทไ่ี มแยกออกจากกนั ได เชน การกินที่ ขนาด รูปราง
เปนคุณลักษณะท่ีอนุสัยอยูในสสารตลอดไป และแยกออกจากสสารไมได ความเปนวัวในวัวแตละตัว
ความเปนดอกกหุ ลาบในดอกกหุ ลาบแตล ะดอก เปน ตน ความสัมพนั ธทแ่ี นบเน่ืองเชน น้ีคอื สมวายะ

๗. อภาวะ (ความไมมีอย)ู ไดแ ก ความไมมอี ยู ซงึ่ มอี ยู ๔ อยา ง คือ
๑. ความไมมีอยูกอน หมายถึงความไมมีอยูของส่ิงใดส่ิงหนึ่งกอนท่ีมันจะ

เกดิ ข้นึ หรือกอนท่มี ันจะถกู สรา งขนึ้ เชน ความไมม อี ยขู องหมอ นา้ํ เปนตน
๒. ความไมมีอยูภายหลัง หมายถึง ความไมมีของสิ่งใดสิ่งหน่ึงท่ีมันถูก

ทําลายหรอื แตกสลายไปแลว เชน ความไมม ีอยขู องหมอ นํา้ หลงั จากทม่ี นั แตกแลว
๓. ความไมมีอยูในรูปของส่ิงอ่ืน หมายถึงความไมมีอยูของส่ิงใดสิ่งหน่ึงใน

รูปลักษณะของส่งิ อืน่ เชน ความไมม ีดายในเหล็ก เปน ตน
๔. ความไมม อี ยูโดยสว นเดยี ว หมายถงึ ความไมมอี ยขู องส่ิงท่ีเราคิดฝนโดยท่ี

สงิ่ นนั้ ไมเ คยมีอยจู ริง ในอดตี ปจ จุบันและอนาคต เชนความไมมีอยขู องหนวดเตา เขากระตายเปนตน

๓. ปรัชญาสางขยะ
ปรัชญาสางขยะน้ี กปละ เปนผูกอ ต้งั ขึน้ เม่อื ประมาณ ๑๐๐ ปกอ นพุทธกาล และมีผูสืบตอ มา
อกี หลายคน เชน อาสุริยะ ปญจสิขะ และอิศวรกฤษณะ เปนตน อิศวรกฤษณะไดเขียนหลักคําสอน
ของสางขยะขึ้น เรยี กชอ่ื วา “สางขยาการิกา” เปน วรรณกรรมทเ่ี กา แกท ีส่ ดุ ทต่ี กทอดมาถงึ ปจจุบัน
สันนิษฐานกันวา “สางขยะ” มาจากคําวา “สางขยา” ซึ่งแปลวาจํานวน หมายถึงระบบ
ปรัชญาท่ีมุงแสวงหาความรูท่ถี ูกตองเกีย่ วกับสัจภาพโดยการจําแนกวัตถุแหงการรับรูออกเปนจํานวน
ตา ง ๆ มากมาย ถึง ๒๕ ชนดิ ปรัชญาสางขยะมุงที่จะนําหลักธรรมคําสอนมาประยุกตใชปฏิบัติเพื่อให

๖๒

เขาถึงความหลุดพนจากทุกข และปรัชญาสางขยะนี้ เปนปรัชญา “ทวินิยมเชิงสัจนิยม” (Realistic
Dualism) หรือสัจนิยมเชิงทวินิยม (Dualistic Realism) เพราะกลาวถึงสัจภาวะ ๒ อยาง คือ “ปุ
รษุ ะ” และ “ประกฤต”ิ วา เปนมลู เหตุของสรรพสง่ิ ในโลก

๑. ปุรุษะ ปุรุษะ คือ วิญญาณ (อาตมัน) เปนผูรูและเปนพ้ืนฐานแหงความรู เปนส่ิงแทจริง
เปนนิรันดร ไมเปลี่ยนแปลง มีความบริสุทธ์ิและอยูเหนือบาป บุญ คุณ โทษ กาลเทศะและพันธะท้ัง
ปวง ดํารงอยูดวยลําพังตนเอง และอยูเหนือความเปล่ียนแปลง สางขยะกลาววา ปุรุษะน้ันมีจํานวน
มากจนนับไมถ วน และปุรุษะทกุ ตวั มคี ุณสมบัติที่เหมือนกันอยางหน่ึงคือเปนวิญญาณ แตปุรุษะแตละ
ตวั เปนอสิ ระแกก ัน ไมข้ึนอยูตอ กนั เปน อิสระจากปรุ ษุ ะอืน่ ๆ

๒. ประกฤติ ประกฤติ คือมูลฐานแหงสรรพสิ่งในโลก เปนตนเหตุแหงสิ่งอื่น ๆ ในโลก แต
ประกฤตมิ ไิ ดเ กิดจากอะไร เปนสง่ิ ทเ่ี กิดขน้ึ เองและมีอยูเอง เปนส่ิงเท่ียงแทแนนอนไมเปลี่ยนแปลง แต
ส่ิงตาง ๆ ทเ่ี กดิ จากประกฤตินั้น เปน สง่ิ ท่ีไมเ ท่ยี ง มีการเปล่ยี นแปลงอยูเสมอ มีการเกดิ ข้ึน ต้งั อยู และ
แตกสลายไป ประกฤติเปน ตนเคา ของส่ิงที่มวี ญิ ญาณทุกชนดิ เปน ทีร่ วมของโลกแหงวัตถุ สางขยะกลาว
วา ประกฤตปิ ระกอบขึ้นดว ยคณุ ๓ อยาง (เรียกวา ไตรคณุ ) คอื ๑. สัตวะ ๒. รชัส ๓. ตมัส ซึง่ ไตรคุณ
ทั้ง ๓ อยา งนี้ดาํ รงอยูในฐานะท่ีสมดุลกนั กอ ใหเกิดการววิ ัฒนาการเกิดเปน โลกและสรรพส่ิงท้ังหลายใน
โลก ไตรคุณทง้ั ๓ อยางนี้มีอธบิ ายดังนี้

๑. สัตวะ แปลวาความแทจ ริง หรือความมีอยู เปนมูลฐานกอ ใหเกิดความดี ความมี
สุข ความแจมใส ความพอใจ ความเบา ความมีประกายสดใส ความเจิดจาแหงแสงสวาง เปนตน
กลาวกันวา สขี องสตั วะคอื สขี าว

๒. รชสั แปลวา ความเศรา หมอง เปนส่งิ ทก่ี อใหเ กิดการเคลอ่ื นไหว (จลนภาพ) ความ
กระปรี้กระเปรา ความเจ็บปวดและกระวนกระวาย ความโหดรายทารุณของอารมณ เปนตน รชัสนี้
เปน ตวั กระตนุ เรงเรา ใหเ กิดการเคลือ่ นไหวและเปล่ียนแปลงขนึ้ กลา วกนั วาสขี องรชสั คอื สแี ดง

๓. ตมสั แปลวาความมือ เปนมูลฐานแหงความรูสึกเฉย ๆ การปราศจากความรูสึก
สนใจ ความรูส ึกสับสน ความหดหเู ซ่อื งซมึ เหงาหงอย เปน ตน กบาวกนั วาสีของตมัสคอื สีคลาํ้

สัตวะ รชัส และตมสั ท้งั ๓ อยางนี้ มลี ักษณะละเอียดประณีตอยางย่ิงจนเราไมสามารถรูจัก
ตวั มนั ท่แี ทจริงไดโ ดยทางประสาทสัมผสั แตก็สามารถรูไ ดโ ดยการอนุมานถงึ ความมีอยูของมันจากการ
มอี ยขู องสง่ิ ตา ง ๆ ซ่ึงเกิดขนึ้ จากการรวมตัวของสิ่งทั้ง ๓ น้ี และสิ่งทั้ง ๓ นี้เรียกวา คุณะ เพราะถอื วา
เปนสงิ่ ท่ีมคี ณุ สมบัตขิ องตวั เองโดยเฉพาะ และเปน สวนประกอบของประกฤติ

ไตรคุณท้ัง ๓ นี้ มีความเคล่ือนไหวเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ และการเคลื่อนไหวเปล่ียนแปลงนี้
เกิดข้ึนเพราะการท่ีไตรคุณถูกรบกวนใหเกิดการเสียความสมดุล เมื่อเกิดการเสียความสมดุล
ววิ ฒั นาการก็เกิดขนึ้ เร่ือยไปตามวิถที างของมนั แตถาเมือ่ ใด ไตรคุณทั้ง ๓ นี้ อยูในภาวะสมดุล จะไมม ี
การเคลื่อนไหว ซ่ึงเรียกวาอยูในภาวะของประกฤติ จะไมม ีการวิวัฒนาการของประกฤติไปเปนส่ิงตาง

๖๓

ๆ และไตรคณุ นี้มีลักษณะที่ชัดแยงกัน แตก็ไปดวยกันเสมอและตลอดไปเหมือนไสตะเกยี งน้ํามนั และ
ไฟ ซึ่งรวมกนั ก็ทาํ ใหเ กดิ การววิ ฒั นาการของประกฤตกิ ลายเปนโลกและทกุ สิ่งทกุ อยางในโลก

ปุรุษะ และประกฤตินั้น แมจะมคี วามแตกตา งกันอยางมากมายแบบหนามอื เปนหลังมือ แต
ท้ัง ๒ ก็มีความสัมพันธกันอยางแนบแนน ขาดปุรุษะ ประกฤติก็เหมือนคนตาบอด ขาดประกฤติ
ปุรุษะก็เหมือนคนพิการ ปุรุษะตองการประกฤติเพ่ือใหบรรลุจุดหมายปลายทางประกฤติตองการปุ
รุษะเพื่อใหไดร ูไ ดเ หน็ ถา ปรุ ษุ ะปละประกฤติรวมกนั กเ็ ปนการสรางสรรคถาแยกกันกม็ ีแตกระบวนการ
ทาํ ลาย

ทฤษฎวี ฒั นาการแหง ปรัชญาสางขยะ

ซง่ึ มีอธิบายดงั นี้
การวิวัฒนาการในตัวของประกฤติมีอยูแลวโดยธรรมชาติ ซ่ึงเกิดขึ้นเพราะความไมสมดุลกัน
ของไตรคุณ การวิวัฒนาการเกิดขน้ึ เร่ิมตนท่กี ารสั่นสะเทือนทีต่ ัว รชัสกอ น เมื่อรชัสสั่นไหวก็ทําใหสัต
วะและตมัสสั่นไหวไปดวย ในไตรคุณทั้ง ๓ นั้น สัตวะ เปนเคา แหงการคล่ีคลายขยายตวั รชัสเปนตน
เคาแหง การสั่นไหว ตมัสเปน ตนเคา แหงการหยดุ นง่ิ เมือ่ ไตรคุณนีส้ นั่ ไหวแลว วิวฒั นาการของสิ่งตาง ๆ
ก็เกดิ ขึ้น โดยการปรากฏเปน โลกและสิ่งตาง ๆ ออกจากประกฤติ

๖๔

ปรัชญาสางขยะกลาววา การเกิดข้ึนของโลกแหงวัตถุเปนไปโดยมจี ุดมงุ หมายคอื เกิดข้ึนเพื่อ
ความบันเทงิ หรือใหบริการแกปุรุษะ ในระดับประสาทสัมผัสประกฤติใหค วามบันเทิงเริงรมยแกปุรุษะ
ในระดับโมกษะ ประกฤตชิ ว ยใหปรุ ษุ ะมองเห็นความแตกตา งระหวางตนเองและประกฤติ

สิ่งแรกทวี่ วิ ัฒนาการมาจากประกฤติ คือ มหัต (พุทธิ) มหัต แปลวา ส่ิงย่งิ ใหญเ ปนตน ตอแหง
โลกท่ีประกอบข้ึนดว ยสิ่งตาง ๆ ถามองในแงขอจิต วิวัฒนาการนี้เรียกวา พทุ ธิ แปลวา สติปญ ญา ทํา
หนาท่ีในการกอใหเกิดความม่ันใจและการตกลงใจ และทําใหบุคคลมองเห็นความแตกตางระหวาง
ตัวเองกับโลกภายนอก หนาที่อันสําคัญท่ีสุดของพุทธิ คือ “ชวยใหปุรุษะมองเห็นความแตกตาง
ระหวา งตนเองและประกฤติ อนั เปน เหตใุ หปรุ ุษะบรรลุโมกษะ พน จากการทีต่ อ งเวยี นวายตายเกดิ ”

ส่ิงท่ีสองที่วิวัฒนาการออกมาจากประกฤติคือ อหังการ ไดแกความรูสึกวาเปนตัวเปนตน
อหังการทาํ ใหบุคคลสรางความรูสึกวา “เปนตัวเรา” “เปนของเรา” ทาํ ใหรูสึกวาเปนผูกระทํากรรม
เปนผูเสวยผลของกรรม เปนผูไดรับสุขและทกุ ขจ ากผลของกรรม ซงึ่ จัดวาเปนความหลงผิด อันมีผล
ผลักดนั ใหบุคคลทํากรรมตา ง ๆ ตามความคดิ เห็นของตน

อหังการ แบง ออกเปน ๓ ชนดิ คอื
๑. สาตวกิ ะ เมื่อมีลกั ษณะของสัตวะเดน กวาคณุ ะชนิดอืน่
๒. ราชสะ เมื่อมลี กั ษณะของรชสั เดน กวา คุณะชนิดอน่ื
๓. ตามสะ เมอ่ื มลี ักษณะของตมัสเดนกวาคุณะชนิดอืน่
สาตวกิ ะ (ชนดิ ท่ี ๑) ทําใหเกดิ มนัส หรอื ใจและอวัยวะอนื่ ๆ อีก ๑๐ อยาง คอื อวัยวะเพ่ือการรับรู ๕
อยาง ไดแก อวัยวะสําหรับการเห็น, การไดยิน, การไดกล่ิน, การลิ้มรส และการถูกตองสัมผัสและ
อวัยวะเพ่ือการกระทํา ๕ อยาง ไดแก ปาก, มือ, เทา , ทวารหนักและอวัยวะสืบพันธ ตามสะ (ชนิดที่
๓) ทําใหเ กดิ มลู ธาตุพน้ื ฐานอันละเอยี ดออ นท่ีเรียกวา ตนั มาตร ๕ ชนิด คือ
๑. มลู ธาตุพนื้ ฐานแหง เสียง ทําใหเกิดอากาศธาตุ ซ่ึงมเี สยี งเปน คุณสมบัติ
๒. มูลธาตุพ้นื ฐานแหง ผสั สะ ทาํ ใหเ กิดธาตุลม ซึ่งมเี สยี งและผสั สะเปน คุณสมบัติ
๓. มูลธาตพุ น้ื ฐานแหง การเหน็ ทาํ ใหเกดิ ธาตุไฟ ซ่ึงมเี สียง ผัสสะและสเี ปน คุณสมบัติ
๔. มูลธาตุพ้นื ฐานแหง การรูรส ทําใหเ กดิ ธาตุนาํ้ ซ่งึ มเี สียง ผัสสะ สี และรสเปน คณุ สมบัติ
๕. มูลธาตุพื้นฐานแหงการไดกล่ิน ทําใหเกิดธาตุดิน ซึ่งมีเสียง ผัสสะ สี รส และกลิ่นเปน
คณุ สมบตั ิ
ราชสะ (ชนิดที่ ๒) เกี่ยวเน่ืองกับ สาตวิกะและตามสะ ทําหนาท่ีเปนพลังงานใหสัตวะ
และตมัสเปลีย่ นแปลงไดต ามลักษณะแหง การกระทําของตน
เร่อื งโมกษะหรอื ความหลุดพน
ปรัชญาสางขยะมจี ุดมุงหมายอยูท่กี ารสรางปญญา (วิทยา) หรือความรูใหเกิดข้ึนเพือ่ ทําลาย
ลา งเหตุแหง ทกุ ข ปลดเปลื้องปุรษุ ะ (อาตมนั ) ออกจากพนั ธนาการ เพ่ือใหเขา ถงึ โมกษะ สางขยะกลาว

๖๕

วา โดยธรรมชาติแลว ปุรุษะ เปนวิญญาณบริสุทธ์ิ เปนอิสระอยูเหนือกาลเทศะ บาป บุญ การติดของ
และความหลุดพน แตก ารติดของจะเกิดขนึ้ เม่ือ ปุรุษะเกิดความเขาใจผิดเกี่ยวกบั สถานะของตนเอง
คือเกดิ หลงผิดวา ตนเองเปนอันหน่ึงอันเดยี วกันกบั พุทธิ อหังการและมนัส (เพราะเห็นเงาของตนเองท่ี
สะทอนออกมาจากพุทธิ) ซ่ึงเปนส่ิงที่วิวัฒนาการมาจากประกฤติ ปุรุษะที่ถูกหอหุมดวยรางกายนี้
เรียกวา ชีวะ เมือ่ ใดชีวะเกดิ ความเขา ใจท่ถี ูกตองวาจนเองท่แี ทจริงนนั้ คือ ปุรุษะ เมื่อน้ันก็เขา ถึงความ
หลุดพน คือถงึ โมกษะ

๔. ปรัชญาโยคะ
ปรัชญาโยคะนี้ตามประวัติกลาววา “ปตัญชลี” เปนผูกอตั้ง ทานไดเขยี นหนังสือข้ึน เรียกวา
“โยคะสูตร” และตอ มา “วยาส” ไดเขียนอรรถาธิบายโยคะสูตรขึ้นอีก คาํ วา โยคะนี้ใชในความหมาย
หลายอยาง เชน “วิธีการ” หมายถึงการที่จะเขาถึงจุดหมายใด ๆ ไดน้ันข้ึนอยูกับวิธีการ โยคะเปน
วิธกี ารอนั หน่ึงทจ่ี ะนาํ ผูปฏิบัติเขาไปสูจ ุดมงุ หมาย คือการบรรลโุ มกษะ แตโ ดยทวั่ ๆ ไปแลว โยคะใชใ น
ความหมายวา “รวม” คือการรวมเอาอาตมันยอยหรือชีวาตมันเขากับอาตมันสากลหรือปรมาตมัน
ตามความมุงหมายของปตัญชลี โยคะหมายถึง “วิริยะ” คือความพากเพียร คือพากเพียรเพื่อแยก
ปรุ ษุ ะออกเด็ดขาดจากประกฤติ เพ่อื ใหป ุรษุ ะอันเปนวิญญาณบริสทุ ธิเ์ ขา ถงึ สถานะแหงโมกษะ
ปรชั ญาโยคะมจี ุดมุงหมายเพอื่ ชว ยใหมนุษยห ลดุ พนจากความทุกขย าก ๓ ประการ คือ
๑. ความทุกขท ่เี กิดจากเหตุภายใน เชน โรคภัยไขเจ็บ หรือการประพฤติผิด บุคคลตอ งปฏิบัติ
ตามโยคะเพอ่ื ใหเ ขา ถึงความไมย ึดถือโลก โดยไมจําเปนตองแยกตัวออกจากโลก
๒. ความทุกขทเี่ กดิ จากเหตุภายนอก เชน การที่ถกู สัตวรายหรือโจรผูรายคุกคามบุคคลตอง
ปฏิบัติโยคะ โดยการสํารวมจิตใจของตนเองเปน การทําจิตใจใหบ รสิ ุทธ์ิ
๓. ความทุกขอันเกิดจากส่ิงนอกอํานาจหรือเหนือธรรมชาติ เชน ธาตุ หรืออํานาจอนั เลนลับ
ละเอียดออน บุคคลพึงปฏิบัติโยคะโดยการทําสมาธิทําจิตใหสงบ อันเปนจุดหมายแทจริงสูงสุดของ
ปรชั ญาโยคะ
โยคะสตู รท่ีทา นปตญั ชลีแตง นน้ั แบง ออกเปน ๔ ตอน คอื
๑. สมาธบิ าท วา ดว ยองคป ระกอบ ธรรมชาติ และจดุ มงุ หมายของสมาธิ
๒. สาธนาบาท วา ดว ยวธิ ีการปฏบิ ตั ิท่จี ะนําไปสกู ารบรรลุสมาธิ
๓. วภิ ตู บิ าท วาดวยอาํ นาจวิเศษทีจ่ ะพึงบรรลถุ งึ ไดด วยการบาํ เพญ็ โยคะ
๔. ไวกลั ยบาท วา ดวยความหลดุ พน หรอื โมกษะ
ปตญั ชลกี ลาววา โยคะไดแกการยุติพฤติกรรมทั้งมวลของจติ ซง่ึ หมายถึงการทําใหจิตหยุดนิ่ง
ไมสัญจรเรรอนไปอยางไมมีขอบเขต วิธีการทําใหจิตหยุดน่ิงในลักษณะน้ีก็คือการบําเพ็ญสมาธิ ซึ่ง
เรียกอีกอยา งหนง่ึ วา การปฏิบตั โิ ยคะ

๖๖

โยคะ ๘ ประการ
การปฏิบัติโยคะเปนการมุง ฝกอบรมรางกาย ประสาทสัมผัสและจิตใหอยูภายใตการควบคุม
อยา งเขม งวด โดยมโี มกษะ หรือความหลุดพนจากทุกขเ ปนจุดหมายปลายทาง และการปฏิบัตโิ ยคะนี้
เปนการปฏิบัติเพ่อื มงุ ฟอกจิตใหสะอาด ปราศจากกิเลสและอาสวะท้ังปวง จิตที่สะอาดดแี ลวยอมเกิด
ความรูแจงเห็นจริงในสัจธรรม และทําใหปุรุษะเขาถึงความหลุดพนเพ่ือจุดประสงคดังกลาว โยคะได
วางหลกั ปฏบิ ตั ไิ ว ๘ ประการ เรยี กวา “อัษฎางคโยคะ” คือ
๑. ยมะ ไดแ กก ารสํารวมระวังในหลัก ๕ ประการ คือ

๑.๑ อหิงสา ไมเ บียดเบยี นหรอื ประทุษรา ยตอมนษุ ยแ ละสัตวทุกชนิด
๑.๒ สตั ยะ การรกั ษาความสัตยท้ังในการทํา การพูด และการคิด
๑.๓ อัสเตยะ การไมขโมย หรือไมถ ือเอาสิ่งของของผูอ่ืนโดยที่เจาของเขามไิ ดใหแก
ตน
๑.๔ พรหมจริยะ การงดเวนจากการเก่ียวขอ งทางเพศ และควบคุมจิตใจไมใหตกอยู
ในอาํ นาจของความรสู ึกทางเพศ
๑.๕ อปริคหะ การไมโลภ ซึ่งหมายถึง การไมย อมรับสิ่งท่ีไมจําเปนแกการครองชีพ
จากผอู ่นื
๒. นิยมะ ไดแกการฝกอบรมตนเองใหบริสุทธ์ิทั้งภายนอกและภายใน ในภายนอกไดแกการ
ชําระลา งรา งกายของตนเองใหบริสุทธ์ิ และบริโภคอาหารท่ีบริสุทธิ์ปราศจากโทษ สวนในภายใน ไดแก
การควบคุมตนเองและฝก ฝนตนเองใหเ กิดมคี ุณธรรม ๔ ประการ คอื
๒.๑ สนั โดษ การยนิ ดีในปจจยั เลย้ี งชีพตามมีตามได
๒.๒ ตบะ การเขมงวดในการปฏิบัติตามหลักคําสอนของโยคะ และการอดทนตอ
หนาว รอ น หิว กระหาย เปน ตน
๒.๓ สวาธยายะ การตัง้ ใจศกึ ษาและทอ งบน หลกั ธรรมคาํ สอนอยางสมาํ่ เสมอ
๒.๔ อีศวรประณิธาน การเจรญิ สมาธิทําใจใหมงุ มนั่ ตอ พระอศี วรผเู ปนเจา
๓. อาสนะ ไดแ กการควบคุมรางกายใหอ ยูใ นอิรยิ าบถท่สี บาย และเปนประโยชนแกการเจริญ
สมาธิ การศึกษาและการฝกรางกายใหอยูในอริ ิยาบถตามลัทธิโยคะนี้จําเปนตอ งอาศยั ผูมคี วามรูและ
ชาํ นาญ เปนผฝู ก สอนและควบคุม โยคะถือวา จติ ยอ มไมอาจตั้งม่นั ในสมาธิได (ตงั้ ม่ันอยางแนวแน) ถา
รางกายออนแอและมีโรคมาก โยคะจึงวางหลักฝกรางกายใหแข็งแรงไวมากมายหลายแบบ เพ่ือให
อวัยวะสวนตาง ๆ ของรางกายสมบูรณแข็งแรง โดยเฉพาะอยางยิ่งระบบประสาทตองอยูในสภาพท่ี
สมบรู ณ ไมเปนอปุ สรรคตอการเปน สมาธทิ ีแ่ นวแนข องจติ
๔. ปราญายามะ ไดแ กก ารกาํ หนดและควบคุมลมหายใจเขาออก ซง่ึ ประกอบดวยการหายใจ
เขา (แลว หยดุ หายใจครหู น่ึง) และหายใจออก การปฏิบัตนิ ี้ตองอยูภายใตการควบคมุ ของผูชํานาญการ

๖๗

ในเรื่องนี้เปนอยางดี เพราะถาปฏิบัติผิดอาจเปนผลรายแกผูปฏิบัติ โยคี (ผูปฏิบัติโยคะ) ท่ีมีความ
ชํานาญในการควบคุมลมหายใจเขาออก สามารถหยุดลมหายใจไดนาน ๆ ตลอดเวลาท่รี างกายหยุด
หายใจนี้ จติ จะตง้ั ม่นั อยใู นสมาธิอยางไมห ว่ันไหวตลอดเวลา

๕. ปรัตยาหาระ ไดแ กการควบคมุ ประสาทสัมผัส โดยการปดประตูท่มี าของอารมณภายนอก
๕ ทาง คอื ทางตา หู จมูก ลิน้ และกายหรือผวิ หนงั เพง จิตใหจ ดจอ อยูกบั อารมณของสมาธิเพยี งอยาง
เดยี ว

๖. ธารณะ ไดแกการกําหนดจิตใหจดจอแนวแนอยูกับอารมณของสมาธิ (หรืออารมณของ
จิต) อารมณของสมาธิท่ีจิตไปจดจอนั้นอาจเปนสิ่งใดส่ิงหน่ึงนอกกายก็ได เชน ไฟในกองไฟ ดวง
อาทิตย เทวรูป หรือเปนจุดใดจุดหน่ึงในกายกไ็ ด เชน สะดือ ปลายจมูก เปนตน ผูทปี่ ฏิบัตโิ ยคะตอง
ควบคุมจติ ใหแ นวแนอยูกับสงิ่ ใดสิ่งหนึง่ หรือจดุ ใดจุดหนง่ึ ดังกลา วตลอดเวลา ไมวอกแวกซัดสายไปกับ
อารมณอื่นทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ทางประสาทสมั ผัสใด ๆ ในขณะน้ัน เมื่อทาํ ไดดังนีส้ มาธิจติ กจ็ ะเกดิ ขนึ้

๗. ธยานะ ไดแกการที่จิตแนวแนอยูกับส่ิงใดสิ่งหนึ่งหรือจุดใดจุดหน่ึง (ดังในธารณะ) การ
แนวแนของจิตน้ีเปนไปอยางสมํ่าเสมอและปราศจากการหยุดชะงักตลอดเวลาท่ีปฏิบัติสมาธิอยู
เปรียบเหมือนกระแสนํ้าทไ่ี หลเรอ่ื ยในลําธารไมขาดสายไมม สี ่งิ ใดมาสกัดกนั้ ใหข าดสายและหยดุ ไหล

๘. สมาธิ เปนข้ันสุดทายของการปฏิบัติโยคะ หมายถึงการที่จิตด่ืมด่ําในอารมณของสมาธิ
อยางเต็มท่ี ในข้ึนน้ี จิตกับอารมณของจิตไดกลายเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ความรูสึกวาตองเพงหรือ
กาํ ลังเพง จิตไปทจี่ ุดหรือวัตถุอันเปนอารมณของจิตไมมีอยูอีก คงมแี ตส่ิงท่ีเปนอารมณของจิตเทาน้ัน
ลอยเดนเจิดจา อยูในจิต ข้นั นเี้ ปน ข้ันทีค่ วามสัมพนั ธกบั โลกภายนอกทางประสาทสัมผัสของผูปฏิบัตไิ ด
ถูกตัดขาดโดยส้นิ เชิงและเปน ขน้ั ทผ่ี ูปฏิบตั โิ ยคะตอ งผานกอ นท่จี ะบรรลโุ มกษะ

ในหลักปฏิบัติโยคะท้ัง ๘ ประการน้ี ๕ ขอ แรก ถือวาเปนการปฏิบัตภิ ายนอกเรียกวา “พาหิ
รังคะสาธนะ” เปนการปฏิบัติที่มีประโยชนเกื้อกูลแกสมาธิ สวน ๓ ขอหลัง เปนการปฏิบัติภายใน
เรียกวา “จันตรังคะสาธนะ” เปนการปฏิบัติเพื่อสมาธิโดยตรง และในการปฏิบัติโยคะท้ัง ๘ ขอนั้น
การปฏิบัติ ๗ ขอ แรกเปนเพยี งวิธีการ (MEANS) หรือหลักปฏิบัตทิ ่ีสงตอ กนั โดยลําดับเหมอื นการกาว
บันได ๗ ขั้น สวนการปฏิบัตขิ อสุดทาย (ขอท่ี ๘) หรือสมาธิ เปนจุดหมายปลายทาง (END) เหมือน
การกาวผานบนั ได ๗ ข้ันมาแลว ยืนอยบู นบานหรอื พน้ื ปราสาท

ปรัชญาสางขยะและปรชั ญาโยคะ มคี วามสัมพนั ธก นั อยางใกลชิด เปรียบเหมือนดานสองดา น
ของเหรียญอันเดียวกัน คัมภีรภควัทคีตา ไดกลาวถึงระบบทั้งสองนี้เปนระบบเดียวกันและ M.
HIRIYANNA ก็ไดก ลาวเปนระบบเดียวกันในหนังสอื OUTLINE OF INDIAN PHILOSOPHY ปรัชญา
สางขยะเปนภาคทฤษฎี ปรัชญาโยคะเปนภาคปฏิบัตเิ พือ่ ใหไ ดผ ลหรือเกิดผลตามทฤษฎี ปรัชญาโยคะ
ยอมรับหลักปรัชญาของสางขยะเปนสวนใหญ จะแตกตางกันก็ใน เร่ืองของพระเจา กลาวคือตาม
ทศั นะของสางขยะ แรกทีเดียวปรัขญาสางขยะเปนเอกเทวนิยมคือเชื่อถือในความมีอยูของพระเจาผู

๖๘

ยิ่งใหญองคเดียว ตอมาไดรับอิทธิพลจากปรัชญาจารวาก เชน และพุทธ จึงกลายเปนอเทวนิยม แต
ภายหลงั ไดม กี ารรอ้ื ฟน ความคดิ เทวนิยมข้ึนอีกโดยวิชญานภิกษุ เปนตน แตพระเจาในทศั นะนี้แทบไม
มีความหมายเลย เพราะไมมีความหมายเลย เพราะไมกอใหเกดิ ความเปลี่ยนแปลงใด ๆ โดยอํานาจ
ของพระเจา แตการเกดิ ขึ้นและเปน ไปของสรรพส่ิงในโลกมมี ลู เหตุมาจากปุรุษะ และประกฤตเิ ทา น้ัน

ตามทัศนะของโยคะ ปรัชญาโยคะยอมรับในความมอี ยูของพระเจา ท้ังในทางทฤษฎีและทาง
ปฏิบัติ ปตัญชลีมองพระเจาในแงการปฏิบัติอยางเดียว โดยการแสดงความจงรักภักดีตอพระเจา
(อิศวรประณิธาน) เปนส่ิงสําคัญ เพราะเปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติที่จะนําไปสูการหลุดพนได แต
คณาจารยใ นยุคหลงั อธบิ ายตคี วามและพสิ ูจนพระเจาทัง้ ในแงท ฤษฎแี ละปฏิบตั ิ โดยมีทัศนะวาพระเจา
ทรงเปนปุรุษะพิเศษ ท่ีปราศจากขอบกพรอง สมบูรณดวยคุณสมบัติทุกอยาง สถิตอยูทุกแหงหนเปน
สัพพัญูและมีอิทธานุภาพมากมาย ฯลฯ พระเจาเปนผูสมบูรณตลอดกาล และสมบูรณดวยความรู
และอํานาจอันไมมขี อบเขต พระเจาเปนผูบันดาลใหเ กิดการรวมตัวและแยกตัวออกจากกันของปุรุษะ
และประกฤติ ตามทัศนะของโยคะนี้ พระเจามิใชผูสรางโลก แตเปนผูบันดาลใหเกิดการรวมตัวและ
แยกตัวของปุรุษะและประกฤติ พระเจาชวยใหผูปฏิบัติโยคะที่มีความภักดีตอพระองคไดรับความ
สะดวกในการปฏิบตั ธิ รรมและเขา ถงึ โมกษะไดง าย

๕. ปรชั ญามมี ามสา
ปรัชญามีมามสา เรียกอีกช่ือหน่ึงวา “ปูรวมีมามสา” นั้น คําวา “มีมามสา” แปลวา “การ
สอบสวน การพิจารณา” หมายถึงการสอบสวนพิจารณาพระเวท แปลโดยพยัญชนะวา “ความคิดที่
ไดรับการยกยอง” เดิมท่ใี ชสําหรับการอธิลายความแหงพิธีกรรมในพระเวทปจจุบันใชในความหมาย
“การพิจารณาสอบสวนอยางถี่ถวน” ปรัชญาลัทธิน้ีไดใหกฎเกณฑที่เกี่ยวกับการอธิบายความหมาย
แหงขอ กาํ หนดทีก่ ลา วไวในพระเวทและในขณะเดียวกนั ก็ใหค วามสําคัญแกพ ิธีกรรมที่บัญญัตไิ วในพระ
เวทดว ย
ปรัชญามีมามสา เปนปรัชญาท่ีเกี่ยวกับคาํ สอนตอนตนของคัมภีรพระเวท อันไดแกตอนทีว่ า
ดวยมันตระและพราหมณะ อันรียกวา กรรมกัณฑ เพราะเปนคําสอนท่ีเกี่ยวเนื่องกับการกระทํา
เก่ียวกับพิธีกรรมและการบูชายัญ จ่ึงรียกวา บูรวมีมามสา (หรือกรรมมีมามสา) มีมามสา ถือวาพระ
เวทเปน สิ่งท่ีดํารงอยูช่ัวนิรันดร ไมมผี ูแตง มคี วามถกู ตอ งสมบูรณแ ละมีความสําคัญที่สุด พระเวทเปน
คมั ภีรแหง พิธีกรรมท่กี ลา วถงึ ขอปฏบิ ตั ติ าง ๆ จุดมุงหมายของมีมามสาก็คือ การอธิบายคัมภีรพระเวท
และแสดงความคิดทางปรัชญาเพ่อื เสริมสรางพระเวทใหมีหลักฐาน มีความสมเหตุสมผลและนาเชื่อถือ
ยง่ิ ขนึ้ มมี ามสา ไดทาํ การสอบสวนอยางละเอยี ดถี่ถวนเกีย่ วกบั ธรรมชาติและความถูกตอ งแหงความรู
ตลอดจนวิธตี า ง ๆ ที่นาํ ไปสคู วามรทู ถ่ี กู ตอง เพอ่ื มุงถึงความหลดุ พนจากทุกขท ง้ั ปวง
วรรณกรรมชิ้นแรกของมีมามสาไดแก “มีมามสาสตู ร” ซึ่งแตง โดย ไซมินิ สูตรน้ีเร่ิมตนดวย
การแสวงหาขอเท็จจริงเกี่ยวกับธรรมชาติของสิงท่ีเรียกวา “ธรรม” เปนสูตรท่ียาวมาก ตอมา

๖๙

ประภากรและกุมาริลไดแตงอธิบายความในมีมามสาสูตรข้ึนอีกคนละฉบับ ซ่ึงทําใหมีมามสาแตก
ออกเปน ๒ นิกาย และศิษยของทานท้ังสองก็ไดแตงหนังสืออธิบายความในหนังสือ ๒ ฉบับน้ันอีก
มากมายหลายฉบับ

เนอื้ หาสาระสําคัญของมมี ามสา คือการสอบสวนถงึ ธรรมชาติแหงการกระทําท่ีถกู ตอ งซึ่งเรียก
ส้ันๆ วา “ธรรม” หรือมีมามสาพูดถงึ ธรรมเปนสวนใหญ ขอเสนอขัน้ มลู ฐานของมีมามสาคือ “หนาท่ี
หรือการกระทําเปนสาระสําคัญย่งิ ของความเปนมนุษย ถาไมมกี ารกระทําปญญาก็ไมมีผล ถา ไมมีการ
กระทาํ ความสุขกเ็ ปนส่ิงท่ีเปนไปไมไ ด ถา ไมมกี ารกระทําจุดหมายปลายทางของมนุษยกไ็ มมีทางจะทํา
ใหส มบรู ณได” ดงั นัน้ การกระทําท่ีถกู ตอ งซึง่ เรยี กวา “ธรรม” จงึ เปน สิ่งจาํ เปนเบอ้ื งตนของชีวติ

ธรรมไดแ ก “คําสง่ั หรอื บทบัญญัตทิ ี่กําหนดใหมนุษยตองกระทํากรรม” ธรรมเปนสิ่งท่ีมคี วาม
เก่ียวของกับความสุขที่บุคคลจะไดรับ กรรมใดท่ีบุคคลกระทําและสอดคลองกับธรรม กรรมน้ันเปน
กรรมดีจะกอใหเกิดผลเปนความสุขสวนอธรรมมีนัยตรงขาม กรรมที่บุคคลทําลงไปนั้นจะกอใหเกิด
อํานาจลึกลับมองไมเห็นข้นึ ในตวั ของชีวาตมัน และอํานาจลึกลับนี้เปนส่ิงเช่ือมโยงระหวางกรรมและ
ผลแหง กรรม มนั เปนพลังศกั ยะ ทแ่ี ฝงอยูในการกระทําซึ่งเปนเหตใุ หเกดิ ผลขนึ้ ตามควรแกกรรมน้ัน ๆ
มีมามสาไดแบง กรรมออกเปน ๓ อยาง คอื

๑. กรรมทต่ี องทํา เปน กรรมที่จะตองทําโดยสวนเดยี ว การงดเวนไมทําเปน บาป
๒. กรรมท่ที ําก็ไดไมทําก็ได เปนกรรมท่ีจะทําหรือไมทํากไ็ ด การกระทํากรรมกอใหเกดิ บุญ
การไมท ําไมก อใหโทษหรือบาปอะไร
๓. กรรมที่ตองหาม เปนกรรมท่ีหามมิใหกระทํา ถาขนื ทําจะเกิดเปนบาปในตอนแรก มมี าม
สาเช่ือเฉพาะเร่ืองธรรมอยางเดียว จุดประสงคสูงสุดจึงอยูที่สวรรคแตในตอนหลังเชื่อถือเร่ืองของ
โมกษะดวย จุดมุงหมายสุดทายจึงเปนไปเพอื่ ความหลุดพนจากทกุ ข แทนการเขาถึงสวรรค มีมามสา
กลา ววา จุดมุงหมายสูงสุดของมนุษยค อื โมกษะ และสามารถเขา ถึงไดดวยการทาํ ลายกรรมอันเปนเหตุ
ใหเขาถึงนรกและสวรรค ผูแสวงหาโมกษะเอาอยูเหนือบุญหรือบาป อยูเหนือสวรรคเหนือนรก แม
จะตองทําหนาที่ในชีวิตประจําวันก็ตองถือวาทําหนาท่ีเพ่ือหนาที่ ทําทกุ ส่ิงทุกอยางดวยการปลอยวาง
ไมยึดม่ันไมติดใจในผลของหนาที่ และถือวาการทําหนาท่ีดังกลาวเปนการปฏิบัติตามประเวทโดย
สมบูรณ และเปน เหตใุ หบ รรลุโมกษะ
เกี่ยวกับธรรมชาติของความรู มีมามสามีทัศนะวา ความรูทุกอยางมีความสมเหตุสมผลใน
ตัวเอง ความสมเหตุสมผลของความรูเกิดจากเหตุแทจริงท่ีใหเกิดความรูนั้น หรือเกิดจากธรรมชาติ
แทจริงของเหตทุ ี่ใหเกิดความรูน้ัน มิไดเกดิ จากเง่อื นไขพเิ ศษอื่นแตประการใด ปรัชญามมี ามสาไดว าง
เงือ่ นไขของความรทู ่ีสมเหตุสมผลไว ๔ ประการ คอื

๑. ตองไมเ กิดจากเหตุท่ขี ดั แยงกัน
๒. ตอ งไมม ขี อขดั แยง ทางตรรกวิทยา

๗๐

๓. ตองเขาใจส่ิงไมเคยเขาใจมากอน
๔. ตองเปน ตัวแทนของสงิ่ ท้ังหลายไดจ รงิ
ธรรมชาตขิ องความรูแ บงออกเปน ๒ อยา ง คอื
๑. ทฤษฎขี องประภากร เรียกวา “ตรีปตุ ปี รตั ยักษวาทะ” กลาววา ความรเู ปน สงิ่ ที่เปดเผย
และปรากฏตัวของมันเองไดโ ดยไมตองอาศยั สิ่งใดมาชวย แตถึงกระน้ันมันก็ไมเ ทีย่ งมีการเกดิ ข้ึนและ
สญู หายไปได ในขณะทค่ี วามรูเ ปดเผยตวั เองนน้ั มันเปด เผยทัง้ ผรู แู ละส่ิงท่ีถูกรู
๒. ทฤษฎีของกุมาริล เรียกวา “ชญาตตาวาทะ” ความรูนั้นมิไดเปนส่ิงที่เปดเผยตัวเอง แต
เปนสิ่งท่ีเรารูหรือสัมผัสไมได และเราไมสามารถจะรับรูความรูไดโดยตรงและในทีนทีทันใด เราจะ
ทราบความมีอยขู องความรโู ดยการอนมุ านเทานั้น
วิถีแหงการรับรูท ่ีถูกตอ ง ปรัชญามมี ามสาถอื วา ความรูนัน้ เองเปนประมาณะหรือท่ีมาแหง
ความรู มมี ามสา กลา วถึงท่ีมาแหงความรูไว ๖ ประการ คอื
๑. ความรูทีป่ ระจกั ษ
๒. ความรูจ ากการอนุมาน
๓. ความรจู ากการบอกเลา
๔. ความรูจ ากการเปรยี บเทียบ
๕. ความรดู ัชนยี นัย ไดแ กความรูท่เี กิดจากการอา งเหตุผลและมเี งื่อนไข เชน

นาย ก ยังมชี วี ติ อยู
นาย ก ไมอยูบาน
ดงั นัน้ นาย ก ตอ งอยูท่ีใดที่หนงึ่ นอกบา น
๖. ความรูโดยการปฏิเสธหรอื ความรูท ม่ี าจากการไมร ู
ปรัชญามมี ามสา เปนพหุสัจนยิ ม (Pluralistic Realism) ซง่ึ เชื่อในความมอี ยูจริงของโลก
ภายนอกและชวี าตมนั โดยเช่อื วาชวี าตมันมอี ยูเปน จาํ นวนมากมาย เชนเดียวกับรางกาย ซ่ึงเปนท่ีสิง
อยแู หง ชีวาตมันมีจํานวนมากมายเชนกนั มชี วี าตมันที่ถงึ ความหลุดพนแลว อนั ปราศจากรางกายเปน ท่ี
องิ อาศัยอยเู ปนจาํ นวนมาก มีปรมาณูอยูเปน จาํ นวนมากและมสี ารซงึ่ ดํารงอยชู วั่ นริ นั ดรช นดิ อืน่ ๆ
เปนจํานวนมากเชนกนั ปรัชญามมี ามสากลาววา โลกไมม ใี ครสรางและไมม ีแตกสลาย มันจะดาํ รงอยู
อยา งนีต้ ลอดไป ไมม ีกาลไหน ๆ ท่ีสากลจักรวาลจะมลี ักษณะผิดแผกแตกตา งไปจากท่มี นั เปนอยใู น
เวลานี้
ประภากร กลาววา ปทารถะ หรือส่ิงตาง ๆ น้ันมีอยู ๗ อยาง คือ ๑. สสาร (ทรัพยะ) ๒.
คณุ สมบตั ิ (คณุ ะ) ๓. การกระทาํ (กรรมะ) ๔. สากลภาพ (สามานยะ) ๕. อนุสยภาพ (ปรตันตรตา) ๖.
พลงั (ศกั ดิ์) ๗. ความคลายคลึง (สาทฤศยะ)

๗๑

กมุ าริล กลาววา ปทารถะ หรือส่ิงตาง ๆ มีอยู ๕ อยาง คอื ๑. สสาร ๒. คณุ สมบัติ ๓. การ
กระทํา ๔. สากลภาพ และ ๕. การปฏิเสธ (การปฏิเสธมี ๔ อยาง คือ ความไมมีอยูกอน,ความไมมีใน
ภายหลัง,ความไมม ีทเ่ี น่อื งกนั , และความไมม ีโดยเด็ดขาด)

๖. ปรัชญาเวทานตะ
ปรชั ญาเวทานตะนี้ “พาทรายนะ” เปนผูกอ ตั้งข้ึน และเปนผูเรียบรอยคมั ภีร “เวทานะสูตร”
ขนึ้ เวทานตะน้ีมีชื่อเรียกอีกอยางหน่ึงวา “อตุ รมมี ามสา” (หรือ ชญาณมีมามสา) เพราะสอบสวนใน
สวนสุดทาย หรือเบ้ืองปลายของคัมภีรพระเวท ไดแกการสอบสวนพิจารณาอุปนิษัท คําวา
“เวทานตะ” แปลวา “ที่สุดของพระเวท หรอื หมายถึงความรูท่สี ูงสุด” โดยเหตทุ ่ีเวทานตะสอบสวนถงึ
สวนสุดทายของคัมภีรพระเวท (คืออุปนิษัท) จึงตั้งอยูบนพ้ืนฐานแหงปรัชญาอุปนิษัท ซ่ึงถือวาเปน
ทส่ี ดุ แหง พระเวท
ปรชั ญาเวทานตะนี้ไดแ บงออกเปน ๓ กลุมดว ยกนั คอื
๑. อทไวตะ เวทานตะ (Advaita Vadanta) โดยศงั กราจารยเ ปนผูกอตง้ั
๒. วิศษิ ตะ ไวตะ เวทานตะ (Visista Dvaita Vadanta) โดยรามานชุ ะเปนผูกอตั้ง
๓. ทไวตะ เวทานตะ (Dvaita Vadaanta) โดยมทั วะเปนผูกอตง้ั ซง่ึ ทงั้ ๓ กลุมน้ีมอี ธิบาย
ดังนี้
๑. อทไวตะ เวทานตะ
ปรัชญา อทไวตะ เวทานตะนี้ ไดเริ่มเกิดข้ึนในสมัยของ เคาฑปาทะ และไดรับการพัฒนา
เจริญขึ้นแพรหลายจนถึงขีดสุดยอดในสมัยของ ศังกราจารย ศังกราจารยเปนนักปรัชญาฮินดูท่ีมี
ชื่อเสียงท่ีสุด เกดิ ท่ี กาลทิ เมือ่ ค.ศ. ๗๘๘ ถงึ แกกรรมเมอ่ื ค.ศ. ๘๒๐ มีอายุไดเพยี ง ๓๒ ป ปรัชญา
อทไวตะ เวทานตะนี้ ศังกราจารยเปนผูประกาศใหแพรหลาย จึงนิยมเรียกกันวาอทไวตะเวมานตะ
ของศงั กราจารย
วรรณคดที ถ่ี อื วาสําคัญและเปน ท่มี าของอทไวตะ เวทานตะ ไดแก อรรถกถา ๓ เร่อื ง คือ

๑. อรรถกถา อปุ นษิ ัท (ของศังกราจารย)
๒. อรรถกถา ภควัทคตี า และ
๓. อรรถกถา พรหมสูตร (ของพาทรายนะ)
สาระสําคัญของปรัชญาอทไวตะ เวทานตะ ของศงั กราจารยนมี้ ีใจความสําคญั ดังน้ี
๑. ส่งิ แทจรงิ อนั ตมิ ะ (Untimate Reality) มเี พยี งส่ิงเดียวคือ พรหมัน
๒. ในแงแหงความจริงอนั ตมิ ะ โลกมิใชสิ่งท่ีแทจริง โลกเปนเพียงปรากฏการณของ
พรหมันหรือการปรากฏของพรหมัน ดวยอาํ นาจของมายาอนั เปน อาํ นาจที่อนุสัยอยใู นตวั พรหมัน

๗๒

๓. ชีวาตมันถูกยดึ ดว ยความหลงผดิ เพราะอาํ นาจของอวิทยา วาตนเองแตกตางจาก
พรหมนั และเขา ใจผดิ วา พรหมนั เปน โลกแหง ความหลากหลาย (มากมาย)

๔. เมอ่ื วิทยาเกิดขึน้ และทําลายอวิทยาเสยี ได บุคคลยอ มบรรลุโมกษะ
ปรชั ญาอทไวตะ เวทานตะ มีสาระสําคญั ท่ีพงึ ศกึ ษาและทาํ ความเขาใจ ดังนี้
๑. อาตมัน
อาตมัน ตามทัศนะของศังกราจารย อาตมัน (ตัวตน) คือความจริงที่ปรากฏในท่ีทุกหนทุก
แหง เปนตัวตนของสรรพสิ่ง อาตมันมีลักษณะเปนเอกสากล (Universal) และอนันต (Infinite)
อาตมันนี้มิใชตัวตนของปจเจกชน และมิไดหมายถึงสวนรวมของตัวตนเชนกัน ศังกราจารยกลาววา
“อาตมันมใิ ชส่ิงใดส่ิงหน่ึงตามความรูสึกท่ัว ๆ ไปของเราท่ีอาจใชคําพูดอธิบายลักษณะได ทง้ั มิใชวัตถุ
แหการรับรูของเราท่ีเราสามารถรูไดโดยวิธีธรรมดาสามญั อาตมนั เปนสิ่งที่ไมสามารถใชสัญลักษณใด
ๆ มาอธบิ ายได”
ศังกราจารยคน พบวา ความมีอยูอยางแนนอนของตัวตน (อาตมา) เปนพนื้ ฐานแหงความจริง
อื่น ๆท้ังหมด เพราะกอนที่ความจริงเก่ียวกับส่ิงอื่น ๆ จะปรากฏ (หรือมีการรับรู) จะตองมีตัวตน
(อาตมัน) เสียกอน เพราะความจริงหรือความมีอยูของสิ่งอ่ืน ๆ นั้นเปนส่ิงที่รูไดโดยอาตมันหรือรับรู
โดยอาตมัน แตในขณะเดียวกัน ศังกราจารยก็กลาววาเราไมอาจรูจักอาตมันไดโดยการใชความคิด
เพราะตวั ความคดิ เองเปนสิง่ ไมเ ท่ยี ง แตเรารูไดว าตวั ตนหรืออาตมันมีอยูโดยการคาดคะเนหรืออนุมาน
เทานั้น เขากลาววา เราจะรูและเขาใจอาตมันไดอยางถกู ตองโดยการดงึ เอาสิ่งแวดลอม ประสบการณ
ออกไปหมด จะเหลือแตส ่ิงๆ หนึ่งท่ีเปนวิญญาณบริสุทธิ์ มีสถานะในการท่ีจะคิด มคี วามรูสึกรับรูโลก
ภายนอก เปนส่ิงที่เหลืออยูเม่ือรางกายแตกสลายไป เปนสิ่งที่เที่ยงแท ไมแตกดับ ส่ิงนี้คืออาตมัน
ดงั นน้ั อาตมนั จึงไดแ กตัวตนสากลที่เปน พืน้ ฐานแหงสากลยอ ยทั้งหลาย เปนเอกภาพของทกุ ส่งิ
๒. พรหมัน
ปรัชญาอทไวตะ เวทานตะ ของศังกราจารยถือวา อาตมันและพรหมนั เปนสิ่งเดยี วกันคอื เปน
วิญญาณบริสทุ ธ์ิ แตทเี่ รียกชอ่ื เปนสองอยา งเพราะการมองหรอื พูดถึงในแงทีต่ า งกันคอื ถามองจากแงที่
เปนตัวตนซง่ึ เปนแกนกลางของชีวิต เปนตัวผูรูก็เรียกวา อาตมนั แตถามองจากแงท ี่ถูกรูก็เรียกวา พร
หมัน ที่จริงแลวอาตมันและพรหมันเปนสิ่งท่ีดํารงอยูเหนือทวิภาวะของผูรูและส่ิงท่ีถูกรู ทั้งอยูเหนือ
ไตรภาวะของผูรู สิ่งท่ีถูกรูและความรู พรหมันเปนทุกสิ่งและทุกอยางคือพรหมัน พรหมันเปนส่ิง
แทจ รงิ เพียงอยางเดยี ว พรหมนั ดาํ รงอยไู ดโดยภาวะของตนเองไมตองอิงอาศัยเหตุปจจัยใด ๆ เพ่อื การ
ดํารงอยูหรือมีอยู พรหมันเปนพนื้ ฐานของสิ่งที่มีอยู เปนอยูอื่น ๆ ดาํ รงอยูเหนือกาล เวลาและอากาศ
ธรรมชาติขอพรหมันเปนส่ิงที่ไมอาจใชคําพูดบรรยายใหถูกตองได พรหมันเปนสิ่งแทจริง เปนสัต
(Being) เปนจิต (Consciousness) และเปนอานันทะ (Bliss) (ตรงขามกับสภาวะที่เรียกวาทุกข) สัต
จติ และอานันทะ ท้ัง ๓ คาํ น้ชี บ้ี อกลกั ษณะหรอื ภาวะแทจรงิ ของพรหมันไดโ ดยญาณทัศนะเทาน้ัน

๗๓

จึงสรุปไดวา ตามทศั นะของอทไวตะ เวทานตะของศังกราจารย “พรหมนั ” เปนอันหน่ึงอัน
เดียวกบั อาตมัน เปนสิ่งสัมบูรณท ่ีอยูเหนือปรากฏการณธรรมชาติ เปนสิ่งเทยี่ งแทเพยี งสิ่งเดียว ส่ิงท้ัง
ปวงเกิดขึ้น ดํารงอยูและสลายไปในพรหมัน พรหมันเปนมูลการณะ ของทุกส่ิงทุกอยางในจักรวาล
เปนสง่ิ เท่ยี งแทไมเปลย่ี นแปลง ไมอาจใชคาํ พูดอธิบายลักษณะของมนั ไดอยูเหนือกาละและเทศะ เปน
เบอ้ื งตน และที่สุดของสรรพส่งิ

๓. อศี วรและการสรา งโลก
พรหมันตามที่กลาวมาแลวนั้นเปนการมองในแงของส่ิงสัมบูรณ เรียกช่ืออีกอยางหนึ่งวา
ปรพรหม แตถาพูดถึงพรหมันในฐานะเปนพระเจาสูงสุด หรือพระเจาท่ีมีรูปรางตัวตนเหมือนอยาง
มนุษย เรียกวา อปรพรหม หรือ อีศวร (พรหมัน = อนั ตมิ ะสูงสุดไมมรี ูปรางหากแตเปนสภาวะที่เปน
พีชะของสรรพสิ่ง, อีศวร = พระเจาที่มีรูปรางหนาตาเหมือนอยางมนุษย) คัมภีรอุปนิษัทกลาววา
อีศวรเปนปฐมธาตุท่ีทําใหโลกแหงประสบการณของเราเกิดข้ึน สวนตัวอีศวรเองเปนส่ิงท่ีเกิดข้ึนเอง
โดยไมมีเหตุ เปนส่ิงที่เกดิ ขนึ้ เองและดํารงไดดวยตวั เอง ปรัชญาอทไวตะ เวทานตะ ยอมรับคํากลาวน้ี
และถือวา พระอีศวรมีอํานาจในการสรางโลกพรอมอยูในพระองคเอง โดยไมตองอาศัยอะไรมาเปน
เครื่องชว ย พระองคม อี าํ นาจอยใู นตวั จึงเนรมิตพระองคเองเปน ส่ิงตางๆ อีกอยางหนึ่ง ปรัชญาอทไวตะ
เวทานตะ กลาวถงึ การสรางโลกวา การสรางโลกมิไดเปนเจตจํานงของพระอีศวร การเกดิ ข้ึนของโลก
เปนการหลัง่ ไหลคลี่คลายออกมาเองจากธรรมชาติอนั สมบูรณเต็มทีข่ องพระองค เหมอื นนํ้าไหลจากท่ี
สูงลงสูท่ตี ํา่ การเกิดขึ้นของโลกเองจากพระอีศวรเปนไปโดยอตั โนมัติ พระอีศวรมิไดมีเจตนาสรางโลก
แตก ็ยบั ยง้ั ไมใหโลกเกดิ ขน้ึ ไมไ ด
เรื่องอีศวรผูสรางสรรพสิ่งนี้ทําใหมองดคู อนขางจะสับสนพอสมควร เพราะบางแหงยืนยันวา
อศี วรเปน ผูสราง แตบางแหงก็ยืนยันวาเกิดขน้ึ เองโดยธรรมชาติจากอศี วร แตทงั้ หมดกถ็ ือไดวา อีศวร
สรา งอยนู ัน่ เอง
๔. มายา
นักปรัชญากลุม อทไวตะ เวทานตะ มีทัศนะเก่ียวกบั มายาแตกตางกันออกเปน ๒ กลุม คือ
กลมุ ที่ ๑ เหน็ วา มายาและอวิทยาเปนส่ิงเดยี วกนั มีความหมายเหมอื นกนั กลุมนี้รวมถึงศังก
ราจารยดว ย และไดแบงหนา ทข่ี องมายาออกเปน ๒ ชนดิ คือ
๑. อาวรณะ หมายถึงหนาท่ีของมายาหรืออวิทยาในการปกปดหรือซอนสิ่งแทจริงไวทําให
ชีวะไมอ าจมองเห็นพรหมนั ไดตามความจรงิ อาวรณะจงึ เปนแงน ิเสธของมายา
๒. วิกเษปะ หมายถึงหนาที่ในการฉายภาพของพรหมันออกมาใหปรากฏเปนโลกแหงวิวิธ
ภาพ
กลุมที่ ๒ เห็นวา มายากับอวิทยามิใชส่ิงเดียวกัน และมีความหมายตางกัน กลุมน้ีเห็นวา
มายา มีความหมายในแงบวก หรือยืนยัน มายาเปนสิ่งที่ตองขึ้นอยูกับพรหมนั และไมอ าจแยกจากพร

๗๔

หมนั ได มายาทําหนาทเ่ี ปนตัวกลางสะทอ นภาพของพรหมนั สว นอวิทยา มคี วามหมายหนักไปในทาง
ปฏิเสธหรอื ทางลบ โดยเปน ภาวะการขาดความรูใ นสจั ภาพหรือสง่ิ แทจริง

ศงั กราจารยไดแสดงลักษณะของมายาไว ดงั นี้
๑. มายา เปนส่ิงทมี่ ีสภาวะเปนวัตถุ (คลายประกฤติ) และไรสัมปชัญญะ มีลักษณะตรงขาม
กับพรหมซ่ึงเปนสภาวะวิญญาณบริสุทธ์ิ การเปนอยูของมายาตองอาศัยพรหมันไมอาจแยกจากพร
หมันได
๒. มายา เปนอาํ นาจทอี่ นสุ ัยอยใู นพรหมัน มายาทําหนาท่ีเปน สือ่ กลางแหงการปรากฏของพร
หมันเปนโลกแหง พหุภาพ
๓. มายา เปน สิ่งทไ่ี มมเี บื้องตน
๔. มายา เปนสิ่งที่มอี ยู (ภาวรูป) แตไมมใี นลักษณะของสิ่งท่ีแทจริง และทําหนาที่ ๒ อยาง
คือ ในแงล บ มายาทําหนาที่ปกปดหรือซอนเรนสัจภาพหรือสิ่งแทจริงโดยปรากฏเปนประดุจมานก้ัน
กําบงั สง่ิ แทจ ริงน้นั ไว ในแงบ วก มายาทาํ หนา ที่ฉายโลกแหง พหุภาพใหปรากฏข้นึ จากพรหมัน
๕. มายา เปน สิ่งทไ่ี มสามารถนิยามหรอื อธบิ ายดวยคาํ พดู
๖. มายา เปนสง่ิ สมั พัทธ มันเปนเพยี งสิ่งที่ปรากฏมเี ทาน้นั
๗. มายา มีลักษณะปกคลุม (อธั ยาสะ) เปน ความหลงผดิ เชน เหน็ เปลือกหอยเปนแผน เงิน
๘. มายา หรอื อวทิ ยา เปน สิ่งที่ขจัดใหห มดสิ้นไปไดดว ยความรูชอบ
๙. มายา หรืออวทิ ยาสาํ แดงตนใน ๓ ลกั ษณะคือ

๑. เปนความรผู ดิ
๒. เปนความสงสัยในส่งิ แทจรงิ
๓. เปนการขาดความรทู ถี่ ูกตอง
จึงสรุปไดวา มายาและอวิทยาเปนสิ่งเดียวกัน แตเรียกชื่อตางกันเพราะมองคนละแงมุม
กลาวคอื ถามองในแงข องวตั ถุวิสัย เรยี กวา มายา แตถ า มองในแงของอตั ตวสิ ยั เรียกวา อวทิ ยา
๕. โลก
ปรัชญาอทไวตะ เวทานตะ ถอื วา โลกเปน ส่งิ ไมแทจ ริง สง่ิ แทจ ริงมสี ิง่ เดยี วคอื พรหมนั โลกเปน
เพียงปรากฏการณของพรหมัน โดยพรหมันปรากฏผานส่ือกลางคือ มายา ทําใหเห็นโลกแหงความ
หลากหลาย (มากมาย) โลกเปนสิ่งที่มีอยู (สตั ) และไมม ีอยู (อสัต) ที่เปนส่ิงท่ีมีอยู (สัต) เพราะมัน
ปรากฏใหเ ราเห็นวา มีอยูจริงตราบเทาที่อวิทยายงั อยูภายในจิตใจของเราและท่ีเปนสิ่งที่ไมมอี ยู (อสัต)
เพราะมันไมปรากฏเปนสิ่งมีอยูตลอดกาล จะมีอยูจริงจนถึงขณะท่ีความรูยังไมเกิดข้ึนเทานั้น เมื่อ
ความรู (วทิ ยา) เกิดข้นึ โลกแหงปรากฏการณจ ะไมมอี ยูเลยอาจกลาวอกี นัยหนึ่งวา โลกปรากฏวาเปน
สงิ่ ทีม่ อี ยจู รงิ สําหรับชีวะทยี่ งั ไมห ลุดพนจากอาํ นาจครอบงาํ ของอวิทยา ชีวะจะมองเห็นวาโลกเปนโลก

๗๕

จริง ๆ ตราบเทาท่อี วทิ ยายงั มอี ยู แตเมอ่ื ใดอวิทยาถูกขจัดใหหมดส้ินไปดว ยความรูแจงในสัจภาพ เมอ่ื
น้นั ชีวะจะประจกั ษช ัดวา โลกไมเคยมอี ยจู รงิ ทง้ั ในอดตี ปจจบุ ันและอนาคต มแี ตพรหมันเทา น้ัน

๖. โมกษะ
ศังกราจารย กลา ววา โลกแหง ประสบการณท ีป่ รากฏเปนสิ่งตาง ๆ เชน ชีวะสรรพสิ่ง เปนตน
จะปลาสนาการไปเมอื่ บุคคลรูแจงในความเปนเอกภพของพรหมนั และอาตมัน ซงึ่ หมายความวา เม่ือ
บุคคลทําลายความไมร ู (อวิทยา) เสียได เกดิ ความรู (วทิ ยาหรือญาณทศั นะ) แจงเห็นจริงในสรรพส่ิง
และรูว าอาตมันหรอื ตัวตนนั้นเปน อันหน่งึ อนั เดยี วกนั กับพรหมันเมื่อนนั้ บคุ คลก็ถึงการหลุดพน โมกษะ
ปรัชญาอทไวตะ เวทานตะ ท้ังระบบท่ีกลาวมาน้ี พอสรุปยอ ๆ ไดวา “พรหมันและอาตมัน
เปนส่ิงเดียวกัน โลกเปนสิ่งท่ีเกิดขึ้นจากมายา อวิทยาทําใหชีวะหลงผิดคิดวาตนเองแตกตางจากพร
หมนั และเขาใจผดิ วา พรหมันเปน โลกแหงพหภุ าพ เมื่อวิทยาเกดิ ขนึ้ อวิทยายอมสูญส้ินไป ความรูทอี่ ยู
เหนือเหตผุ ล เปนความรโู ดยตรงท่ีประกอบดวยญาณทัศนะในอาตมันเปนความรทู ่ีนาํ ไปสูโมกษะ”

๒. ปรชั ญาวิศิษตะทไวตะ เวทานตะ
ปรัชญาวศิ ิษตะทไวตะ เวทานตะ รามานุชะ เปน ผกู อ ต้งั ทานรามานุชะ เกิดเมือ่ ค.ศ. ๑๐๑๗
ถึงแกกรรมเมื่อ ค.ศ. ๑๑๓๗ รวมอายุได ๑๒๐ ป ทา นไดแตงอรรถกถาพรหมสูตรขึ้นเรียกช่ือวา “ศรี
ทาษยะ”
หลักปรัชญาของรามานุชะ เรียกชื่อวา “วิศิษตะทไวตะ” ซ่ึงแปลวา “เอกัตภาพในนานัต
ภาพ” (Identity in Difference) โดยรามานุชะกลาววา เอกัตภาพตองเปนสิ่งท่ีสืบเนื่องหรือเกี่ยวโยง
กับนานัตภาพเสมอ เอกภาพ (Unity) ก็เปนส่ิงที่มีข้ึนโดย วิวธภาพ (Diversity) ถาวิวธภาพไมมี
เอกภาพกไ็ มมีเชนกัน เรารวู าเอกภาพมีเพราะเราเปรียบเทียบกบั วิวธภาพหรือพหุภาพ (Plurality) เรา
ไมมีทางที่จะรูจ กั หรือเขาใจเอกภาพได ถาไมรูจกั วิวธภาพหรอื พหุภาพเลย
รามานชุ ะ คัดคา นศังกราจารยใ นเรอ่ื ง “พรหมัน” โดยรามานุชะมีความเหน็ วา พรหมันคอื พระ
เจา ทม่ี ตี ัวตน ซึง่ มบี รรดาชีวาตมนั และสสารประกอบขน้ึ เปนรางกายของพระองคและมีทศั นะเกย่ี วกบั
อาตมันหรือชีวาตมันวา ชีวาตมัน(อาตมัน) เปนส่ิงท่ีมตี ัวตน มีอยูจริงชีวาตมันอยูภายใตก ารความคุม
ของพระเจา และมีอยูในฐานะเปนเรือนกายของพระเจา ชีวาตมันมีสภาพเปนปรมาณู การบรรลุ
โมกษะของชีวาตมัน เปน การเขา ถึงสภาวะท่ีคลา ยคลงึ กบั พระเจา และรูแจง สภาวะที่เปนของตนเองวา
“เปน สวนหนงึ่ แหง รา งกายของพระเจา”
รามานชุ ะ กลา ววา ส่ิงสัมบรู ณเ ปนเอกภาพท่เี กิดจากพหภุ าพ เปนสวนรวมท่ีเกิดจากสวนยอย
พระเจาหรือส่ิงสัมบูรณเ ปนสวนรวมท่ีเก่ยี วเนื่องถงึ กับสวนยอย ทรงเปนผูครอบงาํ และควบคมุ สิ่งตาง
ๆ จากภายใน เปนส่ิงแทจริงสูงสุดท่ีรวมเอาวัตถุละชีวาตมันท้ังหมดไวดวยกนั รามานุชะกลาววา สิ่ง
แทจรงิ สงู สุด (อนั ตมิ ะ) มอี ยู ๓ อยา งคือ

๗๖

๑. สสารหรือวัตถุ
๒. ชวี าตมนั
๓. พระเจา
ส่ิงทั้ง ๓ นี้ มีความเสมอกันและเปนจริงเทา กัน แตสสารและชีวาตมันเปนส่ิงที่ตองขึ้นอยูกบั พระเจา
โดยสภาพของตนเองแลว สสารและชีวาตมันเปนส่ิงที่เปนจริงและมีคุณสมบัติเปนของตนเอง แตใน
สภาวะท่ีเก่ียวของกับพระเจา ทั้งสองส่ิงน้ันเปนคุณลักษณะของพระองค พระเจาดํารงอยูในฐานะ
วิญญาณของสสารและชีวาตมัน ในลักษณะที่สัมพันธกับรางกาย (สสาร) ชีวาตมันเปนวิญญาณของ
รางกาย และในลักษณะท่ีสัมพันธกับพระเจา รางกายและวิญญาณ (ชีวาตมนั ) เปนวิญญาณของพระ
เจา
รามานุชะ กลาววาสสารและชีวาตมันเปนคุณสมบัติและคุณลักษณะของพระเจา พระองค
เปนสวนรวม สสารและชีวาตมันเปนสวนยอย สสารและชีวาตมันเปนสิ่งนิรันดรรวมกับพระเจา พระ
เจาดํารงอยูในฐานะแหงวิญญาณของสสารและชีวาตมัน แตทั้งสองส่ิงนี้ก็มิไดอยูภายนอกพระองค
พระองคเ ปนทงั้ การกปจจยั และวตั ถปุ จ จัยของโลก
ทฤษฎีของรามานุชะ เปนทฤษฎีไตรภาคีเอกานุภาพ (Triune Unity) เพราะเขาถือวาสิ่ง
แทจริงอันตมิ ะมีอยู ๓ อยาง คอื สสาร ชีวาตมัน และพระเจาและส่ิงแทจริงท้ัง ๓ อยางน้ีรวมกันเขา
เปน ส่ิงเดียวกนั
พระเจา หรอื พรหมนั
พระเจา หรือพรหมันเปนพระเจาท่ีมตี ัวตน และในขณะเดยี วกันกเ็ ปนส่ิงสัมบูรณหรือสูงสุดใน
จักรวาล พระองคเปนผูสมลบูรณสงู สดุ ทรงเปนสัพพัญู เสวยสุขแหงโมกษะอยูช่ัวนิรันดรกาล ทรงมี
พระกายทิพย ทรงเปนผูสราง ผูพิทักษและทําลายสากลลจักรวาล และเพ่ือที่จะชวยเหลือผู
สกั การะบูชาและภกั ดตี อพระองค พระเจา ทรงสําแดงพระองคออกมา ๕ ภาค คอื
ภาคท่ี ๑ สําแดงพระองคเปนวิญญาณแหงสากลจักรวาล ซ่งึ เรียกวา “อันตรยามี” เปนผู
ควบคมุ ความเปน ไปของสากลจักรวาลจากภายใน
ภาคท่ี ๒ สาํ แดงพระองคเปน พระเจาสงู สดุ เรียกวา “นารายณ” หรือ ปรวาสุเทพ
ภาคที่ ๓ ในฐานะแหง พระผูสราง ผูพ ิทักษและผูทําลายสากลจักรวาล ทรงสาํ แดงพระองคใน
๔ ลกั ษณะ เรยี กวา วยูหะ คอื

วยูหะท่ี ๑ สําแดงพระองคเปนพระเจานามวา วาสุเทพ (วาสุเทพนี้เปนภาคสําแดงของปร
วาสเุ ทพ)

วยูหะที่ ๒ สําแดงพระองคเปนผูควบคุมความรูของชีวาตมันและเปนผูทําลายสกกล
จกั รวาล (เรียกวา สงั กรษณะ)

๗๗

วยูหะท่ี ๓ สําแดงพระองคเปนผูควบคุมอารมณของชีวาตมันและในฐานะผูสรางสากล
จกั รวาล (เรียกวา ปรัทยุมนะ)

วยูหะท่ี ๔ สําแดงพระองคเปนผูควบคุมตง้ั ใจของชีวาตมนั และเปนผูพิทักษสากลจักรวาล
(เรยี กวา อนริ ทุ ธะ)

ภาคท่ี ๔ สําแดงพระองคเสดจ็ ลงมาถือกาํ เนดิ ในโลกนี้ เปน มนุษยบ าง เปนสัตวบาง ตามควร
แกเหตุการณ ภาคน้ีเรียกวา วิภวะหรืออวตาร การอวตารลงมาเกิดในโลกมนุษยมีจุดประสงคเพื่อ
พทิ กั ษธ รรม และขจัดอธรรมในหมูมนุษยใ หส ิ้นไป ภาคอวตารมี ๒ ลกั ษณะ คอื

๑. พระเจา เสด็จลงมาถือกาํ เนิดเอง เชน ศรีกฤษณะ พระราม เปน ตน
๒. ชีวาตมัน ไดรับการดลบันดาลใจจากพระเจา เชน พระศิวะ พระพุทธเจา เปนตน ผุ
ปรารถนาความกลุดพน พงึ บูชาเฉพาะภาคทอ่ี วตารจากพระเจา เทา นั้น
ภาคท่ี ๕ สําแดงพระองคเปนรูปบูชาในเทวาลัยตาง ๆ ทั้งนี้เพ่ือใหผูเลื่อมใสและภักดีใน
พระองคไดม โี อกาสปรนนิบัตบิ ูชา
ชีวาตมนั
เร่ือง ชีวาตมัน ตามทัศนะของรามานุชะถือวา ชีวาตมันเปนส่ิงแทจริงอันตมิ ะ เปนจิตสสารที่
อยูเหนือการสรางและการทําลาย เปนนิรันดรท่ีไมมีเบ้ืองตนและที่สุด ไมมีการเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้น
และแตกดับ เปนส่ิงที่มีขอบเขตจํากดั เปนส่ิงเฉพาะและเปนสวนหน่ึงแหงรางกายของพระเจา ชีวาต
มนั เปนอณทู ่ีเล็กมากจนไมอาจมองเห็นหรือสัมผัสได และจะทองเท่ียวเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏ
เพราะการสําคัญผิดคิดวาตนเปนอันหนึ่งอันเดียวกับรางกาย ความสําคัญผิดนี้เกิดขึ้นเพราะอํานาจ
ของอวิทยาและกรรม ชีวาตมันเปนสวนยอยท่ีขึ้นอยูกับสวนรวม คือ พรหมัน ชีวาตมันเปนรางกาย
พระเจาเปน วญิ ญาณ ชีวาตมนั ถูกควาบคุมโดยพรหมนั ตลอดกาล
รามานุชะแบง ชวี าตมนั ออกเปน ๓ ประเภท คอื
๑. ชีวาตมนั ทห่ี ลดุ พน ตลอดกาล เปนชวี าตมนั ท่ไี มม กี ารติดของเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏ
และเปน อิสระจากอํานาจของกรรม อาศัยอยูใน ไวกูณฐ คอยบริการรบั ใชพระเจาอยูต ลอดเวลา
๒. ชีวาตมัน ท่หี ลุดพนโดยการบรรลุโมกษะ ไดแกชีวาตมนั ที่เคยติดของเวียนวายตายเกดิ มา
กอ น แตอาศัยความพากเพียรพยายาม ความรูและความภักดี ตอพระเจาจึงสามารถทําตนใหเขาถึง
โมกษะได
๓. ชีวาตมันทเ่ี คยตดิ ของเวียนวายตายเกิดอยูในสังสารวัฏ ไดแกชีวาตมันท่ีตกอยูในอาํ นาจ
ของวทิ ยา และอกุศลกรรมแตมโี อกาสบรรลโุ มกษะได ถามีความพยายามทีช่ อบและมีความรูทถี่ กู ตอ ง
โมกษะ
เรื่องโมกษะ ตามทัศนะของมารานุชะ ถือวา ชีวาตมันทงั้ หลายตอ งติดของเวียนวายตายเกิด
ในสังสารวัฏเพราะอํานาจของความโงเขลา (อวิทยา) และกรรม (อกุศลกรรม) ดังนั้น ชีวาตมันจึง

๗๘

จาํ เปน ตอ งขจัดอวิทยาละอกุศลกรรมไปใหหมด โดยความรูชอบและการกระทําท่ีชอบที่จะไมส งผลให
ตอ งไมเ วียนวายตายเกดิ อักตอไป นน่ั คือการบรรลโุ มกษะ

ความรูช อบเปนสาเหตโุ ดยตรงแหง การถงึ โมกษะ ความรูชอบน้ีหมายถึงความรูทีแ่ ทจริงไดแ ก
ความภักดสี งู สดุ ตอพระเจา โดยการยอมมอบกายถวายชีวิตท้ังหมดแกพระเจา มคี วามจงรักภักดีอยาง
มน่ั คงและระลึกถงึ พระเจาอยูต ลอดเวลามสว นการกระทําท่ีชอบทีเ่ ปนเหตใุ หเกิดความรูชอบนั้น ไดแก
การศกึ ษาใหม ีความรคู วามเขาใจอยา งแจมแจง ในปูรวมีมามสาและอุตรมมี ามสา (เวทานตะ)

โมกษะ หมายถงึ การรูแจงของชีวาตมันเกีย่ วกบั สภาพแทจริงของตนเองวาเปนสวนประกอบ
ของรายกายของพระเจา ความรูแจง น้ีทาํ ใหเกดิ ผล ๒ ประการ คอื

๑. การทาํ ลายอาํ นาจของกรรมใหหมดสิ้นไปโดยสิน้ เชิง อนั เปน เหตใุ หชวี าตมันมคี วามบริสุทธ
ในภายใน

๒. ทําใหไดรับความกรุณาจากพระเจา ซง่ี พระองคจะทรงบันดาลใหเกิดความรูแจงเกย่ี วกับ
พระองค

๓. ปรัชญาทไวตะ เวทานตะ

ปรัชญาทไวตะ เวทานตะน้ี มัททวะเปนผูกอต้ัง มัททวะเกิดที่หมูบานเล็ก ๆ ใกลอุดนิปใน

เมอื งคานารา (Kanara) ตอนใตใน ค.ศ. ๑๑๙๙ และถึงแกก รรมใน ค.ศ. ๑๒๗๘
หลักคําสอนของมัททาวะ ในเรื่องเทพเจามีลักษะคลายคลึงกับเรื่องเทพเจาของรามานุชะ

เพยี งแตเ รยี กชือ่ ตางกนั มทั ทวะถอื วา เทพเจาสูงสุดคือพระวิษณุ (วิษณุ) สวนเทพเจาของรามานุชะคือ
พระนารายณ หลักคําสอนของมัททวะมีลักษณะทเี่ ปนพหุนิยมท่ีเดน ชัดมาก เพราะเขากลาววาสรรพ
สิ่งในโลกประกอบไปดวยคณุ สมบัติตาง ๆ ที่แตกตา งกัน แมกระท่ังวิญญาณเขามคี วามเช่ือวาวิญญาณ
ของแตละคน (Individual Soul) กแ็ ตกตา งจากวิญญาณอ่ืน ๆ และวิญญาณนี่กแ็ ตกตา งจากวัตถุดวย
ในขณะเดียวกันคําสอนของมัททวะก็มีลักษณะเปนสัจนิยมอีกดวย ซึ่งพอสรุปคําสอนของมัททวะได
โดยยอ ดังน้ี

เร่ืองเทพเจา มัททวะถือวาเทพเจาสูงสุดคือพระวิษณุ พระวิษณุเปนเพทพระเจาสูงสุดแต
เพียงผเู ดียว มรี ูปรางลักษณะและมีตวั ตน เปนสาระสําคัญของสรรพส่ิงในโลก เปนผูสรางโลก เปนทุก
สิ่งทกุ อยา งในโลกและในทส่ี ุดทุกสิง่ ทุกอยา งจะคนื ไปสูพระเจา คือพระวิษณุ

เร่ืองสัจนิยม มัททวะถือวา “ทุกสิ่งทุกอยางมีความแตกตา งกนั ” ทกุ ๆ ส่ิงจึงมีลักษณะเปน
ของตนเอง มคี วามเปนจริงและเอกลักษณเปนของตนเอง ทกุ สิ่งท่ีเปนจริงดวยตวั มันเองและแตกตาง
จากสิง่ อน่ื ๆ เพราะมีเอกลักษณที่แตกตางกัน
เรือ่ งพหนุ ิยม มัททวะถือวาสรรพสิ่งในโลกประกอบดว ยคณุ สมบัตติ าง ๆ มากมาย โดยเขาถอื วา ปทาร
ถะ เปนสิ่งเปนจริง เปนสาระสําคัญของโลกและสรรพส่ิงในโลก ปทารถะนี้ มอี ยู ๑๐ อยางคือ ๑. สา

๗๙

สาร ๒. คณุ สมบตั ิ ๓. กรรมะ ๔. ความเปนสากล ๕. ไวเศษะ ๖. ความแนนอน ๗. ความเปนสวนรวม
๘. พลัง ๙. ความเหนอื กัน ๑๐. ควาวมไมม ีอยู

๑.๔ ปรชั ญาอนิ เดยี สายนาสตกิ ะ
ปรัชญาอินเดียสายนาสติกะ เปนระบบปรัชญาท่ีตรงกันขามกับปรัชญาสายอาสติกะและ
ปรชั ญาอินเดยี สายนาสตกิ ะนีม้ อี ยู ๓ สาํ นัก คอื
๑. ปรัชญาจารวาก
๒. ปรัชญาเชน
๓. ปรชั ญาพทุ ธ
ซ่ึงมีสาระสาํ คัญที่จะพงึ ศึกษาดงั ตอ ไปนี้

๑. ปรชั ญาจารวาก
ปรัชญาจารวากเปนปรัชญาวัตถุนิยมของอินเดีย สันนิษฐานกันวาเปนกอนพระพุทธกาล ผู
กอต้ังปรชั ญาน้ขี น้ึ คอื “พฤหัสบด”ี
ปรัชญาจารวากนี้เรียกอีกชื่อหนึ่งวา “ปรัชญาโลกายัติ” เพราะปฏิเสธอดีต ปจจุบันและ
อนาคต เนนการแสวงหาความสุขในโลกน้ีเปนสิ่งสําคญั ไมมีนรก ไมมีสวรรค การกระทําพิธีกรรมตาง
ๆ ไมก อ ใหเกดิ ผลได ๆ ท้ังส้นิ
ในกาลตอมาสานุศษิ ยของพฤหัสบดี ช่ือ “จารวาก” ไดน ําหลักการน้ีมาฟนฟูและพัฒนาให
เจริญขนึ้ จึงสันนิษฐานกันวา ปรัชญาจารวากน้ันไดชื่อมาจาก “จารวาก” ศิษยของพฤหัสบดีนั้นเอง
แตหลักฐานบางแหงก็สันนิษฐานวา คําวา “จารวาก” มาจากคําวา “จารุวาก” หมายถึงคําพูดที่
ออ นหวานไพเราะเพราะพริ้งชวนใหผ ูฟงไดยินไดฟ งพอใจและหลงใหล โดยปรัชญาจารวากเชิญชวนวา
“เราควรแสวงหาความสุขตั้งแตยังมีชีวิตอยู โดยการกินการด่ืมและการแสวงหาความสุขทาง
กามารมณใหม ากทส่ี ดุ เพราะวา เมอื่ รางกายแตกสลาย (ตาย) ไปแลว จะไมมีอะไรเหลอื อยูเ ลย”
ในหนังสือ “สรรพทรรศนสังคหะ” ไดก ลา วถึงแนวคําสอนของจารวากไวพอสรปุ ไดว า๕
ไมม สี วรรค ไมม คี วามหลุดพน (โมกษะ) ไมมีวิญญาณใด ๆ อยูในโลกอ่ืน ไมมกี ารกระทําใด ๆ
ทก่ี อใหน เกิดผลของกรรม การบูชาไฟ การปฏิบัติตามพระเวท การรางมนตข องนักบวชและการทาตัว
ดว ยขเ้ี ถา เปน อบุ ายวธิ ีหาเลี่ยงชีพของคนโงแ ละคนไรยางอาย ถา หากสัตวทถี่ ูกฆาบูชายัญจะไดไปเกิด
ในสวรรคจริง ทําไมผูประกอบพิธีบูชายัญไมเอาบิดามารดาของตนมาฆา บูชายัญเชนเหลานั้น (เพอ่ื ให
ทานไดขึ้นสวรรค) มนุษยทุกคนควรแสวงหาความสุขในขณะท่ียังมีชีวิตอยูน้ีเทานั้น จงกิน จงหิว จง

๕ จํานง ทองประเสริฐ, ปรัชญาประยกุ ต ชุดอินเดีย, (กรุงเทพฯ : ตนออ แกรมม่ี จาํ กดั , ๒๕๓๙), หนา
๖๒.

๘๐

แสวงหาความสุขทางกามารมณใหมากท่ีสุด แมวาจะตองเปนหนี้เปนสินเขากต็ าม เพราะเมื่อรางกาย
แตกสลาย กลายเปน เถาถายแลว จะไมก ลับฟน คนื ชพี มาอกี เลย

ปรัชญาจารวากมสี าระสาํ คัญทจ่ี ะพงึ ศกึ ษา ดังนี้
๑. ญาณวทิ ยา
ปรัชญาจารวากยอมรับวา ความรูที่ถูกตองแทจ ริงน้ันมีเพียงส่ิงเดียว คือ “ความรูประจักษ”
ซ่ึงความรูประจักษนั้น ไดแก ความรูทเี่ กดิ ข้นึ ทางประสาทสัมผัสทั้ง ๕ คือ ตา มองเห็นวัตถุนั้น หู ได
ยินเสียงตาง ๆ จมูก ไดกล่ินตาง ๆ ลิ้น ไดรับรสตาง ๆ กาย เปนส่ิงถูกตองสัมผัสกับส่ิง ๆ เชน รอน
เย็น ฯลฯ แตความรูประจักษตามทัศนะของกลุมจารวากนี้ ก็มิใชจะถูกตองสมบูรณท้ังหมดไม เชน
บางครั้งคนเราอาจมองเห็นทอนไมในมุมสลัวเปนงู หรือมองเห็นปากกาที่ใสเขาไปในแกวน้ําใสเปน
ปากกาคด เปนตน
๒. อภปิ รชั ญา
ปรัชญาจารวากเปนปรัชญาวัตถุนิยม และยึดถือความรูประจักษเปนความรูที่ถูกตอง จาก
ความรูประจักษน่ีเอง จารวากจึงยืนยันวา สสาร หรือวัตถุน้ันเปนสิ่งสูงสุด (อันติมะ) เรื่องนรกสวรรค
วิญญาณ พระเจา โลกหนา เปนตน ท่ไี มสามารถรับรูไดโดยผัสสะไมมีอยูจริง ดงั นั้นจึงสรุปทศั นะทาง
อภิปรชั ญาวาจารวากไดดังน้ี
๑. สรรพส่ิงเกิดขน้ึ จากการรวมตวั ของธาตุ ๔ คือ ดนิ นํ้า ลม ไฟ ธาตุ ๔ น้ีเปนสิ่งเทยี่ งแท
ดาํ รงอยูชั่วนิรันดร แตสิ่งท่ีเกิดขน้ึ จากการรวมตัวของธาตุ ๔ เปนสิ่งไมเ ที่ยงแท เปล่ียนแปลงอยูเสมอ
ความตายของมนุษย สตั ว พชื และสรรพส่ิงเกดิ ขนึ้ จากการแยกตัวของธาตุ ๔
๒. ปฏิเสธโลกหนาและอาตมนั (ตัวตน) ปรัชญาจารวากถือวา รายกายซ่ึงประกอบข้ึนดวย
ธาตุ ๔ มารวมตัวกันอยางถูกสวน ส่ิงท่ีเรียกวาจิต วิญญาณ หรืออาตมัน ซงึ่ มีสัมปชัญญะรับรูตาง ๆ
ไดกเ็ กดิ ขึ้น ซ่ึงจติ หรอื วิญญาณนี้ มิไดอ ยูอยางเอกเทศจากรางกาย (ธาตุ ๔) แตเปนผลพลอยไดซ่งึ เกดิ
จากธาตุ ๔ ดงั น้ันเมื่อรา งกายแตกดบั เพราะการแยกตวั ของธาตุ ๔ จติ หรอื วญิ ญาณกต็ อ งสลายดว ย
เม่ือจารวากปฏิเสธเรื่องจิตหรืออาตมัน วาไมเท่ียง ข้ึนอยูกับรางกาย เมื่อรางกายแตกดับ
เพราะธาตุ ๔ แยกตัวออกจากกนั วญิ ญาณก็ดับสลายดวย จึงถือวา “เปนการปฏิเสธชาติหนาโดยตรง”
จารวากถอื วา “มนุษยเกิดหนเดยี วตายหนเดียว” ความตายคือโมกษะ ความทกุ ข สุขทั้งปวงหมดไป
“เมือ่ คนเราหมดลมหายใจ โลกหนา ไมมี นรก สวรรค ไมม”ี
๓. ปฏิเสธพระเจา ปรัชญาจารวากปฏิเสธความมอี ยูของพราะเจาสูงสุด พระเจามิใชผูสราง
โลก และสรรพสิ่งท่ีปรากฏอยู เพราะเราไมสามารถรับรูหรือรูจักพระเจาไดด วยประสาทสัมผสั ดังน้ัน
พระเจาจึงไมมีอยูจริง โลกและสรรพส่ิงไมไดเกิดขึ้นจากการสรางของพระเจา แตเกิดข้ึนเองตาม
ธรรมชาติ โดยการรวมตวั ของธาตุ ๔ อยางสมดุลนั่นเอง

๘๑

๓. จริยศาสตร

จรยิ ศาสตรข องจารวากมีแนวคิดเปนวัตถุนิยม ยึดถือความสุขทางเนื้อหนังมังสาเปนจุดหมาย

สูงสุดของชีวิต โดยถอื คติวา “จงกนิ จงด่ืม และร่ืนเริงสําราญ (จากกามารมณ) ใหมากทีส่ ุด” มนุษย

ทุกคนเกิดหนเดียวตายหนเดียว คนดีคนช่ัวมีจุดหมายปลายทางเหมือนกัน คือ ความตาย มนุษยจึง

ควรแสวงหาตักตวงความสุขใหไดอยางเต็มที่ต้ังแตยังมีชีวิตอยูนี้เทานั้น โดยการกินใหเปนสุข ดื่มให

เปนสขุ และสนุกสนามรนื่ เรงิ ในเรอื่ งของกามารมณใ หอ มิ่ หนําสําราญ เพราะตายไปแลวทุกสิ่งทุกอยาง

เปน อันสิ้นสุด

ในระบบปรัชญาอนิ เดียสวนมากถอื วา จุดมงุ หมายแหงชวี ติ มีอยู ๔ อยา ง

๑. อรรถะ ทรัพยสมบัติ

๒. กามะ ความสุขจากกามคณุ

๓. ธรรมะ ความสมบรู ณด วยคณุ ธรรม

๔. โมกษะ ความหลดุ พน จากทกุ ข

แตปรัชญาจารวากยึดถือเพียง อรรถะ (ทรัพยสมบัติ) และกามะ (ความสุขจากกามคุณ) วา

เปนสิ่งทมี่ นษุ ยท ุกคนควรแสวงหา และเสพสมความสขุ ทางกามารมณใหเพยี งพอตอความตอ งการของ

ตน

หลกั คาํ สอนของจารวาก พอสรปุ ไดด งั น้ี

๑. ธาตทุ ้ังหลายในโลกน้มี ี ๔ อยาง คือ ดนิ น้าํ ลม ไฟ

๒. การรวมตัวของธาตุ ๔ กอใหเกิดรางกาย ประสาทสัมผัสและส่ิงท่รี ับรูไดดวยประสาท

สมั ผสั

๓. สมั ปชัญญะ (Consciousness) เกดิ ขน้ึ จากการรวมตัวอยา งถกู สว นของวัตถุ

๔. วิญญาณและอาตมัน คอื รางกายท่มี ีสมั ปชัญญะรคู วามรสู ึกนั่นเอง

๕. ความบนั เทิงเรงิ รมย เปน จดุ หมายสงู สุดของชีวิต

๖. ความตายคอื ความหลดุ พน (โมกษะ)

๒. ปรชั ญาเชน
ปรัชญาเชน เปนปรัชญาท่ีมีมากอนพุทธกาล มีศาสดาสืบตอกันมาเรียกช่ือวา “คีรัตถังกร”
รวมท้ังหมด ๒๔ คน คีรัตถังกรคนแรกชื่อ กฤภเทศ คนที่ ๒๓ ช่ือ ปารศวนาถ มีชีวิตอยูราว ๓๐๐ ป
กอนพุทธกาล สวนคีรัตถงั กรคนสุดทาย คือคนที่ ๒๔ ชอ่ื “มหาวีระ” ซึง่ มีช่ือเดมิ วา “วรธมาน” (พุทธ
เรยี กวา นิครณฏฐบุตร)

๘๒

คําวา เชน มาจากคําวา ชินะ แปลวา ผูชนะคือผูสามารถตัดกิเลสตัณหาของตนเองไดอยาง
สิ้นเชิง เปนผูท่ีมีอิสระเหมือนตนเอง เปนคําท่ีใชกบั ชีวะท่หี ลุดพนแลว โดยการพชิ ิตกิเลสตณั หาและ
กรรมท้งั ปวงไดอยางเดด็ ขาด๖

วรธมาน เกิดข้ึนเม่ือประมาณ ๕๔๐ ป กอนคริสตกาลใกลเมืองเวสาลี แควนวิเทหะ ใน
ตระกูลกษัตริย อภิเษกสมรสกับพระนาง “ยโสธา” เมื่อบิดามารดาสรรคตจึงไดออกผนวชเมื่อ
พระชนมายุได ๒๘ พรรษา วรธมานบําเพ็ญเพียรอยู ๑๒ ป จึงไดบ รรลุคณุ ธรรมซ่ึงเรียกวา “เกวลี”
และไดอ อกประกาศศาสนา ทานสน้ิ พระชนมเ ม่ืออายุ ๗๐ ป

ปรชั ญาเชนมีสาระสาํ คญั ทีจ่ ะพึงศึกษา ดังน้ี
๑. ญาณวทิ ยา
ในเรื่องทฤษฎีแหงความรู ปรัชญาของเชนแบง ความรอู อกเปน ๒ อยาง คอื

๑. อปโรกษะ ไดแ กความรโู ดยตรง
๒. ปโรกษะ ไดแ กค วามรโู ดยออม
อปโรกษะ ความรโู ดยตรงนน้ั แบงออกเปน ๓ อยา งคอื
๑. อวธิ (อวธชิ ญาณ) บคุ คลทีไ่ ดบ รรลุอวธิชญาณน่ีจะสามารถมีทพิ ยจักษุ คอื การได
ตาทพิ ย มองเหน็ สรรพสิ่งตา ง ๆ ไดทั้งในอดตี ปจ จบุ ัน และอนาคต
๒. มนหปรยายะ (มนหปรชญาณ) เปนความรูทเี่ ก่ียวกบั การกาํ หนดรูจ ิตใจของผูอ่นื
ได
๓. เกวละ คือความรูที่ไดรับดวยอํานาจของ เกลวชญาณ เปนความรูสูงสุดและ
สมบูรณ เปนความรูชนิดท่ีเขาใจอยางลึกซ้ึงในสภาพทีเ่ ปนจริงทุกอยาง จนทาํ ใหกิเลส ตณั หา อวสาร
หมดไปและเขา ถึง เกวละ คอื นิรวาณ (นิพพาน)
ปโรกษะ ความรโู ดยออ ม แบงออกเปน ๒ ชนดิ คอื
๑. มติ หมายถึงความรูที่ไดรับโดยผานทางประสาทสัมผัส ประสบการณ เหตุผล
และการอนมุ าน
๒. ครุตะ หมายถึงความรูที่เกิดขึ้นจากการบอกเลาของผูอ่ืน รวมถึงความรูที่เรา
ไดรับจากการศึกษาเราเลาเรียนและอานตําหรับตําราตาง ๆ ความรูท่ีเกิดจากการไดยินไดฟง และ
พยานหลกั ฐานเปน ตน
๒. อภิปรัชญา
อภิปรชั ญาของเชนมีลักษณะเปน พหุสจั นยิ ม หรอื สัมพันธสัจนิยม ซึง่ มีทฤษฎีทสี่ ําคัญเรียกวา
อนกนั ดวาท หมายถึงทฤษฎีทว่ี า ดวยความมากหลายแหง สงิ่ แทจ ริง

๖ ทองหลอ วงษธรรมา, ปรชั ญาท่ัวไป, (กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๔๙), หนา ๓๔-๓๙.

๘๓

ตามหลักอภิปรัชญา เชน เรยี กวตั ถุ (Matter) วา ปุทคละ และวิญญาณ (Spirit) วา ชีวะ เชน
กลา ววา สง่ิ แทจริงทั้งที่เปนวัตถุและชีวะมีจํานวนมากมายนับไมถวน และแตล ะส่ิงของสิ่งท่ีแทจริงนัน้
มีคุณลักษณะเปนของตนเอง ส่ิงทั้งหลายตางเปนจริงโดยสภาพของมันเอง วิญญาณหรือชีวะก็มี
จํานวนมากมายนับไมถว นเชน กนั

สสารหรือทรพั ยะ
ปรัชญาเชนกลาววา ทรัพยะหรือสสารไดแกสิ่งซึ่งมีคุณสมบัติหรือมีคุณลักษณะสสารท่ีมี
คณุ สมบัตินับไมถว น คณุ สมบัตทิ ี่เทย่ี งแทของสสารคือคุณสมบัตปิ ฐมภมู ิ(Primary Qualities) ซงึ่ เปน
คณุ สมบัติที่ตดิ ตวั อยูกับสสารน้ันตลอดไปหากปราศจากคณุ สมบัตนิ ้ีสสารกไ็ มอ าจทรงความเปนสสาร
อยูได เชนการกินอยูของวัตถุ และสัมปชัญญะของวิญญาณ เปนตน สวนคุณสมบัติท่ีเปนทุติยภูมิ
(Secondary Qualities) เปนคณุ สมบตั ทิ ่ีไมเ ท่ยี ง เปลย่ี นแปลงไดเสมอ
ปรัชญาเชนไดแบง สสารหรือทรัพยะออกเปน ๒ ประการ คอื

๑. ชวี ะ หมายถึงวิญญาณอันมีสมั ปชญั ญะ
๒. อชีวะ หมายถึงส่งิ ทไี่ มใ ชว ิญญาณและปราศจากสมั ปชญั ญะ
ชีวะ และอชวี ะทง้ั สองสิ่งนไี้ มม ีผูใ ดสรางขึน้ เปน สงิ่ เทยี่ งแท และมอี ยู คงอยตู ลอดไป
ชวี ะ
ชีวะ ในความหมายของปรัชญาเชนนั้นไดแก วิญญาณ เชนถอื วา ชีวะหมายถึงวิญญาณอยาง
เดียวเทาน้ัน มิไดเหมารวมถึงรางกายดวย แมวารางกายจะเปนสิ่งสถิตของวิญญาณก็ตาม ชีวะมี
จํานวนมากมายจนนับไมถวน มีอยูทุกหนทุกแหงทั่วสากลจักรวาล มีท้งั สิ่งสิงสถติ อยูในรางกายและ
รอ งรอยอยูโดยปราศจากรา งกาย โดยปรัชญาเชนไดแบงชวี ะออกเปน ๒ ชนิด
๑. มุกตชวี ะ คอื ชวี ะทหี่ ลุดพนจากการเวยี นวายตายเกิดในวฏั สงสารแลว
๒. พันธชีวะ คือชีวะที่ยังไมหลุดพน ยังคงตองเวียนวายตายเกิดอยูในวัฏสงสารซึ่งพันธชีวะนี่
แบงออกเปน ๒ อยางคอื
๒.๑ ตรสะ คอื ชีวะที่เคลื่อนไหวได แบงออกไปไดอีกตามความสมบูรณมากนอยของ
ชวี ะนั้น ๆ เปน ๔ ชนดิ คือ

๒.๑.๑ ประเภทท่ีรับรูความรูสึกไดเพยี งทางกายและทางล้ิน เชน ตวั หนอน
ตา ง ๆ

๒.๑.๒ ประเภทที่รับรูความรูสึกไดเ พียงทางกาย ทางลิ้น และทางจมกู เชน
มดชนิดตาง ๆ

๒.๑.๓ ประเภททีร่ ับรูความรูสึกไดเพยี งทางกาย ทางลิ้น ทางจมกู และทาง
ตา เชน ผง้ึ แมลงภู เปนตน

๘๔

๒.๑.๔ ประเภททรี่ บั รูความรสู ึกโดยทางสมั ผสั สะท้ัง ๕ คือ ทางกาย ทางล้ิน
ทางจมกู ทางตา และทางหู ไดแ กมนษุ ยและสัตวช้ันสูงอน่ื ๆ

๒.๒ สถารวะ คอื ชีวะทีเ่ คลื่อนไหวไมไ ด แตอ าศยั อยใู นปรมาณูของธาตุท้งั ๔ คือ ดิน
นํ้า ลม ไฟ และในพวกพืชตาง ๆ สถารวะชวี ะนีม้ ีความรสู ึกไดทางเดียวคือทางการสัมผัส

คุณสมบัติทส่ี ําคัญทีส่ ุดของชีวะท้ังหมดนี้คือ สัมปชัญญะ ชีวะทุกชนิดทุกระดับมีสัมปชัญญะ
เดียวกันทั้งน้ัน แตจะมากหรือนอยขึ้นอยูกบั อณขู องกรรมท่ีหอหุมชีวะอยู ถา อณูของกรรมหอหุมชีวะ
มาก ชวี ะกแ็ สดงสัมปชัญญะไดน อ ย เพราะมสี ิ่งขัดขวางมาก แตถาอณูของกรรมหอหุมชีวะนอย ชีวะก็
แสดงสมั ปชญั ญะออกมาไดมาก เพราะมสี ิ่งขดั ขวางนอย

ปรัชญาเชนกลาววา โดยสภาพด่ังเดิมแลวชีวะชีวะทั้งหลายมีคุณสมบัติหรือลักษณะ
เหมอื นกนั หมด มศี รัทรา ความรู ความสขุ ความเพยี รเปนอนนั ต แตส ่ิงท่ีทาํ ใหชีวะแตกตา งกันกเ็ พราะ
พันธชวี ะ ท่ีตองเวียนวายตายเกดิ อยูในวัฏสงสาร และสิ่งท่ีทาํ ใหสภาพของชีวะดวยลงไปก็คือ อณูของ
กรรมที่ชวี ะตา ง ๆ มไี มเทากัน และชวี ะเปนทั้งผรู ู ผูท ําและผูเสวยกรรม ชีวะหรือวิญญาณนี่เปนสิ่งที่ไม
มีรปู ราง แตเมื่อมันเขาสงิ อยใู นรายกายของสัตวช นิดใด ๆ มันก็มีรูปรางขนาดเทากับสัตวช นิดน้ัน เชน
ชวี ะของมดกม็ ีรูปราง ขนาดเทา มด เปนตน

ปรัชญาเชน ถือวา ชีวะเปนส่ิงทเี่ ที่ยงแท ไมแตกดับไมเปล่ียนแปลง แตการท่ีชีวะตองมาติด
ขอ งเวียนวายตายเกดิ ในสภาพของชีวิตทดี่ ีบางชั่วบาง เพราะผลของกรรมเกาทเ่ี คยทาํ ไว จุดมุงหมาย
ของเชนจงึ อยทู กี่ ารทําลายกรรมเกาใหหมดสิ้นไป และไมทํากรรมใกมเ พิ่มขนึ้ เมอื่ ทาํ ไดสําเร็จ ชีวะก็ได
ชื่อวา “เปล้อื งตนพนจากพนั ธนาการทัง้ ปวง”

อชวี ะ
อชีวะในความหมายของปรัชญาเชนไดแกสิ่งที่ไมมีชีวิตและปราศจากสัมปชัญญะ ซึ่งแบง
ออกเปน ๕ ชนิดดว ยกัน คอื
๑. วตั ถุ (ปุทคละ) หมายถงึ ส่ิงที่มีรูปราง มองเห็นได และสัมผัสตอ งได วัตถุทุกชนิดเม่ือแบง
ออกเปนสวนยอย ๆ จนไมสามารถแบงแยกตอไปไดอีกไดเรียกวา “อณู” วัตถุหรือส่ิงตาง ๆ เกิดข้ึน
จากการรวมตัวของอณูที่มีจํานวนมากมายนับไมถวน ไมจํากัดและนอกจากน้ี เชนยังกลาวอีกวา
ประสาทรับสัมผัส จิต (บนัส) และลมหายใจก็ประกอบไปดวยอณูตาง ๆ เชนกัน วัตถุ (ปุทคละ) มี
คณุ สมบัติท่ีสําคญั ๔ ประการ คอื สัมผสั ได มีสี มีกล่ิน และมรี ส
๒. ท่ีวาง (อากาศะ) อากาศะหรือที่วางน้ีเปนสสารชนิดหนึ่ง ซึ่งไมมีท่ีสิ้นสุด ดํารงอยูช่ัวนิ
รนั ดร และไมส ามารถรบั รไู ดดว ยประสาทสัมผัส และเราจะรูทวี่ า ง มีอยูกโ็ ดยการอนุมานเอาจากการท่ี
วัตถุกินท่ี เพราะวัตถุทกุ ชนิดมีการกนิ ทีแ่ ละการกินท่จี ะเปนไปไดกเ็ พราะมชี องวาง ปรัชญาเชนแบงท่ี
วา ง (อากาศะ) ออกเปน ๒ ชนดิ คือ

๘๕

๒.๑ โลกากาส คือ ท่ีวางทมี่ ีในโลกซ่ึงเปนทอ่ี าศัยอยขู องสง่ิ ตา ง ๆ
๒.๒ อโลกากาส คือ ที่วางที่อยูนอกโลกออกไปไมมีที่ส้ินสุด ตรงยอดหรือท่ีสุดของอโลกา
กาสเปน ทีอ่ ยอู าศยั ของผูบรสิ ทุ ธ์ิ (สุทิศลิ า) ชีวะที่เขาถงึ โมกษะจะเขาไปทํานกั อยเู สวยวิมตุ สิ ุขทนี่ ่ี
๓. เวลา (กาละ) เปน สิ่งท่ีไมมขี อบเขตจํากัด เปนสิ่งท่ีรับรูไมไดดวยประสาทสัมผัส แตรูไดวา
มีอยูดวยการอนุมานคุณลักษณะของมันท่ีมีการสืบตอ เคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลง เปนตน เชนถือวา
เวลาเปนสสาร (ทรพั ยะ) ที่มีความเปน หน่ึง และแบง แยกไมได ซงึ่ เวลานี้แบงออกเปน ๒ ชนิด คอื
๓.๑ เวลาทแ่ี ทจริง คือเวลาทมี่ ีอยตู อ เน่ืองกันไมม สี ิน้ สุดเปนลกั ษณะของเวลาทแ่ี ทจ รงิ
๓.๒ เวลาท่ีสมมติกันข้นึ คอื เวลาทสี่ มมติข้ึนโดยการแบง เปน วนิ าที นาที ชั่วโมง วัน เดอื น
ป ซ่ึงประกอบดวยการเร่ิมตน และสนิ้ สดุ
๔. การเคล่ือนไหว (ธรรมะ) เชนกลาววาเราไมสามารถรับรูการมีอยูของธรรมะไดทาง
ประสาทสัมผัส แตทราบการมอี ยูของมันโดยการอนุมานจากการเคล่ือนไหว และการหยุดนง่ิ ของสิง่ ท่ี
เคล่ือนไหว ธรรมะไมมีรปู รา งใดเลย แซกแฝงอยูในท่วี า งท่ัวไป เปนสิ่งนิรันดรธรรมะน้ันโดยตวั ของมัน
เองไมเคลอ่ื นไหวแตมนั ชวยใหเกิดการเคล่อื นไหว เหมือนการเคลื่อนไหวของปลาในน้ํา ปลาตองอาศัย
นํ้าเคลื่อนไหวแหวกวา ยน้ําไปได เชนกลาวอีกวาการเคลือ่ นไหวของวิญญาณหรือชีวะและส่ิงอื่นก็ตอง
อาศัยธรรมเชน กนั
๕. การหยุดนิ่ง (อธรรมะ) เชนกลาววา เราไมสามารถรับรูการมีอยูของอธรรมะได โดยทาง
ประสาทสัมผัส แตทราบการมีอยขู องมัน โดยการอนุมานจากการเคลื่อนไหว และการหยุดนิ่งของสิง่ ท่ี
เคล่ือนไหว อธรรมะน้ันไมไดท าํ สง่ิ ที่กําลังเคล่ือนไหวอยูใหหยุดน่ิง แตเพียงชว ยใหเ ราหยุดน่ิงเปนไปได
เหมอื นแผน ดินรองรับสิ่งปลกู สรา งตา ง ๆ บนแผน ดินใหห ยุดนงิ่ ตงั้ อยู
ธรรมะและอธรรมะ (การเคล่ือนไหวและกาสรหยุดน่ิง) เปนส่ิงท่มี ีสภาพตรงกันขาม แตส่ิงท่ี
เหมือนกันก็คอื ไมม กี ัมมันตภาพ เคล่อื นไหวเองไมได ไมม รี ูปรา งและเปนสิ่งนริ นั ดร
โมกษะ
ปรัชญาเชนกลาววา กิเลส ตัณหาเปนตวั การสําคญั ทีด่ ึงดูดเอาอนุภาคของกรรมใหเขา ไปติด
อยูในชีวะ กเิ ลส ตัณหาน้ันเกิดข้ึนมาไดเพราะอวิชชา และอวิชชาหมายถึงความไมร ูแจงในธรรมชาติ
อันแทจริงของชีวะและธรรมชาติของส่ิงอื่น ๆ ที่ชีวะเขาไปเก่ียวของดวย เพราะอวิชชาเปนตนเหตุ
กิเลสตาง ๆ เชน โลกะ โทสะ โมหะ เปนตน จึงเกิดข้นึ เมื่อเปนเชนนี้ปรัชญาเชนจึงไดแสดงไววา การ
ท่บี ุคคลสามารถทาํ ลายอวิชาใหหมดสิ้นไปและบรรลุโมหะไดน ั้น บุคคลจะตองประกอบดวยคุณสมบัติ
๓ ประการ คอื
๑. มัมมาทสั สนะ มคี วามศรัทราชอบหรือศรัทราที่ถกู ตอ ง หมายถงึ ศรัทราเชื่อม่ันในคําสอน
ของครี ัตถงั กร ซ่ึงเปน ศาสดาผไู ดเ ขา ถงึ ความหลดุ พน แลว อนั จะนําผูที่เชื่อถือและปฏิบัติตามคําสั่งสอน
เขาถึง “เถวละ” หรือโมกษะ (สมยุ คุ ทรศุ น)

๘๖

๒. สัมมาญาญะ มีความรูชอบไดแกการมีความรูเก่ียวกับความจริงตามหลักคําสอนของ
ศาสนา ของศาสนาเชน (สมยุ คุ ชญาณ)

๓. สัมมาจริตะ มีความประพฤติชอบ หมายถึงประพฤตปิ ฏิบัติตามหลักคําสอนของศาสนา
ของศาสนาเชน (สมุยคุ จรติ )

จรยิ ศาสตร
ปรัชญาเชนเปนปรัชญาเทวนิยม ปฏิเสธพระเวท และพธิ ีกรรมตาง ๆ ของพราหมณ ปฏิเสธ
พระเจาสูงสุด แตเนนการปฏิบัติเปนสําคัญ ขอปฏิบัตหิ รือ “ประณิธาน” ของเชนน้ันเรียกวา “พรต”
แบง ออกเปน ๒ ระดับ คือ
๑. อนุพรต เปนขอปฏิบัติสําหรับคฤหัสถผ ูนับถือศาสนาเชนท่ัว ๆ ไป ซ่ึงถือวาเปนขอ ปฏิบัติ
ขั้นพ้ืนฐานของเชน
๒. มหาพรต เปนขอปฏบิ ัตขิ ั้นสงู หรอื อกุ ฤต เปนขอ ปฏิบตั ิสาํ หรบั นกั บาช
“ประณิธาน” หรอื “พรต” ของเชนมี ๕ ประการ คือ
๑. อหิงสา งดเวนจากการประทุษราย การเบียดเบยี น การไมท าํ รายสิ่งมีชีวิตทุกชนิดดวยการ
งดเวน ทั้งทางกาย วาจา ใจ
๒. สตั ยะ การรกั ษาความสัตย ไดแกการไมกลาวคาํ เท็จ กลาวแตความสัตยค วามจริง รวมถึง
คําพดู ที่ไพเราะนาฟงและจะกอใหเกิดประโยชนแกผฟู ง
๓. อัสเตยะ การงดเวนจากการขโมย หรือถือเอาสิ่งของของคนอ่ืนท่เี จาของเขามไิ ดใหรวมทั้ง
การไมค ดโกงโดยวธิ ตี า ง ๆ ผปู ฏิบตั ิพรตขอนี้ตองงดเวนอยางเดด็ ขาดท้ังทางกาย วาจา ใจ
๔. พรหมจรยิ า การไมประพฤติผิดในทางกาม หรือทางประวณีในทุก ๆ รูปแบบ ท้งั ทางกาย
วาจา และใจ น้ีเปนขอ ปฏิบัติสําหรับ ตฤหัสถ สวนขอ ปฏิบัติสําหรับนักบวชคือการรักษาพรหมจรรย
งดเวนการเกีย่ วขอ งทางเพศสัมพนั ธโดยสน้ิ เชงิ ทัง้ ทางกาย วาจา และใจ
๕. อปริตรหะ การไมโลภ ไมยึดม่ันตดิ กบั ส่ิงใดหรืออารมณใด ๆ ทงั้ สิ้น หมายรวมไปถงึ การ
ทําใจไมใ หเพลดิ เพลินในกามคุณ ๕ ดว ย
ปรัชญาเชนนี้เรียกอีกอยางหนึ่งวา ศาสนาเชน เม่ือมหาวีระศาสดาองคสุดทายสิ้นชีวิตลง
ศาสนาเชนก็แยกออกเปน ๒ นกิ าย แตห ลักการสําคญั กย็ ดึ หลักการเดมิ นิกายนน้ั คอื
๑. นิกายทิฆัมพร เปนนิกายท่ีมุงเนนหมฟา (เปลืองกาย) การปฏิบัติเครงครัดและเขมงวด
มาก ยดึ การทรมานรางกาย ของตนเองไมใหไดร ับความทกุ ข เจ็บปวด เปนหลัก นิกายนี้ปฏิเสธสตรวี า
ไมสามารถบรรลุคณุ ธรรมได (พุทธเรียกวา ลทั ธิอัตตกลิ มถานุโยค)
๒. นกิ ายเศวตามพร นุงหมขาว ยึดการปฏบิ ัติสายกลาง

๘๗

๓. ปรัชญาพุทธ
ปรัชญาพุทธเกิดข้ึน ณ ประเทศอินเดีย เมื่อ ๘๐ ป กอนพุทธศักราชหรือ ๖๒๓ ป กอน
คริสตกาล โดยเจาชาย “สิทธัตถะ” (หรือสิทธารถะตามมั ภีรสันสกฤต) โอรสของพระเจา “สุทโธท
นะ” และพระนางสิริมหามายา แหงกรุงกบิลพัสดแควนสักกะ เมื่อแรกประสูติ สิทธัตถะไดรับการ
ทาํ นายวา ๑. ถา อยูครองฆราวาสจะไดเปนพระเจาจักรพรรด หรือ ๒. ถาออกผนวชจะไดเ ปนศาสดา
เอกของโลก สิทธัตถะไดรบั การศกึ ษาศิลปวทิ ยาการอยา งดีตามฐานะแหง โอรสกษัตริย เมอื่ พระชนมายุ
ได ๑๖ พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกบั เจาหญิง “พมิ พา” หรือ “ยโสธรา” มีโอรส ๑ องค ชื่อ “ราหุล”
สิทธัตถะทรงเบื่อหนา ยในชีวติ ฆราวาสจึงเสด็จออกผนวชเมือ่ พระชนมายุได ๒๙ พรรษา บําเพ็ญเพียร
และแสวงหาโมกขธรรม เปนเวลา ๖ ป จึงตรัสรูสําเร็จเปน “พทุ ธ” เม่ือพระชมมายุได ๓๕ พรรษา
ทรงเสดจ็ ออกจาริกไปตามสถานทตี่ าง ๆ ในชมพูทวีป เพ่ือประกาศสัจธรรมเปนเวลา ๔๕ ป เสดจ็ ดบั
ขันธปรนิ พิ พานเมือ่ พระชนมายไุ ด ๘๐ พรรษา กอ นคริสตศักราช ๕๔๓ ป
คําวา “พทุ ธ” แปลวา ผูรูหรือผูตืน่ แลว หมายถงึ การรูแจงซึ่งสภาวธรรมตาง ๆ ตามสภาพท่ี
เปน จริง หรือการตื่นข้ึนจากการหลงงมงาย ความเปน ทาสของกิเลสและตัณหา เปนตน ปรัชญาพุทธน้ี
บางทกี ็เรยี กวา ปรชั ญาพทุ ธศาสนา
เน่ืองจากปรัชญาพทุ ธ เปนลักษณะ “สัจนิยม” หรือ “ธรรมชาตินิยม” ถือวาสภาวธรรมชาติ
ทัง้ หลายตอ งเปนไปตามหลักแหงธรรมชาติ และหลักแหงความจริง ดงั นั้น ปรัชญาพทุ ธจึงสัง่ สอนโดย
เนนหนักท่ีเหตุผลและวิจารณญาณ โดยการเตือนสติใหทุกคนไดคิดพิจารณา ไตรตรอง ใครครวญ
ดูกอนดวยปญญาของตนเองกอนที่จะเชื่อ และปฏิบัติตามคําสอนของใคร ๆ ดังปรากฏหลักฐานที่
พระพทุ ธเจา ไดแ สดงไวใน “กาลามสูตร” วา
๑. อยา เชอ่ื โดยฟง ตามกันมา
๒. อยา เชือ่ โดยถอื สืบ ๆ กนั มา
๓. อยาเชือ่ โดยการเลาลือ
๔. อยา เชอ่ื โดยการอางตําราหรือคัมภรี 
๕. อยา เชอ่ื โดยการอา งเหตผุ ลทางตรรกะ
๖. อยาเชอ่ื โดยการอนุมานหรอื การคาดคะเน
๗. อยา เชื่อโดยการตรกึ ตรองตามอาการ (คดิ เอาตามแนวเหตผุ ลของตน)
๘. อยาเชือ่ วา เพราะเห็นวาตรงกบั ความเห็นของตน หรือทฤษฎขี องตน
๙. อยา เชื่อเพราะวาเห็นรูปรา งลกั ษณะนาเปน ไปได หรือนา เช่ือถอื
๑๐. อยา เชือ่ เพราะนับถอื วา ทานเปนครูของเรา

๘๘

ลกั ษณะคาํ สอนของพระพทุ ธเจา ๗

๑. คําสอนปฏิรูป คือปฏิรูปคําสอนเดิมของพระพราหมณ เชน การทําบุญ พวกพราหมณ

สอนวาใหทําบุญกับพวกท่ีเปนพราหมณโดยกําเนิด แตพระเจาสอนใหเราทําบุญกับพราหมณคือผู

บริสุทธิ์ หรอื บุคคลผูบริสุทธด์ิ ว นไตรทวาร (กาย, วาจา, ใจ) จะมผี ลบญุ เกิดแกผูทาํ มากกวา

๒. คําสอนปฏิวัติ ไดแกการเปล่ียนแปลงคําสอนเดิมและความเช่ือเดิมทั้งหมดเปนชนิด

ตรงกนั ขามกัน เชน พราหมณ สอนวาการฆาสัตวบูชายัญยอมเปนกุศลย่ิง และจะสมปรารถนาทุงส่ิง

แตพระพุทธเจาสอนวา การฆาสัตวทุกชนิดเปนบาปเปนชั่ว แตคนเราควรทีเมตตากรุณาตอสัตว

ทั้งหลาย

๓. คําสอนท่ีตั้งขึ้นใหม ไดแกคําสอนที่พระองคทรงคนพบแลว ส่ังสอนคนอน่ื ใหประพฤติ

ปฏบิ ตั ิตามเพ่อื ความรูยงิ่ เหน็ จรงิ เชน อรยิ สจั ปฏจิ จสมปุ บาท เปนตน

คัมภีรทางพระพุทธศาสนา เรียกวา “พระไตรปฎก” กลาวกันวามี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ

โยกแยกเปน

๑. พระสุตตันตปฎก (พระสตู ร) ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ

๒. พระวินัยปฎ ก (พระวินยั ) ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ

๓. พระอภิธรรมปฎก (พระอภิธรรม) ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ

สาระสาํ คัญแหง คาํ สอนของพระพุทธศาสนา

หลักคาํ สอนพทุ ธศาสนาน้นั แมจ ะมีมากมายจํานวน ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ กต็ ามแตก ็

สามารถยน ยอลงไดล งไดเ พียง ๓ ประการ คอื

๑. การไมทําความช่ัวทกุ ชนดิ

๒. การทาํ ความดีใหถึงพรอ ม

๓. การชาํ ระจติ ใหผ องใส

หลกั ธรรมสําคญั ทางพทุ ธศาสนา

๑. อริยสจั ๔

อริยสจั แปลวาของจรงิ อันประเสริฐ มี ๔ อยา ง คือ

๑. ทุกข คือความทุกขยากลําบาก ความทรมาน ความเจบ็ ปวด ความเศรา โสก เสียใจ เปนตน

หรือจะพูดงาย ๆ วา “ทุกข คอื ความไมสบายกายไมสบายใจ” และความทุกขนี้แยกกลาวไดเปน ๓

อยาง คอื

๑.๑. ทุกขทรมานตามธรรมดา (ทุกขทกุ ข)

๑.๒ ทกุ ขทเ่ี กดิ ข้ึนจากความเปลย่ี นแปลง (วิปรณิ ามทกุ ข)

๑.๓ ทกุ ขม เี หตปุ จ จัยเกี่ยวเนอ่ื งกนั (สังขารทุกข)

๗ บญุ มี แทน แกว, ปรัชญาฝา ยบุรพทศิ , (กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๔๕), หนา ๙๔-๑๐๐.

๘๙

๒. สมุทัย คือเหตุท่ีทําใหทุกขเกิด ซึ่งไดแกความหิวกระหาย ความกําหนัด ยินดี ความ
เพลดิ เพลิน เปนตน ซึ่งไดแ กตัว ตณั หา นน่ั เอง ซง่ึ มีอยู ๓ อยา ง คือ

๒.๑ กามตัณหา ความทะยานอยาก หิวกระหาย ความไมรูจักอ่ิมไมรูจักพอในกาม
อารมณ คอื รูป เสี่ง กล่นิ รส สัมผัส

๒.๒ ภวตัณหา ความทะยานอยาก หิวกระหาย อยากเปนนั่น อยากเปนนี่ อยู
เรอ่ื ยไป

๒.๓ วิภวตัณหา ความทะยานอยาก หิวกระหาย ในความไมอยากมี อยากไมอยาก
เปน

๓. นิโรธ คือ ความดับทุกข ไดแกความดบั ตัณหาอันเปนเหตใุ หเกิดทกุ ขนั่นเอง ถาบุคคลดับ
ทกุ ขได กเ็ รียกวา บรรลุนพิ พาน จงึ กลา วอกี ในหนงึ่ วา “นโิ รธ” ก็คือนิพานน่ันเอง

๔. มรรค คือ ทางปฏบิ ัติใหถ งึ ความดบั ทกุ ข ซ่งึ มอี งค ๘ ประการ คือ
๑. สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ
๒. สมั มาสงั กปั ปะ ความรําริชอบ
๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ
๔. สัมมากมั มนั ตะ การงานชอบ
๕. สมั มาอาชวี ะ การเลยี่ งชวี ิตชอบ
๖. สมั มาวายามะ ความเพียรพยายามชอบ
๗. สมั มาสติ การตง้ั สติรอบคอบ
๘. สมั มาสมาธิ การตัง้ ใจไวชอบ

บุคคลผูหวังจะเขา ถึงความดับทกุ ข (นิโรธ) หรือเขา ถงึ นิพพาน ตองปฏิบัตติ ามมรรคมีองค ๘
ประการน้อี ยา งสมบรู ณ มใิ หข าดตกบกพรอง

อนึ่ง ในเรอ่ื งอรยิ สจั ๔ คอื ของจรงิ อนั ประเสริฐ ๔ ประการน้ี สามารชี้ใหเห็นเหตกุ ารณที่เปน
จริงไดดงั นี้

๑. ทุกข ความไมบาย เชน เปนไขห วดั
๒. สมุทยั เหตใุ หท ุกขเ กิด ไขหวัดเกดิ จากการไดร ับเชอื่ โรค
๓. นิโรธ ความดับทกุ ข คอื ตองทําลายเชอื้ โรคท่ีกอใหเกดิ ไขห วดั
๔. มรรค ทางปฏิบัตใิ หถงึ ความดบั ทุกข ก็คือการทาํ ลายเช้ือโรคหวัดน้ัน เชน กินยา ฉดี ยา
เปน ตน ในทสี่ ุดความทกุ ขจ ากโรคไขหวัดก็หายไป
๒. ไตรลกั ษณ
ไตรลักษณ หรือเรียกอีกช่ือหนึ่งวาสามัญลักษณะ หมายถึงลักษณะท่ีเหมือนกันไมมีอะไร
พิเศษแตกตางกันของสรรพส่ิงในโลก เปนลักษณะสามัญธรรมดาท่ีทุก ๆ ส่ิงมีเสมอเหมือนกันหมด

๙๐

สรรพสิ่งท้ังหลายตองตกอยูภายใตกฎแหงความเสมอเหมือนกันไมมีขอยกเวน ไมวาจะเปนสิ่งมีชีวิต
หรอื สงิ่ ไมมชี ีวติ ก็ตาม ซึง่ มอี ยู ๓ อยาง คือ

๑. อนิจจัง ความไมเที่ยงแทแนนอน ความไมคงที่ ความเปลี่ยนแปลง เชน รางกาย ของ
คนเราเมอื่ แรกเกิดก็เปนเด็ก ตอมาก็เจริญเตบิ โตเปนผูใหญ คนแกและคนตายไปในทส่ี ุด ในดานวัตถุ
เชน เกาอี้ เมื่อแรกทําเสร็จสกี ็สดสวยรปู ทรงสวยงาม กาลเวลาผา นไปสีท่ีเคยสดสวยก็เกาคร่ําคราและ
รูปทรงก็บบุ สลาย ตอไปกก็ ลายเปน เศษไม จงึ เหน็ ไดว า ทกุ สง่ิ ทุกอยา งไมเท่ยี ง (อนจิ จัง)

๒. ทุกขัง ความเปนทุกข ความขัดของ ความทนอยูไมไดของสรรพส่ิง เพราะสรรพสิ่ง
ทงั้ หลายเปน ของไมเทีย่ งจึงตอ งเปน ทุกข เพราะเปนของไมคงทนถาวร และคําวาทุกขขงั น้ีเราพิจารณา
ไดใน ๒ ลักษณะ คือ

๒.๑ ทกุ ขเวทนา หมายถงึ ความยากลําบากทีเ่ กดิ ขึ้นจากความเจ็บปวด ทางรา งกาย
จิตใจ โรคภัยไขเจ็บเบียดเบียน เชน การเกดิ แก เจ็บ ตาย เปนทุกข การเศราโศกเสนียใจกเ็ ปนทุกข
เปน ตน

๒.๒ ทกุ ขลักษณะ คอื สภาวะท่ีทนอยไู มไ ดของสสารทุกประเภท ความทุกขทุกชนิดน้ี
เกดิ ขึน้ เพราะเราไมอยากใหส สารเปล่ียนแปลงแตม ันกเ็ ปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติ ของมันหามไมได
บังคบั ไมได

๓. อนัตตา มันไมใชตัวตน เพราะคําวาตัวตนนั้น เปนผลรวมของสวนประกอบตาง ๆ ซึ่ง
เกิดขนึ้ แทนกนั ไมขาดสาย ตัวตนทีแ่ ทจริงของสว นประกอบตา ง ๆ ไมมี จึงเปนอัตตา ไมมีตัวตนจริงส่ิง
ทัง้ หลายทง้ั ทม่ี ชี วี ติ แลไ มมชี ีวิตเปนเพยี งการรวมตัวของธาตุ ๔ แตถา ธาตุ ๔ แยกตัวออกไปเมอ่ื ใดกไ็ ม
มอี ะไรเหลอื อยู จงึ เปน อนตั ตาไมมตี ัวตนจริงในอนัตตาลกั ษณสูตร ไดก ลาวถึงลกั ษณะของอนัตตาไว

๑. ไมอยูในอาํ นาจของเรา คอื ฝนอาํ นาจของเรา
๒. แยงตอ อตั ตา มแี ตส ภาวะทเ่ี ปน องคฺประกอบเทาน้นั
๓. เปน สภาพทีห่ าเจาของมิได มิใชของเรา
๔. เปนสภาพสญู ไมมีอะไรเหลอื ดุจความฝน
๕. เปนสภาวธรรมท่ีเกิดขึ้นเพราะมีเหตปุ จ จัย
อกี อยางหน่ึง ทเ่ี รียกวา อนัตตาเพราะไมใชตวั ตน ไมอยูในอาํ นาจของใคร ใครจะบังคับบัญชา
ไมได
๓. ปฏิจจสมปุ บาท
ปฏิจจสมุปบาท หมายถึงสิ่งท่ีอิงอาศยั กันและกนั เกดิ ขึ้นหรือธรรมท่ีอาศยั กันเกิดโดยไมอาจ
แยกหรอื ตัดขาดจากกนั ได

๙๑

ในคัมภีรสุทธิมรรค หมายถึงสภาวธรรมทเี่ กิดข้ึนเพราะอาศัยซ่ึงกนั และกัน สวนในอภิธรรม
หมายถงึ อาการที่ส่งิ ทง้ั หลายเปนปจจัยแกกันและกันเกิดขึ้น กลาวคอื ส่ิงตาง ๆ จะเกดิ ขึ้นเอง เปนเอง
โดยไมม ีเหตปุ จจัยไมได

ปฏจิ จสมปุ บาทน้มี คี วามสําคัญเพราะ
๑. เปนหลักธรรมที่แสดงถึงกฎธรรมชาติของสรรพส่ิงที่มกี ารไหลเรื่องไมอยูนิ่ง มีการเกดิ ขึ้น
ในเบือ้ งตน มีความแปรปรวนในทา มกลางและความแตกดับในที่สุด
๒. เปนหลักธรรมท่แี สดงถึงกฎธรรมดาของทกุ ส่งิ ทกุ อยางทีเ่ ปนของไมเ ทีย่ ง เปนทกุ ขแ ละเปน
อนัตตา
๓. เปนหลักธรรมที่แสดงถึงกฎแหงสังสารวัฎ คือ วงจรแหงความทกุ ขทีเ่ กดิ ขนึ้ เพราะอาศัย
กิเลส กรรม วิบาก
๔. เปน หลกั ธรรมของใหญทรี่ วมเอาความหมายแหง ธรรมะมาไวไดทง้ั หมด
๕. เปน ธรรมะทวี่ าดว ยเร่อื งของชีวิตเราในขณะน้แี ละเดยี๋ วนี้
ปฏิจจสมุปบาทน้ี มีความสัมพันธตอกัน เปนปจจัยของกันและกัน และมีความเกี่ยวโยงกัน
เปนลกู โซ มอี งคป ระกอบ ๑๒ ขอ คือ
๑. อวิชชา คอื ความไมร ู ไดแ กไมรูในทุกข ไมรูในเหตุแหงทุกข ไมรูในความดบั แหงทุกข และ
ไมรใู นทางดาํ เนินรไปสูความดบั ทกุ ข อวิชชา เปนปจจยั ใหเกดิ สงั ขาร
๒. สังขาร คือความคิดที่เปนเหตุผลใหเกิดการปรุงแตง ทง้ั กาย วาจา และใจ แบงเปน ๓
อยา งคอื

๑. กายสงั ขาร ไดแกส งิ่ ท่ปี รุงแตง ใหเกดิ หนาท่ีทางกาย
๒. วจสี งั ขาร ไดแกส ิง่ ทปี่ รงุ แตงใหเกดิ หนาท่ีทางวาจา
๓. จิตสังขาร ไดแกสิง่ ทป่ี รงุ แตง ใหเกิดหนาท่ีทางใจ สังขารเปนปจ จยั ใหเ กิดวญิ ญาณ
๓. วญิ ญาณ คือความรูสึกหรือการรับรูอันเกดิ จากประสาทสัมผัสระหวางอนิ ทรียภายในกับ
อินทรีภายนอก มี ๖ อยาง คือ
๑. ตา เห็นรปู เกิดความรสู ึกขนึ้ เรยี กวา จกั ษวุ ญิ ญาณ
๒. หู ฟง เสยี ง เกดิ ความรูสึกขนึ้ เรียกวา โสตวญิ ญาณ
๓. จมกู ดมกลิ่น เกดิ ความรูสกึ ขึ้น เรยี กวา ฆานวญิ ญาณ
๔. ลน้ิ ลมิ้ รส เกิดความรสู ึกขน้ึ เรียกวา ชวิ หาวิญญาณ
๕. กาย ถกู ตอ ง (สมั ผัส) เกดิ ความรสู ึกข้นึ เรยี กวา กายวญิ ญาณ
๖. ใจ คิดถึงอารมณ เกิดความรูสึกขึ้น เรียกวา มโนวิญญาณ วิญญาณเปนปจจัยให
เกดิ นามรูป


Click to View FlipBook Version