The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-07-19 08:32:13

ปรัชญาเบื้องต้น

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Keywords: ปรัชญา,ศาสนา

๒๔๔

วิชาการตลอดถงึ แนะนาํ สง่ิ ที่ถูกทค่ี วร ทหารมหี นาทใี่ นการปอ งกันรักษาประเทศชาติ ฯลฯ จริยศาสตร
จะเนนใหแตละคนรจู กั หนาท่ีของตนเองและทําหนา ท่ีของตนเองใหสมบูรณ

๒. อดุ มการณส ูงสุดของชวี ิต จรยิ ศาสตรน อกจากขะช้ีวามนษุ ยแ ตล ะคนมหี นาที่ ทจ่ี ะทําเปน
ของตนเองแลว ยังบงช้ีอีกวา มนุษยควรทาํ อะไร ไมค วรทําอะไร (อะไรควรทํา อะไรไมควรทํา) เพื่อ
มนุษยเราจะไดยึดถอื เปนอดุ มคตสิ งู สุดแหงชีวิตของตนเอง เชน อดุ มการณของลูกเสือวา เสียชีพอยา
เสยี สตั ย๓ ของชาวพทุ ธวา ยอมเสียสละชีวติ เพื่อรักษาความเปนธรรม จะเห็นวาลกู เสือทุกคนยอมตาย
เพื่อรักษาคําสัตย ชาวพทุ ธทุกคนยอมตายเพอื่ รักษาความเปนธรรม เปนตน อุดมการณของชีวิตนี้จะ
ทาํ ใหมนษุ ยเ ราสามารถยนื หยัดอยไู ดอ ยา งภาคภมู ิ แมจะตอ งสูญเสียส่ิงสาํ คญั หรือสิ่งที่ตนเองหวงแหน
ก็ตาม ดังนั้น มนุษยทุกคนจึงควรต้ังอุดมการณแหงชีวิตของตนไว และดําเนินตามแนวทางแหง
อุดมการณน ้นั เพอื่ วา ชีวติ ของตนเองจะไดม ีคณุ คา

๓. ความดีอันสูงสุด จริยศาสตรจะชี้วา ความดีอันสูงสุดคืออะไร และมนุษยควรเลือกทํา
ความดีอันสูงสุดนั้น ความดีอันสูงสุดในที่นี้หมายถึง ความเหมาะสมในหนาท่ี ที่จะพึงทํากอนหรือ
หนาที่เฉพาะหนาท่ีสําคัญกวา ความหมายวา เมื่อมีหนาท่ี ที่สําคัญเกิดข้ึนพรอมกันหลายอยางใน
ขณะเดียวกัน การเลือกทําหนาที่ ที่สําคัญกวามีคุณคาสูงกวา คือ กาทําความดีสูงสุด ตัวอยางเชน
ทหารไดรับคําสั่งใหออกรบเพ่อื ปองกันรักษาประเทศชาติ ในขณะเดียวกันก็ไดร ับโทรศัพทจ ากภรรยา
วา ลูกปว ยหนักกลบั บานดว น ในฐานะทเ่ี ขาเปน ทหาร การออกสนามรบเพ่ือปองกนั ประเทศชาติ เปน
หนาที่ ที่ควรทํากอนและมีคุณคามากกวา และอีกตัวอยาง นักศึกษากําลังสอบไลปลายปของปท่ีจะ
ส้ินสุดการศึกษา ไดรับโทรศัพทจากแมวา พอปวยหนักกลับบานดวน โดยหนาที่ทางศีลธรรม
นกั ศึกษานนนั้ ออกจากหองสอบเดนิ ทางกลับบา น เพ่ือการรกั ษาพยาบาลพอกาํ ลงั ปวยหนกั

การออกสนามรบเพื่อปองกันรักษาประเทศชาติของทหารคนน้ันก็ดี การออกจากหองสอบ
เดินทางกลบั บาน เพอ่ื รกั ษาพยาบาลพอ ที่กําลังปวยหนักของนักศึกษาคนนั้นกด็ ีถอื วาเปนการเลือกทํา
หนา ที่ ทม่ี คี วามสําคญั มากกวา มคี ณุ คามากกวา เปน ความดอี นั สงู สุด เพราะการรกั ษาพยาบาลลูกของ
ทหารและการสอบไลข องนักศึกษาเปนหนาท่ี ทส่ี ําคัญรองลงมา จริยศาสตรจึงเปนศาสตรแหงความดี
อันสูงสดุ

๓ คณู โทขนั ธ, ปรชั ญาเบ้อื งตน, (ขอนแกน : ภาควชิ ามนุษยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร,
๑๕๒๗), หนา ๘๑.

๒๔๕

๔. ประโยชนของการศึกษาวิชาจรยิ ศาสตร

วิชาการทุกแขนงยอมมีประโยชนตอผูศึกษาทั้งนั้น วิชาจริยศาสตรก็เชนเดียวกันประโยชน
ของการศกึ ษาจรยิ ศาสตรน น้ั พอสรุปไดด งั น๔้ี

๑. ทําใหร วู า อะไรดี อะไรชัว่ อะไรถกู อะไรผิด สามารถเลือกปฏิบตั ิในทางทถ่ี กู ทคี่ วรได
๒. รูทางดาํ เนินชีวิตทง้ั ทางสวนตวั และสงั คม อยูในสงั คมควรปฏบิ ัติอยางไร
๓. กฎทางจริยธรรมเปนกฎแหงความจริงของชีวิต เปนส่ิงที่ชีวิตตองการ ทําใหชีวิตสมบูรณ
การศกึ ษาจริยธรรมจงึ เปนการศึกษาถึงกฎธรรมชาตขิ องชวี ิต ทําใหรวู าชวี ติ ท่แี ทจ ริงตองการอะไร
๔. ความประพฤตติ ามหลักจริยธรรมเปนการพฒั นาชวี ิตมนุษยใหสูงขึ้นที่เรียกวา มีวัฒนธรรม
ทําใหช ีวติ มนุษยเปนชีวิตประเสริฐกวาสัตวถาขาดหลักดานจริยธรรมแลวคนกไ็ มตางจากสัตวแตอยาง
ใด
๕. การศึกษาวิชาจริยศาสตรมปี ระโยชนอีกอยางหน่ึงคือ ทําใหรูจักคาของชีวิตวาคาของชีวิต
อยูท่ไี หน ทาํ อยางไรชีวิตจึงจะมีคา การศกึ ษาจริยศาสตรแลว เลือกทางทด่ี ชี ีวติ ยอ มมคี าตามทตี่ องการ

๕. ความคดิ ของนักจริยศาสตรทางดา นอภิจรยิ ศาสตร

แนวความคดิ ดานนี้อาจแบงออกไดเ ปนพวกใหญๆ ได ๓ พวกคอื ๕

๑. พวกธรรมชาตินิยม
นักปรัชญาในกลุมนี้ใหความรูเรื่อง ความดีคอื อะไร จะใหคําจํากดั ความ คําวา ความดีน้ันได
หรือไมไ วด ังนี้
ความดคี ืออะไร นักปรชั ญากลุม นใี้ หคาํ จํากัดความไววา ความดีตองเปนส่ิงที่สัมพันธกบั ส่ิงอื่น
โดยใหคาํ จํากดั ความวา “ความดีคอื สิ่งทมี่ หาชนเห็นชอบ” หรือส่ิงทด่ี ีคอื สง่ิ ทกี่ อ ใหเ กิดความสุข
พวกธรรมชาตินยิ มถือวา ความเห็นชอบของสังคม เปนปรากฏการณข องสังคมเปนธรรมชาติ
ของสงั คม จึงเอาคําเหลานีม้ าใหคําจํากัดความของความดี
เราอาจพูดไดม ากมายเชนวา “ความดีคือส่ิงท่ีทําใหสังคมมีระเบียบ” “ความดีคือความสงบ
เย็นของสังคม” “สิ่งท่ีไดดีคือส่ิงท่ีทําใหสังคมจลาจลวุนวาย” “สิ่งที่ดีคือสิ่งที่ทําใหเราเย็นสบาย”
“การกระทําท่ีไมด ีคอื การกระทําทก่ี อ ความทุกขยากใหแ กส ังคม” เปน ตน

๔ บุญมี แทน แกว, ผชู วยศาสตราจารย, จรยิ ศาสตร (ETHICS), พิมพค ร้ังที่ ๔, (กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พรนิ้
ติง้ เฮา ส, ๒๕๕๐), หนา ๓.

๕ อมร โสภณวิเชษฐวงศ, ผชู วยศาสตราจารย, ปรัชญาเบื้องตน, (กรุงเทฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง,
๒๕๒๔), หนา ๒๖๑.

๒๔๖

ทง้ั หมดน้ีเปนการใหคําจํากัดความคาํ วา ดี ไมดี แบบธรรมชาตินิยม คือเอาเร่ืองธรรมชาติมา
เก่ยี วขอ งดวย เอาธรรมชาตเิ ปนเครอ่ื งวัดเสมอ

นักธรรมชาตินิยมเห็นวา คา ทางจริยะคือ ดี ถกู ควร ไมดี ไมถูก ไมค วรมิไดมีเองเปนเองโดย
ตวั ของมันแตม ันตอ งอาศยั ธรรมชาติหรือขอเท็จจริงประกอบเชน พูดวานายขาวดี เพราะนายขาวเปน
คนดีมีมนุษยสัมพันธดี นั้นหมายความวา ความดขี องนาวขาวขึ้นอยูทนี่ ายขาวมีมนุษยสัมพันธไมใชว า
นายขาวดีเองได

๒. พวกอธรรมชาตนิ ิยม
นักปรชั ญากลมุ นีถ้ ือวา ความดี ความถกู ความผดิ ความควร หรือความไมดไี มถูก ไมควรเปน
อิสระไมเก่ียวของกับธรรมชาติ แตอยางใดเปนคุณสมบัติของส่ิงนั้นๆ นั่นเอง พวกนี้เห็นวา “การ
กระทําท่ีดีไมจ ําเปน ตอ งทําใหสังคมมคี วามสขุ ”
- การกระทาํ ทดี่ ีไมจ าํ ตองเปนสงิ่ ทีค่ นสวนใหญพอใจ
- ความดีกค็ ือความดี ไมเกย่ี วของกับอะไร เชนเราอาจพูดไดว า “ความดคี ือความถูกตอง
เหมาะสม” หรือวา “ความดคี อื ความสวยงาม” เปนตน
พวกอธรรมชาตินิยมถือวา คาทางจริยธรรม เปนส่ิงเชิงเดียว ความดีเปนสิ่งทมี่ ีในตัวของมัน
เอง ความดไี มเ ปน เชิงซอน ซึง่ มสี วนประกอบหลายสว น เชน มา ววั ควาย เปนส่ิงเชิงซอนนิยามไดงาย
แตส่ิงเชิงเดี่ยว เชน ความดี ความชั่ว นิยามไดโ ดยอาศัยตวั มันเองแตไมไดความขยายออกไปแตอยาง
ใด
พวกอธรรมชาตนิ ิยมถือวาความดีมีจริง การโตแ ยงทางจริยธรรมเปนสิ่งท่ีมีความหมาย เชน
เราพูดวา “นายแดงเปนคนไมดีเพราะนายแดงไปฆาคนตาย” แตน ายขาวพูดวา “นายแดงเปนคนดี
เพราะนายแดงฆา เขาตายเน่อื งจากคนท่ถี กู ฆาสมควรตาย” ในกรณนี ี้จะตองมคี นผิดหนึ่งคนถกู หนึ่งคน
จะผดิ ท้ังสองคนหรือถูกทง้ั สองคนไมไ ดเพราะความดีเปนสง่ิ มจี ริง ใครพูดไมต รงความจรงิ คนนั้นกผ็ ิด

๓. พวกอารมณนยิ ม (Emotionism)
นักปรัชญาพวกอารมณนิยมถือวาความดี ความช่ัวไมม ีจริงความถูกความผดิ ความควรความ
ไมมีจริง การพูดถึงเรอ่ื งความดคี วามถูก ความควร ความไมด ี ไมถ ูก ไมค วร เปนสิ่งไรสาระ การพูดวาดี
ไมด ี ถูก ไมถกู ควรไมค วรข้ึนอยูก บั อารมณข องแตล ะคนเทา นน้ั
ถา ก. พดู วา “บานหลงั นส้ี วยงามมาก”

ข. พดู วา “บา นหลังนีไ้ มเ ห็นสวยงามตรงไหนเลย”
ค. พดู วา “บานหลังน้ีไมส วยงามมากแตกไ็ มใชไ มงามเสยี เลย”

๒๔๗

ตามความคิดของนักอารมณนิยมจะเห็นวา ทั้ง ก. ข. ค. พูดถูกท้ัง ๓ คนเพราะเขาพูดตาม
อารมณตามความคดิ เห็นในขณะน้ัน ก. เห็นวาบานสวยเขาก็บอกวาสวยก็ถูก ข. เห็นวาไมส วยก็บอก
วาไมสวย ค. ก็เห็นวาเปนบานปกติธรรมดา จึงถูกทั้ง ๓ คนเพราะความสวยไมมจี ริงขึ้นอยูกับอารมณ
ของคนเทา นน้ั

สรปุ ความคิดเห็นของนกั จรยิ ศาสตรท้ัง ๓ พวกมีดังนี้
๑. พวกธรรมชาตินิยม เห็นวาความดีมีจริงโดยอาศัยธรรมชาติ ความดีหรือคาทางจริยะ เปน
สิ่งเชิงซอนใหคําจํากัดความของความดีโดยอาศัยธรรมชาติ ความดีจึงมีลักษณะสัมพันธคือข้ึนอยูกับ
ธรรมชาติเปนสาํ คัญ
๒. อธรรมชาตนิ ิยม เหน็ วาความดีหรือคา ทางจริยะมีจรงิ การนิยามความดีมีไมไดเพราะความ
ดีเปนสิ่งเชงิ เดย่ี ว การโตเ ถียงทางจริยะเปนส่ิงที่มีความหมาย คอื ถา ก.วานาย ข. ดีเพราะเขามเี มตตา
ค. วานาย ข. ไมดีแมม คี วามเมตตา
กรณนี ี้ตองถกู คนหนึ่งผิดคนหนึ่ง คือถา ข.มคี วามเมตตาจริง ข. ก็เปนคนดีเพราะความดีจริง
ก.กถ็ กู สว น ค.ที่วา ข.ไมด กี เ็ ปนฝา ยผิดเพราะตามความจรงิ ข.เปน คนดีจรงิ
๓. อารมณนิยม เห็นวาความดีความช่ัว หรือคาทางจริยะไมมีจริงการพดู เร่ืองจริยะเปนสิ่งไร
สาระไมมีอะไรดีในตัวมัน ข้ึนอยูกับอารมณของคนเทานั้น การนิยามคาทางจริยะทําไมไดเลยเพราะ
ความดีความชว่ั หรือคาทางจรยิ ะไมมเี ลย จงึ ไมรจู ะเอาอะไรมานยิ าม

๖. แนวความคิดของนักจรยิ ศาสตรเกยี่ วกับอดุ มคติชวี ิต

ในเร่ืองอุดมคติชีวิตนี้มีปรัชญาหลายกลุมหลายสํานักแสดงความคิดเห็นไวตางๆกัน แตจะ
นาํ มาพูดในทน่ี เี้ พียง ๒ สํานักดังนี้๖

๑. สขุ นยิ ม (Hedonism)
พวกสขุ นิยม เหน็ วา สิ่งทด่ี ีมีสุขในชีวิตมนษุ ยค ือความสขุ สง่ิ อืน่ ถาพอจะถือวามีความดีก็เพราะ
สิง่ นั้น นกั ปรชั ญากลุมน้มี หี ลายคนเชน
ซิกมันต ฟรอยส มีความเห็นวา “ในคําถามท่ีวาการแสดงประพฤติกรรมของมนุษย เขามี
จุดมุงหมายหรือมีความตงั้ ใจอะไรในชีวิต อะไรคอื ส่ิงท่ีตองการและปรารถนาจะบรรลุถงึ คําตอบไมมี
อะไรสงสัยเลยวา มนุษยแสวงหาความสุข เขาตอ งการไดรับความสุขความสบาย อีกดานหนึ่งหาทาง
พนจากความทุกขความไมสบายซ่ึงผลลพั ธก ็เทา กนั ”
เหตุผลของสุขนยิ มที่วา ทุกคนแสวงหาความสขุ นน้ี า ฟง เชน เราอาจถามเพือ่ นเราวา

๖ ศรณั ย วงศคาํ จนั ทร, ปรชั ญาเบือ้ งตน, (กรงุ เทพฯ : อมรการพมิ พ, ม.ป.ป., ), หนา ๑๗๙-๑๘๒.

๒๔๘

- เรียนไปทาํ ไม
- ทาํ งานเพอ่ื อะไร
- หาเงนิ ไปทําอะไร
- ไปเท่ยี วทาํ ไม
- ทาํ ไมเราตองประหยัด
- ทาํ ไมเราตองฟง เพลง เปนตน
เมอื่ สรปุ คาํ ตอบก็จะไดอันเดียววา เพอื่ ใหตวั เองมีความสุข เชนวา ถาไมเรียนหนังสือตอไปจะ
ลําบาก ถาไมท ํางานจะไมม ีเงินมาซือ้ ของใชของกินจะลําบาก ถา ไมไปเท่ียวกก็ ลุมใจไปเท่ียวแลวจะได
หายกลุมใจ ประหยัดไวเพ่ือเวลาเจ็บปายจะไดไมลําบากมากเกินไปรองเพลงแลวจะไดสบายใจหาย
กลุม ใจ เปนตน เม่อื สรุปคือคนตอ งการความสขุ น่นั เอง
พวกสุขนิยมจึงวาส่ิงที่ดที ่ีสุดสําหรับชีวิตมนุษยหรือส่ิงทมี่ นุษยตองการและแสวงหามากท่ีสุด
คือ ความสขุ
เบ็นแธม (Bentham ๑๗๔๘ – ๑๘๓๒)
เบน็ แธม เปนนกั ปรัชญาอังกฤษทมี่ ีความเชื่อดา นสุขนิยมนี้มากคอื เปน นกั ปรัชญาฝายสุขนิยม
คนหนึง่ เบ็นแธมกลาววา “ธรรมชาติไดจ าํ กัดมนุษยอ ยภู ายใตการบงการของนายทีม่ ีอํานาจเต็ม ๒ คน
คอื ความเจ็บปวด และความสุขสบาย เพ่ือสิ่งท้ังสองนี้เทาน้ันที่เราจะพูดไดว า เราควรทําอะไรไมควร
ทําอะไร นายท้ังสองคนนี้จะควบคุมการกระทํา การพูดการคิดท้ังหมดของเรา ความพยายามที่เรา
พยายามที่เราพยายามจะพน จากมันคือความผูกพันธกบั มนั มากขึ้นบางครั้งเราคิดวา เราพนจากมนั ไป
แลว แตทีจ่ รงิ ก็ตกอยูในอาํ นาจของมนั ตลอดเวลา”
แตการหาความสขุ บางครั้งตองอาศยั ความทกุ ข เชน นัง่ ชมภาพยนตรใ นโรงภาพยนตรตองทน
ตอกลิ่นบุหร่ีของคนที่ไมมีมารยาทและไมเคารพกฎหมาย ขุดเจาะอุโมงคลอดภูเขาเพื่อใหรถยนต
รถไฟ วิ่งผา นทางลัดได เปน ตน ลว นแตผ านความทุกขเ พอ่ื ไปสูค วามสุขน่นั เอง
นกั ปราชญทางจารวากของอินเดียกลา ววา “จุดหมายอยา งเดียวของมนษุ ยคอื ความสุขท่ีจะได
จากความพอใจประสาทสมั ผสั ทานไมค วรกลา ววา ความสุขมิใชเปนเพยี งสิ่งเดยี วท่คี นปรารถนาเพราะ
มีความทุกขเจือปนมาก เรานาจะฉลาดพอที่จะหาความสุขท่ีบริสุทธ์ิเทาท่ีจะมากไดและหลีกเล่ียง
ความทกุ ขท ีจ่ ะตามมา ดจุ ดังคนท่ีอยากกินปลาก็ตอ งไปหาปลามาท้ังตัวแลวปรุงแตงเลือกกนิ แตสวนท่ี
พอใจ จงอยาใหความกลัวความทกุ ขม าขัดขวางการหาความสุขซึ่งสัญชาติญาณบอกเราวาเปนส่ิงท่ีดี
ท่สี ุด”
เอพิคคิวรสั (๓๔๑ – ๒๗๐ B.C.)
เอพิคควิ รสั เปนนกั ปรชั ญากรกี ทีเ่ ห็นวาความสขุ เปน ส่งิ ท่ีดที สี่ ขุ สําหรับชวี ิตมนุษยค นหนึ่ง เขา
แนะนําวา “จุดหมายของการกระทาํ ทง้ั ปวงของเราอยูทีก่ ารหลุดพนจากความทุกขแ ละความกลัว เม่ือ

๒๔๙

เราบรรลุส่ิงนี้แลวเราก็จะสบายใจความสุขสบายเปนเน้ือหาของชีวิตที่สมบูรณ ความสุขเปนท้ังสิ่ง
ประเสริฐหลักและประเสริฐรองของเรา ทั้งนี้มิไดหมายความวา ความสุขอะไรก็ไดท่ีเราแสวงหา
บางคร้งั เราอาจตองแสวงหาความทุกขห รือทนความทุกขบา งเพื่อจะไดค วามสขุ ทม่ี ากกวา

หมายความวา ถา เราพบสิ่งใดเราตองคํานวณวา สิ่งนั้นจะกอสุขมากหรือทกุ ขม ากอันไหนจะ
ใหความสุขในเวลายาวนานกวา กัน เชน การตัดสินปญหาเร่ืองการเรียน กับการหนีเรียน อนั ไหนจะให
สขุ มาก สุขนานกวา กันกท็ ําสง่ิ นนั้

มลิ ส (milles ๑๘๐๖ – ๑๘๗๕)
มลิ สเปนนกั ปรชั ญาชาวอังกฤษ เขาไดพยายามปรับปรุงความเช่ือทางสุขนิยมใหนาเช่ือถือข้ึน
โดยแตเดิมพวกสุขนิยมถือวาความสุขน้ันไมวาจะเกิดจากอะไรความสุขก็เหมือนกนั เชน ความสุขของ
คนในเมืองใหญ โดยการมีเงินมากมีบริวารมาก ก็เหมือนกับความสุขของการอยูคนเดยี วในปาทําใหค น
เห็นวา ถาเชนนั้นความสุขของคนกับของสุขของคนกับของสุกรก็ไมตางอะไรกันมิลสจึงเพ่ิมเติมโดย
แนะนาํ วา “ความพอใจของสัตวไมอ าจสนองความสุขของมนุษยได มนุษยมสี มรรถนะท่ีมีระดับสูงกวา
ความพอใจของสตั วและเมือ่ ไดใ ชสมรรถนะเหลานคี้ รั้งหน่งึ แลว ก็จะไมถอื วา สิง่ ใดมคี วามสุขนอกจากส่ิง
น้นั จะสนองความพอใจของสมรรถนะเหลาน้นั ”๗
สมรรถนะ (faculty) ตามที่กลาวนี้มิลสหมายถงึ ความสามารถบางอยางทม่ี ีอยูในตัวมนุษยท่ี
ทําใหรูจักความสุขบางอยาง ซึ่งสัตวไมอาจรูได ซึ่งเรียกวาอินทรีย เชน ลิ้นเปนอินทรียท่ีทําใหรูรส
อาหาร หวาน คาว ขม เปรยี้ ว แตกอนหินไมม ีอนิ ทรียจ งึ ไมร รู สอาหารได
มิลสเห็นวาความสุขที่เกิดจากความเขาใจทฤษฎีสัมพันธของไอนสไตนนั้นสัตวมีไมได เปน
ความสุขท่ีมีคุณภาพสูงกวาการกินแกงอรอย มิลสเห็นวามนุษยกับสัตวมีความสุขบางอยางท่ีมีได
เหมอื นกนั เชน การกนิ การนอน แตมนุษยสามารถรูความสุขบางอยางทส่ี ตั วมไี มไดเชน ความสุขจาก
ความสงบใจ ความสุขจากความไมเ หน็ แกตวั ถา มนษุ ยเ คยรรู สความสุขแบบหลังนแ้ี ลวเขาก็ไมตองการ
ความสขุ จากความวุนวายเชนความสขุ จากรสตา งๆอกี
มิลสเห็นวาความสุขทางใจสูงกวาความสุขทางกายเพราะความสุขทางใจ ปลอดภัยกวา
ราคาเยากวา หาไดงายกวา
โดยสรปุ พวกสุขนิยมน้ีอาจแบง ใหญๆ ไดเปน ๒ พวกคือ
๑. พวกสขุ นิยมสวนตน หรือปจเจกสุขนิยม ถอื วาคนทําทุกอยางเพ่ือความสุขสวนตวั ท้ังส้ินไม
มคี วามสขุ ใดอืน่ ท่คี นตองการนอกจากความสุขสวนตัว ความสุขสวนตัวจึงเปนยอดปรารถนา หรือเปน
สิ่งทดี่ ที ีส่ ดุ ทค่ี นแสวงหา เอพิคคิวรัสอยใู นพวกน้ี

๗ สดใส โพธิวงศ, ปรัชญาเบ้ืองตน, (ขอนแกน : ภาควิชามนุษยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและ
สังคมศาสตร มหาวิทยาลยั ขอนแกน, ๒๕๓๔), หนา ๖๘.

๒๕๐

๒. พวกสากลสุขนิยม หรือประโยชนนิยม เห็นวามนุษยแสวงหาความสุขแตความสุขท่ีวาดี
ท่ีสุดน้ันตองเปนความสุขชนิดที่มากที่สุดแกคนจํานวนมากท่ีสุดในเวลานานท่ีสุด เขมขนที่สุด ไมใช
ความสุขของเอกชน ความสุขของชนหมูม ากจงึ เปนสิ่งทดี่ ที ี่สดุ สาํ หรับมนุษย เบ็นแธม และ มิลส อยูใน
พวกนี้

แตอ ยางไรก็ตามพวกสุขนิยมก็มคี วามเห็นรวมกันวา สังคมที่สมบูรณคือ สังคมที่ผูคนในสังคม
น้ันมีความสุข ชีวิตท่ีสมบูรณคือชีวิตที่มีความสุข โลกที่สมบูรณคือโลกที่มีความสุข ศีลธรรมก็ดี
กฎหมายกด็ ี ศลิ ปก็ดี สติปญ ญาหรือวิทยาการทั้งหมดก็ดี เปนของมีคาเพราะมนั พาไปหาความสุข ใน
ตัวมนั เอง สง่ิ เหลาน้ีไมมคี า อะไร

๒. อสขุ นยิ ม (Non Hedonism)
พวกอสุขนิยม เห็นวาความสุขไมเปนส่ิงที่ดีที่สุดท่ีมนุษยจะพึงแสวงหาแตไมไดปฏิเสธวา
ความสุขไมได ความสขุ ดีแตไ มด ีทีส่ ุดทคี่ นจะหมดมุน แสวงหาแตเ พยี งอยางเดยี วตลอดเวลาในชีวิตของ
เขาสง่ิ ทด่ี ที ีส่ ุดในชีวิตของคนนั้นไมใ ชความสุข พวกอสุขนิยมแยกมาเปน ๒ พวกดงั นี้
ก. ปญญานิยม (ถอื วา ความรูหรือปญ ญาดีทสี่ ุด)
นกั ปรัชญาที่ถือวา ปญ ญาดีท่ีสุดของมนษุ ยไดแก โสเครตสี (๔๖๙ – ๓๙๙ B.C) พลาโต (๔๒๗
– ๓๔๗ B.C) อริสโตเตลิ (๓๘๔ – ๓๒๒ B.C) ความคดิ โดยสรุปของนักปรัชญากลุมนี้ก็คือวา “ทกุ สิ่ง
ทกุ อยางในโลกยอมมีลักษณะเฉพาะของมัน เปนลักษณะที่ทําใหสิ่งๆหน่ึงเปนตวั ของมันเอง แยกออก
ไดจากสิ่งอื่นๆ ลักษณะเฉพาะท่ีมีประจําในแตละส่ิงนี้เรียกวา สาระ ของสิ่งนั้นๆ มีดตางจากคอน
เพราะมดี มีคม ใชฟน ใชตัดสวนคอ นไมมคี มใชทบุ ใชตี ความคมจึงเปนลักษณะเฉพาะของมีด มีดที่คม
ใชตัดใชฟ นไดด ี ยอ มเปนมีดทส่ี มบรู ณ”
“สําหรับคน สมมตุ ิวา นาย ก. เปนนายแพทยท่ีมคี วามสามารถรักษาโรคไดดีเปนพเิ ศษ การ
รักษาโรคไดอยางดี เปนคุณลักษณะของ ก.ถานายแพทย ก.ประสบอุบัติเหตุจนไมสามารถรักษาโรค
ตอไปไดแตไ มถึงตาย ชีวิตการเปนแพทยของ ก. ส้ินสุดลงการรักษาโรคเกงก็ไมเปนคุณสมบัติเฉพาะ
ของ ก. อีกตอไปในกรณีน้ีสาระของชีวิตอยูที่ไหนดังน้ันส่ิงที่เราจะพิจารณาถึงสาระของชีวิต ตอง
พิจารณาคนในฐานะเปนคนไมใชพ ิจารณาฐานะอ่ืนจากความเปนคนเชน การรักษาโรคเกง กนิ อาหาร
เกง รอ งเพลงเกง เรยี นหนังสอื เกง เปน ตน ”
อริสโตเติล กลาวตอไปวา “เพียงแตการดํารงชีวิตไมใชลักษณะเฉพาะของมนุษยเพราะพืช
และสัตวกเ็ ปน เชนนั้นได กลาวคือ
- มนุษย สัตว พืช มีการกนิ การเติบโต การขยายพนั ธเ หมอื นกัน
- มนุษย และสัตว มีการรับรูทางประสาทสัมผัส การเคลื่อนไหว ความรูสึกตองการ
เหมอื นกนั

๒๕๑

- แตม นุษย มีลักษณะพเิ ศษตางจากสตั ว มนุษยมปี ญ ญา หมายถึง ความสามารถใชเหตุผล
แสวงหาความจริงมนุษยเขา ใจเรื่องคณติ ศาสตร วิทยาศาสตร มีความซาบซึ้งในศลิ ปะ แตสตั วไ มมี

อริสโตเติล มีความเห็นคลายกับพลาโตแตพลาโตไดแบงวิญญาณหรืออันที่จริงก็คือความรู
นน้ั เอง ออกเปน ๓ ภาคคอื

๑. ปญญาภาคแรก เปนภาคตาํ่ สุดคือปญญาซึ่งทําใหมนุษยรูจักหิว รูจักสืบพันธปญญาภาคนี้
สตั วก็อาจมเี หมอื นมนษุ ยไ ด

๒. ปญญาภาคที่สอง เปนภาคท่ีทําใหมนุษยรูจักเกียรติยศช่ือเสียง มีความกลาหาญไมกลัว
ตาย เขมแข็ง อดทน เปนภาคที่เรยี กวา นํา้ ใจ

๓. ปญ ญาภาคสาม เปน ภาคสงู สดุ เปน ปญญาอยางแทจริง เปนปญญาข้ันท่ีทําใหมนุษยเขา ถึง
ความจริงไดป ญ ญาชนิดน้ีจะพามนุษยไปพบสิง่ ตา งๆ ไดตามความตองการ

ท้ังอรสิ โตเติล และพลาโตมคี วามเห็นเหมอื นกนั วา ปญญาเปนลักษณะเฉพาะของมนุษย เปน
ส่ิงที่มนุษยแสวงหาอยางแทจริง เปนสิ่งนํามนุษยไปสูความตองการทกุ อยางปญญานํามนุษยใหเ ขา ถึง
สัจจธรรมได ท้ังพลาโตและอริสโตเติลเห็นวาสัจจธรรมไมใชเปนสิ่งท่ีมนุษยสรางขึ้นแตเปนส่ิงท่ีมีอยู
โดยธรรมชาติ บุคคลจะสามารถคนพบสจั จธรรมไดดวยปญญา

ปรชั ญากลุม นเ้ี หน็ วา “ความสุขไมใ ชส่ิงท่ีดที ี่สุดท่ีมนุษยแสวงหาเพราะถา ความสุขดีทสี่ ุดแลว
คนก็ไมตางจากสัตวเพราะสัตวก็มีความสุขได มนุษยจึงเปนเพียงสัตวที่สมบูรณไมใชเปนมนุษยที่
สมบรู ณ”

“ความสุขไมเปนส่ิงมีคาในตัวของมันเอง แตถาคนไมมีความสุขคนก็ยากท่ีจะทําอะไรดวย
ปญญาไดดังนั้นความสุขจึงเปนทางใหเกิดปญญา แตไมใชทกุ คร้ังเพราะบางคร้ังเมื่อคนมคี วามสุขก็ย่ิง
ทําใหค นหางไกลจากปญ ญามากข้นึ ความสุขจึงไมใชส่งิ ท่ีดีทีส่ ดุ สาํ หรับมนษุ ย”

โลเครติส ยํ้าเสมอวา “ปญญาคอื ธรรม (Knowledge is Virtue) ไมมใี ครเปนคนดไี ดโดย
ปราศจากความรูชวี ิตที่ใชปญญาแสวงหาสจั ธรรม ไมใ ชช วี ิตท่ฟี ุมเฟอ ย หรูหรา หาความสขุ ทางโลกยี 

ข. วมิ ุตนิ ิยม
พวกวิมุตินิยมถือวา ความสงบของจิต ความหลุดพนจากความตองการเปนส่ิงท่ีดีท่สี ุด ความ
หลุดพนในที่นีห้ มายถึงความทจี่ ติ พนจากความตองการ จิตสะอาดปราศจากกเิ ลสทงั้ หลาย
กลมุ นกั ปรชั ญาฝายวมิ ุตินิยมมีหลายสํานกั เชน
๑. พวกซินนิค (Cynic)
พวกซินนคิ เชอ่ื คลายๆ กับโสเครติสแตไ มต รงกับโสเครติสหลายอยางเหมือนกนั พวกนี้นิยมยก
ยอ งโสเครตสิ ทโี่ สเครติสมชี วี ติ อยูอ ยางไมม ีตณั หา มชี ีวติ อยูอยา งงา ยๆ
ความเห็นที่ตางกันคือโสเครติสเห็นวาชีวิตงายๆ ไมมีคาในตัวของมันเอง แตชีวิตงายๆ ของ
โสเคติสเขาเชื่อวาจะนําไปสูปญญา สวนพวกชินนิคเห็นวา ชีวิตงายๆ นั้นเปนสิ่งมีคาในตัวของมันเอง

๒๕๒

พวกซินนิคปฏิบัติอยางเชนโสเครตสิ คือทําตัวใหมีชีวิตอยูอยางงายๆแตมจี ุดประสงคตา งกันกบั โสเคร
ตสิ พวกซินนิคบางพวกสอนวา “คนเราควรอยูอยางสุนัขหิวก็หากิน งวงก็นอนไปเร่ือยๆ ไมตองคํานึง
วา ท่นี อนนน้ั เปนอยางไรพวกน้ีอยา งที่เราพบเหน็ ในปจ จุบนั เชนพวกฮปิ ป อยูกนิ กันตามพื้นดนิ เปลือย
กายในท่ีสาธารณะเปน ตน

พวกซินนคิ เปน พวกหนีสังคม หรือปฏิเสธความเจริญสมนั น้ันมากกวาจะเปนพวกเขา หาสังคม
หรอื ยอมรบั สงั คม

๒. พวกสโตอิก (Stoic)
กลมุ สโตอกิ สอนคลา ยพวก ซินนิคท่ีใหมชี ีวิตงายๆ ไมยึดถืออะไร แตเปนกลุมที่มคี ําสอนเปน
ระบบมากกวา มีจุดหมายแนนอนกวา เชื่อในปญญาคลายปญญานิยม เชื่อในเหตุผลของจักรวาลที่
ดําเนินอยูตามกฎเกณฑของมนั เชือ่ วา ทุกส่ิงทกุ อยา งจะเปน ไปตามทม่ี ันจะเปน
กลุมสโตอิก เช่ือวา อิสรภาพเปนยอดปรารถนาของมนุษย อิสรภาพคือความสงบแหงจิต
ความสงบแหงจิตไมไดเกิดจากความสมอยาก แตเกิดจากการระงับความยากความอยากระงับไดเมื่อ
ระลึกถึงเหตุผลอยูเสมอ คนที่อยูในอารมณเหมือนคนติดคุก ตองกระวนกระวายหาความสุขไมได ผู
ผูกพันกับอํานาจภายนอกที่เราควบคุมไมไดยอมผิดหวังมนุษยจึงควรเอาชนะใจตนเองใหได นั่นคือ
ความสงบอนั แทจ ริงเปน สง่ิ ทีด่ ที ส่ี ุดสาํ หรับมนุษย
นักปรัชญากลุมสโตอิกท่ีสําคัญมี เซโน (Zano ๓๕๖ – ๒๔๖ B.C.) เอพิกเตตสั (Epietetus
๖๐ – ๑๑๐ A.D) มาคสั ออเรริอสั (Maecus Aurelius ๑๒๑ – ๑๘๐) รวมท้งั ศาสนาตา งๆ เชน
ศาสนพุทธ คริสต อิสลาม ลว นสอนทําใหจ ิตใจสงบดว ยกันท้ังนั้น
กลุมวิมุตินิยมท้ังสองกลุมคือท้ังซินนิค และสโตอิก กบั ศาสนาตา งๆ เช่ือวาสงิ่ ท่ดี ีที่สุดสําหรับ
มนษุ ยคือความสงบใจ ไมใ ชความสขุ ทเ่ี กดิ จากความสมอยาก
ค. มนษุ ยน ิยม (Humanism)
นักปรัชญาฝายมนุษยนิยม ไมเห็นดวยกับฝายสุขนิยมเพราะพวกสุขนิยมใหความสําคัญแก
ความสุขสบายทางกายมากเกินไป และไมเ ห็นดวยกบั พวกปญญานิยมและวิมุตินิยมเพราะพวกปญญา
นยิ มและวิมตุ นิ ยิ มใหความสาํ คัญแกจติ มากเกินไป
มนุษยนิยมเหน็ วา รางกายของมนษุ ยกเ็ ปน สิ่งสําคญั เพราะถาไมมีรางกายมนุษยกไ็ มเปนมนุษย
สวนจิตใจนั้นกอ็ าศัยรางกายไมสามารถแยกเปนอิสระจากรางกายได มนุษยนิยมเห็นความสําคัญของ
ทั้งกายและใจเสมอกนั
พวกมนุษยนิยมเห็นวาเราไมควรลดมนุษยใหลงไปเปนสัตว และไมควรเชิดชูเขาใหเทาเทยี ม
กับพระเปนเจา เพราะผิดธรรมชาติของมนุษย มนุษยก็เปนมนุษยไมใชสัตวไมใชพระเจา ไมใชพืช
ไมใชเทวดา มนษุ ยม ธี รรมชาติเปน ของมนษุ ยเอง มรี างกายไมแข็งแรงอยางสัตวบางชนิดที่อาจอยูในน้ํา
ไดต ลอดเวลา อยใู นอากาศตลอดกาล อยูใ นหมิ ะโดยไมมเี ครือ่ งปองกนั ความหนาว

๒๕๓

แตพวกมนุษยนิยมก็ถือวารางกายของมนุษยเปนสิ่งประกอบท่ีดีที่สุดของมนุษยพรอมจิตใจ
เพราะทุกส่ิงทุกอยาง เกิดจากรางกายและจิตใจของมนุษยทั้งสิ้น ส่ิงที่มนุษยจะตองรักษาใหดที ่ีสุดใน
ฐานะที่เปน สงิ่ ทม่ี ีคา ทส่ี ุดคือ รางกาย และจิตใจของเขาเอง

๗. แนวความคิดเกี่ยวกับเกณฑตัดสนิ คุณคาทางจรยิ ของนกั ปรัชญาคนสําคญั บางคน

เนื่องจากจริยศาสตรวาดวยเร่ืองคุณคาเร่ืองความดี ไมดี แตเปนการยากทจี่ ะช้ีขาดวาอะไรดี
ไมดี อะไรควรไมควร อะไรถูกไมถูก นักปรัชญาดานนี้ จึงไดพยายามหาหลักเกณฑเพ่ือเปนแนว
ทางการตดั สินคุณคา ซึ่งมีหลายกลุม ซึง่ จะยกมาพูดในท่นี ้ี เฉพาะความคิดใหญๆ ดงั นี้๘

๑. สัมพทั ธน ยิ ม
สมั พทั ธนยิ ม หมายความวา การทสี่ ิ่งหน่ึงสิ่งใดจะมีคุณสมบัตอิ ยางใดๆ น้ันจะตองสัมพัทธกับ
หากสภาพการอยางอื่นไมอํานวยแลว คุณสมบัติเชนนั้นก็ไมมีตอไป เชน นํ้าจะเปนของแข็งก็ได
ของเหลวก็ได เปนกาซก็ได เปนไปก็ได เปนรูปส่ีเหล่ียมรูปกลมรูปทรงกระบอก กไ็ ดทัง้ น้ันทั้งนี้ขนึ้ อยู
กับสภาพแวดลอ มของนาํ้ นน้ั สภาพท่สี ัมพนั ธก นั น้เี รียกวา สัมพันธ หมายความวาความแข็งความเหลว
ของนํ้าไมเปนส่ิงตายตัว แตขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม หมายความวาความสัมพันธกับสภาพแวดลอม
หมายความวาความสัมพันธกับสภาพน้นั เปนเครอื่ งกาํ หนดคณุ ลักษณะของนา้ํ
สัมพันธ นี้มีความหมายตรงขามกับสัมบูรณ สมมติวา นํ้าท่ีมีอุณหภูมิ ๑๐๐ องศา จะเดือด
กลายเปน ไอ การกลายเปนไปของนาํ้ ไมใชคณุ สมบตั ิตดิ ตวั ของนาํ้ แตขนึ้ อยูกับสภาพส่ิงภายนอกอื่นคือ
ความรอน เชนนี้เรียกวาน้ํามคี ุณสมบัตสิ ัมพัทธแตถาส่ิงสิ่งหน่ึงสมมติวา ก. มีคุณสมบัติเหนียว ก. อยู
บนดิน บนนํ้า ในน้ํา ใตดิน ในอากาศ ในกองไฟ ก. ก็เหนียวปจจุบัน ก. ก็เหนียว เชนนี้ความเหนียว
ของ ก. เรียนวาเปน สมั บูรณ คือไมอ ยูกบั สิง่ ภายนอกอน่ื ก. เหนียวโดยตัวมนั เอง
นักจริยศาสตรฝายสัมพัทธนิยมถือวา ความดี ความชั่ว ความถูก ความผิด ความควร ไมควร
เปนส่ิงสัมพัทธ ดี ชั่ว ถูก ผิด ควร ไมค วร เปนส่ิงตายตวั การกระทําอยางหน่ึงจําดีหรือไมดีขนึ้ อยูกับ
ปจ จยั หลายประการสวนพวกสัมบูรณน ยิ มถือวาความดี ความชั่ว เปนของมีคาตายตวั ไมขึน้ อยูอะไรไม
มีเง่อื นไขใดๆ ท้ังสนิ้

๘ ทองหลอ วงษธรรมา, รศ.,ดร., ปรัชญาท่ัวไป, (กรุงเทพฯ : สํานกั พิมพโอเดียนสโตร, ๒๕๔๙), หนา
๑๒๐-๑๒๔.

๒๕๔

นกั จรยิ ศาสตรฝ า ยสัมพัทธน ยิ มเองมคี วามเห็นแตกตางกันหลายฝายซง่ึ อาจแยกไดเปนพวกพอ
สังเกตดงั น้ี

ก. สัมพัทธบ คุ คล
พวกสัมพัทธนิยมบุคคล หรือบุคคลสัมพัทธนิยมเช่ือวาความดี ความชั่ว ข้ึนอยูกับบุคคล
หมายความวา เมอ่ื เราพูดวา ก. ดกี ็หมายความวา เราชอบ ก. ถา เราไมช อบเราก็บอกวา ก. เปนคนไมด ี
นักปรัชญากลุมน้ีมหี ลายคน เชน ฮอ บส โปรมาโกรัส เปนตน ฮอบสกลาววา “อะไรก็ตามที่
คนชอบ คนอยากไดหรือเปนสิ่งที่ตรงกับความชอบความอยากไดข องคน คนกว็ า ดี อะไรท่ีเขาไมช อบ
หรือเปนสิ่งท่ีเขาเกลียด เหยียดหยาม เขาก็จะวาสิ่งน้ันไมดี นาขยะแขยงคําวาไมดี ควรไมควร นา
ขยะแขยงหรือนา รัก เปนตน เปนส่ิงที่คนพูดเองไมมอี ะไรเปนเกณฑตดั สินนอกจากบุคคล
พวกโชฟส ท เปนอกี พวกหนงึ่ ทเ่ี ชือ่ ในเรอ่ื งสัมพัทธบ ุคคลนิยมนกั ปรัชญาพวกนี้เชื่อวา

“ความจรงิ หรือความดที แ่ี นน อนตายตัวไมมใี นโลกน”ี้
“ความจริงหรือความดีเปนเรื่องสวนบุคคลใครเห็นอยางไรก็เปนจริงหรือเปนไปตาม
ความเหน็ ของบุคคลนั้น”
“สภาพทั้งหลายทีเ่ ราเห็นนั้นเปนสิ่งที่เปนจริงไมม ีความจริงอ่นื ตางจากสิ่งที่เราเห็นเลย
สิ่งทด่ี กี ค็ ือสง่ิ ท่ีเราเหน็ และเราชอบ”
“ความจริงหรือความดที งั้ หลายปรากฏแกเ ราทต่ี า ทห่ี ู ที่จมูก ทีล่ ้ิน ทก่ี ายของเรานเี้ อง”
โปรทาโกรสั (Protagoras) กลา ววา “คนเปน ผูวดั ทกุ ส่งิ ทุกอยาง วาดไี มด ี จริงไมจ รงิ ถูกไมถกู
ควรไมค วร นอกจากคนไมมอี ะไรที่จะเปน เคร่ืองตัดสินได”
เวสเตอรมารค (Westermarck 1262 – 1939) นักจริยศาสตรชาวองั กฤษคนหนึ่งกลาวไววา
“การตัดสนิ ศีลธรรม เกดิ จากความรูส กึ ทางศีลธรรมของฉัน การตัดสินความประพฤติของผูอนื่ มิไดม า
จากความรูสึกทางศีลธรรมเปนสวนหน่ึงของจิตใจของเราซึ่งลึกซึ้งกวาความพอใจธรรมดาจึงเปลี่ยน
ตามความพอใจของเราไมไ ด
ข. จารตี ประเพณศี ลี ธรรมสัมพทั ธนยิ ม
นกั ปรชั ญาฝายจารีตนยิ ม ถอื วา เร่ืองความดี ความชั่วไมใชคนเปนผูตดั สิน แตเร่ืองของความ
ดี ความช่ัวเปน เรอื่ งของจารตี ประเพณี ความดี ความช่ัว ขึน้ อยกู บั จารีตประเพณขี องสังคมน้นั ๆ
จารีตประเพณีของแตละกลุมแตละสังคมยอมแตกตางไปตามกาละ และเทศะ เชน ชาวไทย
โบราณถอื วา การที่ผูช ายไทยไดบ วชเรียนแลว ยอมเปนคนท่ีสงั คมท่ัวไปนิยมยกยอ งนบั ถือวา มีเกยี ติ แต
ในปจ จุบนั แนวคิดเชน น้นั เปล่ยี นไป เราถือวา ผูไดรบั การศกึ ษาสูงจากมหาวิทยาลัยเปนผูทีไ่ ดรับการยก
ยอ ง ยิง่ จบจากตา งประเทศยิ่งไดร ับความนับถอื มาก

๒๕๕

สง่ิ ท่สี งั คมนน้ั ๆ ยอมรับวาดี มกั เปน ไปตามประเพณขี องสงั คมนั้นๆ เชน
๑. ประชาชนที่นับถือศาสนาพุทธทั่วไปจะถือวา การเคารพนับถือกราบไหวพระเปนส่ิงท่ีดี
ประเพณชี าวฮนิ ดูถอื วา การกราบไหวบ ูชาเทพเจา เชน พระนารายณ พระศวิ ะ พระพรหม เปนส่งิ ท่ีดี
๒. ชาวไทยถือวา เมื่อเวลาพบกันการไหวกันถือวา ชาวญี่ปุนใชวิธีโคงกายลงตํ่าเปนการดี
ชาวตะวันตกถอื วา การจบั มือกนั ดี
๓. ชาวไทยถือวาการใหทานแกค นยากจนดี ชาวจีนถอื วาการเซน ไหวบ รรพบรุ ษุ เปนสิง่ ทด่ี ี
รูธ เบเนดคิ (Buts benedict) นักมนุษยวิทยาคนหนึ่งกลาวถงึ เร่ืองของประเพณีของกลุมชน
ตา งๆท่ีเรียกวามีมากมายน้ีอยางนาฟงวา “ในพฤตกิ รรมทางประเพณีของชาติตา งๆ นั้นมแี ตทางบวก
สุดถึงทางลบสุด ชนบางเผาถือวาการฆาคนเปนส่ิงควรทํา บางประเทศถอื การรบเพื่อศาสนาเพือ่ พระ
เจา จะไดไปสวรรคบางประเทศถอื วาฆาลูก ๒ คนแรกเปนสิ่งท่ีดี บางกลุมถือวาสามีสามารถฆาภรรยา
ของตนไดโดยไมผิดอะไร บางเผาถือวาเปนหนาที่ของลูกที่จะตองฆาบิดามารดาของตนกอ นถงึ วัยชรา
บางแหงถือวาการขโมยไกตัวเดียวมีโทษประหารชีวิตคนทเี่ กิดวาพุธควรถกู ฆาทั้งหมด บางกลุมถือวา
การเหยียบเทาใหอภัยไมได บางพวกถือวาการยกเทาเสมอหนาผูอื่นเวลาสนทนากันไมเปนสิ่งนา
เกลยี ดประเพณีความเช่ือถือเหลา นบ้ี างอยางกส็ ิน้ สุดไปแลว แตบ างอยา งอาจมีมาถึงปจ จุบนั น้ี
นกั ปรชั ญาฝา ยจารีตประเพณนี ิยมถอื วา ประเพณีก็เปน สิง่ ตัดสินคุณคาทางจริยะอยางหนงึ่

๒. มโนธรรมสัมบรู ณ
เกณฑตัดสินความดีอีกประการหน่ึงคือลัทธิมโนธรรมสัมบูรณ ลัทธินี้ถือวาการตัดสินคุณคา
ทางจริยะนนั้ ทําไดต าม จติ สาํ นกึ เกณฑม าตรฐานในการตัดสินคณุ คาตามความคดิ ของนักปรัชญากลุม
นี้เรยี กวา มโนธรรม
มโนธรรมหมายถงึ สํานึกท่มี นุษยทกุ คนมีโดยธรรมชาติในฐานะที่เปนมนุษย เปนเสียงในจิตใจ
มนษุ ยท่ที ําใหต ดั สนิ อะไรไดว า สิง่ นั้นถูกหรอื ผิดอยางไร
ความสํานึกในเรือ่ งความดี ความชัว่ ไมจ ําเปนตอ งอธิบายเหตุผล เรารูวาสิ่งน้นั ผิดเพราะมนั ผิด
ไมดใี นตวั ของมนั เองจึงไมควรทาํ
สมมุติวา มีเคร่ืองบินโดยสารเครื่องหน่ึงประสบอุบัติเหตุผลเรารูวาส่ิงน้ันตกกลางภูเขาหิมะ
ทางข้ัวโลกเหนือ ผูโดยสารตายไปเกือบหมดเหลืออยู ๔ คน คนท่ี ๕ รอเวลาที่จะใหมีผูไปชวยเหลือผู
หลายวนั แตจนแลว จนรอดก็ไมม วี แี่ วววาจะมีทางการไปชวย ความหิวเริ่มเกดิ ข้ึนทกุ วัน อาหาร น้ํา ไม
มที ั้ง ๔ จึงมาปรึกษากันวาเพ่ือความอยูรอดควรเอาเน้ือมนุษยคือผูโดยสารท่ีเสียชีวิตมากินเพื่อตอไป
อาจมีผูมาพบชวยเหลือได ถาไมก ินเกิดตายข้ึนมาก็เลยอดกลับบาน ๓ คน เห็นดว ยวาควรเอาเน้ือคน
มากิน อีกคนหน่งึ บอกวา การกนิ เนอ้ื มนษุ ยไมเปนส่ิงถูกตองความคดิ เชนน้ีเปนความสํานึกในจิตใจสวน
ลึกวา การทําเชนน้ันไมถ กู ตอ ง

๒๕๖

เราจะเห็นไดวาการท่ชี าย ๑ ใน ๔ คนน้ันมคี วามเห็นคัดคาน วาการกนิ เนื้อมนุษยเปนการไม
ถกู ตองนน้ั เปน ความสาํ นกึ ในจติ ใจสวนลกึ วา การทําเชน น้ันไมถูกแตอธิบายไมไดวา ทําไมจึงไมถูก แตมี
ความรสู ึกวาไมถูก ความสาํ นกึ เชน นี้ในทางปรชั ญาเรยี กวามโนธรรม

ลทั ธิมโนธรรมสมบูรณเ ช่ือวา ทกุ สิ่งทุกอยางในโลกตองมีลักษณะทเ่ี ปนแกนแทของมันเปนสิ่งมี
จริงในตัวของมัน แกนแทของสิ่งทั้งหลายท่มี ีในสิ่งนั้นๆ เสมอไป เกลือยอมเค็มเสมอทุกกาลเทศะ ไฟ
ยอมรอนทุกกาลเทศะความรูสึกของคนอาจตางกัน เชน คน ๒ คนอยูขางกองไฟคนหนึ่งรูสึกวารอน
มากตอ งการใหไฟหรี่ลงใหมาก อกี คนหน่ึงรูสึกวาหนาวอยากใหไฟลุกโพลงยิ่งขึ้นจะไดอ บอนุ ขนึ้ ความ
จริงแลวไฟก็ยอมรอนเทาเดมิ

บัทเลอร นักจริยศาสตรชาวองั กฤษคนหน่ึงกลาววา “ในตัวคนเรามีส่ิงที่เหนือกวาความรูสึก
ธรรมดาคือมโนธรรมท่ีเปนตัวชี้ขาดเกณฑที่อยูในใจเราและตัดสินหลักแหงการกระทํามโนธรรมจะ
ตดั สนิ ตัวของเองและการกระทําของมนษุ ยม ันประกาศลงไปตายตวั วา การกระทํานนั้ ๆ โดยตวั ของมัน
เองวา เปนสิ่งยุติธรรม ถกู ดี ชว่ั ผิด อยตุ ิธรรม โดยไมมีคาํ ปรกึ ษาหรอื คําแนะนาํ ใดๆ มโนธรรมน้ันแสดง
อํานาจของมนั ออกมาเพ่ือใหความเหน็ ชอบหรอื ประณามผกู ระทําตามแตกรณี”

มโนธรรมหรืออินทรียท างศีลธรรมนน้ั มนษุ ยมอี ยูดว ยกนั ทกุ คนในฐานะทีเ่ ปนมนุษย เปนส่ิงติด
ตวั มนษุ ยแตเขาเกดิ มา มโนธรรมมี ๒ ภาคคอื

๑. ภาคชข้ี าดความดที ี่ถูกตอ ง
๒. ภาคชข้ี าดความงามทถ่ี กู ตอ ง
มโนธรรมท่ีมนษุ ยมีติดตวั น้ีเปนส่ิงสากลแมจะมีในทกุ คนกม็ ีลักษณะรวมเปนสากลคือทุกคนท่ี
อยูในภาวะปกติจะมคี วามรสู ึกคลา ยกนั เชน ความรูสกึ วา การชวยเหลือคนตกทุกขไ ดยากเปนส่ิงท่ีดี แต
อยา งไรกต็ ามคนทั้งหลายกย็ งั คดิ เหน็ ตา งกันอยบู า งเพราะ ความโลภ ความหลงมาปดบังเอาไว
๓. ประโยชนนยิ ม (Utilitarianism)
ประโยชนนิยมถือวา “หลักเกณฑที่จะตดั สินการกระทําส่ิงใดสิ่งหน่ึง วาถูกหรือผิดดีหรือไมดี
ชอบหรอื ไมช อบนัน้ ขน้ึ อยูก ับผลทไี่ ดรับจากการกระทํานนั้ หมายความวา ถามสี ่งิ สองส่ิงใหเลือกเราควร
จะเลอื กอยา งที่ใหป ระโยชนแกเราไดม ากท่สี ดุ ”
คําวา ประโยชน ในที่นี้หมายถงึ ความสขุ น่ันเอง คา ของสงิ่ ตา งๆทเ่ี รามีอยูนั้นก็เพราะวาของสิ่ง
นั้นพาใหเ รามคี วามสุข ความดี ของมนั อยทู ี่กอใหเ กิดความสุขแกเรา แตต อ งเปนสุขมากท่สี ุด ซงึ่ หลักนี้
เรียกหลัก มหสุข (The Greatest Happiness Principle) การดวู า สิ่งใดมีความสุขมากนั้นตองดูตวั
เราและตวั คนอื่นดว ยความหมายวา การกระทาํ นนั้ ตอ งใหค วามสุขแกเ ราดว ย แกคนอ่นื ดว ยจึงเปนหลัก
ของประโยชนน ยิ มที่ถกู ตอง

๒๕๗

นักปรัชญาฝาย ประโยชนนิยม หรือถือหลัก มหาสุข น้ี เปนฝายท่ีมคี วามคดิ อันเปนรากฐาน
ของศีลธรรมที่ถือวา “ความถกู ตอ งของการกระทําขึ้นอยูกบั แนวโนมท่ีวา การกระทํานั้นจะกอใหเกิด
ความสขุ ถาการกระทําใดจะกอสิง่ ท่ีสวนทางกบั ความสุข ส่ิงนั้นก็เปน การกระทําทีไ่ มถ กู ตอ ง”

“ผลทเี่ กดิ จากการกระทําสาํ คัญกวา เจตนา หรือแรงจูงใจ ทกี่ อ ใหเ กดิ การกระทาํ น้นั ขนึ้ ”
“แรงจูงใจไมมีอะไรเก่ียวของกับศีลธรรมของการกระทําแมวามันอาจเกี่ยวของกับศีลธรรม
ของผกู ระทําตาม”
“ใครก็ตามท่ีชวยใหเพ่ือนมนุษยพนภัยอันตราย เขายอมไดช่ือวา ไดทําถูกตองตามหลัก
ศลี ธรรมแลว แมวาแรงจูงใจใหทําน้ันจะเกิดจากหนาท่ี หรือเกิดจากความหวังท่ีจะไดร ับคาตอบแทน
อันคุมคา แกความเหน่อื ยยากน้ันกต็ าม”
กลาวโดยสรุป ประโยชนนิยมเปนอันเดียวกับสุขนิยม ท่ีถือวาความสุขเปนส่ิงที่ดีที่สุดของ
มนุษยความสุขที่วานั้นเปนความสุขจํานวนมากท่ีสุดในเวลานานที่สุดเรียกวา มหสุข ศลี ธรรมถือเปน
เร่ืองวิทยาศาสตรไมใชเ ร่ืองความรูสึก ถือวาประโยชนสุขนั้นคือศีลธรรม ประโยชนนิยมบางคร้ังจะไม
คาํ นงึ ถงึ กฎหมาย ศลี ธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี แตคํานึงถึงประโยชนสุขนั้น แหละเปนสําคัญสงิ่
ที่กอใหเกดิ ความสขุ แกค นจํานวนมากท่ีสุดในเวลายาวนานทส่ี ุดน้ันแหละคือกฎหมาย คือศีลธรรม คอื
ขนมธรรมเนยี มประเพณีท่ถี ูกตอ งควรทํา

๔. หลักการนยิ ม
นักปรัชญามชี ่ือเสียงของกลุมนี้คือ เอมมานูเอล คานท (KANT 1724 – 1804) คานทเ ปนนัก
ปรัชญาชาวเยอรมัน คานทเห็นวา “ความดี ความชั่ว ความถูก ความผิด น้ันเปนส่ิงที่ตายตัว
หมายความวาถาการกระทําอยางใดอยางหน่ึงดีมันจะตองดีเสมอโดยไมข้ึนอยูกับเวลา สถานท่ี
สิง่ แวดลอม หรือตวั บคุ คลใดๆ เลยเชนพดู ความจริงไมวาจะพดู เวลาไหนท่ีไหนยอมดเี สมอ”
“คาทางจริยธรรมเปนส่ิงท่ีมีจริง เม่ือมีจริงก็ตองตายตัว และเมื่อตายตัว ก็จะเอาผลการ
กระทาํ ตดั สินไมไ ด”
“ไมมอี ะไรในโลก ท่ีจะคิดไดวา เปนส่ิงท่ีจะวัดความดคี วามช่ัวไดนอกจากเจตนาดี” คานทถ ือ
วา “การกระทําทเี่ กิดจากเจตนาดี คือการกระทําตามหนาท่ีหรือจะพูดวาการกระทําตามหนาที่ก็คือ
การกระทําดว ยเจตนาดีนัน่ เอง”
การกระทาํ ทเี่ กิดจากแรงกระตนุ หรอื จากความรสู กึ ไมใ ชการกระทําทีเ่ กิดจากหนาที่ ไมถอื วา
เปนเจตนาดีเชนแรงกระตุน พวกความอยาก ความปรารถนา อารมณ ความรสู ึก เปนตน ”
“ชีวติ ท่ีมีคา คอื ชีวิตทีอ่ ยูกบั ศลี ธรรม คืออยกู บั หนาทไี่ มใชอ ยูก ับความสุข หรอื ความรสู กึ ”
“การกระทําตามหนาท่ี มิใชการกระทําทม่ี ุงไปที่ผลประโยชนหรือโทษของการกระทํา แตมุง
ไปทตี่ ัวการกระทาํ นนั้ ๆ วา เปนส่งิ ดีจริงในตวั มันเองเชนถา ก. พดู จริงเพราะคดิ วาคนเขาจะเช่ือ คนเขา

๒๕๘

จะรัก เชน น้ไี มใชก ารกระทําตามหนาท่ี แตถา เขาพูดจริง เพราะคดิ วาพูดจริงมันดี ใครจะรักจะเกลียด
ก็ชา งใคร เชน น้ี การกระทาํ ของเขาจึงจะเปนการกระทําตามหนา ทแี่ ละมีคาทางจรยิ ธรรมจริง”

“การกระทําตามหนาที่ ที่จะเปนหลักศีลธรรมไดตองเปนการกระทําท่ีเปนหลักสากล
หมายความวาเมื่อเราทําแลวคนอื่นเห็นก็รูสึกเหมาะสมหรือคนอ่ืนทําแลวเราดูอยูก็รูสึกวาเหมาะสม
เชน เราจะถอื วา ถาเราหวิ เราขโมยเขาได ท่ีนี่ในทางกลับบาน เม่ือคนอ่นื เขาคิดวาเมอ่ื เขาหิวเขาก็มา
ขโมยของๆเรากิน เชนน้ีเรายอมรับไหม เราไมยอมใหเขามาเอาของๆเราไป จึงไมเปนสิ่งสากล การ
กระทาํ ทไี่ มเขากฎสากลเชน นี้ไมเ ปน กฎศีลธรรม”

โดยสรุป ความเห็นของคานท ก็มวี า
- การกระทาํ ทถ่ี กู ตอ งคือการกระทําที่เกิดจากเจตนาดี
- การกระทําท่เี กิดจากเจตนาดี คือการกระทําที่เกิดจากการสาํ นกึ ในหนาท่ี
- การกระทําทเ่ี กดิ จากการสาํ นึกในหนา ท่ี คือ การกระทาํ ทีเ่ กดิ จากเหตผุ ล
- การกระทําท่ีตั้งอยบู นเหตผุ ล คือ การกระทําทีเ่ กิดจากศลี ธรรม
- การกระทาํ ทเ่ี กดิ จากกฎศลี ธรรม คอื การกระทําตามกฎสากล
- กฎสากล คือ กฎทที่ กุ คนในสังคมยอมรับและเหน็ ดว ย
ความเห็นดวยของทกุ คน - - - กฎสากล - - - กฎศลี ธรรม - - - เหตผุ ล - - - ความสํานึกในหนาที่ - - -
เจตนาดี - - - การกระทาํ ทถ่ี กู ตอ ง

๒๕๙

สรุปทายบท

วิทยาศาสตรตัดสินท่ีขอเท็จจริง สวนจริยศาสตรตัดสินท่ีคุณคา การเถียงกันเร่ืองคุณคา คือ
การแสวงหาเปาหมายอนั พึงประสงค แตต องต้งั บนฐานของขอเท็จจริง มฉิ ะนั้น เปาหมายจะกลายเปน
ความเพอ ฝน ในทางตรงกนั ขา ม ถาเถียงกันแตเ ร่อื งขอเท็จจริง โดยไมมีเปาหมาย เราก็จะอยูในสภาพ
คนตาบอด เพราะไมทราบวา จุดหมายปลายทางคืออะไร

๒๖๐

เอกสารอา งองิ ประจําบท

คูณ โทขันธ. ปรัชญาเบื้องตน. ขอนแกน : ภาควิชามนุษยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและ
สงั คมศาสตร, ๑๕๒๗.

ชัยวัฒน อฒั พฒั น. จริยศาสตร. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, ๒๕๒๓.
ทองหลอ วงษธรรมา, รศ.,ดร. ปรชั ญาทวั่ ไป. กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พโ อเดยี นสโตร, ๒๕๔๙.
บุญมี แทนแกว, ผูชวยศาสตราจารย. จริยศาสตร (ETHICS). พิมพครั้งท่ี ๔. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.

พรนิ้ ตง้ิ เฮาส, ๒๕๕๐.
บุญมี แทนแกว, สถาพร มาลีเวชรพงศ และประพัฒน โพธ์ิกลางดอน. ปรัชญาเบ้ืองตน (ปรัชญา

๑๐๑). กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พโ อเดยี นสโตร, ๒๕๒๙.
ศรัณย วงศคําจันทร. ปรชั ญาเบอ้ื งตน . กรงุ เทพฯ : อมรการพิมพ, ม.ป.ป.
สดใส โพธิวงศ. ปรัชญาเบ้ืองตน. ขอนแกน : ภาควิชามนุษยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและ

สงั คมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน , ๒๕๓๔.
อมร โสภณวิเชษฐวงศ, ผูชวยศาสตราจารย. ปรัชญาเบือ้ งตน. กรุงเทฯ : มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง,

๒๕๒๔.

บทท่ี ๙
สนุ ทรยี ศาสตร

ความนาํ

“สุนทรียศาสตร” เปนศัพทคําใหม ท่ีบัญญัติขึ้นโดย โบมการเด็น (Alexander Gottieb
Baumgarte. ๒๕๕ – ๒๓๐๕) ซึง่ กอ นหนาที่เปนเวลา ๒๐๐๐ กวาป นักปราชญสมยั กรีก เชน เพลโต
อริสโตเติล กลาวถึงแตเร่ืองความงาม ความสะเทือนใจ ซึ่งเปนความรูสึกทางการรับรู (Sense
Perception) ของมนษุ ย ปญ หาที่พวกเขาโตเถยี งกนั ไดแก ความงามคืออะไร คา ของความงามน้ันเปน
จริงมีอยูโดยตัวของมันเองหรือไม หรือวาคาของความงามเปนเพียงความขอความที่เราใชกับส่ิงที่เรา
ชอบ ความงามกบั ส่ิงทีง่ ามสัมพันธกันอยางไร มมี าตรการตายตวั อะไรหรือไมท ่ีทําใหเราตัดสินใจไดวา
สิ่งน้นั งามหรอื ไมงาม โบมการเ ดน็ มีความสนใจในปญหาเร่ืองของความงามนี้มาก เขาไดลงมือคนควา
รวบรวมความรูเก่ียวกับความงามท่ีกระจัดกระจายอยูมาไวในท่ีเดียวกัน เพ่ือพัฒนาความรูเกี่ยวกับ
ความงามใหมีเนื้อหาสาระที่เขมแข็งข้ึน แลวต้ังชื่อวิชาเกี่ยวกับความงามหรือความรูที่เก่ียวกับ
ความรูสึกทางการรับรูวา Aesthetics โดยบัญญัติจากรากศัพทภาษากรีก Aisthetics หมายถึง
ความรูสึกทางการรับรู หรือการรับรูตามความรูสึก (Sense perception) สําหรับศัพทบัญญัติ
ภาษาไทย ก็คือ “สุนทรียศาสตร” จากนั้นวิชาสุนทรียศาสตร ก็ไดร ับความสนใจเปนวิชาท่ีมีหลักการ
เจริญกาวหนาข้ึน สามารถศึกษาไดถึงระดับปริญญาเอก ดวยเหตุผลน้ี โบมการเด็น จึงไดรับการยก
ยองวาเปนบิดาแหงสุนทรียศาสตรสมัยใหมฐ านะท่ีเติมเช้ือไฟแหงสุนทรียศาสตรที่กําลังจะมอดดับให
กลับลกุ โชติชวยขน้ึ มาอีกวาระหนงึ่ ๑

๑ ทวีเกียรติ ไชยยงยศ, สุนทรียะทางทัศนศลิ ป (โครงการตาํ ราคณะศิลปกรรมศาสตร สถาบันราชภัฏ
สวนดุสิต), (กรงุ เทพฯ : พมิ พลกั ษณ, ๒๕๓๘), หนา ๑.

๒๖๒

๑. ความหมายและขอบขายของสนุ ทรยี ศาสตร

คําวา “สุนทรียศาสตร” แยกศัพทอ อกเปนสองคาํ คอื “สุนทรีย-” แปลวา เกย่ี วกับความนิยม
ความงาม กับ “ศาสตร” แปลวา วิชา สุนทรยี ศาสตรจ งึ แปลวา วิชาวา ดวยความนิยมความงาม๒

สุนทรียศาสตรแปลมาจากคําภาษาอังกฤษวา “aesthetics” ซง่ึ แปลวาการศึกษาเร่ืองความ
งามหรือปรัชญาความงาม ( philosophy Of Beauty) บางคร้ังคําวา aesthetics ยังหมายถึง
ปรชั ญาศิลปะ ( philosophy of Art) ซ่งึ ใหนิยามวา “วิชาท่ีเกีย่ วขอ งกับธรรมชาติของความงาม”
ซ่งึ บางคนก็เขาใจวา คาํ นิยามทัง้ สองน้ีมีความหมายอยางเดียวกนั แตความเขา ใจดังกลาวน้ีไมถกู ตอ ง
เพราะความงามไมไดมีเฉพาะในศิลปะเทาน้ัน ถาวาในธรรมชาติก็มีความงามได และมโนภาพเรื่อง
ความงามเปน เพียงแคหนึง่ ในปรชั ญาศลิ ปะเทา นนั้ ๓

ดังน้ัน สุนทรียศาสตรจ ึงหมายถงึ วิชาที่วา ดวยความงามซ่งึ อาจเปนความงามในธรรมชาติหรือ
ความงามในผลงานทางศิลปะก็ได เพราะในผลงานทางศลิ ปะเราถือวาเปน ส่ิงที่มคี วามงามอยูดว ย

นอกจากน้ี สนุ ทรยี ศาสตรย งั หมายถึง๔
(๑) วชิ าทเ่ี กยี่ วขอ งกบั ความรสู ึกของการรับรคู วามงาม
(๒) วิชาท่ีเกี่ยวของกับหลักเกณฑและคุณลักษณะของความงาม คุณคาของความงามและ
รสนิยม
(๓) วิชาที่สงเสริมใหสอบสวนและแสวงหาหลักเกณฑของความงามสากลในลักษณะของ
รูปธรรมทีเ่ หน็ ไดช ัด รบั รูไดและช่ืนชมได
(๔) วิชาที่เก่ยี วของกับประสบการณตรงของบุคคล สรางพฤติกรรม ความพอใจโดยไมห วัง
ผลตอบแทน ในทางปฏิบัติเปนความรูสึกพอใจเฉพาะตน สามารถเผื่อแผเสนอแนะผูอ่ืนใหมีอารมณ
รวมรูสึกดว ยได
(๕) วิชาท่ีเก่ียวของกับการศึกษาพฤติกรรมตอบสนองของมนุษยจากส่ิงเราภายนอกตาม
เงอื่ นไขของสถานการณ เรื่องราว ความเชอ่ื และผลงานท่มี นุษยสรา ง

๒ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ. ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๓๑, (กรุงเทพฯ :
สํานักพมิ พอ กั ษรเจริญทัศน, ๒๕๒๕), หนา ๘๑๔.

๓ Randall and others, Philosophy : An Introduction, (U.S.A. : Barnes & Noble, 1970), p.
29.

๔ อารี สุทธพิ ันธ, “จะสอนสุนทรียศาสตรกนั อยางไร, ใน สุนทรียภาพ, (กรงุ เทพฯ : โรงพิมพเจริญธรรม,
๒๕๒๐), หนา ๑๔-๑๕.

๒๖๓

ขอบขายของสุนทรียศาสตรหรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ สุนทรียศาสตรศึกษาเกี่ยวกับลักษณะ
ของความงามในประเด็นตอ ไปนี้๕

๑.๑ ความงามคืออะไร
๑.๒ ความงามมอี ยูจรงิ หรือไม
๑.๓ ศลิ ปะคอื อะไร
๑.๔ อะไรเปนแรงจงู ใจใหเ กิดผลงานทางศลิ ปะ
๑.๕ ประเภทของศลิ ปะ

๒. ความงามคอื อะไร

ความงามเปนลักษณะอยางหนึ่งของสุนทรียธาตุ (aesthetical elements) ซ่งึ สุนทรียธาตุ มี
๓ อยางคือ ความงาม ( Beauty) ความแปลกหูแปลกตา ( Picturesqueness) และความนาท่ึง
(Sublimity) การถกปญหาเร่ืองสุนทรียธาตุในปรัชญากนิ ความรวมถึงสุนทรียธาตุ ในทกุ สิ่งทุกอยางที่
มนุษยถือวามีสุนทรียธาตุได ไมวาจะเปนความงามตามธรรมชาติ ( Nature Beauty) หรือความงาม
ในศิลปกรรม (artistical Beauty) ความนาเกลียดนากลัวในจินตนาการ ความนาท่ึงในศรัทธาตอคํา
สอนศาสนา ฯลฯ ลวนเปนสนุ ทรียธาตุทัง้ สิน้ ๖

๓. ความงามมอี ยจู ริงหรอื ไม

สําหรับประเดน็ ปญหาวา ความงามมอี ยจู ริงหรือไมน ัน้ มคี ําตอบ ๒ ลทั ธิดงั ตอ ไปนี้

๓.๑ ลัทธอิ ตั วสิ ัย (Subjectivism)
ลทั ธนิ มี้ ีทัศนะวา ความงามมไิ ดม อี ยูจ รงิ ในวตั ถุหรอื สิ่งใดๆในโลก ขอ ความเกย่ี วกบั ความงามที่
ผพู ูดกลาวออกมา เปนการแสดงออกของความรูสึกชอบหรือไมชอบเทานั้นไมมอี ะไรมากกวานี้๗ การ
ชมภาพวาดหรอื ประตมิ ากรรม การฟง ดนตรีหรือการชมอาทิตยอัสดงทเี่ ราคิดวา มคี วามงามหรือความ
ไพเราะนนั้ เพราะมันทําใหเ ราเกิดความชื่นชมและเปน สุขใจ ความงามไมไ ดมีอยูจริงในวัตถุ แตอยูทใ่ี จ

๕ สุจิตรา ออนคอม, รองศาสตราจารย ดร., ปรัชญาเบื้องตน, (กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตรและ
สงั คมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี, ๒๕๔๘), หนา ๓๗.

๖ กรี ติ บญุ เจอื , ปรชั ญากรกี ระยะกอ ตวั ทอ่ี ิตาล,ี (กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพไ ทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๑๙), หนา
๙๐-๙๑.

๗ Titus and others, Living Issues in Philosophy, 7th ed, (New York : D. Van Nostrand,
1979), p. 106.

๒๖๔

ของเรา คือเรารูสึกเอาเองวา นาชื่นชมหรือสวยงาม ทําใหเราคิดวามีความงามอยูท่ีวัตถุ ดังน้ัน
มาตรการการตดั สินความงามจึงไมต ายตัวข้ึนอยูกบั ความรูสึกหรือรสนิยมของแตละคน การทน่ี ายแดง
พูดวา นางงามจักรวาลสวย เพราะผูหญิงสวยในทัศนะของเขามีลักษณะเหมือนกับนางงามจักรวาล
กลา วคอื รูปรางสงู ผิวขาว กริ ิยาทาทางดูกระฉับกระเฉงแคลวคลองวองไวเหมือนผูหญงิ ทางตะวันตก
สวนนายขาวบอกวานางงามจักรวาลคนเดียวกันนี้ไมส วย เพราะผูหญิงสวยในทัศนะของเขาตองเปน
สตรีรางเล็ก ผิวไมขาวจัดหนาตาคมขําแบบคนไทย และทาทางนุมน่ิมกิริยามารยาทเรียบรอยเหมือน
กุลสตรีไทยสมยั โบราณ ถา คนสองคนคอื แดงกับดําถกเถียงกนั เก่ียวกบั เร่ืองนี้ ลัทธิอตั วิสัย จะถือวาไม
มใี คร หรือถูกทงั้ คู เพราะความงามมิไดมีอยูจ ริงในวตั ถุ แตข ึ้นอยูก บั ผูตัดสินซงึ่ อาจมที ศั นะตา งกันได

นักปรัชญาทจี่ ดั อยใู นกลุม นี้ ไดแก โกรเช ตอลสตอย ริชารดส และฮูม มงึ จะไดก ลาวถงึ แตละ
คนตามลาํ ดบั ดงั ตอไปนี้

๓.๑.๑ โกรเช (Benedetto Croce ๑๘๖๖-๑๙๕๒) เปนชาวอติ าเลียน โกรเช มีทัศนะวา
ความงามเปน เรอ่ื งของจติ ใจของเราในการสรางจินตภาพ ซง่ึ ความสามารถในการสรางจินตภาพน้ีเปน
จุดเรมิ่ ตน ของศลิ ปะ ศลิ ปะถกู ควบคมุ โดยจินตนาการของมนุษยเพียงอยางเดียวเทานั้น กลาวคอื เปน
ส่งิ ท่เี รารสู กึ และแสดงออกมาเทา น้นั

๓.๑.๒ ตอลสตอย (Leo Tolstoi ๑๘๒๘-๑๙๑๐) ชาวรัสเซีย มที ัศนะวาคุณคาทางศลิ ปะ
หรือความงามไมวาจะออกมาในรูปของโคลงกลอน ทํานองเพลง ภาพวาด หรือรูปปน ข้ึนอยูกบั ผลท่ี
เกิดขึน้ ตอบุคคลท่ีมปี ระสบการณตอมัน ศิลปะคือการสรางส่ืออารมณหรือความรูสึกนึกคิดเมอื่ บุคคล
หน่ึงเลานิทาน แตงเพลง หรือวาดภาพ เขามีจุดมุงหมายจะถายทอดอารมณหรือความรูสึกท่ีตนเอง
ไดรับน้ันใหแกผูอื่น ซ่ึงความหมายวาเขากําลังสรางผลงานทางศิลปะ ถาผลงานทางศิลปะช้ินใด
สามารถถา ยทอดความรูสึกไปยังคนจํานวนมากได ศลิ ปะชิ้นน้ันกไ็ ดชื่อวาเปนศิลปะท่ียิ่งใหญ การจะ
ตัดสินวาผลงานทางศลิ ปะชิ้นใดย่ิงใหญกวา หรือมคี วามงามมากกวา ก็ดูที่จํานวนคนทเ่ี กดิ ความรูสึก
จากผลงานนั้นวามากนอยเพียงใด ความงามจึงมไิ ดอยูท ว่ี ัตถุนั้นๆ แตอ ยูที่ความพงึ พอใจของผูท่ีมารับรู
มนั

๓.๑.๓ ริชารดส (Ivor Armstrong Richards ๑๘๙๓-?) กวแี ละนักปรัชญาศิลปะชาวอังกฤษ
เขามที ศั นะวา สิ่งที่เราเรียกวา ความงามก็คอื ความรูสึกพอใจ เม่อื เรากลาววาส่ิงหน่ึงงาม เราหมายถงึ
ในขณะทีเ่ รากําลังเพงพศิ ส่ิงนน้ั แรงผลักดันบางอยางในตัวเราทําใหเราอยูในสภาวะท่ีเรียกวา ดลุ ยภาพ
ทางอารมณ เพราะเงอื่ นไขของดลุ ยภาพทางอารมณนี้ ทําใหเรามีประสบการณความพึงพอใจและทํา
ใหเราสมมติเอาเองวามีความงามอยูในวัตถุนั้น ซึ่งการสมมติเชนน้ันเปนเพียงการถายทอดความรูสึก
ของเราออกมายังโลกภายนอกเทานนั้ ๘

๘ Joad, C.E.M., Guide to Philosophy, (U.S.A. : Dover Publication, 1957), p. 33.

๒๖๕

๓.๑.๔ ฮมู (David Hume ๑๗๑๑-๑๗๗๖) ชาวสกอต ฮูมมีทัศนะวา ความงามเปนเพยี ง
ความรสู ึกทเ่ี กิดขึน้ ในจติ ใจมนุษย ซ่งึ อาจเหมือนกันหรอื แตกตางกันในแตละบุคคลก็ไดค วามงามไมไ ดมี
อยใู นวัตถภุ ายนอก วตั ถุภายนอกมเี พียงขนาด รูปราง และอัตราสวนตางๆ ความงามจึงมิใชคุณสมบัติ
ของวตั ถใุ ดๆ เขากลา ววา

ยูคลิดไดอธิบายถึงคุณสมบัติของวงกลมไวอยางครบถวน แตก็ไมไดพูดอะไรสักคําถึงเรื่อง
ความงาม เหตุผลยอ มประจักษช ดั อยใู นตวั ความงามมใิ ชค ณุ สมบัติอยางหน่ึงของวงกลม..แตเปนเพยี ง
ผลที่รูปภาพทําใหเกิดขึ้นในจิตใจ..ถาทานคิดจะมองหาความงามในวงกลม ทานจะไมมีวันพบ ไมวา
ทา นจะใชประสาทสัมผัสใดในตัวทา น หรือจะใชเหตผุ ลทางคณติ ศาสตรคนหา คุณสมบัติท้ังหมดของ
วงกลม ทานจะไมมีวันพบ..กอนที่จะมีใครมาชม จะไมมีอะไรในวงกลม นอกจากขนาดและอัตราสว น
ตา งๆ ตอ งมผี มู าชมที่มีความรูสกึ ในอารมณเทา นั้น จงึ จะมีความเกและความงามเกดิ ข้ึน๙

สรุปทัศนะของลัทธิอัตวิสัย คือ ความงามมิไดมีอยูจริงเปนเพียงการสรางจินตภาพของเรา
ความงามจงึ เปนสิ่งท่อี ยูในจิตของเรา เราจะเขา ใจความงามของผลงานทางศิลปะท่ีศิลปนแสดงออกมา
ไดอยางซาบซึ้งมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความสามารถของเราแตละคนในการใชอัชฌัติกญาณ
(intuition) เขาถงึ ความงามของศลิ ปะชิ้นน้ัน เชน เราอานนิยายเร่ืองหนึ่งดวยความเพลิดเพลิน สราง
ภาพพจนของตวั ละครและสถานการณใ นเรื่องไดอยางดี แตถ าเรานับบรรทัดหรือวิเคราะหโครงสราง
ของนยิ ายนน้ั เราจะไมไดรับความเพลิดเพลิน๑๐

๓.๒ ลทั ธิวัตถวุ ิสัย ( Objectivism)
ลัทธิวัตถุวิสัยมที ศั นะวา ความงามมีอยจู ริงในวัตถุหรือโลกภายนอกโดยไมขึ้นอยูกบั ความรูสึก
ของมนุษย และเกณฑตัดสินความงามก็มีตายตัว การที่เรามีความเห็นเรื่องความงามตางกันไมได
หมายความวา ความงามอยูที่จิตที่เรารูสึก แตมันมอี ยูจริงๆ ๆในโลกภายนอกและมีเกณฑตายตวั ทจ่ี ะ
ใชตัดสินไดซึ่งแมมนุษยอาจจะไมรูเกณฑนั้น แตมันกม็ ีอยูอยางแนนอนตายตัว เชน ถาเราตัดสินวา
ทิวทัศนแหงหน่ึงงามไมไดหมายความวา การตัดสินของเราทําใหทิวทัศนงาม แตสีและลักษณะของ
ทวิ ทัศนที่ปรากฏอยูขางหนาน่ันตางหากท่ีงาม มนั มลี ักษณะของความงามอยูในส่ิงนั้นอยางเปนอิสระ
จากการตดั สนิ ของเรา เราจะตัดสินมันหรือไม มนั ก็ปรากฏเชนน้ัน ณ วันเวลานั้น ความงามจึงมีอยูใน
วัตถภุ ายนอกเทาเทากบั สี กลนิ่ อุณหภูมิ ขนาด และรปู ทรงมีอยูใ นวัตถุ

๙ กีรติ บุญเจือ, ปรัชญาศิลปะ, (กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๒), หนา ๕๑.
๑๐ บุณย นลิ เกษ, ปรัชญาเบอ้ื งตน , (กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พแพรว ิทยา, ๒๕๒๕), หนา ๓๙.

๒๖๖

นักปรัชญาที่จัดอยูในกลุมวัตถุวิสัย ไดแก เพลโต เบล และคานท ดังจะไดก ลาวถงึ ตามลําดับ
คอื

๓.๒.๑ เพลโต (Plato ๔ ๒๗-๓๔๗ B.C) เพลโต มที ัศนะวาความงามเปนส่ิงแทจ ริงหรือเปน
ส่ิงที่มีอยูจริง ความงามท่ีแทจริงนั้นมิไดอยูในโลกแหง นี้ แตอ ยูในโลกแหงมโนคติ ความงามมลี ักษณะ
เปนอสสาร นิรันดร ไมเปลี่ยนแปลง วัตถุบางชิ้นท่ีเราเห็นวา งามเพราะมนั ไดรับสวนแหงความงาม
หรือเลียนแบบความงามมาจากความงามในโลกแหงมโนคติสิ่งงามๆ ในโลกน้ีตา งก็มีสวนในความงาม
นิรันดรดวยกัน ความงามท่มี ีในแตล ะสงิ่ เปน ความงามประเภทเดียวกนั แตอาจจะงามมากนอยตางกนั
ซึ่งขนึ้ อยูกับวามนั เลียนแบบความงามนิรันดรมามากนอยเพยี งใด เราจะรูจักความงามไดโดยการดสู ิ่ง
งามๆ หลายสง่ิ แลว เราจะคอยๆ เขาใจความงามท่ีเปนนามธรรมหรอื ความงามอมตะ ทีเ่ ปนแบบของสิ่ง
ตา งๆทมี่ ีความงามได

๓.๒.๒ เบลล (Clive Bell) มีความเห็นวาเนื่องจากรูปแบบ สี เสียง บางลักษณะเมื่อ
ประกอบการเขาในลักษณะหน่ึงทําใหเราเกดิ ความรูสึกแบบหนึ่งไดอยางมาก แตถา จัดในอกี ลักษณะ
หนึ่งจะไมทําใหเกิดความรูสึกแบบน้ันขึ้นมา เชน เสียงดนตรีของเพลงเพลงหนึ่ง ทําใหเราเกิด
ความรูสึกบางอยาง แตถานักดนตรีเลนเพลงน้ันโดยสลับตัวโนตหรือเลนยอนหลังจะไมทําใหเกิด
ความรูสึกแบบนั้น เบลลจึงถือวาประสบการณในความรูสึกพิเศษของบุคคลเปนจุดเริ่มตนของ
สุนทรียภาพวัตถทุ ่ีกอใหเกิดความรูสึกชนิดน้ีเรียกวา ศิลปะ ความรูสึกทเ่ี กดิ ข้นึ จากผลงานทางศิลปะ
อาจแตกตา งกันในดานคุณภาพและความเขม ขน คอื คนสองคนมปี ระสบการณศ ิลปะช้ินหน่ึง อาจเกิด
ความรสู กึ ดา นสนุ ทรยี ภาพตา งกันได แตกเ็ ปน ความรูสกึ ชนดิ เดยี วกัน

ผลงานทางศิลปะตางๆ มีคุณสมบัติรวมกันคือ มีคุณภาพบางอยางท่ีทําใหผูมีประสบการณ
เกดิ ความรูสึกทางดา นสุนทรียภาพ คณุ สมบัตริ วมที่มอี ยูในศลิ ปะทุกชิน้ นี้เบลลเรียกวา “แบบสําคัญ”
(significant form) แบบสาํ คัญคือลักษณะของสิ่งหน่ึงที่เปนจุดหมายในตวั มนั เอง หรือเปนลักษณะที่
เรารูวามันมีความสําคัญเหนือกวาลักษณะอ่ืนๆ ๆของวัตถุเมื่อพิจารณาในแงที่เปนสิ่งสนองความ
ตอ งการของมนุษย แบบสําคัญเปนความจริงอยางหนึ่งท่ีอยูเบ้ืองหลังหรือแฝงอยูในผลงานทางศลิ ปะ
ช้ินหนึ่งๆ ความเปนจริงหรือแบบสําคัญน้ีเองท่ีทําใหเรามีความรูสึกทางดานสุนทรียภาพ ศิลปะเปน
ทางทเ่ี ราจะเขาถงึ ความจรงิ ประเภทน้ี

๓.๒.๓ คานท (Immanuel Kant ๑๗๒๔-๑๘๐๔) มที ัศนะวา จิตของเรามีสมรรถภาพท่ี ๓
นอกเหนือจากเหตุผลและเจตจํานง นั่นคือมีสมรรถภาพรู ความรูสึกทางสุนทรียภาพเปนความรูสึก
หรอื ความพึงพอใจที่ไมคาํ นึงผลได๑๑ แมความงามเปนเร่ืองของจิตหรือความรูสึก แตเปนวัตถุวิสัยคอื

๑๑ แพทรคิ , จี.ท.ี ดับบลิว, Introduction to Philosophy (ปรัชญาเบื้องตน ), แปลโดย กีรติ บุญเจือ,
(กรุงเทพฯ : สํานกั พมิ พไ ทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๑๘), หนา ๓๘๒.

๒๖๗

มีอยูจริงโดยไมขึน้ อยูกับรสนิยมหรือผลประโยชนของบุคคล เชน เม่ือเรากลาววา “ภาพน้ีงาม” เรา
ไมไดหมายถึงเรามีรสนิยมชมชอบภาพในลักษณะน้ัน และไมเกี่ยวกับวาภาพนี้จะมีผลอะไรทาง
เศรษฐกิจหรือไม แตหมายความวาภาพน้ีมีลักษณะบางอยางท่ีทําใหจิตของเรามีความรูสึกทาง
สุนทรยี ภาพ

๔. ศิลปะคืออะไร

เนอ่ื งจากสนุ ทรียศาสตรเ กีย่ วขอ งกับศิลปะโดยตรง จึงจําเปนตองเขาใจความหมายของคําวา
“ศิลปะ” ที่ตรงกับคําภาษาอังกฤษวา “ Art” ซ่งึ มีความหมายกวางมากจนยากท่ีจะใหคาํ จํากัดความ
ทแี่ นนอนตายตวั ลงไปได ทงั้ นข้ี นึ้ อยกู บั ความเขา ใจหรอื ความคิดเห็นของนักปรชั ญาและของทานผูรูแต
ละคนเปน สําคัญ นกั ปรชั ญาและผูรูหลายทา นใหค าํ จํากดั ความของศิลปะไวต างๆกนั ดงั ตอไปน้ี

ตอลสตอย (Leo Tolstoi ๑๘๒๘-๑๙๑๐)
“ศลิ ปะ คือการถายทอดความรสู ึก ศิลปะเปนวธิ สี ื่อสารความรูสกึ ระหวางมนุษย”
โกรเช (Benedtto Croce ๑๘๖๖-๑๙๕๒)
ศิลปะ คือการแสดงสัญชาตญาณออกมา การสรางศิลปะเปนเรื่องของสัญชาตญาณลวนๆ
เปนการสรางรูปแบบที่สมบูรณจากสิ่งท่ีรับรู เน้ือแทข องศิลปะไมไดอ ยูที่รูปรางภายนอกของรูปแบบ
อนั เปน เร่อื งของเทคนคิ และฝม อื สญั ชาตญาณตา งหากที่เปนการแสดงออกของศิลปะ การกระทําดวย
สัญชาตญาณคือ ทําหนาท่ีสรา งรูปแบบเพอื่ แสดงสัญชาตญาณออกมา
อลสิ โตเติล (A ristotle ๓๘๔-๓๒๒ ฺB.C.)
ศลิ ปะ คือการเลียนแบบความแทจริงท่ีเปนกระจกเงาสะทอนธรรมชาติ ศลิ ปะไมใชการถาย
แบบรูปรา งภายนอกวตั ถุ แตเ ปนการถา ยแบบเนื้อแทภ ายใน การเลยี นแบบในศลิ ปะไมใชการถายแบบ
ท่ีเหมือนของจริงนัก เพราะการสรางศิลปะเกิดจากความตองการจะแสดงอารมณ ศิลปะช้ันสูง
สามารถสนองความตอ งการไดทางวุฒิปญญา และทางความรูสึกที่ดขี องศลิ ปะคือ การระบายอารมณ
เพราะอารมณทเี่ กบ็ กดไวจ ากความกดดันทางสังคมมีทางออกไดด ว ยศิลปะโดยวธิ ีท่ไี มเปน อนั ตราย
สเปน เซอร (Herbert Spencer ๑๘๒๐-๑๙๐๓)
ศิลปะ คือการแสดงพลังสวนเกินออกมาเชนเดียวกับการเลน ศิลปะเปนการแสดงออกของ
อํานาจและเสรภี าพตามธรรมชาตขิ องมนุษยโดยไมไดคิดถึงผลได รสนิยมทางสุนทรียศาสตรกอใหเ กิด
ระเบียบทางจินตนาการ
ฟรอยด (Sigmund Freud ๑๘๕๖-๑๙๓๙)
ศลิ ปะ เปนการแสดงออกทางจินตนาการ การสนองความตองการใหสําเร็จ การเลนของเด็ก
เปนการแสดงออกทางจินตนาการ เม่ือคนเราโตข้ึนก็เลิกเลนอยางเดียวและหันมาสรางความฝน

๒๖๘

แผนการเลน ใชเวลาในการฝนและสรางศิลปะ ในการสรางศิลปะน้ันจิตสํานึกกับจิตใตสํานึกทํางาน
รวมกัน

นอกจากนี้ อารี สุทธิพันธ ไดนิยามความหมายของศิลปะตามขอบขายของการรับรูทั้ง ๓
แหลง คอื แหลงธรรมชาติ แหลง สงั คม และแหลง บุคคล ดังน้ี๑๒

นยิ ามตามการรับรูจากแหลงธรรมชาติไดแ ก
(๑) ศิลปะ คือการเลียนแบบธรรมชาติ (Imitation of nature)
(๒) ศิลปะ คือการถายทอดโลกภายนอกเปน รปู แบบที่มองเหน็ ( Visual from)
(๓) ศิลปะ คือการสรา งสรรคความงามจากธรรมชาติ
นยิ ามตามการรับรจู ากแหลง สงั คม ไดแ ก
(๑) ศิลปะ คือส่ือกลางของสังคมในรูปแบบภาษาท่ีใชเสน รูปทรง สี สัญลักษณ และ
สว นประกอบศลิ ปะ
(๒) ศิลปะ คอื การประดิษฐตกแตงใหสวยงาม เพอ่ื เสริมสรางและยกยองผูมีอํานาจ ผูนําทาง
ศาสนา และสรางภาพรวมตามความเชื่อของสังคม
(๓) ศลิ ปะ คอื สิ่งเรงเราใหสังคมตระหนักในความเปลี่ยนแปลง สิทธิเสรีภาพ ภัยพิบัติ ความ
ยตุ ิธรรม จะดว ยรูปแบบในทางบวกหรือทางลบก็ตาม เพื่อใหผ ชู มผดู ูคิด
(๔) ศลิ ปะ หมายถึง เอกลกั ษณอ ันแสดงความกาวหนาหรอื ความเสอ่ื มของสังคม
นิยามตามการรบั รจู ากแหลงบุคคล ไดแก
(๑) ศิลปะ คอื การแสดงออกของศิลปน ผูยงิ่ ใหญท่ีมบี ทบาทมากในสังคม
(๒) ศลิ ปะ คือการแสดงออกในรปู แบบมองเหน็ ไดตามความตอ งการของผูสราง
(๓) ศิลปะ คือการสรางสรรคความงามประจํายคุ
(๔) ศลิ ปะ คอื การแสดงออกอยา งเสรี
(๕) ศิลปะ คอื รปู แบบที่มีนัยสาํ คัญ
จากทัศนะตางๆท่ีกลาวมานี้จะเห็นวา ศิลปะเกี่ยวของกับความงามท่เี ปนการสรางสรรคของ
มนุษย มิใชสิ่งท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ส่ิงตางๆ ในธรรมชาติจึงไมใชศิลปะ แตขณะเดียวกันงาน
สรางสรรคของมนุษยก็ไมใชจะเปนศิลปะทั้งหมด เพราะการสรางสรรคท่ีจะนับวาเปนศิลปะน้ันตอง
เปนการสรางสรรคท ่ีมคี วามงามอยูดว ย การสรางสรรคอาจดัดแปลงจากส่ิงตางๆในธรรมชาติหรือคิด
ข้ึนเองทง้ั หมดก็ได
จะเห็นไดวา การใหคาํ นยิ ามของศลิ ปะน้ันเปนเร่ืองทีท่ ําไดโดยยาก เพราะผูใหนิยามแตละคน
มักเนนดานใดดานหน่ึงท่ีตนเห็นวาสําคัญที่สุด อยางไรก็ตามจากคํานิยามเหลานี้สามารถทําใหเรา

๑๒ อารี สุทธิพนั ธ, “จะสอนสนุ ทรยี ศาสตรกันอยา งไร, ใน สุนทรียภาพ, หนา ๑๗.

๒๖๙

เขาใจศิลปะในแงมุมตางๆ ไดดียิ่งข้ึน นอกจากนิยามขางตนแลวยังมีคําตอบอ่ืนๆ ๆที่นาสนใจ
ดังตอไปนี้๑๓

๔.๑ ศลิ ปะ คอื การเลียนแบบธรรมชาติ
ศิลปะเปนส่ิงท่ีสรางข้ึนมาเลียนแบบความเปนจริงท่ีมีในธรรมชาติโดยการถายทอดจาก
ธรรมชาติมาเปนผลงานทางศิลปะ โดยศิลปนไมตองเรียนแบบทุกอยางที่มีอยู แตเลือกเทาท่ีจําเปน
หรือเห็นวาเหมาะสม เชน ภาพวาด หรืองานปน จะแทนสิ่งบางสิ่งท่ีมีจริง แตไมจําเปนตองเหมอื นส่ิง
นั้นทุกอยาง ลักษณะดอ ยทไี่ มสาํ คัญจะถูกตัดออกไปแลวแตจุดประสงคของผูส รางศลิ ปะน้ันๆ หรือใน
วรรณคดี ใชต ัวอยางเปนตัวแทนหรือเลยี นแบบความเปนจริง สาํ หรับละครหรือภาพยนตรใ ชเสียงหรือ
คําพูดแทนความจริง หรือใชเลียนแบบความเปนจริง แตแทนหรือเลียนแบบไดมากกวาในวรรณคดี
เพราะสามารถถายทอดทาทางออกมาดวย สําหรับดนตรแี ทนส่ิงที่ไมมีเสียง เชน แสดงออกถึงอารมณ
ร่ืนเรงิ หรือโศกเศรา กไ็ ด

๔.๒ ศิลปะ คอื การแสดงออก
การแสดงออก หมายถงึ การแสดงความรูสึกหรือความเขาใจตอส่ิงใดส่ิงหนึ่งออกมาภายนอก
แตการแสดงออกบางอยางอาจไมเก่ียวกับศิลปะก็ได การแสดงออกที่ขาดสติและปราศจากการ
กล่นั กรองไมจ ัดเปน ศิลปะ
ศิลปน จะแสดงออกเมือ่ มีประสบการณหรือความเขาใจบางอยางตอสิ่งใดส่ิงหน่ึงแลวตองการ
แสดงออกมาเปนรูปประธรรมท่ีมองเห็นไดถึงลักษณะของส่ิงน้ันตามท่ีศิลปนเขาใจ หรือมี
ประสบการณเ พอ่ื ใหผ อู ่ืนเขาใจดว ย

๔.๓ ศิลปะ คือรปู แบบที่มนี ัยสําคญั
แมศิลปะจะเปนการเลียนแบบธรรมชาติหรืออาจเปนการแสดงออกของความเขาใจของ
มนุษยตอสิ่งใดส่ิงหนึ่ง แตทวาจดุ ประสงคทแ่ี ทจ ริงของศลิ ปะนั้นคอื ศลิ ปะเพือ่ ศิลปะ (Art for Art’s
sake) ไมใชศิลปะเพื่อชีวิตหรือเพ่ืออะไรบางอยาง คือศิลปะเปนการแสดงออกถึงรูปแบบอะไร
บางอยางที่มีนัยสําคัญหรือมีความงามใหผูอ่ืนรับรูได หรือเปนการแสดงออกถึงเอกภาพของรูปแบบ
หลายๆแบบทป่ี ระกอบกันเขา เปน งานศลิ ปะชนิ้ หน่ึงๆ

๑๓ สวัสดิ์ สุวรรณสงั ข, ปรัชญาเบอ้ื งตน, (ภูเก็ต : วทิ ยาลัยครูภเู ก็ต, ๒๕๒๙), หนา ๘๗.

๒๗๐

๔.๔ ศลิ ปะ คอื อุปกรณใ หเกดิ ความพงึ พอ
ศิลปะ คือส่ิงท่ีมีคุณคาอยางหน่ึงของมนุษย คือใหความพึงพอใจหรือความสุขแกมนุษยได
วิทยาศาสตรใหความรูเกย่ี วกับสิ่งตางๆในธรรมชาติ ศลิ ปะไมไดใหความรูอะไรเก่ยี วกับโลกภายนอก
หรอื เก่ียวกบั ธรรมชาติเลย และศลิ ปะไมไดใหหลักการในการดาํ รงชีวิต ถา ศลิ ปะไมใ หคณุ คาดา นความ
พงึ พอใจแกม นุษยก็เทา กับไมไดใ หอะไรแกเ ราเลย
ศิลปะใหความพึงพอใจหรือความสุขแกม นุษยทัง้ แกศิลปนผูสรางงานศิลปะเอง และทั้งผูรับรู
งานศิลปะนั้น แตความพึงพอใจหรือความสุขจากศิลปะนั้นแตกตางจากความพึงพอใจอน่ื ๆ ที่มนุษย
ไดรับ

๔.๕ ศลิ ปะ คือทางเขา ถงึ ความจรงิ
ศิลปะใหสิ่งที่วิทยาศาสตรไมสามารถใหได เพราะวิทยาศาสตรใหเพียงคําอธิบายส่ิงท่ีปรากฏ
ตอเรา โลกแหงความเปนจริงไมสามารถเขียนออกมาเปนสูตรหรือเปนภาษาธรรมดาได แตศิลปะ
พยายามแสดงออกถึงความเปนจริงท่ีอยูเบื้องหลังประสบการณข องเรา และแสดงใหผูอืน่ เขาถึงความ
เปนจริงอันเปนนิรันดรน้ันเอง เชน ในปรัชญาของเพลโตก็ถือวาแบบของความงามซ่ึงเปนส่ิงนิรันดร
เปนตนแบบของความงามของส่ิงตางๆในโลก สิ่งงามตางๆ รวมทั้งผลงานของศิลปนพยายามท่ีจะ
เขาถึงความงามอันน้ัน ผลงานทางศิลปะท่แี สดงออกมาใหผูอ่ืนเขา ใจน้ันเปนการนําทางใหผูอ่ืนเขาถึง
ความงามอันเปนความจรงิ แทไ ดบ าง ผลงานท่ีใกลเ คยี งกับความงามนิรนั ดรจึงเปนผลงานที่ย่ิงใหญ

๔.๖ ศลิ ปะ คือภาษา
ผลงานทางศิลปะท่ีศิลปนสรางข้ึนมานั้นเพื่อเปนการส่ือสารความหมายหรือเปนการอธิบาย
อะไรบางอยางใหผูอื่นเขาใจภาษา แปลเปนภาษาที่ไมมีระเบียบหรือกฎเกณฑตายตัว การแปล
ความหมายหรือการเขาใจภาษาทางศลิ ปะอาจแตกตางกันไดตามความคดิ และประสบการณของแต
ละคนซงึ่ อาจเขาใจตา งกันไปตามจุดมุงหมายของผสู รา งศิลปะนน้ั ๆกไ็ ด

๔.๗ ศลิ ปะ คอื ทางแหงการพัฒนาศีลธรรม
ผลงานทางศิลปะมีสวนในการพัฒนาศีลธรรมของมนุษยอยูบาน เพราะผลงานทางศิลปะ
แสดงถึงอุดมคติอันสูงสงออกมาไดดวยซ่ึงแมจะไมไดแสดงออกในลักษณะเปนคําสอนโดยตรง แตก็
สามารถจูงใจใหผูชมมีความรักและทะนุถนอมตอผลงานน้ัน ทั้งยังจูงใจใหรักความกลมกลืน ความ
มัธยสั ถ ความกลา หาญ และความยุติธรรม ทั้งทีไ่ มต องการส่ังสอนกนั เลย (ดู แพทรคิ ๒๕๑๘ : ๓๗๖)

๒๗๑

๕. อะไรเปนแรงจูงใจใหเ กดิ ผลงานทางศิลปะ

แรงกระตุนทางศิลปะ หมายถึงสาเหตุที่ทําใหมนุษยผลิตผลงานทางศิลปะหรือผลิตส่ิงที่มี
ความงามข้ึนมา เชน สาเหตทุ ี่ทําใหคนคิดแตงทํานองเพลง เขียนบทรอยกรอง วาดรูป หรือแกะสลัก
การเอาแรงจูงใจในการกระทํากิจกรรมอ่ืนๆ ๆของมนุษยมาตอบปญหาทางศิลปะไมนาจะได เชน
ตอมาเพื่อหารายไดหรือหวังความรํ่ารวย หรือเพราะอยากไดช่ือเสียง หรือเพราะความหวัง
ความกาวหนาในสงั คม เปนตน ท้งั นเี้ พราะงานทางศิลปะไมสูทํารายไดใหแกผ ูส รางสรรคม ันข้นึ มา

สาํ หรับคาํ ตอบท่ีวาอะไรเปนแรงจงู ใจใหเ กดิ ผลงานทางศิลปะนัน้ มคี ําตอบหลายประเด็นดงั น้ี

๕.๑ ความตอ งการแสดงออก
มนุษยผลิตเคร่ืองมือเครื่องใชตางๆ ขน้ึ มามากมายก็เพ่ือประโยชนในการดํารงชีพแตผลงาน
ทางวิจิตรศิลปซึ่งมุงดานความสวยงามจะไมเกี่ยวของกับการดํารงชีพ เชน ดนตรี จิตรกรรม บทกวี
ฯลฯ แรงจูงใจที่ทําใหศิลปนผลิตผลงานทางศิลปะเกิดจากการไดสัมผัส รับรู หรือเกิดความรูสึกถึง
ความงามบางอยางทําใหเกดิ แรงบันดาลใจที่จะแสดงลักษณะของความงามที่ตนรูสึกในใจน้ันออกมา
ภายนอก ใหเปนสิ่งทเ่ี ห็นไดหรอื จบั ตอ งได

๕.๒ การรบั รูข องสงั คม
การที่ศิลปนสรางผลงานทางศิลปะออกมาน้ันมิใชเพียงเพื่อแสดงความรูสึกของตนออกมา
เทา นัน้ แตย ังตอ งการใหผ ูอืน่ ในสงั คมเกดิ ความรูสกึ รว ม หรอื มีประสบการณร ว มในลักษณะน้ันดวย
บุคคลในสังคมมีความเก่ียวพันกันในดา นตางๆ อยากรูในสิ่งท่คี นอื่นรูและเขาใจได ตอ งการ
รวมทุกขรวมสุขดวย รวมรับรูกันและกัน ตองการใหคนอื่นๆ อา ยรวมในความยินดใี นสิ่งที่เขาคน พบ
ใหม ถามผี ชู ื่นชมในผลงานของเรามากเทาใด เรากย็ ง่ิ พอใจมากเทาน้นั

๕.๓ การคลายความเครยี ดทางอารมณ
ศิลปนผูมีความรูสึกเกี่ยวกับความงามบางอยางจะอยูนิ่งเฉยไมไดเพราะจะเกิดความเครียด
ทางอารมณ ตอเม่ือไดสรางผลงานท่ีมีความงามที่ตนเองรูสึกก็จะรูสึกพึงพอใจหรือเปนสุขใจ ทําให
ความเครยี ดคลายลงได

๕.๔ การเลน
ศลิ ปนบางคนสรางผลงานขน้ึ มาในลักษณะเหมือนเปนการเลนของเดก็ เดก็ เลนเพราะอยาก
เลน มิไดมีจุดมุงหมายใดๆ ในการดํารงชีพ มันเปนพลังสวนหน่ึงในมนุษยที่ตองการหาทางออก
ทางดานศิลปะก็เชน กัน ศลิ ปนมีพลังหรือความคิดทีน่ อกเหนือจากการคดิ เพ่อื การดาํ รงชีพ พลังสวนน้ี

๒๗๒

จะผลกั ดนั ออกมาใหศิลปนคิดสรางผลงานทางศิลปะท่ีสวยงาม หรือคิดทํานองเพลงท่ีไพเราะในยามที่
มเี วลาวา ง อันเปนการแสดงออกอยางมีเสรแี ละเปน ไปในทาํ นองเดียวกบั การเลน ของเดก็

๕.๕ การเกิดข้ึนของมโนภาพ
คนบางคนมพี ลงั สรา งสรรคใ นความคดิ ของเขา เขาสามารถสรางมโนภาพใหมข้ึนมาไดเรื่อยๆ
อายจงึ ทําใหเขาพยายามสรางผลงานทางศิลปะตามทีเ่ ขามมี โนภาพนั้น พลังในการสรางสรรคม โนภาพ
อาจมีมากนอยตางกันในแตละคน บุคคลใดทมี่ ีพลังในการสรางมโนภาพสูงและสามารถแสดงออกมา
เปน ผลงานทางศลิ ปะทม่ี ีทกั ษะสงู ก็ถอื วา เปนบคุ คลทเี่ ปน อัจฉริยะทางศิลปะสาขานน้ั ๆ

๖. ประเภทของศลิ ปะ

ศลิ ปะแบงออกเปน ๒ ประเภทใหญๆ คือ๑๔
๖.๑ วิจติ รศลิ ป (Fine Art)
วิจติ รศลิ ปเดมิ มีชอื่ เรยี กวา ประณตี ศิลป ซึง่ เปนศิลปะแหงความงามวิจิตรพสิ ดารที่สรางสรรค
มาดวยจิตใจ และความรูสึกนึกคิดเปนท่ีติดตาตรึงใจ ประทับใจ และสะเทอื นใจแกผูท่ไี ดพ บเห็น เปน
งานสรางสรรคของศิลปนที่มุงสรางข้ึนจากความบันดาลใจท่ีไดรับจากสิ่งแวดลอมเพ่ือสนองความ
ตองการทางดา นจติ ใจของมนุษย คือเพ่ือใหจติ ใจเปนสุขทัง้ ของผูอื่นและของศิลปน ผูส รางสรรคเอง

วิจิตรศลิ ปหรือประณีตศิลป แบงออกเปน ๓ แขนง คือ
๑. ทัศนศิลป ( Visual Art) หมายถงึ ศลิ ปะประเภทที่มนุษยสามารถรับรูความ
สวยงามของมนั ไดด วยการดู หรือรับรสู นุ ทรยี ภาพดวยตา ทัศนศิลปม ี ๔ ประเภท ไดแก

๑.๑ จิตรกรรม ( painting) คอื การเขียนภาพและระบายสีภาพน้ันดว ยสี
หลายๆสี และในลักษณะตา งกัน

๑.๒ ประตมิ ากรรม (Sculpture) คอื ศลิ ปะท่ีมีลักษณะ ๓ มติ ิทเ่ี กดิ จากการ
ปนหรือการแกะสลกั

๑.๓ สถาปตยกรรม (Architecture) คอื การกอสรางตางๆ เชน อาคาร พระ
ปรางค เจดีย โบสถ วหิ าร

๑.๔ ภาพพิมพ (Graphic Art) คือการใชแบบพิมพเ ดียวกันไดห ลายๆ
รปู การพมิ พดวยมอื ถือดว ยเครอ่ื งจักรก็ได

๑๔ ชูศักด์ิ จิระวัฒน, สุนทรียทางทัศนศิลป, (กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยา, ๒๕๓๐),
หนา ๑๗.

๒๗๓

๒. โสตศิลป (Audio Art) คือศลิ ปะที่มนุษยสามารถรับรูความงามของมันไดดว ย
การฟง การไดยิน หรือการอานจากตัวอักษร คือรับรูสุนทรียภาพดวยหู โสตศิลป แบงออกเปน ๒
ประเภทคือ

๒.๑ ดนตรี ( Music) คอื การทาํ ใหเกิดเสยี งสูงต่ําและมีจังหวะ เคร่ืองมือใน
การทําเสียงหรือเครื่องดนตรีมีหลายลักษณะ และทําใหเกิดเสียงที่แตกตางกันออกไป ตามชนิดและ
ประเภทของเครอื่ งดนตรแี ตละอยางรวมท้งั การขับรองดวย

๒.๒ วรรณกรรม ( Literrature) คือการประพันธเปนรอยแกว หรือรอย
กรอง รอยแกวคอื การผูกเปนเรื่องราวในลักษณะตางๆ สวนรอยกรองเปนการใชถอ ยคําคลองจองกัน
และเปน เรอื่ งราวตางๆดว ย

๓. โสตทัศนศิลป ( Audio- Visual Art) หรือศิลปะการแสดง ( performing arts)
ไดแก วิจิตรศลิ ปที่สามารถมองเห็นรูปลักษณะการเคลื่อนไหวพรอมกับการไดยินจังหวะ และทาํ นอง
ไปดวย ไดแก การละคร การฟอ นราํ การเตนราํ ภาพยนตร และโทรทัศน

๖.๒ ประยกุ ตศ ิลป ( Applied Art )
คอื ศิลปะที่มุง ประโยชนทางใชสอยเปนอันดับแรก แลวจึงมุงนําเอาความงามทางดานศิลปะ
เขาไปชวยตกแตงใหงานท่ีใชสอยน้ันนาดู นาชม และนาใชสอยมากข้ึน ประยุกตศิลปแบงออกเปน
ประเภทตา งๆ ๕ ประเภทดังน้ี

๑. มณั ฑนศิลป ( decorative arts ) เปนงานศลิ ปะท่ีเก่ยี วขอ งกับการออกแบบ
เคร่ืองเรือน การกําหนดสี ตลอดจนวัสดุในการตกแตงใหสัมพันธกับสถาปตยกรรมและใหสวยงาม
เหมาะสมกับสถานท่ีนัน้ ๆ

๒. อุตสาหกรรมศลิ ป ( Industrial arts ) เปน งานศลิ ปะที่เกยี่ วกบั เคร่ืองปนดินเผา
งานประดษิ ฐดว ยผา ไมไ ผ งานเย็บปกถักรอย งานโลหะ ฯลฯ ซึ่งงานเหลานเี้ ปนประเภทเคร่ืองใชโดย
เอาศิลปะเขาไปประยุกตใหสวยงาม เปนการผลิตดวยการใชฝมอื แตปจจุบันมงุ ผลิตเพ่ือการคาและ
ผลิตจาํ นวนมาก การผลิตจึงตองอาศัยเครอื่ งจักรเพราะประหยดั แรงงาน เวลา และทนุ คา ใชจาย

๓. พาณิชยศิลป ( commercial Art ) เปนศลิ ปะการโฆษณา การจัดหอ งแสดง
สนิ คา การตกแตง หนารา น รวมถงึ การถายภาพโฆษณาดวย

๔. ศิลปหตั ถกรรม ( Art Crafts ) คือศิลปะที่ทาํ ดวยมอื เปนสวนใหญแ บบทท่ี ําจึง
แตกตางกันไดต ามความพอใจของผทู าํ อาจจะทําเปนอาชีพหรือทําไวใชเองก็ได เชน การปนหมอ โอง
การทอผา ของชาวบานบางกลมุ การจักสาน เปนตน

๕. ศาสนศิลป (Religious Art) คอื ศิลปะที่สรางขึน้ เพ่อื ศาสนาหรือความเช่ือ เชน
การสรางพระพุทธรปู และรปู เคารพตา งๆ ตามความเชือ่ ทางศาสนาของตน

๒๗๔

สรปุ ทายบท

ปญ หาทางสุนทรียศาสตรก็เชนเดยี วกบั ปญหาปรัชญาในสาขาอ่ืนๆ กลาวคอื ยังหาคําตอบที่
แนนอนตายตวั ไมได ท้ังน้ีเพราะนักปรัชญาแตละกลุม แตละลัทธิตางก็เสนอคําตอบอันประกอบดวย
เหตุผลและความนา เปน ไปไดทําใหยากแกก ารที่จะตดั สินลงไปอยางเดด็ ขาดวา คําตอบของนักปรัชญา
กลุมใดหรือลัทธิใดถูกตองและแนนอนตายตัว การที่คําตอบตางๆ ยังไมแ นนอนตายตัวน้ีเอง ท่ที ําให
ปรัชญาคงความเปนปรัชญาอยูได เพราะเมื่อใดท่ีเรื่องใดมีคําตอบแนนอนตายตัว ก็ตองแยกตัวจาก
ปรัชญาออกไปเปน ศาสตรแ ขนงอ่ืนหรือสาขาอ่นื ท่ีไมใชปรัชญา

อยางไรกต็ าม การจะเขา ใจปญหาทางปรัชญาสาขาตางๆนั้น มิใชเรื่องท่ีจะทําไดโ ดยงายแตก็
สามารถทําไดหากมีความพยายามและมีนิสัยรักการสืบคน ตรวจสอบ ตลอดจนหม่ันพิจารณา
ไตรตรองดวยเหตุผลอยูเสมอ เพราะในสากลจักรวาลนี้ไมมีอะไรทจ่ี ะอยูพนไปจากความสามารถแหง
สตปิ ญ ญาและความเพียรพยายามของมนษุ ยไ ปได

๒๗๕

เอกสารอางอิงประจาํ บท

๑. ภาษาไทย

กีรติ บญุ เจือ. ปรชั ญากรีกระยะกอตัวท่ีอติ าลี. กรุงเทพฯ : สาํ นักพมิ พไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๑๙.
. ปรัชญาศลิ ปะ. กรงุ เทพฯ : สาํ นักพิมพไ ทยวฒั นาพานิช, ๒๕๒๒.

ชูศักด์ิ จริ ะวัฒน. สุนทรยี ทางทัศนศิลป. กรงุ เทพฯ : วทิ ยาลัยครูบา นสมเด็จเจาพระยา, ๒๕๓๐.
ทวเี กยี รติ ไชยยงยศ. สนุ ทรียะทางทศั นศิลป (โครงการตําราคณะศิลปกรรมศาสตร สถาบันราชภฏั

สวนดสุ ติ ). กรงุ เทพฯ : พิมพลักษณ, ๒๕๓๘.
บุณย นิลเกษ. ปรชั ญาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานกั พิมพแ พรว ทิ ยา, ๒๕๒๕.
แพทริค, จี.ที.ดบั บลิว. Introduction to Philosophy (ปรัชญาเบื้องตน). แปลโดย กีรติ บุญเจือ.

กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมพไ ทยวฒั นาพานิช, ๒๕๑๘.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ. ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๓๑. กรุงเทพฯ :

สาํ นกั พิมพอกั ษรเจริญทัศน, ๒๕๒๕.
สวัสด์ิ สวุ รรณสงั ข. ปรัชญาเบือ้ งตน. ภเู กต็ : วทิ ยาลัยครภู เู กต็ , ๒๕๒๙.
สุจิตรา ออนคอม, รองศาสตราจารย ดร. ปรัชญาเบ้ืองตน. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตรและ

สงั คมศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุรี, ๒๕๔๘.
อารี สุทธิพันธ. “จะสอนสนุ ทรยี ศาสตรกันอยา งไร, ใน สุนทรียภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเจริญธรรม,

๒๕๒๐.

๒. ภาษาองั กฤษ

Joad, C.E.M. Guide to Philosophy. U.S.A. : Dover Publication, 1957.
Randall and others. Philosophy : An Introduction. U.S.A. : Barnes & Noble, 1970.
Titus and others. Living Issues in Philosophy. 7th ed. New York : D. Van Nostrand,

1979.

บทที่ ๑๐
ปรัชญารวมสมยั

ความนํา

ปรชั ญาสสารนิยมถือวากฎกลศาสตรควบคมุ ปรากฏการณข องสสาร ชีวิตและจิต สสาร ชีวิต
และจิตนนั้ แมจะแตกตางกัน กเ็ ปนปรากฏการณท างวัตถุดว ยกนั แตทําหนาที่แตกตางกัน การกระทํา
ของมนุษยข ้นึ อยกู บั เหตจุ ูงใจและแรงกระตุน ซงึ่ ลวนแตเ ปนการทําหนาท่ีของสสารเพราะฉะน้ัน มนุษย
จึงไมม ีเสรีภาพอยางแทจ รงิ หากแตอยูภายใตก ารควบคมุ ของกฎกลศาสตร

ปรัชญาจิตนิยมถือวาเปนจิตหรือวิญญาณเปนความแมจริง พระผูเปนเจาเปนพ้นื ฐานของทุก
สิ่งทกุ อยางรวมท้งั จิตของมนษุ ย เจตนจ าํ นงของพระผูเปนเจาครอบนําเจตนจํานงของมนุษยไวทง้ั หมด
มนษุ ยจ งึ ไมม ีเสรีภาพ

ท้ังสสารนิยมและจิตนิยมตางก็ปฏิเสธเสรีภาพของมนุษย จึงมีปรัชญาลัทธิใหมเกิดขึ้นมา
ตอ ตา นสสารนิยมและจิตนิยม ปรชั ญาลทั ธิใหมน นั้ กค็ ืออตั ถภิ าวนิยม (existentialism) ซง่ึ ถือวาบุคคล
เปนตัวของตัวเอง มีเสรีภาพและมีความรับผิดชอบตัวเอง ไมไดข้ึนอยูกับกฎกลศาสตรหรือพระผูเปน
เจา

๒๗๘

๑. ลักษณะทวั่ ไปของอัตถภิ าวนิยม

เม่อื เร็ว ๆ น้ีระหวา งสงครามโลกครั้งท่ี ๒ โดยเฉพาะเมอ่ื ส้ินสุดสงครามลง ลัทธิอัตถิภาวนิยม
เหมือนกับลัทธิมารกซิสม โดยโนมนาวแนวความคิดของนักศึกษาปรัชญาใหมีการเคล่ือนไหวในทาง
ความคดิ โดยพยายามสรางความรูสึกใหกวางไกล ถงึ แมจะมีความรูมกี ารศกึ ษานอยก็ตาม นวนิยาย
ทางจิตวิทยาและบทละครของจาง ปอล ซารต (ค.ศ. ๑๙๐๕-?) นักปรัชญาและนักประพันธฝรั่งเศสท่ี
เรืองนามและแฝงดวยเชาวนปญญา ไดสถาปนาลัทธิ “อัตถภิ าวนิยมอเทวะ” ขนึ้ ทรรศนะของเขายึด
แนวความคิดของฮุสเซิรลและไฮเดกเกอร ในขณะเดียวกันก็พยายามเชื่อมแนวความคิดระหวาง
ปรัชญาของเขาใหเ ขา กับคาํ สอนของโซเรน เคยี รเกการด (Soren Kierkegaard) คําสอนของเขาจึง
เนนหนกั ในการแสดงทรรศนะใหเ ห็นสภาวะโดยความมศี ักยภาพภายในแตพยายามกระตุนความสนใจ
ยึดมั่นในนักปรัชญาเยอรมันคือ มารติน ไฮเดกเกอร ผูเปนศิษยของฮุสเซิรล นักปรากฏการณนิยม
เยอรมัน อกี ประการหนึ่ง ไฮเดกเกอรยังไดรับอทิ ธิพลอยางลึกซ้ึง โดยอาศัยนิพนธของโซเรน เคียรเก
การด (ค.ศ. ๑๘๑๓-๑๘๕๕) นักคดิ ชาวเดนมารก ไฮเดกเกอรและซารตนับไดวาเปนศิษยเคยี รเกการด
ที่ไดสถาปนาลทั ธิอเทวะนิยมข้นึ ตามแนวคาํ สอนของเคยี รเกการดนน่ั เอง

มีนักคิดจํานวนมากท่ไี ดชื่อวาเปนนักอัตถิภาวนิยม เชน เคยี รเกการด ไฮเดกเกอรและซารต
จาสเปอรส และมารเชล ซึ่งมีแนวความคิดขัดแยงกับความคิดแบบนักปรัชญาและสรางแนวความคิด
แบบนามธรรมท่เี คยรบั รมู า แตนักอัตถิภาวนยิ มเหลาน้ีจะใฝใจในความหมายและปญหาความมี ความ
เปน โดยเฉพาะความมีศักยภาพท่ีมีอยูภายในมนุษยเอง แตยังคลายกับพวจสัจจนิยมใหมอยูบาง
กลาวคือ นักอัตถิภาวนิยม จะมีลักษณะท่ีคลายกันอยูมากในลักษณะที่เปนฝายลบ เชน มีความโนม
เอียงและแนวความคิดท่ีเดน ชัดในทางปรัชญา ศาสนา สังคม การเมือง ยิ่งกวาคําสอนทเ่ี ปนฝายบวก
จะเห็นไดชัด คอื พวกอตั ถภิ าวนิยม สวนใหญจ ะมีลักษณะคําสอนทเ่ี ปนสากลแนน อน ดงั เชน ๑

๑. นักปรชั ญาอตั ถภิ าวนยิ มไมไดมุง สรางระบบปรัชญาแตสรางความคิดท่ีเปนปรัชญา และใช
วิธีการทางจิตวิทยา อัตถิภาวนิยมสะทอนใหเห็นประสบการณของนักปรัชญาแตละคนอยางลึกซึ้ง ท่ี
พยายามวิเคราะหความทุกข ความหมดหวังและความไมแนนอนเปนตน พรอมท้ังอธิบายความหมาย
ของสิง่ เหลานนั้

๒. ปรัชญาอัตถภิ าวนิยมเนนทต่ี ัวบุคคล และประสบการณของบุคคลในชีวิต ในโลก และใน
สังคม นักปรัชญาพวกนี้บางคนเชื่อถือเทวนิยมคือยอมรับวามีพระผูเปนเจา บางคนเชื่อถอื อเทวนิยม
คือปฏิเสธความมีอยูของพระผูเปนเจา แมแตผูเชื่อถือเทวนิยมก็ไมไดเนนที่พระผูเปนเจา แตเนนท่ี
บคุ คลผรู พู ระผูเ ปนเจา นกั ปรชั ญาอัตถิภาวนยิ มไมไ ดสืบคน ถงึ ธรรมชาติดัง่ เดมิ ของโลก แตพยายามหา
ความหมายของโลก วิวัฒนาการของโลก และการท่ีบุคคลแสดงปฏกิ ิริยาตอโลกและสังคม สาระสําคัญ

๑ บุญมี แทน แกว , ผูชว ยศาสตราจารย, ปรชั ญาตะวนั ตกรวมสมยั , (กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพโ อเดียนสโตร,
๒๕๔๘), หนา ๒๑๕-๒๑๖.

๒๗๙

ของปรัชญาอัตถิภาวนิยมแตกตางจากหลักวิทยาศาสตร และวิธีเขาถึงพระผูเปนเจาก็แตกตางจาก
หลกั การของเทววทิ ยา คือถอื วาทกุ คนมเี สรีภาพที่จะแสวงหาวิธีเขาถงึ พระผเู ปน เจาดวนตนเอง

๓. ปรัชญาอัตถิภาวนิยมถือวามนุษยเปนความแทจริงเชิงจิตวิสัย คือถือวาจิตมนุษยมี
ความสําคัญกวารางกาย จิตอาศัยรางกานเปนเคร่ืองมือสะสมประสบการณตาง ๆ เพื่อมุงตรงไปสู
จดุ หมาย ปรชั ญาอตั ถิภาวนิยมตรงกันขา มกับธรรมชาตนิ ิยมและสสารนิยมที่ถือวา มนษุ ยเปน สสารและ
พลังงาน และอธิบายมนุษยไปในทางวัตถุ ปรัชญาอัตถิภาวนิยมยังขัดแยงกับสัจนิยมรวมสมยั ทุกแบบ
และกบั สสารนิยมวภิ าษวธิ ี เพราะสจั นยิ มถือวา เปนจิตคอื สสารหรือการทํางานของสมอง และสสารนอ
ยมวภิ าษวิธีถือวามนษุ ยเปน ผลผลติ ของสสาร พลงั งานและสังคม แตปรชั ญาอัตถภิ าวนิยมถือวาจิตเปน
ความแทจรงิ ตา งหาก ไมใ ชส สาร

๔. ปรัชญาอตั ถภิ าวนิยมเกิดจากแรงผลักดันศลี ธรรมและอาศัยความเช่ือม่ันทางจริยศาสตร
ความเชื่อมน่ั วาบุคคลมอี ยูจริงคือความเชื่อม่ันวาบุคคลมคี ุณคาและคณุ คาที่สําคัญคือคุณคาทางจริย
ศาสตรไดแกความดี ปรัชญาอัตถิภาวนิยมถือวา ปจจุบันเปนยุคแหงปจเจกชน กลาวคือเปนยุคท่ี
ยอมรับความสําคญั ของปจเจกชน ไมใชย อมรบั ความสาํ คญั ของจารตี ประเพณีเพียงอยางเดยี ว

๕. ปรัชญาอัตถิภาวนิยมขึ้นอยูกับปรัชญาผูสรางลัทธิเปนสําคัญถานักปรัชญามีสติปญญา
ลึกซ้ึง ปรัชญาของเขากล็ ึกซ้ึง ถานักปรัชยามีความเปนอยูอยางพื้น ๆ ความคิดของเขาก็พื้น ๆ ถา นัก
ปรัชญาขาดปญญาพิจารณาไตรตรอง การตคี วามของเขากจ็ ะ ผิด ๆ พลาด ๆ ถานักปรัชญาเปนโรค
ประสาท เขากแ็ สดงความลมเหลวในการปรบั ตวั ออกมา

๖. ปรัชญาอัตถิภาวนิยมเนนเสรีภาพของบุคคล นักปรัชญาลัทธินี้ไมไดถ ือวา รางกาย โลก
สังคม ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมกําหนดความมีอยูของบุคคลแตถือวาบุคคลมีเสรีภาพที่จะเลือก
เปาหมายหรืออุดมคติของตัวเอง การเลือกเปาหมายหรืออุดมคตนิ ้ันใหความหมายและคุณคาแกชีวิต
นักปรัชยาลัทธิน้ีถือวาตัวเองเปนส่ิงที่เขาเลือกท่ีจะเปน ถาเขาถูกบังคับใหทําส่ิงที่เขาทําอยูแลว ก็
เทากับเขาถูกบังคับไมใหเปนมนุษย เขาไมสามารถอยูเปนมนุษยไดหากขาดเสรีภาพซ่ึงเปนแกนแท
แหง ความเปนมนุษย

๗. ปรัชญาอัตถภิ าวนิยมเปนไปในทางทุนิยม เพราะเนนเร่ืองความกลัว ความหมดหวัง และ
ความทุกข แตทุนิยมของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยมมีแรงผลักดันท่ีจะพยายามตอสูและเอาชนะความ
ทกุ ข ไมใ ชป ลอ ยใหเ ปน ไปตามยถากรรมเหมือนทนุ ิยมบางชนิด

ปรชั ญาอตั ถภิ าวนิยมทีค่ วรกลา วถงึ มี ๖ คนดวยกนั ซ่ึงจะไดกลา วไปตามลําดบั

๒. โซเรน เคียรเ กการด (Soren Kierkegaard)

เคียรเกการดคัดคานจิตนิยมของเฮเกล ซึ่งถือวาความมีอยูของบุคคลเปนวัตถวุ ิสัย คือข้ึนอยู
กับตนเองการคิดของบุคคลนั่นเองคือตัวบุคคล บุคคลเปนตัวของตัวเอง ไมใชอาการปรากฏของจิต

๒๘๐

สัมบูรณ บุคคลมีศีลธรรมชาติท่ีเปล่ียนแปลงได มีเสรีภาพและรับผิดชอบตัวเอง การตัดสินใจของ
บุคคลเปนเร่ืองของตัวเอง ไมขน้ึ อยูกับพระผูเปนเจา เพราะธรรมชาติของพระผูเปนเจาแตกตา งจาก
ธรรมชาติของบุคคล

ความคิดหมายถึงอุดมคตทิ ี่อาจเปนไปได ความคิดตางจากความมอี ยู ความมีอยูของบุคคลผู
คดิ เปนพ้ืนฐานของความคิดของเขา บุคคลไมขน้ึ อยูกับส่ิงใดภายนอก สามารถรูความมอี ยูของตัวเอง
ดว ยตวั เอง และสามารถรคู วามมีอยขู องส่งิ อืน่ เชนโลกและพระผูเปนเจาไดจ ากตวั เอง ในฐานะท่ีตัวเอง
เก่ียวของกับส่ิงเหลานั้น โลกและพระผูเปนเจาเปนเพียงอุดมคติที่เปนไปไมไดเทานั้น ความแทจริง
ทางจริยศาสตรมคี วามหมายย่ิงกวาโลกและพระผุเปน เจา

ความแทจริงทางจริยศาสตรคือความแทจริงของบุคคลนั่นเอง บุคคลมีเสรีภาพในการเลือก
และตัดสินใจของตนเอง ซ่ึงเปนพื้นฐานของการตัดสินใจทางจริยศาสตร เคียรเกการดสนใจความ
แทจ ริงเพียงสงิ่ เดียว คอื การเลือกทางจรยิ ศาสตรอยางสูงสดุ บุคคลเลือกสงิ่ ใดก็เพราะเห็นวาส่ิงนน้ั ควร
เลอื กอยา งย่ิง สิ่งที่ควรเลอื กอยา งยิ่งคอื สิง่ ที่เปนอดุ มคติ ซ่งึ บุคคลตองตดั สนิ ใจดว ยตัวเอง

เคยี รเกการดเชื่อวาพระผูเปนเจามีอยูและคอยตรวจตราบุคคลจากเบื้องบน บุคคลรูวาพระผุ
เปนเจา มีอยูจากความมอี ยูของตัวเองและการเลือกทางจริยศาสตรข องตัวเอง จุดหมายปลายทางของ
จิตมนุษยคือการไปรวมกบั พระผูเปนเจา วิธีการจะไปรวมกับพระผูเปนเจาบุคคลมีเสรีภาพท่จี ะเลือก
ของตัวเอง ไมจําเปนตอ งใชวิธีการทางเทววิทยาและในการรวมกับพระผูเปนเจาน้ัน บุคคลยังตองเปน
ตัวของตัวเอง หรอื รักษาปจ เจกภาพของตัวเองไวไ ด๒

๓. ไฟรดรชิ นีทเช (Friedrich Nitzsche)

นีทเชรวมความคิดของคานท, โชเปนเฮาเออร และดารว นิ เขาดวยกนั เขาถือวาความแทจริงที่
ส้ินสุดคือเจตนจาํ นงอยางเดียวกับโซเปนเฮาเออร แตเจตนจํานงน้ันไมใชเจตจํานงเพอื่ มีชีวิตอยู (will
to live) หากเปนเจตนจํานงไปสูอาํ นาจ (will to power) นิทเชกลาววาสง่ิ ทคี่ นตองการไมใชเพยี ง
การรักษาตัวรอด แตเปนอํานาจอันย่ิงใหญ ตัวอยางของอํานาจเชนน้ันก็คือ ชัยชนะในการแขงขัน
ความสามารถท่ีทําใหผอู ่ืนรูสึกประทับใจ การสรางสรรคศ ิลปะ การเอาชนะเอกภพดวยปญญาของนัก
ปรชั ญา หรือการเอาชนะตวั เองของโยคี

นที เชปฏิเสธความสุขภายนอก ส่ิงที่คนตอ งการอยางแทจริงนั้นไมใชความสุข ถาความสุขนั้น
หมายถงึ ความปราศจากความทุกข คนเราเต็มใจสละความสุขและยอมทนทุกขเพือ่ อํานาจอันย่ิงใหญ
อํานาจใหความสขุ ใจอยางแทจริง แมจะคลุกเคลาไปกับความทกุ ขก็ตาม การแสวงหาความสุขชนิดนี้

๒ William S. Sahakian, ปรัชญาตะวันตกยุครวมสมัย (Outline History of Western
Contemporary Philosophy), เรียบเรียงโดย ดร.บุณย นิลเกษ, (เชียงใหม : ภาควิชามนุษยสัมพันธ คณะ
มนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม, ๒๕๒๑), หนา ๑๖๘.

๒๘๑

ตองมีวินัยในตวั เองระดบั สูง เพราะเราจะมีอาํ นาจอันยิ่งใหญไมไ ด ถาเราปลอยใหกิเลสอยางสัตวปา
เขาครอบงํา ถาเราใชแรงกระตุนหรือตัณหาใหเปนประโยชน คือใชในทางสรางสรรค เราก็สามารถ
ยกระดบั ตัวเองใหเหนือสัตวปาและมศี ักด์ิศรีแหงความเปนมนุษย ผูบรรลุถึงสภาวะเชนนี้เรียกวาอภิ
มนุษย (superman หรือ ubermenscher) นิทเชเชื่อวาอภิมนุษยเชนน้ีเกิดข้ึนเปนครั้งคราวในอดีต
ความเหน่อื มนุษยของคนเหลานั้นไมไดข ึน้ อยูกับเชื้อชาติ แตจ ะมอี ยูทุกวัฒนธรรม

นีทเชเปน นกั อเทวนิยม เขาโจมตีคริสตศาสนาอยางรุนแรงวา ความสุภาพ การใหอภัย ความ
อดทนและความรักของพวกคริสเตียนไมมีอะไรเกินไปกวาความเกลียดชังที่แฝงเรน จึงไมกลาแสดง
ออกมาเปนอยางอื่นนอกจากความสุภาพ ความอดทนหรือความรัก การกระทําเชนนี้สืบเน่ืองมาจาก
พวกทาสในจักรวรรดิโรมนั ผูนับถอื คริสตศาสนากอนใคร ๆ นิทเชพูดถงึ การกบฏทางศีลธรรมของพวก
ทาส พูดถึงศลี ธรรมของทาสและศลี ธรรมของนายทาส

จรยิ ศาสตรของนทิ เชแตกตา งจากสองชนิดขา งตน กลาวคือแตกตางจากศีลธรรมของนายทาส
ตรงท่ีเขาประนามการไมยอมรบั นับถอื คนที่ดวยกวา เชนการปฏบิ ัติตอคนไรว รรณะตามกฎของพระมนู
เขาวิจารณศีลธรรมของคริสตศาสนาชนิดปากกับใจไมตรงกัน เชนความเกลียดชังท่ีแฝงเรน ความ
รษิ ยาคนท่ีเดน กวา และการแกแคน ทีแ่ ยกออกจากศรทั ธาในศาสนา

นทิ เชยังประณามความสงสารและความรักเพอื่ นบาน แบบครสิ ตศ าสนาดวย คริสตศาสนานั้น
แทนที่จะสอนใหค นทาํ วตัวใหส มบูรณซึง่ เปนงานหนกั กลบั สอนใหร ักเพือ่ นบา นซงึ่ เปน งานเบา และถือ
วาเปนความดีอยางย่ิงยวดแลว สวนคนสงสารที่นิทเชคัดคานนั้นเปนความสงสารตามสมมติฐานวา
ความทุกเปนความชว่ั ถา สงิ่ ท่ีคนตอ งการท่สี ดุ คอื อํานาจแลวความทุกขกเ็ ปนสิ่งจําเปนที่ตองประสบทัง้
ใน วิธีควบคุมตนเองท้ังในการดําเนินชีวิตแบบสรางสรรค เราไมควนแสดงความรักเพ่ือนบานดวย
ความสงสาร แตแสดงดว ยการชวยเหลือใหเขามีสภาพดีกวาเดิม ซ่งึ อาจทําไดดวยการบังคับเขา หรือ
ทาํ ตัวใหเ ดน กวา เขาในการแขง ขนั กัน

นิทเชก็เปนนักเหตุผลนิยม เหตผุ ลน้ันเองเปนเครื่องมือของเจตนจํานงไปสูอํานาจ และเปน
เครื่องมือพิเศษ ซึ่งถาขาดเสีย คนเราก็บรรลุถึงอํานาจหรือความสุขไมได ดวยเหตุผลเทานั้น เราจึง
สามารถใหตัณหาใหเปนประโยชน ถาเราใชตัณหาใหเปนประโยชนไมได เราก็ยังคงเปนสัตวปา คนที่
ขาดเหตุผลไมส ามารถใหตัณหาในทางสรางสรรค คนเชนน้ันตอ งตกเปนทาสของตัณหาหรือพยายาม
กําจัดตัณหาอยา งใดอยา งหนงึ่

นิทเชไดช ื่อวาเปนนักปรชั ญาอัตถภิ าวนิยม เพราะเขาถือวา บุคคลเปนส่งิ แทจริงบุคคลสามารถ
รูความแทจริงดวยตนเองและนําความแทจริงนั้นมาสัมพันธกับการกระทําท่ีใชความคิด ไมใชนํามา
สมั พันธก ับความคิดลว น ๆ เพราะความคิดข้ึนอยกู ับเจตนจ าํ นงหรอื การกระทาํ ๓

๓ อมร โสภณวเิ ชษฐวงศ, ผชู วยศาสตราจารย, ปรัชญาเบ้ืองตน, (กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง,
๒๕๒๔), หนา ๓๑๒-๓๑๕.

๒๘๒

๔. ดารล แจสเปอรส (Karl jaspers)

แจสเปอรสปฏิเสธภววิทยาในความหมายแบบเกา เขาถือวาเปนไปไมไดที่จะคิดวา เอกภาพ
ของโลกคอื ความเปนระเบยี บทางจติ ซ่ึงกลมกลืนกบั วิญญาณของโลก เพราะโลกเตม็ ไปดว ยความไมลง
รอย ความขดั แยง ความผดิ พลาด และความทุกข

แจสเปอรสถอื วาส่ิงที่มอี ยูมี ๓ ชนิดคือ สิ่งท่ีมีอยูทางประสาทสัมผสั ไดแกโลกทางวัตถวุ ิสัย
สิ่งทเ่ี ปนตัวของตัวเองไดแกบุคคลผูเช่ือมนั่ ในเสรีภาพและการตัดสินใจของตนเอง และส่ิงท่ีมีอยูดวย
ตัวเอง ไมขึ้นกับสิ่งใด ไดแกส่ิงสัมบูรณ ส่ิงท่ีมีอยู ๓ ชนิดน้ีเปลี่ยนสภาพกลับไปกลับมาไมได สิ่ง
สัมบูรณค รอบงาํ ท้งั โลกทางวัตถแุ ละโลกทางจิตปรัชญาพยายามนําบุคคลใหเขาถึงส่ิงสัมบูรณ เพราะ
บุคคลสามารถรวบกบั ส่ิงสัมบูรณไ ด

บุคคลเปนตัวของตัวเองแตตองเก่ียวของกับโลกเพราะบุคคลไมใชความแทจริงท่ีเหนือโลก
บุคคลพยายามจะรูและเขาถึงสิ่งสัมบูรณ การจะเขา ส่ิงสัมบูรณไ ดบุคคลตอ งพยายามเปลื้องตนเองให
พน จากโลก จดุ หมายปลายทางของจติ มนุษยก ็คอื การเขา ถงึ ส่งิ สัมบรู ณนี่เอง๔

๕. มารต นิ ไฮเดกเกอร (Martin Heidogger)

ไฮเดกเกอรถือวาเปนเน้ือแทของสิ่งทั้งหลายรูไดดวยสัญชาตญาณเนื้อแทกับความมีอยู
แตกตางกัน เมอ่ื เราถามถึงส่ิงใดส่งิ หน่งึ เราถามถึงเนื้อแทข องสิ่งนน้ั เมอื่ เราทราบวาสิง่ นั้นคอื อะไรแลว
เราอาจถามตอไปวาส่ิงน้ันมอี ยูจริงหรือไม นัดจิตนยิ มถอื วา ความมีอยูม มี ากอนเน้ือแท แตไฮเดกเกอร
ถอื วาเน้อื แทมีมากอนความมอี ยู

ไฮเดกเกอรถือวา ความมีอยูของมนุษยเปนส่ิงที่เปนไปได ลักษณะความมีอยูของมนุษยคือ
การเปนจิตที่มีสัมพันธภาพอยางแยกไมออกกับโลกและบุคคลอ่ืน สัมพันธภาพระหวางจิตกับโลกและ
บุคคลอื่นนน้ั ประกอบดนั เปน ความมอี ยขู องมนษุ ย

ความมอี ยขู องมนุษยเตม็ ไปดว ยความทกุ ข ความทกุ ขนั้นเกดิ มาจากความคดิ วาตัวเองจะตอง
ตายอยางหลีกเล่ียงไมได ความตายเปนจุดหมายปลายทางของความมีอยู ความตายไมใชเปนเพียง
ความไมมอี ะไร ไมใชเปนเพียงความไมมีอยู หากแตความตายเปนความแทจริงท่ีกําหนดไวแลว ความ
เปนอยูของมนษุ ยเ พอื่ ความตาย

บุคคลเปลื้องตัวเองใหพน จากความทุกขเพราะความกลัวตาย ไดดว ยการปฏิบัติจริยธรรมให
จติ พน จากโลก ดวยการไมอาศยั บุคคลอ่นื โดยเกยี่ วขอ งกับบุคคลเหลานั้นทางจิตเทานั้น และเม่ือการ

๔ พชิ ิต เฟอ งอารมณ, ประวตั ปิ รชั ญา, (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พท อ งถ่ิน, ๒๕๒๘), หนา ๔๔.

๒๘๓

ไตรตรองถงึ ความตายอยา งลกึ ซ้งึ จนพนไปจากความเปนอยูชั่วขณะ กลาวโดยสรุปบุคคลจะพนทกุ ขไ ด
ดว ยการทําจติ ใหพ น จากโลก ใหพนจากบุคคลอ่ืนและใหพ นจากความเปนอยูข องตวั เอง๕

๖. กาเบรยี ล มารเชล (Gabriel Marcel)

ปรัชญาของมารเชลวาดวยความคิด กลาวคือเปนการสรางเอกภาพระหวางการมีอยูกับ
ความคิด ไมใชเปนการยกความคิดข้ึนสูระดับนามธรรม การคิดปรัชญาของมารเชลเปนการสราง
ความคดิ ทีเ่ ปน ปรัชญา ไมใ ชส รา งระบบปรัชญา

สาระสาํ คญั ในปรัชญาของมารเชล คอื การเขา ถึงพระผุเปนเจาและการออนวอนพระผูเปนเจา
คนเรานนั้ ตอ งอาศยั โลก การท่เี รามรี างกายข้นึ ในโลกทาํ ใหเ รามีจิตขึน้ มาดวย ความคิดปฐมภูมิเก่ียวกับ
ความมอี ยูของคนเราไดเ ลอื นลางไป เราจงึ ฟนขน้ึ ดว ยความทุติยภูมิ ปนะสบการณเกา ท่สี ําคัญคือการท่ี
เรามีรา งกายข้ึนมาอยูร ว มกับสง่ิ ตาง ๆ ในโลก ความคิดทุติยภูมชิ วยใหเรารูความมอี ยูของรา งกายและ
ความมอี ยขู องโลก

เราเกี่ยวของกับรางกายของเราอยางไรนั้นมารเชลถือวาไมใชปญหา แตเปนความลึกลับ
ปญหากับความลึกลับแตกตางกัน ความลึกลับคือประสบการณที่อธิบายไมไ ด ไมใชพน ประสบการณ
ไป ในประสบการณนั้น จิตกับวัตถปุ ระสานกันอยางแยกกันไมไ ด คําสอนวาดวยความลึกลับของมาร
เชลคือการฟน ประสบการณเ กา ทเี่ ลือนลางไปใหกลับคืนมา ประสบการณเลือนรางไปกับความคดิ ปฐม
ภูมิ จึงตองอาศัยความคิดทุติยภูมิฟนประสบการณท่ีเลือนลางไปน้ันใหกลับมาเปนเอกภาพทาง
รูปธรรมระหวางความคดิ กบั ความมอี ยู

มารเชลถือวา มีความแตกตางกนั ระหวา งสิ่งทเี่ ราเปน กบั สิง่ ทเ่ี รามี เรามีอาํ นาจเหนือส่ิงที่เรามี
และสามารถกําจัดส่ิงทเ่ี รามเี สียไดแตส่ิงที่เปน เรากําจัดไมไ ด เพราะเราเปนส่ิงจํากัด ส่ิงทเ่ี ราเปนสูง
กวา ส่ิงที่เรามี

มารเชลเชื่อวา พระผูเปนเจาไมตองการใหเรารักพระองคเกินไปกวาส่ิงที่พระองคสราง แต
ตอ งการใหเ ราสรรคเ สรญิ พระองคผานสิ่งท่พี ระองคส รา ง การท่เี ราเปนผูช วยใหเราเขา ถึงพระผูเปนเจา
และบรรลคุ วามหลุดพน การเขา ถึงพระผเู ปน เจา และความหลุดพนคือการพน ไปจากประสบการณตรง
ไปสคู วามลึกลับหรือความโดดเดย่ี วทางจิต๖

๕ สมัคร บรุ าวาศ, วชิ าปรัชญา, (กรุงเทพฯ : แพรวิทยา, ๒๔๙๕), หนา ๘๐.
๖ ชัยวัฒน อัตพัฒน, ปรัชญาตะวันตกรวมสมัย, พิมพครั้งท่ี ๒, (กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญา คณะ
มนษุ ยศาสตร มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๒๒), หนา ๔๓.

๒๘๔

๗. ชงั ปอล ชารต (Jean Paul Sartre)

ชารตถือวา ความเปนตัวของตัวเองกับความมีอยูดวยตัวเองแตกตางกัน ความเปนตัวของ
ตวั เอง หมายถงึ ความเปนอนั หน่ึงอันเดยี วกับตวั เองหรือตัวเราเอง ความมีอยูดวยตัวเองหมายถึงสง่ิ ที่
เรารูไดด ว ยจิต

สาระสําคัญในปรัชญาของชารตคือเสรีภาพ ในฐานะที่เราเปนบุคคลผูรูสํานึก เรายอมไมเปน
ตัวของตัวเองอยางเฉยเมย เรายอยสรางคุณคาและมีความรับผิดชอบตอโลก โดยเลือกสรรส่ิงท่ีดี
สาํ หรับตวั เองและสาํ หรับโลก ปรัชญาของชารตเปนเทวนิยม เขาถือวาพระผูเปนเจาไมจําเปนสําหรับ
ความมีอยขู องบคุ คล และเสรีภาพของบคุ คล

ชารต ถือวา พระผูเปน เจา ไมไ ดส รา งคณุ คา แตตัวเราเองเปนผูสรางคณุ คา แตเดมิ น้ันชีวิตไมม ี
ความหมาย เราเปนผูใหความหมายแกชีวิตเอง และคุณคาน้ันก็คือความหมายท่ีเราให จุดหมาย
ปลายทางปรชั ญาของชารตคอื ตอ งการใหจิตมนุษยพนจากความคดิ พนจากประสบการณและพนจาก
พระผูเปนเจา ไปสูความวา งหรือความไมม ีอะไรทงั้ สิ้น๗

๘. ปฏิฐานนิยมทางตรรกวทิ ยา

นักปฏิฐานนิยมทางตรรกวิทยาปฏิเสธอภิปรัชญาโดยกลาววา ขอความทางอภิปรัชญาไร
ความหมาย เพราะขอความข้ันตนทุกอยางยอมลอกเลียนแบบขอเท็จจริงจากประสบการณอยาง
เดยี วกัน ขอ ความท่ีไมไดอ า งอิงถึงขอเทจ็ จริงยอมไรความหมาย ขอความจะมีความหมายไดอยางนอย
ที่สุดตองอางอิงถึงขอเท็จจริงจากประสบการณและจะปรับปรุงแกไขก็ตอเม่ือไดรับทดสอบดวย
ประสบการณแ ลว

นักปฏิฐานนิยมทางตรรกวิทยาแบงขอความออกเปน ๒ ชนิด คอื ขอความเชิงวเิ คราะห และ
ขอความเชิงประสบการณ ขอความในคณิตศาสตรและตรรกวิทยาเชิงรูปแบบเปนขอความเชิง
วิเคราะห ขอความเชิงประสบการณทดสอบไดดวยประสบการณ ขอความเหลาน้ีมีความหมาย เชน
ขอ ความวา “ฝนตก” ทดสอบไดโดยตรงดวยประสบการณ ขอความทางประวัติศาสตรทดสอบไดโดย
ทางออม ขอความเชิงประสบการณ จะทดสอบไดโดยตรง หรือโดยออมก็ตามยอมมีความหมาย
ขอความทางอภิปรัชญาวาดวยสิ่งท่ีพน ประสบการณ เชนอตั ตาพระผูเปนเจา อนาคต ชีวิตเปนตน ไร
ความหมาย เพราะพน ประสบการณ ทดสอบดวยประสบการณโดยตรงหรือโดยออมไมไ ด๘

๗ กีรติ บุญเจอื , ปรชั ญา, (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๑๙), หนา ๘๐.
๘ อมร โสภณวิเชษฐวงศ, ผชู วยศาสตราจารย, ปรชั ญาเบ้ืองตน , หนา ๓๑๙-๓๒๐.

๒๘๕

ขอความเกีย่ วกบั โครงสรางของโลก ปรมาณู ความรอน แสงสวางเปนตนอยูในขอบเขตของ
วิทยาศาสตร ปรัชญาไมใชประมวลความรูทางวิทยาศาสตร หนาท่ีของปรัชญาคือการวิเคราะห
ความคิดรวบยอดทางปรัชญาและอธิบายความหมายใหก ระจา ง วิธีของปรชั ญาคอื การวเิ คราะหภาษา

ปรัชญาคือตรรกวิทยาวาดวยวทิ ยาศาสตร ปรัชญาวิเคราะหก ารแสดงออกของวทิ ยาศาสตรใน
เชิงภาษา และพิจารณาความหมายของการแสดงออกเหลานั้น ตรรกวิทยาเชิงรูปแบบเปนอีกสาขา
หนึ่งของปรัชญา ซ่ึงศึกษารูปแบบการแสดงออกทางภาษา ภาษาศาสตรวาดวยความหมายเปนอีก
สาขาหนึ่งของปรชั ญา ซงึ่ ศกึ ษาสัมพนั ธภาพระหวา งการแสดงออกทางภาษากบั วัตถุที่หมายถึง

๒๘๖

สรุปทายบท

ลกั ษณะทัว่ ไปของลัทธิอตั ถภิ าวนยิ ม
๑. สรางในดา นความคิด โดยใชวิธกี ารทางจติ วทิ ยา ประสบการณ หาทางวิเคราะหความทุกข
ความหมดหวงั และอ่นื ๆ พรอมอธิบายความหมายของสิง่ นนั้
๒. เนนที่ตัวบุคคลและประสบการณของบุคคลในชีวิต โลกและสังคม บางทีเช่ือในพระเปน
เจา ไมเ นนหาความเปนจริงในอาํ นาจของพระเปนเจา บางทีก็ไมเชื่อในพระเปนเจาแตกไ็ มไดลบหลูดู
ถูก เพราะเนนท่ีตัวบุคคลผูประพฤติปฏิบัติ พวกนี้ไมไดคนหาธรรมชาติของโลกหากพยายามหา
ความหมายของโลก วิวัฒนาการของโลก โดยเนนทเ่ี สรีภาพของแตล ะบุคคลแมแตการเขาถงึ พระเปน
เจากไ็ มไ ดย ดึ เทวะวิทยา
๓. เน่ืองจากมนุษยเปนความแทจริงเชิงจิตวิสัย โดยเชื่อวาจิตสําคัญกวารางกายสามารถคิด
สามารถสรางสรรค มศี ักยภาพ มเี สรภี าพ เปนสภาวทีแ่ ทจ รงิ ตางจากสสาร
๔. อัตถิภาวนิยมเกิดจาแรงผลักดันทางศีลธรรมและศรัทธาในจริยศาสตร วาบุคคลยอมมี
คณุ คา มคี วามดอี ยูในตน ปจ จุบนั เปนเวลาของปจ เจกชนจะสรางความดี
๕. เชอ่ื มั่นอยูกับนักปรัชญาผสู รา งลัทธิ ถาผสู รางลัทธิมสี ติปญญาลึกซงึ้ ปรัชญาทเี่ ขาสรางขึน้
ยอ มลึกซง้ึ ดวย ถา นักปรัชญามีสตปิ ญญาไมส มบูรณ ความคิดการสรางสรรคของเขายอมไมสมบูรณไ ป
ดว ย
๖. เนนในการมองโลกในแงรา ย เนอ่ื งจากการเนนในเร่ืองความกลัว ความหมดหวังและความ
ทุกข แลวพยายามตอสเู พอื่ เอาชนะความไมดเี หลาน้ัน ไมใชปลอยชีวิตใหไปตามเวร ตามกรรมเหมือน
คนส้ินหวัง
๗. เนนเสรีภาพของบุคคลเปนสําคัญ รางกาย โลก สังคม ความเปนมาของโลก แมแต
วัฒนธรรม อารยธรรม ก็ไมสามารถกําหนดความมีอยูของมนุษยได ทุกคนสามารถท่จี ะเลือกอุดมคติ
ของตนเอง เพราะอุดมคติเปนเปาหมายของชีวิต คนเราจึงสามารถที่จะเลือกเปนอะไรก็ไดถาคนอ่ืน
เลือกใหก็เทากับบีบบังคับไมใหเขาเปนมนุษย การมีชีวิตเชนนั้นก็เหมือนกับเขาขาดสาระความเปน
มนษุ ยน ่ันเอง เทากบั เขาเปน โมฆบุรุษทใ่ี ชชีวิตอยใู นโลกโดยไมม ีคา
ทรรศนะของพวกอัตถภิ าวนยิ ม มดี งั น้ี
๑. ไมเ ช่ือวา ความดี ความชั่วมมี ากอ นท่ีมนษุ ยส รางขึ้น
๒. ในดานจริยศาสตรแ ละสงั คมจะอาศยั ธรรมชาติเปน สําคญั ซงึ่ ธรรมชาตจิ ะดีหรือช่ัวบุคคลมี
เสรภี าพสรา งสรรคไดท ั้งน้ัน
๓. ในดานความรูจ ะตองอาศยั ประสบการณข องแตล ะบุคคลที่มอี ยูและถอื วาเปน คุณคายงิ่ นัก
๔. ในดานความจรงิ อตั ถภิ าวนยิ มเชือ่ วา บคุ คลจะเขา ถึงไดดวยเชาวนปญ ญา

๒๘๗

เอกสารอางอิงประจําบท

กรี ติ บุญเจือ. ปรัชญา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๑๙.
ชัยวัฒน อัตพัฒน. ปรัชญาตะวันตกรวมสมัย. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญา คณะ

มนษุ ยศาสตร มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๒๒.
บุญมี แทน แกว, ผชู ว ยศาสตราจารย. ปรชั ญาตะวันตกรว มสมัย. กรงุ เทพฯ :สํานักพิมพโอเดียนสโตร,

๒๕๔๘.
พิชติ เฟอ งอารมณ. ประวัติปรชั ญา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พท อ งถ่นิ , ๒๕๒๘.
สมัคร บรุ าวาศ. วชิ าปรัชญา. กรงุ เทพฯ : แพรว ทิ ยา, ๒๔๙๕.
อมร โสภณวิเชษฐวงศ, ผูชวยศาสตราจารย. ปรชั ญาเบ้อื งตน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง,

๒๕๒๔.

William S. Sahakian. ปรัชญาตะวันตกยุครวมสมัย (Outline History of Western
Contemporary Philosophy). เรียบเรียงโดย ดร.บุณย นิลเกษ. เชียงใหม : ภาควิชา
มนุษยสมั พนั ธ คณะมนษุ ยศาสตรแ ละสังคมศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม, ๒๕๒๑.

บรรณานุกรม

๑. ภาษาไทย

กีรติ บุญเจือ. ตรรกวิทยาทั่วไป. พิมพค รงั้ ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ , ๒๕๑๘.
. ปรชั ญา. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๑๙.
. ปรชั ญากรกี ระยะกอ ตวั ทอี่ ิตาลี. กรงุ เทพฯ : สํานกั พมิ พไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๑๙.
. ปรชั ญาเบอื้ งตน และ ตรรกวทิ ยาเบอื้ งตน . กรุงเทพฯ : ผดุงวทิ ยาการพมิ พ, ๒๕๑๒.
. ปรชั ญาศิลปะ. กรงุ เทพฯ : สาํ นักพิมพไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๒.

คณู โทขันธ. ปรชั ญาเบ้ืองตน. ขอนแกน :ภาควิชามนุษยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร,
๒๕๒๗.

จํานง ทองประเสริฐ. ตรรกศาสตร ศิลปะแหงการนิยามความหมายและการใหเหตุผล. พิมพครั้งท่ี
๑๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพม หาจฬุ าลงกรณราชวิทยา, ๒๕๓๘.
. ปรชั ญาประยุกต ชุดตะวนั ตก. กรุงเทพฯ : ตนออ แกรมม่ี จํากดั , ๒๕๓๙.
. ปรัชญาประยกุ ต ชุดอนิ เดยี . กรุงเทพฯ : ตน ออ แกรมม่ี จาํ กัด, ๒๕๓๙.

ชัยวัฒน อัฒพัฒน. จริยศาสตร. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, ๒๕๒๓.
. ปรัชญาตะวนั ตกรว มสมัย. พิมพค รั้งท่ี ๒. กรงุ เทพฯ : ภาควชิ าปรชั ญา คณะ มนุษยศาสตร
มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๒๒.

ชูศักดิ์ จริ ะวัฒน. สนุ ทรียทางทศั นศลิ ป. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครูบา นสมเดจ็ เจา พระยา, ๒๕๓๐.
ฌอง-ฟรองซัว เรอเวล และ มัตติเยอ ริการฺ ภิกษุกับนักปรัชญา บทสนทนาพุทธศาสนา-ปรัชญา

ตะวันตก. แปลโดย งามพรรณ เวชชาชีวะ. พิมพคร้ังที่ ๓. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพออรคิด,
๒๕๔๕.
ทวีเกยี รติ ไชยยงยศ. สุนทรยี ะทางทศั นศิลป (โครงการตําราคณะศิลปกรรมศาสตร สถาบนั ราชภฏั
สวนดุสติ ). กรุงเทพฯ : พิมพลักษณ, ๒๕๓๘.
ทองหลอ วงษธ รรมา, รศ., ดร. ปรัชญาท่ัวไป. กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พโ อเดยี นสโตร, ๒๕๔๙.
. รองศาสตราจารย ดร. ปรัชญาจนี . กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมพโอเดยี นสโตร, ๒๕๓๘.
บุญมี แทนแกว, ผูชวยศาสตราจารย. จริยศาสตร (ETHICS). พิมพครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.
พรนิ้ ติง้ เฮาส, ๒๕๕๐.
. ปรชั ญาตะวนั ตกรว มสมยั . กรุงเทพฯ :สํานกั พมิ พโอเดียนสโตร, ๒๕๔๘.
. ปรชั ญาฝายบุรพทิศ. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๔๕.
. ปรชั ญาตะวนั ตก(สมยั ใหม) . กรุงเทพฯ :สํานักพิมพโอเดียน สโตร, ๒๕๔๕.

๒๙๐

บุญมี แทนแกว, สถาพร มาลีเวชรพงศ และประพัฒน โพธ์ิกลางดอน. ปรัชญาเบ้ืองตน (ปรัชญา
๑๐๑). กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พโ อเดยี นสโตร, ๒๕๒๙.

บณุ ย นลิ เกษ. ปรชั ญาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานกั พมิ พแพรว ิทยา, ๒๕๒๕.
ประทปี มากมติ ร. ตรรกวิทยาเบอ้ื งตน . กรุงเทพฯ : โรงพิมพม หาวทิ ยาลัยเอเชียอาคเนย, ๒๕๔๓.
ปรชี า ชางขวญั ยนื . การใชเหตุผล. กรงุ เทพฯ : มิตรสยาม, ๒๕๕๒.
ปานทิพย ศภุ นคร. ปรัชญาเบอื้ งตน . กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคําแหง, ๒๕๔๒.
พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต). การพัฒนาที่ยง่ั ยืน. กรงุ เทพฯ : มูลนธิ ิพทุ ธธรรม, ๒๕๓๙.
พระพิทักษณิ คณาธิกร. ปรัชญา. กรุงเทพฯ : สํานกั พิมพดวงแกว , ๒๕๔๔.
พระมหาบรรจง สริ ิจนโฺ ท. ปรัชญาจีน-ญ่ปี นุ . ขอนแกน : คลงั นานาวทิ ยา, ๒๕๔๔.
พชิ ิต เฟอ งอารมณ. ประวัตปิ รชั ญา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พทองถิ่น, ๒๕๒๘.
พินิจ รัตนกุล, ดร. ปรัชญาชวี ิตของโสเครตีส. นนทบุรี : วิทยาลยั ศาสนศกึ ษา มหาวิทยาลัยมหิดล,

๒๕๔๗.
แพทริค, จ.ี ที.ดบั บลิว. Introduction to Philosophy (ปรัชญาเบ้อื งตน ). แปลโดย กรี ติ
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ. ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๓๑. กรุงเทพฯ :

สํานกั พิมพอักษรเจริญทศั น, ๒๕๒๕.
วิชิต ดารมย, ดร. นับต้ังแตโ สเครตีส. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พร้นิ ตง้ิ เฮาส, ๒๕๓๗.
วิทย วิศทเวทย. ปรชั ญา. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๑๓.

. ปรชั ญาทั่วไป. กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พอักษรเจรญิ ทศั น, ๒๕๒๕.
วิทยา ศักยาภินันท, รองศาสตราจารย ดร. ตรรกศาสตร ศาสตรแหงการใชเหตุผล. กรุงเทพฯ :

สาํ นักพิมพมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร, ๒๕๕๗.
วิโรจ นาคชาตรี, รศ. ปรชั ญาเบอื้ งตน. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคําแหง, ๒๕๕๒.
ศรณั ย วงศค าํ จนั ทร. ปรชั ญาเบ้อื งตน. กรงุ เทพฯ : อมรการพมิ พ, ม.ป.ป.
สกล นิลวรรณ. ปรัชญาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยครูสวนดุสิต,

๒๕๒๒.
สดใส โพธิวงศ. ปรัชญาเบื้องตน. ขอนแกน : ภาควิชามนุษยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและ

สงั คมศาสตร มหาวิทยาลยั ขอนแกน, ๒๕๓๔.
สมัคร บุราวาศ. วิชาปรัชญา. กรุงเทพฯ : แพรว ทิ ยา, ๒๔๙๕.
สวัสด์ิ สุวรรณสังข. ปรชั ญาเบื้องตน . ภเู ก็ต : วทิ ยาลยั ครูภูเก็ต, ๒๕๒๙.
สุจิตรา ออนคอม, รองศาสตราจารย ดร. ปรัชญาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี, ๒๕๔๘.

๒๙๑

สุวัฒน จันทรจํานง, นายแพทย. ความเชื่อของมนุษย เก่ียวกับปรัชญา และศาสนา. กรุงเทพฯ :
สขุ ภาพใจ, ๒๕๔๐.

อมร โสภณวิเชษฐวงศ, ผูชวยศาสตราจารย. ปรัชญาเบอ้ื งตน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง,
๒๕๒๔.

อองซก. ขงจอื๊ ฉบับปราชญช าวบาน. แปลโดย อธิคม สวสั ดิญาณ. กรุงเทพฯ :สํานักพมิ พเตา
ประยุกต, ๒๕๔๐.

ออนไลนจาก http://www.crs.mahidol.ac.th/thai/philosophy_currious.htm เม่ือวันที่ ๒๕
พฤศจกิ ายน ๒๕๓๙.

ออนไลนจ าก https://www.jw.org/th/ เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๓๙.
อารี สุทธพิ นั ธ. “จะสอนสุนทรียศาสตรก ันอยา งไร, ใน สุนทรียภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเจริญธรรม,

๒๕๒๐.

๒. ภาษาอังกฤษ

William S. Sahakian. Outline History of Western Contemporary Philosophy (ปรัชญา
ตะวันตก ยุครว มสมยั ). เรยี บเรยี งโดย ดร.บุณย นลิ เกษ. เชียงใหม : ภาควิชา มนุษยสัมพันธ
คณะมนุษยศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม, ๒๕๒๑.

Joad, C.E.M. Guide to Philosophy. U.S.A. : Dover Publication, 1957.
Randall and others. Philosophy : An Introduction. U.S.A. : Barnes & Noble, 1970.
Titus and others. Living Issues in Philosophy. 7th ed. New York : D. Van Nostrand,

1979.


Click to View FlipBook Version