The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-07-19 08:32:13

ปรัชญาเบื้องต้น

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Keywords: ปรัชญา,ศาสนา

๑๙๒

คนเราก็สามารถคิดในเรื่องพระเจาท่ีเพียบพรอมกวาตัว และยังเปนสิ่งนิรันดรได ดวยเหตุฉะน้ี
ความคิดที่เก่ียวกับส่ิงในคณิตศาสตร และความคิดเรื่องพระเจาตองเปนความคิดประเภทพิเศษ ที่
เรียกวา “มมี าแตก ําเนิด” โดยพระเจา นัน่ เองเปนผูมอบให

๖) เดการตถอื วา ขบวนการอนั เปนพน้ื ฐานท่ีจะชวยใหเราไดรับความรูทถ่ี ูกตอง มีอยู ๒ อยาง
คอื ความรูโดยอัชฌัตติกญาณ กบั การคิดหาเหตุผลแบบนิรนัย อชั ฌัตติกญาณ กค็ ือ การหย่ังรูที่เกิด
จากแสงสวางแหง เหตุผล ซง่ึ ความรทู ีไ่ ดมานั้นถูกตองและแนนอนทําใหเราหมดขอ สงสัยใด ๆ เชน ทุก
คนจะหย่ังรูด วยใจในความจริงท่วี า ตัวเขามอี ยู นั่นคอื เขาเปน ผคู ิด และทุกคนตระหนักดีวา สามเหล่ียม
คือ พื้นที่ที่ลอมรอบดวยเสนตรง ๓ เสนหรือมีผลก็ตองมีเหตุ เปนตน ซ่ึงการรูในส่ิงเหลานี้ไม
จาํ เปนตองอาศยั พยานหลกั ฐานใดมายืนยันวา มนั จริง สวนการคิดหาเหตผุ ลแบบนิรนัย คือ การทเ่ี รารู
เขาใจในความจริงอันหน่ึงโดยอาศัยความจริงเดิมท่ียอมรับกันแลววาแนนอนซึ่งไดกลาวมาแลวใน
หัวขอ เรอื่ งความเชือ่ รวมกันของนกั เหตุผลนิยม

๗) เมอ่ื เดการตไดทาํ การยืนยันวา มจี ิต หรือ วิญญาณ ซงึ่ มอี ยูในฐานะตัวคดิ แลว เขาก็อาศัย
ความจรงิ อันนี้เปนขอ อางเพอ่ื ทจ่ี ะพิสูจนความจริงของส่ิงอื่นตอไปคอื พิสูจนวา เมื่อเรารูแลววาตัวเรา
มอี ยูจริง สรรพส่งิ ท้ังหลายในโลกและพระเจาเลาก็มีอยูจริง การพิสูจนของเขาโดยสรุปก็คือ ใชการคดิ
หาเหตุผล หรือการเช่ือมโยงความคิดวา เม่ือเขาตองยอมรับวาตัวเองมีอยูเพราะมีความคิดแลว ก็
พบวา เขาไดม ีความคิดเก่ียวกบั พระเจาซึง่ มีธรรมชาติแตกตางไปจากตัวเขาอยางส้ินเชิง พระเจาเปน
“สิ่งแทจริงที่มีความไมจํากัด, ทรงเปนนิรันดร, ไมมีการเปลี่ยนรูป, เปนอิสระ, และมีอํานาจอัน
ย่ิงใหญ” ธรรมชาติของมนุษยตรงกันขามกับธรรมชาติของพระเจาเลยทีเดียว จึงเปนไปไมไดที่
ความคดิ นมี้ นุษยจะกอขน้ึ มาเอง จึงตอ งสรปุ วาพระเจาเองเปนผูประทานความคิดเกย่ี วกบั พระองคเอง
ใหมนุษย แสดงวาตองมีพระเจาอยูจริง ตอจากนี้เดการตก็ไดพิสูจนวาโลกและสรรพส่ิงท้ังหลายก็
จะตอ งมีอยู เพราะพระเจาเปนผูสรางข้นึ มา คือ ถาขอพสิ ูจนเกี่ยวกบั พระเจาสรุปลงวา มพี ระเจาแลว
กต็ องมีสง่ิ ท่ีพระองคส รา งดว ย

เห็นไดว า กระบวนการพสิ ูจนของเดการตตั้งแตเรื่องจิต พระเจา และโลก รวมทั้งสรรพสิ่งนั้น
เปนการพิสูจนโดยการเชื่อมโยงความคิด หรือเปนการใชสติปญญาหาเหตุผลตามหลักตรรกวิทยา
ดังน้ันในที่สุด การที่เดการตเช่ือวาสิ่งตาง ๆ ในโลกมีอยูจริงน้ัน มิใชเพราะเราเห็นหรือไดกลิ่น หรือ
ผานประสาทสัมผัสใด ๆ แตความคิดตามเหตุผลทําใหเช่ืออยางนี้ น่ีเปนลักษณะของเหตุผลนิยมท่วี า
ความรูที่เกดิ จากความคิดเทานน้ั ที่ใหความจรงิ แท

๑.๒ ลทั ธิประจกั ษนยิ ม หรอื ประสบการณนิยม (Empiricism)
นักปรัชญาประจักษนิยมคนสําคัญคือ จอหน ลอค (John Lockc) และเดวิด ฮูม (David
Hume) ซึง่ จัดเปนนักปรัชญาในยุคใหม โดยทั่วไปลัทธิประจักษนิยม หรือประสบการณนิยม มีความ

๑๙๓

ขดั แยง กบั ลทั ธเิ หตผุ ลนยิ มในเร่อื งบอ เกดิ แหง ความรูทแ่ี ทจ ริงแตวา ทัศนะทางประจักษนิยมของจอหน
ลอค น้ัน สมควรจะกลาววาเปนเพียงแนวโนมเทาน้ัน เพราะวาเขายอมรับวาความรูตองเกิดจาก
ประสบการณ แตขณะเดียวกันก็ยอมรับความรูท่ีเกิดจากเหตุผล คือ เน้ือหาของความรูไดมาจาก
ประสบการณท างประสาทสัมผสั ก็จริง แตเขากไ็ มไดยืนยันวาความรูทกุ อยางตองพบในประสบการณ
เทาน้ัน สวนเดวิด ฮูม นั้น นับวาเปนผูสมควรจะถือวาเปนนักประจักษนิยมมากที่สุดเขาไดผลักดัน
ทัศนะทางประจักษนิยมของเขาไปอยางสูงสุด จนกระทั่งเปนพวกที่เรียกวา “วิมัตินิยม”
(skepticism)๕

ไดก ลาวมาแลว วา ลัทธิน้เี นนความสําคัญของประสบการณวาเปนบอเกิดหรือที่มาของความรู
ดังนั้นกอนที่จะเขาถึงใจความสําคัญของลัทธิก็ควรที่จะทําความเขาใจหรือพิจารณาถึงคําวา
“ประสบการณ” ท่ีใชก ันอยูท ่วั ไปนนั้ วา มีความหมายอยางไรไดบ า ง๖

๑. ความหมายคําวา “ประสบการณ” บางคนใหความหมายคําวา “ประสบการณ” อยาง
แคบ ๆ วาหมายถงึ การมผี สั สะ (sensation) หรือความรูสึก (feeling) ซึ่งเปนการย้ําในเรื่องของส่ิงเรา
และการตอบสนองดวยความรูสึกเทานั้น ความหมายดังกลาวน้ีไดตัดเอาเรื่องของส่ิงใดก็ตามท่ีไดมา
จากความสามารถในการจนิ ตนาการ และการสรางความคิดรวบยอดของคนเราออกไป จึงทําใหความรู
หมายถึงแตเ พยี งแตสิ่งที่โลกภายนอกเติมใสใหกบั มนุษยเทาน้ันเอง และกิจกรรมทางจิตหรือการคิดก็
เปน ส่ิงทมี่ คี วามสาํ คญั ในอันดับรองลงมา คือเปนเพยี งตัวจัดการผัสสะเทา น้ัน ดังน้ัน จึงตีความการคดิ
วาเปนเพียงความรูสึกอยางหน่ึง แตอันที่จริงแลวนักประจักษนิยมสวนใหญไหความหมาย
ประสบการณไ วกวางขวางกวาความหมายท่เี ปนเพียงผัสสะหรือความรูสึก ประสบการณคืออะไร ลอง
พจิ ารณาดวู าประสบการณทีใ่ ชกนั ในความหมายตา ง ๆ น้นั มอี ะไรบาง

๑) ประสบการณ หมายถึง ความรู ความชํานาญ หรือขอมูลที่สะสมกันขึ้นมาในความหมายน้ี
ตองเก่ียวของกับ “ระดับ” ของสิ่งที่สะสมกันน้ันดวย ดังน้ัน ประสบการณของคนหนึ่งอาจมากกวา
หรือนอยกวา คนอน่ื ๆ โดยทั่วไปมกั คดิ กนั วาคนเราย่ิงมีประสบการณม ากข้ึนก็เทา กบั มีความรูมากข้ึน
ซึ่งก็ไมจําเปนวาส่ิงที่ไดรับมานั้นจะนําไปใชประโยชนไดดี ประสบการณในความหมายนี้บางทีก็
หมายถึง ประสบการณข องมนษุ ยโดยสว นรวม ไมใชม งุ เฉพาะประสบการณของใครคนใดคนหนึ่ง และ
ที่เรามักจะกลา วกนั วา “ประสบการณคือ ครูทดี่ ที สี่ ดุ ”

๕ คูณ โทขันธ, ปรัชญาเบื้องตน , (ขอนแกน :ภาควชิ ามนุษยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร,
๒๕๒๗), หนา ๔๖.

๖ ทองหลอ วงษธรรมา, รศ., ดร., ปรัชญาท่ัวไป, (กรงุ เทพฯ : สํานกั พมิ พโอเดียนสโตร, ๒๕๔๙), หนา
๑๐๑-๑๐๒.

๑๙๔

๒) ประสบการณใ นความหมายที่เปน คุณสมบัติของอารมณหรือความรูสึก เชน “เมอ่ื วานน้ี
ขณะทีเ่ ดนิ ทางกลับบา น ฉนั ไดรบั ประสบการณทต่ี ื่นเตนมาก” ประสบการณใ นความหมายน้ี หมายถงึ
การตอบสนองในทางจิตวิทยา ซึ่งไมเกี่ยวของกับ “ระดับ” เพราะไมอาจกลาวไดวา ใครมี
ประสบการณมากกวาหรือนอ ยกวา ใครแตกลา วไดว า แตล ะคนมีประสบการณท ี่ “ตางกัน”

๓) ประสบการณในความหมายที่เปน “ความสํานึก” (consciousness) บางคร้ัง
ประสบการณ หมายถงึ การรูสึกตัว การมีสํานึก การมสี ํานึกในส่ิงใดส่ิงหนึ่งกค็ ือ การมีประสบการณ
นั่นเอง ประสบการณในความหมายนี้จะรวมเอาท้ังการมีผัสสะ และกิจกรรมทางจิตท้ังหมดไว
สว นมากมักจะใหค วามหมายการมีประสบการณใ นบางส่ิง โดยอางถึงแตวา เปนการที่จิตคุนเคยกบั ส่ิง
น้ันโดยตรงในคร้ังแรกที่ไดรับผัสสะมา แตในความหมายดังกลาวน้ีรวมถึงความคิดของตัวผูรับ
ประสบการณดวย

๔) ประสบการณในความหมายท่ีเปนการสังเกตอยางรอบคอบ เชน จากขอความวา
“วิทยาศาสตร ตองอาศัยประสบการณ” (Science resorts to experience) อาจมีความหมายวา
ประการแรก วิทยาศาสตรตองใชการสังเกตเปนวิธีการในการตัดสินความจริงของทฤษฎีตาง ๆ หรือ
กลาวอีกนัยหนึ่ง วิทยาศาสตรไมไดใชแตเพียงเหตุผล ยังตองใชประสบการณคือ การสังเกต ซ่ึงการ
สังเกตน้ไี มใชเปน การทํางานของผสั สะทเ่ี ฉอ่ื ยชาธรรมดา ๆ แตหมายถงึ การกระทําอันเปนขบวนการที่
ทาํ โดยเจตนาและต้ังใจ ประการทสี่ อง หมายถงึ สิ่งที่เกดิ ขึ้นเปนกรณีพิเศษของการตอบสนองในทาง
จิตวิทยา คอื เปน การใชเทคนิคของการสังเกตอยางเปนระบบและรูตัว ฉะนั้น ประสบการณในแงน้ีจะ
ไมใชข อมลู ทีเ่ กดิ ข้นึ ในเวลาทีก่ ําหนด แตเปนนิสยั ท่ีอาจจะมีอยูต อ ไปในเวลานานเทา ใดก็ตาม เชน การ
ทดลองในทางจิตวิทยาเกี่ยวกับการเรียนรู ซึ่งเปนการสรางนิสัยในแบบตาง ๆ ของสัตวทดลอง
ความหมายทง้ั สองนต้ี องเกี่ยวขอ งกับสภาวะทางจติ ดว ย

๕) ประสบการณในความหมายท่ีเปนโลกของขอเทจ็ จริง มีบางคนไมเ ห็นดวยกับการตีความ
ประสบการณจากขอความที่วา “วิทยาศาสตรตองอาศัยประสบการณ” ในขอที่ ๔ เพราะเปนการ
ยอมรับวามีเร่ืองกิจกรรมของจิตมาเก่ียวของดวยเพราะท่ีจริงวิทยาศาสตรไมไดสนใจในสมรรถภาพ
ของจติ หรอื กจิ กรรมของจิตใด ๆ แตวิทยาศาสตรส นใจในบางสิ่งที่อยูภายนอกตัวคนเรา และเปนส่ิง
ที่มีอยูจริง น่ันคือโลกของขอเท็จจริง หรือพูดใหชัดก็คือธรรมชาติอันเปนแหลงกําเนิดของ
ปรากฏการณทั้งหลาย ดังนั้น ประสบการณในฐานะที่เปนโลกของขอเท็จจริง จะเปนส่ิงที่มีอยูกอน
แลวและไมใชสิง่ ทค่ี วามสํานกึ ของคนสรางข้นึ มา

๖) ประสบการณในความหมายท่ีเปนความสัมพันธ หรือ การกระทบกระทั่งกัน
(interaction) ถา กลาวกันอยางจริงจังแลว คําวา “ประสบการณ” ไมควรจะถูกจํากัดดวยความหมาย
ใดความหมายหน่ึง เปนไปไดท่ใี ครอาจจะชอบความหมายใดมากกวาความหมายหนึ่ง เปนไปไดท่ใี คร
อาจจะชอบความหมายใดมากกวาความหมายอ่ืน ๆ แตในทางปรัชญาแลว ก็ไดมีความพยายามท่ีจะ

๑๙๕

จัดกรอบคาํ จํากัดความท่ีสามารถรวมเอาความหมายตาง ๆ เขา ดวยกนั น่ันคอื ประสบการณน ้ันนาท่ี
จะเปนความสัมพันธระหวางอินทรียมีชีวิตกับส่ิงแวดลอม ประสบการณเปนขบวนการของการ
กระทบกระท่ังระหวางส่ิง ๒ ส่ิงนี้ จิตท่ีเปนผูมีประสบการณน้ันไมใชจิตธรรมดา แตเปนจิตทมี่ ีความ
กระตือรือรน, มีการตัดสินใจเลือกและมีการสงสัย อีกประการหนึ่ง ประสบการณไมใชโลกของ
ขอเท็จจริงธรรมดา แตเปนโลกที่มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไมห ยุดนิ่ง และถูกตรวจสอบ ในทศั นะ
เชนนี้ กิจกรรมทางวิทยาศาสตรกค็ ือ ประสบการณชนิดหนึ่ง คือเปนการมปี ฏิกริ ิยาโตต อบซึ่งกันและ
กันระหวาง จิตที่มองในแงวิทยาศาสตร กับส่ิงแวดลอมที่มองในแงวิทยาศาสตรเชนกันดังนั้น จาก
ทัศนะดังกลาว เราก็สามารถกลาวถึงประสบการณในแงตาง ๆ ซึ่งเปนวิทยาศาสตรได เชน
ประสบการณทางศาสนา, ประสบการณทางสังคม และประสบการณทางศลิ ปะ เปนตน และยังเปน
การบงบอกวา ประสบการณเปนหนวยหน่ึงของ “ความคิด” ของจิต การตีความเชนนี้ไดรวมเอา
ความหมายของประสบการณในความหมายตาง ๆ ท่ีกลาวมาแลว ไวดวยกนั คอื รวมเอาความหมายที่
เปนการสะสมความชํานาญหรือขอ มูลตาง ๆ ท่ีกลาวมาแลวไวดวยกนั คือ รวมเอาความหมายท่ีเปน
การสะสมความชาํ นาญหรอื ขอ มูลตา ง ๆ (ขอ ท่ี ๑), ความหมายของการตอบสนองทางจิตวิทยาซึ่งเปน
คณุ สมบตั ิของอารมณ ความรสู ึก (ขอท่ี ๒), ความหมายของความสํานึกหรือการรูสึกตัว (ขอที่ ๓) และ
ความหมายทเ่ี ปน โลกของขอ เทจ็ จริง (ขอ ที่ ๕)

๒. ขอคดั คา นของประจักษนิยมตอ เหตุผลนยิ ม
นกั ประจกั ษนยิ มไดแสดงขอ โตแยงความเชื่อพ้นื ฐานของนักเหตุผลนิยมไว ดังนี้
๑) ในเร่ืองท่เี กี่ยวกับหลักการอันแรก หรือ หลักท่ัวไปซงึ่ ใชในการอางเหตุผลแบบนิรนัย ซ่ึง
ลัทธิเหตุผลนิยมถือวาเปน “ความรูกอนประสบการณ” น้ันสําหรับฝายประจักษนิยมแลว หลักการ
ดังกลาวไมใชเปนความรูที่มีอยูกอนแลวแตเปนการคิดหาเหตุผลท่ีไดจากประสบการณ คือ เปนการ
รวบรวมขอเท็จจริงปลีกยอยท้ังหลายที่ไดจากประสบการณ แลวนํามาสรุปเปนหลักท่ัวไปข้ึนมา
ตัวอยางเชนหลักการที่วา “เหตุการณทุกเหตุการณ ตองมีสาเหตุ” เราสามารถรูวาทุกเหตุการณมี
สาเหตกุ โ็ ดยประสบการณเทา นั้น จรงิ อยูเ ราไมอาจตรวจสอบเหตกุ ารณทั้งหลายโดยไมจํากัดจํานวนได
วามนั มเี หตุหรอื ไม แตน ั่นกแ็ สดงดว ยวา เรากไ็ มอ าจจะรไู ดอ ยางแนใ จวาหลกั การนเ้ี ปนจริง หรือ ถาจะ
กลาววา เรารูด วยความม่ันใจรอ ยเปอรเ ซน็ ตว า เหตกุ ารณทกุ เหตกุ ารณท ี่เกดิ ขน้ึ ตองมีสาเหตุ การรูของ
เราตองไมใชรูเพราะเราไดหย่ังรูดวยจิตใจถึงธรรมชาติของส่ิงท้ังหลาย แตเราอาจรูวาขอความนี้จริง
โดยไมเกี่ยวกับประสบการณในความหมายท่ีวา มันอาจจะ “จริง” ก็ไดโดย “ความหมายหรือคํา
จาํ กดั ความ” ตา งหาก นั่นคือ คาํ วา “เหตกุ ารณ” (event) นั้น อาจหมายถึงบางส่งิ บางอยา งที่เกดิ ข้นึ
หรอื มกี ารเปลย่ี นแปลงบางอยา งบังเกดิ ขึน้ การทกี่ ลา ววา มีบางสิ่งเปลยี่ นแปลงก็หมายถงึ วา ส่ิงนั้นเปน
ผลของสถานการณท่ีแนนอนใดก็ตาม ซ่ึงอาจจะเรียกวา คือ “สาเหตุ” (cause) ดังนั้น จึงมีขออาง
ท่ัวไปตาง ๆ ทีร่ ูกันวาจริง โดยไมต องอาศัยประสบการณ แตขออางเหลานี้ไมใชความจริงเกี่ยวกับส่ิง

๑๙๖

ตาง ๆ หรือขอเท็จจริงทั้งหมด มันเปนเพียงความหมายหรือคําจํากัดความท่ีหลอกคนใหเขาใจผิด
เทา นั้น

๒) ดังน้ัน การคิดหาเหตุผลที่พวกประจักษนิยมยอมรับวาตองมากอนก็คือวิธีการคิดหา
เหตุผลแบบอุปนัย (Induction) สําหรับวิธีการนี้เราไมไดมีหลักการท่ีเปนพ้ืนฐานหรือหลักท่ัวไปท่ี
ยอมรับวา จรงิ แลวอยกู อนเหมอื นแบบนิรนัยแตเรามีขอมลู ยอย ๆ ซึง่ เรารูวาจริงโดยประสบการณข อง
เรา แลวเรานําความจริงของกรณีเฉพาะน้ีมาใชเปนขออางเพื่อยืนยันวา กรณีท่ัวไปตองจริงดวย
ตวั อยางเชนจากประสบการณเ รารูวา อีกาหลาย ๆ ตวั มสี ีดํา เราจงึ สรุปวา “อีกาทุกตัวมีสีดํา” อีกาแต
ละตัวที่เราไดเห็นมานั้น เปนขอ เทจ็ จริงยอย ๆ ทเ่ี ราใชเปนขออา ง หรือเปนหลักฐาน เพอ่ื จะยืนยันวา
อีกาทกุ ตวั มสี ีดาํ ซึ่งเปนความจริงสากล หรือความจริงทั่วไปทเี่ ก่ียวของกับประเภทของอีกา อยางไรก็
ตาม ขอสรุปน้ี เราจะถือวามีความแนนอน (Certainty) ตลอดไปไมได มันใหไดแตความนาจะเปน
(probability) เทา น้ันเพราะขอสรุปน้ีจะเปนจริงตราบเทาทีเ่ รายังพบเห็นอีกาทีม่ ีสีดาํ อยู แตเมอื่ ใดที่
เกิดไปพบอีกาท่ีไมมีสีดําข้ึน ขอสรุปน้ีก็จะตกไปทันที เราจะยืนยันไดเพียงวา “อีกาสวนมากมีสีดํา”
เทาน้ัน

สรุปแลววิธีการอุปนัยเปนการทเ่ี ราอาศัยขอมูลทีเ่ ราไดร ับมาจากประสบการณทางประสาท
สัมผัสอนั เปนเร่ืองของกรณเี ฉพาะ สรุปข้ึนเปนความจริงทว่ั ไป ดังน้ัน วิธีอปุ นัยจึงเปนการท่เี ราขยาย
ความจรงิ ของสงิ่ บางสงิ่ ไปสูท กุ สง่ิ พวกประจักษนิยมมิไดปฏิเสธวิธีการคิดหาเหตุผลแบบนิรนัยเสียเลย
การคิดแบบนิรนัยก็ใชได แตวาหลักการเบื้องตนที่เปนขออางนั้นจะตองไดมาจากประสบการณ คือ
เปน ขอ สรุปท่ีไดจากขอเท็จจรงิ ยอย ๆ เมอ่ื ต้งั เปน ความจรงิ ทัว่ ไปแลว กน็ ํามารใชเปนขออา งเพือ่ พสิ ูจน
กรณีเฉพาะตอ ไป มใิ ชเ ปนความรูทีม่ อี ยกู อ นประสบการณ หรือ เปนความคิดทมี่ ีมาแตกําเนิดดังที่พวก
เหตผุ ลนิยมอา ง

๓) พวกเหตุผลนิยมใหความสําคัญตอ “อัชฌัตติกญาณ”(intuition) วาเปนสิ่งหน่ึงที่ชวยให
คนเราไดรับความรูที่ถูกตอ ง ความหมายของคําน้ีสําหรับพวกเหตุผลนิยม กค็ ือ เปนการหยั่งรดู วยจิต
เขาไปสูความจริงอันเปนสากล โดยไมตองอาศัยประสบการณใดเลย นับวาเปนอัชฌัตติกญาณกอน
ประสบการณ แตสําหรับพวกประจักษนิยมมคี วามเห็นไมตรงกันในเร่ืองความหมายของคํานี้ คําวา”
อัชฌัตติกญาณ” หมายถึงการมีความรู เขาใจโดยตรงในความจริงที่งาย ๆ ธรรมดา ๆ ที่สุดของ
ประสบการณทางประสาทสัมผัส อัชฌัตติกญาณกอนประสบการณจะเปนหลักการทั่วไป เชน
“เหตุการณทุกเหตุการณมีสาเหตุ” สวนอัชฌัตติกญาณในแบบของประสบการณก็เชน “ส่ิงท่ีฉัน
มองเห็นในขณะน้ีมีสีแดง” หรือ “ฉันรูสึกเจ็บปวด” ซ่ึงเปนการตัดสินส่ิงท่ีเรากําลังประจักษอยูดวย
ประสาทสัมผสั โดยตรง และน้ีเองคอื ความจรงิ ทเ่ี รียบและงายที่สดุ ซึง่ จะเปน พนื้ ฐานของความรูในขัน้ ท่ี
ซบั ซอ นสงู ขึน้ ไป

๑๙๗

๔) พวกประจักษนยิ มปฏเิ สธเรือ่ ง ความรู หรอื “ความคิดท่ีมมี าแตกาํ เนิด” วา คนเราน้ันมไิ ด
มีความรูอยกู อนท่จี ะไดร ับประสบการณม า ดูอยางเด็กแรกเกดิ จะเห็นวาเด็กไมรูในเรื่องใดเลย แตเดก็
จะเร่ิมรูก็ตอเม่ือไดรับประสบการณจากประสาทสัมผัส เชน การเห็นแสง การใชมือสัมผัส ตอมาได
เรยี นรจู ากผูใหญ และไดร ับการศกึ ษาเลา เรียน ความรูจึงคอยสะสมมากข้ึน อกี ประการหน่ึง ถาคนเรา
มีความคดิ หรือความรูแตกําเนิดจริงแลว ความรูชนิดน้ีกต็ องมีเหมือนกันในทุก ๆ คน แตในความเปน
จริงปรากฏวาไมเปนเชนน้ัน อยางเรื่องความรูเกี่ยวกับพระเจา จะเห็นวาบางคนเชื่อวามีพระเจา แต
บางคนก็ไมไดเช่ือวาพระเจามีอยูหรือแมแตในกลุมท่ียอมรับวามพี ระเจาก็ยังคดิ แตกตางกนั ออกไปใน
รายละเอยี ดตา ง ๆ เชน คณุ ลักษณะของพระเจา ดังนั้นความรูทีม่ ีมาแตกําเนิดในเรื่องพระเจาจงึ ไมมี
หรือ ความรูเกยี่ วกับสิ่งในเรขาคณติ ก็เชนกัน อยางเชน วงกลม หรือ สามเหลี่ยมน้ัน การทจ่ี ะรูจักมัน
ไดจ ะตองผานหรืออาศยั การเขียนรปู สิ่งเหลานี้ขึน้ มาเสยี กอนจงึ เทา กับวาเราตองไดเห็นมนั หรือมันตอง
เปนประสบการณของเรากอน ถาจะสั่งใหเด็กเล็ก ๆ ที่ยังไมเขาโรงเรียนเขียนรูปวงกลมหรือ
สามเหล่ียมใหเราดูเด็กยอมจะทําไมได ดังนั้น ที่อางวาพวกเหลานี้เปนความคิดท่ีมีมาแตกําเนิดจึง
เปนไปไมไ ด

๓. นกั ประจกั ษนยิ มคนสาํ คญั : จอหน ลอค และ เดวดิ ฮมู
จอหน ลอค (๑๖๓๒ – ๑๗๐๔) ขอกลาวถงึ แนวความคดิ สําคัญของเขาเปน ขอ ๆ ดงั น้ี๗
๑) ลอค ถือวาสภาพจิตของมนุษยในตอนเริ่มแรกนั้นมแี ตค วามวางเปลาเหมือนกระดาษขาว
บริสุทธ์ิ ปราศจากความคิด ความรูใด ๆ ท้ังส้ิน ตอมาจิตของคนเราก็จะกลายเปนแหลงหรือคลังที่
บรรจุวัตถุของความรูและการคิดหาเหตุผลมากมายทั้งนี้เพราะสาเหตุจาก “ประสบการณ” ส่ิงเดียว
เทาน้ัน ดงั นั้น ความรูของคนเราต้ังอยูบนประสบการณ หรือ ประสบการณเปนแหลงแรกที่ใหความรู
แกเรา ความรทู กุ อยา งขอมลู ทั้งหลายเก่ียวกบั โลกภายนอกจึงมาจากประสบการณ
๒) ลอค อธิบายวา ประสบการณม ี ๒ ขัน้ คือ ก. ผัสสะ (sensation) และ ข. ภาพสะทอ น
(reflection) ผัสสะเปนการที่เรารับรูทางอวัยวะรับสัมผัสทั้ง ๕ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย สวนภาพ
สะทอนเปนการคดิ และจัดการส่ิงตาง ๆ ทีเ่ ขามาภายในจิต สวนนี้เปนการทาํ งานของจิต เริ่มแรกน้ัน
เราไดรับประสบการณจ ากประสาทสัมผัส เมือ่ คนเราไดรับผัสสะเดียวกนั หลายครั้ง จิตจะคุนชิน และ
สรางเปน “ความคิดเชิงเดยี่ ว” (simple idea) ของผัสสะน้ันขึ้นมา เชน ความคดิ เชิงเดยี่ วของความ
หวานของน้ําตาล, กลิ่นของดอกกุหลาบสีขาวของดอกมะลิ แตความคิดเชิงเดี่ยวของผัสสะน้ีถือเปน
ตวั แทนของวัตถุภายนอก เชน เม่ือมวี ตั ถุรอนมากระทบกับผิวหนังของเรา กจ็ ะเกิดผัสสะรอน ผัสสะน้ี
จะถูกสงไปยังสมอง สมองก็จะสรางความคิดเชิงเด่ียวของความรอนข้ึนในจิต ซึ่งความคดิ น้ีไมใชวัตถุ

๗ สกล นลิ วรรณ, ปรัชญาเบ้ืองตน, (กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยครูสวนดุสิต,
๒๕๒๒), หนา ๑๒๒-๑๒๘.

๑๙๘

รอน และไมใชความรอนของวัตถดุ วย และถาวัตถุนั้นมีสีแดงดวย และเรามองเห็นก็จะเกิดความคิด
เชิงเด่ียวของสีแดงขึ้นในจิต ความคิดของความรอนจะเปนตัวแทนของอุณหภูมิของวัตถุน้ันสวน
ความคิดของสีแดงก็จะเปนตัวแทนสีแดงของวัตถุน้ัน ดงั นั้น ความคิดเหลาน้ีคอื ส่ิงที่จิตรู จิตไมไ ดรูใน
คุณสมบตั จิ รงิ ๆ ของวัตถุ

๓) ฉะนนั้ ความคิดเชิงเด่ยี วทง้ั หลายจะรวมอยูในความทรงจาํ และตอมาเราก็ใหช่ือแกมัน โดย
ลักษณะเชนนี้ จิตซึ่งเดิมทีวางเปลาก็ไดถูกประดับประดาดวยความคิดทัง้ หลาย ตอจากน้ัน จิตก็จะทํา
การเปรียบเทียบเช่ือมโยงความคิดเชิงเดี่ยวตาง ๆ เขาดวยกัน สรางเปน "ความคิดเชิงซอน"
(complex idea) ขึ้น ตัวอยางเชน ความรูในผลมะนาว ในตอนแรกเราไดร ับผัสสะของความเขียว
ความกลม จิตก็สรางความคิดเชิงเดี่ยวของเขียวและกลมข้ึน ตอมาไดรับผัสสะของความเปรี้ยว จิต
สรา งความคิดเชิงเดย่ี วของความเปร้ียว และจากนนั้ จิตเชอื่ มโยงความคิดเชิงเด่ียวของความเขียว, กลม
และเปร้ียวเขาดว ยกัน เกิดเปน ความคดิ เชงิ ซอนของผลมะนาวข้ึน ความคิดเชิงเด่ียวกย็ ังเกิดจากผัสสะ
ภายใน ซ่ึงเปน ความคิดของจิตเองดวย เชน การสงสยั , การตั้งใจ, การจินตนาการ เปน ตน

สรุปประเด็นในชวงนี้ไดวา เม่ือวัตถุตาง ๆ กระทบกับอวัยวะรับสัมผัสตาง ๆ ของเราก็เกิด
ผัสสะเชน เหลือง, ขาว, รอ น, เยน็ , หวาน, หนกั ฯลฯ เขา มาในจิต ผัสสะเหลา น้เี กิดขึน้ บอย ๆ จิตก็จะ
จดจาํ ไดและสรา งเปนความคดิ เชิงเด่ียวของผัสสะน้ัน ๆ ขนึ้ น่ีเปนการไตรตรองซ่งึ เปนการทํางานของ
จติ และตอ มาจิตจะรวบรวม, เชื่อมโยง, เปรียบเทยี บความคดิ เชิงเด่ียวทงั้ หลายเขา ดว ยกันเปนสิ่งรับรู
(percept) ข้นึ ซ่ึงจัดเปนความคดิ เชิงซอน เพราะประกอบดวยความคดิ เชิงเดี่ยวหลาย ๆ อัน ดังน้ัน
สว นประกอบทเ่ี ปน พนื้ ฐานที่สดุ ของความรกู ็คอื ความคิดเชิงเด่ียว

๔) ลอค แบงผัสสะทั้งหลายที่เรามีออกเปน ๒ กลุม คอื ความคิดทเี่ ปนคุณสมบัตปิ ฐมภูมิของ
วตั ถุ เชน รปู ราง ขนาด นาํ้ หนัก การเคลอื่ นที่ เปนตน กบั ความคดิ ที่เปนคุณสมบัตทิ ุติยภูมคิ ือ สี เสียง
กล่ิน รส และอุณหภูมิ ในทัศนะของลอคถือวาคุณสมบัติประเภทแรกเปนคุณสมบัติที่มีอยูในตัววัตถุ
จริง ท้ังน้ีเพราะวา มันเปนคุณสมบัติที่มีอยูในตวั วัตถจุ ริง ทั้งน้ีเพราะวา มันเปนคุณสมบัติท่ีคงทนไม
เปล่ียนแปลงงาย ๆ และวัตถุทุกชิ้นตองมีคุณสมบัติเหลาน้ี เชน เนยแข็งที่ละลายหรือไมท่ีไหมไฟ สี
ของมันเปลี่ยนไป แตรูปรางบางสวน, ความแข็งบางระดับ, นํ้าหนัก และมวลก็ยังคงมีอยู สวน
คณุ สมบตั ิทุตยิ ภูมิน้ัน วัตถุอาจจะมีหรอื ไมม ีกไ็ ด เชน ในความมือวัตถุจะไมม ีสีใหมองเห็นได ยิ่งกวาน้ัน
คณุ สมบัตพิ วกน้ียังเปล่ียนแปลงไปตามสถานการณของตัวผูรู เชน เวลาเปนหวัด เราไมอาจรับรูกล่ิน
และรสได ดังนั้น ลอคจึงเห็นวาวัตถุไมไดมคี ุณสมบัติทุติยภูมิ หรือ คุณสมบัติเหลานี้ไมไดมีอยูในโลก
ภายนอก แตเ ปน “อาํ นาจ” ที่คณุ สมบัติปฐมภูมิสรางผัสสะท่ีเปนสี, กลิ่น, เสียง, รส, อณุ หภูมิ ใหเกดิ
กับเรา ดังนั้น ขนาด รูปรางฯ ของวัตถุเปนคุณสมบัติแทจริงของมัน แตสี, รสฯ ของวัตถุไมใช
คุณสมบตั ิแทจ ริงท่มี อี ยใู นตวั วตั ถแุ ตเ ปน อํานาจทว่ี ัตถุกระทําตอ จติ ของผูรูใหเ หน็ เปนสี ใหมีรส เปน ตน

๑๙๙

๕) ทฤษฎีความรูของลอคจึงเรียกวา “ทฤษฎีตัวแทน” (Theory of Representation)
เพราะเหตุวา ประการทีห่ นึ่ง คนเราไมไดรูนักในคณุ สมบัตแิ ทจ ริงของวัตถุ แตรูในผัสสะหรือความคิด
เชิงเด่ียวซึ่งเปนตัวแทนของคุณสมบัติจริง ประการท่ีสอง ตัววัตถุจริงท่ีอยูภายนอกตวั คนเราน้ันมีแต
คุณสมบัติปฐมภูมิ ไมมีคุณสมบัติทุติยภูมิ แตวัตถุในการรับรูของเรามีคุณสมบัติทุติยภูมิดวย ดังน้ัน
วัตถตุ ัวจรงิ กบั วตั ถใุ นฐานะเปนส่ิงท่เี รารับรูน้ันจะเปน คนละส่งิ กัน วตั ถุท่เี รารบั รูจึงนับเปนตวั แทนของ
วตั ถจุ รงิ ฉะน้ันสิ่งทมี่ อี ยูจริงภายนอกตัวเรา กค็ อื กอ นทปี่ ราศจากคุณลักษณะทุติยภูมิใด ๆ ซึง่ เรียกวา
“สาร” (substance) ซึ่งรองรบั คุณสมบัติปฐมภูมิอยู

๖) “สาร” เปนส่ิงแทจริงท่ีอยูภายในตัววัตถุ แตลอคอธิบายวา คนเราไมอาจจะรูจักสารได
เพราะไมอ าจเปนประสบการณข องใคร จึงเปนส่ิงท่ีเรา “ไมรูวา เปนอะไร” แตก็ตองยอมรับวาทุกส่ิง
ตอ งมีสาร เพราะสารเปนพ้นื ฐานทีร่ องรับคุณสมบัตปิ ฐมภูมิของวัตถุซึ่งกอใหเกดิ ความคิดเชิงเด่ียวกับ
เรา เชน รูปราง, รอน, รส, สี ฯลฯ แตวา คนเราพบคณุ สมบัติเหลานี้ในลักษณะท่ีมันรวมกันอยูและ
มองดวู ามันประกอบเขาเปนสิ่งเดยี วกนั คือ เราจะรบั รู วัตถุในลักษณะทม่ี ันมีคุณสมบัติตาง ๆ ท้งั ปฐม
ภูมแิ ละทุติยภูมริ วมกัน เราจึงไมมีวันจะรูจัก “สาร” ไดเลย นอกจากนี้ในตัวมนุษยก็มี “จิต” (Spirit)
เปนสารชนดิ หนึ่ง ซ่ึงเปนส่งิ ท่แี ทจรงิ ทร่ี องรบั การทํางานตาง ๆ ของจิต เชน คดิ , รู, สงสัย, ตั้งใจ, กลัว
เปนตน ดังน้ัน ปรัชญาของลอคจึงมีขอขัดแยงตรงท่ีวา เขายอมรับการมีอยูของสิ่งที่มิไดเคยเปน
ประสบการณของคนเรา หรือกลา วอกี นยั หน่งึ คนเราไมอาจจะรูจัก “สาร” ในวัตถุและตัวคนโดยผาน
ทางประสบการณเ ลย

๗) ลอคไดกลาวถึงความรูประเภทตาง ๆ ท่ีคนเรามี ซึ่งความรูท้ังหลายนั้นตองเร่ิมตนจาก
ผสั สะและการไตรตรอง ซึ่งจะใหความคิดเชิงเด่ียวในขนั้ ตน ขนั้ สูงข้ึนมา จิตก็นําความคดิ เชิงเด่ียวตา ง
ๆ มาเปรียบเทียบเช่ือมโยงกันสรางเปนความคิดเชิงซอน ดังน้ัน ความรูทุกอยางของเราน้ันจึงตอง
เก่ียวของกบั ความคิดตาง ๆ นา ๆ ที่เราไดมาจากประสบการณภายในชีวิตของเรา ฉะน้ันความรูก็คือ
“การรับรใู นความเก่ียวเนื่องของความคดิ ตา ง ๆ วาเขา กนั ไดหรือเขากนั ไมได” ซึง่ การเขา กนั ไดหรือไม
ของความคิด แบง ออกเปน ๔ ชนดิ ชนิดแรก คือความรทู ีไ่ ดจ ากการตรวจตราความคิดตง้ั แต ๒ หนวย
ขนึ้ ไป เพือ่ ดวู า มันเหมอื นกันหรือตา งกัน เชน เราสามารถเปรียบเทยี บความคิดของ “ขาว” กบั “ดํา”
หรอื “วงกลม” กับ “สามเหล่ยี ม” เราเหน็ ในทันทวี า มนั ตา งกนั ความรูชนดิ น้ีเรารูโดยอัชฌชั ติกญาณ*
จึงเปนความรูที่เช่ือถือไดแนนอน เพราะมันชัดเจนยิ่งกวาส่ิงใด ๆ ชนิดท่ีสอง คือความรูท่ีเราพบวา
ความคิดต้งั แต ๒ หนวยข้ึนไปน้ัน มันตอ งไปดว ยกนั หรือ ตองเกย่ี วของกัน คอื รูวา ความคิดเหลานั้น
ตองเปนสวนหนึ่งของวตั ถุเดียวกัน หรือ มสี าเหตมุ าจากสิง่ เดยี วกนั เชน เรารวู า ความแขง็ และความเย็น
ตองเปนคุณสมบัติของน้ําแข็ง ชนิดทีส่ าม คือความรูทเ่ี ราพบวาความคิดต้งั แต ๒ หนวยข้นึ ไปนั้นมัน
สัมพันธซ ่งึ กนั และกันในบางลกั ษณะคอื ในบางกรณเี ราไมอ าจรโู ดยอชั ฌตั ตกิ ญาณไดวา ความคดิ ตา ง ๆ
นั้นมันมีอะไรรวมกันอยู ดังน้ัน จึงตองใชการเชื่อมโยงความคิดเพ่ือพิสูจนวามันสัมพันธกัน ความรู

๒๐๐

เชน น้ีตอ งใชก ารพสิ ูจน (demonstration) คอื เริ่มจากความจริงท่ีงา ยและยอมรับแลวไปสูความจริงท่ี
ซบั ซอนยิ่งขนึ้ ไป เชน การพิสูจนในทางเรขาคณิตและชนิดสุดทาย คือ ความรูในส่ิงที่มีอยูจริง (real
existence) ความรูชนิดน้ตี อ งรโู ดยทางผัสสะ ซง่ึ เปน การรูเฉพาะหนวยดวยประสบการณท างประสาท
สัมผสั เชนเราเหน็ ดอกกหุ ลาบดอกหนงึ่ เรากเ็ ชอื่ วา มันเปน ส่ิงทม่ี อี ยจู รงิ

๘) ไดกลาวแลววา ทัศนะทางประจักษนิยมของลอคน้ัน อาจจะกลาววาเปนเพียงแนวโนม
เทา นน้ั เพราะเขายอมรับในหลาย ๆ เร่ือง ท่ีไมอ าจจะผานเขามาเปนประสบการณของคนเราได เชน
เรือ่ ง “สาร” ในวตั ถุ และในตวั คนหรือพูดใหชัดกค็ ือวิญญาณนั้นเอง และอกี ประการหน่ึงลอคพยายาม
ที่จะสรางทฤษฎีความรูที่แสดงใหเห็นวา ความรูตาง ๆ ของคนเราน้ัน เร่ิมตนจากขอมูลท่ีไดจาก
ประสบการณ ซง่ึ เปนผัสสะกับการไตรตรอง ตอจากน้ันก็เปนความสามารถของจติ ทจ่ี ะเชื่อมโยงสิ่งที่
ประสบการณใหขึ้นเปนความรูอันซับซอนตอไป มีอีกเร่ืองหน่ึงท่ีจะกลาวตอไป ก็คือ การที่ล็อคไม
อาจจะทงิ้ ความเชื่อวาพระเจามีอยูได และยังพยายามใหเหตุผลเพื่อพิสูจนความเช่ือของเขาดวย เขา
เสนอวาคนเราสามารถจะรูวาพระเจามีอยูโดยการอนุมานจากการมีอยูของตัวเราเอง น่ันคอื เริ่มแรก
คนเรารูวาตัวเรามีอยูอยางชัดเจนแนนอน ซึง่ เปนการรูโดยอัชฌัตติกญาณจากการทเ่ี รารูวามีตัวเรานี้
เองชี้บงวาอยางนอยที่สุดตองมี “สิ่งหนึ่ง” อยู เพราะรูดีวาตัวเราน้ันไมอาจจะมีอยูตลอดกาลได แต
ตองอยูภายในชวงเวลาท่ีจํากัด ดงั นั้น ตัวมนุษยตองมีการเร่ิมตน (คือถามีอยูตลอดกาลก็จะไมมีการ
เริ่มตน) และส่ิงใดที่ตองมีการเร่ิมตน แสดงวาตองมีบางส่ิงทีไ่ มมีการเริ่มตนเปนผูสราง เพราะเราไม
อาจสรา งตัวเองได ในท่สี ุด ลอคสรุปวา ตองมีบางสิ่งที่ไมถกู จํากัดดวยเวลาอันเปนส่ิงที่มอี ยูตลอดกาล
เปน ผสู รา งสิ่งทมี่ ีอยูในเวลา บางส่งิ นี้อาจเรยี กวา “พระเจา ” นค่ี ือการพิสูจนข องลอควา มพี ระเจา

สรปุ ปรชั ญาของจอหน ลอค
ลอคเปนนักปรัชญาที่อยูในฝายท่ียืนยันวา ความรูของคนเราตองมีบอเกิดหรือเร่ิมตนจาก
ประสบการณ มีทัศนะสําคัญโดยสรุปคือ ประการท่ีหนึ่ง คนเรามิไดมีความรูติดตัวมาต้ังแตเกิด
จุดเร่ิมตนของคนเราคือสภาพจิตท่ีวางเปลา ขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับโลกภายนอกตองขึ้นอยูกับ
ประสบการณซ ึ่งเร่ิมจากผัสสะกอน จากน้ันก็มีการไตรตรองในสิ่งที่เขามาภายในจิตของเรา ดงั น้ัน ใน
ทัศนะของลอค บอเกดิ ของความรูของคนเรามี ๒ อยางดวยกนั คือ ผัสสะกบั ภาพสะทอน เมื่อผัสสะ
ตาง ๆ เกดิ ขึ้นมาจิตกจ็ ะสรางเปน “ความคิดเชิงเดีย่ ว” ของผสั สะน้ัน ๆ จากน้ันจิตก็สามารถทจี่ ะทํา
การรวบรวมจัดการผัสสะตาง ๆ เขาดวยกัน สราง “ความคิดเชิงซอน” ของวัตถุหน่ึงข้ึนมา ดังนั้น
นํ้าแข็งกอนหน่ึงท่ีเราไดรูจักไมใชเปนความคิดเชิงเด่ียว แตเปนความคิดเชิงซอนท่ีประกอบดวย
ความคิดเชิงเด่ียวของความแข็ง, ขาวและเย็น ประการท่ีสอง ผัสสะหรือความคิดเชิงเดี่ยวตาง ๆ ท่ี
คนเรามีนั้นแบงออกเปนความคิดที่เปนสมบัติปฐมภูมิของวัตถุ กับ คุณสมบัติทุติยภูมิ คุณสมบัติทตุ ิย
ภมู เิ ปนอาํ นาจทีค่ ณุ สมบตั ปิ ฐมภมู สิ รางใหเกดิ ขึ้นกบั ตวั ผูรู ดงั นั้น ตัววัตถุจริง ๆ กับวัตถุท่เี ปนส่ิงรูของ
คนเราจะไมเหมอื นกนั นีค่ ือ การที่เรารูจักตัวแทนของวัตถุ ไมไดรูจักวัตถุตัวจริง ประการทสี่ าม การที่

๒๐๑

วตั ถมุ ีคณุ สมบัตปิ ฐมภมู ิตา ง ๆ เชน นํ้าหนัก ขนาด รูปราง ซึง่ กอใหเกดิ ผัสสะแกเรา แสดงวาจะตองมี
อะไรบางอยางท่คี ้ําจนุ หรือรองรับคณุ สมบัติตาง ๆ เหลาน้ีอยู น่ันคือส่ิงท่ีลอคเรียกวา “สาร” แตเราก็
ไมอาจจะรูไดว าสารเปน อยางไร ประการท่สี ่คี วามรขู องคนเรามี ๔ ชนดิ คอื

๑) ความรทู ีไ่ ดจากการตรวจตราหรือเปรียบเทียบความคิดตัง้ แต ๒ หนวยขน้ึ ไปวาเหมอื นกัน
หรอื ตางกัน

๒) ความรูที่ไดจ ากการพบวา ความคดิ ต้ังแต ๒ หนวยข้นึ ไปวาตอ งเก่ียวขอ งกัน
๓) ความรูท่ีไดจากการพบวาความคิดต้ังแต ๒ หนวยขึ้นไปน้ันสัมพันธซึ่งกันและกันในบาง
ลกั ษณะ และ
๔) ความรูใ นสงิ่ ทมี่ ีอยจู รงิ
เมอ่ื เราไดศ ึกษาปรัชญาประจักษนิยมของจอหน ลอค แลวจะพบวาสําหรับลอคความคิดหรือ
ความรูของเราไมใ ชเปนนามธรรมท่ีถกู ใหกบั เราอยางสําเร็จรูปมาเลย แตจิตของคนเราจะตองกระทํา
ตอ ส่งิ ทถ่ี ูกใหมาซงึ่ คอื ผัสสะตาง ๆ และสรางความคดิ ใหมท ่ีซับซอนขน้ึ มา เชน เปรียบเทียบเพอ่ื จะหา
คุณสมบัติรวมกันของส่ิงตาง ๆ แตความรูหรือความคิดใหมน้ันจะตองสามารถวิเคราะหแยกแยะ
ออกมาไดว า มสี วนประกอบที่เปน ขอ มลู ทางผัสสะ ประสบการณท างผัสสะจึงไมใ ชเปนการท่ีจิตรับรูสิ่ง
ใด ๆ ท่ีโลกวัตถุใหมาอยางเฉื่อยชา เพราะจิตไมใชกลองถายรูปท่ีบันทึกภาพส่ิงตาง ๆ ไวเทานั้น จิต
จะตอ งทํางานของคนไปดวย
ปรัชญาของเดวดิ ฮูม (๑๗๑๑ – ๑๗๗๖)
๑. ความรูทงั้ หลายของคนเรานั้นแบงออกไดเ ปน ๒ อยาง คือ ความประทับใจ (impression)
กบั ความคิด (idea) ความประทับใจเปนการรับรูในผัสสะ สวนความคิดเปนการรับรูในส่ิงที่เกิดจาก
จินตนาการหรือความจํา ทั้งสองอยางตางกนั ดังนี้คือ ในระยะแรกผัสสะท่ีเราไดรับจากประสบการณ
โดยตรง เชน เอามือไปแตะกอนน้ําแข็ง เกิดผัสสะของความเย็น ผัสสะนี้มีความแจมชัดในทันทีทนั ใด
อันน้ี “ความประทับใจ” พอเหตุการณน้ผี านไปแลว แตเราก็ยังจดจําภาพของความเย็นไดอยางลาง ๆ
วาเปนอยางไร ทั้งท่ไี มมีน้ําแข็งมากระทบกับประสาทสัมผัสของเราจริง ๆ ภาพของความเย็นที่เราจํา
ไดน ีจ้ ะไมแ จม ชัดเหมือนในตอนท่ีเอามอื ไปแตะกอ นนาํ้ แข็งโดยตรง นี่คอื “ความคดิ ” หรืออาจใชคําวา
“จิตภาพ” ก็ได กลาวอีกนัยหน่ึง ความคิดเปนความรูสึกหรือผัสสะท่ีอยูในความทรงจําของเรา ดังน้ัน
สองอยางน้ีจะตางกันท่ีระดับของความชัดเจน ความมีชีวิตชีวาทีมันกระทบตอ จิตของคนเรา สําหรับ
ขอ แรกน้สี รุปไดวาในการรขู องคนเรานัน้ ตองมกี ารประทับจากวัตถภุ ายนอกเกิดขึน้ กอ น แลวจากน้ันก็
กลายมาเปน ความคิด ดวยเหตุนี้ความคิดทุกหนวยจะตองมีความประทับใจตอบสนองทุกหนวยไป
หรือตองสอดคลองกับความประทับใจเสมอ เชน ความคิดของสีแดง ก็จะตองเหมือนกับความ
ประทบั ใจของสีแดง

๒๐๒

๒. คนเรามีความสามารถอยู ๒ ประการ อันแรกคือ ความจํา (memory) อันที่สองคือ
จินตนาการ (imagination) ความจําเปนการที่เราเก็บรวบรวมความคิดทั้งหลายไวเปนลําดับ
ตอ เนื่องกนั สวนจินตนาการเปนการท่ีเราเก็บรวบรวมความคิดทั้งหลายไวเปนลําดับตอเนื่องกัน สวน
จินตนาการเปนการท่ีเราจัดระเบียบความคิดตาง ๆ ตามแบบแผนท่ีเราตองการ ซ่ึงโดยทว่ั ไปคนเรา
มักจะจดั ความคิดไปตามแบบแผน ๔ อยางดวยกนั คอื แบบของความเหมอื น, แบบของการเก่ยี วเนื่อง
กันทางเวลา, แบบของการสัมพันธกนั ทางสถานท,่ี และแบบของการเปนเหตุเปนผลกัน การทีเ่ ราเห็น
วาส่ิงหนงึ่ เหมอื นกับอีกส่ิงหน่ึงกเ็ ปน เพียงผลจากจินตนาการของเราเอง “ความเหมือน” ไมใชส่ิงท่ีมอี ยู
จรงิ ในโลกภายนอกตัวคนเรา เพราะส่ิงที่เราเห็นจริง ๆ กค็ ือ สิ่งหนึ่งกับอีกส่ิงหน่ึง แลว เรานาํ ความคิด
ท่ีไดจากสิ่งสองสิง่ มาเช่ือมโยงกันเองวามันเหมอื นกันหรือการทเี่ ราเห็นสิ่งสองส่ิงอยูใกลกันหรือไกลกัน
ก็ตาม จนิ ตนาการสรา ง "ความใกล” และ “ความไกล” ข้นึ มาเอง ความใกลและความไกลไมไดมจี ริง

๓. เชน เดียวกนั กบั เรอื่ งของความเปน เหตุเปน ผล ซงึ่ ในขอนจ้ี ะกลาวถงึ โดยละเอียดเพราะเปน
เร่ืองสําคัญเรื่องหนึ่งที่ช้ีบอกถึงลักษณะเดน แหงปรัชญาของฮูม ถา จะพูดวา “เหตุการณนี้เปนสาเหตุ
ของเหตุการณนั้น” ก็ตองต้ังคําถามวา เรารูไดอยางไรวา ความคิด ๒ หนวยนั้นมันเปนเหตุเปนผลซ่ึง
กันและกัน เราไดประจักษในลักษณะแหงการประทับของสิ่งที่เรียกวา “สาเหตุ” หรือเปลา คาํ ตอบก็
คือ ไมเ ลยในเรื่องน้ีไมมีคุณสมบัติ เชน สีแดง, สีเขยี ว, รอน, เย็น ฯลฯ ที่เราจะพบไดในประสบการณ
ลองพิจารณาตัวอยางตอไปนี้ “กอนหินกระทบกระจกหนาตา ง แลวหนาตา งแตก” ถาเราตรวจสอบ
สถานการณอ ยางลึกซึ้ง กจ็ ะพบงา มีเหตกุ ารณตาง ๆ เกิดตามกันเหตกุ ารณแ รกคือ มกี ารเคลื่อนไหว
ของกอนหิน ตอมากอนหินอยูใกลชิดกับหนาตาง และตอมาก็มีการแตกของกระจก ฉะนั้น
สวนประกอบเรอื่ งน้มี ีอยู ๒๕ อยาง คอื กอนหิน กับกระจกหนาตาง แตไมมีสิง่ ทเ่ี รียกวา “สาเหตุ” ให
เราพบไดโดยการประทับเลย ประสบการณบอกเราเพียงวามีเหตุการณหนึ่งเกิดข้ึน และตอมามีอีก
เหตุการณหน่ึงเกิดตามมาก็เทานั้น ประสบการณไมอาจชวยใหเราเขาถึงความสัมพันธระหวางสอง
เหตกุ ารณหรือมากกวาสองได จติ ของเราตา งหากที่เชือ่ มโยงเหตกุ ารณต าง ๆ เขาดวยกนั เอง แลวกถ็ ือ
กันวามีเหตตุ องมผี ล มผี ลตอ งมีเหตุ

สําหรับเรื่องนี้ ถาเราพิจารณาดูตามสามญั สํานึกแลว เราก็ตอ งเชื่อวากอนหินเปนเหตุทําให
กระจกหนา ตางแตกจรงิ เพราะแมเ ราจะไมไดเหน็ ตัว “สาเหตุ” ดวยตาของเราเองกต็ าม แตเราก็รูวามี
แรง หรือ พลงั บางอยา งท่ีเกดิ จากการเคล่อื นไหวของกอนหินและตัวกอนหินกเ็ ปนส่ิงมีนํ้าหนัก ซ่งึ เปน
สาเหตใุ หกระจกหนาตางแตกเม่อื มันมากระทบ แตแรงหรือพลังน้ีเราไมอาจจะมองเห็นหรือจับตอ งได
ดวยเหตุน้ีฮูมจึงยืนยันวากอนหินไมไดเปนเหตุแหงการแตกของกระจก เพียงแตมีเหตุการณตาง ๆ
เกิดขนึ้ ติดตอ กัน แสดงใหเ หน็ วา ฮูมตง้ั อยูบนจุดยืนของทฤษฎีประจักษนิยมอยางมั่นคงโดยการยืนยัน
วา ความรทู กุ อยางของคนเราถา ไมผ านประสาทสมั ผัสแลว ยอมไมจรงิ

๒๐๓

๔. ดังนนั้ กลาวไดวา ปรัชญาของฮูมเปนปรัชญาแบบวิมตั ินิยมอยางแทจริงเขาไดวิเคราะหถึง
ประสบการณท างผสั สะและการจัดระเบียบผัสสะ และสรุปลงอยางเปนวิมัตินิยมอยางสมบูรณในเร่ือง
ความเปนไปไดข องมนษุ ยใ นการรู สงิ่ ใดกต็ ามเก่ียวกับโลก นน่ั คือ ทั้งหมดทเ่ี รารูเราเขา ใจก็คือกลุมของ
ความประทับใจ หรอื กลมุ ของผสั สะทไ่ี มไ ดมคี วามสัมพนั ธต อ กนั เลย (ดงั ในเรื่องของเหตุและผล) จากน้ี
คนเรากไ็ ดร บั ความคิดมาซ่ึงเรานํามาเช่ือมโยงเขาดวยกัน เพราะเปนความเคยชินของนิสัยหรือจิตใจที่
จะทําเชนน้ัน ฉะน้ัน ถาเราจะหาสงิ่ ที่เปนเจาของคณุ สมบัติตาง ๆ ทีท่ ําใหเกดิ ความประทับใจกบั เรา
แลว ก็จะไมพบความประทบั ใจของสิ่งท่ีเรียกวา “เทห” (a body) เชนกนั ถา เราจะมองเขามาภายใน
ตัวเรา เพอื่ จะหาสงิ่ ซง่ึ บรรจุความประทับใจและความคดิ ตา ง ๆ ท่เี รียกวา “ตวั ตน” (self) แลว เราก็
จะไมพบเลยภายในประสบการณข องเรา

สรปุ ปรชั ญาของเดวิด ฮูม
สิ่งที่เรารูเปนเพียงกลุมของความประทับใจผัสสะซึ่งไมไดมีความเกี่ยวเน่ืองกัน ตัววัตถุหรือ
สสารทใ่ี หผ สั สะแกเ ราน้ัน กไ็ มไดม ีส่ิงทีเ่ รียกวา “สาร” (substance) ซงึ่ ในปรัชญาของลอคอางวาเปน
ส่ิงท่ีรองรับคุณสมบัติปฐมภูมิตาง ๆ อยูเลย วัตถุหรือสสารก็เปนเพียงกลุมของคุณสมบัติตาง ๆ มา
รวมกนั เชน น้ําแข็งก็คอื กลุมของคุณสมบัติขาว, เย็น, แข็ง ไมไ ดมีตัวสารอยูภายในเพ่อื ยึดคุณสมบัติ
ตาง ๆ เขา ดวยกนั จากกลุมของผัสสะ นั้นก็กลายมาเปนกลุมของความคิดที่เรานํามาจัดระเบียบดวย
การเช่ือมโยงมันเขาดวยกันตามความเคยชิน และถาเราจะหาส่ิงที่เปนเจาของผัสสะหรือความคิดท่ี
เรียกวา “ตัวตน” หรือพูดใหชัดก็คือวิญญาณ ซ่ึงในปรัชญาของลอคถือวาเปน “สาร” อยางหนึ่งท่ี
รองรบั ความรูสึกและความคิดทง้ั หลายนั้นแลว ฮูมกว็ าไมมีเชนกนั เพราะประสบการณไ มเ คยใหขอมลู
เก่ยี วกับส่ิงน้ี ตัวคนเราเปนเพียงการมารวมกันของผัสสะและความคดิ ไมมจี ิต ไมมีวิญญาณเพราะถา
เราพิจารณาถึงความสํานึกในตัวเราอยางลึกซ้ึง ก็จะพบแตผัสสะและความคิดที่เกิดข้ึนติดตอกันไป
ตลอดเวลา เชน รอ น, เย็น, หวิ , อม่ิ , ดีใจ, โกรธ, เสยี ใจ ฯลฯ

๒. ปญหาเรื่องธรรมชาติความรู – สิ่งที่เรารคู อื อะไร

เราไดผานปญหาสําคัญในทางทฤษฎีความรูปญหาแรกซ่ึงเกี่ยวกับเรื่อง ความรูเกิดข้ึนได
อยางไรไปแลว ตอไปนี้เปนอีกปญหาหนึ่งที่สําคัญซ่ึงมีเน้ือหาแตกตางจากปญหาแรก หรือไมได
เกยี่ วขอ งกันโดยตรง แตถาจะอธิบายใหเช่ือมโยงกันกอ็ าจจะอธิบายไดวา จากปญหาแรกเราไดท ราบ
แลว วา คาํ ตอบท่เี ปนไปไดอนั หน่ึงของปญหาท่ีวา ความรูของเราเร่ิมจากอะไรน้ัน กค็ ือ ความรูเริ่มตน
ขนึ้ จากประสบการณทางประสาทสัมผัส (เปนคาํ ตอบของพวกประจักษนิยม) จึงทาํ ใหเราไดรับขอ มูล
หรือ การบอกเลา เก่ยี วกบั “โลกภายนอก” คําวา โลกภายนอกน้ีก็หมายถึง สิ่งตาง ๆ ทีแ่ วดลอมตัวคน
อยู เชน ทงุ หญา, ตน ไม, ทะเล, ภูเขา, ตกึ รามบานชอง, โตะ, หนังสือ, คนอนื่ ๆ ฯลฯ ทีนี้ประเดน็ ของ
ปญหาอยูท่ีวา ส่ิงตางๆ เหลานี้เรารูจักมันโดยประสาทสัมผัสเปนผูใหขอมูลแกเรา มันจึงเปนความรู

๒๐๔

ของเรา ดังนนั้ มนั มคี วามแทจ รงิ ในตัวมนั เอง โดยทีไ่ มไ ดข ้ึนอยกู ับการรูจักคนของเราหรือเปลา คือ ถา
ปราศจากมนุษยคนใดในโลกแลว จะพดู ไดหรือไมวามันมีอยู หรือวา มันไมไดมีความแทจริงในตัวมัน
เองเพราะวามนั ตองอยใู นฐานะท่เี ปน ส่งิ ท่คี นเรารจู กั เสมอไป การมีอยูของมันจึงเปนอสิ ระจากการรับรู
ของคนไมได

และตอไปน้กี จ็ ะเปน คาํ ตอบของแนวความคิด ๒ แนวใหญๆ แนวความคดิ แรก เปนของพวกที่
เรียกวา “จิตนิยมแบบอตั นัย” (Subjective Idealism) แนวความคิดท่ีสองเปนของพวก “สัจนิยม”
(Realism) แนวความคดิ ท้งั สองนีจ้ ะใหคาํ ตอบท่ตี รงขามกัน คือ “จิตนิยมแบบอตั นัย” ถือวา ส่ิงตางๆ
ตองมีอยใู นฐานะเปน สงิ่ ที่จติ รบั รู หรอื เปน ความคดิ ของจติ การมอี ยูของมันจึงไมไ ดมีความแทจริงของ
ตวั เอง สวน “สจั นยิ ม” กถ็ ือวาสิง่ ตา งๆ มอี ยูและเปนจริงโดยธรรมชาติ แมจะเปนส่ิงท่ีมนุษยรับรูดวย
ประสาทสมั ผสั ก็จรงิ แตการมอี ยูข องมนั เปนอิสระจากการรับรูของมนษุ ย

๒.๑ ลทั ธิจติ นิยมแบบอตั นยั
หลักการของปรัชญาจิตนิยมแบบอัตนัยก็คือ ยืนยันวาคุณสมบัติทั้งหลายของวัตถุหรือโลก
ภายนอกท่ีเรารูจักโดยอาศัยประสบการณทางผัสสะของเรานั้น ข้ึนอยูกับจิตของผูรับรู สิ่งท่ีเรารูใน
ขณะน้ีและทกุ สิ่งทเี่ รารูตอ ไปภายหนา ก็คอื สภาวะจิตของเราเอง ซึ่งใชคําเรียกวา “ความคิด” หรือ
“จิตภาพ” (idea) ดังนั้นคุณสมบัติรอนที่เราไดรูจากไฟ คุณสมบัติกลมท่ีเราเห็นจากพระจันทร,
เหรียญ เปน ตน ก็คอื “ความคดิ ” ของจิตนั้นเอง ตอ ไปนี้จะนําปรัชญาของยอรซ เบอรคเลย (George
Berkeley ๑๖๘๕-๑๗๕๓) นกั ปรัชญาชาวไอรแ ลนดม าศึกษาโดยละเอียด๘
๑. วัตถุทงั้ หลายพรอมท้ังคุณสมบัติทกุ อยางของมันไมวาจะเปนปฐมภูมิและ ทุตยิ ภูมิ ลวน
ขน้ึ อยูกบั การรับรูของจติ ท้ังส้ิน วัตถจุ ึงไมไ ดมีความเปนจริงในตัวเอง เปนเพยี งความคิดของจิตมนุษย
เทาน้ัน น่ันก็คือวา ถาไมมีจิตของคนเปนตัวรับรูวัตถุแลว วัตถุก็จะไมมีรูปราง ไมมีขนาด ไมมีการ
เคลื่อน ไมมสี ี เสียง กล่นิ และรส เปน ตน
ลองดูตัวอยางตอไปน้ี เมื่อเรากาวเขาไปในหองเรียนแลวกลาววา “ส่ิงที่ฉันเห็น คือ โตะ”
ขบวนการทางจิตท่ีเกิดขึ้นในใจเราอธิบายไดวา : ในตอนแรกเรามีประสบการณของการเห็นขึ้น ซึ่ง
เบอรคเลยจะใชคาํ เรียกวา “ความคดิ ที่เปนการเห็น”(visible idea) เกีย่ วกับพนื้ ผิวท่ีเปนส่ีเหลี่ยม มสี ี
นํ้าตาล และเปนเงา ตอ มาถา เรากาวเดินตอไปยังส่ิงซ่ึงอยูในกรอบการเห็นของเรา และวางมือของเรา
ลงไป เราก็จะมีประสบการณอ ีกอันหน่ึงเกิดขึ้น คือ ประสบการณของบางสิ่งที่แข็งและเย็นซงึ่ เรียกวา
เปน “ความคิดทเี่ ปนการสัมผสั ” (Tangible idea) เราจะนาํ เอาความคิดแรกท่ีเปนการเห็นมารวมเขา
กบั ความคิดท่ีสองน้ี แลว อนุมานวา เปน ความคดิ ของสง่ิ เดยี วกัน และสรปุ วา วัตถุในธรรมชาติชิ้นหน่ึงท่ี
เปนสี่เหลี่ยม มีสีน้ําตาล เปนเงา แข็ง และเย็น เปนตวั ทําให เกดิ ความคิดของเราข้ึน ดงั น้ันกแ็ สดงวา

๘ อมร โสภณวิเชษฐวงศ, ปรชั ญาเบื้องตน , (กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง, ๒๕๒๔), หนา ๒๘๓.

๒๐๕

ประการแรก ส่ิงใดก็ตามท่ีถูกรู ก็คือ ความคิดในจิต โดยท่ีจิตเปนผูรู จึงกลาวไดวา ความคิดและจิต
เทา นั้นท่มี ีอยู ประการท่สี อง ความคิดนี้ไมใ ชเปนความคิดเก่ียวกบั วัตถุในธรรมชาติ เชน โตะ แตเปน
ความคดิ ของคุณสมบัตทิ างผัสสะ เชน ความรอ น, แขง็ , สีนา้ํ ตาล, ความเปนสเ่ี หล่ียม เปนตน

๒. “แกนแทข องวตั ถุ คือ การถกู รดู วยจติ ”
จากปรชั ญาของลอคในบทแรกนน้ั ไดกลา วคุณสมบัติปฐมภูมิของวัตถุวา เปนคณุ สมบัตทิ ่ีวัตถุ
ทุกชิ้นจะตองมีประจําตัว เพราะเปนส่ิงที่มีความคงทน ไมไดขึ้นอยูและผันแปรไปตามสถานการณ
เหมือนคุณสมบัติทุติยภูมิ ดังนั้น ถือวาคุณสมบัติปฐมภูมิ เปนวัตถุวิสัย สวนทุติยภูมิเปนจิตวิสัย แต
สําหรับเบอรคเลยน้ันถือวาคุณสมบัติปฐมภูมิของวัตถุนั้น กต็ องข้ึนอยูกับการรับรูของจิตดวย เขาได
เสนอเหตผุ ล ๓ ขอ คอื
ก. การท่ีเราไดรูจักคุณสมบัติปฐมภูมิของวัตถุใดๆ น้ัน เราตองรูจักโดยผานการรับรูของจิต
เชนเดียวบั คุณสมบัตทิ ตุ ยิ ภมู ิ
ข. คนเรารูจักคุณสมบัตปิ ฐมภูมิกับทตุ ิยภูมโิ ดยที่มันแยกกันไมได เชนถาเรารูจักโตะ เราตอง
รจู กั รปู รา งกับสีของมันพรอมๆ กัน เราไมอาจจะรับรูโดยแยกเปนรูปรางสวนหนึ่ง กบั สีอีกสวนหนึ่งได
ดงั นนั้ ถา คุณสมบตั ทิ ตุ ิยภูมิตอ งขนึ้ กับการรูของจิตแลว คณุ สมบตั ิปฐมภูมิกเ็ ชนเดยี วกัน
ค. โดยทั่วไปน้ันมักคิดกันวา คุณสมบัติทุติยภูมิเปนส่ิงที่ข้ึนกับการรูของจิตเพราะวามัน
เปลย่ี นแปลงไปตามสถานการณรับรูของคนแตละคน เชน แกงจืดถวยหนึ่งคนหนึ่งวามีรสเคม็ แลว แต
อกี คนหนึ่งอาจเหน็ วา จดื ก็ได สว นคุณสมบตั ปิ ฐมภมู นิ ั้นแนน อนคงตัวมากกวา แตเบอรคเลยกลับคิดวา
คุณสมบัติปฐมภูมิก็เปล่ียนแปรไดเชนกัน เชน ขนาดของปรามิดในทะเลทราย ถาเรามองเห็นจากที่
ไกลๆ ก็จะเห็นวา ปรามดิ มขี นาดเล็ก ตอ เม่อื เขามาใกลๆ ขนาดของมนั กจ็ ะใหญข ึน้
ดังนั้น จากขอน้ีกลาวไดวา ท้ังหมดของตัววัตถุเปนส่ิงที่ไมอาจเปนอิสระจากการรับรูของ
คนเรา ถาเราจะกลาววาส่ิงหน่ึงมีอยู ความหมายก็คือเราไดรับรูในส่ิงนั้น หรือมันเปนสิ่งในความคิด
ของจิตนั้นเอง เพราะถึงแมเราพยายามจะคิดวาส่ิงน้ีไมมีอยูในการรับรูของเรา ก็เทากับวาเรากําลัง
คดิ ถึงสิ่งนั้นอยูน่ันเอง ลองคิดดูวากุหลาบดอกหนึ่งไมมีใครรับรูมันเลย ขณะที่เราคิดวากุหลาบดอกนี้
เปน อสิ ระจากการรบั รูของจิตดวงใดน้ัน เราก็ยังตองคดิ ถึงมันในลักษณะทม่ี ันมคี ุณสมบัติทางผัสสะอยู
นน้ั เอง เชน มสี ีแดง มกี ลน่ิ หอม กลีบนมุ เปนชั้นๆ กา นมหี นาม เปนตน ดังนั้น ดอกกุหลาบทีเ่ ราคิดวา
ไมมีใครรับรูมันก็คือวัตถุแหงการประจักษในความคิดของเรานั้นเอง แตตัววัตถุจริงๆ ในตัวเองเปน
อยางไรเราไมอ าจรูได แตทเ่ี รารูไดเปนเพยี งส่ิงท่ีอยูในการประจักษหรือการรับรูของจติ เทา น้ัน จึงอาจ
กลาวไดวา วตั ถทุ ัง้ หลายหรอื โลกภายในนอกเปนเพียงภาพสะทอนของจติ มนษุ ย
๓. ความเช่ือดังกลาวน้ี เปนทฤษฎีที่เรียกวา “อสสารนิยม” (Immaterialism) คอื ทกุ ส่ิงที่
เรารับรูไดเปนเพียงความคิดอันหน่ึง ความคิดตางๆ เปนของจิตเทานั้น จึงตอ งอยูกับจิต ทนี ี้ถา ยืนยัด
วาสิ่งตางๆ มีอยูในฐานะท่ีเปนความคิดของจิตมนุษยแลว ก็อาจมีคาํ ถามวา ถาอยางน้ันคนเราสราง

๒๐๖

ความคดิ เหลา นัน้ ขึ้นมาเองหรอื ส่งิ ตางๆ เกิดขนึ้ ไดเพราะมีจิตสากล (Universal Mind) คือจิตแหงพระ
เจา เปน ผสู รา งใหกบั มนุษย โลกแหงวัตถุเปน ปรากฏการณท พี่ ระเจาแสดงใหปรากฏตอ จติ มนุษย ดังนั้น
ถาหากวา ไมมจี ิตของคนใดมีเพ่อื รับรูในโลกภายนอกวาแลว โลกภายนอกกย็ ังคงมีอยูเปนอยู เพราะมี
จิตแหง พระเจาเปนผูรบั รูสิ่งตา งๆ ไว ดงั นั้น แมวาภูเขาท่เี รามองเห็นจะเปนเพยี งความคิดอันหน่ึงของ
จิต แตมันก็ยังคงเปนสิ่งที่มีอยูไมวาเราจะรับรูมันอยูหรือไมไดรับรูกต็ าม เพราะพระเจาไดรับรูมันไว
ตลอดกาล

๔. ปรชั ญาของเบอรค เลยสอดคลอ งกับหลกั ฟสกิ สป จจบุ ัน
มีการคนพบทางฟสิกสบางอยางท่ีมีแนวโนมบังเอิญไปสอดคลองกบั ขอสรุปของจิตนิยมแบบ
อัตนัยของเบอรคเลย ประการท่ีหน่ึง ในการมองเห็นวัตถุน้ัน จะมีชวงขณะหนึ่งกอ นทแ่ี สงจะเดินทาง
จากวตั ถมุ าสูเ รตนิ าของนยั นต า ซงึ่ จะเปนชวงที่วัตถุ ไมเปนส่ิงที่เรามองเห็น เพราะการมีอยูของมันยัง
ไมปรากฏในชวงนัน้ ประการทีส่ อง ขอเทจ็ จริงท่วี าเราเพยี งแตรูในสิ่งเราท่ีไดร ับมาโดยทางอวัยวะรับ
สัมผัส ภายหลังเหตุการณแนนอนไดเกิดขึ้นในระบบประสาทและสมอง แสดงใหเห็นวา น่ันเปน
เหตุการณในสมองของเราซง่ึ เปน สาเหตใุ หเ ราเรม่ิ จะรู จึงทาํ ใหนกั คิดบางคนสรุปวาตราบใดก็ตามที่เรา
ยังมีความรูในโลกภายนอก กค็ ือ การท่ีเราเกี่ยวพนั กับวงจรของประสาทและปฏิกิริยาตอบสนองของ
เรา พดู งายๆ กค็ ือวา การรับรูโลกภายนอกของเราตองข้ึนอยูกบั ประสาทสัมผัสน้ันเอง ประการท่สี าม
ฟสกิ สไดวเิ คราะหสสารวา ประกอบดว ยอะตอมและอีเลคตรอน ซ่งึ เปนอนุภาคเล็กๆ ที่ไมม ีคุณสมบัติ
ใดๆ ที่เราเช่ือวาเราไดพ บเห็นในวัตถุ ไมมสี ี กลิ่น รส แข็ง รูปราง เปนตน ยกเวนการมที ่ีอยูในอวกาศ
ซึ่งถาโลกภาพนอกประกอบดวยอะตอมที่ปราศจากคุณสมบัติใดๆ จริงแลวคุณสมบัติตางๆ ที่เรามี
ประสบการณน ัน้ มาจากไหน แตฟสกิ สก็คงจะไมยอมรับวา ความสาํ นกึ ของคนเราเปนผูสรางคณุ สมบัติ
เหลานีข้ ึ้นมา แตอยางไรก็ตาม แมวาการคนพบของฟสิกสปจจุบันจะมีสวนสอดคลองกับจิตนิยมแบบ
อตั นัยก็ตาม แตกไ็ มไ ดห มายความวาฟส ิกสมบี ทบาทสนับสนุนจิตนิยม เพราะถาขอเสนอของจิตนิยม
จรงิ ในโลกนีก้ จ็ ะไมมีส่งิ ทเี่ ปน สสารอยเู ลย เชน รงั สีของแสง คลน่ื ตางๆ ในบรรยากาศ, ระบบประสาท,
สมอง, เซลลม ีชีวติ , อวัยวะสัมผัส ส่ิงเหลาน้ีจะเปนเพยี งความคิดใจจิตของนักฟสิกสเทา นั้น และถาถือ
วา สงิ่ เหลา นี้เปน ส่งิ ท่ีมอี ยใู นธรรมชาติจริงมันก็เปนเพียงมายา แตวิทยาศาสตรยอมรับวาสิ่งเหลาน้ีจริง
และเปนส่ิงในธรรมชาติ และยังถือวาเปนฟนเฟอ งของเคร่ืองจักรท่ีทาํ หนาที่รับรูโลกภายนอก ดังนั้น
แมวาอาจเปนความจรงิ ท่ีวา เราสามารถรเู พยี งแตเหตุการณทีเ่ กิดขึ้นกบั รางกายและสมองของเรา แตก็
ไมอาจจะกลาววาขอสรปุ น้ีเปน เหตผุ ลในการสนบั สนนุ จติ นยิ มแบบอตั นัย
สรุปปรัชญาจิตนิยมแบบอตั นัยของเบอรค เลย
ตอปญหาท่ีวา สิ่งท่ีเรารูคืออะไร? เบอรคเลยไดเสนอคําตอบวา ส่ิงท่ีเรารูก็คือ ความคิดของ
จิตของเรานั้นเอง เพราะวาสิ่งที่เรารูหรือความรูของเราไดแกวัตถุและสิ่งทั้งหลายภาพในโลก ซึ่งส่ิง
เหลาน้ีมีแกนแทคือการถูกรับรูดวยจิตของมนุษย ดังน้ันการมีอยูของมันจึงเปนอิสระจากจิตไมได

๒๐๗

เพราะไมวาเราจะคิดถึงมันในแงใดก็ตาม เรากต็ องคิดถึงมันในลักษณะท่ีมันมีคุณสมบัติที่เปนผัสสะที่
เกิดกับคนทั้งส้ิน แมวาคุณสมบัติบางอยางของวัตถุ เชน น้ําหนัก รูปราง ขนาด ซึง่ โดยทัว่ ไปนาจะถือ
วา เปนคุณสมบัติที่มีอยูในตัววัตถุหรือสสารจริงๆ เพราะไมเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณของผูรู
เชน คุณสมบัติพวกสี รส หรือกล่ิน ก็ไมอาจพนไปจากการรับรูของคนได ท้งั น้ีเพราะวัตถุทัง้ หลายมไิ ด
แทจริงดวยตัวของมันเอง นี่เปนทัศนะแบบอสสารนิยมซึ่งถือวา ไมมีความเปนจริงที่เปนสสารอยูเลย
เพราะถาเราจะกลา วถงึ การมีอยขู องสิง่ ใดก็ตาม ก็ตอ งกลาวถึงในฐานะท่มี ันเปน ส่งิ ทีค่ นเรารบั รู

ปรัชญาจิตนิยมของเบอรคเลยดูจะขัดกบั สามญั สํานึกของคนทั่วไป จึงทําใหนักคิดจํานวนไม
นอยเหน็ วา ทฤษฎขี องเขาคอ นขา งจะประหลาด เพราะความเช่ือวา โลกน้ีไมมีส่งิ ท่เี ปนสสารอยูเลยนั้น
ไมอาจจะสลัดความขอ งใจออกไปไดว า ถาอยางน้ันไมมีสงิ่ ที่มอี ยูจรงิ ภายนอกตัวมนษุ ยเ ลยหรอื อยางไร

๒.๒ ลทั ธิสจั นิยม
๑. การโตแยง ตอลัทธจิ ิตนยิ ม
ศตวรรษท่ี ๑๙ ปรัชญาจติ นิยมครอบคลมุ ปรัชญาตะวนั ตกเกือบทงั้ หมดพอเร่ิมศตวรรษท่ี ๒๐
ก็ไดมีปฏิกิริยาคัดคานขึ้นในอังกฤษ โดยมี มัวร (G.E. Moore) ไดเขียนบทความข้ึนเร่ืองหนึ่ง ซ่ึงมี
สาระสําคัญในการชีแ้ จง ขอผดิ พลาดของเบอรคเลย ท่เี สนอความคิดวาวัตถุในธรรมชาตินั้นไมอาจจะมี
อยูโดยอิสระจากจิตใจได นั่นก็คือยอมให “การมีอยู” (being) มีความหมายเทากับ “การถูกรับรู”
(being perceived) บทความของมัวรไดส่ันสะเทือนสถานะขงิ นักจิตนิยมทีย่ ืนยันหลักการดังกลาว
นักคิดในอังกฤษและอเมริกาสวนมากประทับใจตอบทความน้ี จึงเกิดความคิดสัจนิยมขึ้นมากมาย
หลักการท่ัวไปของสัจนิยมก็คือ ส่ิงท้ังหลายคือโลกภายนอก มีความแทจริงในตัวของมันเอง โดยไม
ข้ึนอยูกับการรับรูของจิตมนุษยแตอยางใด ฉะนั้น ถา ไมมีมนุษยคนใดเลยในโลกมาเปนผูรับรูแลว สิ่ง
ตางๆ ก็ยังคงมีอยูเปนอยูอยางน้ัน แตนักปรัชญาสัจนิยมตางๆ มีความเห็นที่แตกตางกันออกไปใน
รายละเอียดของเร่ืองสําคญั ๒ เรื่อง คอื ประการท่หี น่ึง ที่วาโลกภายนอกหรือวัตถุมคี วามเปนจริงใน
ตัวเองนนั้ มนั จริงในลักษณะใด ประการที่สอง ถาเชื่อวาการมีอยูของวัตถุตา งๆ ไมขึน้ กบั การรูของจิต
มนุษยแลว ในการรูจักวัตถุน้ันรูอยางไร คือ เรารูจักมันโดยตรง หรือวาตองผานผัสสะหรือตัวกลาง
บางอยาง คําตอบตอประเด็นท้ัง ๒ น้ี ทําใหสัจนิยมมีความแตกตางกันออกไป แตกอนอื่นเรามา
พจิ ารณาถงึ ขอวจิ ารณท พี่ วกเขามีตอจติ นิยมของเบอรค เลย๙
๑. มัวร ใหขอคิดวิจารณวา เบอรคเลย ไมแยกการกระทําคือการมีผัสสะกับวัตถุของผัสสะ
ออกจากกนั เชน สบั สนระหวา งผัสสะของของสีนาํ้ เงินกบั วัตถุทม่ี ีสีนํ้าเงิน ทั้งยังบอกวาเปนส่ิงเดยี วกนั
เสียอีก ผัสสะนัน้ มนั เหมือนกนั ในการกระทําท่ีเปนการรูจักมนั แตตางกันไปในเร่ืองของส่ิงที่เรารจู ักมัน
เชน ผัสสะสีนา้ํ เงินของทองฟากบั ของทะเลที่เราไดร บั ทางประสาทอาจเหมอื นกัน แตวัตถุของผัสสะคือ

๙ วทิ ย วศิ ทเวทย, ปรชั ญาทั่วไป, (กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พอกั ษรเจรญิ ทศั น, ๒๕๒๒), หนา ๔๔.

๒๐๘

ทอ งฟากบั ทะเลนนั้ เปนคนละอยา งกนั ดังนนั้ ในเมอื่ วตั ถเุ ปน คนละสิ่งกันกับการรูจักมันเชนน้ีแลวก็มีมี
เหตุผลใดเลยทจ่ี ะบอกวา วตั ถไุ มม ตี ัวตนอยถู า มนั ไมถ กู ับรดู ว ยจิตของใคร

๒. นกั สัจนิยมใหมช ื่อ เพอรรี (R. B. Perry) วิจารณจิตนิยมแบบอตั นัยวาเปน “ประเดน็ ท่ยี ึด
ตวั เองเปนศนู ยกลาง” (Egocentric Predicament) การวิจารณน้ีเปนเสมือนอาวุธรายแรงท่ีทาํ ราย
สถานะของจิตนิยม สาระสําคัญของการวิจารณก็คือวา เมื่อมนุษยคนใดที่รับรูโลก หรือ คิดเกี่ยวกับ
โลกนัน้ เขาคดิ เกย่ี วกบั มันในลักษณะท่เี ปนความสัมพันธกับตวั เองเสมอ คือวัตถุน้ันจะมีใครรูจักมันได
มนั กต็ องเปน วตั ถุในความรขู องคน รียกวา มคี วามสมั พนั ธทางความรูกับตวั ผรู ู สวนวัตถุในสถานการณ
ที่กอนจะมีใครรูจักมันนั้นเปนอยางไรไมมีผูใดทราบ เพราะในทันทีที่คนเราเริ่มคิดถึงมัน มันก็จะ
กลายเปนวัตถุในความรูของเรา มีความสมั พันธภาพทางความรูกับเราทันที สําหรับตรงนี้ นักปรัชญา
ไมวาจะเปนฝายใด สัจนิยมหรือจิตนิยมตองยอมรับวาจริง แตขอเท็จจริงท่ีวามีความสัมพันธเชนน้ี
(ความสัมพันธระหวางผูรูกับวัตถุที่ถกู รู) ในการคดิ ทงั้ หลายของเราเปนขอยุงยากอนั หน่ึง คอื จิตนิยม
แบบอัตนัยไปถือวา “การมีอยู” (ของวัตถุ) ก็คือ “การถูกรับรู” จริงอยูที่วาไมมีนักปรัชญาคนใดจะ
สามารถถกเถยี งถงึ ส่ิงใดกต็ ามที่ไมใ ชเ ปน ความคิด เพราะวาในการถกเถียงนัน้ เราตองเปล่ียนสิ่งน้ันมา
เปนความคิดของเรากอนจึงจะเริ่มใหเหตุผลได ดังน้ันก็หมายความวา “สิ่งใดที่เรากลาวถึงก็คือ
ความคดิ อันหนึ่ง” แตนี้ไมใช หมายความวา “ความคิดเทานั้นที่มีอยู” ดังน้ันประเด็นที่ยึดตวั เองเปน
ศูนยกลาง จึงเปนลักษณะของความคดิ ในการคดิ เรายึดตวั เองเปนที่ต้ังใด แตไมใชลักษณะสิ่งท่ีมีอยู
หรือวัตถุ ถา ใครจะกลาววาเขาไมไดเคยพบเห็น ก. มันไมไดเปนสิ่งในความคดิ หรือในการรับรูของเขา
เลย น้นั ก็ไมใชหมายความวา ก. ไมไ ดมอี ยูใ นโลก

แบบตา ง ๆ ของสจั นยิ ม
ลัทธิสัจนิยมท้ังหลายนั้น พอจะแยกออกไดเปน ๒ ประเภทใหญๆ แตละประเภทแบงยอย
ออกไปไดดังน๑้ี ๐
๑. สัจนิยมโดยตรง (Direct Realism)

ก. สจั นยิ มแบบผวิ เผิน (Naïve Realism)
ข. สจั นิยมแบบสามัญสํานึก (Commonsense Realism)
ค. สจั นยิ มใหม (New Realism)
๒. สัจนยิ มแบบโดยออม (Indirect Realism)
ก. สจั นิยมแบบตวั แทน (Representative Realism)
ข. สจั นิยมวจิ ารณ (Critical Realism)

๑๐ วโิ รจ นาคชาตร,ี รศ., ปรัชญาเบอื้ งตน, หนา ๑๓๓.

๒๐๙

ปรัชญาสจั นยิ มนบั วา ครองใจนักปรัชญาจาํ นวนมากในศตวรรษท่ี ๒๐ ซ่งึ อาจเปนเพราะวาสัจ
นิยมประสบความสําเร็จมนการเสนอทศั นะเก่ยี วกบั โลกภายนอกท่ีใกลเคียงกับทัศนะของคนทว่ั ๆ ไป
สอดคลอ งกบั สามัญสํานกึ และวทิ ยาศาสตร

๑. สัจนยิ มแบบโดยตรง
สัจนิยมแบบน้ีมีทัศนะท่ัวไปวา การรับรูหรือการประจักษเปนผูรูจักโดยตรง คือ เปนการ
เผชิญหนากันอยางตรงไปตรงมากับวัตถุภายนอก ซึ่งสัจนิยมแบบน้ีจะตรงกันขา มกับสัจนิยมแบบโดย
ออ มซึง่ ยนื ยันวา การรับรใู นตัววตั ถนุ นั้ เปนการทเ่ี รารับรใู นตัวแทนของวตั ถุภายนอก ซึ่งตัวแทนนี้อยูใน
จิต ลทั ธิสจั นิยมทีจ่ ัดเปนพวกโดยตรงท่จี ะนาํ มากลา วในที่น้มี ี ๓ แบบ คือ

ก. สัจนยิ มแบบผิวเผิน
สจั นยิ มแบบผวิ เผินเปน แบบทีง่ า ยและเรยี บท่ีสดุ ของสัจของนิยมแบบโดยตรง ซึ่งนักปรัชญาดู
มองวาเปนทัศนคตขิ องคนทั่วไปท่ีปราศจากความลึกซ้ึง น้ันคอื เม้อื เรามองดูรอบๆ ตัวเราภายในพ้นื ที่
อนั กวางใหญ เราจะไดเห็นพบสีตา งๆ เราเช่ือวาน่ันเปนพ้ืนหนาที่แทจริงของวัตถุ เมือ่ เราไดย ินสรรพ
สาํ เนยี งทั้งหลาย เราก็เชื่อวาเสียงเหลาน้ันมาจากวัตถุนั้นๆ จริง เชน เสียงเครื่องบินกย็ ังเปนเสียงของ
เคร่ืองบินจริง เสียงรถยนตก ็เปนเสียงรถจริงๆ ถาเราเอามือสัมผัสโตะแลวรูสึกลื่นและแขง็ เราเชื่อวา
นัน้ คือคุณสมบตั ขิ องโตะ จรงิ ดงั นั้น สัจนิยมแบบผิวเผินถอื วาทุกประการของวัตถุ เชน คุณสมบัตพิ วก
สี, รูปราง, เสียง, แขง็ ฯลฯ มคี วามแทจริง คือ เปนคณุ สมบัติท่ีฝงอยูภายในของตัววัตถุในธรรมชาติ
ทงั้ หลาย รวมความแลว สจั นิยมเชนน้ถี อื วา ทกุ สิ่งทเ่ี ราพบเหน็ จับตอ งไดย นิ ลวนเปน จริงทั้งสนิ้
ท่ีนี่ลองพิจารณาดูวาทัศนะแบบนี้สมเหตุสมผลหรือไม เราจะพบวามีขอบกพรอง สมมุติวา
ถา ออดมองเห็นโตะ ตวั หนึ่งจากท่ีสงู เขาก็จะเห็นโตะ นี้เปนรปู กลมแตถาแอดมองจากท่ีไกลเขาก็จะเห็น
โตะนรี้ ีเหมอื นรูปไข แตท งั้ ความกลมและความรไี มอ าจท่ีจะเปนคณุ สมบัติภายในทั้งสองอยางของโตะ นี้
ไดเชนเดยี วกัน ถาหากอูดซง่ึ ตาบอดสีมองไปท่ีหนังสือปกสีแดงเลมหน่ึง เขาเห็นมนั เปนสีดาํ แตสีดํา
ไมใชเปนคุณสมบัติท่ีแทจริงของหนังสือเลมนี้ หรือทาอ๊ีดดื่มเหลาเมาและกลับบานในตอนดึก เขา
มองเห็นสายยางลดตนไมในสนามเหมอื นงูขดอยู แตสายยางอยางนั้นไมใชงูจริง ตัวอยางเหลานี้เปน
เรื่องของกรณีที่เกิดจากการเขาใจผิด หรือรับรูผิดซึ่งเปนไปไดในความเปนจริงและแสดงใหเห็นวา
ทัศนะของสัจนิยมแบบผวิ เผนิ นีย้ ังมขี อ บกพรอ ง

ข. สัจนิยมแบบสามญั สํานึก
ทง้ั สนิยมแบบผวิ เผินและแบบสามัญสํานึกตางก็ยอมรับวา โลกภายนอกหรือวัตถุท้งั หลายนั้น
มีอยูจริงและเปนเจาของคุณสมบัติตา งๆ และยืนยันวาประสบการณท างผัสสะคือ กระบวนการที่จิต
กระทบโดยตรงกับวัตถุในธรรมชาตเิ ชน โตะ เกา อี้ ตน ไม เปนตน ไมใชเปนการที่คนเรารับรูในผัสสะ

๒๑๐

เชน แกงเขยี วหวาน เปน ตน ขอยนื ยนั ดังกลา วนี้ นกั สัจนิยมจํานวนมากเคยยอมรับมากอน แตปรากฏ
วามีขอบกพรองเชนเดียวกับสัจนิยมแบบผิวเผิน จึงทําใหสัจนิยมแบบอ่ืน ๆ พัฒนาข้ึนมาหลักการ
สาํ คญั ของสัจนยิ มสามญั สาํ นกึ มดี งั นี้

๑. ถือวา การรับรูเปนกระบวนการสองหนวย คือ ในประสบการณทางผัสสะน้ัน จิตผูรูจะ
กระทบกระทั่งกบั บางส่ิงทีไ่ มใชตัวมันเองเสมอ ดังนั้น วัตถุจึงไมใชเปนความคิดของจิตอยางแนนอน
ในการรูจึงตองมีวัตถุเปนสิ่งถกู รู การรูท่ีไมม ีส่ิงถูกรูน้ันเปนไปไมไ ดเชนเดียวกบั ในการตัดสินหรือการ
เขาใจจะไมม สี ่ิงท่เี ราตดั สนิ หรือสิ่งทเี่ ราเขา ใจไมไ ด

๒. การรับรูวัตถุเกิดขึ้น เม่ือวัตถุหน่ึงอยูในตําแหนงท่ีใกลเคียงเหมาะสมกบั อวัยวะรับสัมผัส
อนั ใดอนั หน่ึง ก็กอใหเกดิ การตน่ื ตวั ขน้ึ ในอวัยวะน้ันน้ัน และจะไปกระตนุ ระบบประสาทใหสงกระแส
ประสาทไปยังสมอง สมองกจ็ ะกระตุนใหเกดิ การกระทาํ ที่เปน การรูขนึ้ การรูก็คือ การช้ีมุงไปยังบางสิ่ง
บางส่ิงนี้ก็คือวัตถุในธรรมชาติซ่ึงเปนตัวเรากระตุนผัสสะนั่นเอง ดงั น้ัน วัตถุในธรรมชาติจึงนับวาเปน
ท้งั สาเหตุใหม กี ารรเู กิดขึน้ และเปนวตั ถุของการรูดว ย

๓. ดังนั้น วัตถุในขณะท่ียังไมไดถูกใครรู กับวัตถุที่ถูกรับรูแลวจะไมมีความแตกตางกันเลย
เพราะการรับรูของคนไมไดมีการเพิ่มเติมหรือลดทอนคุณสมบัติอะไรบางอยางใหกับวัตถุเลย วัตถุมี
ธรรมชาติหรือลกั ษณะที่แทจ ริงอยางไร เมื่อมาปรากฏตอจติ ของคนกค็ งเปน อยางนนั้

๔. ประเด็นท่เี ปนขอบกพรอ งของสัจนยิ มแบบน้ี ประการแรก เปนจุดบกพรองทีเ่ หมอื นกับสัจ
นิยมแบบผิวเผินคือ เร่ืองการรับรูสิ่งท่ีผิด ถาหากสัจนิยมท้ังสองแบบนี้ยืนยันวา ตัววัตถุจริง ๆ มี
ลักษณะตรงกับทีป่ รากฏตอเรา หรือกลาวใหชัดเจนก็คอื เม่ือประสาทสัมผัสของเราไดกระทบกระท่ัง
กับวัตถุก็กลาววาเราไดรูจักวัตถุนั้นวามีลักษณะอยางน้ัน อยางนั้น แหละเช่ือดวยวา ความรูของเรา
ตรงกับความจริงทุกอยางถา เชื่อเชนนี้ก็จะอธิบายกรณี เชน การมองเห็นทางรถไฟวามาบรรจบกัน ณ
จุด ทีไ่ กลออกไปสุดสายตาอยางไร เราจะเชื่อหรือวาเปนจริงดังที่เราเห็น ประการที่สอง สัจนิยมแบบ
สามัญสํานึกมองขามเงินไขอื่น ๆ ทจ่ี ําเปนในการรับรูคือ ไมไดวิเคราะหถึงเงื่อนไขอ่นื ๆ ท่ีจําเปนใน
การรับรู คอื ไมไดวิเคราะหถึงเงือ่ นไขเหลานั้น เชน ถา เราตองการรูอะไรเปนสาเหตขุ องการรับรู และ
เรารบั รอู ะไรแลว การอธบิ ายของสามญั สาํ นกึ ไมพ าดพิงถึงเงอื่ นไขอ่ืน ๆ ที่เก่ียวขอ ง เชน ความสัมพันธ
ทางสรรี ะศาสตรก ับฟส ิกสที่ทําใหเกดิ การเคลื่อนไหว การเปล่ียนแปลงท่ีเกดิ กับเรตนิ า (เยื่อภายในลูก
ตาทําหนาท่ีรับภาพ) กระแสประสาท การตนื่ ตวั ท่ีสมองสวนกลาง และผัสสะหรือความรูสึกท่ีเกิดข้ึน
ส่งิ เหลา านเ้ี ปนเสมือนฟนเฟอ งของเครื่องจักร ทต่ี องทําหนาท่ีกอ นทีจ่ ะมีการกระตุนตอ อวัยวะสัมผัสท่ี
จะใหเกิดผลลัพธในการรับรู ประการที่สาม ขอสรุปในการคนควาทางจิตวิทยาและวิทยาศาสตรที่มี
สวนคัดคานสามัญสํานึก นั่นคือการรับรูทางประสาทสัมผัสอยางเดียวไมอาจจะใหความรูสําเร็จรูป
ข้ึนมาได ประสบการณทางผัสสะไมใชเ ปนการที่เรารับรูวัตถุตัวจริงทันที หรือการรับรูของเราไมใชส ่ิง
เดียวกับวัตถุเพราะวาตอ งนําผัสสะท่ีไดไปตีความทางจิตกอนแลวจึงจะออกมาเปนความรู ดังนั้น จึง

๒๑๑

ไมใชว าอวัยวะรับสัมผัสกระทบกบั วัตถุทําใหเกิดกระแสประสาทไปยังสมองแลวสมองกส็ ั่งใหรูในวัตถุ
นัน้ ทนั ที

ค. สัจนิยมใหม
๑. วตั ถุท้ังหลายท่มี ีอยูในโลกมีความแทจริงในตวั เองและเปนเจาของคณุ สมบัตทิ ุกอยางไมวา
จะเปนปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ ดังน้ัน คุณสมบัติท้ังหลายที่ปรากฏใหเรารูจักพบเห็นจึงเปนคุณสมบัติ
ภายในของวัตถอุ ยางแนนอน เชน โตะ ท่ีคนหนึ่งเห็นเปนรูปกลมสวนอีกคนเห็นเปนรูปรีนั้น ทัง้ ความ
กลมและความรีเปนคุณสมบัตภิ ายในที่แทจริงของโตะ ตัวเดียวกันหรือภูเขาทีเ่ ห็นเปนสีเขียวเม่ือมอง
ใกล ๆ แตเปนสีน้ําเงินเมอ่ื มองไกลน้ัน ทง้ั ความเขยี วและน้ําเงนิ เปนคุณสมบัติจริง ๆ ของภูเขา ดังน้ัน
ไมมีคุณสมบตั ใิ ดเลยท่จี ะกลาวไดว าเปนของจติ และเปนเร่ืองสวนตัว คอื ข้ึนอยูกบั การรับรูของตัวผูรูแต
อยา งใด จะเห็นวา เราสามารถท่จี ะบันทึกภาพของวัตถใุ ด ๆ ไวก็ได
๒. บทบาทของระบบประสาทและกระบวนการอันเปนสาเหตุของการรับรูเปนเพยี งการเลือก
และเปดเผยใหกบั ตัวผูรใู นคุณสมบัติใดคุณสมบัตหิ นึ่ง ในแตละคุณสมบัติ เชน คนหน่ึงเลือกรับรูความ
กลมุ ของโตะ อกี คนเลือกรับรลู กั ษณะรีเปนรูปไขของโตะ เปนตน ความเช่ือน้ีเรียกวา “ทฤษฎีของการ
เลอื ก”
๓. ในการรับรวู ตั ถทุ ั้งหลายของคนเราจึงเปนการรูจักมันโดยตรง คอื ถาเรารับรูบานหลังหนึ่ง
ตวั บานหลังน้ันเองเปนส่ิงที่เรารับรู ไมใชวาเรารับรูในผัสสะทางตา หู หรืออวัยวะรับสัมผัสใดแลวมา
สรางเปน ความรูห รือมโนภาพข้นึ ในจติ แตเปนการทีเ่ รารับรวู ตั ถใุ นสภาวะที่เปนความจริงในตวั ของมัน
เองการรูไมตองอาศัยขอมูลทางผัสสะหรือการสรางมโนภาพของวัตถุ แตวัตถุภายนอกคือสิ่งท่ีเรารู
หรอื เปน ความรขู องเรา สิง่ ทีเ่ รารูจึงไมใชต วั แทนหรือภาพเหมอื นของวตั ถทุ ีจ่ ิตสรา งข้ึน
๔. ขอยุงยากของสัจนิยมใหมก ็คือ ประการแรก ถายอมรับวาคุณสมบัติทุกอยางของวัตถุท่ีเรา
ไดรับรูนั้นเปนคุณสมบัติของวัตถุนั้นจริง ๆ แลวในกรณีท่ีเกิดมีการเขาใจผิดหรือมีการรับรูผิด จะ
อธิบายอยางไร ประการทส่ี อง ถาเรากลาววาโตะตัวหนึ่งมีคณุ สมบัติภายในทีท่ ั้งกลมและรี หรือภูเขา
ลูกหนึ่งมีท้ังคุณสมบัติสีเขียวและสีนํ้าเงินรวมอยูในตัว ก็ดูจะเปนการขัดแยงกันในตัวเอง หรือวัตถุ
จะตองมีความซับซอ นอยางมากทีเดียวถา มันมีรูปรางตาง ๆ รวมอยูในตัวและ ประการที่สาม ระบบ
ประสาทของคนเราจะเลือกรับรูรูปรางใดรูปรางหน่ึงหรือสีใดสีหน่ึงในจํานวนหลายหลายสีน้ันอยางไร
สจั นิยมใหมไมไดใ หค วามกระจา งในจุดน้ีโดยเฉพาะอยางยง่ิ ในกรณขี องคนตาบอดสี หรือคนเมาซ่ึงรับรู
รปู รา งและสแี ตกตา งไปจากการรบั รปู กติ

๒๑๒

๒. สัจนยิ มแบบโดยออ ม
หลกั การทั่วไปของสัจนิยมแบบโดยออ มเปนการปฏิเสธทศั นะของสัจนิยมโดยตรงสัจนิยมโดย
ออมนี้มีการแบงออกเปนวัตถุภายนอกในฐานะทเี่ ปนตวั สาเหตขุ องการรับรูและเปนวัตถุของการรับรู
กับขอมลู ทางผัสสะซ่งึ เปนปฏิกริ ิยาทางจติ ของขบวนการของสมอง โดยขึ้นอยูกบั การกระทําของวตั ถุ
ภายนอกตอ อวยั วะรับสมั ผสั ตางๆ

ก. สจั นยิ มแบบตวั แทน
๑. ในการรับรูว ัตถุเชน การมองเหน็ โตะ ตวั หนึ่ง อธิบายปรากฏการณน้ีไดวาเม่อื ลําแสงสะทอน
จากโตะ มากระทบในตาเปนเหตใุ หเกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมีตอเรตินา (เย่ือภายในลูกตาทําหนาที่
รับภาพเหมือนจอภาพยนตร) และสงแรงกระตุนไปตามประสาทตาเพ่ือไปสูสมอง สมองก็จะกระทํา
การผลักดันใหจิตของผูรับรูไดตระหนักในผัสสะที่เปนสวนตัวข้ึน ซึ่งเปนความคิดของจิต (ความคิด
เชิงเดี่ยวในปรัชญาของลอค) ผัสสะน้ีเปนตัวแทนของคณุ สมบัติตาง ๆ ของโตะ เชน รูปราง สี ดังน้ัน
ประเดน็ สําคญั คือการรับรทู แ่ี ทจริง กค็ อื การตระหนกั รโู ดยตรงในผสั สะ ซ่งึ วตั ถเุ ปน ตัวทาํ ใหเกิดขึ้นการ
รจู ักสงิ่ ตาง ๆ ตอ งอยภู ายในขอบขายของผัสสะท้ังส้ิน การรับรูแบบนี้จึงจัดเปนกระบวนการ ๓ หนวย
(Three-term process) เพราะการรบั รูวตั ถุเปนการรับรูผา นตวั แทนที่เปนผัสสะหรอื เปน ความคดิ ของ
จิตตรงกนั ขามกับสจั นยิ มแบบโดยตรงท่ีการรบั รูวัตถุเปน การรูจกั ตวั วตั ถจุ รงิ ๆ ไมไ ดผานตวั แทนอะไร
๒. วัตถุทัง้ หลายท่ีอยูภายนอกตวั คนนั้น มีความแทจ ริงแตเ ปนความแทจริงในลักษณะท่ีเปน
สสารทีม่ แี ตคุณสมบัติปฐมภูมเิ ทา น้ัน เพราะคณุ สมบตั ิประเภทน้เี ปนคณุ สมบัตทิ ่ีทกุ ส่ิงตองมีเหมือนกัน
หมด วัตถุใดกต็ ามจะตองมขี นาดรูปราง น้ําหนัก การเคล่ือน เหลานี้เปนคณุ สมบัติทม่ี ีความคงทนติด
อยูกับวัตถุตลอดไป สวนคุณสมบัติทุติยภูมิน้ันไมไดมีอยูในตัววัตถุ เพราะมันเปนส่ิงที่จิตของคนเปน
ผูสรา งขน้ึ มาในเวลาทเี่ รารับรูวัตถทุ ม่ี ีแตค ุณสมบัตปิ ฐมภูมิ ดงั นนั้ สแี ละกล่ินของดอกกุหลาบ สีและรส
ของขนมทองหยิบจะมีขึ้นไดก็ตอเม่ือมีการรับรูของคนตอมัน ดวยเหตุน้ีเองคุณสมบัติเหลาน้ีจะไม
คงทนหากตองผันแปรไปตามสถานการณของคนทรี่ ับรู เชน คนตาบอดสีจะมีการเห็นสีตาง ๆ ผิดไป
จากคนตาปกติ ดังนั้นผัสสะทั้งหลายจะมีความเหมือนกันกับคุณสมบัติปฐมภูมิของวัตถุ เชน เรา
มองเห็นขนมเปยะวา มีรูปรางกลมผัสสะของความกลมน้ีจะตรงกันกับคุณสมบัตกิ ลมท่ีมอี ยูในตวั ขนม
แตผัสสะท่เี ปนพวกสี เสียง กลิ่น รส อณุ หภูมิจะไมเหมือนกับคณุ สมบัติทุตยิ ภูมิของวัตถุ เพราะในตัว
วตั ถจุ ริงๆไมไดม ีคุณสมบัตพิ วกนี้อยูเลยมันเปนสิ่งท่ีจิตสรางขนึ้ โดยมีคุณสมบัติปฐมภูมิของวัตถุเปนตัว
ผลักดันใหเ กดิ มีขนึ้
๓. จุดบกพรองของสัจนิยมแบบตัวแทนก็คือถา ถือวาการรับรูของเราเปนการตระหนักรูใน
ผัสสะที่เปนสวนตัวและเปนความคิดของจิตแลว ก็เปนการยากท่ีจะทําลายแวดวงของผัสสะออกไป
และไดป ระจกั ษโลกภายนอกน้ันจรงิ ๆ เราจะบอกไดอ ยางไรวา วัตถุเหลานม้ี ีอยู ถา เราพยายามพิสูจน

๒๑๓

วาโตะตัวหน่ึงมีอยูดวยการเอามือไปสัมผัสมัน ซึ่งก็เพียงแตเราไดรับผัสสะของพื้นผิว หรือถาเรา
มองเห็นวามือของเราสัมผัสโตะ กเ็ พียงแตเ ราไดรับผัสสะของการเห็นเทาน้ัน เม่ือใดทเ่ี ราพยายามจะ
เพงดูออกไปภายนอกขอบขายของผัสสะเราก็จะมีแตไดรับผัสสะมากข้ึน หลักการของสัจนิยมแบบ
ตวั แทนน้ี กเ็ หมือนกับการถายภาพนั่นเองเราไมไ ดร ูจักตัวจริงของวัตถุแตรูจักภาพถา ย ซึ่งเปนตัวแทน
ของวัตถุ ตา งกันตรงที่วาเราไดร วู าภาพถายน้ันเหมอื นกับตัวจริง เพราะเราสามารถท่ีจะสังเกตุเห็นท้ัง
ภาพถายรถตัวจริง แตเราไมอาจจะเปรียบเทียบวัตถุจริงของผัสสะไดวามันเหมือนกันหรือไม การ
ตรวจดูวตั ถุ ก็คอื การตรวจดูผสั สะที่เหมอื นกันเฉพาะในสว นทเ่ี ปนคณุ สมบตั ปิ ฐมภมู ิเทา นัน้

ทฤษฎีสจั นิยมแบบตัวแทนก็คอื ปรัชญาของจอหน ล็อค ทไ่ี ดก ลา วมาแลวท่ีวาดว ยปญหาเรื่อง
ตนกําเนิดของความรูนั่นเอง ซึ่งในปญหาดังกลาว เราเรียกปรัชญาของเขาวา ประจักษนิยม เพราะ
ยืนยันวาความรูของคนเราเริ่มมีขึ้นจากประสบการณทางประสาทสัมผัส ตอมาในปญหาเรื่องส่ิงท่ี
คนเรารูคืออะไร เราเรียกปรัชญาของเขาวา สัจนิยมแบบตัวแทน เพราะยืนยันวาการรูจักวตั ถเุ ปนการ
รโู ดยผานความคดิ ทีเ่ ปน ผสั สะซงึ่ เปน เพยี งตวั แทนของคุณสมบัตแิ ทจ ริงทมี่ ีแตคุณสมบัติปฐมภูมเิ ทา นั้น
น่เี ปนแนวที่ใกลเคียงกับวิทยาศาสตรทีเ่ สนอสมมตุ ิฐานวา ในวัตถหุ รือสสารประกอบดว ยอนุภาคเล็ก ๆ
ทม่ี ีการเคลื่อนตวั ตลอดเวลาไมไดม คี ณุ สมบตั พิ วกสเี สียงรถ เปน ตน แตอยางใดอยางไรกด็ ีมีผูวิจารณว า
หลกั การของสัจนยิ มเชน นีใ้ นทสี่ ุดไมอาจเลีย่ งผลจากการนําไปสจู ิตนิยมแบบอัตนยั ของเบรค เลยได

ข. สัจนยิ มเชงิ วิจารณ
เปนทัศนะที่ไมเห็นดวยกับสัจนิยมใหมท่ีเห็นวาคนเรารับรูตัววัตถุจริง ๆ ท่ีอยูตอหนาเราจึง
เสนอแนวคิดวา
๑. การยอมรบั วาวัตถภุ ายนอกมคี วามแทจ รงิ โดยไมข้นึ กบั การท่ีตอ งมคี นมารูจักมัน แตคนเรา
ไมอาจจะรูจักตัวจริงของวัตถุไดเพราะประสบการณของคนเราไมไดเขาถึงความเปนจริงของวัตถุใน
สภาวะท่ีไมมีส่ิงใดปกคลุม แตการรับรูในวัตถุน้ันตองรูดวยผานตัวกลางบางอยาง ดังนั้น วัตถใุ นการ
รบั รขู องคนเราจึงไมใ ชตัววตั ถุจริ งแตเปนวตั ถุตามท่ีปรากฏแกจติ ทร่ี ูจ ักมนั
๒. ตัวกลางน้ีเรียกวาขอมูล ซึ่งจะกลาววาเปนลักษณะจริงของวัตถุก็ไมได หรือจะถือวาเปน
สภาวะของจิตของผูรูก็ไมได เพราะมันเปนสภาวะรวมกันของท้ังสองอยาง ขอมูลน้ีเปนลักษณะท่ี
ซับซอ นทจ่ี ะเกดิ มขี ึน้ ในขณะทีม่ ีการรบั รูขอ มูลนี้สะทอนใหเห็นถงึ ธรรมชาติของวัตถแุ ละธรรมชาติของ
จติ ผรู ูรวมกันมนั จึงไมใชตัววตั ถุจรงิ และกไ็ มใชส ภาวะของจิตอยางเดยี ว ขอ มลู น้เี ปนสาระสําคัญเปนตัว
ลักษณะที่ชี้บง ถงึ ความเปน อะไรของวัตถุในฐานะท่เี ปนสง่ิ ถกู รู
๓. ดงั นั้นในการรบั รโู ลกภายนอกของคนเราจะมีปจจยั ๓ อยาง หน่ึง คือจิตที่เปนผูรู สอง คอื
วัตถุใด ๆ ในสภาพดังเดิมของมันและสาม คือขอมูลซ่ึงไดมาโดยทางอวัยวะรับสัมผัส ขอมูลนี้เปน
สภาวะรวมกนั ของวัตถุและจิตผูรู เพราะในขณะท่ีมีการรับรูวัตถุภายนอกเกิดขึน้ น้ัน เราไมไดรับรูตัว

๒๑๔

จริงของวัตถุแตจะตองมีการเกีย่ วของกับเน้อื หาภายในของจิตเสมอ เชน มกี ารตดั สินใจใหชัดเจนวามัน
คืออะไร หรือมันเปนลักษณะของส่ิงใด หรือเราทําการตอบสนองตอมันในทันที การเกี่ยวของกับ
เนื้อหาทางจิตน้ีจะเกิดขนึ้ ในระดบั ตา ง ๆ ตามแตสถานการณต ัวอยาง เชน เรากลาววา วิชัยอยูน่ันไง
เปนการมองเห็นวิชัย และยังมีการช้ีชัดลงไปวาเขาอยูท่ีนั่น หรือน่ันไงรถเมลของฉันมาแลว ก็เปนการ
รบั รรู ถเมลและชีช้ ัดลงไปวา มนั เปนสายทต่ี นจะขึ้น ขณะเดยี วกนั ก็จะมีการเตรียมพรอมที่จะขึ้นรถซึ่ง
เปน ปฏกิ ริ ยิ าตอบสนองทางจติ วิทยา

๔. แมวาสจั นิยมวจิ ารณจ ะเปน สัจนิยมแบบสุดทายของการพฒั นาของลัทธิ แตส ัจนิยมวิจารณ
กย็ ังมีขอ ใหวิจารณไ ดอยูอีก นั่นคอื การอางถงึ ตวั กลางในการรับรู ซึ่งดูเหมอื นลอยอยูระหวางวัตถุกับ
ผูรูซ่ึงการอธิบายออกจะเปนสิ่งลึกลับและลึกซ้ึงเกินไป และการถือวาเราไมอาจจะเขาถึงตัววัตถุท่ี
แทจริงไดก็ยิ่งลึกลับมากขึ้นเพราะเปนการถอยหลังกลับไปสูปรัชญาของนักปรัชญาชาวเยอรมันชื่อ
คานท ซ่งึ เสนอวา ลูกภายนอกเปน สง่ิ ทีไ่ มอ าจปรากฏตัวจริงของมันตอการรับรูของคนไดวัตถุตาง ๆ มี
อยูในฐานะเปนสิ่งในตัวเอง ท่ีเราไมอาจจะรูจักธรรมชาติแทจริงของมันได เพราะการรับรูวัตถุตองรู
ตามกลไกหรอื โครงสรา งของสมอง ดังนัน้ วตั ถขุ องจรงิ กับสิ่งท่เี รารูจะไมเหมือนกนั

๒๑๕

สรุปทา ยบท

ปรัชญาเหตุผลนยิ ม
นักปรัชญาเหตุผลนิยมรวมทั้งเดการต เสนอแนวความคิดท่ีสําคัญวาคนเราสามารถจะมี
ความรใู นประเภททไี่ มต อ งอาศัยประสบการณไ ด โดยการใชความคดิ พิจารณาตามเหตผุ ล ความรูชนิด
นี้เปนจริงตลอดไปไมอาจลบลางได และเราสามารถใชความรูนั้นเปนหลักพื้นฐานคิดหาความรูอืน่ ๆ
ตอไปไดอยา งเหมาะสม สว นประสบการณนน้ั ใหเราเพียงแตข อมูลทเ่ี กีย่ วกบั คณุ สมบัตติ าง ๆ ของวัตถุ
และความเปนไปของโลกภายนอก แตขอมูลที่ประสบการณใหก็ใชวาจะถูกตองแนนอนเสมอไป
ประสบการณ ทาํ ใหเ ราเขา ใจผิดอยบู อ ย ๆ จึงไมอ าจเช่ือถือไดแนนอน สติปญญาของมนุษยตา งหากท่ี
จะใหความรูท่ีแนนอน และจากการยืนยันความสามารถในการคิดของคนเราเชนนี้ ทําใหนักปรัชญา
เหตุผลนิยมสว นมากตอ งยอมรับการมอี ยขู อง “จิต” ในฐานะทเี่ ปน “สิ่งแทจริงที่รคู ดิ ได”

ปรชั ญาประจกั ษนยิ ม
โดยทวั่ ไปปรัชญาประจักษนิยมยืนยันวา บอเกดิ ทีแ่ ทจ ริงของความรูกค็ ือประสบการณส วนที่
เปน ผสั สะเทา นนั้ หลกั การตา ง ๆ ที่พวกเหตุผลนิยมอางวาเกดิ ขนึ้ กอนประสบการณนั้น ทแ่ี ทแลวกม็ า
จากประสบการณน ่ันเอง เพราะจิตของคนเราไมไ ดม ีความรูอยูกอ น แตในสภาพเร่ิมตนจิตเปนเสมือน
กระดาษขาวทเ่ี ตรียมใหประสบการณป ระทับลงไป ความรูทกุ อยางจึงมาจากประสบการณ จุดเริ่มตน
ของความรูทงั้ หลายของคนเราก็คือ ผัสสะ ดังคํากลาวของวิลเลียม เจมส นักประจักษนิยมคนหน่ึงวา
“ผสั สะเปนมูลรากและจุดเร่มิ ตนของความรู สว นความคดิ คอื ลําตน ท่แี ผกิง่ กานออกไป”

ปรชั ญาจิตนิยม
กลุมจิตนิยม ถือวา จติ เปน ความแทจ รงิ สูงสุดเพียงส่ิงเดียวเทาน้ัน สสารเปนเพยี งปรากฏการณ
ของจิตเทานั้น เชน รางกายมนษุ ยเปนเพยี งปรากฏการณช ว่ั คราวของจติ เปน ทอี่ ยูอาศยั ชัว่ คราวของจิต
เม่ือรางกายสูญสลายจิตสัมพัทธกย็ ังคงอยู ซ่ึงบางทีอาจกลับคืนสูแหลงเดิมของตนคือจิตสัมบูรณอัน
เปนตนตอของสรรพส่ิง ทุกส่ิงทกุ อยางลวนแตอธิบายไดดว ยอาการปรากฏของจิตสัมบูรณท้ังสิ้น จิต
เปนธรรมที่มีเพียงช่อื หารปู ไมได ผมู ีปญหาเทาน้ันจึงจะรูจกั จติ ได

ปรัชญาสัจนยิ ม
สจั นยิ มทกุ แบบมีความเช่ือรวมกันวา มีโลกภายนอกตวั มนุษย โลกดังกลาวประกอบดว ยวัตถุ
ท้ังหลายซึ่งมีความแทจริงตามสภาพของมันโดยไมไดข้ึนอยูวาจะมีมนุษยรับรูมันหรือไม และมีอยู
กอนท่ีจะมีผูใดมารูมัน ถึงแมวาคนเราจะรูจักมันโดยทางประสาทสัมผัส แตจะกลาววามันเปนเพียง
ผัสสะหรือความคดิ ของจิตไมได ฉะนั้นในคาํ ถามท่ีวาสิ่งท่ีเรารูคืออะไรนั่น สัจนิยมไดใหคําตอบวาคือ

๒๑๖

วัตถุทั้งหลายทีม่ ีตัวตนอยูนั่นเอง แตค วามคิดของนักสัจนิยมทง้ั หลายจะแตกตา งไปในเร่ืองของการที่
เรารจู กั วัตถนุ ัน้ รูอยางไร จึงทําใหเกิดมีสจั นิยมแบบตา งๆ

สัจนยิ มโดยตรงเปนกลุม สัจนยิ มท่ีเห็นวาคนเรารูจกั วัตถตุ าง ๆ โดยตรงในกลุมน้ีมี
๑. สัจนิยมแบบผิวเผินมีความเชื่อวาทกุ อยางทค่ี นเราไดรูจักพบเห็นหรือที่ประสาทสัมผัสให
ขอมูลแกเ รานั้น ลว นเปนความจริงทง้ั สน้ิ วตั ถุมีคณุ สมบตั ทิ กุ อยางดภู ายในตัวมันอยา งแทจรงิ
๒. สจั นิยมแบบสามญั สํานึกการรูจ ักวตั ถทุ ้ังหลายก็คือ การกระทบกระทั่งกันโดยตรงระหวาง
มนุษยในฐานะที่เปนอินทรียมีชีวิตกับวัตถุตาง ๆ ที่มีอยูในธรรมชาติ วัตถุเปนท้ังสาเหตุใหเกิดการรู
และเปน วตั ถขุ องการรู
๓. สจั นยิ มใหมในการรจู ักส่ิงตา ง ๆ สัจนิยมใหมม ีความเช่ือที่ตรงกับสัจนิยมสองแบบแรก คือ
เปนการรจู ักวัตถุโดยตรงไมไดผ า นหรืออาศัยขอมูลทเี่ ปนผัสสะทางอวัยวะ รับสัมผัสใด เชน เมอ่ื ตาเรา
มองเหน็ ตน ไมตนหน่ึงน่นั ก็คือเราไดร บั รูตนไมตน น้ันไมใชผ ัสสะสีเขียว สูง สีนํ้าตาลของลําตน เปนตน
ในการรับรูว ัตถจุ งึ ไมไดมกี ารเพ่ิมเติมเน้อื หาทางจติ ทเ่ี ปนสวนตัวของผูรูเขาไปเลย นอกจากน้ียังอธิบาย
ถงึ การที่คนหลายคนอาจจะรับรูคณุ สมบัติของวัตถตุ างกันออกไป วาเปนการทร่ี ะบบประสาทของแต
ละคนเลือกรบั รลู กั ษณะใดลกั ษณะหนึ่ง แตทกุ ๆ ลักษณะกเ็ ปนคณุ สมบัตแิ ทจ ริงของวตั ถุเดียวกัน
สจั นยิ มโดยออมคอื กลุม สจั นิยมทถี่ ือวา คนเรารจู ักวตั ถุโดยผานตัวกลางบางอยา ง
๑. สจั นยิ มแบบตัวแทน การรจู ักวัตถตุ อ งรูโดยผานผัสสะซ่งึ เปนตวั แทนของวัตถุจริง วัตถุจริง
นน้ั มีแตคณุ สมบัตปิ ฐมภมู ิเทานน้ั ไมม คี ุณสมบตั ิทตุ ยิ ภูมิ ดังนนั้ ผสั สะของคนเราจะเหมอื นกบั คุณสมบัติ
ปฐมภูมขิ องจริงในตัววัตถุ แตจะไมเหมือนกับคุณสมบัติทุติยภูมิ เพราะคุณสมบัตินี้ไมม ีอยูในตัววัตถุ
เปน เพยี งอาํ นาจที่คุณสมบตั ิปฐมภมู ิขอใหเ กิดขนึ้ แตจติ ผูรบั รู
๒. สัจนิยมเชิงวิจารณ การรูจักวัตถุไมใชเปนการรับรูวัตถตุ ัวจริงเหมือนอยางสัจนิยมใหมแ ต
เปนการท่ีคนเรารูโดยผานตัวกลางที่เรียกวา ขอมูลโดยไดมาทางอวัยวะรับสัมผัสซึ่งเปนสิ่งท่ีอยูใน
สภาวะรวมกันของจิตผูรูกับวัตถตุ ัวจริง วัตถุตัวจริงเปนอยางไรนั้นไมอ าจรูไดเพราะเม่ือคนเรารับรูสิ่ง
ส่ิงใด ๆ นัน้ ตองมกี ารเพิ่มเตมิ เน้ือหาทางจิตเขา ไปเสมอ เชน ตัดสนิ หรือตีความสิ่งนน้ั ๆ ดงั น้ัน ในการ
รูจึงมปี จจัย ๓ อยางคือ จิตผูรู วัตถุในสภาพด่ังเดิม และขอมูลซึ่งอาจจะกลาวไดว า เปนวัตถุของการ
รบั รูซึง่ ไดถ ูกเพม่ิ เตมิ เนื้อหาทางจิตลงไปแลว

๒๑๗

เอกสารอางอิงประจาํ บท

คณู โทขนั ธ. ปรชั ญาเบือ้ งตน. ขอนแกน :ภาควชิ ามนษุ ยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร,
๒๕๒๗.

ทองหลอ วงษธ รรมา, รศ., ดร. ปรชั ญาท่ัวไป. กรุงเทพฯ : สาํ นักพิมพโอเดียนสโตร, ๒๕๔๙.
บุญมี แทน แกว, สถาพร มาลเี วชรพงศ และประพฒั น โพธ์กิ ลางดอน. ปรชั ญาเบ้ืองตน

(ปรชั ญา ๑๐๑). กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมพโอเดยี นสโตร, ๒๕๒๙.
พระพทิ ักษณิ คณาธิกร. ปรัชญา. กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพดวงแกว , ๒๕๔๔.
วทิ ย วศิ ทเวทย. ปรัชญาทัว่ ไป. กรงุ เทพฯ : สํานกั พมิ พอักษรเจริญทศั น, ๒๕๒๒.
วิโรจ นาคชาตรี, รศ. ปรัชญาเบอ้ื งตน. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง, ๒๕๕๒.
สกล นิลวรรณ. ปรัชญาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยครูสวนดุสิต,

๒๕๒๒.
สดใส โพธวิ งศ. ปรัชญาเบ้ืองตน . ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน, ๒๕๓๔.
อมร โสภณวิเชษฐวงศ. ปรัชญาเบื้องตน. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๒๔.

บทที่ ๗
ตรรกวิทยา

ความนํา

ตรรกวิทยา เปนวิชาการที่ทําใหมนุษยรูจักการคดิ และใชเหตผุ ลอยางมีกฎเกณฑก ารทม่ี นุษย
เปน ผูร จู กั ใชเหตุผลนี้เองเปนลักษระพิเศษท่ที ําใหมนุษยแตกตางไปจากสัตวอนื่ มนุษยที่มีเหตุผลมกั จะ
เปนผูมีใจกวาง มีความหนักแนน ไมใชอารมณใหมามีอิทธิพลอยูเหนือเหตุผล เม่ือคิดหรือตัดสินใจ
เกี่ยวกับเรื่องใด ๆ มักจะมีเหตุผลมาอธิบายไดเสมอ พรอมท่ีจะรับฟงความคิดเห็นที่แตกตางไปจาก
ตนเองได ในบางกรณีถาหากความคิดเห็นท่ีแตกตางนั้นมีเหตุผลที่ดีกวา ก็ยอมรับและพรอมท่ีจะ
ปรบั เปลี่ยนความคิดเห็นของตนไดเ สมอ ปราชญทเ่ี ปนนกั วิชาการทางตรรกวิทยา ไดกลาวไววา “คนที่
มีเหตุผลมักจะไมเปนคนด้ือดันทุรังท่ีคอยแตใชอํานาจเขาขมขูอยางเดียว ยิ่งบุคคลที่จัดวาเปน
ปญญาชนดวยแลว ย่ิงจักตองเปนผูมีเหตุผลใหมาก การปกครองที่มีเหตุผลนั้นปกครองไมยาก ถา
ผูปกครองจะปกครองดวยเหตุผล”๑ วิชาตรรกวิทยาจึงเปนวิชาท่ีนาศึกษาเพื่อจะไดใชเปนเคร่ืองมือ
ตรวจสอบการใชเหตุผลของแตละบุคคลวามีความสมเหตุสมผลมากนอยเพียงใด และการใชเหตุผล
อยางไรจึงจะถือไดวาสมเหตสุ มผล

๑ จํานงค ทองประเสริฐ, ตรรกศาสตร ศลิ ปะแหง การนิยามความหมายและการใหเหตุผล, พิมพค ร้ังท่ี
๑๑, (กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พม หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยา, ๒๕๓๘), คํานาํ .

๒๒๐

๑. ความหมายและขอบขายของตรรกวทิ ยา

๑.๑ ความหมายของตรรกวิทยา

คําวา “ตรรกะวิทยา” เปนศัพทบ ญั ญตั ิที่แปลมาจากคําภาษาอังกฤษวา Logic หมายถงึ วิชา
วาดว ยกฎเกณฑก ารใชเ หตุผล๒

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ. ศ. ๒๕๒๕ โดยใหความหมายของตรรกวิทยาวา
“ปรัชญาสาขาหนึ่งวาดวยการคดิ หาเหตุผลวาจะสมเหตสุ มผลหรือไม” ๓

นักปรัชญาจํานวนมากถือวาตรรกวิทยาเปนเคร่ืองมือของปรัชญาหรือเปนประตูนาํ เขา สูวิชา

ปรัชญา ท้ังน้ีก็เพราะวาการท่ีจะศึกษาปรัชญาใหเขาใจอยางถองแทจําเปนตองรูกฎเกณฑการใช

เหตุผลเสียกอ น มิฉะนั้นจะไมสามารถเขาใจประเดน็ ปญหาของปรชั ญาไดอยางลึกซ้ึง

๑.๒ ขอบขา ยของตรรกวิทยา

ขอบขา ยของตรรกวิทยาอยูทกี่ ารกาํ หนดหรือคนควา กฎเกณฑการใชเ หตผุ ล๔

เหตุผล คือหลักฐานท่ีสนับสนุนหรือยืนยันใหเราเช่ือวา ขอสรุปของเราเปนจริงเช่ือถือได

เหตุผลอยใู นความคิดหรอื ในสมองท่คี ดิ แสดงออกโดยใชภ าษา

การอางเหตผุ ล คอื การอา งหลกั ฐานเพ่ือยนื ยนั ใหเรามนั่ ใจวา ขอสรุปเปนจริง การอางเหตุผล

มี ๒ แบบ คอื การอา งเหตผุ ลแบบนิรนยั และการอา งเหตผุ ลแบบอปุ นยั ซ่งึ จะไดก ลาวถงึ ตอ ไป

เหตผุ ลทนี่ ํามาอา งไดม าจากสองทาง ๒ ทาง คอื จากความรเู ดมิ และจากประสบการณ

การอา งเหตุผลมี ๒ สวน คือ ขออา ง (premise) กับขอ สรุป (conclusion) ในการอา ง

เหตผุ ลแตล ะครง้ั จะมีขอ สรุปเพยี งขอ เดียวสว นขอ อางจะมีมากกวา ๑ ขอกไ็ ด ขอกไ็ ดและอาจมากอ น

หรือหลงั ขออางก็ได หรือในกรณที ี่มขี อ อาง ๒ ขอ ขอสรปุ อาจจะอยตู รงกลางก็ได

แบบมขี อ อางขอเดียว สรุป
(๑) ๑. สมตํารานหนา ปากซอยอรอ ย (ขอสรุป)

๒. เพราะฉนั เคยไปกินมาหลายครั้ง (ขอ อาง)

(ขอสรปุ มากอนขอ อา ง) ขออา ง

๒ กีรติ บญุ เจอื , ตรรกวิทยาทัว่ ไป, พิมพค รงั้ ท่ี ๒, (กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๑๘), หนา (ก) ๑.
๓ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ. ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๓๑, (กรุงเทพฯ :

สาํ นักพมิ พอ กั ษรเจริญทัศน, ๒๕๒๕), หนา ๓๒๐.
๔ สุจิตรา ออนคอม, รองศาสตราจารย ดร., ปรัชญาเบื้องตน, (กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบุรี), หนา ๑๑๔-๑๑๕.

๒๒๑

(๒) ๑. แดงเปนลุงดํา (ขออาง) ขออาง
๒. ดงั น้นั แดงเปนผูช าย ( ขอสรุป) สรุป
( ขออางมากอนขอสรุป) ขอ อาง ขออาง

แบบมขี ออา งมากกวา ๑ ขอ สรปุ
(๑) ๑. ขาวเปนปา ของเขียว ( ขออาง)

๒. ถาเปนผูหญิง ( ขออา ง)
๓. ฉะนนั้ ขาวตองเปน ผูหญิง (ขอ สรปุ )
( ขออางมากอนขอ สรปุ )

(๒) ๑. ขาวตอ งเปนผูห ญงิ (ขอ สรุป) สรปุ
๒. เพราะขาวเปนปาของเขยี ว (ขออา ง) ขอ อา ง ขออา ง
๓. ปา เปนผูห ญิง (ขออา ง)
(ขอ สรปุ มากอนขอ อาง)

(๓) ๑. เขาเปน ปา ของเขียว (ขออาง) ขอ อาง
๒. ขาวตองเปนผูหญงิ (ขอสรุป) สรุป
๓. เพราะปาเปนผหู ญิง (ขอ อาง) ขออาง
(ขอ สรปุ อยูตรงกลางระหวา งขออา ง)

๒. การอางเหตุผลแบบนริ นยั (Deductive Reasoning)

การอางเหตผุ ลแบบนิรนัย คอื การอา งหลักฐานจากส่ิงท่เี ราเชื่อหรือยอมรับกันอยูแลววาเปน
จริง หรือเปนการสรุปความรใู หมจากความรเู ดิมทเี่ รามีอยแู ลว โดยไมต อ งอาศยั ประสบการณ

รปู แบบการอางเหตุผลแบบนิรนยั มี ๓ ชนิดไดแก
๑. การอางเหตผุ ลแบบเง่ือนไข (conditional reasoning)
การอางเหตผุ ลแบบเงื่อนไขประกอบดว ยขออาง ๒ ขอ ซง่ึ เปนความรูเดมิ หรือส่ิงท่ีเรายอมรับ
กนั อยูแลว เพื่อนําไปสูขอ สรุป ๑ ขอ โดยทีข่ ออางขอ หน่ึงจะตองเปนประโยคเงื่อนไข และขออางอีก
ขอหนงึ่ เปน ประโยคธรรมดา
ประโยคเง่ือนไข (conditional Sentence) คือประโยคท่ีเกิดจากประโยคธรรมดา ๒
ประโยค ประโยคท่ีอยูหลังคําวา “ถา ” เราเรียกวา ตัวเง่อื นไข (antecedent) อีกหน่ึงประโยคเรา
เรยี กวา ตวั ตาม (consequent)

๒๒๒

ดังนั้น การอา งเหตผุ ลแบบเงื่อนไข ๑ ครงั้ จงึ ประกอบดว ยประโยค ๔ ประโยค คอื ใน
ประโยคเงื่อนไขมี ๒ ประโยค ประโยคธรรมดา ๑ ประโยค และประโยคสรปุ อีก ๑ ประโยค

จงพจิ ารณาการอางเหตผุ ลแบบมเี งอ่ื นไขดงั ตอไปน้ี
๑. ถาฝนตก (ตวั เง่อื น) ถนนจะเปยก (ตวั ตาม)
๒. ฝนตก

∴ ๓. ถนนเปย ก
เพ่อื งายตอการจดจําจึงใชตัวอกั ษรแทนขอ ความในประโยคดังตอไปน้ี

สมมตใิ ห P แทน ฝนตก
q แทน ถนนเปย ก
⊃ แทน เงอ่ื นไข

จะเขยี นไดด ังน้ี
๑. P ⊃ q
๒. P

∴ ๓. q
กฎการอา งเหตผุ ลแบบมเี งือ่ นไขมี ๔ ขอ ไดแก
กฎขอท่ี ๑ การยืนยนั ตวั เง่อื นเพือ่ สรุปตวั ตาม เปนการอางทีส่ มเหตสุ มผล (Valid) เชน

๑. P ⊃ q
๒. P
∴ ๓. q

(Valid)

กฎขอ ที่ ๒ การ การยืนยนั ตัวตามเพ่ือการยืนยนั ตัวตาม เพ่อื สรุปตวั เงือ่ นเปน การอา งท่ีไม
สมเหตุสมผล (invalid) เชน

๑. P ⊃ q
๒. q
∴ ๓. P
(invalid)

๒๒๓

กฎขอท่ี ๓ การปฏิเสธตวั เงอื่ นเพอื่ ปฏิเสธตัวตามเปน การอา งทีไ่ มส มเหตสุ มผล เชน

๑. P ⊃ q
๒. ∼P
∴ ๓. ∼q
(invalid)

กฎขอท่ี ๔ เปน เปน การปฏเิ สธตวั ตามเพือ่ ปฏเิ สธตัวเง่ือนเปนการอางท่สี มเหตุสมผล เชน
๑. P ⊃ q
๒. ∼q

∴ ๓. ∼p
(invalid)

ตารางแสดงกฎการอางเหตผุ ลแบบเงื่อนไข

กฎขอท่ี ขอ อาง P ขอ สรปุ ความสมเหตสุ มผล
๑ P⊃q q P valid
๒ P⊃q ∼p q invalid
๓ P⊃q ∼q ∼q invalid
๔ P⊃q ∼p valid

๒. รูปนริ นยั (Syllogism)
รูปนิรนัย เปนการอางเหตุผลแบบนิรนัยอีกแบบหนึ่ง ซ่ึงผูคิดคนคืออริสโตเติล (Aristotle
๓๘๔ – ๓๒๒ B.C) นกั ปรชั ญากรกี ผูม ชี ือ่ เสยี งในศตวรรษที่ ๔ กอ นคริสตศกั ราช
กอนที่จะศึกษาการอางเหตุผล รูปแบบนิรนัย จะตองเขาใจความหมายของประโยค
ตรรกวทิ ยา และเทอม ดงั ตอไปนี้
๒.๑ ประโยคตรรกวิทยา (Proposition) คือการแสดงออกของการตัดสินอยางตรงๆ
ประโยคตรรกวทิ ยาตอ งประกอบดวย ๓ สวนคอื ๕
ประธาน (Subject) + ตวั เชื่อม (copula) + ภาคแสดง (predicate)

๕ กรี ติ บุญเจือ, ตรรกวทิ ยาทัว่ ไป, พมิ พค รงั้ ที่ ๒, หนา (ก) ๑๓.

๒๒๔

ตัวเช่ือมมี ๒ ชนิด คือ ตัวเชื่อมยืนยัน ( Affirmative copula) ไดแกค ําวา “เปน” กับ

ตวั เช่ือมปฏเิ สธ (Negative copula)ไดแ กคําวา “ไมเปน”

ประโยคตรรกวิทยา มี ๔ ชนิด ตามชนิดของประธานและตวั เชอ่ื มคือ

ประโยค A เทา กับ ประธานกระจายตัวเชอ่ื มยนื ยัน

ประโยค E เทา กบั ประธานกระจายตวั เช่ือมปฏเิ สธ

ประโยค I เทากบั ประธานไมกระจายตวั เช่ือมยืนยัน

ประโยค O เทา กบั ประธานไมก ระจายตัวเชื่อมปฏิเสธ

A และ I ไดมาจากสละ ๒ ตัวแรกของคําละตนิ วา Affirmo (ฉันยืนยัน)

E และ O ไดม าจากสระ ๒ ตวั ของคาํ ละตินวา ฉนั Nego (ปฏเิ สธ)

สูตรของประโยคตรรกวทิ ยาทงั้ ๔ ชนดิ เขียนไดด งั นี้

A = All S are P

E = All S are not P (No S are P)

I = Some S are P

O = Some S are not P

ตวั อยางของประโยคท้งั ๔

A = All men are mortal. คนทกุ คนเปน มตะ

E = All men are not mortal. คนทกุ คนไมเ ปน มตะ

I = Some men are mortal. คนบางคนเปน มตะ

O = Some men are not mortal. คนบางคนไมเปน มตะ

การแปลงประโยคไวยากรณใหเปนประโยคตรรกวิทยาเปนเร่ืองยุงยากพอสมควร เน่ืองจาก

การใชภ าษาในปจ จบุ ันมคี วามหลากหลายและเปล่ยี นแปลงอยเู สมอ จนทําใหไมสามารถระบุคุณสมบัติ

ของประโยคในเชงิ คณุ ภาพและปรมิ าณไดอ ยา งชัดเจน

อยางไรก็ตามเก่ียวกับเร่ืองนี้ ศาสตราจารย กีรติ บุญเจือ ไดใหขอเสนอแนะในการ
เปลี่ยนแปลงประโยคไวยากรณใ หเปนประโยคตรรกวิทยาไว ๖ ขอ ดงั น้ี๖

(๑) ตีความหมายของประธานวา กระจายหรือไมกระจาย ดว ยคําวา “ทุก” หรือ “บาง” (ถา

พูดลอยๆใหถอื วาประธานกระจาย) ใสคํา “เปน” หรือ “ไมเปน” หลังประทานแลว แตกรณี แลวใส

สวนท่ีเหลือในภาคแสดง เชน สุนัขว่ิงเร็ว = สุนัขทุกตัว เปน สิ่งวิ่งเร็ว คนท่ีน่ังใกลฉันไมยอมทํา

การบาน = คนทน่ี ัง่ ใกลฉ นั ทุกคน ไมเ ปน ผยู อมทาํ การบา น วนั นฉ้ี ันโชคดี = วันน้ีเปน วนั ทฉ่ี นั โชคดี

๖ กรี ติ บุญเจอื , เร่ืองเดยี วกนั , หนา (ก) ๑๕.

๒๒๕

(๒) “มแี ต. ..เทา น้ัน” เขา สูตร Only S are P ตอ งเปลี่ยนเปน All P are S เชน มีแตค นดี
เทานั้นไดรบั รางวัล หมายความวาคนดที ี่ไมไดรับรางวัลก็มี แตถา คนไหนไดรับรางวัล เราก็ตดั สินไดวา
ตอ งเปนคนดี เพราะฉะน้ันตอ งแปลงเปน วา คนไดรบั รางวัลทกุ คนเปนคนดี

(๓) “ชอบ” เชน ฉันชอบกนิ ทเุ รียน หมายความวา ทุเรียนเปนสวนหนึ่งของส่ิงท่ีฉนั ชอบกนิ
แปลงได ๒ อยางคือ ฉนั เปน ผูชอบกนิ ทเุ รียน และทุเรียนทกุ ผล เปน สิ่งที่ฉันชอบกิน เวลาใชในรูป
นิรนัย ตองการรูปไหนก็เลือกใชไดต ามตองการ แตส ว นมากจะใชร ูปหลัง

(๔) “ไม” ถาอยใู นภาคแสดง ตองยา ยมาอยูก บั ตัวเช่อื ม เพราะความหมายเหมือนกัน และถือ
วาเปนตําแหนงประจําของมัน ถามีความจําเปนในรูปนิรนัย ก็ใหอยูในภาพแสดงได เชน นายแดงไม
ขยัน อา นเขียนเปน ประโยคตรรกวิทยาได ๒ อยางคอื นายแดงเปนคนไมขยัน หรือนายแดงไมเ ปนคน
ขยัน อยา งหลงั ถือวาปกติวาอยางแรก แตถา อยูกับประธานจะยายไปอยูกบั ตวั เชื่อม หรือจากตัวเช่ือม
จะยายมาอยกู ับประธานไมได เพราะความหมายไมเหมือนกัน เชน “คนไมรวยเปนคนนาสงสาร” เรา
จะพูดวา “คนรวย ไมเปนคนนาสงสาร” ไมได เพราะคนรวยอาจจะนาสงสารหรือไมก็ได ยกเวนการ
ปฏิเสธประธานทั้งหมด เชน “ไมมนี ักศกึ ษาคนใดเลยไดรับรางวลั ” จะตอ งแปลงเปน “นักศึกษาทุกคน
ไมเ ปน ผไู ดรบั รางวลั ”

(๕) สุภาษิตมอี ยู ๒ ชนดิ คือสุภาษิตสอนและสุภาษิตเตือน ถาเปนสุภาษิตสอนยอมเปนความ
จรงิ ทว่ั ไป ประธานกระจาย เชน ความจรงิ เปนสง่ิ ไมตาย ถาเปน สุภาษิตเตอื นไมห มายความวาตองเปน
เชนน้ันเสมอไป แตเตือนใหร ะวังวา อาจเปน เชนนั้นได ประธานจะไมก ระจาย เชน ไกงามเพราะขน คน
งามเพราะแตง = ไกบ างตวั เปน สตั วง ามเพราะขน คนบางคนเปนผงู ามเพราะแตง

(๖) เม่อื มีการยกเวนใหถือเปนคาํ ขยาย เชน ปลาในบอตายหมดทุกตวั นอกจากปลาชอน =
ปลาในบอ ท่ีไมใชป ลาชอน ทุกตัว เปนสิง่ ตาย

๒.๒ เทอม (term) คือคาํ หรือกลมุ คําท่ใี ชแทนประเภท เชน คน มา เรอื ดอกไม ฯลฯ เทอม
จงึ หมายถึงความหมายของคําหรือกลมุ คาํ และมคี วามสมั พันธก บั คาํ หรอื กลมุ คาํ ทางภาษา ดังนี้๗

(๑) คําคาํ เดยี วเปนเทอมเดยี ว เชน มา แมว คน ตนไม เพราะแทนประเภทเดยี ว
(๒) คําคําเดียวอาจเปนหลายเทอม เชน แดง อาจหมายถึงคน หรืออาจหมายถึงสี

หรืออาจหมายถงึ สุนขั กไ็ ด แตละความหมายถอื เปน ๑ เทอม
(๓) กลุมคํา อาจเปนเทอมเดยี ว เชน ตนไมที่ขึ้นอยูหนาบาน คนที่เดินอยูขางนอก

เพราะแทนประเภทเดียว

๗ ปรชี า ชา งขวัญยืน, การใชเ หตุผล, (กรงุ เทพฯ : มติ รสยาม, ๒๕๕๒), หนา ๑๑๗-๑๑๙.

๒๒๖

(๔) กลุม คํา อาจเปนหลายเทอมไดเ มอื่ ใชในความหมายตางกัน เชน ตาของผม เม่อื

ใชแทนอวัยวะอยางหนึ่งของรางกายก็เปนเทอมหน่ึง เมื่อใชแทนคนท่ีเปนพอของแมก ็เปนอีกเทอม

หนึง่

(๕) คําหรือกลุมคําท่ีเขียนตางกันตามลักษณะตัวอักษรของแตละภาษาหรือเปน

เทอมเดียวกันเมื่อแทนความหมายเดียวกัน เชน นก Bird oiseau เปนเทอมเดียวกนั เพราะแทน

ประเภทเดียวกนั

เทอม ทําหนาท่ี ๒ อยางคือ ทําหนาที่เปนภาคประธาน หรือภาคแสดง ภาค

ประธานจะอยหู นา คํา “เปน” หรอื “ไมเ ปน” สวนภาคแสดงจะอยหู ลงั

เทอมมี ๒ ชนิดคอื ๘

(๑) เทอมกระจาย (distributed ted term) คอื เทอมที่อา งถึงหรือกลาวถึงสมาชิก

ทกุ หนวยในประเภทหนึ่ง เชน คนทกุ คน คนทอี่ ยูในหองน้ีท้งั หมด รวมท้ังช่อื เฉพาะ เชน นายแดง ซ่ึง

เปนประเภทท่ีมสี มาชกิ เพียงหนวยเดยี ว

วิธีดูเทอมกระจาย ถาเปนประธานใหดูความหมายในประโยค ถาเปนภาคแสดงจะ

อยูห ลงั คํา “ไมเ ปน” เชน สตั วทุกตัว ไมเ ปน คน

(๒) เทอมไมกระจาย (undistributed ted term) คือเทอมท่ีกลาวถึงสมาชิก

บางสวนในประเภทหน่ึง เชน คนบางคน แมวเกือบทกุ ตัว ถาเปนภาพแสดงจะอยหู ลงั คาํ วา “เปน ”

จงพิจารณารูปนิรนัยตอไปน้ี

P๑ นักศกึ ษาทกุ คน เปน คนดี

P๒ สมชาย เปน นกั ศึกษา

C สมชาย เปน คนดี

จะเห็นวา รูปแบบของรปู นิรนัย จะมี ๓ ประโยค เปนขออาง ๒ ประโยค บทสรุป ๑ ประโยค

รูปแบบทตี่ ายตวั ของรูปนริ นยั จงึ มี ๓ ประโยค และ ๓ เทอม แตล ะเทอมใช ๒ คร้งั

รปู แบบมาตรฐานของนิรนัย จะมเี ทอมท่ีปรากฏ ๓ ชนดิ ไดแก๙

(๑) เทอมเอก (Magor term) หมายถงึ เทอมทีท่ ําหนา ทีเ่ ปนภาคแสดงของบทสรุป

(๒) เทอมโท (Minor term) หมายถึงเทอมทีท่ ําหนา ทเ่ี ปน ภาคประธานของบทสรปุ

๘ วิทยา ศักยาภินันท,รองศาสตราจารย ดร., ตรรกศาสตร ศาสตรแหงการใชเหตุผล, (กรุงเทพฯ :

สํานกั พมิ พมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร, ๒๕๕๗), หนา ๒๒-๒๓.
๙ ประทีป มากมติ ร, ตรรกวิทยาเบ้ืองตน, (กรงุ เทพฯ : โรงพิมพมหาวทิ ยาลัยเอเชียอาคเนย, ๒๕๔๓),

หนา ๒๕-๒๖.

๒๒๗

(๓) เทอมกลาง (Middle term) หมายถงึ เทอมท่ปี รากฏในประโยคอา งท้งั สองและไมปรากฏ
ในบทสรุป

สว นประโยคอา งในรูปนิรนัยนั้นก็มชี ่อื เรยี กเชน กัน ไดแ ก

(๑) ประโยคอางเอก ( Major premise) คอื ประโยคที่มีเทอมเอกปรากฏอยู จากตัวอยาง

ประโยคอา งเอกก็คอื “นักศกึ ษาทุกคน เปน คนดี”

(๒) ประโยคอางโท (Minor premise) คือประโยคที่มีเทอมโทปรากฏอยู จากตัวอยาง

ประโยคอางโท คอื “สมชาย เปน นกั ศึกษา”

การอา งเหตุผลจะอยใู นรปู แบบมาตรฐานของรปู นริ นยั ไดนั้นจะตองมีลกั ษณะ ๓ ประการคือ

(๑) ทง้ั ๓ ประโยคจะตองเปนประโยคตรรกวิทยา

(๒) การปรากฏตวั ในแตล ะครง้ั ของเทอมเดียวกนั จะตองเหมือนกัน

(๓) ตอ งเอาประโยคอา งเอกขึ้นกอ น ตามดว ยประโยคอา งโท และบทสรุป

การพิสจู นความสมเหตสุ มผลของรปู นิรนัยนน้ั สามารถพสิ จู นไดโ ดยใชกฎความสมเหตุสมผล

(laws of validity) ๕ ขอ ไดแก

(๑) ตองมี ๓ เทอม

(๒) เทอมกลางตอ งกระจายอยางนอ ย ๑ ครัง้

(๓) เทอมท่ีกระจายในบทสรุปจะตองกระจายในประโยคอา งดว ย

(๔) ประโยคอางจะปฏเิ สธทง้ั สองไมได

(๕) ถาประโยคอางปฏเิ สธ บทสรุปตองปฏเิ สธดว ย

ตัวอยางรปู นริ นยั ท่ีไมส มเหตสุ มผล

(๑) คนรวยกค็ ือคนรวย คนจนก็คือคนจน ฉะน้นั คนรวยไมใชค นจน

วิธที ํา P๑ คนรวยทุกคน เปน คนรวย

P๒ คนจนทุกคน เปน คนจน

C คนรวยทุกคน ไมเปน คนจน

ตอบ ผดิ กฎขอ ๑ คอื เทอมไมค รบ ๓ เทอม (มเี พยี งสองเทอม คือเทอมคนรวยกับเทอมคน

จน

(๒) ขวญั ใจเปน นสิ ติ จุฬาฯ ผอ งพรรณกเ็ ปนนสิ ติ จุฬาฯ เพราะฉะนน้ั ผองพรรณเปนขวัญใจ

วิธที าํ P๑ ขวัญใจ เปน นิสิตจฬุ าฯ

P๒ ผอ งพรรณ เปน นิสติ จฬุ า

C ผอ งพรรณ เปน ขวญั ใจ

ตอบ ผดิ กฎขอ ๒ คอื เทอมกลาง (นิสติ จุฬาฯ) ไมก ระจาย

๒๒๘

(๓) นกั เรียนเทาน้ันเขา มาในบริเวณนีไ้ ด นายขาวไมอยูในบริเวณน้ี เพราะฉะนั้นนายขาวไมใ ช

นักเรียน

วธิ ที ํา P๑ ผเู ขา มาในบรเิ วณนี้ทกุ คน เปน นักเรียน

P๒ นายขาว ไมเ ปน ผเู ขา มาบริเวณน้ี

C นายขาว ไมเปน นกั เรยี น

ตอบ ผดิ กฎขอ ๓ คอื เทอมที่กระจายในบทสรปุ (คอื เทอมนกั เรยี น) ไมกระจายในประโยค

อา ง

(๔) คนดยี อมไมเปน ชกู บั ภรรยาคนอ่ืน นายรักศกั ดไ์ิ มเ คยเปนชกู บั ภรรยาคนอ่ืน ฉะน้นั นายรัก

ศกั ดเ์ิ ปน คนดี

วิธีทํา P๑ คนดีทกุ คน ไมเ ปน ผูเ ปน ชูก ับภรรยาผูอ่นื

P๒ นายรักศกั ด์ิ ไมเปน ผเู ปน ชกู ับภรรยาผอู น่ื

C นายรกั ศกั ด์ิ เปน คนดี

ตอบ ผดิ กฎขอ ๔ คอื ประโยคอา งปฏิเสธท้งั สองประโยค

(๕) คนบางคนข้เี มา คนขีเ้ มาไมดี ฉะนน้ั คนบางคนดี

วิธที ํา P๑ คนขี้เมาทุกคน ไมเปน คนดี

P๒ คนบางคน เปน คนขเ้ี มา

C คนบางคน เปน คนดี

ตอบ ผดิ กฎขอ ๕ คือถาประโยคอางปฏเิ สธ บทสรุปตอ งปฏิเสธดวย

ตัวอยา งรปู นิรนยั ทสี่ มเหตุสมผล คอื ไมผดิ กฎขอใดเลย

(๑) ไมม คี นหวิ ใดไมกิน แดงหิว เพราะฉะนน้ั แดงกิน

วิธที าํ P๑ คนหิวทุกคน เปน ผูกนิ

P๒ แดง เปน ผูหิว

C แดง เปน ผูกนิ

(๒) คนมีชือ่ เสยี งนาสรรเสรญิ เสือใบเปน คนมีชื่อเสียง ฉะน้นั เสือใบหนา สรรเสรญิ

วิธที าํ P๑ คนมีช่อื เสยี งทุกคน เปน คนนา สรรเสรญิ

P๒ เสือใบ เปน คนมชี อ่ื เสยี ง

C เสือใบ เปน คนนาสรรเสรญิ

(๓) เลก็ เปนโลหะ โลหะเปนสือ่ ไฟฟา เพราะฉะนน้ั เหลก็ เปนสอ่ื ไฟฟา

วธิ ีทาํ P๑ โลหะ เปน สอ่ื ไฟฟา

๒๒๙

P๒ เหล็ก เปน โลหะ

C เหล็ก เปน ส่ือไฟฟา

หมายเหตุ การท่ขี อ สรปุ จะเปนจรงิ น้นั ขึน้ อยกู บั ปจจยั ๒ ประการคอื

(๑) การอา งถกู ตองตรงกับความจรงิ

(๒) การอา งสมเหตสุ มผล

ความเท็จจรงิ เปนคา ของความจริงหรอื ความเท็จของประโยค

ความสมเหตุสมผล เปน ความถกู ตองหรือไมถกู ตอ งของการอางเหตผุ ล

๒.๓ เหตุผลยอ (Enthymeme)

เหตุผลยอ คอื การแสดงออกของการอางเหตุผล โดยมีการละประโยคไว ๑ ประโยค ซึง่

ประโยคท่ีละไวอ าจเปนประโยคอา งเอก หรอื ประโยคอางโท หรือบทสรุปกไ็ ด

เปรยี บเทียบรูปแบบของรปู นริ นัยกบั เหตุผลยอ

รูปนริ นยั (Syllogism) เหตผุ ลยอ (Enthymeme)

P๑ คนขยันทุกคน เปน คนสอบได P๑…………………………………….…..(ละไว)

P๒ สมชาย เปน คนขยัน P๒ สมชาย เปน คนขยนั
C สมชาย เปน คนสอบได C สมชาย เปน คนสอบได

ดังน้ันเหตุผลยอก็คือ การอางเหตุผลรูปนิรนัย ท่ีละขอความบางขอความไวนั่นเอง การอาง

เหตุผลในชีวิตประจาํ วนั ของคนเรานิยมใชการอา งแบบเหตุผลยอ เพราะถือวาขอความท่ลี ะไวน้ัน เปน

ความจริงที่ทกุ คนรูกันอยูแลว จึงไมจ ําเปนตอ งพูดอีกใหเยิ่นเยอ เชน แทนท่จี ะพูดวา “คนขยันทุกคน

สอบได สมชายขยัน เขาตอ งสอบไดแน” ก็พูดส้นั ๆวา “สมชายขยัน เขาตอ งสอบไดแน” หรือถามีคน

มาบอกเราวา “สมชายเปน คนไมดีเพราะเขากินเหลา” ขอ ความที่ละไวคือ “คนกินเหลาทุกคนเปนคน

ไมด ”ี เขียนเปน รูปนิรนัยไดด ังน้ี

P๑ คนกินเหลา ทกุ คน ไมเ ปน คนดี (ละไว)

P๒ สมชาย เปน คนกินเหลา

C สมชาย ไมเปน คนดี

จะเห็นไดวา ๒ ประโยคคือ P๒ และ C น้ี มี ๓ เทอมครบอยูแลว คอื “สมชาย” “คนกิน

เหลา” และ “คนไมดี” เทอมที่ถูกใชแลว ๒ ครั้งคือ “สมชาย” ดังนั้นประโยคทล่ี ะไวจะตอง

ประกอบดว ยเทอม “คนกนิ เหลา” กับ “คนไมดี” ถา เราลองแตงประโยคท่ีละไววา “คนไมดีทุกคน

เปนคนกนิ เหลา ” กจ็ ะได รูปนิรนยั เปน

P๑ คนไมดีทกุ คน เปน คนกนิ เหลา

P๒ สมชาย เปน คนกนิ เหลา

C สมชาย เปน คนไมดี

๒๓๐

รปู นริ นัยนี้ไมสมเหตสุ มผล เพราะผิดกฎขอ ๒ คอื เทอมกลางไมกระจาย เราจึงกลับประโยค

เสยี ใหมเ ปน

P๑ คนกินเหลา ทุกคน ไมเ ปน คนดี

P๒ สมชาย เปน คนกินเหลา

C สมชาย ไมเ ปน คนดี

การทําเหตุผลยอใหเปนรูปนิรนัย ตองพยายามทําใหสมเหตุสมผล (คือไมผิดกฎ ๕ ขอ)

เสยี กอ น ถาตรงกบั ขอ เท็จจริงดวย สมเหตุสมผลดว ย กต็ อ งยอมรับวา ขอสรปุ น้นั เปน จริง เช่อื ถอื ได

จงพจิ ารณาเหตุผลยอดงั ตอ ไปน้ี

เพชรราคาแพงเพราะหายาก

เขยี นในรูปนริ นยั ไดดังน้ี

P๑ สิง่ หายาก เปน ส่งิ ราคาแพง(ละไว)
P๒ เพชร เปน สง่ิ หายาก

C เพชร เปน ส่ิงราคาแพง

วจิ ารณโตแยงไดว า สิง่ หายาก เชน ขฟี้ นเสอื ราคาไมแพง เพราะไมมีคนตองการ

๓. การอา งเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning)

การอางเหตุผลแบบอุปนัย คือการสรุปความรูใหมโดยอางหลักฐานจากประสบการณ
กลาวคือ การท่เี ราเชอ่ื อะไรอยางหนึ่งวาเปน จริง เพราะเราเคยพบเหน็ เรือ่ งทาํ นองเดยี วกันวาเปนอยาง
นั้นมากอน เมื่อเรามีประสบการณแ บบเดียวกนั หลายๆคร้ัง เราก็สรุปเปนความรูทั่วไปเก่ียวกับส่ิงน้ัน
ได เชน เราเคย เห็นสิง่ ตา งๆ ที่ทาํ ดวยไมลอยนา้ํ เรากส็ รปุ เปนความจริงทั่วไปวา “ไมยอ มลอยน้ํา”

กอนท่ีจะกลาวถึงการอางเหตุผลแบบอุปนัยอยางละเอียด เพิ่งเขาใจความแตกตางระหวาง
ความจรงิ เฉพาะกบั ความจรงิ ทว่ั ไปดังนี้

ความจริงเฉพาะ (Fact) คือความจริงเก่ียวกบั สิ่งใดสิ่งหน่ึง หรือเหตุการณใ ดเหตุการณหนึ่ง
โดยเฉพาะ

ความจริงท่ัวไป (Truth) คอื ความจริงของสิ่งทกุ สิ่ง หรือของเหตุการณทุกเหตุการณท ี่อยูใน
ประเภทเดียวกัน

๒๓๑

ตัวอยา งความจริงเฉพาะกับความจริงทัว่ ไป

ความจรงิ เฉพาะ ความจรงิ ทัว่ ไป

(๑) ไมทอ นนีล้ อยน้ํา (๑) ไมย อมลอยนา้ํ

(๒) นายดาํ ถูกรถชนตาย (๒) คนยอ มตาย

(๓) วันนสี้ มชายไปดลู ะคร (๓) พระอาทติ ยขึน้ ทางทศิ ตะวนั ออก

(๔) เมื่อวานแมค าปากคลองตลาดตีกัน (๔) น้าํ บริสุทธ์ิประกอบดว ยออกซเิ จน ๑ สวน

(๕) เสอื ไบปลน บานนายพลผูหน่ึง ไฮโดรเจน ๒ สว น

๓.๑ การอปุ นัยแสวงหาความจรงิ ทวั่ ไป
ในการหาความรูของคนเรานั้น เราตองการรูความจริงทั่วไป เพราะความจริงเฉพาะนั้นมี
ประโยชนนอย เนื่องจากเปนความจริงของสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยเฉพาะ เมื่อสิ่งนั้นเส่ือมสลายสูญส้ินไป
ความรูเก่ียวกับสิ่งน้ันยอมหมดความหมายไปดวย แตความจริงทั่วไปเปนความจริงของทุกส่ิงใน
ประเภทนัน้ แมสง่ิ ใดส่งิ หนง่ึ เปนประเภทน้ันจะสญู สิ้นไปหรือเกดิ ขึ้นใหม เรากย็ งั คงมคี วามรูเกีย่ วกับส่ิง
เหลา นัน้ ตวั อยางเชน ถาเรารูเพยี งวา “ไมท อ นนีล้ อยน้ํา” เมื่อไมท อ นน้ีผพุ ังไป ความรูเกย่ี วกบั ไมทอน
นี้ก็ยอมไรประโยชน แตถา เรามีความรูท่ัวไปวา “ไมยอมลอยน้ํา” แสดงวาเรารูวาไมทุกทอนลอยนํ้า
ดงั น้นั แมวาไมท่มี อี ยจู ะผพุ ังไปบาง แตค วามรูท่วี า “ไมย อ มลอยนา้ํ ” กย็ งั มี ประโยชน เพราะเรายงั คงรู
ตอไปวา ไมท อ นอ่ืนๆ ๆที่จะเกดิ ขึน้ ตอไปในอนาคตก็เปนสงิ่ ลอยน้ําดวยเชน กนั
วิธีการอุปนัยเปนการสรุปความจริงท่ัวไป โดยอาศัยความจริงเฉพาะท่ีไดจากประสบการณ
กลาวคอื การที่เราเคยรูความจริงเก่ียวกับสิ่งเฉพาะหลายๆสิ่ง ที่อยูในประเภทเดียวกัน ทําใหเราสรุป
เปน ความจริงทั่วไปวา ทุกๆส่งิ ทอี่ ยใู นประเภทนนั้ ยอมเปน อยางท่ีเราเคยรูมาดวย ตวั อยางเชน เรารูวา
นายดาํ ถูกรถชนตาย นายเขยี วเปน มะเรง็ คุณยายของเพื่อนตายเพราะความชรา และเรารูวา มีคนอืน่ ๆ
ๆอีกมากที่ตายไป ท้ังหมดท่ีเรารูมานั้นเปนความจริงเฉพาะของแตละคน เราจึงสรุปเปนความจริง
ทว่ั ไปเกี่ยวกับคนทกุ คนวา “คนยอมตาย” ทัง้ ๆที่ตวั เราก็ยังไมต าย เพ่อื นๆก็ยังไมต าย แตเราก็เชื่อวา
ตัวเราเองและเพือ่ นๆ ๆรวมท้ังคนอน่ื ๆ ทีจ่ ะเกิดมาในอนาคตตอไปกต็ องตาย เพราะเปนคนเหมือนกนั
กลา วคือ เราสรุปวาทุกๆสง่ิ ที่อยใู นประเภทของคนเปน สงิ่ ตอ งตาย

๓.๒ วธิ ีอุปนยั เปน การสรุปเกนิ ขออาง
การสรปุ ความจริงท่ัวไปโดยอาศัยหลักฐานจากความจริงเฉพาะทีไ่ ดจากประสบการณนั้น เปน
การสรุปเกินขออาง หรือเกินหลักฐานท่เี รามีอยู เมอื่ เราเคยเห็นหรือเคยรูมาเพียงวา “คนทกุ คนตอง
ตาย” ทง้ั ๆทเ่ี รายงั เห็นคนบางคนมชี ีวิตอยู เราเคยเห็นคนตายในอดีตแตกลับสรุปหรือเชื่อตอไปวา ใน
อนาคตคนกต็ อ งตายท้งั ทีเ่ รายงั ไมส ามารถเหน็ เหตุการณใ นอนาคตได

๒๓๒

ดงั นั้นการอปุ นัยจึงเปนการสรุปเกนิ ขออา ง คอื เปนการกระโดดจาก “บางส่ิง” ไปสู “ทุกส่ิง”
เปนการกระโดดจากอดีตไปสูอนาคต เพราะเปนการอาศัยหลักฐานที่เรารูเพียงบางสวนแลวสรุปวา
ท้ังหมดท่อี ยใู นประเภทเดียวกันตองเปน อยางนัน้ ดวย เปนการอาศยั หลักฐานจากประสบการณใ นอดีต
มาสรปุ วา ในอนาคตส่ิงท่ีอยใู นประเภทเดียวกัน กย็ อ มเปน อยางในอดีตดว ย

๓.๓ ความนาเชอ่ื ถอื ของวิธีอุปนัย
ถาพิจารณาตามกฎของการอางเหตผุ ลแบบนิรนัยท่ีไดก ลาวมาแลว จะเห็นวาการอา งเหตุผล
แบบอุปนัยซ่ึงเปนการสรุปเกินขออาง หรือเกินหลักฐานที่มีอยูน้ัน เปนการสรุปท่ีไมมีสมเหตุสมผล
เพราะเราไมอาจแนใจไดรอยเปอรเซ็นต วาขอสรุปจะถูกตอง เน่ืองจากเปนการสรุปถึงสิ่งที่ยังไม
เกดิ ข้ึนในอนาคต เราไมอาจแนใจไดรอยเปอรเซ็นต วาส่ิงท่ีจะเกดิ ขึ้นในอนาคตจะตองเกิดเหมือนกัน
ในอดตี มันจงึ เปนเพียงความเชอื่ ของเราเทาน้นั วาสง่ิ ที่จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตนา จะเกิดเหมอื นในอดีต
ดังน้ันขอสรปุ หรือความรูทีไ่ ดจ ากการอุปนัยจงึ ไมแ นนอนตายตวั เหมือนความรูท่ไี ดจากการนิร
นยั ในการนิรนยั ถาขออางเปน จรงิ และการอา งสมเหตุสมผล ขอสรุปยอมเปนจริงอยางแนนอนตายตัว
แตขอสรุปของการอุปนัยน้ันไมใชเร่ืองที่เราจะมาตัดสินวาจริงหรือเท็จอยางใดอยางหนึ่งใหแนนอน
ตายตัวลงไป แตเ ปนเรื่องท่ีวา ถา เรามีหลักฐานจากประสบการณในอดีตอยูจํานวนหนึ่ง แลวเราสรุป
เปนความจริงทวั่ ไปออกมานั้น ขอสรุปของเรานาเชื่อถือมากนอยเพียงใดเพราะฉะน้ันเรื่องของการ
อปุ นัยจึงเปน เรอื่ งของความนาจะเปน (probability ) ไมใชเ รอื่ งของความแนนอนตายตัว (certainty)
วธิ กี ารนิรนัยแมจ ะใหค วามรูที่แนนอนตายตัว แตก็ไมไดใ หความรูใหมแ กเ รา เปนแตเพียงการ
แยกแยะความรูเกาของเราออกมาใหเรารูชัดข้นึ เทา น้ัน สวนวิธีการอปุ นัยนั้นเปนการสรุปเกินขอ อาง
จึงไดความรูใหมเกิดข้ึน แตการสรุปเกินขอ อางก็ทําใหขอสรุปทีไ่ ดนั้นไมแนนอนตายตัว ถาเราไมย อม
สรปุ เกนิ ขออา งเพื่อท่ีจะใหไดขอสรปุ ท่ีแนน อนตายตวั เราก็จะไมไดความรูใ หมเกิดข้นึ
ในการพิจารณาความสมเหตุสมผลของการอุปนัย เราจึงไมไดพิจารณาในแงท่ีวาเม่ือมี
หลักฐานอยางนี้ การสรุปอยางน้ีถูกหรือผิด แตเราจะพิจารณาในแงท่ีวาเม่ือมีหลักฐานหรือขอมูล
จํานวนหน่งึ การสรุปอยา งนน้ี า เชือ่ ถือมากนอยเพียงใด กลาวคือ เราจะไมต ัดสินลงไปอยางเด็ดขาดวา
ขอ สรุปเปนจริงหรือเท็จ แตจะดูวาโอกาสทข่ี อสรุปจะเปนจริงมีอยูมากนอยเพียงใด ถา ขอ สรุปมีความ
นา เช่อื ถือมาก หรอื นา จะเปนไปไดมาก เราก็พูดไดวาการสรุปอยางน้ีคอ นขา งสมเหตสุ มผล ถา ขอ สรุป
ไมค อยนา เช่ือถือหรือไมคอ ยนา จะเปนไปได เราก็พูดไดว าการสรปุ อยา งนี้ไมค อ ยสมเหตุสมผล
ความนาเชอ่ื ถอื ของการอุปนัยนัน้ ขน้ึ อยูกับเงื่อนไขดังตอไปนี้
(๑) ปริมาณของหลักฐาน ถามีหลักฐานนอย ความนาเช่ือถือของขอสรุปก็จะมีนอย ยิ่งมี
หลักฐานหรือประสบการณมากขึ้นเทาไหร ขอสรุปกม็ ีความนาเชื่อถือไดมากขึ้นเทา นั้น ถาเราเคยกิน
ปลาหมกึ ยาง ๒ ครั้ง แลวเกิดการคันตามตัวทั้ง ๒ ครั้ง จึงสรุปวา “ฉนั แพปลาหมึกเพราะกนิ ทีไรตอง

๒๓๓

ทําทกุ ที” การสรุปเชนน้ีเปนการสรุปความจริงทั่วไป เพราะสรุปวา ฉนั กินปลาหมึกจะตองคนั ทุกคร้ัง
คอื เชื่อวาถากนิ ตอไปอีกก็จะตองคันอกี การกินปลาหมึกเพียง ๒ คร้ังแลวสรุปวาแพปลาหมึก ยอม
นาเชอ่ื ถอื ไดนอ ยกวา การทเ่ี คยกิน ๑๐ ครัง้ แลว เกดิ อาการคนั ทง้ั ๑๐ คร้งั เพราะ ๒ ครั้งแรกท่ีคนั ตาม
ตัว อาจเกิดจากสาเหตุอ่ืน เชน แพสารในนํ้าจิ้มปลาหมกึ ก็ได แตถาลองกินดูถึง ๑๐ คร้ัง หลายๆราน
มนี ้ําจิ้มบาง ไมมีนํ้าจ้ิมบาง ก็ยังคงมีอาการคันตามตัว การสรุปวาฉันแพปลาหมึก ก็ยอมนาเช่ือถือได
มากกวา การกินเพยี ง ๒ คร้ัง

(๒) หลักฐานนั้นเปนตัวแทนที่ดีของเร่ืองที่สรุปหรือไม ขอสรุปจะเชื่อถือไดมากก็ตอเมื่อ
หลักฐานน้ันเปนตัวอยางที่ดีของสิ่งท้ังหมดท่ีเราตองการสรุป การกินปลาหมึกยางแลวสรุปวา แพ
ปลาหมึก น้ันนาเช่ือถือนอยกวาการกินท้ังปลาหมึกยางและปลาหมึกสดที่ปรุงเปนอาหารชนิดตางๆ
เพราะปลาหมึกยางอาจไมเปนตัวแทนที่ดีของปลาหมึกทั้งหมดก็ได เนื่องจากปลาหมึกยางน้ันเก็บไว
นาน อาจมีเช้ือราที่ทําใหคันอยู เม่ือกินปลาหมึกยางจึงทําใหเกิดอาการคันขึ้นตามตัว ฉะนั้นถา จะให
ขอสรุปวา “ฉันแพปลาหมึก” นาเชื่อถือมากขึ้น ก็ตองลองกินปลาหมึกหลายๆแบบ ถาลองกิน
ปลาหมึกสดที่ปรุงเปนอาหารชนิดตางๆ ดูแลวยังทองเสียอยูอีก ก็สรุปวา “ฉันแพปลาหมึก” ก็
นา เช่อื ถอื มากขึ้น

(๓) ความซับซอนของเร่ืองท่ีสรุป ถาเร่ืองที่ตองการสรุปมีลักษณะซับซอนนอย ขอสรุปก็
นาเชือ่ ถอื ไดม าก แตถ าเร่ืองทต่ี อ งการสรุปมีลักษณะซับซอ นมากขึ้น ขอ สรุปก็มีความนาเช่ือถือนอยลง
เพราะการสรุปกระโดดจากความจริงเฉพาะไปสูความจริงทั่วไปนั้น ทําไดโดยมีความเช่ือพื้นฐาน
อันหน่ึงวา มีความสมา่ํ เสมอในธรรมชาติ คอื สิ่งที่อยูในประเภทเดียวกนั ยอมมลี ักษณะเหมอื นกัน และ
จะเปลยี่ นแปลงไปเหมอื นกัน ถา ส่ิงนั้นมคี วามซบั ซอนนอย โอกาสทีม่ ันจะเปล่ียนแปลงไปเหมือนกันก็
มมี าก แตถา สงิ่ น้ันมคี วามซบั ซอ นมาก โอกาสทีม่ นั จะเปลี่ยนแปลงไปเหมือนกนั กม็ นี อ ยลง

เร่ืองความซับซอนของเร่ืองที่สรุปท่ีมีผลตอ ความนาเช่ือถือของขอสรุปน้ี จะเห็นไดชัดข้ึนใน
การศกึ ษาเกยี่ วกบั เรอื่ งมนษุ ย ถา เปนการศึกษาเกี่ยวกบั เร่ืองทางรางกาย ขอสรุปท่ีไดมักเชื่อถือไดม าก
แตถาเปนการศึกษาเก่ียวกับพฤติกรรมซึ่งเปนเร่ืองทางจิตใจ ขอสรุปในเรื่องนี้มักเชื่อถือไดนอยกวา
การศึกษาเร่ืองทางกาย เพราะเร่ืองของรางกายนั้นซับซอนนอยกวาเร่ืองของจิตใจ เมื่อคนไขคนหน่ึง
ปวดทอง หมอใหกินยาอยางหน่ึงที่คนปวดทองกินแลวเคยหายทุกคน เรายอมเช่ือไดมาก วาเขาจะ
หายปวดทองดวย แตก ารทีจ่ ิตแพทยใหก ารรกั ษาคนทปี่ วยเปน โรคจติ แกคนไขค นหนึ่งเหมอื นคนไขโรค
จิตคนอื่นๆ ที่มีอาการอยางเดียวกันซ่ึงเคยรักษาหายมากอน โอกาส เขาจะหายปวยจากโรคจิตยอม
นอ ยกวา ที่เขาจะหายจากปวดทอ งเม่ือกนิ ยาแกปวดทอง หรือการท่พี ูดวา การท่จี ะเล้ียงเด็กใหโตขึ้น มี
รางกายแข็งแรง ตองทาํ อยางน้อี ยางนั้น ยอมนาเชื่อถือไดมากกวาการพดู วา การเล้ียงเด็กใหโตขนึ้ มี
จิตใจ และความประพฤติดี ตอ งทําอยางน้ีอยางน้ัน นี่ก็เพราะเร่ืองของจิตใจมีความซบั ซอนมากกวา
รางกาย การสรุปเกยี่ วกบั เรือ่ งของจติ ใจจงึ นาเชือ่ ถอื ไดน อยกวาการสรปุ เรอ่ื งของรา งกาย

๒๓๔

๓.๔ ความเช่ือพ้นื ฐานของวธิ ีอปุ นัย
การทว่ี ิธีอปุ นยั ยอมใหม ีการสรุปเกินขอ อา งได คอื ยอมใหมีการสรุปจากบางส่ิงไปสูทุกสิ่ง จาก
อดีตไปสอู นาคต ก็เพราะวธิ ีอุปนัยมีความเช่ือพื้นฐาน (pre-supposition หรอื postulate) อยวู า
(๑) ธรรมชาติมกี ฎเกณฑที่แนนอนตายตัว วิธีอุปนัยเช่ือวาสง่ิ ท้ังหลายในธรรมชาติจัดเปน
ประเภทๆ ได และสิ่งทอ่ี ยูในประเภทเดยี วกันยอมอยูใตกฎเกณฑเ ดียวกัน ตัวอยางเชน ทุกสิ่งที่อยูใน
ประเภทของนํ้าบริสุทธิ์ยอมมีลักษณะเหมือนกัน และเปล่ียนแปลงไปภายใตกฎเกณฑเดียวกัน
กลาวคือนํา้ บรสิ ุทธท์ิ ุกหยดประกอบดวย ไฮโดรเจน ๒ สว น และออกซเิ จน ๑ สวน เหมือนกัน และน้ํา
บรสิ ทุ ธิ์ทกุ หยดเมือ่ นาํ มาตมทีค่ วามกดอากาศระดับน้ําทะเล จะเดือดที่อุณหภูมิ ๑๐๐ องศาเซลเซยี ส
เสมอ ความเชื่อท่ีวาธรรมชาติมีความสม่ําเสมอ มีกฎเกณฑท่ีแนนอนตายตัว หรือท่ีเราเรียกกันวา กฎ
ธรรมชาติ (Law of Nature) นี่เอง ทาํ ใหเราสามารถสรุปจากบางส่ิงไปสูทุกส่ิงได สรุปจากอดีตไปสู
อนาคตได เมอื่ เราตมนํ้าบริสุทธบ์ิ างหยดแลวเหลือท่ี ๑๐๐ องศา เราก็เช่ือตอไปวานํ้าทุกหยดจะ
เดอื ดที่ ๑๐๐ องศา ดว ยเชนกนั เมอ่ื เราเคยตม นํ้าบริสุทธ์ิในอดีต แลวเดือดท่ี ๑๐๐ องศา เราก็เช่ือวา
ในอนาคตถาเราตม นา้ํ บรสิ ุทธ์อิ ีก มนั ก็จะเดือดที่ ๑๐๐ องศา เหมอื นทเี่ คยเปนมาในอดีต การแสวงหา
ความรูแบบอุปนัย มีความเช่ือพื้นฐานวา กฎธรรมชาติมีอยูจริง และตองการแสวงหาความรูคือ
ธรรมชาตเิ หลา นี้
(๒) ทุกส่ิงที่เกิดข้ึนมีสาเหตุท่ีแนนอนตายตัว ตามความเช่ือท่ีวามีความสม่ําเสมอใน
ธรรมชาติ และเราสามารถหากฎเกณฑมาอธิบายความเปนไปของสิ่งตางๆ ในธรรมชาติไดนั้นยอมมา
จากความเชื่อท่ีพ้ืนฐานกวาน้ีอีก คือความเช่ือที่วาเหตุการณทั้งหลายไมไดเกิดข้ึนโดยบังเอิญหรือ
เกิดข้ึนลอยๆ เมื่อไหรก็ได แตทุกสิ่งท่ีเกิดข้ึนยอมมีสาเหตุ และเปนสาเหตุที่แนนอนตายตัวดวย
กลาวคือสาเหตุอยางหนึ่งยอมใหผลอยางหน่ึง สาเหตุอีกอยางหนึ่งยอมใหผลอีกอยางหนึ่งที่ตางกัน
ออกไป สาเหตุอยางเดียวกันยอมทําใหเกิดผลอยางเดียว ความเช่ือดังกลาวน้ีเรียกวา กฎการเปน
สาเหตุ (principle of causation)
ถาทุกส่ิงเกิดขึ้นโดยบังเอิญ ไมมีสาเหตุท่ีแนนอน ความสมํา่ เสมอหรือกฎเกณฑในธรรมชาติ
ยอมมีไมไ ด ถาเราตมน้ําบริสุทธ์ิ ณ ความกดอากาศระดับน้ําทะเล ครั้งแรกเดือดที่ ๑๐๐ องศา คร้ังท่ี
๒ เดอื ดท่ี ๙๐ องศา คร้ังท่ี ๓ เดอื ดที่ ๑๑๐ องศา ถา เปนอยางนี้เราก็ไมอาจแนใจไดวาการตมนํ้า
บริสุทธิ์ครัง้ ตอตอ ไป จะเดอื ดที่อุณหภูมกิ ่ีองศา เราก็จะไมสามารถหากฎเกณฑใ นเร่ืองจุดเดอื ดของน้ํา
บริสุทธ์ิได แตจากประสบการณ เราพบวาทกุ คร้ังท่มี ีสาเหตุอยางเดียวกันเกิดขน้ึ ผลอยางเดียวกันจะ
เกิดขึ้นเสมอ เราจึงเชื่อวาทุกส่ิงท่ีเกิดข้ึนมีสาเหตุที่แนนอนตายตัว ทุกครั้งท่ีมีสาเหตุ คือมีความกด
อากาศระดบั นํ้าทะเล มนี ้ําบริสุทธ์แิ ละมีอุณหภมู ิ ๑๐๐ องศา ผลคอื น้าํ เดือดยอมเกิดขน้ึ เสมอ
ความเชื่อท่ีวาสาเหตุอยางเดียวกันยอมทําใหเกิดผลอยางเดียวกันนี้เอง ทําใหเราสามารถ
ทํานายไดวา ถา มเี หตอุ ยางนีจ้ ะเกดิ ผลอยางไรขึน้ ในอนาคต ท้ังนี้กโ็ ดยอาศัยประสบการณในอดีตที่

๒๓๕

เคยพบมาวา เมือ่ เคยมีเหตอุ ยางน้ี ผลอยางน้ีเคยเกดิ ข้ึนตามมาเสมอ ดงั น้ันถาในอนาคตมีเหตอุ ยางน้ี
อีก ผลอยางน้ีก็คงจะเกิดขึ้นอีกเปนแน ความจริงแลว การหาความรูเรื่องกฎธรรมชาติก็คือ การหา
สาเหตขุ องสง่ิ ตางๆ ที่เกิดข้ึนในธรรมชาตินัน่ เอง ในเมือ่ สาเหตอุ ยางเดียวกันกอ ใหเกดิ ผลอยางเดียวกัน
ข้ึนเสมอ ดังน้ันเม่ือมีผลอยางหน่ึงเกิดขึ้น ผลน้ันตองเกิดจากสาเหตุหนึ่งที่แนนอนตายตัว ถาเรามี
ประสบการณในเร่ืองนนั้ มากพอ และมีวิธีสงั เกตท่ีดพี อ เรากอ็ าจจะบอกไดว าสาเหตนุ น้ั คืออะไร

๔. เหตผุ ลวบิ ัติ (Fallacy)

ผลวิบัติในความหมายของนักตรรกวิทยา หมายถึงขอบกพรองหรือความผิดพลาดในการใช
เหตผุ ล ซึ่งขอบกพรองหรอื ความผิดพลาดดงั กลาวเปนเหตใุ หคนเราตัดสนิ ปญ หาตางกัน

สาเหตุทค่ี นเราตัดสินปญหาตางกันทั้งๆ ทีต่ างฝายตา งก็ใชเหตุผล เปนเพราะวาคนสวนมาก
ยังไมเขา ใจลักษณะของเหตุผลดีพอ นักตรรกวิทยาจึงไดพยายามศกึ ษาวิเคราะหเหตุผลทีม่ นุษยใชกัน
อยูจนสามารถเห็นไดวา การที่คนเราตองตัดสินปญหาตางกัน อาจเกดิ จากสาเหตุใดสาเหตุหน่ึงใน ๔
สาเหตตุ อไปนี้คอื

๔.๑ การใชภ าษาอยา งไมร ัดกมุ ในการอางเหตผุ ล

ในการอางเหตุผล คนเราตองอาศัยภาษาเปนส่ือ และในการใชภาษานั้น เราอาจไมเขาใจ

ภาษาท่ีใชดีพอ ทาํ ใหอกี ฝายหนึ่งเขาใจไมตรงกันได ภาษาจึงมีสวนทําใหคนเราเขาใจกันไดหรือเขาใจ

ผิดกันก็ได ดงั นั้นในการศกึ ษาลักษณะท่ีถูกและผิดของเหตุผล นอกจากจะศึกษาเหตุผลแลว ยังตอง

ศกึ ษาภาษาซงึ่ เปน สอ่ื ในการอางเหตุผลดว ย วามีสวนทาํ ใหคนเราเขา ใจเหตุผลของอีกฝายหน่ึงไขวเขว

ไปไดอ ยางไร

จงเปรยี บเทยี บการอา งเหตผุ ล ๒ แบบนี้

(๑) ดาํ รูวา แดงทํารายขาวจริง (๒) ดํารูวาแดงไมด ี

ดําไมเขาขางคนท่ีทํารา ยผอู นื่ ดาํ เปน คนไมเ ขา ขางคนดี

เขาจงึ ไมเ ขาขา งแดง เขาจงึ ไมเขาขา งแดง

จะเห็นวา ผลทอ่ี างในขอ ๑ อานแลวเขาใจดกี วาในขอ ๒ เพราะขอความท่ีนํามาอางในขอ
๑ บอกขอเทจ็ จรงิ ทเ่ี ราพสิ จู นไ ดว า แดงทาํ รา ยขาวจรงิ หรือไม และดําไมเ ขาขางคนทีท่ ํารายผูอ่ืนเสมอ
ไปหรือไม แตขอความในขอ ๒ อานไมเขาใจชัดเจนเหมอื นในขอ ๑ เพราะใชคําท่ไี มอาจพสิ ูจนได
ดว ยขอ เท็จจริง “แดงไมด ี” เปนขอ ความที่เราหาขอเทจ็ จริงมาตัดสินไมได นอกจากจะอธิบายวา “ไม
ดี” หมายความวา อยางไร ถาไมอธิบายกไ็ มเ ขาใจ “ไมดี” อาจหมายความวา “ทาํ รายผูอนื่ ” หรืออาจ
หมายความเพยี งวาเปนคนทข่ี ัดผลประโยชนของดํา หรืออ่ืนๆ ๆนอกจากนี้กไ็ ด “ไมดี” จึงเปนคาํ ทมี่ ี

๒๓๖

ความหมายกวาง การใชภาษาท่ีมีความหมายกวางไมรัดกุมชัดเจนเชนน้ี จึงเปนสาเหตุหนึ่งท่ีทําให
คนเราตกลงกันไมไ ดใ นเร่อื งของเหตผุ ล

๔.๒ ส่ิงทีน่ ํามาอา งเปนเหตผุ ลบกพรอ ง
สมมตุ วิ า คนเราใชภ าษาไดดี ทั้งผพู ดู และผฟู งเขาใจตรงกนั ทุกประการ แตก ็อาจจะมีความเห็น
ขัดแยงกนั ในการอา งเหตุผลได สาเหตุอยางหน่ึงก็คือ ตัวเหตผุ ลท่ีนํามาอางไมถกู ตอ งสมบูรณ เชน มี
หลักฐานนอยเกินไปที่จะสรุป หรือมีหลักฐานมากพอ แตหลักฐานนั้นไมเปนตัวแทนที่ดีของเร่ืองที่
ตองการสรุป ถามีคนมาบอกเราวา “คนอังกฤษนี้ไวใจไมไดชอบโกหกอยูเร่ือย ฉันมีเพื่อนเปนชาว
อังกฤษสามสี่คน โกหกเกง ทกุ คน” เราคงไมเ ห็นดวยกบั ขอสรุปนี้ เพราะการสรุปวาชาวองั กฤษทุกคน
ไวใจไมได โดยอางเหตผุ ลหรือหลักฐานเพยี งชาวองั กฤษ ๓-๔ คน ทีช่ อบโกหกเหตผุ ลหรือหลักฐานที่
อางยอมนอยเกินไป นอกจากนี้หลักฐานที่อา งยังไมเ ปนตัวแทนทด่ี ีของเร่ืองที่สรุป เพราะชาวอังกฤษ
๓-๔ คนทเี่ ปนเพ่ือนของผูอา งไมไดเ ปนตวั แทนของคนอังกฤษทั้งประเทศ ดงั น้ันความบกพรองของตัว
เนื้อหาหรอื เหตุผลท่ีนาํ มาอา งจึงเปนสาเหตหุ น่ึงทท่ี ําใหค นเราตัดสินปญ หาตางกัน

๔.๓ วธิ กี ารอางเหตุผลไมถ กู ตอ ง
สงิ่ สําคัญอีกประการหน่งึ ทีท่ าํ ใหก ารอา งเหตุผลบกพรอ งกค็ อื วิธีอา ง ความถกู ผิดของการอา ง
เหตุผลน้ัน นอกจากจะขึ้นอยูกับภาษาและเนื้อหาของเหตผุ ลทนี่ ํามาอางแลว ยังข้ึนอยูกบั วิธีอางดวย
ถาอางผิดวธิ แี ลว แมภ าษาและเหตุผลที่นํามาอางจะถูกตอง ก็ยงั ถอื วา การอางเหตุผลครงั้ นนั้ ผิด เชน
(๑) นายทุนทงั้ หลายยอ มรักษาผลประโยชนข องตน

นายแดงเปนคนรักษาผลประโยชนของตน
ฉะน้นั นายแดงตอ งเปนนายทนุ
วิธีทใี่ ชอา งในตัวอยางนี้คือ ถา สง่ิ ๒ ส่งิ มลี ักษณะอะไรเหมือนกนั แลว ทั้งสองส่ิงนั้นจะตองเปน
สง่ิ เดยี วกนั การอา งเหตุผลแบบนี้จงึ มวี ิธอี างหรือรูปแบบดงั นี้
(๒) A เปน B
C เปน B
ฉะนนั้ A กับ C เปนสิ่งเดียวกนั
วิธีอานแบบนี้ไมถูกตอ ง เพราะการท่ีส่ิง ๒ สิ่งมีลักษณะบางอยางรวมกัน ไมจําเปนวาตองมี
ลกั ษณะอ่นื รวมกนั ดวย

๒๓๗

๔.๔ การอางสิ่งท่ีไมใ ชเหตุผลมาเปนเหตผุ ล
สิ่งสําคัญประการสุดทายทท่ี ําใหการอางเหตผุ ลไมถูกตอ ง คอื การอา งสิ่งท่ีไมใชเหตผุ ลมาเปน
เหตุผล ซ่ึงส่ิงท่ีนํามาอางเหลานี้มักเปนส่ิงท่ีเราอารมณผูฟงใหชอบหรือไมชอบตาม แลวเลยตัดสิน
ความชอบหรือไมชอบนั้นโดยมิไดใชเหตุผล ความผิดพลาดในการอางเหตุผลแบบนี้จึงมีชื่อเรียกวา
ความผดิ พลาดโดยการทง้ิ เหตุผล
ตวั อยางเชน แดงวา ดาํ ผดิ ขาววา ดาํ ไมผ ดิ แดงกับขาวเถยี งกันในเรื่องการกระทําของดําวาผิด
หรือไม เหตุผลที่แทคือ การกระทํานั้นผิดหรือไมผิดตรงไหน อยางไร แตบางครั้งคนเราก็ไมเถียงกัน
เร่ืองนี้ เชน แดงอาจเถียงขาววา ที่ขาววาดําไมผิด เพราะขาวชอบนองสาวของดําอยู จึงเขาขางดํา
ดังนี้เปน ตน
ในแงเหตผุ ล แดงไมควรโจมตีขาวดวยเร่ืองสวนตัว ถาเหตผุ ลของขาวไมดี แดงก็ควรแยงวา
เหตผุ ลของขาวใชไ มไดอยางไร แตถาแยงเหตผุ ลของขาวไมได การนําเรื่องสวนตวั ของขาว มาพูดก็มิได
ทําใหเ หตุผลของขาวผิดหรือถูกมากขึ้น ปกติแลว คนเรามักรูสึกวา ใครมผี ลประโยชนอยูฝายใด กย็ อม
เขา ขางฝายน้นั การใชเร่อื งสว นตัวมาโจมตีกันเพื่อใหเหน็ วา ทรรศนะของอีกฝา ยผดิ แทนทจี่ ะใชเหตุผล
มาพิสูจนวาทัศนะของอีกฝายผิดอยางไร จึงเปนตัวอยางของการอางสิ่งที่ไมใชเหตุผลมาเปนเหตุผล
หรอื การทิ้งเหตุผล

๒๓๘

สรปุ ทายบท

ตรรกวิทยาเปนสาขาหน่ึงของปรัชญาบริสุทธ์ิ ที่วาดวยเรื่องของเหตุผลและกฎเกณฑก ารใช
เหตผุ ล นักปรชั ญาใหค วามสาํ คัญกบั ตรรกวิทยาในฐานะทเี่ ปน เครอื่ งมอื ของปรัชญา หรือเปนประตูเขา
สูวิชาปรัชญา เพราะการศกึ ษาปรัชญาใหเขาใจอยางถองแท จําเปนตองเขาใจเหตุผลและรูกฎเกณฑ
การใชเหตุผลเสยี กอ น เหตผุ ลในความหมายของตรรกวิทยา หมายถึง หลักฐานทสี่ นับสนุนหรือยืนยัน
ใหเราเชื่อวา ขอสรุปของเราเปนจริง เชื่อถอื ได ซ่ึงการอางหลักฐานเพ่ือยืนยันใหเราม่ันใจวาขอสรุป
เปน จริง เชือ่ ถือไดเ รยี กวา การอา งเหตผุ ล

การอางเหตุผลตอ งมี ๒ สวนเสมอ คือสวนท่เี ปน ขออาง กับสวนที่เปน ขอสรุป ในการอาง
เหตผุ ลแตละคร้งั ขอ อา งจะมี ๑ ขอ หรือมากกวา ๑ ขอ ก็ได แตขอ สรุปตองมีขอเดยี ว การอา งเหตุผลมี
๒ แบบ คือการอา งเหตุผลแบบนิรนยั กบั การอา งเหตุผลแบบอปุ นัย

การอา งเหตผุ ลแบบนิรนัยเปนการอางหลักฐานจากสิ่งที่เราเช่ือหรือยอมรับกันอยูแลววาเปน
จริง หรือเปนการสรุปความรูใหมจากความรูเดิมโดยไมตองอาศัยประสบการณ สวนการอางเหตุผล
แบบอปุ นัย เปนการสรุปความรใู หมโดยอางหลักฐานจากประสบการณ

การอางเหตุผลแบบนริ นัย มี ๓ รูปแบบ คือการอา งเหตผุ ลแบบเง่ือนไข รูปนิรนัย และเหตผุ ล
ยอ แตละรูปแบบมีกฎเกณฑท่แี นนอนในการตรวจสอบความสมเหตุสมผล สวนการอางเหตุผลแบบ
อปุ นยั น้ัน ไมสามารถตรวจสอบความสมเหตสุ มผลได การพิจารณาความสมเหตสุ มผลของวธิ ีอปุ นัยจึง
ตอ งอาศยั การยอมรับ คือการมปี ระสบการณห รือเหตุผลทีจ่ ะทําใหสามารถแนใจไดวาลักษณะนี้นาจะ
เปนธรรมชาติของส่ิงน้ัน นักตรรกวิทยาบางคนจึงลงความเห็นวา วิธีการนิรนัยใหความแนนอน
(Certainty) สว นวิธีการอุปนยั ใหค วามนา จะเปน (Probability)

ตรรกวิทยายังศึกษาวิเคราะหเกยี่ วกับความบกพรองของการใชเหตผุ ล หรือที่เรียกวาเหตุผล
วิบัติดวย และไดพบสาเหตุที่ทําใหคนเราตองตัดสินปญหาตางกันอันเนื่องมาจากความไมเขาใจ
ลักษณะของเหตุผลดพี อ ซึ่งอาจอยูในขอใดขอหนึ่งใน ๔ ขอ ไดแก การใชภาษาอยางไมรัดกุมในการ
อางเหตุผล สิ่งที่นํามาอางเปนเหตุผลบกพรอง วิธีการอางเหตุผลไมถูกตอง และการอางส่ิงที่ไมใช
เหตผุ ลมาเปนเหตผุ ล

๒๓๙

เอกสารอา งองิ ประจาํ บท

กีรติ บุญเจือ. ตรรกวทิ ยาท่ัวไป. พิมพค รัง้ ที่ ๒. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๑๘.
จํานง ทองประเสริฐ. ตรรกศาสตร ศิลปะแหงการนยิ ามความหมายและการใหเหตุผล.

พมิ พครง้ั ท่ี ๑๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พม หาจฬุ าลงกรณราชวิทยา, ๒๕๓๘.
ประทีป มากมติ ร. ตรรกวทิ ยาเบอื้ งตน . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลยั เอเชยี อาคเนย, ๒๕๔๓.
ปรชี า ชางขวญั ยืน. การใชเหตุผล. กรุงเทพฯ : มิตรสยาม, ๒๕๕๒.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ. ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๓๑. กรุงเทพฯ :

สํานกั พมิ พอกั ษรเจรญิ ทศั น, ๒๕๒๕.
วิทยา ศักยาภินันท, รองศาสตราจารย ดร. ตรรกศาสตร ศาสตรแหงการใชเหตุผล. กรุงเทพฯ :

สาํ นักพมิ พมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, ๒๕๕๗.
สุจิตรา ออนคอม, รองศาสตราจารย ดร. ปรัชญาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี.

บทที่ ๘
จริยศาสตร

ความนํา

เนื่องจากมนุษยเปนสัตวสังคม มนุษยนอกจากจะรูจักวิธีการดํารงชีวิตของตนแลวยัง
จําเปนตอ งจกั วิธีการดาํ รงตนอยใู นสังคมอกี ดว ย เพราะมนุษยไ มส ามารถจะอยคู นเดียวโดยโดดเด่ียวได
วิชาจริยศาสตรมีความจําเปนและเอ้ืออํานวยแกมนุษยเปนอยางมากในการดํารงชีวิตอยูในสังคม
มนุษยคนใดกต็ ามถาขาดศีลธรรมแลวจะไมมีความเปนมนุษยเหลืออยูเลย ในขณะเดยี วกัน สังคมใดก็
ตามที่ขาดศีลธรรมแลว สังคมน้ันก็ไมส ามารถจะคงอยูได จริยศาสตรจึงเปนหลักท่ีมนุษยทุกคนและ
สงั คมมนษุ ยทุกสงั คมตอ งยดึ ถือเปน แนวทางในการปฏบิ ตั เิ พอื่ ความเจริญรงุ เรือง และความสงบสุขของ
มนุษยทุกคนและสังคมมนษุ ยโดยสวนรวม

๒๔๒

๑. ความหมายของจริยศาสตร

จริยศาสตรเปน ปรัชญาแขนงหนึ่งในบรรดาปรัชญาหลายๆ แขนงท่ีนักปรัชญาแบงกันไว ซง่ึ มี
ดงั น๑้ี

๑. อภปิ รชั ญา วาดว ยความจรงิ อนั สน้ิ สดุ
๒. ญาณวทิ ยา วา ดวยเรอ่ื งความรู ธรรมชาติของความรู บอ เกิดของความรู
๓. ตรรกวิทยา วาดว ยเรอ่ื งการคดิ หาเหตผุ ล
๔. จริยศาสตร วา ดว ยเรื่องความประพฤติ
๕. สนุ ทริยศาสตร วา ดวยเร่ืองความงาม
ซง่ึ นักปรัชญาบางทานอาจแบงสาขาของปรัชญาออกนอยหรือมากสาขากวาน้ีกม็ ีตามความ
เชือ่ และความคดิ เห็นของแตล ะคน
จริยศาสตรเปนแขนงหนึ่งของปรัชญาดังกลาว เมื่อเราพูดถึงจริยศาสตรเราก็จะนึกถึง
จรยิ ธรรม ศลี ธรรม แลวกน็ ึกไปถงึ ความดี ความช่ัว ความถกู ความผิดดวยแตอยางไรกต็ ามการทเ่ี รา
จะคิดวาจริยศาสตรเปนวิชาท่ีศึกษาเก่ียวกับ ความดี ความช่ัวนั้นยังไมเปนที่เขาใจดีนัก จึงควรมา
วิเคราะหศัพทด วู าจะมีความหมายอยางไร
ตามหลักนิรุกติศาสตร คําวา จริยศาสตรเปนภาษาสันสกฤต มาจากคาํ วาจริยบวกกับศาสตร
จริย แปลวา ความประพฤติ หรือสง่ิ ที่ควรประพฤติ ศาสตร แปลวา ความรู รวมแลวแปลวา ความรูอนั
วาดวยความประพฤติ หรือศาสตรอันวาดวยความประพฤติ สิ่งท่ีควรประพฤติ หรือศาสตรวาดวย
ความประพฤตขิ องมนุษยน ั่นเอง
จรยิ ศาสตรต รงกับคาํ ภาษาลาตินวา Ethos ทแ่ี ปลวา อุปนิสัยหรือหลักของการประพฤติ บาง
ทีเรียกวา ปรัชญาจริยธรรม (Moral Philosophy) หรือหลักจริยธรรม คําวา จริยธรรม ตรงกับภาษา
ลาตนิ วา Mores อันหมายถงึ ระเบยี บแบบแผนหรอื ขอปฏบิ ัติ
เจมส เธธ กลาววา “จริยศาสตร คือ ศาสตรอันวาดวยเร่ืองความประพฤติวาอะไรควรทํา
อะไรไมค วรทาํ ”
แมค เคนซ่ี กลา ววา “จรยิ ศาสตร คือ การศึกษาถงึ ส่ิงท่ีถกู สิ่งทดี่ ใี นการกระทํา”
มฮู ูด กลาววา “จรยิ ศาสตรเ ปนวิชาทีว่ า ดวยพฤตกิ รรมพ้ืนฐานในการตัดสินใจในทางท่ีถูกตอ ง
วา ดวย กฎเกณฑพ ฤติกรรมตาง ๆ๒
กลาวโดยสรุป จริยศาสตรจึงเปนวิชาที่วาดวย อุปนิสัย นิสัย ความประพฤติของมนุษยที่มี
นโยบายเขาผสมอยูดวย จริยศาสตรชวยตีคาของมนุษยโดยการมองทางอุปนิสัย นิสัย และความ

๑ บุญมี แทนแกว, สถาพร มาลีเวชรพงศ และประพัฒน โพธิ์กลางดอน, ปรัชญาเบื้องตน (ปรัชญา
๑๐๑), (กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, ๒๕๒๙), หนา ๑๑๔-๑๑๕.

๒ ชยั วัฒน อัฒพฒั น, จริยศาสตร, (กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, ๒๕๒๓), หนา ๒.

๒๔๓

ประพฤติ ตามที่บุคคลแสดงออกมา วาความประพฤติอยางไร ควรทําอยางไรควรเวน อยางไรถูก
อยางไรผิด อะไรดี อะไรช่วั

๒. ขอบเขตเนือ้ หาของจริยศาสตร

ขอบเขตเนอื้ หาของวิชาจริยศาสตรน้ันอาจแบง ออกไดดังนี้
๑. อภิจริยศาสตร (Metaethics)
อภิจริยศาสตร ศึกษาถึงเร่ืองธรรมชาติของความดี การนิยามความดี ความดีมีจริงหรือไม
ความดี สูงสดุ เปนอยางไร ความดคี ืออะไร เราจะตัดสินคาทางจรยิ ะไดห รือไม เปนตน
จี.อี.มัวร นักปรัชญาผูมีชื่อเสียงคนหน่ึง ไดอธิบายความดีวา คือ “คุณสมบัติที่มีอยูตาม
ธรรมชาติ เปนส่งิ ทีเ่ ราเขา ใจได เปนเอกภาพ จาํ กัดลงไปไมไ ด ไมแ นน อน แบงแยกไมได”
๒. อุดมคติชีวติ (Ideal)
ศึกษาถึงอุดมการณอันสูงสุดของชีวิตมนุษย ศึกษาวาอะไรเปนสิ่งท่ีดีที่สุดสําหรับชีวิตมนุษย
คนควรทาํ อยางไรจึงจะดีท่สี ุด ควรทาํ อะไรจึงจะทําใหชีวิตสมบูรณท ี่สุด อะไรคือส่ิงท่ีดีที่สุด ประเสริฐ
ทส่ี ุดทีม่ นุษยแสวงหา
การศึกษาเรื่องน้ีมีนักปรัชญาหลายสํานัก ไดศึกษาคนควา แตความคิดเห็นแตกตางกัน จะ
กลา วละเอียดในตอนวา ดวยแนวคดิ ตางๆ ของนกั ปรชั ญาทางจริยศาสตร
๓. เกณฑการตัดสนิ คณุ คา
จริยศาสตรวาดว ยเรื่องความดี ความชั่ว ความถูก ความผิด อะไรควร อะไรไมควร การทีเ่ รา
จะรูวาอะไรดอี ะไรไมดี อะไรควรอะไรไมควร อะไรถูก อะไรผิด จะตองอาศัยหลักเกณฑบางอยางมา
ตัดสินในทางจรยิ ศาสตร มนี ักปรัชญาวิเคราะหเร่อื งน้ีหลายกลมุ ความคดิ แตกตางกนั มากมาย

๓. จรยิ ศาสตรศ กึ ษาเรอื่ งอะไรบาง

จริยศาสตรเปนศาสตรทีว่ าดวยพฤตกิ รรมของมนุษยในทุก ๆ ดา นและในขณะเดียวกันก็บงชี้
ใหทราบวาพฤติกรรมเชนนั้นถูกตองหรือไม ดีหรือไมดี ควรทําหรือไมควรทํา เปนตน จริยศาสตรจึง
เปน การศึกษาพฤตกิ รรมตาง ๆ ของมนษุ ย ซ่งึ พอสรปุ ได ดงั น้ี

๑. หนาท่ีของมนุษย จริยศาสตรชี้วามนุษยทุกคนที่เกิดมาตางมหี นาท่ี ท่ีจะตอ งรับผิดชอบ
ดว ยกันทั้งน้ัน กลาวคือ แตละคนตางมีหนาท่ีรับผิดชอบเปนของตนเอง เชน บิดา มารดามีหนาท่ีใน
การเล้ยี งดูและอบรมสั่งสอนบุตร ธิดาใหเ ปน คนดี บุตร ธดิ ามีหนา ท่ีในการเลย้ี งดูบิดา มารดาในวัยชรา
รักษาพยาบาลเมื่อบิดามารดาเจ็บปวย เช่ือฟงคําสั่งสอนและปฏิบัติภารกิจตาง ๆ แทนบิดา มารดา
นักศกึ ษามหี นาที่ในการศึกษาหาความรู ครูอาจารยมีหนาที่ในการใหการศึกษา ฝกอบรมความรูทาง


Click to View FlipBook Version