The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MCU Books, 2021-07-19 08:32:13

ปรัชญาเบื้องต้น

หนังสือเล่มนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ที่มีศักยภาพในการผลิตหนังสือเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ประจำวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ และเพื่อสนองต่อนโยบายของวิทยาลัยเขตเชียงใหม่ ดังนั้นเนื้อหาหลัก
ของหนังสือเล่มนี้จึงจึงผลิตขึ้นตามคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องต้น โดยได้แยกออกเป็น ๑๐ บท ด้วยกันในแต่ละบทจะประกอบไปด้วย เนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับศาสตร์ต่าง ๆ บทที่ ๓ ปรัชญาตะวันออก บทที่ ๔ ปรัชญา
ตะวันตก บทที่ ๕ อภิปรัชญา บทที่ ๖ ญาณวิทยา หรือ ทฤษฏีความรู้ บทที่ ๗ ตรรกวิทยา บทที่ ๘ จริยศาสตร์ บทที่ ๙ สุนทรียศาสตร์ และบทที่ ๑๐ ปรัชญาร่วมสมัย

Keywords: ปรัชญา,ศาสนา

๙๒

๔. นามรูป คือภาวะที่ไมอาจสัมผัสดวยประสาททั้ง ๕ ได และภาวะท่ีสามารถสัมผัสได หรือ
หมายถึงจิตใจและรางกายของคนทม่ี ีชวี ติ นามรูปเปน ปจ จยั ใหเกิด สฬายตนะ

๕. สฬายตนะ คอื อายตนะ ๖ ซ่งึ เปนที่ดักอารมณทเ่ี กดิ อยูกับรูปกาย ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น
กาย ใจ จะทําหนาท่ีติดตอกับ รูป เสี่ยง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมมรมณ สฬายตนะ เปนปจจัยใหเกิด
ผสั สะ

๖. ผสั สะ คือการกระทบกนั ระหวางอายตนะภาย ๖ และ อายตนะภายนอก ๖ การกระทบ
กนั ตองมจี รติ รับรอู ยูด ว ย ผสั สะเปนปจ จัยใหเกิดเวทนา

๗. เวทนา คอื ความรสู กึ มี ๓ อยา ง
๑. สขุ เวทนา ความรูส กึ พอใจหลังจากเกดิ ผัสสะ
๒. ทุกขเวทนา ความรสู กึ พอใจหลังจากเกดิ ผัสสะ
๓. อทุกขสัขเวทนา ความรูสึกเฉย ๆ หลังจากเกิดผัสสะ เวทนาเปนปจจัยใหเกิด

ตณั หา
๘. ตัณหา คือความทะยานอยากมี ๓ อยาง คือ
๑. กามตัณหา ทะยานอยากทจ่ี ะไดรูป เสียง กล่นิ รส สัมผสั มาบาํ บดั ความตอ งการ

ของตน
๒. ภวตณั หา อยากมอี ยากเปน
๓. วิภาตณั หา ไมอยากมี ไมอ ยากเปน ตัณหา เปนปจ จยั ใหเ กดิ อปุ ทาน

๙. อุปทาน คือ ความยึดม่นั ถือมั่นดว ยอํานาจกเิ ลส มี ๔ อยา ง คอื
๑. กามปุ าทาน ยึดมั่นในกามคุณ ๕ คอื รูป เส่ียง สัมผัส วาเปนสิ่งที่นาใคร นาพึง

พอใจ
๒. ทิฏุปาทาน ยึดมั่นในทิฏฐิ คือ ความเห็น หรือลัทธิคําสอนตาง ๆ ท่ีตนคิดวา

นาจะเปนอยา งนนั้ แลวยึดถือตามนน้ั อยา งด้ือรน้ั
๓. สีลัพพตุปาทาน ยึดมั่นในศีลและพรต คือ หลักความประพฤติ ขอปฏิบัติแบบ

แผนและพธิ ีกรรมตา ง ๆ เปนตน ทยี่ ึดถอื ปฏบิ ัติสบื ตอกันมาโดยนยิ มงวาศักด์ิสิทธ์ิโดยปราศจากเหตุผล
๔. อัตตวาทุปาทาน ยึดมั่นสําคัญหมายวามีตัวตนทจี่ ะได จะมี จะเปน ติดเกาะแนน

อยกู ับภาวะท่เี รยี กวาเรา เขา อปุ ทานเปน ปจ จัยใหเกิด ภพ
๑๐. ภพ คือ สภาพหรือแบบของชีวิต เปนภาวะท่ีเรามีความรูสึกวา มีตัวตนเกดิ ข้นึ ในจิตของ

เรา ภพแบงออกเปน ๒ อยาง คือ
๑. กรรมภพ หมายถึงการกระทําท่ีจิตไดรูเห็น หรือมีเจตนาการ กระทําน้ันจะเก็บ

ฝงอยในจิต จะเปนการทําดี ทําชั่วก็ตาม เม่ือผานตัณหา อุปทานมาแลว เร่ืองราวตาง ๆ จึงถูกเก็บ

๙๓

สะสมไวใหเกิดเปนกรรมภพ จิตวิทยาเรียกสภาวะนี้วาจิตใตสํานึก จะอยูลึกหรือต้ืนขึ้นอยูกับเรื่องท่ี
ผานเขา มา

๒. อุปตภพ เมอื่ ใกลจะตายของของกรรมคือวิบาก ซงึ่ สะสมอยูท่ีจิต ทงั้ ดีและช่ัวจะ
สง ผลใหเปน อบุ ัติภพ นาํ ไปสูภพใหมต ามผลกรรม ภพท่จี ะนําไปมี ๓ ภพ คอื

๑. กามภพ ไดแก การไปเกดิ เปนมนุษย สัตว และเมวดาที่ยังเก่ยี วขอ งอยู
กับเรื่องกามคณุ คอื รปู เสีย่ ง กล่ิน รส สมั ผัส

๒. รูปภพ ไดแก ภพของพรหม คือผูท่ีไมเกี่ยวของกับเร่ืองกาม แตยัง
หลงไหลอยใู นรูปารมณตาง ๆ

๓. อรูปภพ ไดแ ก ภพของผูทไี่ มติดของในเร่ืองกามและรูปารมตาง ๆ แตยัง
หลงใหลพอใจในรปู อรูปญาน คอื เกิดความพอใจในญานอันเปนผลเกิดจากการท่ตี นไดบําเพ็ญภพเปน
ปจ จยั ใหเกดิ ชาติ

๑๑. ชาติ คอื การเกิดขึน้ การกา วลง การปรากฏแหงขันธทง้ั หลาย ในท่นี ้ีไมไดหมายถงึ การ
เกิดจากครรภม ารดา แตห มายถึงการเกิดมคี วามรูสึกมีตัวตน มเี ราเขาขึน้ ในทนั ทที ันใด ชาติเปนปจจัย
ใหเกิด ชรา มรณะ

๑๒. ชรา มรณะ คอื คสวามเสื่อมสลายไปตามกฎแหงไตรลักษณ ความส้ินไปแหงความรูสึกวา
เปนตัวตน ความโศก ความครํา่ ครวญ พไิ รราํ พนั ความเรา รอน และความเศราสรอย คบั แคนใจ

จรยิ ศาสตร
จริยศาสตร คอื หลักปฏิบัตติ นเพื่อความเปนคนดี เพ่ือความสงบสุขของตนเองและสังคมเพื่อ
จุดหมายสูงสดุ ของมนษุ ย คอื การเขา ถงึ คณุ ธรรม (บรรลุธรรม) ปรัชญาพุทธไดกําหนดหลักจริยศาสตร
ไว ๓ ระดบั เพ่อื ผูป ฏบิ ตั ิตามจะไดรบั ผลสมควรแกการปฏิบตั ิตน
๑. จริยศาสตรช ้นั ตน
๒. จริยศาสตรช น้ั กลาง
๓. จริยศาสตรชัน้ สงู

๑. จริยศาสตรช ัน้ ตน ไดแกเ บญจศีล และเบญจธรรม
เบญจศลี
๑. เวน จากการฆา สัตว ซึ่งมีลกั ษณะ ๓ อยา ง คอื หามฆา หา มทาํ รา ยรา งกายและหามทรมาน
ใหล ําบาก
๒. เวนจากการลักทรัพย ซึ่งมีลักษณะ ๓ อยาง คือ หามโจรกรรม หามเล่ียงชีพ-อนุโลม
โจรกรรมและหามกริ ิยาเปน ฉายาโจรกรรม

๙๔

๓. เวนการประพฤติผิดในกาม ซ่ึงมีลักษณะ ๒ อยาง คือ หามประพฤติผิดในทางประเวณี
และหามประพฤตผิ ิดในธรรมดาหรอื ลว งเกินในของท่เี ขารัก

๔. เวนจากการพดู เท็จ ซงึ่ มีลักษณะ ๓ อยาง คอื หามกลาวคําไมจ ริง หามกลาวคําอนุโลม
มสุ า (ในทาํ นองท่ีไมจริง) และหา มรับคําแลว ไมปฏบิ ตั ติ าม

๕. เวน จากการดม่ื นาํ้ เมา ซ่งึ มีลักษณะ ๒ อยา ง คอื หา มการดื่มน้ําเมาและสุราและเมรัย และ
หามเสพยาเสพตดิ ใหโทษตาง ๆ

เบญจศีล ๕ ขอนี้เปนขอ ท่ีพึงงดเวนไมใหปฏิบัติ เพราะจะประสพแตความเส่ือม ความพนิ าศ
อยางเดียว ในขณะเดียวกัน พระพุทธเจาไดทรงสอนแนวทางปฏิบัติไว เรียกวา เบญจธรรม เปนขอ
ปฏบิ ตั ิเพอ่ื เขาสูค วามดคี ูกับเบญจศีล

เบญจธรรม
๑. เมตตา ความรักใครปรารถนาใหทกุ ๆ คนมีความสุขและกรุณาความสงสารคดิ จะชวยให
ทกุ คนพน ทกุ ข
๒. สัมมาอาชวี ะ การเล้ยี งชีพทช่ี อบดวยดว ยธรรม
๓. กามสังวร สาํ รวมในกาม
๔. สจั จะ ความซอ่ื สัตว
๕. สติ ความมสี ตริ อบคอบ

๒. จริยศาสตรชน้ั กลาง ไดแก กศุ ลกรรมบท ๑๐ ประการ อนั เปนทางแหงความดีที่จะนําผู
ประพฤติปฏิบัตไิ ปสูความสุขความเจริญ กุศลกรรมน้ี บางทีเรียกวา “สุจริต” แบงออกเปนกายกรรม
๓ อยาง วจีกรรม ๔ อยาง และมโนกรรม ๓ อยา ง

๑. กายสจุ รติ ไดแกการประพฤตดิ ีประพฤตชิ อบทางกาย มี ๓ อยาง คอื
๑.๑ เวน จากการฆา สัตว หรือการเบยี ดเบียนชีวิตกัน
๑.๒ เวนจากการลักทรัพย หรือถือเอาสิ่งของที่เจาของมิไดใหดวยอาการแหงขโมย

ใหเคารพในกรรมสทิ ธ์ิในทรพั ยส นิ ของผอู นื่
๑.๓ เวน จากการประพฤตผิ ิดในกาม

๒. วจสี จุ ริต ไดจากการประพฤตดิ ี ประพฤตชิ อบทางวาจา มี ๔ อยา ง คือ
๒.๑ เวน จากการพูดเทจ็
๒.๒ เวนจากการพูดสอเสยี ด
๒.๓ เวน จากการพูดคําหยาบ
๒.๔ เวน จากการพูดเพอเจอ เหลวไหลไมไ ดเ รื่อง

๙๕

๓. มโนสจุ รติ
๓.๑ เวน จากความโลภอยากไดของผอู น่ื มาเปน ของตน
๓.๒ เวน จากการคดิ รา ยหรอื พยาบาทปองรายผูอน่ื
๓.๓ เหน็ ชอบตามครองธรรม เชน เห็นวาท่ที ําดตี อ งไดดี

๓. จริยศาสตรช ั้นสงู ไดแกมรรคมอี งค ๘ คือ
๑. สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ ไดแกความเห็นท่ีเกิดจากปญหา ความรูแจงในอริยสัจ ๔
ประการ คอื

๑. รูจกั ทกุ ข
๒. รจู ักเหตุเกิดแหง ทุกข
๓. รูจักความจรงิ เร่ืองการดบั สน้ิ ไปแหง ทุกข
๔. รูจ กั ทางไปสูความพนทกุ ขคอื มรรค
๒. สัมมาสังกัปปะ ความดํารชิ อบ หมายถงึ การดาํ ริ ๓ ประการ คือ
๑. ดํารติ ริตรองหาหนทางออกจากกามที่เปนกิเลสกาม คอื ความเศราหมองใจ ความ
รกั ใคร กอใหเ กดิ ทุกขและวัตถกุ าม ไดแ ก รปู เสยี ง กลิน่ รส สัมผสั และธรรมารมณ
๒. ดํารอิ นั ที่จะไมพยาบาท คือไมคดิ ปองรา ยจองเวรกับใคร ๆ
๓. ดํารใิ นการทีจ่ ะไมเ บยี ดเบยี นผอู นื่ มเี มตตากรณุ าตอสัตวทั่วไป
๓. สมั มาวาจา คอื การเจรจาชอบ รูจักเจรจาดวยถว ยคาํ ไพเราะ คือกลาววาจะที่มปี ระโยชน
ถกู กาลสมัย ไดแก พดู ในส่งิ ท่คี วรพูด ๑๐ ประการ คือ
๑. พูดดวยถอยคาํ ทที่ ําใหมคี วามปรารถนานอย
๒. พูดถว ยคาํ ท่ีชกั นาํ ใหสนั โดษยนิ ดีดวยปจจยั ตามมตี ามได
๓. พดู ถอยคําท่ีทาํ ใหส งัดกายสงดั ใจ
๔. พูดถอ ยคําที่ชกั นาํ มใิ หละคนอยูดวยหมคู ณะเพราะเปน เหตุใหสะสมกิเลส
๕. พดู ถอยคาํ ทช่ี ักนาํ ใหปรารถความเพยี ร
๖. พูดถอยคาํ ทชี่ ักนําใหตั้งอยูในศลี
๗. พูดถอ ยคาํ ที่ชกั นําใจเปนสมาธิ
๘. พูดถอ ยคําทชี่ กั นําใหเ กิดปญญา
๙. พูดถอยคําทชี่ กั นําใหพน กเิ ลส
๑๐. พูดถอยคาํ ทชี่ ักนําใหเ กิดความรเู ห็นอยา งแจง ชดั ในการทําใหพ นจากกิเลส
อนง่ึ การเจรจาชอบ หมายถึงการประพฤติชอบดว ยวาจา เรยี กวจสี จุ รติ มี ๔ ประการ คอื
๑. สัจวาจา คือการพดู คาํ จริง

๙๖

๒. อปส ณุ วาจา คือการไมพดู สอดเสียด
๓. สณั หวาจา คือการพดู จาออ นหวานไพเราะ
๔. มนั ตวาจา คอื การพดู ดว ยความรู ไมพ ดู เพอ เจอ
๔. สัมมากมั มนั ตะ การงานชอบ คอื เลือกประกอบการงานปริสุทธ โดยละเวนจากโทษทาง
กาย ๓ ประการ คอื
ก. เวน จากการฆา สัตว ทรมานสตั ว
ข. เวนจากการถอื เอาส่ิงของท่เี จา ของไมไดใ ห
ค. เวน จากการประพฤตผิ ิดในกาม คือ ชายตอ งละเวน จากหญิง ๓ จําพวก ไดแ ก

๑. ภรรยาคนอื่นหรือหญงิ ทอี่ ยใู นความพทิ กั ษร ักษาของคนอนื่
๒. หญิงท่ีจารตี หา ม เชน แม ยา ยาย ลกู หลาน เหลน เปนตน
หญิงตอ งละเวนจากชาย ๒ จาํ พวก คอื
๑. ชายท่มี ภี รรยาแลว
๒. ชายท่อี ยูใ นบญั ญัตแิ หงศาสนา คอื ภิกษุ สามเณร
๕. สัมมาอาชวี ะ การเล่ียงชีวิตชอบ คือเล่ียงชีวิตแบบชอบธรรม หมายถึงการประกอบ
อาชีพในทางสุจริต โดยงดเวนการประกอบอาชีพทผี่ ดิ (มจิ ฉาวณชิ ชา) ๕ อยา ง ดงั นี้
๑. คาขายเครอื่ งประหารทาํ ลายกนั เชน ปน ระเบิด
๒. คาขายมนุษย
๓. คา ขายสตั วส าํ หรบั ฆา เปน อาหาร
๔. คาขายนํา้ เมา หรอื สง่ิ เสพตดิ ทกุ ชนิด
๕. คาขายยาพิษ
๖. สมั มาวายามะ ความเพียรพยายามในสิ่งท่ีถูกทีค่ วร หมายถงึ ความพยายามทําในส่ิงท่ีดี
ทีช่ อบ มี ๔ อยา ง คือ
๑. สังวรปธาน เพียรระวงั ไมไ ดบาป อกุศลเกดิ ขนึ้ ในสันดานของตน
๒. ปหานปธาน เพยี รละบาปที่เกดิ ขน้ึ ในสนั ดานของตน
๓. ภาวนาปธาน เพยี รใหบ ุญหรอื กุศล เกดิ มีขึน้ ในตน
๔. อนุรักขนาปธาน เพียรเพ่ือรักษาบุญกุศลทเ่ี กิดข้ึนแลวไมใหเสื่อมไปจากสันดาน
ของตน
๗. สมั มาสติ การตงั้ สติรอบคอบ หรือมีสติรอบคอบ ระลึกไดกอนทาํ กอนพูดหรือกอนคดิ
และระลกึ ถึงแตใ นสิ่งทีเ่ ปน บุญกศุ ล คุณงามความดี และขอปฏิบัตทิ ่ีจะเกิดศีล สมาธิ ปญ ญา

๙๗

๘. สม มาสมาธิ การตั้งใจไวชอบ คือทาํ ใจใหมอี ารมณเปนหน่ึง ไมหว่ันไหวไมฟุงซาน ทํา

จิตใจใหสะอาดบริสุทธ์ิจากอารมณค ือความโลภ ความโกธร ความหลง ทําใจใหเปนไปเพ่ือความพน

ทกุ ข

ญาณวทิ ยา

ทฤษฎีแหงความรขู องปรชั ญาพทุ ธพอสรปุ ได ๓ ประการคอื

๑. สุตมยปญญา ความรูทีเ่ กดิ จากการไดย นิ ไดฟง

๒. จินตมยปญ ญา ความรทู ่ีเกิดจากการคดิ ไตรตรอง พนิ ิจพจิ ารณา

๓. ภาวนามยปญญา ความรทู ่ีเกดิ จากการฝกฝนอบรม และเจรญิ ภาวนา

โมกษะหรือนพิ พาน

ปรัชญาพุทธ ถือวานิพพานเปนจุดหมายสูงสดุ ของชีวิต นิพพานนั้นถอื วาเปนบรมสขุ ไมมีสุข

อ่ืนไปยิ่งกวา ไมมีความทุกข ไมมีความเดือนรอนในใด ๆ ท้ังส้ิน และนิพพานก็คือ “โมกษะ” ใน

ความหมายของปรัชญาอินเดียสํานกั อน่ื ๆ

ตามทศั นะของปรชั ญาพทุ ธ นพิ พานมี ๒ อยาง คือ

๑. สอุปาทิเสสนิพพาน ไดแกการดับกเิ ลสโดยไมมีสวนเหลือ คือการดบั กิเลสตณั หาตาง ๆ

ใหห มดสิ้นไป แตเ บญจขนั ธหรอื นามรปู (ตัวบุคคล) ยังมชี ีวติ อยู เรยี กอีกอยางวา “กิเลสนพิ พาน”

๒. อนุปาทิเสสนิพพาน ไดแ กการดับกิเลสโดยไมมสี วนเหลือ คอื การดับกเิ ลสตัณหาตาง ๆ

ใหหมดสิ้นไปพรอม ๆ กับเบญจขันธหรือนามรูป ไมมีอะไรเหลืออยูเลย เรียกอีกอยางวา “ขันธนิ

พพาน”

นกิ ายทางพุทธศาสนา

หลังจากพระพุทธเจาปรินิพพานแลว พุทธศาสนาไดแตกแยกออกเปนนิกายตาง ๆ มากมาย

ซง่ึ เร่ิมมีการแตกแยกตงั้ แตพุทธศตวรรษที่ ๑ จนกระทั่งถึงพุทธศตวรรษที่ ๔ สาเหตสุ ําคัญเกิดจาก

ความขัดแยงทางดา นปรัชญา การประพฤติปฏิบตั ิ การอธิบายปญ หาธรรม ควรแกไขเปล่ียนแปลงพุทธ

บัญญัติและธรรมะคําส่ังสอน ตลอดถึงการยอมรับหลักปฏิบัติหรือพิธีกรรมบางอยางสาสนาพราหมณ

เขามาใช ซงึ่ สามารถแยกออกใหเปนกลุม ใหญ ๆ อยู ๒ กลมุ คือ

กลุมทีห่ นงึ่ มีความเหน็ วา หลักธรรมคําสอนทง้ั ทฤษฎแี ละปฏิบัตเิ ปนส่ิงจําเปนทีจ่ ะตองรักษา

ไวต ามเดมิ ไมม กี ารไขดัดแปลงเปลี่ยนแปลง แมวา จะมีพุทธานุญาตใหทําไดกต็ าม กลุมน้ีมีช่อื เรียกตาง

ๆ กันเชน

เถรวาท ลทั ธิเถระ

สถวีรวาท ลทั ธขิ องพระสถวีระ

ทกั ษณิ นกิ าย นิกายทางทศิ ใต

หนี ยาน ยานอันคบั แคบ

๙๘

สาวกยาน ยานของพระสาวก

ปจ เจกยาน ยานของพระปจเจกพุทธ

ในปจจุบันน้ี นิกายท่ีมีอทิ ธิพลมากท่ีสุดของกลุมนี้ คอื หีนยาน หรือเรียกอีกช่ือหน่ึงวา “เถร

วาท” มีประชาชนนับถอื กนั มากในประเทศไทย ลงั กา พมา ลาว กมั พูชา

กลมุ ทสี่ อง มีความเห็นวา ธรรมและวินัยทีพ่ ระพุทธเจาไดทรงบัญญัตไิ วแลวนั้นควรไดรับการ

ดัดแปลง ปรบั ปรุง แกไข ใหเหมาะสมกับกาละ เทศะ และสังคม ตลอดถงึ พิธีกรรมตาง ๆ ของศาสนา

อน่ื ๆ น้ัน ก็สมควรท่ีจะยอมรับมาใชไ ดในเม่อื ไมขดั ตอหลักธรรมหรือขอปฏิบัตขิ องศาสนา กลุมนี้ทช่ี ื่อ

เรยี กตาง ๆ กัน เหมือนกลุม ทีห่ น่งึ เชน

มหาสังฆิกะ กลมุ ประชาธปิ ไตย

อตุ ตรนิกาย นกิ ายทางเหนอื

มหายาน ยานอนั ยงิ่ ใหญ

โพธิสตั วยาน ยานของพระโพธิสตั ว

พุทธยาน ยานของพระพทุ ธเจา

เอกยาน ยานอันเปน เอก

อนตุ รยาน ยานอนั สูงสุด

ในปจ จบุ ันนี้ นิกายที่มีอทิ ธิพลมากที่สดุ ในกลุมน้ี คอื มหายาน และมีประชาชนนับถือกันมาก

ในประเทศจนี เกาหลี ธเิ บต และญี่ปนุ

แผนผงั แสดงระบบปรัชญาทีเ่ กิดข้นึ ในประเทศอินเดยี

ปรชั ญาอนิ เดีย๘

ปรชั ญาสายอากติกะ ปรชั ญาสายนาสตกิ ะ

เทวนิยม อเทวนยิ ม

นถายะ ไวเศษกิ ะ สางขยะ โยคะ มีมามสา เวทานตะ จารวาก เชน พุทธ

๘ บุญมี แทนแกว, สถาพร มาลีเวชรพงศ และประพัฒน โพธ์ิกลางดอน, ปรัชญาเบ้ืองตน (ปรัชญา
๑๐๑), (กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พรนิ้ ต้งิ เฮาส, ๒๕๒๙), หนา ๑๘.

๙๙

๒. ปรชั ญาจีน

ปรัชญาจีน โดยทั่วไปมีลักษณะแตกตางไปจากปรัชญาอินเดีย และปรัชญาตะวันตก เพราะ
ปรัชญาจีนน้ันมีรากฐานในการแสวงหาความรู ความเขาใจในหลักแหงธรรมชาติ หลักแหงหาร
ปกครอง และจริยธรรม ปรัชญาจีนเนนใหเห็นถึงความกลมกลืนกนั ของสภาวะสิ่งตาง ๆ ท่ปี รากฏอยู
ในโลก เชน ถือวา มนษุ ยและจักรวาลตางก็มีความสมั พนั ธที่สอดคลองกนั โดยเปนสวนหน่ึงของกันและ
กนั ผกู พนั กันอยางแนนแฟน สมบูรณเช่ือถือวา เปน ลกั ษณะเอกภาพของมนษุ ยและสวรรค

ปรัชญาจนี นั้นมีกําเนิดและววิ ัฒนาการมานับเปน พนั ๆ ป เชน เดียกับปรชั ญาอินเดีย แตในที่น้ี
จะขอกลาวถึงเฉพาะปรัชญาจีนทส่ี าํ คญั ที่สดุ ละมอี ิทธพิ ลตอ ชาวจนี มากท่ีสุด ๓ สํานัก

๑. ปรชั ญาเตา หรือปรชั ญาเลาจื้อ
๒. ปรชั ญาขงจอ้ื
๓. ปรัชญานติ ิธรรมเนียม
๒.๑ ปรชั ญาเตา
ปรชั ญาเตา นี้ (เลาจอื้ ) เปน ผูกอ ตง้ั เขาเปนนักปราชญท ่ีมีชื่อเสียงโดง ดังมาก เกดิ เมอ่ื ๖๐๔ ป
กอนคริสตกาล รับราชการเปนขาราชการขั้นผูใหญ แตเพราะความย่ิงเหยิงสับสนวุนวาย ปนปวนไม
สงบราบรนื่ ของสังคม เขาจึงสละลาภยศ ชื่อเสี่ยงและอ่ืน ๆ ปลีกตัวออกจากสังคมไปและอยูอยางโดด
เดี่ยวและตามธรรมชาติ ท้ังน้ีเพราะเขารักและยึดมั่นในธรรมชาติ เลาจื้อสอนหลักปรัชญาวา เตาคือ
สิง่ ที่บันดาลใหสรรพสิ่งท้ังปวงเกิดขึน้ เปนปฐมเหตแุ หงโลกและจักรวาล เปนสภาวะท่ีเกิดเปนนิรันดร
แทรกอยูทุกหนทกุ แหง เปนสภาวะทีไ่ มสามารถมองเห็นได ไมสามารถฟงได ไมสามารถสัมผัสได ไม
สามารถหยั่งรูได และเปนส่ิงใชไดอยางไมมีวันหมด เตาคือแบบของสิ่งทั้งหลาย เปนเนื้อสารของสิ่ง
ทง้ั หลาย เปน แกนแทของสิ่งทั้งหลาย เตา เปน สภาวะสูงสดุ เปนเบ้ืองตน ของโลกทั้งปวงทุกส่ิงทุกอยาง
จะเกดิ ขนึ้ จากเตา และจะกลบั คนื สเู ตา๙
เลาจ้ือกลาววา การเขา ถึงเตา เปนจุดหมายสูงสดุ ของชีวิต (โมกษะ) และบุคลจะเขา ถึงเตา อนั
เปนสภาวะท่ีแทจริงไดก็ดว ยการเปนอยูอยางงาย ๆ ไมเกยี่ วของหรืออวะคนดวยคนหมมู าก ไมสนใจ
เร่ืองอ่ืนนอกจากเตา อยา งเดยี ว เลาจื้อกลาววา “ผูใดบรรลุเตา จะมีอายุยืนนาน รูทกุ สิ่งทุกอยาง ถงึ วัน
ตายรา งกายจะไมเนาเปอ ย” เลาจ้ือเองก็ชอ่ื วาเปนผูบรรลุเตา อยางแทจ รงิ

๙ ทองหลอ วงษธรรมา, รองศาสตราจารย ดร., ปรัชญาจีน, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร,
๒๕๓๘), หนา ๓๙-๔๐.

๑๐๐

๒.๒ ปรชั ญาขงจื้อ
ปรัชญาขงจื้อน้ี “ขงจื้อ” เปนผูกอต้ังขึ้น โดยการรวบรวมแนวความคดิ ที่ดีเลิศของกษัตริย
นักปราชญถึงขนมธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมตาง ๆ ของชาวจีนเขา ไวเปนระบบปรัชญาและ
ปรชั ญาขงจ้อื น้ี มอี ทิ ธพิ ลตอ ชวี ติ สวนตัวและชวี ติ ทางสังคมของชาวจีนมากท่ีสดุ
ขงจื้อ เกดิ เมื่อ ๕๕๑ ป กอนคริสตกาล บรรพบุรุษของทานมีชื่อเสียงในดานการเมือง และ
อักษรศาสตร บดิ ารบั ราชการทหารชอ่ื ขงซูเหลยี ง และตายเมอ่ื ขงจื้อยังเปนเด็ก ขงจื้อไดรบั การศึกษา
เมอ่ื โตมากแลวในขณะเดียวกันกท็ ําหนาที่เลี้ยงดูมารดาดวย ทานไดรับราชการเปนขนุ นางผูใหญข อง
จีน และทําหนาที่สั่งสอนวิชาการตาง ๆ ดวย ตอมาไดรับการแตงตั้งใหเปนผูพิพากษาและเสนาบดี
กระทรวงยตุ ธิ รรม หลังสุดไดลาออกจากราชการ และรวบรวมหลักฐานเอกสารสอนของทานไว ขงจื้อ
ตายเมื่อป ๔๗๙ ป กอนคริสตกาล ขณะทม่ี อี ายไุ ด ๗๓ ป๑๐
จริยศาสตร
ขงจ้ือไดแสดงหลักจริยศาสตรไว ๕ ประการ คอื
๑. หลกั ความเมตตา คนทดุ คนในสังคมตองมเี มตตา มีความรกั ใครต อกัน
๒. หลักความชอบธรรม คนทุกคนในสังคมตองยืดถือความชอบธรรมเปนหลักในการ
ประกอบอาชพี การดํารงชวี ิต และอ่ืน ๆ โดยยดึ ถือธรรมเปน หลัก
๓. หลักความเหมาสม คนทุกคนควรยึดหลักความเหมาะสมในทกุ ๆ ส่ิง วาสิ่งนั้น ๆ หรือ
การนนั้ ๆ มคี วามเหมาะสมแกส ถานการณอ ยางไร
๔. หลักความรอบรูหรือปญ ญา คนทกุ คนในสังคมตอ งกระทําการทุกอยางดวยความรูหรือ
ปญ ญา คอื ใชปญญาเปนเครื่องนาํ ทางแหงชีวติ
๕. หลักความเปนผนู าเชื่อถือได คนทุกคนในสังคมตองรูจักการวางตัวใหเปนผูทีน่ าเชื่อถือ
และไวว างใจของคนอื่น ๆ ทั้งน้ีเพ่ือผลแหงความรว มมือรวมใจกนั อันจะนาํ ผลดมี าสูสงั คมสวนรวม
ขงจ้ือกลาววา ผูปฏิบัติตามหลักจริยศาสตร ๕ ประการน้ีถือไดวาเปน “คนดีมีคุณธรรม”
และเปนทพ่ี งึ่ ของคนอื่นได นอกจากน้ีแลวขงจ้ือยังไดกลาวถงึ ความสัมพันธระหวางบุคคล ๕ คทู ี่จะพึง
ปฏบิ ตั ติ อกนั อนั ถอื ไดว าเปนหลักจริยศาตรข ้นั พ้นื ฐานในครอบครัวและสงั คม คือ
๑. ผปู กครองกับผูอ ยูใ ตป กครอง
๒. บดิ ามารดากบั บตุ รธิดา
๓. สามีกับภรรยา
๔. พีช่ ายกบั นองชาย
๕. เพอื่ นกับเพ่ือน

๑๐ อองซก, ขงจ๊ือ ฉบับปราชญชาวบาน, แปลโดย อธิคม สวัสดิญาณ, (กรุงเทพฯ :สํานักพิมพเตา
ประยกุ ต, ๒๕๔๐).

๑๐๑

รฐั ศาสตร
ในดานรฐั ศาสตร ขงจอ้ื ไดเนน ถงึ หนาท่ีของบุคคลมนสังคมที่มสี ว นรับผิดชอบตอ สวนรวม โดย
เนน ใหทาํ หนาท่ีของตนเองใหสมรู ณเ พื่อความสงบสุขของสว นรวม โดยกลา ววา๑๑
ขอใหพระราชา จงเปน พระราชา
ของใหเ สนาบดี จงเปนเสนาบดี
ขอใหบ ดิ า จงเปนบิดา
ขอใหบตุ ร จงเปน บุตร
ท้งั นีก้ เ็ พือ่ ท่จี ะใหทกุ คนรูจักหนา ทีข่ องตนเอง และหนา ท่ีของตนเองใหสมบูรณ เมือ่ ทําได
เชน นี้ สงั คมก็จะมคี วามสงบสุข
ขงจ้อื เนน การปกครองในระบบของรฐั เดียวกนั เราะจะใหค นในรฐั นนั้ จะมีความจรงิ ใจตอกัน
มเี มตตาธรรม และมนุษยธรรมตอกัน ปราศจากการขโมย การประทษุ รา ยขมเหงรังแกกัน และในขฯ
เดียวกนั ก็เนนหนกั ในเรือ่ งคณุ ธรรมของนกั การปกครองดว ยวา นักปกครอง ตอ งเปนนักปกครองท่ดี ี
ขงจอื้ ไดแสดงแบบอยา งขอกนกั ปกครองทด่ี ีไว ๓ ประการ คือ
๑. นักปกครองจะตองสรา งศรัทธาใหเกดิ ขนึ้ กบั ประชาชน เพอื่ ใหป ระชาชนเลอ่ื มใสในตวั เอง
กอ น
๒. นกั ปกครองจะตองดาํ เนินนโยบายเพอ่ื ใหป ระชาชนมีอาหารการกินอยางเพยี งพอในการ
เลีย้ งชวี ติ
๓. นกั ปกครองจะตองมกี องกําลังทหารที่แข็งแกรง เพยี งพอท่ีจะรกั ษาประเทศจากศรู ผู
รุกราน
ขงจ้อื กลา ววา นกั ปกครองทดี่ ีตอ งมคี ุณธรรม ๕ ประการ คือ
๑. การบําเพ็ญประโยชน หมายถงึ การทํางานเพอื่ ความผาสุกสวัสดีของประชาชน
๒. ความถูกตอง ไมพึงทาํ ส่ิงทีท่ านไมต องการใหผูอนื่ ทําตอ ทาน
๓. ความเหมาะสม จงประพฤติตนตอ ประชาชนทท่ี า นปกครองดวยอัธยาศัยไมตรีอนั ดีงามอยู
เสมอ
๔. ปญญา จงใชปญ ญาและความเขา ใจเปน เครอื่ งนาํ ทาง
๕. ความจริงใจ จงจริงใจตอทุกคนทท่ี านเกย่ี วของ เพราะของจอื้ ถือวา ปราศจากความจริงใจ
แลว โลกก็จะเกดิ ขึ้นไมไ ด

๑๑ พระมหาบรรจง สิริจนโฺ ท, ปรัชญาจนี -ญปี่ ุน, (ขอนแกน : คลงั นานาวิทยา, ๒๕๔๔), หนา ๒๙.

๑๐๒

๒.๓. ปรัชญานิติธรรมเนยี ม
พวกฟาเจยี หรือคณะนติ นิ ิยมเปนพวกทร่ี วมสิ่งละอันพันละนอยจากหลักปรัชญาตางๆ โดยมงุ
ท่ีจะทําใหสังคมและการเมืองบรรลุถึงความสงบได ผูท่ีมีช่ือเสียงในคณะนิตินิยมคนหน่ึงคือ ฮันเฟ
ฮันเฟมีความคิดตรงขามกับเมงจื้อ คือ เขาเช่ือวามนุษยทุกคนเกิดมาเลวโดยธรรมชาติ ดังนั้น
จําเปนตองมีกฏหมายบังคับปกครอง ฮนั เฟตําหนิปรัชญาของขงจื้อในขอ ท่ีเกีย่ วกบั คุณธรรมทั้งหลาย
วา เปนส่งิ จอมปลอม และการยอนรําลึกดูตัวอยางสมยั ที่ผานมาแลวเปนความคดิ ท่ีลาหลัง เพราะเวลา
เปล่ียนไป ความตองการก็เปล่ียนตามไปดวย ไมมีสถาบันใหนท่ีจะมีหลักเพียงหลักเดียวคงอยูได คา
ของสงั คมยอมเปลยี่ นไปตามกาลเวลา
ลทั ธินเ้ี ชอ่ื วากฏหมายเปนสิ่งจาํ เปน กฏหมายควรเปนกฏหมายท่ีเทย่ี งธรรมและควรใชปฏิบัติ
กับทุกคนไมว าเจา หรอื ไพร กฏหมายควรเขยี นใหชัดเจน เพอื่ ใหคนเขา ใจวาควรทาํ ส่ิงใดหรือหลีกเล่ียง
ส่ิงใด ผูฝาฝนกฏหมายก็ควรไดรับการลงโทษอยางรุนแรง อิทธิพลของระบบฟาเจียท่ีมีตอสังคมจีน
ระบบฟาเจียกําหนดและควบคุมสังคมใหเปนระเบียบเรียบรอย โดยมีครอบครัวเปนศูนยกลาง ฝกให
สมาชกิ ในครอบครัวรจู กั รบั ผดิ ชอบตอกนั กอ นสิ่งอ่นื ประชาชนทุกคนควรเปน ประชาชนท่ดี ีในยามสงบ
และเปน ทหารท่ีดีในยามมีศึกสงคราม ปรชั ญาการปกครองของพวกนักนติ ินิยมไดท ้ิงรองรอยแหงความ
เจรญิ ไวใ หแ กจนี ในราชวงศต อ ไป จีนภายใตระบบคอมมิวนสิ ตย งั คงมีปรชั ญานิตนิ ยิ มแฝงอยู

๑๐๓

สรปุ ทา ยบท

ทกุ ระบบของปรัชญาตะวันออกจะเนนการครองตน การมีชีวิตที่สมบูรณ และการดํารงชีวิต
อยางมีความสุข ดังน้ันจะเห็นวาทุกระบบเกิดจากความไมพอใจในสภาพท่ีเปนอยูของชีวิต โดย
ชใ้ี หเ ห็นวา ชวี ิตนนั้ มที กุ ขนานาประการ จึงพยายามคดิ คนหาวิธีการดบั ทุกข ซึ่งเรียกวา โมกษะ (ความ
หลดุ พน ) แลละจากการวิเคราะหจะเห็นวา ปรัชญาตะวันออกโดยสวนมากจะชี้แนะหนทางแหงความ
หลุดพนตามแบบของตนไว ปรัชญาตะวันออกทุกระบบมีความเชื่อในกฏแหงกรรม กฏแหงเหตุผล
และกฏของธรรมชาติของสรรพส่ิงท้ังปวง วาทุกสิ่งเกิดขน้ึ ต้งั อยูและดับไป สวนกฏแหงศีลธรรมนั้นมี
ความเชื่อวา ทําดยี อ มไดดี ทําช่ัวยอ มไดช่วั ทุกระบบมีทัศนะตรงกันวา อวิชชาหรืออวิทยา เปนสาเหตุ
ความติดของ และการเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏ สวนวิชชาหรือปญญาญาณ เปนส่ิงที่ทําใหเกิด
ความหลุดพนจากสิ่งติดของน้ัน โดยทุกระบบมุงโมกษะเปนจุดหมายสูงสุด โดยตอ งปฏิบัตเิ พื่อความ
หลุดพน ดวยการบําเพ็ญสมาธิและวิปสสนา ใหเห็นตามความเปนจริงดวยการควบคุมตนเองและ
ควบคมุ จิตใจ ไมปลอ ยไปตามอาํ นาจของกิเลสตณั หา

แตอยางไรก็ตาม “อวิชชา” ในปรัชญาตะวันออกไมไดมีความเห็นตรงกันทุกระบบ เชน
ปรัชญาฮินดูวา การเหน็ หรือรชู ัดวา มสี ิง่ เทยี่ งแทไมเปลี่ยนแปลงท่ีเรียกวา “อาตมัน” สวนพทุ ธปรัชญา
กลาววาการเห็นเชนนั้นถอื วาเปนอวิชชา และยังตั้งขอสังเกตไดอกี วาลัทธิจารวากมแี นวคิดยึดถือวัตถุ
นิยมจัด คือตองหาความสุขเฉพาะในขณะที่มีชีวิตอยูเทาน้ัน ซ่ึงผิดแปลกจากระบบปรัชญาของ
ตะวนั ออกท้ังหมด

๑๐๔

เอการอางองิ ประจําบท

คูณ โทขันธ. ปรัชญาเบื้องตน. ขอนแกน :ภาควชิ ามนษุ ยศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร,
๒๕๒๗.

จาํ นง ทองประเสริฐ. ปรชั ญาประยกุ ต ชดุ อนิ เดีย. กรงุ เทพฯ : ตนออ แกรมมี่ จาํ กัด, ๒๕๓๙.
ทองหลอ วงษธ รรมา. ปรชั ญาทวั่ ไป. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๔๙.
ทองหลอ วงษธรรมา, รองศาสตราจารย ดร. ปรัชญาจีน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร,

๒๕๓๘.
บุญมี แทนแกว. ปรชั ญาฝายบรุ พทศิ . กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๔๕.
บุญมี แทนแกว, สถาพร มาลีเวชรพงศ และประพัฒน โพธ์ิกลางดอน. ปรัชญาเบื้องตน

(ปรชั ญา ๑๐๑). กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติง้ เฮา ส, ๒๕๒๙.
พระมหาบรรจง สริ ิจนฺโท. ปรัชญาจนี -ญีป่ ุน. ขอนแกน : คลงั นานาวทิ ยา, ๒๕๔๔.
วโิ รจ นาคชาตร,ี รศ. ปรชั ญาเบ้อื งตน. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๕๒.
ศรัณย วงศค าํ จันทร. ปรัชญาเบ้ืองตน . กรงุ เทพฯ : อมรการพมิ พ, ม.ป.ป.
สุวัฒน จันทรจํานง, นายแพทย. ความเช่ือของมนุษย เก่ียวกับปรัชญา และศาสนา. กรุงเทพฯ :

สุขภาพใจ, ๒๕๔๐.
อองซก. ขงจอ๊ื ฉบับปราชญชาวบา น. แปลโดย อธคิ ม สวัสดิญาณ. กรุงเทพฯ :สํานักพิมพเตา

ประยกุ ต, ๒๕๔๐.

บทที่ ๔
ปรัชญาตะวนั ตก

ความนํา

ความรักในความรู (Love of Wisdom) ความรูหรือปรัชญาในท่ีนี้ หาไดหมายถึงเฉพาะ
ความรหู รอื ศาสตรทวั่ ไปเทาน้ันไม แตย ังหมายถึง การรูจักวินิจฉยั ตดั สินคุณคา ของส่ิงตา ง ๆ โดยความ
เปนธรรมอีกดวย ปรัชญาตะวันตกเม่ือนํามาใชเปนศาสตร จึงหมายถึงศาสตรรวมของศาสตรทุก
ประเภท ปรัชญาทาํ หนาที่คนหาความจรงิ ตามเหตุผล โดยอาศยั ปญ ญาเปนเครื่องมือ

ปรัชญาตะวันตกเกิดจากความประหลาดใจ หรือความสงสัยใครรูใครเห็น ความสงสัยน้ัน
จะตองเปนความสงสัยของผูมีปญญา รักปญญา ถาเปนความสงสัยของผูเฉ่ือยชา ไมใฝรูก็ไมจัดเปน
ปรัชญา บคุ คลผรู กั ปรชั ญานัน้ ครนั้ เกดิ ความสงสัย กจ็ ะคน ควา หาคาํ ตอบจนส้ินความสงสัย เคื่องมือท่ี
ใชแสวงหาปญ ญาคือ เหตผุ ล กระบวนการในการคน ควาหาความจริงเพื่อบรรเทาความสงสยั น้ีเอง เปน
วิธกี ารของปรัชญา เมอื่ หมดความสงสยั ไดความจริงเมอ่ื ไหร กถ็ ือวา เปน “ปรชั ญา” ทันที

๑๐๖

๑. ฐานความเชอื่ ของชาวตะวนั ตก

กรีกเปนชาติท่ีเคยเจริญรุงเรืองในทางศลิ ปวิทยาการมากอนชาติอื่น ปรัชญาตะวันตกเริ่มตน
อยางมีระบบโดยชนชาติกรีก คือ ธาเลส เม่ือประมาณ ๒๖๐๐ ปที่ผานมา คําวาปรัชญา หรือ
Philosophy มาจากคาํ วา philos กบั คาํ วา Sophoi ในภาษากรีกซ่ึงแปลวา “ความรัก (Love) ใน
ความรอบรู (Wisdom)” หมายถงึ มีความรักอันเปนแรงผลักดนั ในการแสวงหาความรอบรู ปรัชญาจึง
เปน วิชาหรอื เปนศาสตรในการแสวงหาความรู หรอื เปนวิชาท่วี า ดว ยหลักแหง ความรแู ละความจริงตาม
คําจํากดั ความในพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕๑

คําวา นกั ปรชั ญาหรอื Philosopher เกิดข้นึ มาประมาณ ๒๕๐๐ ปโ ดย พิธากอรัส ท่เี สนอ ให
ใชคําวา Philosophoi แทนคําวา Sophoi หรือ ผูรู ที่ชาวกรีกนิยมเรียกผูมีความรูทางสรรพ
วิทยาการในสมยั นั้น อริสโตเตลิ ไดแบงวิทยาการตา งๆ ออกเปน ๓ ภาค คอื ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ
และภาคผลิต โดยถอื วา สองภาคแรกประกอบดวย อภิปรัชญา ฟสิกส ชีววิทยา จิตวิทยา ดาราศาสตร
เทววิทยา คณิตศาสตร จริยศาสตร และรัฐศาสตร ปรัชญามีความหมายในลักษณะเชนนี้มาหลาย
ศตวรรษ ตอมาเมื่อวิทยาการแขนงตางๆพัฒนามากขน้ึ จึงไดแ ยกตัวออกมาเปนวิชาอิสระในภายหลัง
ปรัชญาจงึ เปนทีม่ าแหงศาสตรและศลิ ปท งั้ หลาย

ปรัชญาเปนการแสวงหาความรู (Seeking wisdom) และเปนองคความรู (Wisdom
sought) ที่มนุษยแสวงหาโดยการคดิ แบบปรัชญา (Philosophical thinking) นักปรัชญาคือผูใช
ความคดิ แบบปรัชญาทเ่ี กิดจากความอยากรูอยากเห็น (Curiosity) ดังท่ี เพลโต กลาววา “ความใฝรู
เปนอารมณของนกั ปรัชญา ปรัชญาเร่มิ ตน จากการใฝรู (Wonder)”๒

ความรูเชิงปรัชญาอาจเร่ิมข้ึนจากความรูความเชื่อในระดับสวนตัว หรือความรูเฉพาะ
(Private wisdom) ปรัชญาจึงเปนความรูแบบปลายเปดท่ีสามารถนําเอาเหตุผลอน่ื ทด่ี ีกวา มาโตแ ยง
ไดเสมอ ยกเวนปรัชญาทางศาสนาเทานั้นที่มนุษยไมตองการเหตุผลนอกจากศรัทธาแตเพียงอยาง
เดียว ปรัชญาทางศาสนาถือกันวาเปนความรูแจงท่ีไมมคี วามเคลอื บแคลงสงสัย แต “ปรัชญาท่วั ไป”
เปนความรูทีย่ ังตอ งพิสูจนกนั ตอไป แมกระน้ันก็ตาม “ปรัชญา” ในทางศาสนาก็เคยถูกทาทายการ
พิสจู นม าแลวจากนกั คิดในสมัยหนง่ึ เชน กาลเิ ลโอหรือ คอรเ ปอรน คิ สั

ปรัชญาสอนใหคนเราใจกวาง กวางพรอมที่รับฟงความคิดเห็นหรือฟงเหตุผลของคนอ่ืน
เพราะปรัชญาสอนใหคนคิดหาเหตุผล (Rational) ท่ีไมสามารถหาไดจากประสาทสัมผัสเหมือน กับ
ความรูทางวิทยาศาสตร ปรัชญาเปรียบเสมือนภาพที่มองความจริงโดยองครวม (Holism) เวลา
วิทยาการแขนงตางๆแสวงหาความรูเฉพาะทาง (Specialization) อันเปนชิ้นสวนยอยของความจริง

๑ สดใส โพธิวงศ, ปรัชญาเบ้ืองตน , (ขอนแกน : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน, ๒๕๓๔), หนา ๑.
๒ นายแพทยสุวัฒน จันทรจํานง, ความเช่ือของมนุษย เก่ียวกับปรัชญา และศาสนา, (กรุงเทพฯ :
สขุ ภาพใจ, ๒๕๔๐), หนา ๓๒.

๑๐๗

เปรียบเหมือนแผนภาพปริศนา (Jigsaw puzzle) ตอเม่อื มผี ูนํามาตอรวมกันจึงจะสามารถมองเห็น
ภาพขององคความรรู วม

ชนชาติกรีกในยุคเมื่อสองสามพันปจัดเปนชนเผาอัจฉริยะในทางศิลปวิทยาการหลายแขนง
ปรัชญาของกรีกเปนมรดกลํ้าคา ท่ีชาวตะวันตกนํามาเปนแนวทางในการแสวงหาความรูในเวลาตอมา
จนทําใหย โุ รปเจริญรุง เรอื งดว ยสรรพวทิ ยาแขนงตา งๆอยางมากมายกด็ ว ยอาศัยแนวคิดท่ีไดรบั มา จาก
ปรัชญากรีกในสมัยน้ัน คําวา กรีก เปนคําท่ีชาวโรมันเรียกชาวกรีก สวนชาวกรีกนั้นเรียกตัวเอง วา
เฮลเลนส (Helenes) ชาวกรีกโบราณด้งั เดมิ เปนเผาอินโดยูโรเปยนท่อี พยพเขา มาตง้ั หลัก แหลงอยูใน
คาบสมทุ รบัลขานเมอื่ ประมาณ สองพนั ปกอนคริสตศ ักราช โดยแยกยายต้ังถ่ินฐานเปน ประเทศเล็กๆ
ท่เี รียกวา นครรัฐ (City States) หลายนครรัฐใชภาษา วัฒนธรรม และศาสนาเดยี วกัน แตอาจมกี าร
ปกครองทอ่ี าจแตกตางกนั เชน นครรัฐมาซโิ ดเนียปกครองแบบราชาธิปไตย นครรัฐ สปารตาปกครอง
โดยกลุมอภิชนาธิปไตย สวนนครรัฐเอเธนสปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย ชาว มาซิโดเนียเปน
นักรบ เชน พระเจาอเลกซานเดอรมหาราช ชาวสปารตาเปนนักปกครอง สวนชาว เอเธนสเปน
นักปราชญทสี่ รา งแนวคิดทั้งทางศาสตร ศิลป และเทววิทยาไวใหช นรนุ หลงั ในเวลาตอ มา

ปรชั ญาตะวันตกเกดิ ข้นึ ภายหลังความเช่ือในเร่ืองเทพเจาอันเปนทมี่ าทางศาสนาพหุเทวนิยม
ของชาวกรีก ทเี่ กิดจากผลงานการแตงมหากาพยในเรื่อง อีเลียด (liad) กับเรื่อง โอดิสซี (Odyssey)
ของโฮเมอร” และเรื่องเทพกําเนิด (Theogony) ของ เฮเสียด เคยมีนักปรัชญากรีกบางคนมี
ความเหน็ คัดคา นทาทายความมอี ยูของเทพเจา ที่ผคู นพากันเชือ่ เคารพบชู าในสมัยน้ัน

การคัดคานความเชื่อทางศาสนาทางลัทธิเคยทําใหคนดีมีคาอยูในสังคมไมไดมามากตอมาก
ตัง้ แตใ นอดีต โสคราติสถูกสภาแหงกรุงเอเธนสสั่งประหารชีวิตดวยการด่ืมยาพิษในสมยั นั้น ก็เพราะ
ถกู ยัดเยยี ดขอ หาวาเปนผูยุยงสงเสรมิ ใหอ นุชนกรีกกระดางกระเดือ่ งตอศาสนา

ศาสนาของชาวกรีกโบราณ เปน แบบพหุเทวนิยม กลา วคือมกี ารนับถือเทพเจาหลายองค เทพ
เจาแตล ะองคเกดิ ขน้ึ จากผลงานนิพนธมหากาพยข องนักประพนั ธช าวกรีกท่ีมีช่ือเสียง ๒ คนคือโฮเมอร
ในเรื่อง อีเลียด (Iliad) และ โอดิสซี (Odyssey) ที่แตงไวเม่ือประมาณสามรอยปกอน พุทธกาล
กลา วถงึ เทพเจาวามีบุคลิกลักษณะคลายมนุษยแตมอี ิทธิฤทธ์ิปาฏหิ าริยและเปนอมตะ กับ อีกคนหนึ่ง
คอื เฮเสียด เมื่อประมาณ ๑๐๐ ปตอมา เนื้อหาโดยยอเกยี่ วกับเรื่องเทพกําเนิด หรือ Theogony ซ่งึ
กลาวถงึ เทพตํานานและกําเนิดของโลกมดี ังน้ี

ในกาลคร้ังหนง่ึ กอนการอบุ ัตขิ องโลกและเทพเจา ไมมอี ะไรเลยนอกจากความวางเปลาที่ มืด
มิดหาขอบเขตมไิ ด ความวางอนั มดื มดิ นี้เรยี กวา เคออส (Chaos) ตอ มาจึงมีพื้นโลกอุบัตขิ ้ึน เรียกวา จี
อา (Gaea) เปนบอเกิดของเทพเจาและสรรพสิ่งทั้งหลาย รวมท้ังมีทองฟาและดวงดาวที่ เรียกวา
ยูเรนสั (Urenus)

๑๐๘

จีอาและยูเรนัสอยูรวมกัน แลวใหกําเนิดเทพและเทพี ๑๒ องคมีรางกายใหญโตมหึมา
เรยี กวาพวกไทตนั (Titan) ไททันองคห น่ึงชื่อวาโครนัส (Cronus) ไดโคนอํานาจของยูเรนัสผูเปน บิดา
แลว ตง้ั ตนเปนใหญในสวรรคบ นยอดเขาโอลิมปส โครนัสมมี เหษชี ่อื วา รีอา (Rhea) มีโอรส หลายองค
แตถูกโครนัสจับกลนื กนิ เปน อาหารกอนทจ่ี ะเติบโตดวยเกรงวา จะมาแยงอํานาจดังท่ีตนเอง เคยทํากับ
ยูเรนัสผเู ปนบิดา

ตอมาโอรสของโครนัสองคหนึ่งคือ เซอสุ (Zeus) หรือ จูปเตอร (Jupeter) ถกู มารดาแอบ
ซอ นไวและไดรบั การเล้ียงดจู นเติบใหญ ทําสงครามแยง ชงิ อํานาจเอาชนะโครนัสผูเปนบิดา แลว บังคับ
ใหโครนัสดมื่ นา้ํ สาํ รอกเอาพ่ี ๆ ทถ่ี ูกโครนสั กลนื กนิ เขาไปออกมา

เซอสุ หรอื จปู เตอร สถาปนาตนเองเปนเทพบดี มีอํานาจครองความเปนเจาไตรภพ คือสวรรค
โลกมนุษยและบาดาล ไดจัดระบบการปกครองโดยมีสภาจัดการประชุมปรึกษาหารือในระหวางหมู
เทพเจาดวยกนั ๑๒ องค คอื เซอุส (Zeus) เฮรา (Hera) อพอลโล (Apolo) อารเทมิส (Atemis) อา
เรส (Ares) เฮอรเมส (Hermes) แอโฟไดร (Aphrodrite) โปไซดอน (Poseidon) เดมิเตอร
(Demeter) เฮสเดยี (Hestia) เฮฟตสุ (Hephetus) และ เอธีนา (Athena) เน่ืองจากเทพเจาเหลาน้ัน
ยังคงเต็มไปดวยกิเลสตัณหา จึงยังคงมีการแบงเปนพรรคเปนพวกแสวงหาผลประโยชน ใชเลห
เหล่ียมกโลบายหักหลังชิงดีชิงเดน กันอยูเยี่ยงมนุษย ในบรรดาชื่อของเทพเจาเหลานี้ บางองคได ถูก
นาํ มาตง้ั เปนชอ่ื ยานอวกาศ ช่ือจรวด ช่ือนํ้าหอม ดงั ที่เราทราบกันอยูในปจ จบุ ัน

นอกจากน้ี ชาวกรีกในสมัยนน้ั ยังพากันเช่ือวา มนุษยและสัตวท้ังหลายเกิดจากการสราง ของ
เทพเจาอีกสององคคือ Prometheus และ Epimetheus ผูเปน โอรสของไทตันช่ือ ไออาพิทัส เทพเจา
ทั้งสองชวยกนั สรางสตั วขน้ึ มากอ นแลง จึงเอาดินเหนียวมาปนเปนมนุษย มรี ูปลักษณเชน เดียวกับเทพ
เจาคือมีสองขาและยืนตัวตรง โปรมีธูสเหาะขึ้นไปบนสวรรคเพ่ือนําเอาคบเพลิงทจ่ี ุดจาก ดวงอาทิตย
มามอบใหแกมนุษย เทพบดีเซอุสเปนผูปกครองมนุษยโลก จัดวางระเบียบแบบแผนและ กฎเกณฑ
ตางๆ รวมทง้ั วางมาตรการในการควบคุมความประพฤตใิ หมนุษยอ ยใู นศีลธรรม เทพบดี เซอุสมอี ํานาจ
ในการตงั้ กฎเกณฑตามความพอพระทยั หากมนุษยฝาฝนจะถูกลงโทษตามความเห็น ชอบของเทพบดี
เปนทีน่ า สงั เกตวา มหากาพยอ นั เปน งานนพิ นธของ โฮเมอรแ ละ เฮเสียด ทีต่ องการสรางเทพเจาข้ึนมา
ก็เพื่อสอนใหมนุษยอยูในศีลธรรม ท้ัง ๆ ที่ผูสอนก็มากดวยกิเลสตัณหามี ความรักโลภริษยาอาฆาต
เชนเดยี วกบั มนุษย น่คี อื กิเลสของมนุษยท ี่ตอ งการส่งั คนอนื่ แตไ มใสใจที่จะ สอนตนเอง

อยางไรกต็ าม ชาวกรีกสมยั โบราณกย็ ังใหความเคารพบูชาเทพเจาทั้งหลาย มีการสวด ออน
วอนบวงสรวงดวยความเกรงกลวั ในมหิทธานุภาพที่พากันเช่ือวาเทพบดแี ละเทพเจาทั้งหลาย สามารถ
ใหคุณใหโ ทษกบั มนุษยไดตามความพอพระทัยของพระองค จึงมีการสรางวิหารเพอื่ สักการะ บูชาตาม
สถานทต่ี างๆมากมาย เชนวหิ ารโดโดนาสําหรบั บูชาเทพบดเี ซอุส วิหารเดลฟและวิหารเดลอส สําหรับ
บูชาเทพเจาอพอลโล ชาวกรีกในสมัยนั้นตางนิยมเขาขอพรและรับคําฟงคําทํานายโดย ผานคนทรง

๑๐๙

ประจาํ วิหาร ซึ่งคําพยากรณ (Oracle) เหลา น้ันมกั เปนคาํ ปริศนาที่ตองตีความกนั อีกเชน เดยี วกับการ
ใบห วยในสมยั น้ี

ตอ มาอีก ๖๐๐ ปกอนคริสตศักราชหรือประมาณในระยะเร่ิมตน ของสมัยพุทธกาล ชาวกรีก
บางสวนเร่ิมหันมาเล่ือมใสศรัทธาในรหัสยลัทธิ (Mysticism) ที่มีผูนําเขามาเผยแพรจากการแลก
เปลี่ยนทางอารยธรรมกับชนชาติอียิปต คือลัทธดิ ีโอนิซเี นีย (Dionysinian Mysticism) และลัทธิออร
ฟส ม (Orphism) ความเชือ่ ในลทั ธิดโี อนิซิเนียนตอ มากลายเปนประเพณีการทําเหลาองนุ มงี านสมโภช
ประจําปเพื่อขอใหเทพเจาดีโอนีซุสเพิ่มผลผลิตทางเกษตร ทําใหชาวไรชาวนากรีกจํานวนมากสมัคร
เขาเปนสมาชิกของรหัสยลัทธิน้ีมากขึ้นเรื่อยๆ สวนลัทธิออรฟสมเดิมน้ันนับถือเทพเจาซาเกรอุส แต
ชาวกรีกไดน าํ มาเปลย่ี นเปน เทพเจาองคเดียวกนั กันความเช่ือในลัทธิดีโอนิซีเนยี เดมิ

ชาวออรฟสมเชื่อวา แรกเริ่มจักรวาลคือโครนัสหรือกาลเวลา โครนัสเปนผูใหกําเนิดเคออส
(Chaos) และอีเธอร (Ether) เคออส ถกู หอหุมดวยรัตติกาลหรือความมดื มิด ตอ มาเคออสและอีเธอร
รวมกันกอ ใหเกดิ สสารทเ่ี หมาะตอการสรางจักรวาล สสารมีรูปกลมคลายไขและมีรัตติกาลเปนเสมือน
เปลือกไข ดานบนของทรงกลมเปนทอ งฟา ดานลา งเปนพนื้ ดิน สวนตรงกลางเปนเฟเนสหรือแสงสวาง
ซึ่งเปนผสู รางสวรรคและโลกรวมทัง้ เปนผูใ หกําเนดิ เทพบดเี ซอุส เทพบดีเซอุสไดเทพีเปอรเซโฟเน เปน
ภริยาและเปนผูใหกําเนิดเทพชาเกรอุส ตอมาถูกพวกไททันสังหารและแบงเนื้อซาเกรอุสกินเปน
อาหาร เซอุสไดสรางเทพซาเกรอุสขึ้นมาใหมกลายเปนเทพ ดีโอนีซสุ ซง่ึ ไดร ับมอบอํานาจใหปกครอง
โลก สวนพวกไททันที่กินเน้ือเทพเจากลายเปนมนุษยมีจิตใจสูงสง แตรางกายยังเต็มไปดวยกิเลส
ตณั หาเพราะเคยเปนพวกไททันมากอ น ดังน้ันเทพดีโอนิซสุ จึงบัญชาใหเทพออรเฟอุส สอนทาง แหง
ความหลดุ พนใหก ับมนุษยดว ยการขจัดกิเลสตัณหาใหหมดส้ินจึงจะพนจากการเวียนวายตายเกดิ ดวง
วิญญาณจึงจะกลายเปนเทพเจาผูอมตะ สมาชิกของลัทธิน้ีตางถือศีลอยางเครงครัด งดเวนการ กิน
เนื้อสัตว เปนทนี่ าสังเกตวา ความเช่ือในเรื่องของจิตวิญญาณของชาวกรีกในลัทธิออรฟสม มีเกี่ยวกับ
ปรัชญาอินเดีย ความละมายคลายคลึงกับความเชื่อของชาวอารยันในชมพูทวีป ดังรายละเอียดอัน
ปรากฏอยใู นเรอื่ ง

ภายใตความเชื่อทางศาสนาของชาวกรีกในสมัยนั้น จึงไดมีผูคิดแสวงหาความรูดวยการใช
เหตุผลอยางเปนระบบข้ึนในสังคมชาวกรีก โดยเฉพาะอยางยิ่งในนครรัฐเอเธนส ซึ่งตอมากลายเปน
ปรัชญาอันมีอิทธิพลตอการพัฒนารากฐานทางศิลปวิทยาและทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ของ
ชาวตะวันตกในเวลาตอ มา ปรัชญากรีกเรมิ่ ตนขึ้นมาพรอมๆกับปรัชญาพุทธเม่อื ประมาณ ๒๖๐๐ ป ที่
ผานมา

๑๑๐

๒. ปรัชญาตะวันตกยคุ เร่มิ ตน

๒.๑ ปรชั ญาของธาเลส
ปรชั ญาตะวันตกยคุ แรกเร่มิ ตนเมื่อประมาณ ๖๐๐ ปกอนคริสตศักราช หรือในยุคเดยี วกันกบั
การเร่ิมตนของพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย คนสมัยนั้นตั้งตนดวยการแสวงหาความรูเก่ียวกับ
ธรรมชาติเพ่อื ตอ งการทราบคําตอบเกี่ยวกับเน้ือแทของโลกที่มนุษยอาศัยอยูวาเกดิ ขน้ึ มาอยางไรและ
ประกอบดวยอะไร
ธาเลส (Thales กอ น พ.ศ.๔๒ ป) เปนนักปรัชญาตะวันตกคนแรกท่ีเชื่อวาโลกมลี ักษณะกลม
แบนลอยอยูในน้ําท่ีกวางใหญไพศาลหาขอบเขตมิได ความเชื่อเชนน้ีนาจะเริ่มจากจินตนาการของ
มนุษยที่มองออกไปในทะเลอันแสนไกลเห็นแตทองฟา จรดแผนนํ้า ธาเลส เปนชาวกรีกเผาไอโอเนียน
แหงนครไมเลส ตั้งอยูชายฝงทะเลดานตะวันตกของเอเซียไมเนอร คงมีประสบการณอันกอใหเกิด
ความรูสกึ ท่ีจะหาคําตอบในลักษณะนี้เชน เดยี วกัน ธาเลส สอนศษิ ยในสํานักปรัชญาแหงน้ีวา โลก เกดิ
จากการรวมตัวของปฐมธาตุ (Prime matter) ท่มี ีอนุภาคเล็กท่ีสุดคือ น้ํา น้ําหรือความชื้น คือท่ี มา
ของสรรพส่ิงทั้งหลาย สิ่งตางๆเมื่อแยกสวนลดทอนลงไปใหถึงท่ีสุดจะเหลือความจริงสิ่งเดียวคือ นํ้า
และในสรรพสิ่งเหลานี้ ธาเลส เช่ือวามีเทพเจาสิงสถติ ยอยู เทพเจาคือสิ่งท่ีไมมีเบื้องตน และไมมีท่ี สุด
ธาเลส คือนักปรัชญาคนแรกของกรีกที่เคยกลาวคําคมไววา“การรูจักตนเองเปนเร่ืองยากที่สุด การให
คาํ แนะนาํ คนอ่นื เปน เรื่องงายท่ีสุด การใชชวี ิตอยางมคี ุณธรรมและยุตธิ รรมคือการไมทาํ ในเรื่องที่เคยติ
เตียนผอู นื่ ”๓

๒.๒ ปรัชญาของอานักซิมานเดอร
อานกั ซิมานเดอร (Anaximander กอ น พ.ศ. ๖๘ ป) ศษิ ยของธาเลสไมเ หน็ ดวยกับความ เช่ือ
ของครู เขาเช่อื วา นํา้ เปน ของเหลวท่ีมีรปู แบบตายตัว ไมนาจะเปล่ียนสภาพกลายเปนธาตุดินหรือ ธาตุ
ไฟได ปฐมธาตุท่ีกอกําเนิดโลกนาจะเปนสสารไรรูป (Formless material) ไมมีลักษณะใดๆ มองไม
เห็นดว ยตา แตคงอยูอยางนิรันดรและแผซานไปไมมีท่ีส้ินสุด อานักซิมานเดอรเรียกชื่อปฐมธาตุ น้ีวา
อนนั ต (Infinite) ไมมีลกั ษณะท่ีแนน อนตายตัวแตมีศกั ยภาพทีจ่ ะกลายเปนอะไรก็ได สรรพสิ่งทั้งหลาย
ลวนแตมีตน กําเนิดมาจากอนนั ตทงั้ สนิ้

๒.๓ ปรัชญาอนักซเิ มเนส
อานักซิเมเนส (Anaximenes กอน พ.ศ. ๔๕ ป) ศษิ ยของอานักซิมานเดอรอกี คนหน่ึง แหง
สาํ นกั ไมเลตสุ มคี วามเหน็ วา อากาศ คือปฐมธาตุของโลก เพราะวาอากาศแผขยายออกไปได อยางไม

๓ ศรณั ย วงศคําจันทร, ปรชั ญาเบื้องตน, (กรุงเทพฯ : อมรการพมิ พ, ม.ป.ป.), หนา ๙๕-๙๖.

๑๑๑

มีที่สิ้นสุด เพราะการเคลื่อนไหวของอากาศ สรรพสิ่งทั้งหลายจึงเกดิ ขึน้ อากาศสามารถที่จะขยายตัว
(Rarefaction) และสามารถที่จะหดตัวหรือมีการกลั่นตัว ดังนั้นสรรพส่ิงทั้งที่เปนของแข็งและ
ของเหลวยอมเกดิ มาจากอากาศทัง้ สิ้น๔

๒.๔ ปรชั ญาของพธิ ากอรสั
พธิ ากอรัส (Pythagoras กอ น พ.ศ. ๒๗ - พ.ศ. ๔๖) นักปรัชญากรีกกลุมไอโอเนีย แหงนคร
รัฐชามอส ผูเริ่มตนใชคําวานักปรัชญา (Philosopher) แทนคาํ วา ผูรู หรือ ผูใฝร ู (Sophoi) เปนคน
แรกท่ีเชื่อวาจํานวน (Number) คือลักษณะท่ีสําคัญที่สุดของสรรพส่ิงท้ังหลายในโลก เขาเชื่อวา
ทัศนียภาพอันสวยงามทเี่ รามองเหน็ เกิดข้นึ จากการวางเรียงกันอยางลงตัวดว ย “จํานวน” ทพี่ อเหมาะ
มีระเบียบมีความกลมกลืนของธรรมชาติ การท่เี ราสามารถอธิบายความสัมพันธระหวาง ทงุ หญาและ
ปาเขาทีส่ วยงามเปน ทัศนียภาพไดก ็ดว ยความมีสัดสวนอนั เกดิ จากจํานวนตัวเลขทั้งสิ้น ดวยเหตนุ ้ี พธิ า
กอรสั จึงเชื่อวา ปฐมธาตขุ องโลกคือ หนวย (Unit) สรรพส่ิงท้ังหลายเกิดจากหนวย หนวยทงั้ หลายเมื่อ
รวมกันยอ มทําใหเ กดิ เสน เสนรวมกันทําใหเกดิ เน้ือท่ี และเน้ือท่ีรวมกันยอมทําให เกิดปริมาตร หนวย
ในความหมายของพธิ ากอรัส นาจะหมายถงึ อนุภาคเลก็ ๆเชน เดียวกันกับทมี่ ีนัก ปรัชญากรีกสมัยตอ มา
คอื เดมอเครตสุ เรียกสิ่งนั้นวา อะตอม (Atom) กไ็ ด เพราะการรวมตัวของ หนวยหรือของอะตอม
สรรพสิง่ ตางๆ ในโลกจึงเกดิ ขึน้ เมอ่ื เรามาวิเคราะหแนวความคดิ ของนักปรัชญา กรีกทั้ง ๔ คนจะเห็น
วา ปรชั ญากรีกเรม่ิ ตนดวยแนวคิดแบบแยกสวน (Reductionism) ตามแบบ ของปรัชญาสสารนยิ ม
พิธากอรัส เชือ่ วาปฐมธาตขุ องโลกมีลกั ษณะเปน สสาร แตใ นสวนของความเปนมนษุ ย พิธากอรัสเชื่อวา
คนเราน้ันมจี ิตวิญญาณ จากคําสอนเกยี่ วกบั วิถีแหงความหลุดพน (The way of salvation) เขาเช่ือ
วา คนเราน้ันเมือ่ ตายลงจะกลับมาเกิดใหม วิญญาณนั้นไมม ีวันดบั สูญ แตจ ะเวียนวายตายเกดิ ไปตาม
ผลกรรม ด้งั เดมิ นั้นวิญญาณจุติมาจากสรวงสวรรคโดยพระเจา๕ เมือ่ วิญญาณไดสูญเสียความบริสุทธ์ิ
จึงตองเวียนวายตายเกิดไปจนกวาคนเราจะไดป ฏิบัตขิ ัดเกลากิเลสโดยการควบคมุ ความตอ งการทาง
กายตามแบบรหัสยลัทธิที่สมาคมพิธากอรัสถือปฏิบัติเชนการงดเวนบริโภคถั่วและเนื้อสัตวทุกชนิด
ความเชื่อเชน นี้ไมใ ชเ ปน เรอื่ งแปลูกในหมูชาวกรกี ในสมยั ทีต่ กอยูใตอิทธิพลความเชื่อของลัทธิออรฟส ม
ซ่งึ เริ่มแพรหลายเขาไปในดินแดนกรีกเมอ่ื ประมาณ ๖๐๐ ป กอ นคริสตศักราช หรือประมาณตน ของ
สมยั พทุ ธกาล

๔ จํานงค ทองประเสรฐิ , ปรัชญาประยุกต ชดุ ตะวนั ตก, (กรุงเทพฯ : ตนออ แกรมม่ี จาํ กัด, ๒๕๓๙), หนา
๓๑.

๕ ศรัณย วงศคาํ จนั ทร, เร่อื งเดยี วกัน, หนา ๑๐๖-๑๐๗.

๑๑๒

๒.๕ ปรัชญาของเฮราคลติ ุส
เฮราคลิตุส (Horaclitus พ.ศ. ๘ - ๖๘) เปนนักปรัชญากลุมไอโอเนียอีกคนหน่ึงท่ใี หความ
สนใจตอ ปญหาการเปลี่ยนแปลงของสรรพส่ิงท้งั หลายมากกวาการใฝหาคาํ ตอบในเรื่องปฐมธาตุ เขา
เชื่อวา สิ่งทั้งหลายในโลกนี้ไมมีความคงท่ี ไมมีความคงตัว แตมีการเปลี่ยนแปลง (Change) อยู
ตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงเปนลักษณะแทจริงของสรรพส่ิง มีการเกิดข้ึน ต้ังอยู และดับไป เปน
ธรรมดา เมื่อมีสิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งน้ันตองมีการเปลี่ยนสภาพหน่ึงไปสูอีกสภาพหนึ่งเสมอ คนเรายอม
เปลี่ยนสภาพจากภาวะของความเปนเด็กทารกไปสูความเปนหนุมสาว และในทสี่ ุดหากชีวิตยังคงยืน
ยาวตอไป รางกายของเขายอมมกี ารเปล่ียนแปลงเขาสูวัยชรา ไมม ีใครตานกระแสแหงความเปลี่ยน
แปลงได มนุษยและสรรพส่ิงมคี วามเหมอื นกันคือตอ งเปลี่ยนแปลง เพราะส่ิงท้ังหลายยอมเล่ือนไหล
ไปตามกระแส ดุจดงั สายนํา้ ในลาํ ธารทน่ี ับวนั แตจ ะไหลตอไปอยางไมมวี ันหยุดนิ่ง เฮราคลิตุสกลาว คํา
คมไววา “ขาพเจาไมสามารถกา วลงไปอยใู นแมน้าํ สายเดยี วกันไดถึงสองครั้ง เพราะน้ําใหม ไหลผานตัว
ขา พเจา อยูต ลอดเวลา”๖
จุดที่เฮราคลิตุสตองการเนนคือ ในโลกน้ีไมมีอะไรคงท่ี ไมมีอะไรเท่ียงแท นอกจากการ
เปลี่ยนแปลง ความเห็นของเฮราคลิตุสในเรื่องน้ีเปนสัจธรรมท่ีพระพุทธเจามองเห็นในเรื่องของความ
เปน อนิจจังมากอนเฮราคลิตุสเกือบรอ ยป นอกจากความไมเทย่ี งอันเปนกฎไตรลักษณท ่ีมนุษยสามารถ
มองเหน็ ไดงายที่สุดแลว พระองคยังสอนและชี้ใหมนุษยเขา ใจในกฎธรรมชาติอกี สองประการคอื ภาวะ
ทต่ี ้งั อยูไมไ ด (ทกุ ขตา) และภาวะของความไมม ีตวั ตน (อนัตตา) ซงึ่ ไมเ คยมีการกลาวถึงใน ปรัชญาหรือ
ศาสนาอื่น ๆ เพราะสว นใหญเ ชือ่ วา สรรพสง่ิ ท้ังหลายเปน อัตตา มตี วั ตนและเปน นิรนั ดร
เฮราคลิตุสไมเห็นดวยกับความเชื่อในเร่ืองปฐมธาตุของสาํ นักไมลาตุส เขากลาววา ส่ิงใดเปน
ปฐมธาตุของโลก ส่ิงนั้นยอมมพี ลังของการเปลี่ยนแปลงในตวั เอง และพลังกอใหเกิดการเปล่ียนแปลง
นั้นคอื ไฟ ไฟจึงเปนปฐมธาตขุ องโลก โลกของเรานีไ้ ดเปน กาํ ลังเปน และจักเปนไฟอมตะ เปลวไฟ นั้น
เปลี่ยนแปลงไดรวดเร็ว ประเด๋ียวริบหร่ี ประเดี๋ยวเรืองรอง บางคร้ังลุกโพลงแตบางคราวมอดลง ไฟ
กองเดยี วมีลกั ษณะแปรเปลย่ี นไดห ลายอยา ง ดงั น้ันไฟจึงเปนปฐมธาตุของโลก ไมมพี ระเจาองคใดหรือ
มนุษยคนใดสรางโลกนอกจากไฟท่ีแปรรูปเปนสรรพสิ่งท้ังหลาย ไฟแปรเปล่ียนไปเปนลม จากลมเปน
นํา้ และจากน้ํากลายเปนดิน ในขณะเดียวกัน ดนิ กอ็ าจจะแปรเปล่ียนไปเปนน้ํา จากนํ้าไปเปนลมและ
จากลมกลายเปนไฟไดต ลอดเวลา
สรรพส่ิงทั้งหลายคือไฟท่ีมีการเปลี่ยนแตรูปภายนอกเทาน้ัน ดินคือไฟ หินคือไฟ และ
วญิ ญาณหรือแมแตพ ระเจาก็คือไฟ ทกุ ๆ สิ่งกลายเปนสิ่งเดยี ว และจากส่ิงเดยี วกลายเปนทุกๆ สิ่งเขา
เช่ือวา เพราะไฟจึงทําใหสรรพส่ิงท้ังหลายอยูดวยกันอยางกลมกลืนเปนอันหนึ่งอันเดียวกนั แมวาสิ่ง
ตางๆนนั้ จะแบงออกเปน คขู องการขดั แยง เชน เปน คูกบั รอ น ออนคูกับแข็ง หรอื ดีคกู ับชั่ว แตเปนการ

๖ นายแพทยส วุ ัฒน จนั ทรจํานง, ความเชอื่ ของมนุษย เกี่ยวกับปรัชญา และศาสนา, หนา ๓๙-๔๑.

๑๑๓

ขัดแยงเพื่อการประสานการดํารงอยู ถาปราศจากการขัดแยงภายในส่ิงใด ส่ิงนั้นจะดํารงอยูไมได
ความขัดแยงกอใหเกิดความสามัคคี ความแตกราวกอใหเกิดความกลมกลืนบรรเจิดสุด สรรพส่ิงเกิด
ข้ึนมาเพราะความขัดแยง และความขัดแยงกอ ใหเ กิดการเปล่ยี นแปลง

ปรัชญาเร่ืองการเปลี่ยนแปลงของเฮราคลิตุส นอกจากจะมีสวนคลายกับหลักอนิจจังใน
ปรัชญาพุทธแลวยังมีลีลาทางความคิดความเชื่อคลายคลึงกบั คัมภีร ก่ิงในปรัชญาเตาของจีนอีกสวน
หนึง่ ดวย เฮราคลติ ุส สอนวา

“เพราะมีความแตกราวเราจึงรูจกั การรวมตัว เพราะมสี ง่ิ ขดั แยงเราจึงพบความ กลมกลืน โลก
เปนแหลงของความกลมกลืนของสิ่งขัดแยง เหมือนดนตรีอันไพเราะอันเกิด จากการประสานเสียง
ระหวางเมโลด้ีกับคอรดที่ออกมาจากเครื่องดนตรีหลายชนิด โลกท่ีเรามองมุมหนึ่งเต็มไปดวยความ
ขัดแยง แตขณะเดียวกันเราจะมองเห็นโลกของความกลมกลืน เปนอันเดียวกันของสรรพสิ่งใน
ธรรมชาติอันสวยงาม คนทั่วไปอาจจะเห็นความขัดแยงในสิ่งท้ังหลาย แตผูท่ีเขาถึง วจนะ (Logos)
หรือกฎธรรมชาติที่ทําใหจักรวาลมีความเปนระเบียบ และมีความหมายเปนที่เขาใจแกมนุษย จะ
มองเห็นความเปนเอกภาพในสรรพสิ่งท้ังหลายวา เย็นไมมีความแตกตางจากรอน สุขไมมีความ
แตกตางจากทุกข เย็นก็คือรอนนอย สุขก็คือทุกขนอย ทุกขก็คือสุขนอย เย็นเปลี่ยนเปนรอน รอน
เปล่ียนเปนเย็น แหงกลายเปนเปยก ดีกับเลวเปนสิ่งเดียวกนั ชีวิตกับความตาย ตน่ื กบั หลับ หนุมกับ
แก ก็เปนสิ่งเดยี วกนั เพียงแตว าแตละคูมกี ารเปลี่ยนแปลงสลับกันไปมาตามกฎของการเปลี่ยนแปลง
ไมมีอะไรอยูคงเดิม ดวยเหตุนี้ผูมีปรีชาญาณหยังเห็นความจริงในวจนะ ยอมมองเห็นความกลมกลืน
ของส่ิงทง้ั หลาย”

โดยนัยนี้ ปรชั ญาของเฮราคลิสจงึ นับวาเปนสัจธรรมที่คลายคลึงกับปรชั ญาพทุ ธท่ีสอนวา
“ผูมีปญญาเทาน้ันจึงจะมองเห็นความเปนจริงตามหลักเหตุปจจัย วจนะ หรือ กฎธรรมชาติ
เปนเร่ืองที่รูไมไดดว ยประสาทสัมผัส คนท่ีใชเหตุผลดว ยปญญาเทาน้ันจึงจะหยั่งรูและเขาใจในวจนะ
ได”
เฮราคลิตุสกลาววา วิญญาณของมนุษยเปนสวนหนึ่งของไฟอมตะ คือพระเจา ดังน้ัน
วิญญาณจึงมีเหตุผลที่จะหยั่งรูวจนะอันเปนกฎของพระเจา มนุษยจึงควรดําเนินชีวิตใหสอดคลองกับ
กฎสากลของธรรมชาติโดยไมคดิ ฝาฝนหักลาง เขาสอนวาวิญญาณของมนุษยควรข้ึนใหพนจากความ
หลับไหลไปสูโลกของปญญา การฝนวจนะก็คอื การฝนธรรมชาติ เปนธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงที่
มนุษยไมม ที างเอาชนะไดเลย
พทุ ธศาสนาสอนใหมนุษยดําเนินชีวิตใหสอดคลองและกลมกลืนกบั กฎธรรมชาติเชนเดยี วกัน
ปรัชญาพุทธเชื่อวาสังขารหรือสรรพส่ิงในโลกไมเท่ียงแทถาวร ส่ิงทั้งหลายมกี ารเกิดข้ึนและดับไปเปน
ธรรมดา สิ่งท้ังหลายอาศยั กันเกดิ ขึ้นดว ยเหตุปจ จัย ตามหลักธรรม ท่ีวา“เพราะสิ่งนี้มีสิ่งน้ีจึงมี เพราะ

๑๑๔

ส่ิงน้ีเกิดส่ิงนี้จึงเกดิ เพราะสิ่งน้ีไมม ีส่ิงน้ีจึงไมมี เพราะสิ่งน้ีดับสิ่งนี้จึงดับ ไมมสี าระแกนแทอยูในสิ่งใด
ทกุ ส่งิ วางจากแกน แทว างจากตัวตนเพราะวา ทุกส่งิ เปน อนัตตา”

ปรัชญาพุทธคลายกับปรัชญาของเฮราคลิตุสในตอนแรก แตมคี วามแตกตา งกันอยางสิ้นเชิง
ในเรื่องของอัตตากับอนตั ตา เฮราคลิตุสเช่ือวา ไฟเปนปฐมธาตุทีเ่ ปนวิญญาณ เปนพระเจา เปนอมตะ
ปรัชญาของเฮราคลิตุสเปนแนวความคิดที่มีความสงางามล้ําปรัชญาของสํานักไมลาตุสเพราะ วานัก
ปรัชญาคนอ่นื ๆ ไมส ามารถอธิบายการเปลยี่ นแปลงของปฐมธาตุใหเปน รปู ธรรม

เฮราคลิตุสกลาวไวในหนังสือ วาดวยธรรมชาติ เปนคําคมท่ีชวนใหคิดมาจนถึงคนในยุคใน
สมัยนี้ ตอนหนึง่ มขี อ ความวา

“อปุ นิสัยของคนคือชะตาชวี ติ ของเขา”
“แพทยผ า ตัดทรมานคนไข แตกย็ ังเรียกคาผา ตดั ทีต่ นไมค วรไดร บั ”
“ถาทานไมพยายามคาดคิดในแงมุมท่ีคนคิดไมถึง ทานจะไมมีวันคนพบความจริง เพราะ
ความจริงน้ันพบไดยากมาก”

๒.๖ ปรัชญาของเซโนฟาเนส
เซโนฟาเนส (Xenophanes พ.ศ. ๒๗-๖๓) เปนนักปรัชญากรีกแหงสํานักเอเลีย (Eleatic
School) มคี วามเห็นเก่ียวกบั ปฐมธาตขุ องโลกแตกตางออกไปจากความเช่ือของสํานักปรัชญาไมลาตุส
โดยเฉพาะอยางย่ิง คือ ความเห็นเร่ืองความเปนอนิจจัง อันเกดิ จากการเปล่ียนแปลงดงั ท่เี ฮราคลิตุส
เคยอธิบายเอาไว
เซโนฟาเนส เชื่อวา โลกเที่ยงเปน นิจนริ นั ดร ความเปลี่ยนแปลงใดๆในโลกเปนเพียงมายา หรือ
ภาพลวงตา ความเช่ือของเฮราคลิตุสคอนไปทางปรัชญาพุทธ ความเชื่อของเซโนฟาเนสกระเดียด ไป
หาพราหมณ แตวา เซโนฟาเนสคือนักปรัชญาท่ีสอนชาวกรีกไมใหหลงงมงายสวดออนวอนขอพรตอ
องคเ ทพบดีเซอุส หรือซุส (Zeus)
เซโนฟาเนส กลาววา ผูท่เี ช่ือวาเทพเจาเซอุสเปนผูทรงมหิทธานุภาพ สามารถกําหนดชะตา
ชวี ติ ของมนษุ ยใหอยูใตเ ทวลขิ ติ ไดน ั้น คอื ผูที่ยงั ตกอยูในความงมงาย เปนความเชื่อที่ไมถกู ตองเขาสอน
วา เทพเจา จริงๆนั้นไมมีบคุ ลิกอยางเชนเทพเจาเซอุสทเี่ ตม็ ไปดว ยอารมณโกรธหลงเหมือนมนุษย เทพ
เจาควรมีความบริสุทธ์ิผุดผอง มนุษยไมควรวาดภาพเทพเจาตามจินตนาการของตน มิฉะน้ันจะ
กลายเปน วามนุษยคือผสู รางเทพเจา
เซโนฟาเนส เช่ือวา เทพเจานั้นไมนามีหลายองคอยางในเทพตํานานของเฮเสียด แตมีเพียง
องคเดียวที่เรียกวา God พระองคมตี าทพิ ย ทรงเปนสัพพัญู ทรงมีอยูชั่วนิรันดรกาล พระองคไมมี
การอบุ ัติและจตุ ิ ไมม ขี อบเขตจํากัด ไมม กี ารเคลื่อนทแ่ี ละไมม ีการเปลี่ยนแปลง พระองคสถิตอยูในโลก
และทรงเปนส่ิงเดียวกับโลก พระเจาคือโลก และโลกคือพระเจา ความเชื่อของเซโนฟา เนสเปน

๑๑๕

แนวคิดทยี่ กโลกขึ้นเปนพระเจา พระเจาไมใ ชดวงวิญญาณ แตพระองคคือโลกท่ีมีชีวิตจิตใจ ทกุ สิ่งทุก
อยางในโลกเปนสวนของพระองค เมอื่ มาถงึ ตอนนี้ ปรัชญากรีกไดเร่ิมเกดิ เงาความเช่ือจากอภิปรัชญา
ไปสูแบบสรรพเทวนิยม (Pantheism) อนั เปนแนวความคิดในศาสนาเทวนิยมท่ีเช่ือ วา “พระเจาไม
เคยเปลี่ยนแปลง” เชนในความเชื่อของศาสนาคริสต ในกาลตอ มา

๒.๗ ปรัชญาของปารเมนเิ ดส
ปารเมนิเดส (Parmenides พ.ศ. ๒๘ - ๙๓) เปนนักปรัชญาชาวเมอื งเอเลียเชนเดียวกับ เซ
โนฟาเนส เขาไมเห็นดวยกับความเช่ือในเรื่องอนิจจัง ในสรรพสิ่งของเฮราคลิตุส ปารเมนิเดสกลาววา
ธาตุแทของสรรพสิ่งไมเ คยมีการเปลี่ยนแปลงเลย ความเปล่ียนแปลงเปนเพียงปรากฏการณหนาฉาก
เทานน้ั ธาตแุ ทของโลกไมใ ชน ้ํา ไมใชไ ฟ ไมใชลม แตเ ปนส่ิงทีเ่ ขาเรยี กวา Being หรอื ภาวะ
ภาวะหรือความมอี ยเู ปนแกน แท เปนคุณลักษณะประจําของสรรพสิ่งท่ีมมี ากอน ไมมกี ารเกดิ
การดบั และไมม ีการเปลีย่ นแปลง หากมกี ารเปลี่ยนกห็ มายถงึ การไมมภี าวะ หรืออภาวะ (Non Being)
อันหมายถึงการดบั สูญ แตภาวะน้ัน ดบั สูญไมไ ด ดังนั้นภาวะจึงไมมีการเปล่ียนแปลงภาวะจะอยูเปน
นิรนั ดรเ ชนเดยี วกบั คาํ วา พระเจา ในความหมายของเซโนฟาเนส
ปารเมนิเดสเช่ือวา การที่เราเห็นวาโลกมีการเปลี่ยนแปลงนั้น เปนแตเพียงเปลือกนอกจาก
การรับรูของประสาทสมั ผสั ทร่ี ับรูผิดหลอกตัวเอง ประสาทสัมผัสลวงเราวาโลกมีการเปล่ียนแปลงมอง
สิ่งที่เปนมายาวาเปนความจริง ปารเมนิเดสเช่ือวาการรูความจริงยอมเกิดจากความคิด จากเหตุผล
ไมใชจากประสาทสัมผัส ภาวะ หรือ ความมีอยูของเขาจึงเปนอภิปรัชญาอันเกิดจากจินตนาการจาก
มโนภาพในดวงจิต เปนจุดเร่ิมตนของปรัชญาจิตนิยม แตเปนแนวคิดเริ่มตนของจิตนิยมที่แฝงอยูใน
ความเช่ือแบบวัตถุนิยม จากการท่ีเขามองวาโลกเปนเพียงวัตถุ เราจะเห็นวาปรัชญาน้ันเริ่มตนจาก
สสารนยิ มท่ไี ดข อมูลมาจากการสังเกตของประสาทสัมผัส เมอื่ มนุษยใชความคิดจากการใชเหตผุ ลหรือ
จากศรัทธาเขาไปวิเคราะห แนวคดิ จึงมีพัฒนากลายมาเปนปรัชญาจิตนิยมและเทวนิยมทางศาสนาใน
กาลตอ มา

๒.๘ ปรัชญาของเซโน
เซโนแหงเอเลีย (Zen๐ of Elea พ.ศ. ๕๓ - ๑๑๓) คือนักปรัชญากรีกในสํานักเอเลียอีกคน
หน่ึงท่ีใชบ ทสรุปจากความขัดแยงในตวั เอง ที่เรียกวาปฏิทรรศน (Paradox) มาใชเพ่ือเอาชนะความ
เชื่อของคนอ่นื ดว ยการโตแยงแบบวิภาษวิธี (Dialectic) ตามหลักตรรกศาสตร เขาเช่ือในทฤษฎี ของ
ปารเ มนเดสวา ความเปน จริงเปนส่งิ เดียวท่ีคงท่ถี าวร ไมมีการเปล่ียนแปลง ความหลากหลายท่ี เราพบ
ในชีวิตประจําวันเปนเพียงภาพลวงตา ปรัชญาของ เซโน จึงมีความขัดแยงกับความเช่ือของ เฮราคลิ

๑๑๖

ตุส ประหน่ึงเชนความขดั แยงเร่ือง อาตมัน ในปรัชญาพราหมณ กับหลัก “อนัตตา” ใน ปรัชญาพุทธ
ฉะนั้น

๒.๙ ปรชั ญาของเอมเปโคเคลส
เอมเปโดเคลส (Empedocles พ.ศ.๔๘-๑๐๘) คือผูนําเอาความเช่ือของเฮราคลิตุส มา
ผสมผสานจนเกิดความกลมกลืนกับปรัชญาของเซโนแหงสํานักเอเลียๆ เอมเปโดเคลสกลาววา โดย
แกนแท โลกน้ีไมมกี ารเปล่ียนแปลง ทงั้ น้ีเพราะปฐมธาตุของโลกเปนส่ิงคงท่ีถาวร ไมมีการเกดิ ดบั โลก
เกิดจากการผสมกันของปฐมธาตุเหลาน้ัน เม่ือปฐมธาตุเหลานั้นเกดิ การรวมกนั หรือแยกออกจากกัน
เราจึงจะเห็นการเปล่ียนแปลง การเปล่ียนแปลงเปนเพราะการยายตําแหนงของปฐมธาตุเหลาน้ันแต
ปฐมธาตุไมไ ดมีการเปลยี่ นแปลง ไมมีการเกิดดบั และไมม ีใครทาํ ลายได ดังท่ีวิทยาศาสตรสมยั หน่ึงเชื่อ
วา “สสารไมม วี นั สูญหายไปจากโลก”
เอมเปโดเคลส เชื่อวา ปฐมธาตุนั้นมี ๔ อยางดวยกันคือ ดิน น้ํา ลม และ ไฟ ถึงตอนนี้
อภิปรัชญาของชาวกรีกกลับกลายมาพองกับปรัชญาพทุ ธ ที่มีทัศนะวา ธาตุ ๔ คอื ดิน นํ้า ลม ไฟ คือ
มหาภูตรูปประกอบกันข้ึนเปนรูปธรรมในสรรพส่ิงทัง้ หลาย แตธ าตุ ๔ ในปรัชญาพุทธเกิดดับ อยูทุก
ขณะ ไมมีธาตใุ ดคงท่ถี าวรไมเ ปลี่ยนแปลง
พุทธศาสนาถือวา ในจํานวนธาตุท้ัง ๔ นี้ ไมมธี าตุใดเกิดขึ้นอยางเปนอสิ ระจากธาตุอนื่ ตา งก็
เปนปฏิจจสมุปบันธรรม คือเกิดรวมกันดว ยเหตุปจจัยอยางตอเนื่องตลอดเวลาตามกฎอิทปั ปจจยตา
หรือปฏิจจสมปุ บาท ตามหลกั ฐานทปี่ รากฏในคมั ภรี ว ิสทุ ธิมรรค
สวน เอมเปโดเคลส เชือ่ วา ธาตทุ ้งั ๔ น้เี ปน ความจริงสงู สุดเทาๆ กันและตางมอี ยูอยาง อิสระ
จากกันและกัน โลกและสรรพสิ่งเกิดมขี ึ้นจากการรวมตวั ของธาตุ ๔ โลกและสรรพส่ิงแตกสลายลงก็
เพราะการแยกกันของธาตุทั้ง ๔ ท้ังน้ีก็โดยอาศัย พลังความรัก (Love) เปนตวั รวม และมีพลังความ
เกลยี ด (Hate) เปนตัวแยก พลังท้ังสองไมใชกระแสจิตของพระเจา แตเปนพลังธรรมชาติ ที่มีลักษณะ
เชนเดียวกับพลังแมเ หล็ก
เอมเปโดเคลส อธบิ ายตอไปวา รา งกายของคนเชนเดียวกัน เกิดจากการรวมกันของธาตุท้ัง ๔
ก็เพราะเหตุทป่ี ระกอบข้นึ จากธาตเุ หลาน้ี คนท่ีรูจกั ธาตทุ ั้ง ๔ ท่อี ยูรอบตวั เพราะเรามีธาตุดินจึงเห็นดนิ
เน่อื งดวยอนภุ าคของธาตุดนิ ในวัตถุทําปฏิกริ ิยากับดวงตา เกดิ จินตภาพของดิน เพราะเรามีธาตุไฟ จึง
เห็นไฟ ส่ิงท่ีเหมือนกันยอมรูกัน ปรัชญาของ เอมเปโดเคลส ใชหลักประนีประนอมดวยการนําเอา
จดุ เดน ของปรัชญาสาํ นกั เอเลียและปรัชญาเฮราคลิตสุ มาผสมผสานกนั จนเกิดปฐมธาตุตางๆ ๔ อยาง
คอื ดิน นา้ํ ลม ไฟ

๑๑๗

๒.๑๐ ปรัชญาของอานักซากอรสั
อานักซากอรัส (Anaxagorus พ.ศ. ๔๓ - ๑๑๕) นักปรัชญาชาวเอเธนส มคี วามเชื่อเชน เคย
เช่ือเชนเดียวกับสํานักเอเลียวา ส่ิงท้ังหลายไมอาจเกิดข้ึนจากความวางเปลา และไมไดเกิดขึ้นมาจาก
การ เนรมิตรของเทพเจา แตเกิดจากการที่มีพลังอยางหน่ึงมารวบรวมปฐมธาตุท้ังหลายใหเกิดโลก
ปฐมธาตุ ไมไ ดม เี พยี ง ๔ อยา ง แตมนั มอี ีกมากมาย แตละธาตมุ คี ุณสมบัติเปนของตัวเอง ไมมีธาตุใดมา
จาก ธาตอุ ิน ธาตแุ ตล ะธาตุสามารถถูกตดั แบงออกไดไ มม ที ่ีสิ้นสุด ธาตุจํานวนมหาศาลเหลานั้นรวมตัว
กลาย เปนมวลสารกอนมหึมาดวยอาํ นาจของพลังอยางหนึ่งจนกลายเปนโลก พลังนี้สรางวังวนขนึ้ ณ
จุดใด จุดหน่ึงในกลุมมวลสาร คลายกบั วังน้ําวนดึงดดู เอาธาตุตางๆ เขามาไวในวังวนนั้นและผสมกัน
อยาง ไดสดั สวนมรี ะเบยี บ จนกลายเปน โลกท่เี ราอาศยั อยใู นปจจุบนั
อานักซากอรัส ไมเห็นดว ยกบั เอมเปโดเคลสในเรื่องของ พลังความรัก และพลังความเกลียด
วาเปนเหตุใหเกดิ การรวมการแยกของธาตุ เพราะหากเปนเชนนั้น โลกคงสับสนยุงเหยิงหาความเปน
ระเบียบสวยงามมิได แตในความเปนจริง โลกของเราถูกสรางข้ึนอยางปราณีตบรรจงและมีระเบียบ
สวยงาม ทกุ สิ่งถูกสรางข้ึนมาอยางมจี ุดมุงหมาย ประหนึ่งวาเกิดจากความคิดและการวางแปลนและ
ควบคุมการกอสรางจากสถาปนิกชั้นเย่ียม เปนสถาปนิกที่ อานักชากอรัส เรียกวา จิต หรือ มโน
(Mind or Nous) มโน คอื พลังจิตอันเพยี บพรอมดวยพทุ ธิปญญาท่ีสามารถหย่ังรูอดีต ปจจุบัน และ
อนาคต มโน เปนธาตุจติ บรสิ ุทธิ์ท่สี รา งและควบคมุ ความเคล่ือนไหวและควบคมุ การเปลี่ยนแปลง มโน
เปนพลังจิตที่จัดระเบียบใหกับโลก แนวความคิดของอานักซากอรัส ไดจุดประกายความคิดใหกับนัก
ปรัชญาจิตนิยมและเทวนิยมเก่ียวกับความเชื่อเร่ืองจิต ซึ่งกลายเปนความเชื่อเร่ืองพระเจา ในเวลา
ตอมา
ปรัชญาของอานักซากอรัสเกิดภายหลังปรัชญาอุปนิษัทของศาสนาพราหมณ แตเกิดกอน
ศาสนาเทวนิยมเชน คริสตและอิสลามหลายรอยป มโน หรือ จิต ของอานักซากอรัส นาจะเปนส่ิง
เดียวกันกับ ปรมาตมัน ในปรัชญาอุปนิษัท และในความหมายเดยี วกบั พระเจา ในศาสนาคริสต หรือ
อัลเลาะห ในศาสนาอสิ ลาม ทั้งนเ้ี พราะ มโน (Mind,Nous) ของ อานักซากอรัส มลี กั ษณะ ๒ ประการ
ประการแรกเปนพลังจิตบริสุทธิไ์ มเจือปนกับสสารหรือธาตุใด ๆ แตแยกอยูตางหากจากสสารคอยทํา
หนาที่วางแผนควบคุมการจัดรูประเบียบใหกับโลก เปนมโนแบบอุตตรวิสัย (Trancendent)
เชนเดยี วกบั ปรมาตมัน หรือ พรหมัน มโนอีกชนดิ หนง่ึ แทรกสถติ อยูในสสาร ทําใหส สารน้ันกลายเปน
ส่ิงมชี ีวิต เชน มนุษย สัตว และพืช มโนที่สงิ อยูในมนุษยมคี วามเขมขนมากกวามโนในสัตวและใน พืช
มโนท่ีแทรกสถติ อยูในสสารน้ีเขาเรียกวา อันตรวิสัย (Immanent) เชนเดยี วกบั ชีวาตมัน ในปรัชญา
อปุ นิษทั
ความเช่ือของอานักซากอรัสเกิดข้ึนโดยบังเอญิ จากการรับรูดวยญาณ (Intuition) หรือเกิด
จากการที่ชาวเอเธนสไดรับอิทธิพลของปรัชญาอินเดียโดยการถายทอดทางวัฒนธรรมผานทางเปอร

๑๑๘

เซียซึ่งเปนเผาอินโดอารยันเชนเดียวกับชาวชมพูทวีปในสมัยนั้นก็อาจจะเปนได เพราะในประวัติ -
ศาสตรเคยบันทึกไววาประชาชนในดินแดนเหลานี้ไดเคยมีการติดตอซ้อื ขายและรบพุงทําศึกสงคราม
กนั มาโดยตลอดในยุคนั้น จึงถอื ไดว า อานกั ซากอรัส คอื นกั ปรชั ญาที่ไดจุดประกายในการเปล่ียนแปลง
ความเช่ือเกี่ยวกับโลกและการเกิดของโลกของชาวเอเธนสจากสสารนิยมมาเปนจิตนิยมดังจะกลาว
ตอ ไป

๒.๑๑ ปรัชญาของเดมอครติ สุ
เดมอคริตุส (Democritus พ.ศ. ๘๓ - ๑๗๓) เปนนักปรัชญาสสารนิยมท่ีกลาวถึง ปรมาณู
(Atom) แนวคดิ ของเดมอคริตุสไมแตกตางจาก เอมเปโดเคลส และอานักซากอรัส เขายอมรับการ
ประนีประนอมระหวางความเท่ียงแทถ าวรกบั การเปล่ียนแปลง โลกมีการเปล่ียนแปลงในภาพรวมแต
ปฐมธาตุไมม กี ารเปลี่ยนแปลงและไมม วี นั เปลีย่ นแปลง ปฐมธาตุของเดมอคริตสุ ไมใช ดิน ไมใชนํ้า ลม
หรือ ไฟ แต คือคือปรมาณู หรือ อะตอม อะตอมในความหมายของเขาคือ วัตถุท่ีมีขนาดเล็กสุด ไม
สามารถแยกยอยไดอ ีกตอไป (Uncutable) อะตอมเปนอนุภาคเล็กสุดมองไมเห็นดวยตาเปลา เปน
วัตถุดบิ ในการสรางโลก เพราะอะตอมเรียงตัวกนั สรรพสิ่งตางๆในโลกจึงเกิดขนึ้ เพราะอะตอม แยก
ออกจากกันสรรพสิ่งจึงดับสลาย แทจริงแลวการเกิดของสิ่งใดไมไดหมายถึงการอุบัติข้ึนของส่ิง ใหม
แตเปนเพียงการวมตัวของอะตอม อะตอมจึงมีอยูกอนการกําเนิดโลกและคงอยูตอไปภายหลังการ
แตกดับของโลกเชน เดยี วกนั อะตอมไมมกี ารแตกดบั เปนนิจนิรันดร ไมมกี ารเปล่ียนแปลง ไมมี วันถูก
ทําลาย อะตอมจงึ มลี ักษณะเชน เดยี วกบั ภาวะ (Being) ของปารมีนิเดส๗
เดมอคริตุสเช่ือวา อะตอม มีอยูมากมายนับไมถ วน แตกตางกันที่รูปราง ขนาด และนํ้าหนัก
อะตอมไมม ขี อแตกตา งทางดา นกายภาพ ไมมีสี ไมม กี ลนิ่ และไมมรี อ สง่ิ หนง่ึ ไวโ ดยเฉพาะ เปนอนุภาค
ของสสารไรชีวิต การรวม และการแยกของอะตอมไมไดเกิดจากพลังความรักความเกลียดหรือแมแต
พลังของจิต เพราะอะตอมมีการเคล่ือนท่ีอยูตลอดเวลาเหมือนละอองฝุนลอยอยูในอากาศท่ีเรา
มองเห็นทามกลางแสงแดด ดังน้ันการเคลื่อนท่ีของอะตอมจึงเกิดข้ึนไดเพราะมีที่วางหรือ อวกาศ
(space) รองรับ เพราะวามีการเคลื่อนทขี่ องอะตอม ดงั นั้น อวกาศจึงมอี ยูจริง ทัง้ ๆ ท่ีเราไมสามารถ
แตะตอ งมองเห็น อวกาศไมใ ชค วามวา งเปลา เชน ความคดิ ของปารมีนิเดสใชคําวา อภาวะ (NonBeing)
อวกาศและอะตอม เปนความจริงแทเทาๆ กัน ปรัชญาของ เดมอคริตุสถือวาเปนแมบทของ
วิทยาศาสตรในยุคปจจุบัน แมวา ไอนสไตน มักซพลังค จะสราง ทฤษฎีสัมพัทธภาพ หรือทฤษฎี
ควานตัม (Quantum Theory) มาพิสูจนหักลางเม่ือหลายทศวรรษที่ ผานมา กห็ าไดลบลางความมี
คุณคาของปรัชญาเดมอ คริตุสใหหมดส้ินลงไปได ไมนาเช่ือวาความคิดของมนุษยเมื่อหลายพันป
มาแลวสามารถวเิ คราะหค วามมีอยขู องสสารไดปราณตี ลึกซง่ึ ถงึ เพียงนี้

๗ ทองหลอ วงษธ รรมา, รศ.,ดร., ปรัชญาทัว่ ไป, (กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๔๙), หนา ๖๙.

๑๑๙

เมือ่ ความเชอื่ ของเดมอคริตสุ ตัง้ อยบู นรากฐานของอะตอม เขาจึงอธิบายตอ ไปวา กอนกาํ เนิด
ของโลก อะตอมนบั จาํ นวนไมถวนลอยกระจายอยใู นหว งอวกาศ อะตอมที่ใหญก วา หนักกวา จะตกอยู
เบ้ืองลาง ปะทะกับอะตอมท่ีเบาและอยูสวนบนกอใหเกิดวังวน (Vortex) เปรียบเสมือนวังน้ําวนพัด
หมนุ เอาทกุ สง่ิ ทกุ อยางเขา มาในรศั มี อะตอมจะถูกพัดพาใหเขาสูกระแสของวังวน แลวเกาะตัว กนั ขึ้น
กลายเปน ดิน นํ้า ลม ไฟ และสรรพส่ิงตางๆ และเม่ือวังวนขยายตัวแผรัศมีออกไปเรื่อยๆท่ัว หวง
อวกาศอันไพศาล กอใหเกิดระบบจักรวาลขึ้นมาหลายพนั หลายหม่นื จักรวาลรวมท้งั โลกของเรา การ
เกิดของโลกและการเปล่ียนแปลงใดๆ บนพื้นโลกเน่ืองมาจากการเคลื่อนที่ของอะตอม แตอะตอม
ไมไดเคล่ือนท่ีไปตามยถากรรม ส่ิงท้ังหลายไมไดเกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปโดยความบังเอิญ แตมัน
ดาํ เนินไปตามกฎเกณฑอ ันตายตวั ตามหลักกลศาสตร (Mechanical law) อยางที่ นิวตัน คนพบและ
อธบิ ายไวในวชิ าฟส กิ ส ปจจุบนั

ในทัศนะเกี่ยวกับวิญญาณ เดมอคริตุส เชื่อวา วิญญาณคนเราเกิดจากการรวมตัวของกลุม
อะตอมกลมที่สุดและประณีตและคลองแคลวที่สุด เขาเรียกวา ปรมาณูวิญญาณ (Soul atom) มัน
แผซ านไปทวั่ สรรพางค ทาํ หนาที่อํานวยการเคลอ่ื นไหวของอวยั วะตางๆ ปรมาณูหรืออะตอม วิญญาณ
แบงออกเปนกลุม ๆ ทําหนาท่ีตางกันตามตําแหนงอวัยวะ ชีวิตของคนเราดําเนินไปตามปกติ ตราบ
เทา ทม่ี ีการถายเทของอะตอมหรอื ปรมาณอู ยา งสมาํ่ เสมอ เมื่อถงึ แกความตาย ปรมาณูวิญญาณจะแตก
กระจายไปคนละทิศละทาง ไมสามารถควบคุมใหกลับมารวมกันใหม นั่นคือมนุษยตายแลวสูญ ไมมี
สวนของวญิ ญาณหลงเหลอื อยู ความเชื่อของเดมอคริตุสจึงเปนสสารนิยมโดยแท เชนเดียวกบั ปรัชญา
จารวาก ของอินเดยี ทพ่ี ุทธศาสนาถือวาเปน อุจเฉททิฏฐิ สําหรับความเห็น เกีย่ วกบั เทพเจา เดมอคริ
ตุสเชอื่ วา เกดิ จากการรวมตวั ของอะตอมทม่ี ีความปราณตี มาก จึงมีอาํ นาจ และเหตุผลเหนือมนุษย แต
เทพเจาไมนิยมมาแทรกแซงกิจการภายในของมนุษย มนุษยจึงไมมีความจําเปนแตอยางใดที่จะกลัว
เกรงหรือเชนไหวพระเจา เดมอคริตุส กลาววา“เทพเจามีอายุยืนยาวกวามนุษย แตเทพเจาไมเปน
อมตะ”

จริยศาสตรของเดมอคริตุส กลาววา ชีวิตทุกชีวิตมีจุดมุงหมายอยางเดียวกันคือ ความสุข
ความสุขคือความสบายใจ มีความสงบเงียบราบเรียบในดวงจิต ความสุขของเดมอคริตุส จัดวาเปน
ความสุขทางใจ ไมใชความสุขทางเน้ือหนัง ทางวัตถุ เขาเห็นวาความสุขประเภทหลังเกิดขึ้นช่ัวครู
ช่ัวยาม เปนความสุขที่เจือปนมากับความทุกข ความสุขแทจริงเกิดจากการดําเนินชีวิตสายกลาง
กลาวคือ รูจักประมาณในการใชชีวิตหาความสุข ผูแสวงหาความสุขจะตองไมพาตัวเขาไปพัวพันกับ
หลายส่ิงหลายอยาง เขาจะตอ งไมเ ลอื กทําสิ่งที่อยูเหนอื ขีดความสามารถของตน

เดมอครติ ุส กลา ววา คนเรายง่ิ ลดความทะยานอยากลงไดมากเทาใด โอกาสทเ่ี ขาจะชอกช้ําใจ
เพราะความผดิ หวงั ก็มีนอ ยลงเทาน้นั ปรัชญาของนกั ปราชญช าวเมืองอับเดราแหงแควน เธเรสทานนี้มี
ความคลายคลึงกับปรัชญาพุทธอยูมาก ท้ังในทางอภิปรัชญาและจริยศาสตร สมควรที่ผูสนใจควร

๑๒๐

ติดตามหาอานรายละเอียดไดจากหนังสือปรัชญากรีกของทานพระเมธีธรรมาภรณ ที่ผูเขียนใชเปน
เอกสารหลักในการรวบรวมเรยี บเรียงเปน อยางย่งิ

๓. ปรัชญาตะวนั ตกยุครุงเรอื ง

๓.๑ ปรชั ญาของโสคราติส
ปรัชญากรีกยุคแรกเร่ิมตนโดย ธาเลส แหงนครรัฐไมลาตุส เม่ือ ๔๒ ปกอ นพุทธศกั ราช หรือ
๕๘๕ ปก อ นกาํ เนดิ ศาสนาครสิ ต ตอจากนั้นมาอกี ประมาณ ๑๓๕ ป ความเจริญรุงเรืองทางปรัชญาได
ยายศนู ยกลางไปยังนครรัฐเอเธนส โดย โสคราติส เพลโต และ อริสโตเติล ในชวงเวลาระหวาง พ.ศ.
๙๓-๒๒๑ หรือประมาณ ๔๕๐ - ๓๒๒ ปกอ นครสิ ตศักราช๘
ในสมยั เร่ิมตนของโสคราติส ชาวเมอื งเอเธนสกาํ ลังประสบปญหาทางความเชื่อ เชนเดยี วกับ
เม่ือคร้ังที่ชาวกาลามะไดกราบทูลถามพระพุทธเจาดงั ปรากฏในกาลามสูตรทางพุทธศาสนา ปรัชญา
ของชาวกรกี ในยคุ ผา นมาสวนใหญเปนความรูความเช่ือเก่ยี วกับโลก เกีย่ วกับธรรมชาติ ไมสนองความ
ตองการหรือใหคําตอบเกี่ยวกับเปาหมายการดาํ เนินชีวิตของชาวเอเธนส ดังน้ัน จึงเกดิ สํานักปรัชญา
โซฟสตข ึ้น
โซฟสต แปลวา ครู หมายถึงสํานักหรือกลุมผูรูท่ีทองเท่ียวไปทั่วนครรัฐ สอนและใหความรู
แกอนุชนเก่ยี วกับวิชาประวัติศาสตร ภูมิศาสตร คณิตศาสตร ฟสิกส ปรัชญา วาทศลิ ปและการเมือง
โซฟสตแ ตล ะคนเปนครูโดยอาชีพ สวนใหญไ มใ ชนักปรัชญา โซฟสตแตละคนทํางานเปนอสิ ระจากกัน
โปรแทกอรัส คือโซฟสตคนแรกที่สอนเกีย่ วกับปรัชญา ปรัชญาของเขาสวนใหญวาดว ยทฤษฎีความรู
เขากลาววา ความจริง ความเชื่อ ความถูกผิด ขึน้ อยูกบั บุคคลแตล ะคนทีม่ ีมุมมองแตกตางกัน ผูทีจ่ ะ
ทําหนาที่วาอะไรผิดอะไรถูกก็คือคนแตละคน ทุกคนมีสิทธิตัดสินเทาเทียมกัน มนุษยเปนเคร่ืองวัด
สรรพสิ่ง ไมม ีมาตรการตัดสนิ ความจริงอนื่ ใดนอกไปจากคน ความเห็นของโปรแทกอรัสจึงเปนแบบอัต
วิสัย (Subjeective Opinion) เขาไมเช่อื วา ความจริง ความถกู ตอง ความดี ความงาม เปนสากลมอี ยู
จริงโดยตัวของมันเอง ดังท่เี รียกวา สัจธรรม อนั ถือวาเปน ปรวิสัย หรือ ภววิสัย กลาวคือ เปนความ
จริงแทไมขึ้นอยูกับความเห็นของคนแตละคน โปรแทกอรัส กลาวตอไปวา ทัศนะของทุกคนมีความ
จริงเทากัน ไมมที ัศนะของคนใดจริงกวาของผูอื่น จริงก็ยอมจริงเทากัน หรือถา ไมจริง หรือเท็จก็ตอง
เทจ็ เทากัน ถาเขาเหลาน้ันอยูในสภาพปกติ อยางไรกต็ าม แมวา โปรแทกอรัสจะ ยืนยันวาความจริง
เปนเร่ืองของคนเปนอัตวิสัย แตในท่ีสุด โปรแทกอรัส ก็มาลงเอยในแบบ ปฏิบัตินิยม ท่ีวัดความจริง
ความถกู ผดิ จากผลของการกระทาํ (Pragmatism)

๘ พนิ ิจ รัตนกลุ , ดร., ปรัชญาชีวติ ของโสเครตีส, (นนทบุรี : วทิ ยาลัยศาสนศึกษา มหาวทิ ยาลัยมหิดล,
๒๕๔๗), หนา คํานาํ (V).

๑๒๑

โปรแทกอรัส และชาวโซฟสตเชน โพลส ธราซีมาดุส สอนอนุชนชาวกรีกวา ความจริงไมมี
ความดีความชั่วในตัวของมันเองไมมี บทบัญญัติทางศีลธรรมประเพณีเปนเพียงขอตกลงรวมกันใน
สังคม แมแตในเรื่องของเทพเจา โปรแทกอรัส ยังกลากลาวไวในสมัยนั้นวา“เมื่อพูดถึงเทพเจาแลว
ขา พเจา ไมอ าจยืนยันวา มีอยจู ริงหรือไม ?”

เขากลา ววา ความยุติธรรมก็ไมมีอยูจริง กฎหมายก็คืออํานาจ คือเครื่องมือของผูมีอาํ นาจ ผูมี
อํานาจคือผูฝาฝน อํานาจคือธรรม ความคิดของนักปรัชญาโซฟสต แมจะแปลกแตก็ไดสรางความ
ชื่นชมใหกับนักปรัชญาตะวันตกรุนใหม เชน ชิลเลอร (F.Schiller) และคารล ปอปเปอร (Karl
Popper) เปน อยางมากถึงกบั มีการยกยองปรัชญาโซฟสตวา เปนปรัชญายุคคนท่ยี ิ่งใหญ (The Great
Generation)

โสตราติส (Socrates พ.ศ. ๗๓ - ๑๓๔) นักปรัชญาชาวเอเธนส ไมยอมรับความคิดของ
โซฟส ต เขามีความเห็นวา หากชาวเอเธนสเชื่อตามคําสอนเชนน้ี เอเธนสคงตองเขา สูกลียุค โสคราติส
แยงคําสอนของโปรแทกอรัสวา แมความรูเก่ียวกับส่ิงท้ังหลายของแตละคนจะมีความขัดแยงกันใน
บางคร้ังบางเรื่อง แตนั่นไมไดหมายความวา จะไมมีความจริงเปนปรนัยที่ทุกคนยอมรับรวมกัน
ความจริงสากลมีอยู แตชาวโซฟสตคนไมพบ เพราะวาโซฟสตแสวงหาความจริงจากการใชประสาท
สัมผัส ยอมรับเพียงสัญชาน (Perception) ท่ีใหความรูอยางจํากัด คนเราแสวงหาความจริงแท
แบบปรนัยหรือมโนภาพของส่ิงทั้งหลายไดจากเหตผุ ล (Reasoning) สัญชานเปนเพยี งการรับรูที่เกิด
จากประสาทสมั ผสั กระทบกบั ส่ิงเราภายนอก จึงเปนเพียงความรูระดับผัสสะท่ีใหค วามแนนอนเฉพาะ
ทางวัตถุหรือทางรูปธรรม แตกระนั้นสัญชานก็เคยหลอกลวงตัวเราดวยมายาแหงจินตภาพอยูบอยๆ
สัญชานและจินตภาพจึงเปน เพยี งความรูเ ก่ยี วกบั สง่ิ เฉพาะเทา น้ัน

โสคราตสิ เช่อื วา ยงั มคี วามรอู ีกประเภทหน่งึ ทไ่ี มเก่ยี วกับสิง่ เฉพาะที่เปนรูปธรรม แตมัน เปน
ความรูเกี่ยวกบั สง่ิ สากล ไดม าจากการใชเหตุผล เหตุผลคือเคร่ืองมอื แสวงหาความรู เหตผุ ลชวยใหเ รา
คน พบมโนภาพ (Concept) มโนภาพ คอื ความรูจักสิ่งสากลทท่ี ุกคนยอมรับ เปนความจริงมาตรฐาน
การรูจักมโนภาพของสิ่งทั้งหลายคือองคความรูในความหมายของโสคราติส ความรูคือสิ่งประเทือง
ปญ ญา การแสวงหาความรูตามวิธีของโสคราติส (Socratic method) ประกอบดว ยลักษณะสําคญั ๕
ประการ คอื เร่ิมตนจากการสงสยั (Sceptic) ตอ ไปนําความสงสยั มาตั้งเปนปญหาใน การสนทนาแบบ
ปุจฉาวิสัชนา (Conversation) เพื่อหาคําจํากัดความที่เห็นพองตองกัน เม่ือไดคําจํากัดความ
(Definition) แลวนาํ มาสูขอ สรุปดว ยการอุปนัย (Induction) เพอื่ หาความจริงจากส่ิงเฉพาะไปสูความ
จรงิ สากล หรอื โดยการนิรนัย (Deduction) เพือ่ หาความจรงิ จากส่ิงสากลลงไปสสู ่ิงเฉพาะ

ทฤษฎีความรูของโสคราติส ไมไดมีไวเพื่อหาความรูประดับสติปญญา แตโสคราติสสอนให
มนษุ ยแ สวงหาความรูเ พ่ือนําไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ หเปนคนดมี คี ุณธรรม เขากลาววา “ความรูคอื คุณธรรม

๑๒๒

(Knowledge is Virtue) คนเราน้ันถารูหรือมีความรูยอมเปนคนดมี ี ศีลธรรม คนทาํ ช่ัว เพราะวาเขา
ขาดความร”ู ๙

๓.๒ ปรชั ญาของเพลโต
เพลโต (Plato พ.ศ. ๑๑๖-๑๙๖) คือนักปรัชญากรีกผูย่ิงใหญท ่ีสุดคนหนึ่งในยุคนั้น เขาเปน
ศิษยของ โสคราติส และเปนครูของอริสโตเติล ปรัชญาของเพลโตและอริสโตเติลมีอิทธิพลอยางมาก
ตอ แนวความคิดของนักปรัชญายุคตอมา นับตั้งแตอ ดีตจนถึงปจจุบัน ยังไมมนี ักปรัชญาคนอ่ืนใด อีก
เลยท่เี ปน ผูม ีอทิ ธิพลทางความคิดเทียบเทา สองทา นน้ี อาจกลา วไดวา เทววิทยาและปรัชญาใน ศาสนา
ครสิ ตเ กิดข้ึนจากแนวความคดิ ของเพลโตเกอื บทงั้ สิ้น๑๐
เพลโตไดตั้งสํานักปรัชญาอคาเดมี (Academy) เพื่อใหการศึกษาแกเยาวชนกรีกข้ึนใน
สวนสาธารณะกลางกรุงเอเธนส อันเปน สถานที่ชาวเมอื งสรางขึ้นเพือ่ เปนทรี่ ะลึกแกว ีรบุรุษอะคาเดมุส
(Academus) เพลโตเปดทําการสอนคร้ังแรกในป พ.ศ. ๑๕๖ เม่ือเขามีอายุได ๔๐ ป นับวาเปน
มหาวิทยาลัยแหงแรกของกรีกสําหรับใหการศึกษาช้ันสูงแกเยาวชนโดยไมเรียกเก็บคาเลาเรียน
วิชาท่ีสอนมีท้ัง วิทยาศาสตร คณิตศาสตร ดาราศาสตร ปรัชญาทั่วไป และปรัชญาการเมืองการ
ปกครอง เพลโตเปน นกั ปรัชญาตะวันตกคนแรกทจี่ ดั ใหมีการเรียนการสอนวิชาปรัชญาอยางเปนระบบ
คําสอนทีถ่ อื วา เปนหวั ใจแหง ปรชั ญาของเพลโตคอื ทฤษฎีแหงมโนคติ หรือแบบดังจะไดก ลาวตอ ไป
เพลโต มีความเห็นเชนเดียวกับ โสคราติส ผูเปนครูในเร่ืองเกย่ี วกบั การแสวงหาความรู เขามี
ความเห็นวา ความรูร ะดับผัสสะหรอื สัญชาน ที่มนุษยไดจากประสาทสัมผัส ไมวาจะเปนประสบการณ
อันเกิดจาก ตา หู จมูก ล้ิน กายสัมผัส น้ันไมใชความรู แตเปนเพียงทัศนะ เพราะวา สัญชานจะ ของ
แตละคนใหความรูไมตรงกัน หรือแมแตสัญชานเกิดจากคนคนเดียวกัน บางคร้ังบาง เวลากรายงาน
ขอมูลตางกัน ความรูจากสัญชานจึงเปนทัศนะสวนตัวจากส่ิงเฉพาะ สัญชานไมสามารถรับรูส่ิงสาก
ลอนอยูในโลกแหงมโนคติ (Idea) หรือโลกแหงแบบ (Form) ได แบบหรือ มโนคิด จะตองใช
กระบวนการเรียนรูและการรับรูไดดวยจิตเทาน้ัน โลกแหงสัญชานเกิดจากการใชความ เชื่อ (Belief)
หรือจากจินตนาการ (Imagining) เราเชื่อไดแ ตส ิ่งเฉพาะ เราสรางจินตนภาพไดจ าก จินตนาการ ส่ิง
เหลาน้ีเปนเพียงทัศนะอันเกิดจากสัญชาน ทัศนะจึงไมใชความรู ความรูแทจริงยอมไดจากการคิด
คาํ นวณ (Reasoning) จากสัญลกั ษณทางคณติ ศาสตร แตความรูอนั ไดจากการคาํ นวณ ยังมีคุณคาไม
เทา กับความรอู นั เปน ความจรงิ สงู สดุ หรอื มโนคติท่ไี ดจ ากการใชพ ุทธิปญญา (Perfect Intelligence)
พทุ ธปิ ญญาของเพลโด หมายถึงสภาพจิตที่รับรมู โนคตโิ ดยตรง เปน สภาพจิตบริสุทธิ์อยู เหนือ
การรับรูดวยประสาทสัมผัส จิต เขาถึงมโนคติไดโดยไมตองผานสัญลักษณ และไมจําเปนตองใช

๙ วิชติ ดารมย, ดร., นับตงั้ แตโสเครตสี , (กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส, ๒๕๓๗), หนา ๑-๘.
๑๐ วทิ ย วิศทเวทย, ปรัชญา, (กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๑๓), หนา ๒๐-๒๕.

๑๒๓

สมมติฐานในการคนหาความจริง เมื่อจิตปราศจากขอจํากัด จิตจึงจะสามารถพบกับเอกภาพของ
มโนคติดวยพลัง พลังจิตเชนนี้เพลโตเรียกวา วิภาษวิธี (Dialectic) แตอ ริสโตเติลเรียกพุทธิปญญาที่
หยั่งรูมโนคติวา อชั ฌัตติกญาณ (Intuition) ซึ่งนาจะเปนพทุ ธิปญญาแบบเดยี วกบั คําวา ตรัสรู ที่พระ
พุทธองคทรงหย่ังเห็นสัจธรรมในทางพุทธศาสนา

เพลโต กลาววา วิญญาณของมนุษยเคยเพง พินิจมโนคติในโลกแหงมโนคติกอ นจุตมิ าเกิด ใน
โลกแหงสัญชาน แตเปนเพราะมนุษยเกิดมาแลวลืมมโนคติเหลานั้น ตอมาเมื่อไดพบส่ิงเฉพาะ ตางๆ
จงึ สามารถฟน ความทรงจําถึงมโนคติท่ีเคยพบเห็นมาแลว การเรียนรูของมนุษยคอื การรื้อฟน ความจํา
เกา เกย่ี วกับส่งิ สากลหรอื มโนคติ เขาจึงกลาววา “การศึกษาคอื การรือ้ ฟนความจํา (Recollection)”

เรากลาวถึงมโนคติมาพอสมควร อะไรเลาคือมโนคติในความหมายของเพลโต? เพลโตตอบวา
มโนคติ ไดแ กมโนภาพอันเปนสิ่งสากลทม่ี ีอยูจริงภายนอกความคิด หรือ ส่ิงสากลทเ่ี ปนความจริงแบบ
ปรนัย อนั เปน ตน ฉบบั หรือแมแ บบของสรรพส่ิงทงั้ หลาย เชนคําวา ดอกไม เปนสิ่งสากลท่ีกลาวรวมถึง
ดอกของตนไมทกุ ชนิดที่มีและเห็นอยูในโลก ไมไดหมายเฉพาะเจาะจงถึงดอกกหุ ลาบหรือดอกไมช นิด
ใดโดยเฉพาะ มโนคติมเี ปนจํานวนมาก มีหลากหลายเหมือนกับสิ่งเฉพาะท่ีมีหลายชนิด ตางกันแตสิ่ง
เฉพาะเรารเู ห็นไดจากประสาทสัมผสั จากประสบการณ สวนมโนคติรูได ดว ยเหตผุ ลหรือดวยปญญา
เพราะวามโนคติเปนเรื่องของความคิดลวนๆท่ีมีอยูในจิตใจของคน ตอความจริงท่ีเปนปรนัย ไมใช
ความจริงทจี่ ิตสรา งข้ึนมาอยา งเลอ่ื นลอยดวยอารมณความรูสึกของ กเิ ลสอนั ปราศจากเหตุผล มโนคติ
ไมไดมีอยูจากความคิดของคนหนึ่งคนใด ไมใชผลผลิตของจิต มนุษย ทั้งไมใชสิ่งท่ีมีอยูในพระจิตท่ี
ยิ่งใหญของพระเจา แตมันมีอยูอยางเปนอิสระภายนอกจิตท้ังปวง มโนคติจึงเปนส่ิงไมกินท่ี เพราะ
มโนคติไมใชสสาร ไมมีตัวตน ไมตองการตําแหนงท่ีตั้ง แยกอยูตางหากจากสิ่งเฉพาะและจากคน
ท้ังหมดในโลก ไมอาศัยหรือสิงสถิตอยูในโลกแหงผัสสะ ไมขึ้นอยูกับ กาลเวลา โลกแหงมโนคติมี
โครงสรางคลายกับรูป ปรามิดที่มีฐานกวางยอดแหลม มโนคติสวนที่อยูยอดสุดหรือเปนประธาน
สูงสุด เพลโต เรียกวา มโนคติแหง ความดี (Idea of the Good) เพลโตกลาววา“มโนคติแหง ความดี
ไมใชเปนเพียงบอเกิดแหงความรูในสิ่งทั้งปวงเทาน้ัน แตยังเปนภาวะและแกนแทของส่ิงท้ังปวง
กระน้ัน มโนคติแหงความดีก็ไมไ ดเปนแคแกนแท เพราะมันมีศักดิ์ศรีและอํานาจเหนือกวาความเปน
แกน แทมากนัก”

มโนคติแหงความดีในความหมายของเพลโตจึงมีสถานภาพสูงสงดุจพระเจา แตเพลโตเองไม
เคยเรยี กมโนคตนิ ้ีวา พระเจา ปรัชญาคริสตไ ดนําแนวความคดิ ของเพลโตมาพัฒนาข้ึนใหมใ นภายหลัง
อกี หลายรอยปต อมา

ปรัชญาของเพลโตเกิดจากแนวความคิดระหวางปรัชญาของโสคราตีสผูเปนครูที่ผสมผสาน
เขา กบั ปรชั ญาของ ปารมินิเดส และของ เฮราคลิตุส เปนการผสมผสานอยางมคี วามเปนเอกภาพ และ
บูรณภาพอันชาญฉลาดของเพลโตทสี่ ามารถสรางปรัชญาสูตรใหมข ้ึน เปนการประนีประนอมหลักการ

๑๒๔

ที่ขัดแยงกันเขาดวยกันไดอยางกลมกลืน อันเปนอัจฉริยภาพของเพลโต คือการรูจักใชขอมูลที่มีอยู
กอ นมาสรางทฤษฎีปรัชญาอันยอดเยี่ยมเปนของตนเอง เพื่อประยุกตปรัชญาธรรมชาติท่ีไมเกี่ยวกับ
การดาํ เนินชวี ิตของมนษุ ยโ ดยตรงลงมารบั ใชสงั คมตามแนวทางจริยศาสตรท ่ีกระตุนเตือน ใหมนุษยได
มองเห็นคุณคาทางจริยธรรม วาเปนสิ่งที่มีอยูจริง เปนปรวิสัย มิใชเปนอัตวิสัยที่ข้ึน อยูกับความเช่ือ
ความเหน็ ของบุคคลแตละคนตามคาํ สอนของปรัชญาโซฟสตในสมยั น้ัน เพลโตได หยิบยกเอาลักษณะ
ของการเปนภาวะ (Being) ในปรัชญาของปารมินีเดสมาสวมใสใหกับมโนคติ แตมโนคติของเพลโต
ไมใชสารเนื้อเดียวกันอันแบงแยกมิไดตามความเช่ือของปารมินิเดส มโนคติเปน ความจริงแทที่มีอยู
มากหลายแตร วมกันอยูอยางมีเอกภาพ เปนเอกภาพในพหุภาพตามแนวความ คิดของเฮราคลิตุสผูซึ่ง
เคยกลา ววา “สิง่ ที่แตกตา งกนั รวมตวั เปนเอกภาพภายใตก ารควบคุมของวจนะ (Logos)”

ปรัชญาของเพลโต ยอมรับแนวความคิดของปารมินีเดสที่วา ความจริงแทหรือโลกในแบบ
มโนคติ เปน ส่ิงไมเ คยเปล่ียนแปลง แตก ระนัน้ เพลโตก็ยังยอมรับการเปล่ียนแปลงของเฮราคลิตุส โดย
กลาววา โลกท่เี ปลย่ี นแปลงคอื โลกแหง ผัสสะเทาน้ัน แตเพลโตไมไ ดถือวา โลกแหงผสั สะคือ ความจริง
แท และไมไ ดถอื วา แกนแทของโลกแหงผัสสะเปนสสาร เชน นํ้า หรือ ไฟ ตามความเช่ือ ของธาเลส
หรือนักปรัชญาธรรมชาตินิยมคนอื่นๆ เขาเห็นวา โลกนี้ไมม ีแกนแทเปนของตัวเอง แตเปนเพียงภาพ
สะทอนความจริงจากโลกแหงมโนคติ เชนเดียวกับดวงจันทรมีแสงสวางไดก็เพราะมนั รับแสงจากดวง
อาทิตย โลกแหงผัสสะจงึ เปน เพียงรอยประทบั ของมโนคติที่ปรากฏบนสสาร

ในบทสนทนาช่ือ ดิเมอุส เพลโตกลาวถึงการเกิดโลกไววา พระเจาทรงพบวามโนคติ น้ัน
แทจริงแยกอยูตา งหากจากสสาร จึงนําแบบ (Form) หรือมโนคติไปประทับลงบนสสารเพอ่ื สรางเปน
โลกข้ึน พระเจาไมไดสรางมโนคติและสสาร สิ่งทั้งสองมีอยูกอนแลว พระเจาเพียงทําหนาท่ีเปน
สถาปนิกผูนําเอาสิ่งท่ีมีอยูทั้งสองประการมาประกอบเปนโลก พระองคใชมโนคติเปนตราประทับ
สําหรับกดลงบนสสารจนเกิดโลกแหงผัสสะ สิ่งแรกท่ีเกิดขึ้นมาคือวิญญาณโลก ตอมาจึงมีธาตุท้ังส่ี
ไดแก ดิน นํ้า ลม ไฟ โดยนัยน้ีโลกจึงเปนส่ิงมีชีวิตมีวิญญาณ ปรากฎการณตาง ๆ ในโลกจึงเปนไป
อยางมีระเบียบมีกฎเกณฑเพราะไดว ิญญาณโลกเปนผูอํานวยการควบคุม ดวยวิธีการเดยี วกันน้ัน พระ
เจาสรางดวงดาวและใหมวี ญิ ญาณสิงสถิตประจํา ทรงสรางเทพเจาบนสวรรคและวิญญาณอมตะ ของ
มนุษย สวนการสรางรางกาย สรางวิญญาณประจํารางของ มนุษย สัตวและพืช เปนงานของเทพเจา
อ่ืน ๆ เพลโตเช่ือวา วิญญาณประจํารางกายจะดับสลายไปพรอมกบั รางกายของคนเรา จึง สังเกตวา
ความเชือ่ เก่ยี วกับการสรา งโลก สรางมนุษย วิญญาณอมตะ วญิ ญาณประจํารางกายเปน แนวความคิด
คลายกับปรัชญาพระเวทของอนิ เดยี

จริยศาสตรของเพลโตเปนแนวคิดท่ีมีคุณคาควรแกการสนใจ แตสําหรับจักรวาลวิทยา ใน
ความเห็นของเพลโตนน้ั ทานพระเมธีธรรมาภรณมคี วามเหน็ วา

๑๒๕

“คอ นขางออนดวยเหตุผลมากที่สุดในปรัชญาของเขา นาเสียดายทเ่ี พลโตเองกย็ ัง หลงยึดติด
อยูในนิยายเร่ืองเทพกําเนิดของเฮเสียด ทแี่ พรหลายอยูในความเช่ือของชาวกรีก ในสมัยนั้น จักรวาล
วทิ ยาของเพลโตจงึ เปน ปรชั ญาองิ นิยาย การนําเอานิยายมาใหค ําตอบ ทางปรัชญาน้ีจัดวาเปนจุดออน
ของเพลโต นกั ปรชั ญาท่ชี าญฉลาดแตม วี ญิ ญาณของศลิ ปน ”

ปรัชญาพุทธมีความเห็นเก่ียวกับกําเนิดของโลกไวใน อัคคัญญสูตร ดวยจุดประสงคใน การ
อธิบายความสัมพันธระหวางระบบวรรณะกับการกระทําของมนุษย โดยพระพทุ ธองคต รัสถึง กาํ เนิด
ของโลกไวเ พยี งสนั้ ๆ แตพ ระพทุ ธโฆษาจารยไดน าํ มาเขยี นปะติดปะตอ ไวใ นคัมภีรว ิสุทธิมรรควา

“โลกเกิดขึ้นเองไมม ีพระเจาองคใดเปนผูสรางองคประกอบของโลกไดแ ก ดนิ นํ้า ลม ไฟ โลก
เกดิ ข้นึ และดับสลายสลบั กนั ไปเปนสังสารวัฏ บางคร้ังไฟไหมโลก บางครั้งนํ้าทว ม บางคร้ังดวยแรงลม
ทาํ ใหโลกแตกเปน ชิ้นเลก็ ช้นิ นอ ยแลว รวมตัวกนั ขึ้นใหม”

พระพทุ ธโฆษาจารยอธบิ ายไวในคมั ภีรว า
“เมอ่ื ไฟไหมโลกจนเปนผงธุลีแลว เกิดฝนตกใหญทั่วอาณาบริเวณท่ีเถา ธุลีกระจาย ไป นํ้าฝน
คลุกคลีเขาดวยกันปะทะกับลมกลายเปนกอนกลมเหมือนหยาดนํ้าบนใบบัว ตอมา เมื่อนํ้างวดลง
กลายเปน แผน ดินโผลขนึ้ มาจากผิวน้ํา เกิดมีงวนดินอันมีรสโอชา ดวงวิญญาณท่ีไปเกดิ อยูในพรหมโลก
ชัน้ อาภสั สรเหาะลงมากนิ งว นดินเขา จึงเกิดตัณหาเหาะกลบั พรหมโลกไมได รัศมีหมดไปจึงตองคางอยู
ในโลกเปนตนตระกูลของมนุษยท้ังปวง ตอมาจึงมีดวงอาทิตยดวงจันทรและดวงดาวปรากฏข้ึนจาก
ขอบฟา ”
กาํ เนิดของโลกในคมั ภีรวิสุทธิมรรคท่ีกลาวมาน้ี เปนไปไดหรือไมวา แทท ่ีจริงพระพทุ ธโฆษา
จารยก ็ยงั คงยดึ ติดอยูในความคิดความเชื่อเชนเดยี วกับปรัชญาพระเวทเกย่ี วกับเรื่อง วิญญาณโลกหรือ
ปรมาตมนั และเชนเดียวกับเพลโตหรือนกั ปรชั ญาจติ นยิ มและเทวนยิ มคนอ่ืนๆ ?
เพลโตเปนนักปรัชญาจิตนิยมท่ีเชื่อวา มนุษยประกอบดวยรางกายและวิญญาณ วิญญาณ
เปนตวั การของชีวิตควบคุมการเคลือ่ นไหวอนั จะกอใหเกดิ พฤติกรรม เพลโตแบงวิญญาณออกเปน ๒
ประเภท คอื วิญญาณแหง เหตผุ ล (Rational soul) กบั วิญญาณไรเ หตุผล (Irrational soul) วิญญาณ
แหงเหตุผลเปนวิญญาณท่ีจุตจิ ากโลกแหงมโนคติมาประจําอยูในกายเนื้อ พระเจาทรงสรางวิญญาณ
สวนน้ีใหเปนอมตะ สวนวิญญาณไรเหตุผลเปนวิญญาณท่ปี ระจําอยูกบั ราง เกิดดับพรอม กับรางกาย
จึงไมเปนอมตะ วิญญาณสวนน้ีแบงออกเปนสองสวนคือ วิญญาณฝายสูง หรือ วิญญาณ แหง
เจตนารมณ (Spirited Soul) กบั วญิ ญาณแหงความตอ งการ (Appetitive Soul)
วญิ ญาณแหง เหตุผลมีสมรรถภาพในการใชเ หตุผลทางปญญา ทาํ ใหมนุษยคนพบเปาหมาย ท่ี
แทจริงของชวี ติ และเค่ยี วเข็ญตนเองใหดาํ เนนิ ไปสเู ปาหมายน้ัน เหตผุ ลเปนทม่ี าของมโนธรรมในใจ ซึ่ง
ทําใหมนุษยไ ดชอื่ วา เปน สตั วประเสริฐ

๑๒๖

วิญญาณไรเหตุผล คือวิญญาณแหงเจตนารมณ มีสมรรถนะในการสรางอารมณสะเทือนใจ
ตา ง ๆ เชน ความรัก ความเกลียด สรางอุปนิสัยและพฤติกรรมเชน ความกลาหาญ ความใฝสูง เปน
วิญญาณท่อี ยูกลางๆ บางครั้งตกอยูภายใตอทิ ธิพลของวิญญาณแหงเหตุผลและบางครั้งตกอยูภายใต
การบังคับของวิญญาณแหงความตองการ หรือที่เรียกวาสัญชาตญาณในทางจิตวิทยาปจจุบัน เชน
ความตอ งการอาหาร ความตองการทางเพศ ความตองการความเพลิดเพลินเพื่อแสวงหาความสุขทาง
กาย อํานาจของวญิ ญาณแหงความตอ งการมกั จะเดนิ สวนทางกับอํานาจทีเ่ กิดจากวิญญาณแหงเหตุผล
อนั กอใหเกิดความขดั แยง (Conflict) ข้ึนภายในตวั มนุษย จิตวิทยาของเพลโตนาจะเปนท่ีมา ของ Id
Ego และ Super Ego ของ Sigmund Freud นกั จติ วเิ คราะหชาวออสเตรยี ในเวลาตอ มา

เพลโตเชื่อวา วิญญาณแหงเหตุผลเปนวิญญาณอมตะ จึงสามารถอยูไดโดยไมตองอาศัยกาย
เน้อื ตนกําเนิดของวญิ ญาณสวนน้ีอยูบนสรวงสวรรค พระเจาทรงสรางวิญญาณมนุษยขน้ึ มาแลว ทรง
ปลอยใหว ิญญาณนั้นเพลินพนิ จิ มโนคติอยูใ นโลกแหง มโนคติ แตแ ลววนั หนึ่ง วญิ ญาณก็ ตองมีอันจุติมา
เกดิ ในกายเน้ือของมนุษยบนโลกนี้ดวยเช้ือแหงความไรเหตุผลไดเกดิ ขนึ้ ในวิญญาณที่ถกู สรางขึน้ จาก
มโนคติ สสารและวิญญาณท่ีขาดความสมบูรณ ขาดเหตุผลจึงตกจากโลกแหงมโนคติ ลงไปยังโลกของ
ชาวดิน สิงสถิตอยูในรางกาย ลืมมโนคติท่ีเคยเพงพินิจ จึงขาดโอกาสกลับสูโลก แหงมโนคติ ตอเมื่อ
รา งดับลงวิญญาณอนั ไรเหตผุ ลของคนโงเหลานั้นจึงกลายเปนผีเฝาปาชาหรือเขา ไปสิงสถิตในรางสัตว
ตางๆ

เพลโต กลาววา เฉพาะวิญญาณของนักปรัชญาผูเขาถึงมโนคติเทาน้ันจึงจะไดกลับสูสรวง
สวรรค การเวียนวา ยตายเกิดของวญิ ญาณในความเช่ือของเพลโต นาจะไดรับอทิ ธิพลมาจากลัทธิ ออร
ฟส ม (Orphism) ทีไ่ ดก ลาวไวในบทเรม่ิ ตนศาสนาของชาวกรีก อาจเปนไดวา เมอ่ื ถงึ ตอนนี้ เพลโต คง
ตอ งการดงึ เอาความเช่อื ทางปรัชญาและจริยศาสตรแหงความดีงาม เพื่อนําไปสูความเช่ือทางลัทธทิ าง
ศาสนาสําหรับสังคมกรีกในขณะน้ัน เพราะวาเพลโตกําลังตอสูทางความคิดอยูกับลัทธิ โซฟสตใน
ปญ หาทว่ี า ความดีคอื อะไร ความดีมอี ยูอ ยางเปน ปรนยั หรอื อตั นัย คนดตี องมคี ุณธรรม อะไรบาง๑๑

ในความเช่ือของชาวโซฟสต ความดีคือความพึงพอใจ ความดีคือความสุขสําราญจากการ
ปรนเปรอทางเนื้อหนังที่ไดรับอารมณอันพึงปรารถนา สิ่งใดเรียกวาดี ส่ิงนั้นยอมกอใหเกิดความพึง
พอใจ ความดีจึงเปนอัตนัยตามความหมายของโซฟสต ดงั นั้นเมอื่ ความดีข้ึนอยูกบั ความพอใจของแต
ละคน คนดีจงึ ไมจําเปน ตอ งมคี ุณธรรม ทําอะไรก็ไดในสิง่ ท่ีตนชอบ ชอบอยา งไรก็ทําอยางนัน้

เพลโตไมเ หน็ ดว ยกับการท่ีชาวโซฟส ตสอนประชาชนโดยเฉพาะอนุชนชาวกรีกใหมีความ เช่ือ
ท่ที ําลายจริยธรรม เพลโตมีทัศนะเชนเดยี วกับโสคราติสผูเปนครู โดยเชื่อวาความดีกับความพึงพอใจ
ไมใชส่ิงเดียวกนั เขากลาววา มีส่ิงทเี่ ปนความดแี ละส่ิงทเ่ี ปนความพงึ พอใจ แตค วามพึงพอใจไมใ ชส่ิง

๑๑ จํานงค ทองประเสรฐิ , ปรชั ญาประยุกต ชุดตะวนั ตก, หนา ๑๘๙.

๑๒๗

เดียวกบั ความดี การแสวงหาและวิธีการใหไดมาซึง่ ของทั้งสองก็เปนคนละอยาง ขอ แตกตางประการ
สําคญั ระหวางโซฟสตก บั เพลโตมอี ยูวา โซฟส ตส อนใหท ําความดตี ามความรูสึกพึงพอใจ แตเพลโตสอน
ใหทําความดีดวยเหตุผล เพลโตแบงคุณธรรมหรือการทําความดีออกเปน ๒ ระดับคือ คุณธรรมทาง
สังคมกับคุณธรรมทางปรัชญา ซึ่งนาจะมีความหมายใกลเคียงกับคุณธรรมที่เปนบัญญัติธรรมกับสัจ
ธรรมในความหมายของทา นพระธรรมปฎก เพลโตกลาววา คุณธรรม คอื สิ่งที่มนุษยควรยึดถือปฏิบัติ
เพื่อบรรลุเปาหมายสูงสุดของชีวิต การปลดเปลื้องเพื่อความหลุดพนจากความช่ัวจะมีไมได ถา
ปราศจากการไดมาซึ่งคุณธรรมชั้นสูงและปญญา คุณธรรมท่ีสําคัญท่ีสุดในการนี้ ไดแกพุทธปญญา
หรือความรูจ กั ในมโนคติและเพง ในมโนคติ เปนการรูจักและเปนการเพง โดย ไมมีความจําเปนที่คนเรา
ตองสละโลกหรือหนีสังคมออกไปบําเพ็ญภาวนาอยูตามปาตามถํ้า เพราะวา มนุษยไมไ ดประกอบข้ึน
ดว ยพุทธิปญญาบริสุทธิ์ แตประกอบข้ึนจากวิญญาณแหงเหตุผลและวิญญาณ ไรเหตุผลที่ยังมีความ
อยากความตองการ ดังน้ัน สวนประกอบเหลานี้ควรมีสิทธิไดรับการเอาใจใส เทาเทียมกัน น่ันคือ
มนุษยค วรแสวงหาความพึงพอใจใหก ับรางกายในขีดพอประมาณ เปด โอกาส ใหวิญญาณไรเหตุผลไดมี
ความรักและอารมณสุนทรียอ่นื ๆตามสมควร ในขณะเดยี วกันกท็ ะนบุ าํ รงุ วิญญาณแหงเหตผุ ลดวยการ
เพง พนิ ิจมโนคติ เพลโต กลา ววา“ชีวติ ทผี่ สมผสานกจิ กรรมหลาย ๆ อยางเขา ดว ยกนั เชนน้ีเปนชีวิตที่ดี
เหมือนกับการผสมนํา้ ผงึ้ กับน้าํ ธรรมดาใหเ ขา กนั จะไดเคร่ืองดื่มรสโอชา” เพลโตมีความเห็นวา

คนดคี ือคนท่ีมีคุณธรรม ผูมีคณุ ธรรมคอื ผูมีปญญา (Wisdom) และใชปญญาหาเหตุผล เพ่ือ
กาํ หนดช้ีนาํ พฤตกิ รรมของตน ใหส มรรถภาพของวิญญาณท่ีไรเ หตุผลอยภู ายใตการชักจูงของ วิญญาณ
ของเหตุผล ผูมีคุณธรรมจักตองใชวิญญาณแหงเจตนารมณไปสูการกระทําที่กลาหาญ (Courage)
อยางมีเหตุผลนําหนา ไมใ ชกลาอยางบาบิน คนกลาคือคนที่บุกในคราวท่ีควรบุก ถอยในคราวที่ควร
ถอย รูจักประมาณ (Temperance) โดยการใชเหตุผลคุมความตองการอันเปน สมรรถภาพของ
วญิ ญาณข้ันตา่ํ สดุ ใหอยูในขดี พอดี เหตุผลตองอยเู หนอื ความตอ งการหรอื เหนอื ตัณหาเสมอ

อกี ประการหน่งึ ผูมคี ณุ ธรรมจักตองมีความยุติธรรม (Justice) ซงึ่ เพลโตหมายถงึ ความสมดุล
ภายในใจของผูท่ีมีวิญญาณ ท้ังสามสวนประสานการทําหนาทีอ่ ยางเหมาะสม ความยุติธรรม คอื การ
รวมผลงานของคุณธรรมท้ังสามคือ ปญญา ความกลาหาญ และการรูจักประมาณเขาดวยกันอยาง
พอเหมาะจงึ จะไดช อื่ วา เปนคนดีในปรชั ญาของเพลโต

๓.๓ ปรัชญาของอริสโตเตลิ
อริสโตเติล (Aristotle พ.ศ. ๑๕๙-๒๒๑) เปนนักปรัชญากรีกยุครุงเรืองคนสุดทาย เขาเปน
ศิษยเอกของเพลโต เกิดท่ีเมืองสตากิรา แควนเธรส บิดาเปนแพทยหลวงประจําราชสํานักของพระ
เจาอมินตุสแหงมาซิโดเนีย เม่อื อริสโตเตลิ อายุได ๑๗ ป เขาถูกสงเขา ศกึ ษาเลาเรียนในสํานักอคาเดมี
ของเพลโตทก่ี รุงเอเธนส นอกจากไดรับยกยองในฐานะเปนนักปรัชญาเอกแลว เขายังไดร ับ ยกยองให

๑๒๘

เปนบิดาแหงตรรกศาสตรและสัตวศาสตรในสมัยน้ันดวย ผลงานนิพนธของอริสโตเติลมี จํานวน
มากมาย นักปราชญในสมัยตอมาไดจัดแบงหมวดหมูในงานนิพนธของอริสโตเติลออกเปน ๗ หมวด
ดวยกันคือ หมวดตรรกศาสตร (Organon) หมวดวิทยาศาสตรธรรมชาติ เกย่ี วกับฟส ิกส ดาราศาสตร
สตั วศาสตร หมวดจิตวทิ ยา หมวดอภิปรัชญา หมวดจริยศาสตร หมวดรัฐศาสตร และ หมวดศิลปะวา
ดวย วาทศลิ ป และ กวศี าสตร นับตง้ั แตสมัยของธาเลสเปนตนมา วิทยาการตา งๆอนั เปนองคค วามรู
ทีเ่ กดิ จากภมู ปิ ญญาของนักปรัชญากรีกยังรวมกันอยูในเรื่องของ “ปรัชญา” อริสโตเตลิ เปนคนแรกท่ี
ไดแ บง วิทยาการตา งๆ ออกเปน ศาสตรต างๆ ๓ กลมุ ใหญ คอื

๑. ศาสตรภาคทฤษฎี (Theoretical Science) ไดแก ฟสิกส คณิตศาสตร อภิปรัชญาท่ี
เกีย่ วกับภววทิ ยาและเทววทิ ยา

๒. ศาสตรภาคปฏบิ ตั ิ (Practical Science) ไดแก รฐั ศาสตรและจริยศาสตร
๓. ศาสตรเ ก่ยี วกบั การผลิต (Productive Science) ไดแ กว ิชาชพี ทางดา นศิลปกรรม
อริสโตเติลเปนนักปรัชญาที่นําเอาตรรกศาสตร (Logic) มาใชในการแสวงหาความรู เปนคน
แรกที่รวบรวมกฎเกณฑการใชเหตุผลอยางเปนระบบ ตรรกศาสตรของอริสโตเติลสวนใหญเปน
ตรรกศาสตรน ริ นัย (Deduction) กลาวคือนําเอาสิ่งท่ีคนยอมรับวาเปนความจริงสากลมาสนับสนุนขอ
อางใหมเ ก่ยี วกบั ความจริงเฉพาะเร่ืองที่เรายังไมแนใจ แมวาจะไดอ างตรรกศาสตรเ อาไวในบางแหงแต
อรสิ โตเติลก็มไิ ดว างกฎเกณฑไวอยางเปนระบบเพยี งพอ ทั้งน้ีอาจเปนเพราะเห็นวาการใชเหตุผลแบบ
อุปนยั ๒ สามารถลดทอนลงเปนตรรกแบบนริ นัยได
อยางไรก็ดี การแสวงหาความรูจากการใชเหตุผลดวยตรรกแบบนิรนัยคือเคร่ืองมือของนัก
ปรัชญาเหตุผลนิยมมาโดยตลอด ไมวาจะเปน เพลโต อริสโตเติล หรือแมแต เดสการด นักปรัชญา
ฝรั่งเศสที่กลาววา “ฉนั คดิ ฉันจึงมีอยู” ตรรกศาสตรแบบอปุ นัย (Induction) เพง่ิ ไดรับการพัฒนา
อยางเปนระบบโดยนักปรัชญาประสบการณนิยมสมัยใหม เชน ฟรานซิส เบคอน หรือ จอหน สจวด
มิลล เมื่อสองสามรอยปมาน้ีเอง นักปรัชญาทั้งสองฝายโตเถียงกันมาตลอดเกี่ยวกับความสําคัญ
ระหวางตรรกศาสตรแบบนิรนัยกับอุปนัย ฝายเหตุผลนิยมเช่ือวานิรนัยดีกวาอุปนัยเพราะการใช
ความคิดใหความจริงแนนอนกวาขอ มลู ทีไ่ ดมาจากประสาทสัมผัส สวนฝายประสบการณนิยม เช่ือวา
วิธีอุปนัยใหประโยชนดีกวานิรนัย เพราะวาความรูเกิดจากการนิรนัยก็ดี จากความคิดท่ีขาด
ประสบการณก็ดี ยอมใหแตความวางเปลา เอมมานูเอล คา นท นักปรัชญาชาวเยอรมนั ไมเห็นดว ยกับ
ขอ โตแ ยง ระหวา งสองฝาย เขาเชอื่ วาการแสวงหาความรูค วรไดม าจากทัง้ สองวธิ ี เขากลา ววา
“ความรทู ไี่ ดจากการนิรนยั เพยี งอยา งเดยี วเปน เรือ่ งของความเพอ ฝน สวนความรูที่ไดจ ากการ
อุปนัยเพียงอยางเดียวยอมมีแตความมืดบอด ตรรกศาสตรควรเปนเคร่ืองมือเพ่ือแสวงหาความสม
เหตุผล (Validity) มากกวา ท่จี ะใชแสวงหาความจริง (Truth)”

๑๒๙

สําหรับปรัชญาพุทธก็เชนเดียวกัน พระพุทธเจาไมทรงสอนใหปลงใจเชื่อเพียงเพราะตรรกะ
ความจริงขอน้ี พระองคไดทรงแสดงไวในหลักกาลามสูตรวา กอนปลงใจเช่ือในตรรกะ เราควรตรวจ
สอบความเช่ือ (ในสัจพจนของตรรกบท) ดว ยประสบการณเสียกอ นวามคี วามจริงนาเช่ือถือมากนอย
เพยี งใด

อยางไรก็ตาม แมวาตรรกศาสตรของอริสโตเติลจะเปนเพียงตรรกศาสตรแหงคํา (Logic Of
Term) เปนตรรกศาสตรนิรนัย มีขอจํากัดตรงที่ยังไมสามารถพิสูจนสัจพจน แตนักปรัชญาในสมัย
ตอ มา เชน คา นท (Kant) ไดใ หค วามเห็นวา เปน องคค วามรูทมี่ คี วามสมบูรณเชนเดียวกบั ตรรกศาสตร
สัญลักษณห รือแบบประโยค (Symbolic Logic) ของ เบอรทรันด รัสเซลล (Bertrand Russel) ท่ี
ตพี ิมพไว ในป พ.ศ. ๒๔๕๓ อนั ถือวาเปนตรรกศาสตรอุปนัย (Inductive Logic) ท่ีนิยมใชในการ
พิสจู นกฎเกณฑทางวิทยาศาสตรใ นยุคปจ จุบนั

อภิปรชั ญาของอริสโตเติล
อภปิ รัชญา แปลมาจากคําวา Metaphysics คอื เร่ืองทอ่ี ริสโตเติลเขยี นไวในบทหลัง (Meta)
ของงานนิพนธเก่ียวกับความรูทางดานฟสิกสในสมัยน้ัน ความจริงอริสโตเติลเรียกความรูบท น้ีวา
Philosophy ท่ีหนึ่ง ที่กลาวถึงความจริงแทของสรรพส่ิงในฐานะที่ยังมีความสัมพันธกับสสาร หรือ
ภววิทยา (Ontology) กับเรื่องท่ีเก่ียวขอ งกบั ความจริงอนั เปนภาวะบริสุทธิ์ ซ่ึงเปนปฐมเหตขุ องการ
เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลง และการดับของสรรพส่ิงในจักรวาล (Theology) ซ่ึงนักปรัชญาจิตนิยม
(Idealism) ในสมัยตอ มา เชือ่ วาคอื พระเจา น่นั เอง๑๒
ในทางภววทิ ยา อริสโตเตลิ มีความเห็นคลายปารมินิเดสวา ความจริงแทค ือ ภาวะ (Being) ท่ี
เปนแบบหรือมโนคติตามความเชื่อของเพลโต อริสโตเติลเห็นวา แบบ คอื สาระ (Substance) หรือ
สารัตถะ (Essence) ของสรรพสิ่ง เปนสิ่งที่เพลโตเชื่อวามีอยูจริง สวนอริสโตเติลไมเห็นดว ยกับเพลโต
ทเี่ ชื่อวา แบบ (Form) หรือมโนคติ (Idea) แยกออกอยางเด็ดขาดจากโลกแหงผัสสะหรือสัญชาน
อริสโตเติลมีความเห็นแตกตางจากเพลโตตรงที่เขาเห็นวา แบบอยูรวมกับสิ่งเฉพาะในโลกแหงผัสสะ
แบบเปนส่ิงทอ่ี ยใู นสงิ่ เฉพาะ เปนสาระ (Substance) ทแ่ี ทรกสถิต (Subsist) อยูภายใน สิ่งเฉพาะ มนั
จึงเปน สารตั ถะ (Essence) ของสิง่ เฉพาะนัน้ ๆ
แบบมีจํานวนมากมายตามประเภทของสิ่งเฉพาะ แบบของมนุษย แบบของดอกไม แบบของ
บาน แตแบบของมนุษยจะมีลักษณะมาตรฐานเดียวกันท่ีกระจายแทรกสถิตอยูในมนุษยทุกคนแบบ
ของมนษุ ยมอี ยูอยางเดยี ว เหมอื นกับแบบของธนบัตร ธนบัตรราคาเดียวกนั จะมีแบบเหมอื นกันทุกใบ
มนุษยก็เชนเดียวกันจะมีแบบอยูชนิดเดียว บานทรงไทยหลังหนึ่งใชวัสดุทําดวยไมซ่ึงเปนสสาร
(Mater) เปนสิ่งเฉพาะ แตล กั ษณะท่ีเปนทรงไทย แสดงถงึ การมี แบบ (Form) ตามความหมายของ

๑๒ ออนไลนจาก https://www.jw.org/th/ เม่อื วนั ที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๓๙.

๑๓๐

อริสโตเติล สสารและแบบจึงเปนของคูกนั สสารจะเปนอะไรนั้นยอมขึ้นอยูกับแบบ แบบจึงหมายถึง
ภาวะจริง (Actuality) ของส่งิ ทงั้ หลาย สิ่งตา งๆเปล่ียนแปลงเพราะการที่ภาวะจริงของแบบเขา แทนที่
ภาวะแฝง (Potentiality) ในสิ่งเฉพาะนั้นๆ อริสโตเติลเช่ือวา แบบของสรรพสิ่งทั้งหลายในจักรวาล
เกิดข้ึน เปล่ียนแปลง เนื่องมาจากเหตุ ไมมีสิ่งใดเกิดข้ึนลอย ๆ โดยปราศจากเหตุ เหตุ (Cause)
ดงั กลา วนน้ั อริสโตเติลอธิบายวา มี ๔ ประการคอื

เหตภุ ายในสสาร (Material cause)
เหตุทีเ่ กิดจากแบบ (Formal cause)
เหตุจากผูกระทาํ (Efficient Cause)
และเหตทุ ีเ่ กดิ จากจุดมงุ หมาย (Final Cause)
เขายกตัวอยา งใหเห็นชัดเจนยิง่ ข้ึนเก่ยี วกบั เหตทุ ท่ี าํ ใหเกดิ การเปล่ียนแปลง เชนการสรางบาน
แตละหลังที่สําเร็จไดกเ็ พราะเหตุ ๔ ประการคือ ตอ งมีวัสดใุ นการกอสราง (Material cause) มีแบบ
หรือพมิ พเขยี วออกแบบโดยสถาปนิก (Formal Cause) มีผูรับเหมาดําเนินการกอ สราง (Efficient
Cause) และมีเจาของบานเปนผูวาจางใหมีการปลูกบานหลังน้ันเพื่อการอยูอาศัยอันถือวาเปน
จุดมงุ หมายสดุ ทาย (Final Cause)
แตเม่ือกลาวโดยสรุป อริสโตเตลิ เชื่อวาเหตุจริงๆมีเพียงสองอยาง คือ สสาร กบั แบบ แบบ
เปนตัวควบคมุ สสาร เชนเดียวกบั จิตท่ีเปนตัวควบคุมกาย หรือพระเจาเปนผูทรงควบคุมโลกและจักร
วาล แบบท่ีแทรกอยูในสิ่งเฉพาะของอริสโตเติลจึงมีความหมายเชนเดียวกับวิญญาณท่ีแทรกอยูใน
รา งกายมนษุ ยท ีศ่ าสนาพราหมณเรยี กวา ชวี าตมัน
ปรัชญาพุทธ มีความเช่ือเชนเดียวกับปรัชญาของอริสโตเตลิ ในเรื่องของเหตุ หลักอทิ ัปปจจย
ตาในทางพทุ ธศาสนา สอนวา ผลทุกอยางยอมเกดิ มาจากเหตปุ จจัย เปนไปไมไดที่จะมีส่ิงเกิดขน้ึ จาก
ความวางเปลาโดยปราศจากเหตุ สรรพสิ่งทั้งหลายในจักรวาลมีความเปนระเบียบ และดําเนินไปโดย
กฎเกณฑทแ่ี นน อน ส่งิ ทง้ั หลายยอ มเกิดข้ึน ตง้ั อยแู ละดบั ลงดวยเหตปุ จจยั ตามกฎธรรมชาติแตปรัชญา
พทุ ธเห็นไมตรงกันกับแนวคดิ ของเพลโตซึ่งเช่ือวา โลกแหงแบบ (World of Form) หรือมโนคติ ที่อยู
นอกเหนอื สัญชานคอื มลู การณ ทก่ี อใหเกดิ การเปลี่ยนแปลงในสรรพสง่ิ
เพลโต เช่ือวา แบบ หรือ มโนคติมีอยูจริงและแยกอยูตางหากจากโลกแหงผัสสะ แยกส่ิงท่ี
ควบคุมออกจากส่ิงถูกควบคุม มโนคติอยูเหนือโลกแหงผัสสะ แตเปนตัวควบคุมโลกและสรรพสิ่งใน
โลกแหง ผัสสะ เมลด็ ขา วงอกออกมาเปน ตน ขาวเพราะมอี าํ นาจภายนอกเหนอื ผสั สะเปนผูควบคุมเปนผู
กําหนด
เลาจื๊อ เชอื่ วา ส่งิ ทก่ี าํ หนดใหเ มลด็ ขา วงอกออกเปนตนขาวคือ เตา

๑๓๑

ชาวคริสตเช่ือวาทุกส่ิงทุกอยางท่ีดําเนินไปอยางเปนระเบียบในโลกน้ีเกิดจากการสรางการ
ควบคุมของพระเจา กฎเกณฑตางๆ ในโลกถูกสรางสรรคข้ึนมาจากอํานาจในการดลบันดาลของ
พระองค

สําหรับอริสโตเติล เขามคี วามเช่ือไมเหมอื นเพลโตผูเปนครู แนวคิดของอริสโตเตลิ ไมแยกกฎ
ธรรมชาติออกจากสิ่งตางๆ ในธรรมชาติ เพราะวาแบบหรือมโนคติแทรกเปนภาวะจริงอยูในเนื้อของ
สสาร กฎเกณฑธรรมชาติเปนเพียงสิ่งสมมติเพื่อเรียกความเปนระเบียบของธรรมชาติ เมล็ดขาวเกิด
เปนตนขาวเพราะกฎเกณฑของธรรมชาติภายในตนขาว เชนเดียวกับทางพุทธศาสนาที่เช่ือวา มัน
เปนไปตามพีชนิยาม “แหงกฎธรรมชาติ อริสโตเติลเช่ือวา กฎเกณฑของโลกและจักรวาลเกิดข้ึน
เพราะวา มโี ลกและจกั รวาล หากไมม โี ลกไมมจี ักรวาล กฎเกณฑย อ มไมม ี แนวคิดของอริสโตเตลิ ไมแยก
กฎธรรมชาติออกจากสรรพส่ิงในธรรมชาติ สวนพุทธศาสนาสอนวา กฎธรรมชาติหรือ กฎแหง
อิทัปปจจยตามีอยูจริงในธรรมชาติ สรรพส่ิงท้ังหลายดําเนินไปตามเหตุปจจัยนั้น ดังท่ีปรัชญาพุทธ
กลาวไววา

“สัจธรรมคือความจริงที่มีอยูตามธรรมดาไมวาจะมีหรือไมมีตถาคตก็ตาม พระพุทธเจา
ท้ังหลาย มีฐานะเปน เพียงผูคน พบสัจธรรมหรือความจริงน้ัน แลว ทรงนํามาบอก กลาวแกผูอ่นื มนุษย
ทกุ คนมีความสามารถเขาถงึ ความจรงิ น้ีไดด วยกันทุกคนเชนเดียวกับพระองค ดังนั้น มนุษยจึงไมค วรดู
ถกู ศกั ยภาพรอื ดหู มิ่นปญ ญาของตนเอง ผูหวังพึ่งผูอ่ืน หวังพึ่งสิ่งอื่น หรือหวังพ่ึงอํานาจการดลบันดาล
จากโลกแหงแบบ จากมโนคติ จากพระเจาหรือจากส่ิงศักด์ิสิทธ์ิยอมถือไดวาเปนการดหู ม่นิ ภูมิปญญา
ของตนเอง”

ภววิทยาอริสโตเติลเชื่อวา กฎธรรมชาติเปนเพยี งส่ิงสมมติเรียกความเปนระเบียบสมํ่าเสมอ
ของธรรมชาติ ถาไมมีมนุษยยอมไมมีกฎธรรมชาติ แตในทางเทววิทยา อริสโตเติลสังเกตเห็น การ
เคลื่อนไหวของดวงดาวตางๆ ในจักรวาล ทําใหเขากลับมาเช่ือวา นาจะเกิดมาจากอํานาจของพลัง
ภายนอก ในท่ีสุดอริสโตเติลก็สรุปวาปฐมเหตุแหงการเคลื่อนไหวคือพระเจาผูเปนแบบบริสุทธ์ิ
เชน เดยี วกบั แนวความคดิ ของเพลโต

ความเชือ่ แบบทวินิยมในลกั ษณะเชน นพี้ บไดอยูเสมอ แมแต นิวตัน นักวิทยาศาสตร ผูคนพบ
แรงโนมถวงของโลก ในทางสวนตัวยังเช่ือวาเกิดจากอํานาจของพระเจา นิวตันเชื่อวา ผูกําหนด
ระเบยี บใหกบั สง่ิ ตางๆ ในจกั รวาลคอื พระเจา เขาพูดวา

“วิทยาศาสตรนั้นหาใชอะไรไม หากแตคือการเปดเผยใหเห็นอัจฉริยภาพของพระเจา
กฎเกณฑตาง ๆ ทางวิทยาศาสตรเหลาน้ีคือผลผลิตที่พระเจาไดวาดเอาไว การคนพบกฎเกณฑ ทาง
ธรรมชาติ กค็ ือการคนพบผลงานของพระเจา น่ันเอง”

๑๓๒

เดสก ารต นักปรัชญา นักวิทยาศาสตรทีม่ ีช่ือเสียงโดงดังชาวฝร่ังเศส เปนอีกผูหนึ่งท่ีมคี วาม
เชื่อในทางสวนตัวเชนเดียวกับนิวตัน เปนเรื่องนาคิดวา นักวิทยาศาสตรผูทรงปญญาเหลาน้ีนาจะ
เขา ถึงพระเจาไดจ รงิ ดวยอัชญัตกิ ญาณ (Intuition) หรือเปน สญั ญาวิปลาสเพราะอัตตวาทุปาทาน?

ขอใหเรากลับมาพิจารณาความเชื่อเรื่องพระเจาของอริสโตเติลกันตอไปอีกสักเล็กนอยพระ
เจาในปรัชญาของอริสโตเติลไมใชพระเจาผูสรางโลกเหมือนพระเจาในศาสนาคริสต เพราะศาสนา
ครสิ ตเกิดขนึ้ ภายหลังอริสโตเตลิ หลายรอยป ชาวคริสตเชื่อวา พระเจาสรางโลกจากความวางเปลาแต
พระเจาของอรสิ โตเติลเปน เพยี งผูเ ร่มิ ตนทําใหสรรพสิ่งเกิดการเคลือ่ นไหว (Prime mover) โดยท่ีพระ
เจา เองไมมกี ารเคลอื่ นไหว (Unmoved mover)

ตามทฤษฎีของเขาเชื่อวา การเคล่ือนไหวคือการเปลี่ยนแปลง อาจเปนการเปล่ียนแปลงทาง
สสาร (Substance motion) เชนการเกิด การตาย การเปลี่ยนแปลงทางปริมาณ (Quantitative
motion) เชนคนอว นข้นึ หรือผอมลง การเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ (Qualitative motion) เชน
เปล่ียน จากโงเปนฉลาด และการเปล่ียนแปลงทางสถานท่ี (Local motion) เชนการยายคนหรือ
สิง่ ของจากท่ี แหง หนงึ่ ไปอยูท ่ีใหม

อริสโตเติลสังเกตเห็นจักรวาลเคล่ือนไหวเปนรูปวงกลมอยูตลอดเวลา เขาเลยคิดเอาวานา
จะตองมีอาํ นาจอะไรสักอยา งหนึง่ เปน ผูทําใหเกดิ การเคล่ือนไหว และส่งิ น้ันคงจะเปนพระเจา (Theos)
พระเจาหรือโลกแหงแบบตามความเชื่อของอริสโตเติลหรือของเพลโตเปนสิ่งอมตะ นิรันดร ไมมกี าร
เปลยี่ นแปลง ดังน้ัน อริสโตเติลเลยอธิบายใหเกดิ ความสอดคลองทางตรรกะวา พระเจาไมเคลื่อนไหว
เพราะถาหากพระเจาเคลื่อนไหวไดก็ยอมมีการเปล่ียนแปลงได ไมเปนอมตะไมเปนนิรันดรและไมเ ปน
แบบบริสุทธ์ิ อริสโตเติลยกใหพระเจาเปนปฐมเหตุของการเคลื่อนไหว พระองคทรงเปนจุดหมาย
ปลายทางท่ีดึงดูดสรรพส่ิงเขาไปหาพระองค น่ันคือสรรพส่ิงอันปรารถนา (Desire) ท่ีจะเปนแบบ
บรสิ ุทธเิ์ ชน เดียวกับพระองค กจิ กรรมของพระเจาคือการคดิ เขากลาววา“เปนการคดิ เรื่องแบบ คดิ ถึง
ตวั เอง ดังนัน้ ความคิดของพระองคจงึ เปนความคดิ ถึง ความคดิ ”

น่ันคอื คาํ อธิบายเกยี่ วกบั พระเจาในความเช่ือของเพลโตและอริสโตเติล เปนความเช่ือที่สราง
แนวคิดใหกับปรชั ญาเทวนิยมแหง ศาสนาคริสตใ นเวลาตอมา เปนแนวคิดที่มีสวนคลา ยคลึงกับปรัชญา
อปุ นิษัทในเร่ืองของชีวาตมันเขาไปรวมเปนอันหน่ึงอันเดียวกับปรมาตมัน ภายหลังจากรางกายทีเ่ คย
บาํ เพ็ญศีลภาวนาดับสญุ ลง ทานพระเมธีธรรมาภรณม คี วามเหน็ วา

“เทววิทยาของอริสโตเติลมีขอนาคิดและนาสังเกต หากพระเจาเปนจุดหมายปลายทางที่
สรรพส่ิงทั้งหลายปรารถนาจะไปใหถ ึงพระองค สรรพส่ิงที่มีจิตวิญญาณเทา น้ันจึงจะมีความปรารถนา
สว นดวงดาวท่ีไรจติ วญิ ญาณจะมคี วามปรารถนาเชน นั้นไดอยางไร จนบัดนี้ ดวงดาวท้งั หลายก็ยังโคจร
เปน วงกลมอยเู หมอื นงูกนิ หางโดยไมม ที า ทวี า จะเขาไปรวม กบั พระเจาไดแตอยางใด”

๑๓๓

มีผูกลาววา โสคราติสคือผูมอบปรัชญาใหกับมนุษยชาติ อริสโตเติลคือผูมอบวิทยาศาสตร
ใหกับมวลมนุษย วิทยาศาสตรคือวิทยาการท่ีไดรับการวางรากฐานจากปรัชญา คําวา ฟสิกส
(physics) มาจาก รากศพั ท Physis ซึง่ แปลวา ความรูในภาษากรีกท่ีอรสิ โตเติลไดบรรยายไวในปรัชญา
ธรรมชาติ

คําวา ธรรมชาติ อริสโตเติลหมายถึง ผลรวมของวัสดุทุกๆอยางท่ีเปนสสารและมีการ
เคลอ่ื นไหว อริสโตเติลไมเห็นดว ยกับเดมอคริตุสที่กลาววา การเคลื่อนไหวของสรรพสิ่งดําเนินไปตาม
กภกลศาสตร แตเขาเห็นวา การเคลื่อนไหวของสรรพสิ่งเปนไปอยางมีจุดหมายปลายทาง ในบรรดา
การเคลื่อนไหวทั้งสี่ประการที่ไดกลาวมานั้น อริสโตเติลมีความเห็นวา การเคลื่อนไหวทางสถานที่
(Local motion) มีความสาํ คัญกวา การเคลื่อนไหวอยางอืน่ เพราะการเคลอ่ื นไหวทางสถานท่ตี องการ
พ้นื ทีร่ องรับ ทเี่ รียกวา อวกาศ (Space) โลกและจักรวาลกําลังเคล่ือนที่อยูในอวกาศ อวกาศของอริส
โตเติลไมใชชองวาง (Void) หรือความวางเปลาอยางความเชื่อของเดมอคริตุส แตคือชองวางระหวาง
วตั ถุ ดังน้นั อวกาศจงึ ไมม ีความจริงในตวั เอง อวกาศมีไดก็เพราะวามีวัตถุ เชนเดียวกบั การท่ีบานมีชอง
หนาตา งไดก เ็ พราะวามีฝาผนัง ถาไมม ีฝาผนงั ยอมไมมีหนาตาง กาละ หรือเวลา (Time) ก็เชนเดยี วกับ
อวกาศ ไมมีความเปนจริงในตัวเอง กาละ เกดิ จากการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งวาอะไรมากอนหลัง
ความมีอยูของกาละจึงข้นึ อยูกับการเปลี่ยนแปลง ถาไมมีการเปลี่ยนแปลง จักรวาลก็ไมม ีกาละ เวลา
ถูกบญั ญัตขิ ึน้ เพอื่ วัดจํานวนการเปลี่ยนแปลงทีม่ นษุ ยกําหนดนบั ผนู บั คือจติ ของมนุษย

อรสิ โตเตลิ เชอ่ื วา โลกเปน ศนู ยกลางของจกั รวาล เปนความเช่ือท่ีปรัชญาคริสตยืมมาใชอยูเปน
เวลานานพนั ป กวาจะมีการพสิ ูจนใหมว า ไมเปนความจริงโดย คอรเปอรนิคสั เคปเลอร และกาลิเลโอ
ที่เส่ียงชีวิตตอศาลศาสนา ทาพิสูจนความจริง วาดวงอาทิตยตางหากที่เปนศูนยกลางของจักรวาล
อรสิ โตเติล เช่ือวาจกั รวาลแบงออกเปน ๒ สว นคือสว นงงกับสว นบน สว นลางนับตั้งแตใต ดวงจันทรลง
มาถึงพื้นโลก ประกอบกันขึ้นดวยธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ลม ไฟ ซ่ึงดับสลายได เปล่ียนแปลงได ไมคงท่ี
ไมถาวร แตสรรพส่ิงท่ีอยูในจักรวาลสวนบน นับตั้งแตดวงจันทรสูงขึ้นไปถงึ ดาวดวงสุดทายแหงขอบ
จักรวาลไมไดประกอบดวยธาตุ ๔ แตประกอบดวยธาตุท่ี ๕ อริสโตเติลเรียกธาตุชนิดนี้วา อีเธอร
(Ether) เขาเช่อื วา เปนธาตพุ ิเศษ ทาํ ลายไมได เปนสง่ิ มีอยชู ่ัวนริ ันดร ไมมีการ เปล่ียนแปลง

อรสิ โตเติลเชอื่ วา พระเจา ทรงสถิตอยูนอกขอบจักรวาลออกไป พระองคคอื ผูเร่ิมใหจักรวาลมี
การเคล่ือนไหว (Prime mover) โดยท่ีพระองคไมมีการเคล่ือนไหว (Unmoved Mover) ถา
ปราศจากพระองค โลกและจักรวาลจะเรม่ิ ตน เคล่ือนไหวไดอยางไร ปรัชญาสวนนี้ของอริสโตเติลท้งิ ไว
เปนมรดกทางความเช่ือของนักปรัชญาเทวนิยมในสมัยกลางไมวาจะเปน โทมัส อไควนัส นักปรัชญา
ครสิ ตหรือ อเวอโรส นกั ปรชั ญาชาวมสุ ลิมก็ตาม และแมแต นวิ ตนั เดสก ารต นักวิทยาศาสตรสมัยใหม
ในทางสว นตัวกม็ ีความเชอื่ เชนน้นั เหมอื นกัน

๑๓๔

ในเร่ืองของวิญญาณ อรสิ โตเตลิ แบงสรรพสิง่ ในโลกออกเปน ๒ ประเภท คือ อนินทรียสารกับ
อินทรียสาร อนินทรียสารไดแกสิ่งไมมีชีวิต เปนภาวะตํ่าสุด มีสสารมากแตมีแบบนอย สวน อินทรีย
สารไดแ กส ง่ิ มีชีวิตมสี ดั สวนของแบบมากวาเน้อื สสาร

อินทรียสารแบงออกเปน ๓ ระดับ ระดับต่ําไดแกพืช ระดับกลางคือสัตวซ่ึงแตกตางจากพืช
ตรงทีส่ ามารถรับรูทางผัสสะและมีความรูสึกสุขทุกข ระดับสูงสุดคอื มนุษยซงึ่ มคี วามแตกตางจากสัตว
ตรงท่สี ามารถคิดอยา งมเี หตผุ ลดว ยพุทธิปญญา มนุษยเปนส่ิงมีชีวิตประกอบดวยรางกายและวิญญาณ
รางกายคือสสาร วิญญาณคือแบบ สสารและแบบเปนของคกู ันเชนเดียวกบั ท่ีรางกายยอมมีวิญญาณ
แทรกอยูอยางเปนเอกภาพไมแยกออกจากกัน วิญญาณของพืชทําหนาท่ีดูดซับอาหาร (Nutritive
soul) วญิ ญาณของสตั วน อกจากทําหนาท่ีหลอเลี้ยงชีวิตแลวยังสามารถรับรูโลกภายนอกไดดว ยตัสสะ
(Sensitive soul) สวนวิญญาณของมนุษยนอกจากทาํ หนาท่ีสองอยางนั้นแลวยังสามารถคิดอยางมี
เหตผุ ลดว ยพทุ ธปิ ญญา (Nous) ซ่งึ อรสิ โตเติลเรยี กวิญญาณน้ีวา Rational soul

อริสโตเติลเช่อื วา วิญญาณของมนุษยไ มแ บง เปนวิญญาณยอยเหมอื นกับของเพลโต มนุษยแต
ละคนมีเพียงวญิ ญาณเดียว เปน วิญญาณทีม่ สี มรรถภาพในการรับรูและการคดิ แบง เปน ๔ ระดบั

ระดบั ๑ เปน ความสามารถรบั รูโลกภายนอกไดด ว ยประสาทสมั ผัสทั้ง ๕
ระดับ ๒ เปนการรับรูรวมกันระหวางประสาทสัมผัสท้ัง๕ แลวสงตอไปยังศูนยควบคุมและ
ประสานงานที่อริสโตเตลิ เช่ือวา อยูท ่หี วั ใจ ดังนนั้ หวั ใจจงึ เปน ทตี่ ้งั ของจติ วญิ ญาณ
ระดับ ๓ วญิ ญาณทําหนา ท่ีจินตนาการเพอ่ื สรา งภาพเลยี นแบบหรอื เพ่ิมเตมิ สงิ่ ท่ตี นรบั รูทวั่ ไป
ระดับ ๔ เปนสมรรถภาพของวิญญาณในการคดิ อยางมีเหตุผลเพื่อเตรียมพรอมในการคิดถึง
สิ่งสากลหรือแบบ (Potential Reasoning) อันถือวาเปนเหตุผลแฝง กบั สมรรถภาพในการทําหนาท่ี
คดิ เพอ่ื ทาํ ความรูจ กั กับสิ่งสากล ซึง่ อรสิ โตเติลเรยี กวา เหตผุ ลจรงิ (Actual Reason)
ในบรรดาสมรรถภาพทกี่ ลาวมาแลว อริสโตเตลิ เชอ่ื วาวญิ ญาณสวนทที่ ําหนา ทีร่ ับผัสสะแตละ
สวนและผสั สะรวมกับจินตนาการจะดบั สลายไปพรอ มกับรางกาย แตวญิ ญาณแหง เหตุผลจริง (Actual
reason) เปนวญิ ญาณอมตะนิรันดร เปนทีน่ าสังเกตวา เรมิ่ ตน อริสโตเตลิ มีความเห็นแตกตางจากเพล
โตในเรือ่ งของวิญญาณ วามนุษยแตละคนมีวิญญาณเดียวแตทําหนาที่ ๓ ประการ ครั้น พอมาถงึ ตอน
ทร่ี างกายดับลง อริสโตเติลกลับไปเช่ือวา วิญญาณเดียวแตทําหนาท่ี ๓ อยางน้ัน มี วิญญาณเหตุผล
จรงิ แยกออกไปจากวิญญาณผัสสะและจินตนาการ เมอ่ื รางกายดบั ลงก็มไิ ดสูญตาม แตกลับไปรวมอยู
กับโลกแหงแบบ แสดงวาอิทธิพลความเช่ือเร่ืองวิญญาณของเพลโตยังฝงลึกอยูใน ความเช่ือของ
อริสโตเตลิ ผูเปนศษิ ย วิญญาณ หรือแบบ ท่ีอยูคูกับสสารหรือสิ่งเฉพาะตามความเช่ือ ของอริสโตเติล
ซงึ่ ควรจะดับสญู ไปดว ยกันกบั รา งกาย จึงยงั คงอยูช่ัวนริ นั ดร

๑๓๕

ในทัศนะของปรัชญาพุทธ ปรัชญาของเพลโตและอริสโตเตลิ นาจะต้ังอยูบนฐานแหง อัตตวา
ทุปาทาน ดังท่ีทานพระธรรมปฎกแสดงความเห็นไวในหนังสือไตรลักษณในบทวาดวย นิพพานกับ
อตั ตาดังนี้

“พึงสังเกตวา เมื่อถึงจุดน้ีเปนสิ่งทแี่ สดงใหเห็นความแตกตางระหวางพุทธศาสนากับศาสนา
และปรัชญาท่ีเชื่อในอัตตา ดังจะเห็นไดวา จุดหมายสูงสุดซึ่งเปนสิ่งจริงแทในบางศาสนาบางสาขา
ปรัชญานน้ั ดูเหมือนวา แทบจะไมแตกตา งกันเลยกบั พุทธศาสนา เพยี งแตว าในขัน้ สุดทาย ลัทธิคาสนา
และปรัชญาเหลา นนั้ รบั รองอัตตา หรือ อาตมนั โดยกลาววาสภาวะจริงแทส ูงสุดเปนอัตตาหรืออาตมัน
ทัศนะเชนนี้เม่ือมองจากคําอธิบายขางบนยอมมีความหมายวา เจาของลัทธิ (และเจาของปรัชญา)
เหลาน้นั แมจะเขาถึงภูมธิ รรมชั้นสูงมากแลวแตก็ยังติดอยูในเสียงรองของความปรารถนาที่จะมีอยูซึ่ง
แฝงลึกในจิตใจ ดังน้ันเมอ่ื พูดถึงสภาวะจริงแทน้ัน อยางนอยก็หาแงห าความหมายบางอยางพอใหได
เรียกภาวะน้ันวา อัตตาอันจะทําใหมีความหวังท่ีตนจะมีอยูคงอยูตอไป กลาวคือ ยังมีภวตัณหาท่ี
จะตองสนองอยนู ่นั เอง และขอ น้คี ือส่ิงทีพ่ ระพทุ ธศาสนาเรยี กวาพรหมชาล หรอื ตาขายดักศาสดาจารย
ชน้ั เลศิ ทง้ั หลาย”

อภิปรชั ญาของอริสโตเติลก็มลี กั ษณะเชน เดียวกัน เพราะเช่ือวาสรรพส่ิงทั้งหลายในจักรวาลมี
การเคล่ือนไหวเขาสูเปาหมายแหงสัจธรรมเดียวกัน ส่ิงน้ันคือ โลกแหงแบบบริสุทธ์ิที่ทําใหสรรพสิ่ง
ทั้งหลายเคล่ือนไหว อันหมายถึงพระเจา ในเมื่อการเคลื่อนไหวของสรรพส่ิงเปนอันตนิยมกลาวคือ
เปนไปอยางมีเปาหมาย ดังนั้น พฤติกรรมของมนุษยจึงมุงไปที่เปาหมาย ซึ่งอริสโตเติลได จําแนก
ออกเปน ๒ ประเภทคือ เปาหมายระหวางทาง (Means) กบั เปาหมายปลายทาง (End) เขากลาววา
การกระทําของมนุษยมีจุดหมายท้ังสองประการ น่ันคือมุงไปที่จุดหมายระหวางทางเพื่อนําไปสู
จดุ หมายปลายทางเสมอ

เปาหมายระหวางทางของมนุษย คอื ความสุข สวนเปาหมายปลายทางคือความดี อริสโตเติล
กลาววา ความดคี ือความสุข และความสุข (Happiness) กค็ ือความดี ความดีกับความสุขเปนสิ่งเดยี ว
กัน แตความสุขในความหมายของอริสโตเติลไมไดหมายถงึ ความสําราญ (Pleasure) อันเกิดจากการ
บํารุงบําเรอตนเองดวยสิ่งท่ีนาปรารถนานาใครนาพอใจ เขาวิจารณวา ความสําราญไมใชความ สุข
สําหรับมนุษย สัตวเดรัจฉานก็มีความสําราญเหมือนกัน เม่ือมนุษยประเสริฐกวาสัตว มนุษยจึงควร
แสวงหาความสุขที่ปราณีตกวาความสนุกเพลิดเพลิน ความสุขสําราญไมใชจุดหมายสูงสุด เพราะ
มนุษยไมอาจแสวงหาความสําราญไดโดยตรง ความสําราญเปนเพียงผลพลอยไดของชีวิตที่มนุษย
แสวงหาความสุข ความสุขไมใชความม่ังค่ังรํ่ารวย เพราะความร่ํารวยเปนเพียงทางผานไปสูความ
สําราญ เงนิ ซื้อความสขุ ไมได ความสขุ ไมใชเกียรตยิ ศ เพราะเกียรติยศเปนเพยี งสิ่งไดม าจากการใหของ
คนอื่น วันใดท่ีผูอ่ืนไมมอบให วันนั้นเราก็อาจมคี วามทกุ ข ดังน้ันเกียรตยิ ศชื่อเสียงจึงไมใชจุดหมายที่
สมบูรณในตัวเองเพราะยงั ตองพึ่งพาการยอมรบั และการมอบใหจากผอู ืน่

๑๓๖

ทัศนะของอริสโตเติลในเร่ืองนี้มีสวนคลายกับคําวา อามิสสุขในทางพุทธศาสนา ถาเชนน้ัน
ความสขุ คอื อะไร? อริสโตเตลิ อธบิ ายวา

ความสุขเปนความรูสึกของวิญญาณ ไมใชของรางกาย เปนกิจกรรมของวิญญาณทสี่ อดคลอง
กับคุณธรรมอันสมบูรณ คนท่ีมีความสุขคือผูท่ีดําเนินชีวิตอยางมีคุณธรรม คุณธรรม หมายถึง
คุณสมบัตทิ ี่ดี เชนความกลาหาญ ความเสียสละ ความซอื่ สัตย ความยุติธรรม อนั ฝงรากลึกภายในจิต
ใจอยางเปน นิสยั (State of Character) คุณธรรมเกดิ จากการกระทําโดยปราศจากอารมณ ความรูสึก
หรอื จากการถูกบังคับดวยอํานาจหรือดวยกฎระเบยี บใดๆ

อริสโตเติลกลาววา “ฟาใสเพยี งวันเดยี วไมทาํ ใหเกดิ ฤดูใบไมผลิไดฉันใด การทาํ ดีเพยี งวันเดียว
กไ็ มทาํ ใหเปนคนดมี ีคุณธรรมไดฉ ันนัน้ ”

อริสโตเติลเชื่อวา คุณธรรมไมใชคุณสมบัติที่มนุษยมีติดตัวมาต้ังแตเกิด หากแตเปนนิสัยท่ี
มนุษยสรางขึ้นภายหลังจากการฝกหัด จากการเรียนรูและการลงมือทํา คุณธรรมจึงไมใชศักยภาพ
ไมใชภาวะแฝง แตเปนผลมาจากนิสัย พงึ สังเกต คาํ วา Ethics (จริยศาสตร) มาจากคาํ วา Ethos ใน
ภาษากรีกซ่ึงแปลวา Habit หรอื นสิ ัย อรสิ โตเติลเรียกนิสัยฝายดีวา คุณธรรม (Virtue) และเรียกนิสัย
ฝายเลววา ความชั่ว (Vice)

อริสโตเติลแบงคุณธรรมออกเปน ๒ ประเภท คือ คุณธรรมดานพุทธิปญญา (Intellectual
Virtue) กบั คุณธรรมดา นศีลธรรม (Moral Virtue)

คณุ ธรรมดานพุทธิปญญาหมายถงึ ความสามารถในการใชเหตุผลเพอื่ แสวงหาความรูเก่ยี วกับ
สิ่ ง ส า ก ล แ ล ะ เ พื่ อ ก า ร คํ า น ว ณ ท า ง ค ณิ ต ศ า ส ต ร ที่ ไ ด จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า เ ล า เ รี ย น ท า ง ภ า ค ท ฤ ษ ฎี
(Theoretical wisdom) คณุ ธรรมดานศีลธรรมหมายถึงความสามารถในการเลือกทาํ ความดีอันเกิด
จากการฝกหัด ปฏิบัติจนกลายเปนนิสัย คุณธรรมดานน้ีคือสิ่งท่ีอริสโตเติลคาดหวังจะใหเกิดกับชาว
เอเธนส

อริสโตเตลิ อธิบายวา คุณธรรมดานศลี ธรรมทนี่ าํ ไปปฏิบัติจนเปนนิสัยนั้นจะตองดาํ เนินไปตาม
ทางสายกลางในระดับท่ีมีความพอดี ไมมากไมนอยเกินไป เปนทางลายกลาง (Golden mean)
ระหวา ง ความเกิน (Excess) กบั ความขาด (Deficiency) การกระทําที่เกนิ หรือการกระทําท่ขี าดถอื วา
เปนความชั่ว (Vice) เพราะเปนการกระทําโดยใชอารมณ คุณธรรมควรเกิดจากความรูสึกอัน
เหมาะสมกบั กาละ เทศะ และบคุ คล โดยใชเ หตผุ ลและแรงจงู ใจตามทางสายกลาง เชน

กลา หาญไมบ า บินแตไมขาดกลวั
โอบออ มอารี ไมสุรยุ สุรา ยแตไมต ระหนี่เหนยี วแนน
เคารพตนเอง ไมเยอ หยงิ่ แตไมม องวาตนเองตา่ํ ตอย
พูดความจรงิ ไมคยุ โตแตไมแ กลงถอมตวั
มปี ฏภิ าณทําตลกแตไมห ยาบโลน

๑๓๗

มคี วามสุภาพโดยไมขอี้ ายแตไ มหนาดา น
เปน มติ รกับคนโดยไมประจบสอพลอแตไมห นางอบอกบุญไมรับ ฯลฯ๑๓
สิ่งท่ีกระทําอยางเปนกลางๆ โดยนิสัยในลักษณะเหลานี้ คอื ส่ิงที่อริสโตเติลเรียกวา คุณธรรม
สายกลาง เปนทางสายกลางที่มนุษยกําหนดขึ้นอยางมีเหตุผลดวยการใชปญญาพิจารณาความ
เหมาะสมเอาเอง ไมมีเกณฑมาตรฐานแนนอนตายตวั เพราะวาคนเรายอมมสี ถานภาพไมเทาเทียมกนั
ทุกคน อริสโตเติลไมเห็นดวยกับโสคราติสท่ีเช่ือวา คุณธรรมเปนเรื่องของพุทธิปญญา คนที่มีความรู
เมื่อรูวาสิ่งใดเปนความชั่วยอมไมทําในส่ิงนั้น สวนอริสโตเติลมีความเห็นวา คนที่ถึงพรอมดวย
พทุ ธิปญญา (Intellectual virtue) ไมจาํ เปน ตองมคี ุณธรรม (Moral virtue)
ทานพุทธทาสภิกขุ มีความเห็นคลายกับโสคราติส ทานเชื่อวาคนทําชั่วเพราะอวิชชาเพราะ
ความโงความไมรู สวนทานพระธรรมปฎก ปราชญทางพุทธศาสนาอีกทานหนึ่งมีความเห็นคลายกับ
อรสิ โตเตลิ ทา นมีความเห็นวา การจะใหม นุษยมคี ณุ ธรรมไดน ้นั จกั ตองใชวิธีสามประสาน ระหวางดาน
พฤตกิ รรม (วินยั ) ดา นจติ ใจ (ศลี ) และดานปญญา ในดานพฤติกรรมไดแ กก ารฝก ใหรูจักมีวินัย ควบคุม
การกระทําของตนเองภายใต บัญญัติ กฎ ระเบียบ ขอบังคับและกติกาตางๆ ของสังคมสรางเจตนา
จากภายในใจมนุษยเองเพ่ือควบคุมพฤตกิ รรมทางกายวาจาไวใหไดอ ยางจริงจัง มงุ ม่นั ในศรัทธาที่จะ
กระทําความดี มีความรูความเขาใจหรือมีปญญาที่จะตรวจสอบ ชี้นําใหเกดิ พฤติกรรมไปในทศิ ทางท่ี
ถูกตองโดยตลอดดวยการฝกฝนและพัฒนาไปพรอมๆกันจึงจะเกิดเปนคุณธรรมดานศีลธรรมตาม
ความหมายของอริสโตเติล
พระธรรมปฎ ก มคี วามเหน็ ตอ ไปวา บญั ญัตธิ รรมนัน้ ข้นึ อยูกบั จริยธรรม และจริยธรรมควรจะ
ตั้งอยูบนฐานของสัจธรรม จึงจะเปนจริยธรรมอันเปนธรรมนูญในการดําเนินชีวิตท่ีสอดคลองกับ
ศีลธรรมทางศาสนา และในขณะเดียวกันจริยธรรมน้ันตองสอดคลองกับความรูสึก การยอมรับดวย
ความศรัทธา เต็มใจที่จะปฏิบัติตามดวยเจตนารมณในอันที่จะกอใหเกิดความสุขตอตนเองและตอ
สงั คมรว มกันดวย จึงจะถือวา เปน จริยธรรมสากลทจี่ ะบังเกดิ ผลอันสมบรู ณแ ทจ ริง๑๔
อริสโตเติลเปนนักปรัชญาผูยิ่งใหญค นหนึ่งของโลก เปนผูสรางระบบปรัชญาแขนงตาง ๆ ท้ัง
ดา นศาสตรและศิลป เปนผูมีความรอบรูในศาสตรหลายสาขา อัจฉริยภาพของอริสโตเติลอยูที่ความ
สามารถในการรวบรวมศาสตรตางๆเขาเปนปรัชญาเดียวกนั ระบบปรัชญาของเขาครอบคลุมศาสตร
ตา งๆมากมายเชน ตรรกศาสตร อภิปรัชญา ดาราศาสตร ฟสิกส ชีววิทยา สัตววิทยา วาทศิลป จริย
ศาสตร รัฐศาสตร และ สุนทรียศาสตร อริสโตเติล คือผูคิดคนคําและศัพทตางๆไวมากมายจนเปน
มรดกมาถึงยุคปจจุบัน ปรัชญาของอริสโตเตลิ มอี ิทธิพลเปนอยางมากตอ แนวคดิ ของนักปรัชญายุโรป

๑๓ อางแลว, นายแพทยสุวัฒน จันทรจํานง, ความเชื่อของมนุษย เก่ียวกับปรัชญา และศาสนา, หนา
๖๓.

๑๔ พระธรรมปฎ ก (ป.อ.ปยุตโต), การพฒั นาที่ยง่ั ยืน, (กรุงเทพฯ : มลู นิธิพทุ ธธรรม, ๒๕๓๙), หนา ๔๑.

๑๓๘

สมัยกลาง ปรัชญาอริสโตเติลพัฒนาตอจากปรัชญาของเพลโตผูเปนครู เปนปรัชญาท่ีถูกนํามาชวย
เสรมิ คาํ สอนของศาสนาคริสตและศาสนาอิสลามไดอยางมีเหตุมีผลในเวลาตอมา แมวาศาสนาทั้งสอง
จะไมยอมรบั แนวคิดของอริสโตเติลในตอนแรก ถึงกบั เคยถูกประกาศหามสอนในมหาวิทยาลัย สําคญั
ในยุโรปมาแลว แตตอมานักปรัชญาเทวนิยมชาวคริสตเชน เซ็นต โธมัส อะไควนัส ก็ไดน ําเอาปรัชญา
ของอริสโตเตลิ ในสวนวาดวยภววิทยาและเทววิทยามาใชอธิบายหลักคําสอนในศาสนา คริสตไดอ ยาง
กลมกลืนจนเกดิ เปน ปรัชญาอัสสมาจารย (Scholastic Philosophy) ในเวลาตอ มา

๔. ปรชั ญาตะวันตกยคุ เสื่อม

ภายหลังยุคของอริสโตเติล ศิลปะวิทยาการตาง ๆ ของชนชาติตะวันตกก็เริ่มเส่ือมลง
ประชาชนเริ่มสิ้นหวังเนื่องจากขาดความมั่นคงในทางการเมืองการปกครอง นครรัฐตางๆที่เคยมกี าร
ปกครองกันเองอยา งอสิ ระตกอยใู ตอ าํ นาจของพระเจาอเลกซานเดอรม หาราช

อริสโตเติล ผูเปนครูของกษัตริยแหงมาซโิ ดเนีย เคยสอนทฤษฎีการเมืองวา รัฐในอดุ มคติน้ัน
จะตองไมกวางใหญหรือเล็กจนเกินไป พลเมืองมีความรับผิดชอบในหนาท่ีตอรัฐตามวัย คนหนุมมี
หนาท่ีเปนทหาร ปญญาชนวัยกลางคนทําหนาท่ีปกครอง ผูอยูในวัยชราเปนนักบวชแสวงธรรม
การศึกษาคือเครอ่ื งมือสําคัญในการพัฒนาคน สว นพระเจาอเลกซานเดอรผูซง่ึ เคยเปนศิษยมคี วามเห็น
วา อดุ มรัฐ หมายถึงดินแดนซ่งึ ไดจ ากการรวบรวมยึดครองท่ีมอี าณาเขตอันกวางใหญไพศาลอาํ นาจคือ
กองทัพอันเกรียงไกร การศึกษาคือการถายทอดศิลปวิทยาการระหวางผูปกครองกับผูถูกปกครอง
ราชาธปิ ไตย (Royalty) คือระบอบการปกครองทดี่ ที ีส่ ดุ

ดวยเหตุนี้ นครรัฐตาง ๆ ของชนชาติกรีก จึงถูกผนวกเขาเปนดินแดนภายใตการปกครอง
เดียวกัน คร้ันเมื่อส้ินรัชสมัยของพระองค ขุนพลตาง ๆ ไดต้ังตนเปนใหญแบงอาณาจักรมาซิโดเนีย
ออกเปนสวนๆไมข้ึนตอกัน นครรัฐท้ังหลายของชนชาติกรีกจึงไดสูญเสียอิสรภาพใหกับอาณาจักร
โรมันในเวลาตอมา (พ.ศ. ๓๙๗) ภายหลังจากนั้นปรัชญากรีกก็เร่ิมเส่ือมถอยลง ยังคงอยูแต จริย
ศาสตรป จ เจกนิยม ท่สี อนใหต า งคนตา งใฝห าความสขุ ความสําราญ ความสงบ ตามแนวทางความเชื่อ
ของปจเจกบุคคล นักปรัชญาในยุคนไ้ี มมแี นวคิดทีจ่ ะสรา งสรรคอ ภิปรัชญาของตนเองข้ึนใหมส ําหรับใช
เปนแนวทางสง เสรมิ จรยิ ศาสตรเ พื่อสงั คมอกี ตอ ไป ส่ิงท่ีนักปรัชญารุนนี้ทาํ คือหยิบฉวยเอาแนวคดิ ของ
นักปรัชญาในสมัยกอนมาใชเปนฐานรองรับจริยศาสตรของตน มีสํานักปรัชญาเกิดขึ้น ๕ กลุม รับ
แนวคดิ จากปรัชญายุคเร่มิ ตนและในยคุ รุงเรอื งมาปรบั ปรุงใหม ดังเชน เอปค วิ รัส รบั ทฤษฎีอะตอมของ
เดมอคริตุส ปรัชญาสโตอิครับทฤษฎีธาตไุ ฟของเฮราคลิตุส ปรัชญาวิมตินิยมและปรัชญานีโอเพลโต
นําเอาอกปรัชญาของเพลโตมาใช นักปรัชญาสงั คหนิยม (Eclecticism) นําเอาปรัชญาจากหลายสํานัก
มาผสมผสานกันขึ้นเปน ของตัวเอง หลักปรชั ญาที่สําคัญของสํานักตางๆ ใน ยุคน้มี ีพอสรุปไดดังน้ี

๑๓๙

๔.๑ ปรัชญาสขุ นยิ มของเอปค ควิ รัส
เอปคคิวรัส (Epicurus พ.ศ. ๒๐๒-๒๖๗) คือผูกอตั้งสํานักปรัชญาสุขนิยม (Hedonism)
แบบเอปคคิวเรียน แนวคิดของเขาไดรบั การถา ยทอดตอมาโดยกวีชาวโรมันช่ือ ลูเครตอิ ุส (พ.ศ. ๔๔๙-
๔๘๙) ปรัชญาสุขนิยมของเอปคควิ รัสมุงท่ีจะชวยชี้นําใหมนุษยดําเนินชีวิตดวยการแสวงหาความสุข
เขากลาววา โดยสัญชาตญาณของคนเรามีความทุกขจากความกลัวในภัยและปรากฏการณทาง
ธรรมชาติ กลวั ความตาย กลัวเทพเจา ทมี่ นษุ ยเปนผูส รางขน้ึ ความกลวั ในส่ิงตางๆเหลาน้ีเกิดจากความ
โงเ ขลาไมรูเทาทันความจริง เอปคคิวรัส สอนใหมนุษยรูจักแสวงหาความจริงเพื่อแยกใหออกวาอะไร
คอื ความรจู รงิ อะไรคือความรเู ท็จโดยอาศยั เกณฑดงั นี้
๑. สัญชาน (Perception) เปนเกณฑต ัดสนิ ท่สี ําคญั ทส่ี ุดทจ่ี ะใชว ิเคราะหหาความจริง
๒. ขอ มูลจากสัญชานคือส่ิงไดมาจากการใชประสบการณข องประสาทสัมผัส หากขอ มลู จาก
ประสาทสัมผัสผิดพลาด การใชเหตผุ ลก็ยอมผิดพลาดดวย ดงั นั้นสัญชานจึงเปนส่ิงเชื่อไดด ีกวาการใช
เหตผุ ล แนวคดิ ของเอปคคิวรัสกค็ อื หลกั ประสบการณน ิยม (Empiricisim)
๓. มโนภาพ (Concept) ท่ีเกิดจากความคิดรวบยอด ภายหลังจากการรับรูส่ิงเฉพาะดวย
ประสาทสัมผัส เปนอกี สิ่งหนึ่งที่เอปคคิวรัสเช่ือวาใหความรูแทจริงพอๆกบั ทางสญั ชานและความรูสึก
(Feeling) สุขทกุ ขท ่มี นษุ ยใชเ ปน เกณฑในการตดั สินการกระทาํ
ทางดานอภิปรัชญา เอปคควิ รัสมีความเห็นเหมือนกับ เดมอตริตุสวา สรรพส่ิงทั้งหลายรวม
ท้ังตวั มนษุ ยประกอบขนึ้ จากอะตอมอันเปนหนว ยยอยสดุ ของสสาร ดังน้ันเมือ่ มนุษยตายลง วิญญาณก็
แตกดับไมมีอะไรทจี่ ะเวียนวายตายเกิดอีกตอไป เมอ่ื เปนเชนนี้ความตายจึงไมใ ชส่ิงนากลัว เพราะวา
มนุษยไมมวี ิญญาณอมตะทจ่ี ะตองหวงใยภายหลังชีวิตดับสูญลง เอปคคิวรัสไมยอมรับวาพระเจาเปน
ผูสรางโลก แตเชื่อวาโลกเกิดจากการรวมตัวของปรมาณูตามกระบวนการทางกลศาสตรล วนๆจึงไมมี
อํานาจเหนือธรรมชาติใด ๆจะมาดลบันดาล นอกเหนือไปจากกฎธรรมชาติ การบูชาบวงสรวงจึงไม
ใหผลและไมม ีประโยชนใด ๆ เขากลาววา “ถาเทพเจาสามารถดลบันดาลใหการสวดมนตรออ นวอน
ของมนุษยเปนจริงตามปรารถนา มนุษยคงตายไปมากแลว เพราะมกี ารสวดมนตรออ นวอนสาปแชง
กันอยูเ ปนประจําทุกวัน”
เน่ืองจากทัศนะของเอปคคิวรัสเปนสสารนิยม ดงั นั้น จริยศาสตรในความเห็นของเขาจึงไมใช
ศาสตรที่มีเพ่ือแสวงหากฎเกณฑทางศีลธรรมดังเชนของคนอ่ืน แตเปนจริยศาสตรสุขนิยมท่ีถือวา
ความสุขคือจุดหมายสูงสุดของชีวิต ทุกชีวิตตองการความสุขกันทั้งสิ้น ความสุขของเอปคคิวรัส คือ
ความสาํ ราญ (Pleasure) เขากลา ววา
“ความสําราญคือจุดเริ่มตนและจุดหมายปลายทางของการดํารงชีวิต คนเราตระหนักดีวา
ความสาํ ราญคอื สญั ชาตญาณท่ีตดิ ตัวเรามา คนเราจะเลือกทําหรือไมทําสิ่งใดก็เพราะความสําราญเปน
เกณฑใ นการตดั สิน”

๑๔๐

ความเหน็ ของเอปค คิวรสั ไดร ับการยอมรับอยางเตม็ ทจ่ี ากนักปรัชญาสมัยใหมเ ชนโธมสั ฮอบบ
(Thomas Hobbes) เจาของทฤษฎีอัตนิยม (Egoism) ทีเ่ ชื่อวา การกระทําทกุ อนั ของมนุษยทกุ คน
ลวนแตเปนไปเพอ่ื กอ ประโยชนใหแกตนเองท้ังส้ิน ซกิ มุนด ฟรอยด (Sigmund Freud) และ เจรามี
เบ็นธมั (Jeremy Bentham) กม็ คี วามเห็นเชนเดยี วกัน เขาเหลาน้ีเช่ือวา มนุษยทุกคนมุงหาความสุข
ความสุขคือความดี ความทุกขคือความชั่ว ในขณะมีชีวิตอยู คนเราจึงควรแสวงหาความสุขใหแก
ตนเองใหมากท่ีสุดเทาที่จะมากได ความดีความชั่วเปนเพียงส่ิงสมมติ ของจริงคือความสุขกับความ
ทกุ ขทีม่ นุษยไดรูจักและประสบอยูในชีวิตประจําวัน จงแสวงหาความสุขใหมากที่สุดโดยยังความทกุ ข
ใหเ กิดนอ ยที่สดุ โดยใชความรอบคอบเปน คณุ ธรรมนาํ ทางชีวิต แตในท่ีสดุ เอปคิวรสั ก็เตือนวา

“ความสุขนั้นแปลก บางทยี ่ิงแสวงหามันมากเทาใด ยิ่งอาจไดรับมันนอยลงเทา น้ันคนเราจึง
จําเปน ท่จี ะตอ งรูจกั คิด รจู ักเลือกหาแตความสขุ ทีไ่ มเกิดทกุ ขห รือเกิดทุกขนอย ๆ ความสุขใดท่ีหายาก
ไดมาดว ยราคาแพง ครอบครองเอาไวไมไดเราไมค วรแสวงหา การรูจักทําตนเปนอสิ ระจากของนอก
กาย การรูจ กั เลอื กบริโภคอาหารพนื้ ๆ งา ย ๆ อาจใหค วามสขุ กับเราไดเทากับอาหารแพง ๆ”

ในทางจรยิ ศาสตร เอปค ิวรสั ยงั สอนเพ่มิ เตมิ วา นอกจากการแสวงหาความสุขเพอ่ื ตนเองแลว
มนุษยควรมคี ณุ ธรรมสังคมเพ่ือการอยูรวมกันอยางสันตสิ ามประการคอื ความรอบคอบ ความซอื่ สัตย
และความยุติธรรม เมื่อมาพิจารณาปรัชญาสุขนิยมของเอปคคิวรัสใหลึกสักหนอย ยอมมองเห็นสัจ
ธรรมขอ หนึง่ นั่นคือการดําเนนิ ชวี ติ แมจะเปนไปเพ่ือหาความสุข แตก็เปนการหาความสุขตามทางสาย
กลางเชนเดียวกันกับปรัชญาพุทธ เอปคคิวรัสกลาวตอไปวา“เพราะถาเราลุมหลงในความสุขมาก
เกนิ ไป เรากลบั จะกลายเปนทาสของความสขุ นัน้ เสียเอง แลวในทีส่ ุดมันยอมกอใหเกิดทกุ ข และถาเรา
หลงใหลอยูในความสาํ ราญเกินไปในวนั นี้ เราอาจไมพ บกับมันอกี ในวันหนา ”

เอปคิวรัสแบงความอยากของคนเราออกเปน ๓ ประการ ประการแรกคือความอยากตาม
ธรรมชาติเชน อาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรค ถือวาเปนสิ่งจําเปนตอการดาํ รงชีวิต (Basic needs)
ประการท่ีสองคือแรงปรารถนาท่ีเปนไปตามธรรมชาติแตไมจําเปนสําหรับชีวิต เชนความตองการทาง
เพศ (Sexual desire) ความอยากประเภทน้ีคนเราควรเดนิ ตามทางสายกลาง ประการทีส่ ามคอื ความ
ตองการทม่ี ไิ ดเ ปนไปตามธรรมชาติและไมจ าํ เปน สาํ หรบั คนเราแมวา จะขาดส่ิงเหลานั้น เชน สิ่งหรูหรา
ฟุมเฟอย แกวแหวนเงินทองเพชรนิลจินดา ตลอดจนเกียรติยศ ช่ือเสียง ส่ิงเหลานี้ควรละเวนหรือ
หลีกเล่ียง เอปคคิวรัสเช่ือวา ชีวิตท่ีประเสริฐ คือชีวิตที่อยูอยางงายๆ มีความสงบ ไมใชชีวิตที่มีแต
ความทะเยอทะยานใฝฝนเพื่อหาเกียรติยศชื่อเสียงทางสังคม เพราะสิ่งเหลาน้ีมีแตบ่ันทอนความสุข
ของมนุษย เขากลา ววา“คนเราไมควรอยโู ดยตกเปน ทาสของอะไร แมแ ตชวี ติ ครอบครัวบางครั้งก็ทาํ ให
คนเราตองเปนทาส เปน ทาสของความรับผดิ ชอบในบทบาทหนา ท่ี เปน ทาสตอ ความสัมพันธและความ
ผกู พนั ทีม่ ีตอสมาชกิ ความสมั พนั ธน น้ั เปน สิง่ ทีด่ ี แตเราตองรูจกั มรี จู ักใชมนั อยา งอิสรชน”

๑๔๑

ปรัชญาสุขนิยมของเอปคคิวรัสไปๆ มาๆ ก็มาลงเอยเชนเดียวกับปรัชญาพุทธอยูนั่นเอง
กลาวคือดาํ เนินชีวิตตามมรรค ๘ ดว ยหลักของมชั ฌิมาปฏิปทา ละเวนในส่ิงไมจําเปน มกั นอยมีความ
พอใจหรือสันโดษในทางวัตถุธรรมตามสถานภาพและความสามารถของตัวเอง ไมตกเปนทาสของ
อามสิ บชู า ไมห ลงใหลหรือยึดติดอยูใ นโลกธรรม ไมวาจะเปน สุข หรือ ทุกข ลาภ หรือความเส่ือมลาภ
หรือความเสือ่ มยศ สรรเสรญิ หรอื การนนิ ทาใดๆ กต็ าม เอปคคิวรสั กลา วเปนคาํ คมไววา“เปนไปไมไดท่ี
มนุษยจะดํารงชีวิตไดอ ยางมคี วามสุขหากปราศจากความรอบคอบซือ่ สัตย ยุติธรรม และยิ่งเปนไปได
ยากท่มี นษุ ยจ ะดํารงชวี ิตอยูด ว ยความรอบคอบ ซ่ือสตั ย ยุติธรรมโดยปราศจากความสขุ ”

นาเสียดายทแ่ี ตเดิม เอปคคิวรัส ก็สอนไวเชนน้ี แตตอมาศษิ ยของเขาไดเดด็ เอาทัศนะในการ
แสวงหาความสขุ มาเนนหนักทางดา นความสาํ ราญ สนกุ สนานฟุงเฟอ จนทาํ ใหมีผูเขา ใจวาปรัชญาของ
เขาเปน พวกกามสขุ นิยม (Sensual Hedonism) ซึ่งไมตรงกับคําสอนทแี่ ทจ ริงของเอปคคิวรัสแตอยาง
ใด ความเปนจริงปรัชญาเอปคคิวเรียนสอนใหมนุษยแสวงหาความสุขภายใตการควบคุมกิเลสตัณหา
สอนใหคนเรารจู ักควบคมุ พฤตกิ รรมของตนเอง ในสมยั ปจจุบันมผี ูเขา ใจปรัชญาน้ีในทางที่ดีข้ึน แมแต
คารล มารกซ และ โธมัส เจฟเฟอรสัน ประธานาธิบดีคนที่สามของสหรัฐอเมริกายังช่ืนชมกับ
แนวความคิดในปรัชญาสุขนิยมของเอปคคิรัส เจฟเฟอรสันเคยกลาววา“เอปคคิวรัสเปนกุญแจไขสู
ประวัตทิ ีแ่ ทจริงของปรชั ญากรีก เขาคอื ผเู สนอเหตุผล เพยี บพรอมใหกับจริยศาสตรท่ชี าวกรีกและชาว
โรมนั สง ทอดมาใหพ วกเรา”

๔.๒ ปรชั ญาสาํ นกั สโตอคิ
สโตอิค (Stoic) มาจาก Stoa ในภาษากรีกแปลวา ประตู การที่มีช่ือเชนน้ันเพราะวาสํานัก
ปรัชญาแหงนี้ต้ังอยูบริเวณระเบียงของซุมประตูเมือง ทําการสอนอภิปรัชญา ตรรกศาสตรและจริย
ศาสตรใหกบั ผสู นใจ
หัวหนาสํานักปรัชญาแหงน้ีคือ เซโนแหง คติ ิอุม (Zeno of Citium) ผูซึ่งมีชวี ิตอยูระหวาง
พ.ศ.๒๐๗-๒๗๙ เซโนเมื่อยังหนุมไดศ ึกษาเลาเรียนและใหความสนใจตอปรัชญาและจริยศาสตรของ
โสคราติสเปนอยางมาก ตอมาเซโนไดรับการศึกษาปรัชญาจาก คราติส (Crates) แหงสํานักซินนิค
(Cynic) ที่สอนใหมนุษยดาํ รงชีวิตอยางเรียบงาย ละเวนส่ิงอาํ นวยความสะดวกและของฟุมเฟอยทุก
ชนิด ยอมรับเฉพาะส่ิงสนองความตอ งการตามธรรมชาติเพอ่ื ประทังชีวิตดวยการออกภิกขาจารคลาย
ภิกษุสงฆ ทางพุทธศาสนา ศิษยของเซโนสวนใหญลวนแตเปนคนมีอายุบรรลุวุฒิภาวะ เซโนสอน
ปรัชญาอยู ที่สํานักสโตอิคเปนเวลาประมาณ ๔๐ ป ใชชีวิตอยางสมถะและเรียบงายเสมอตนเสมอ
ปลายตอ บรรดาศิษยและตอคนทั่วไป จนมีคํากลาวในหมูบรรดาชาวกรีกวา “สมถะยิ่งกวาเซโน”
คณุ ธรรมขอ นี้ ทําใหเ ซโนไดรบั มอบกุญแจเมืองและมงกุฎทองคําเพอื่ เปน เกยี รติจากรฐั สภาเอเธนส


Click to View FlipBook Version