รายงานการประเมินตนเองระดับสถาบัน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ค ำน ำ รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) มหาวิทยาลัยรังสิต ฉบับน้ีจัดท าข้ึนเพื่อใช้ ประกอบการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ของมหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2565 (1 มิถุนายน พ.ศ.2565 – 31 พฤษภาคม พ.ศ.2566) ระหว่างวนัที่23 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ.2566 ตามคู่มือมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ที่สอดคลอ้งกบัระบบการประกนัคุณภาพ การศึกษาภายในของส านักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) และมาตรฐาน การอุดมศึกษา พ.ศ.2561 มหาวิทยาลัยรังสิตตระหนักถึงความส าคัญในการพัฒนาการเรี ยนการสอน การผลิตบัณฑิต การพัฒนา หลกัสูตร การวิจยัการสร้างสรรคผ์ลงานวิชาการสิ่งประดิษฐ์และนวตักรรม การบริการวิชาการ การทา นุบา รุง พฒันา และสร้างมาตรฐานทางด้านศิลปวัฒนธรรม การพัฒนาระบบการบริหารและโครงสร้างองค์กร ดงัน้ันการประกัน คุณภาพการศึกษาจึงเป็ นเครื่ องมือส าคัญที่ท าให้เกิดความมั่นใจว่าผลการด าเนินงานตามองค์ประกอบ 5 ด้าน ประกอบด้วย การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม และการบริหารจัดการ จะมีคุณภาพและมาตรฐานที่ก่อใหเ้กิดการพฒันาอยา่งต่อเนื่อง เหนือสิ่งอื่นใดสิ่งที่สา คญัที่สุดต่อการพฒันามหาวิทยาลยั อย่างต่อเนื่อง คือขอ้เสนอแนะอนัเป็นประโยชน์จากคณะกรรมการประเมินในทุกปีการศึกษา ซึ่ งมหาวิทยาลัยได้ น ามาใช้เพื่อจัดท าแผนปรับปรุงการด าเนินงาน (Improvement Plan) เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดท าแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ระดับหลักสูตรและระดับคณะของปี การศึกษาต่อไป และเป็ นแนวทางส าคัญในการพัฒนาเสริมสร้างจุด แขง็ของมหาวิทยาลยัใหม้ีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน มหาวิทยาลัยขอขอบพระคุณคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต ผบู้ริหารคณาจารย์และบุคลากรทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการขบัเคลื่อนการดา เนินงานของมหาวิทยาลยัใหบ้รรลุเป้าหมาย และยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอขอบพระคุณคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ที่เป็ นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ไดแ้ก่รองศาสตราจารย์ พันเอก ดร.ถวัลย์ ฤกษ์งาม,ศาสตราจารย์ ดร.รมิดา วัฒนโภคาสิน,ศาสตราจารย์ดร.ประยทุธอคัรเอกฒาลิน และรองศาสตราจารย์ดร.เอกนฤน บางท่าไม้และผู้ทรงคุณวุฒิ ภายใน ไดแ้ก่ผศ.ดร.นิ่มนวล วิเศษสรรพ,์ผศ.ดร.ปถมาพร สุกปลงั่อาจารยก์ิตติศกัด์ิไตรพิพฒัพรชยัและผศ.ศิริวรรณ วาสุกรี ที่สละเวลาอนัมีค่ายิ่งมาทา การประเมินคุณภาพการศึกษาฯ ของมหาวิทยาลยั และให้ข้อเสนอแนะที่เป็ น ประโยชนต์ ่อการพัฒนา และท าให้กระบวนการตรวจประเมินประจ าปี การศึกษา 2565 สา เร็จลุล่วงตามวตัถุประสงค์ทุก ประการ (ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์) อธิการบดี มหาวิทยาลัยรังสิต พฤศจิกายน 2566
2 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต สำรบัญ ค ำน ำ บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร บทที่ 1 บริบทมหำวิทยำลัยรังสิต -การขับเคลื่อนองค์กร -ขอ้มูลทวั่ ไปของมหาวทิยาลยั -กลุ่มคณะวชิาของมหาวทิยาลยัรังสิต - สถาบันการศึกษาในเครือมหาวิทยาลัยรังสิต - สิ่งสนบัสนุนการเรียนรู้ของมหาวทิยาลยัรังสิต - มหาวทิยาลยัและหน่วยงานที่มีความร่วมมือทางวชิาการ -โครงสร้างการบริหารคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน -โครงสร้างการบริหารองค์กร -รายนามผู้บริหารมหาวิทยาลัยรังสิต -ขอ้มูลเกี่ยวกบัหลกัสูตรและสาขาวชิาที่เปิดสอน -ขอ้มูลเกี่ยวกบัจา นวนนกัศึกษา -ขอ้เสนอแนะจากคณะกรรมการเพื่อการปรับปรุงและพฒันาคุณภาพจากผลการประเมินในปีที่ผา่นมา - สรุปผลการด าเนินงานมหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2565 บทที่ 2 ผลกำรด ำเนินงำนและผลกำรประเมินคุณภำพ องค์ประกอบที่ 1การผลิตบัณฑิต องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย องค์ประกอบที่ 3การบริการวิชาการ องค์ประกอบที่ 4การท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 5การบริหารจัดการ บทที่ 3 สรุปผลกำรประเมินตนเอง ตารางสรุปผลการดา เนินงานตามตวับ่งช้ี ภำคผนวก
3 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต บทสรุปผู้บริหำร ปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลยัรังสิต โดยคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพ ได้ปรับปรุง เกณฑ์และคา อธิบายตวับ่งช้ีในคู่มือมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) เพื่อเป็นคู่มือในการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลยัรังสิต ท้งัในระดบัหลกัสูตร ระดบั คณะวิชา และระดับสถาบัน ในปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลยัรังสิต เปิดการเรียนการสอนท้งัสิ้น 147 หลักสูตร แบ่งออกเป็นหลกัสูตรที่ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2565) จ านวน 138 หลักสูตร (ระดับปริญญาตรี 84 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 39 หลักสูตร ระดับ ปริญญาเอก 15 หลักสูตร) หลักสูตรที่รับรองโดยเกณฑ์มาตรฐานสากล จ านวน 1 หลักสูตร คือ หลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยแพทยศาสตร์ผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ตามเกณฑ์ TMC.WFME.BME.Standards (2017)และหลักสูตรที่รับรองโดยสภาวิชาชีพ จ านวน 7 หลักสูตร ระดับคณะวิชา ประกอบด้วย 14คณะ16 วิทยาลัย และ 3 สถาบัน โดยวิทยาลัยแพทยศาสตร์ประเมินตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการด าเนินการที่เป็ นเลิศ (EdPEx) และ 32คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ การศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)โดยมีผลการกา กบัมาตรฐานหลกัสูตร ท้งั 134 หลกัสูตรที่ผา่นตามเกณฑม์าตรฐานหลกัสูตร มีจา นวนอาจารยป์ระจา 1,071.50คน ซึ่งมีคุณวุฒิปริญาเอกจ านวน 527คน และดา รงตา แหน่งทางวชิาการท้งัสิ้น จ านวน 414คน ผลกำรด ำเนินงำนของมหำวิทยำลัยรังสิต ในปี กำรศึกษำ 2565 ตำมองค์ประกอบคุณภำพ มหาวทิยาลยัประเมินตนเองอยใู่นระดบัดีมาก มีคะแนนเฉลี่ยรวม 4.66คะแนน แบ่งออกเป็นดา้นปัจจยั น าเข้า (Input) มีผลการประเมินตนเองอยู่ในระดบัดีคะแนนเฉลี่ย 4.28 ด้านกระบวนการ (Process) มีผลการ ประเมินตนเองอยูใ่นระดบัดีมาก คะแนนเฉลี่ย 5.00 และด้านผลลัพธ์ (Outcome) มีผลการประเมินตนเองอยู่ใน ระดับดี คะแนนเฉลี่ย 4.27คะแนน ตามล าดับ โดยสามารถน าเสนอผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบ คุณภาพ ไดด้งัน้ี องค์ประกอบที่ 1กำรผลิตบัณฑิต มีผลการประเมินตนเอง ระดบัดีคะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 4.36 องค์ประกอบที่ 2กำรวิจัย มีผลการประเมินตนเอง ระดบัดีมากคะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 4.79 องค์ประกอบที่ 3กำรบริกำรวิชำกำร มีผลการประเมินตนเอง ระดบัดีมากคะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 5.00 องค์ประกอบที่ 4กำรทำ นุบ ำรุงศิลปะและวฒันธรรม มีผลการประเมินตนเอง ระดับดีมาก คะแนนเฉลี่ย เท่ากบั 5.00 องค์ประกอบที่ 5กำรบริหำรจัดกำร มีผลการประเมินตนเอง ระดบัดีมากคะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 4.81 นอกจากน้ีเพื่อเป็นการยกระดบัคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลยัและเพิ่มขีดความสามารถในระดบั สากล มหาวิทยาลัยจึงได้สนับสนุนให้มีการน าเกณฑ์คุณภาพในระดับสากล World Federation for Medical
4 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต Education, Basic Medical Education (WFME) มาใช้เป็นแนวทางในการประกันคุณภาพของหลักสู ตร แพทยศาสตรบัณฑิต โดยมีระยะเวลาการรับรองปี 2562-2567 การเทียบเกณฑ์คุณภาพมาตรฐานระดับหลกัสูตร โดยน าเกณฑ์จากสภาวิชาชีพมากา กับมาตรฐาน หลักสูตร จ านวน 7 หลกัสูตรไดแ้ก่1. หลักสูตรทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตรทวิภาษา) (ได้รับการรับรอง จากหลักสูตรปรับปรุง ปี2565-2572) 2. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม (ได้รับการรับรอง ปี2562-2567) 3. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ (ได้รับการ รับรองปี2562-2567) 4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบ าบัด (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 5. หลัก สู ตรพ ย าบ าล ศ าส ตรบัณฑิ ต ส าขาวิช าพ ย าบ าล ศ าส ตร์ (ไ ด้รั บ ก ารรั บ รอง ปี2565-2569) 6. หลักสู ตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ (2.5 ปี ) (ได้รับการรับรอง ปี 2565-2569) 7. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ (ได้รับการรับรอง ปี2565-2569) จุดเด่น 1. มหาวิทยาลัยรังสิตมีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 ที่ให้ความส าคัญ กับค่านิยมองค์กร Excellence in Education, Excellence of Innovative Research and Development, Excellence in Smart Organization, Excellence in Internationalization and Excellence in Reputation. 2. มหาวิทยาลยัรังสิตมีการใช้หลกัการกา กบัดูแลกิจการที่ดีและการประกนัคุณภาพการศึกษาในการ บริหารจดัการภารกิจของสถาบนั ในดา้นต่างๆ ไดอ้ยา่งชดัเจน ซ่ึงนอกจากการใชแ้ผนยทุธศาสตร์และแผนปฏิบตัิ การที่มีอย่างครบถ้วน เป็นกลไกการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่เป้าหมายการบรรลุตัวช้ีวดัความส าเร็จที่มี ประสิทธิภาพภายใตข้อ้จา กดัแล้ว ยงัสามารถดึงความร่วมมือจากหน่วยงานและบุคลากรในการใช้ทรัพยากร อยา่งประหยดัก่อให้เกิดความคุม้ค่าเมื่อเปรียบเทียบกบัผลการดา เนินงานและการลงทุน แมว้า่จะยงัมีภารกิจใน บางส่วนซ่ึงเป็นส่วนนอ้ย ที่ยงัคงตอ้งปรับปรุงประสิทธิภาพเพื่อใหเ้กิดประสิทธิผลตามเป้าหมายในปีต่อไป 3. พนัธกิจดา้นการจดัการความรู้มีการแต่งต้งัคณะกรรมการการจดัการความรู้และกา หนดแนวทางการ ด าเนินงานประจ าปีที่ชดัเจนสอดคลอ้งกบัการขบัเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และมีการพิจารณา ผลงานรางวลัจากประธานและคณะกรรมการยุทธศาสตร์แต่ละยุทธ์ซ่ึงถือเป็นผูเ้ชี่ยวชาญและมีความเขา้ใจมาก ที่สุด ท าให้ผลการตัดสินการให้รางวัลมีความเหมาะสม 4. พนัธกิจดา้นการพฒันาบุคลากร มีWeb-Siteของส านักงานพัฒนาบุคคลในการเผยแพร่ขอ้มูลข่าวสาร ตลอดจนความรู้ต่างๆ ที่ใช้ในการพฒันางาน มีการจัดอบรมในรูปแบบ On-line และ Off line (Classroom Training) มีการประเมิน/ วิเคราะห์ ถึงความจ าเป็ นที่ต้องพัฒนาในระดับรายบุคคล ตลอดจนมีการสร้างหลักสูตร มีการประเมิน/ วิเคราะห์ เพื่อให้เห็นปัญหาที่เกิดข้ึน และวางแผนจดัทา หลกัสูตรเพื่อพฒันาบุคลากรอย่างเป็น ระบบ และมีระบบจดัเก็บผลการพฒันาบุคลากรรายบุคคลเพื่อติดตามผลการดา เนินงานตาม IDP
5 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต จุดทคี่วรพฒันำ 1. การติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน ควรเพิ่มการประเมินแผนยุทธศาสตร์เพื่อให้ทราบปัจจัย เชิงสาเหตุของการไม่บรรลุเป้าหมายตวัช้ีวดัซ่ึงมีท้งัปัจจยัภายในและปัจจยัภายนอก รวมท้งัความเป็นไดข้องการ ยกระดบัเป้าหมายให้สูงข้ึน เพื่อวางมาตรการสนับสนุนส่งเสริมการดา เนินงานของหน่วยงานต่างๆ ภายใน มหาวิทยาลัยและควรรายงานกรอบเวลา (Timeline) ของกระบวนการติดตามผลการด าเนินงาน 2. การปรับนโยบายทางการเงิน หรือการงบประมาณ ที่เหมาะสมกบัสถานการณ์และสภาพแวดลอ้ม รวมท้งัการปรับกลยทุธ์การผลิตบณัฑิต จะช่วยเสริมสร้างความเขม้แขง็ในการแข่งขนั 3. มหาวิทยาลัยควรมีระบบฐานขอ้มูลการพฒันาบุคลากรจากทุกหน่วยงาน เพื่อน ามาวิเคราะห์ และจัดท า แนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาบุคลากรท้งัสายอาจารยแ์ละเจา้หนา้ที่ให้เป็ นไปในทิศทางเดียวกนั 4. มหาวิทยาลยัควรมีการพฒันาเทคโนโลยีสารสนเทศในการจดัเก็บขอ้มูล การจัดการความรู้รวมถึงการ พฒันานวตักรรมที่จา เป็นต่อการปฏิบตัิงานของบุคลากร เพื่ออาศัย Good Practice ในการประหยัดทรัพยากร ลด ข้นัตอน และลดระยะเวลาในการปฏิบตัิงาน 5. มหาวทิยาลยัควรมีการพฒันาระบบฐานขอ้มูลดา้นการทา นุบา รุงศิลปะและวฒันธรรม เพื่อส่งเสริมและ สนับสนุนให้นักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรมีส่วนร่วมในกิจกรรมดา้นการทา นุบา รุงศิลปะและวฒันธรรม มากข้ึน และเป็นฐานขอ้มูลใหว้ทิยาลยั/คณะ/สถาบนั ใชใ้นการอา้งอิงต่อไป อยา่งไรก็ตาม มหาวิทยาลยัรังสิตมีความมุ่งมนั่ในการพฒันาคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลยัในดา้น ต่างๆ ใหเ้ป็นมหาวทิยาลยัช้นันา ที่มีมาตรฐานระดบันานาชาติเนน้คุณภาพและสามารถแข่งขนัไดใ้นระดบัสากล มีความเป็นเลิศทางด้านการเรียนการสอนที่อยู่บนพ้ืนฐานของการค้นควา้วิจัย เพื่อสร้างองค์ความรู้และ นวตักรรมใหม่เพื่อสนองตอบความตอ้งการของชุมชน สังคม และประเทศตามวสิัยทศัน์ที่กา หนดไว้
6 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต
7 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต บทที่ 1 บริบทมหำวิทยำลัยรังสิต กำรขับเคลื่อนองค์กร มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ปรับทิศทางการด าเนินงานให้เป็ นไปตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัย รังสิต พ.ศ.2565-2569 ภายใต้แนวคิด “มหาวิทยาลัยรังสิต ปักหมุดยุทธศาสตร์ 5 ปี ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย วางเป้าหมายมุ่งผลิตบณัฑิตใหม้ีคุณสมบตัิตรงตามความตอ้งการของพลเมืองโลกที่ตื่นตวัเนน้ ใหค้วามสา คญักบั ความตอ้งการของนกัศึกษา เปิดพ้ืนที่สนบัสนุนการเรียนรู้เป็นมหาวิทยาลยั 24 ชวั่ โมง โดยพฒันากระบวนการ เรียนรู้ให้สอดคลอ้งกบัการเปลี่ยนแปลงของ Digital Transformation ที่ครอบคลุมทุกหลกัสูตร เพื่อเพิ่มความ หลากหลายในวิชาชีพ พร้อมก้าวสู่ Hub ใหม่ของการศึกษาในอนาคต” โดยมีจุดมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพ บณัฑิตให้มีความคิดก้าวหน้า มีการสร้างนวัตกรรมที่องค์กรและสังคมสามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้มีการ ส่งเสริมทกัษะวิชาชีพและวิชาชีวิตที่หลากหลายให้แก่ผูเ้รียน โดยวางทิศทางและการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย รังสิตตามยุทธศาสตร์ 5 ด้าน ได้แก่1. สร้างความเป็ นเลิศทางการศึกษาและการผลิตบัณฑิต (Excellence in Education) 2. สร้างนวัตกรรมการวิจัยและพัฒนา (Innovative Research and Development) 3.การบริหารจัดการ สู่องค์กรอจัฉริยะ (Smart Organization) 4. เสริมสร้างและพัฒนาความเป็ นสากล (Internationalization) และ 5. การบริหารภาพลักษณ์และการสร้างความมีชื่อเสียง (Image and Reputation Management) โดยมีกลไกการ ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 ใน 3รูปแบบ ดงัน้ี 1.กำรเชื่อมโยงระบบกำรศึกษำ เพื่อใหน้กัศึกษาสามารถเขา้ถึงทุกศาสตร์โดยไม่จา กดัการเรียนรู้ด้วยการ จดัระบบความสัมพนัธ์เชิงโครงสร้างการศึกษาในลกัษณะของเครือข่ายการเรียนรู้และการทา งานจริงที่ตอ้งมีการ ปฏิสัมพนัธ์ระหวา่งบุคคลในหลากหลายวิชาชีพ การเชื่อมโยงระบบการศึกษา คือการเพิ่มสมรรถนะใหม่ของ บัณฑิตมหาวิทยาลัยรังสิต (Rangsit Competencies) ใหส้อดรับกบัสมรรถนะแห่งอนาคต 2.กำรวำงกลยุทธ์เชิงรุก โดยกา หนดยุทธศาสตร์การขบัเคลื่อนการศึกษาไปขา้งหน้าและตอบสนอง ความต้องการของนักศึกษา (Proactive Education) รวมท้งัใชป้ระโยชน์จากระบบดิจิทลัที่ทนัสมยัในการบริหาร การศึกษา มีการเชื่อมโยงของหน่วยงาน วิทยาลัย คณะ สถาบัน ในการพฒันาระบบการจดัการความรู้เพื่อนา ไปสู่ แนวปฏิบตัิที่ดีเกิดชุมชนนกัปฏิบตัิเป็นการยกระดบัการศึกษาที่เป็นนวตักรรมและความสามารถในการแข่งขนั 3.กำรสร้ำงควำมเข้มแข็งของบัณทิต พฒันาให้เป็นพลเมืองแห่งอนาคตที่สามารถรู้เท่าทนัสิ่งใหม่ดว้ย องค์ความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะคิดวิเคราะห์แยกแยะและแสวงหา “แนวทางใหม่ของชีวิต” ให้ประสบผลส าเร็จ ในการประกอบอาชีพ มีความเป็ นพลเมืองโลกที่ตื่นตัว (Active Citizen) ที่ปรับตัวได้ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา กำรก ำหนดเป้ำหมำยกำรพัฒนำองค์กรสู่กำรเป็ น Smart Organization
8 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต มีการกา หนดแผนการเพิ่มขีดสมรรถนะการปฏิบตัิงานขององค์กร มุ่งเน้นการสร้าง นวตักรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกตอ์งคค์วามรู้เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุน่และความสามารถในการ ตอบสนองกบัสถานการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ตลอดจนเป็ นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัว เขา้สู่สภาพความเป็นสา นกังานสมยัใหม่โดยกา หนด 4 บทบาทหลัก ดงัน้ี
9 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อมูลทวั่ไปของมหำวิทยำลัย ประวัติควำมเป็นมำและข้อมูลพืน้ฐำน มหาวิทยาลัยรังสิต เป็ นสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ที่ให้บริการทางการศึกษาและผลิตบัณฑิต ที่มีคุณค่าออกสู่สังคมเป็นระยะเวลากว่า 36 ปีนับยอ้นจากการก่อต้งัในนาม “วิทยาลัยรังสิต” เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2528 โดยเปิดการเรียนการสอนคร้ังแรกเมื่อปีการศึกษา 2529 ในคณะพยาบาลศาสตร์ และคณะ บริหารธุรกิจ ซ่ึงมีนกัศึกษารุ่นแรกจา นวน 478 คน ต่อมาทบวงมหาวทิยาลยัออกประกาศอนุญาตเปลี่ยนประเภท สถาบันการศึกษาเอกชนเป็ น “มหาวิทยาลัยรังสิต” เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2533 โดยได้รับพระมหา กรุณาธิคุณจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราช ด าเนินทรงเป็ นองค์ประธานในพิธีสถาปนามหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 มหาวิทยาลัยรังสิต ต้งัอยูบ่นเน้ือที่295 ไร่ถนนพหลโยธิน ตา บลหลกัหกอา เภอเมือง จงัหวดัปทุมธานี บริเวณรอบข้างมหาวิทยาลัยเป็ นชุมชน “เมืองเอก” เน้ือที่4,000 ไร่มหาวิทยาลยัรังสิต เป็นสถาบนัอุดมศึกษา เอกชนที่มีจุดมุ่งหมายส าคญัคือ การผลิตบณัฑิตในสาขาวิชาที่ตรงกบัความตอ้งการในการพฒันาประเทศ โดย มุ่งเนน้ทางดา้นวทิยาศาสตร์เทคโนโลยีการออกแบบ และการจดัการเป็นสา คญัรวมถึงวชิาชีพอิสระ ที่สามารถ สร้างงานของตนเองได้ ด าเนินการเปิดการเรียนการสอนท้งัหลกัสูตรภาษาไทยและหลักสูตรนานาชาติ ในปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิตเปิดการเรียนการสอนท้ังสิ้น 146 หลักสูตร แบ่งออกเป็น หลักสูตรที่ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) จ านวน 138 หลักสูตร(ระดับปริญญาตรี 84 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 39 หลักสูตร ระดับปริญญาเอก 15 หลักสูตร) หลักสูตรที่รับรองโดยเกณฑ์มาตรฐานสากล จ านวน 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยแพทยศาสตร์ ผา่นการรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ตามเกณฑTMC์.WFME.BME.Standards (2017)และหลักสูตรที่รับรองโดยสภาวิชาชีพ จ านวน 7 หลักสูตร ระดับคณะวิชา จ านวน 14คณะ16 วิทยาลัย และ 3 สถาบนัและระดบัหน่วยงานสนบัสนุน จา นวน 16ฝ่ าย 48 หน่วยงาน วันสถำปนำมหำวิทยำลัย ในปี พ.ศ. 2533 ทบวงมหาวิทยาลัยประกาศอนุญาตเปลี่ยนประเภท สถาบันการศึกษาเอกชนเป็ น “มหาวิทยาลัยรังสิต” โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดาฯสยามบรมราช
10 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต เครื่องหมำยมหำวิทยำลัย ตามวตัถุประสงคท์ ี่จะสร้างสถาบนัอุดมศึกษา ที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่งเสริมการพฒันาความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า แก่ประเทศชาติอย่างแท้จริง เครื่องหมายของ มหาวิทยาลัยรังสิต จึงประกอบด้วย เกตุมาลา และดวงอาทิตย์ เกตุมำลำ หมายถึงโลกุตรธรรม หรือสภาวะความรู้แจง้ โดยมีปัญญาเป็นแสงส่องทางสู่การบรรลุธรรม ข้นัสูงสุด อนัเป็นจุดมุ่งหมายอนัสูงส่งของมนุษย์ ดวงอำทิตย์หมายถึง ดาวฤกษท์ ี่ใหแ้ สงสวา่งส่องมายงัโลกเป็นพลงังานหล่อเล้ียงชีวติมนุษย์สรรพสัตว์ พืชพนัธุ์ธญัญาหารและสิ่งมีชีวติท้งัมวล ปรัชญำของมหำวิทยำลัยรังสิตภำยใต้สัญลักษณ์เพื่อสนองวัตถุประสงค์ในการสร้างสถาบันอุดมศึกษา ที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่งเสริมการพฒันาความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ความใส่ใจในการเรียนรู้ต่อเนื่อง ตลอดชีวิต ผนวกกับจิตส านึกที่ดีงามและคุณธรรม เพื่อสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าให้แก่ประเทศชาติ เครื่องหมายของมหาวทิยาลยัรังสิตจึงเปรียบเสมือนดวงอาทิตยท์ ี่สาดส่องพรายแสงแห่งปัญญา นา มรรคาเยาวชน สู่สภาวะความรู้แจง้ในธรรม เพื่อเป็นพลงัสรรคส์ร้างสังคมธรรมาธิปไตยที่ถือธรรมเป็นใหญ่ถือความถูกตอ้ง เป็ นหลัก สัตว์ที่เป็ นสัญลักษณ์ของมหำวิทยำลัย คือ เสือ และใช้เป็ นสัญลักษณ์ของทีมฟุตบอลมหาวิทยาลัยรังสิต
11 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ตั้งมหำวิทยำลัย มหาวิทยาลัยรังสิต ต้งัอยู่เลขที่52/ 347 หมู่บ้านเมืองเอกถนนพหลโยธิน ตา บล หลักหก อ าเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี รหัสไปรษณีย์ 12000 เอกลักษณ์ (Uniqueness) “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ ที่การศึกษาคือนวัตกรรม” อัตลักษณ์ (Identity) “คิดสร้างสรรค์ยดึมนั่คุณธรรม นา การเปลี่ยนแปลง” ปณิธำน (Pledge) “มหาวทิยาลยัรังสิต สร้างสรรคส์ ิ่งที่ดีใหแ้ก่สังคม” วิสัยทัศน์ (Vision) “การศึกษาคือนวตักรรมที่ไม่มีที่สิ้นสุด” มหาวิทยาลยัรังสิตมุ่งเป็นมหาวิทยาลยัช้ันนา ที่มีมาตรฐานระดบันานาชาติเน้นคุณภาพและสามารถ แข่งขนัไดใ้นระดบัสากล มีความเป็นเลิศทางดา้นการเรียนการสอนที่อยบู่นพ้ืนฐานของการคน้ควา้วจิยั เพื่อสร้าง องคค์วามรู้และนวตักรรมใหม่และแสวงหาแนวทางการแกป้ ัญหา ช้ีแนะทางเลือกและสนองตอบความตอ้งการ ของชุมชน สังคม และประเทศ พันธกิจ (Mission) มหาวิทยาลัยรังสิตมุ่งมั่นที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกในชีวิตของนักศึกษา บุคลากร คณาจารยแ์ละสังคมผา่นประสบการณ์การศึกษาที่เปลี่ยนแปลงโดย 1.การกา้วขา้มพรมแดนทางการศึกษาแบบเดิม (Breaking Through Conventional Education Border) 2. การพัฒนาระบบการจัดการความรู้ (Building Knowledge Management System; KMS)
12 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต กล่มุคณะวชิำของมหำวทิยำลยัรังสิต Cluster 1 : ScienceHealth Cluster 2 : Engineering – Technology Cluster 3 : Art-Design Cluster 4 : EconomicBusiness Cluster 5 : Humanity-Social Cluster 6 : International 1. วิทยาลัยแพทยศาสตร์ 1.วิทยาลัย วิศวกรรมศาสตร์ 1.วิทยาลัย การออกแบบ 1. วิทยาลัยการ ท่องเที่ยวการบริการ และกีฬา 1. วิทยาลัย นวัตกรรมสังคม 1. วิทยาลัยนานาชาติ 2. วิทยาลัยทันต แพทยศาสตร์ 2. วิทยาลัยนวัตกรรม ดิจิทัลเทคโนโลยี 2. วิทยาลัยดนตรี 2. คณะบริหารธุรกิจ 2. วิทยาลัย ครูสุริยเทพ 2. วิทยาลัย นานาชาติจีน 3.วิทยาลัยการแพทย์แผน ตะวันออก 3. สถาบันการบิน 3. คณะดิจิทัลอาร์ต 3. คณะบัญชี 3. บัณฑิตวิทยาลัย 3. สถาบัน ภาษาอังกฤษ 4.วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ 4.คณะเทคโนโลยี อาหาร 4. คณะ สถาปัตยกรรม ศาสตร์ 4. คณะเศรษฐศาสตร์ 4. สถาบันรัฐ ประศาสนศาสตร์ และนโยบาย สาธารณะ 5.วิทยาลัยวิศวกรรม ชีวการแพทย์ 5. คณะนวัตกรรม เกษตร 5. สถาบันการทูต และต่างประเทศ 6. คณะวิทยาศาสตร์ 6. สถาบัน Gen.Ed. 7.คณะเทคนิคการแพทย์ 7. วิทยาลัย ศิลปศาสตร์ 8.คณะพยาบาลศาสตร์ 8. คณะนิติศาสตร์ 9.คณะกายภาพบ าบัดและ เวชศาสตร์การกีฬา 9. คณะอาชญาวิทยา และการบริหารงาน ยุติธรรม 10.คณะทัศนมาตรศาสตร์ 10. คณะรัฐศาสตร์ 11.คณะรังสีเทคนิค 11.วิทยาลัย นิเทศศาสตร์
13 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต สถำบันกำรศึกษำในเครือมหำวิทยำลัยรังสิต 1. โรงเรียนสำธิตแห่งมหำวิทยำลัยรังสิต (Satit Bilingual School of Rangsit University) พ้ืนที่ต้งัติดกบัมหาวทิยาลยัรังสิต โดยจัด หลักสูตรการเรียนการสอนแบบทวิภาษาแบบองค์รวม (Unified Bilingual Curriculum) ในระดับเตรียมอนุบาล จนถึงมัธยมศึกษา ปี ที่ 6 2. โรงเรียนสำธิตนำนำชำติทวิภำษำแห่งมหำวิทยำลัยรังสิต เชียงใหม่ (Satit International Bilingual School of Rangsit University Chiangmai) ต้งัอยทู่ ี่ตา บลบา้นแหวน อา เภอหางดง จงัหวดัเชียงใหม่ 3. โรงเรียนนำนำชำติบริติช ภูเก็ต (British International School, Phuket) ต้ังอยู่ที่ถนนเทพกระษัตรีต าบลเกาะแก้ว อา เภอเมือง จงัหวดัภูเก็ต เป็นโรงเรียนนานาชาติแห่งแรกใน ภาคใต้ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา จากสถาบันการ รับรองโรงเรี ยนนานาชาติ CIS (Certificate of International School) แล ะ ท างโรงเรี ย นไ ด้รั บ รอ งหลัก สู ต รใ น ร ะ ดับ มัธ ย ม ศึ ก ษ า ใ น ห ลั ก สู ต ร IGCSE ( International General Certificate of Secondary Education) แ ล ะ IB ( International Baccalaureate)
14 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต สิ่งสนับสนุนกำรเรียนรู้ของมหำวิทยำลัยรังสิต สนำมกอล์ฟ อำร์เอสยูวสิต้ำกอล์ฟคอร์ส สา หรับการเรียนการสอนของสาขาวชิากีฬากอลฟ์ ห้องปฏิบัติกำรทำงกำรบินเสมือนจริง สา หรับการเรียนการสอนสาขาการจดัการธุรกิจการบิน Coworking Space ภำยใต้ชื่อ “RSU Dream Space” เป็นพ้ืนที่ทา งานทา กิจกรรม เปิ ดให้บริการตลอด 24 ชวั่ โมง ส ำนักหอสมุด โดยได้รับรางวัลชนะเลิศ ห้องสมุดสีเขียว IFLA Green Library Award 2020 โนโลยี ความ ยน 2563 โรงงำนต้นแบบผลิตภัณฑ์อำหำรเพื่อการเรียนการสอนของ วิทยาลัยนวัตกรรมเกษตรและเทคโนโลยีอาหาร และ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ของมหาวิทยาลัยรังสิตภายใต้แบรนด์ Tawan
15 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต สิ่งสนับสนุนกำรเรียนรู้ของมหำวิทยำลัยรังสิต (ต่อ) สถำบันวิจัยกัญชำเพื่อกำรแพทย์ มหำวิทยำลัยรังสิต คลินิกกัญชำ วิทยำลัยกำรแพทย์แผนตะวันออก ผลติภัณฑ์เสริมอำหำรสมุนไพรไทยสูตรผสม “เคลียร์-บีลอง พลัส ผสมใบกัญชำ ผลงำนวิจัยร่วมระหว่ำงมหำวิทยำลัยรังสิต กับ บริษัท นำรีฟำร์มำกรุ๊ป จ ำกดั ห้องปฏิบัติกำร ส ำหรับกำรเรียนกำรสอน สำขำวิชำศิลปะและเทคโนโลยีกำรประกอบอำหำร ศำลำดนตรีสุริยเทพ ส ำหรับกำรเรียนกำรสอน ของวิทยำลัยดนตรี และเปิ ดให้บริกำรใช้สถำนที่
16 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต สิ่งสนับสนุนกำรเรียนรู้ของมหำวิทยำลัยรังสิต (ต่อ) ------------------------------------------------------------------ มหำวิทยำลัย และหน่วยงำนที่มีควำมร่วมมือทำงวิชำกำร มหาวิทยาลยัรังสิต มีการลงนามความร่วมมือทางวิชาการกบัมหาวิทยาลยัหน่วยงานท้งัภาครัฐและ เอกชนภายในประเทศ เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายและเสริมสร้างการพฒันาการเรียนการสอน การวิจย การั บริการวิชาการ และการพัฒนาบุคลากร โดยในปี การศึกษา 2565 มหาวทิยาลยัรังสิตมีความร่วมมือทางวชิาการที่ มีกิจกรรมร่วมกนัจา นวน 11 หน่วยงาน ดงัน้ี 1. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2.ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษาที่ 5จังหวัดสุพรรณบุรี 3. สถาบนัสิรินธรเพื่อการฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแ์ห่งชาติ 4. บริษทัทชัเทคโนโลยีจา กดั 5. วทิยาลยัการอาชีพกุมภวาปีสังกดัสา นกังานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 6. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 7.วทิยาลยัเทคนิคสกลนคร สังกดัสถาบนัการอาชีวศึกษาภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ 2 8. บริษทัหอ้งปฏิบตัิการกลาง (ประเทศไทย)จา กดั 9. บริษทัเคซีจีคอร์ปอเรชนั่จา กดั 10. บริษทัสามลอ้ไทยจา กดั, บริษทักรกนกอินเตอร์ฟูดส์จา กดัและกลุ่ม In Private Business Hub 11.โรงพยาบาลนนทเวช ห้องปฏิบัติกำร ส ำหรับกำรเรียนกำรสอน วิทยำลัยวิศวกรรมชีวกำรแพทย์ ห้องปฏิบัติกำร ส ำหรับกำรเรียนกำรสอน คณะรังสีเทคนิค
รายงานการประเมินตนเองระดับสถาบัน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต -วิทยาลัยแพทยศาสตร์ [EdPEx] -วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ -วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ -คณะพยาบาลศาสตร์ -คณะกายภาพบา บดัและเวชศาสตร์การกีฬา -คณะเทคนิคการแพทย์ -วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก -คณะทัศนมาตรศาสตร์ -คณะรังสีเทคนิค -คณะวิทยาศาสตร์ -วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ -วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ -วิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัลเทคโนโลยี -วิทยาลัยนวัตกรรมเกษตร และเทคโนโลยีอาหาร - สถาบันการบิน -คณะบัญชี -คณะบริหารธุรกิจ -คณะเศรษฐศาสตร์ -วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม -วิทยาลัยดนตรี -คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ -วิทยาลัยออกแบบ -คณะดิจิทัลอาร์ต -วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ -วิทยาลัยศิลปศาสตร์ -คณะนิติศาสตร์ -วิทยาลัยครูสุริยเทพ -คณะรัฐศาสตร์ -วิทยาลัยนานาชาติ -วทิยาลยัการท่องเที่ยวการบริการและกีฬา - สถาบนัการทูตและการต่างประเทศ -คณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม - สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ โครงสร้ำงกำรบริหำรคณะ/วิทยำลัย/สถำบัน โครงสร้ำงคณะทดี่ ำเนินกำรประกนัคุณภำพกำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2565 กลุ่มสำขำวชิำวทิยำศำสตร์และเทคโนโลยี [6 คณะ] กลุ่มสำขำวชิำวทิยำศำสตร์สุขภำพ [9 คณะ] กลุ่มสำขำวชิำมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ [18 คณะ] อธิกำรบดี หมำยเหต:ุโครงสร้างการบริหารคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน เพื่อใช้ในการด าเนินงานการประกนัคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565
รายงานการประเมินตนเองระดับสถาบัน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต - ส านักงานนิติการ - สา นกังานจดัซ้ือและพสัดุ - ส านักงานบุคคล - ส านักงานพัฒนาบุคคล -ศูนย์ RSU EX SPACE - สา นกังานอาคารและสิ่งแวดลอ้ม - ส านักงานหอพัก - สา นกังานกิจการนกัศึกษา - สา นกังานศิษยเ์ก่าและ ชุมชนสัมพันธ์ - สถาบนักีฬา - ส านักงานสวัสดิการสุขภาพ -ศูนยพ์ฒันากีฬาเซียร์ลีดดิ้ง มหาวิทยาลัยรังสิต - ส านักงานตรวจสอบภายใน - ส านักงานอธิการบดี - ส านักงานการเงิน - ส านักงานงบประมาณ - ส านักงานบัญชี - สถาบนั ประเทศไทยต่อตา้นการ ทุจริตแห่งมหาวทิยาลยัรังสิต - สถาบันแพทย์แผนบูรณาการและ เวชศาสตร์ชะลอวัย - ส านักงานมาตรฐานวิชาการ - ส านักหอสมุด -ศูนย์บริการทางวิชาการ - ส านกังานประกนัคุณภาพ RSU Healthcare - สถาบันศิลปวัฒนธรรมและ พัฒนาสังคม - ส านักพิมพ์ - ส านักงานสิทธิประโยชน์ -ศูนยบ์ ่มเพาะธุรกิจและ ทรัพย์สินทางปัญญา - ส านักบริการเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงสร้ำงกำรบริหำรองค์กร โครงสร้ำงมหำวิทยำลัยรังสิต ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายพัฒนาสังคม ศิลปวัฒนธรรมและ สิทธิประโยชน์ หน่วยงานข้ึนตรง อธิการบดี ฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายนวัตกรรม ฝ่ายกิจการนกัศึกษา ฝ่ายบริหารกิจการพิเศษ สภามหาวิทยาลัย อธิการบดี สถาบันภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน Gen.Ed. ฝ่ ายโรงเรียนสาธิตและ วิสาหกิจ
19 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ศูนย์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติ -ฝ่ ายแนะแนวและรับนักศึกษา -ฝ่ ายสื่อสารองค์กร - ส านักงาน wisdom media - ส านักงานวางแผน และพัฒนา - ส านักงานทะเบียน ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ - ส านักงานนานาชาติ - สถาบนัจีน ไทยแห่งมหาวทิยาลยัรังสิต - ส านักงานต ารวจมหาวิทยาลัย - สถาบันการจัดการความปลอดภัยและนวัตกรรม - สถาบันปฏิรูปประเทศไทย ศูนย์เครื่องมือวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและมาตรฐานฮาลาล โครงสร้ำงมหำวิทยำลัยรังสิต (ต่อ) หน่วยงานข้ึนตรงกลุ่มวิทยาลยัแพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ หน่วยงานสังกดัวิทยาลยันวตักรรมเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ และอาหาร หน่วยงานข้ึนตรงกลุ่มวิทยาลยั วิศวกรรมศาสตร์ ฝ่ ายแผนและพัฒนา ฝ่ายการต่างประเทศ หน่วยงานสังกดัวิทยาลยั นวัตกรรมสังคม ฝ่ ายรักษาความสงบเรียบร้อย ฝ่ ายวิจัย - สถาบันวิจัย - ส านักงานจริยธรรมการวิจัยในคน
20 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รำยนำมผู้บริหำรมหำวทิยำลยัรังสิต รำยนำมกรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต ศำสตรำจำรย์ดร.เกษม สุวรรณกุล (Prof. Dr. Kasem Suwanagul) นำยกสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) ศำสตรำจำรย์เกียรติคุณ ดร.พรชัย มำตังคสมบัติ (Honorary Prof. Dr. Pornchai Matangkasombut) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) ศำสตรำจำรย์เกียรติคุณ นพ.ประเวศ วะสี (Professor of medicine Emeritus Dr. Prawase Wasi) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) ศำสตรำจำรย์ดร.ธีระ สูตะบุตร (Prof. Dr. Thira Sutabutra) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) ศำสตรำจำรย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ (Prof. Dr. Pairash Thajchayapong) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) ศำสตรำจำรย์เกียรติคุณ ดร.พงษ์ศักด์ิองักสิทธ์ิ (Prof.Dr. Pongsak Angkasith) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee)
21 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รำยนำมกรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (ต่อ) ศำสตรำจำรย์ ดร.อำณัติ อำภำภิรม (Prof. Dr. Anat Arbhabhirama) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) ศำสตรำจำรย์ดร.สุทศัน์ยกส้ำน (Professor.Dr.Suthat Yoksan) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) ศำสตรำจำรย์ ดร.ปรัชญำ เวสำรัชช์ (Professor.Dr.Pratya Vesarach) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) รองศำสตรำจำรย์ ดร.เอก ไชยสวัสดิ์ (Assce. Prof. Dr. Ake Chaisawadi) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) รองศำสตรำจำรย์ ดร.ครรชิต มำลัยวงศ์ (Assce.Prof.Dr.Kanchit Malaivongs) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) ดร.อำชว์ เตำลำนนท์ (Dr.Ajva Taulanada) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) รองศำสตรำจำรย์ยืน ภู่วรวรรณ (Assoc.Prof.Yuen Poovarawan) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee)
22 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รำยนำมกรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (ต่อ) ศำสตรำจำรย์ดร.เกือ้วงศ์บุญสิน (Professor Dr. Kua Wongboonsin) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) นำงสำวนิสำกร จึงเจริญธรรม (Ms.Nisakorn Jungjaroentham) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) รองศำสตรำจำรย์ นำยแพทย์ สรนิต ศิลธรรม (Assoc. Prof. Dr. Soranit Siltharm) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) ดร.อำทติย์อุไรรัตน์ (Dr. Arthit Ourairat) กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) ดร.อรรถวทิอุไรรัตน์ Dr. Attawit Ourairat กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (University Council Committee) นำยอำนันท์ หำญพำณิชย์พันธ์ (Mr. Anan Hanpanichpun) เลขำนุกำรคณะกรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (Secretary of the University Council)
23 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต นำยกสิณ จันทร์เรือง (Mr.Kasin Chanruang) เลขำนุกำรคณะกรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยรังสิต (Assistant Secretary of the University Council) รำยนำมผู้บริหำรมหำวิทยำลยัรังสิต ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิกำรบดีกติติคุณผู้ก่อต้ัง (Founding President Emeritus) ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ อธิกำรบดีมหำวิทยำลัยรังสิต (President of Rangsit University) รองอธิกำรบดี นำยกสิณ จันทร์เรือง (Mr.Kasin Chanruang) รองอธิกำรบดีฝ่ ำยบริหำร (Vice President for Management) ผศ.ดร.ปถมาพร สุกปลงั่(Asst.Prof.Dr. Patamaporn Sukplang) รองอธิกำรบดีฝ่ ำยวิชำกำร (Vice President for Academic Affairs)
24 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ.ดร.นฤพนธ์ ไชยยศ (Asst.Prof.Dr. Narupol Chaiyot) รองอธิกำรบดีฝ่ ำยแผนและพัฒนำ (Vice President for Planning and Development) รองอธิกำรบดี(ต่อ) นำยแพทย์ศุภชัย คุณำรัตนพฤกษ์(M.D. Supachai Kunaratnpruk) รองอธิกำรบดีฝ่ำยกำรแพทย์และวทิยำศำสตร์สุขภำพ (Vice President for Medical College and Health Science) รศ.ดร.กฤษณ์ ทองเลิศ (Assoc.Prof.Dr. Grit Thonglert) รองอธิกำรบดีฝ่ ำยกิจกำรนักศึกษำ (Vice President for Student Affairs) นำยอภิวฒั ิอุไรรัตน์(Mr.Aphiwat Ourairat) รองอธิกำรบดีบริหำรกิจกำรพิเศษ (Vice President for Special Administration) ดร.อภิระมณ อุไรรัตน์(Dr. Apiramon Ourairat) รองอธิกำรบดีฝ่ ำยโรงเรียนสำธิตและวิสำหกิจ (Vice President for Satit Bilingual School and Enterprise) ผศ.ดร.นเรฏฐ์ พันธรำธร (Asst. Prof. Dr. Nares Pantaratorn) รองอธิกำรบดีฝ่ ำยวิจัย (Office of the Vice President for Research) ดร.พชิยพนัธ์ุชำญภูมิดล(Dr. Pitchayaphant Charnbhumidol) รองอธิกำรบดีฝ่ ำยกำรต่ำงประเทศ (Vice President for International Affairs)
25 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รศ.ดร.เชฏฐเนติ ศรีสอ้ำน (Assoc.Prof.Dr. Chetneti Srisa-an) รองอธิกำรบดีฝ่ ำยนวัตกรรม (Vice President for Innovation) รองอธิกำรบดี(ต่อ) รศ.พ.ต.ท.ดร.กฤษณพงค์พูตระกูล(Assoc.Prof.Pol.Lt.Col. Dr.Krisanaphong Poothakool) รองอธิกำรบดีฝ่ ำยควำมปลอดภัย (Vice President for Security) ผู้ช่วยอธิกำรบดี อำจำรย์เบญจำ สันติธนำนนท์(Msr.Benja Santithananon) ผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยกำรเงิน (Asst.to President for Finance) นำยจรูญ เชดเลอร์(Mr. Jeroen Schedler) ผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยกำรต่ำงประเทศ (Asst. to the President for Internationalization) ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ดร.สมเกียรติรุ่งเรืองวิริยะ(Asst. Prof. Dr.Somkeit Rungruangviriya) ผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยสื่อสำรองค์กร (Asst. to the President for Corporate Communication) อำจำรย์ศศวรรณ รื่นเริง (Ms. Sasawan Reunrerng) ผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยแนะแนวและรับนักศึกษำ (Asst. to the President for Admission & Guidance)
26 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์สมศักด์ิเอือ้อชัฌำสัย(Asst.Prof.Somsak Aueatchasai) ผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยประกนัคุณภำพ (Asst. to the President for Quality Assurance) ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ดร.ชำญชัย สุขสุวรรณ์(Asst. Prof. Dr.Chanchai Suksuwan) ผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยกฬีำ (Asst. to the President for Sport Institution) ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ดร.วุฒิพงษ์ชินศรี(Asst. Prof. Dr. Wutthipong Chinnasri) ผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยนวตักรรมและวสิำหกจิ (Assistant to the President for Innovation and Enterprise) รศ.ดร.ธรรมศักด์ิรุจิระยรรยง (Assoc. Prof. Dr. Thammasak Rujirayanyong) ผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยอำคำรและสิ่งแวดล้อม (Asst. to the President for Division of Building and Environment) ดร.เริงศักดิ์ แก้วเพ็ชร (Dr.Reangsak Keawpeth) ผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยพฒันำสังคมศิลปวฒันธรรมและสิทธิประโยชน์ (Assistant to the President for the Department of Social Development, Cultural Arts and Privileges) ดร.เชำว์ เต็มรักษ์ (Dr.Chao Temrak) ผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยญปีุ่่นสัมพนัธ์ (Assistant to the President Japan Relationship DEP) ผู้ช่วยรองอธิกำรบดี นำยเชำวลติธนโชติวรำกุล(Mr. Chaovarit thanachotwarakul) ผู้ช่วยรองอธิกำรบดีฝ่ำยบริหำร (Asst.to Vice President for Management)
27 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต อำจำรย์กิตติศักดิ์ ไตรพิพัฒพรชัย (Mr.Kittisak Tripipatpornchai) ผู้ช่วยรองอธิกำรบดีฝ่ำยวชิำกำร (Asst.to Vice President for Academic Affairs) (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) (13) (14) (15) (16) (17) (18) (19) (20) (21) (22) (23) (24)
28 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต อธิกำร คณบดี คณะ/ วิทยำลัย/ สถำบัน อธิกำร คณบดี คณะ/ วิทยำลัย/ สถำบัน อธิกำร คณบดี คณะ/ วิทยำลัย/ สถำบัน (ต่อ) (37) (38) (39) (40) (41) (42) 1.อธิกำรกติติคุณวทิยำลยัแพทยศำสตร์(ศ.คลินิก นพ.สุรวิทย์ เตชธุวานันท์) 2. อธิกำรวิทยำลัยแพทยศำสตร์ศำสตรำจำรย์คลินิก (นายแพทย์เจษฎา โชคด ารงสุข) 3. คณบดีวิทยำลัยทันตแพทยศำสตร์ (ศ.คลินิก พลเรือตรีหญิงสุชาดา วุฑฒกนก) 4. คณบดีวิทยำลัยเภสัชศำสตร์ (ผศ.ดร.ภก.ธนภทัร ทรงศกัด์ิ) 5. คณบดีบริหำรคณะพยำบำลศำสตร์ (ผศ.ดร.อ าภาพร นามวงศ์พรหม) 6. คณบดีคณะวิทยำศำสตร์(ศ.เกียรติคุณ นพ.วรชยัศิริกุลชยานนท)์ 7. คณบดีคณะกำยภำพบ ำบัดและเวชศำสตร์กำรกีฬำ (ดร.วรชาติ เฉิดชมจันทร์) 8. คณบดีคณะเทคนิคกำรแพทย์(รศ.เยาวลักษณ์ พิมายนอก) 9. คณบดีกติติคุณวิทยำลัยกำรแพทย์แผนตะวันออก (นายแพทยว์ชิาญ เกิดวชิยั) 10. คณบดีคณะทัศนมำตรศำสตร์ (พญ.วัฒนีย์ เย็นจิตร) 11. คณบดีคณะรังสีเทคนิค (รศ.มานัส มงคลสุข) (25) (26) (27) (28) (29) (30) (31) (32) (33) (34) (35) (36)
29 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 12. คณบดีวิทยำลัยวิศวกรรมชีวกำรแพทย์ (รศ.นันทชัย ทองแป้น) 13. คณบดีวิทยำลัยนิเทศศำสตร์ (รศ.ดร.กฤษณ์ ทองเลิศ) 14. คณบดีวิทยำลัยศิลปศำสตร์ (ผศ.ดร.ปิ ยสุดา ม้าไว) 15. คณบดีคณะนิติศำสตร์(ศ.(พิเศษ) วิชา มหาคุณ) 16. คณบดีวิทยำลัยนวัตกรรมสังคม (ดร.สุริยะใส กตะศิลา) 17. คณบดีวทิยำลยัครูสุริยเทพ (ดร.มลิวัลย์ ประดิษฐธีระ) 18. ผู้อำ นวยกำรสถำบันภำษำองักฤษ (รศ.สุชาดา นิมมานนิตย์) 19. คณบดีสถำบัน Gen.Ed(อ.วิทูล ทิพยเนตร) 20. คณบดีคณะอำชญำวทิยำและกำรบริหำรงำนยุติธรรม (รศ.ดร.ธรรมวิทย์ เทอดอุดมธรรม) 21. คณบดีสถำบันรัฐประศำสนศำสตร์และนโยบำยสำธำรณะ (ศ.ดร.ศุภชัย ยาวะประภาษ) 22. คณบดีคณะรัฐศำสตร์(ศ.ดร.วีระ สมบูรณ์) 23.คณบดีสถำบันกำรฑูตและกำรต่ำงประเทศ (อ.สมปอง สงวนบรรพ์) 24. คณบดีคณะเศรษฐศำสตร์(รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ) 25. คณบดีวิทยำลัยดนตรี(รศ.ดร.เด่น อยปู่ระเสริฐ) 26. คณบดีคณะสถำปัตยกรรมศำสตร์(ผศ.ดร.นฤพนธ์ ไชยยศ) 27. คณบดีคณะดิจิทัลอำร์ต (อ.นัฐวุฒิ สีมันตร) 28. คณบดีกติติคุณวิทยำลัยกำรออกแบบ (รศ.พิศประไพ สาระศาลิน) 29.คณบดีสถำบันกำรบิน (พล.อ.อ.คธาทิพย์ กุญชร ณ อยุธยา) 30. คณบดีวิทยำลัยวิศวกรรมศำสตร์(ผศ.ดร.อภิวัฒน์ สูยะโพธ) 31. คณบดีวิทยำลัยนวัตกรรมดิจิทัลเทคโนโลยี(รศ.ดร.เชฏฐเนติ ศรีสอ้าน) 32.อธิกำรวิทยำลัยนวัตกรรมเกษตร และเทคโนโลยีอำหำร (ศ.ดร.พงษศ์กัด์ิองักสิทธ์ิ) 33.คณบดีคณะนวัตกรรมเกษตร (รศ.ดร.บัญญัติ เศรษฐฐิติ) 34. คณบดีคณะเทคโนโลยีอำหำร (ผศ.ดร.วราพร ลักษณลม้าย) 35. คณบดีคณะบริหำรธุรกจิ (ผศ.ดร.รุจาภาแพง่เกษร) 36. อธิกำรวิทยำลัยกำรท่องเที่ยว กำรบริกำร และกีฬำ (ดร.ศศิธารา พิชัยชาญณรงค) 37. คณบดีคณะบัญชี(ผศ.ดร.นิ่มนวลวเิศษสรรพ)์ 38. คณบดีบัณฑิตวิทยำลัย (ผศ.ร.ต.หญิงดร.วรรณี ศุขสาตร) 39. คณบดีวิทยำลัยนำนำชำติ (ผศ.ดร.กฤษฎา ศรีแผ้ว) 40. คณบดีวิทยำลัยนำนำชำติจีน (ดร.กญัจน์นิตา สุเชาวอ์ินทร์)
30 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 41. คณบดีวิทยำลัยกำรแพทย์แผนตะวันออก (อาจารย์ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์) 42. รักษำกำรคณบดีวิทยำลัยกำรออกแบบ (ผศ.ดร.สิรดา ไวยาวัจมัย) ข้อมูลเกยี่วกบัหลกัสูตรและสำขำวชิำทเี่ปิดสอน ปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลยัรังสิต เปิดการเรียนการสอนท้งัสิ้น 147 หลกัสูตรแบ่งออกเป็นหลกัสูตร ที่ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) จ านวน 138 หลักสูตร (ระดับปริญญาตรี 84 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 39 หลักสูตร ระดับปริญญาเอก 15 หลักสูตร) หลักสูตรที่รับรองโดยเกณฑ์มาตรฐานสากล จ านวน 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาลัย แพทยศาสตร์ ผา่นการรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ตามเกณฑ์TMC.WFME.BME.Standards (2017) (World Federation for Medical Education, Basic Medical Education: WFME) และหลักสูตรที่รับรองโดยสภา วิชาชีพ จ านวน 7 หลักสูตร โดยมีรายละเอียดหลักสูตรแยกตามระดับการศึกษา ดงัน้ี ล ำดับ คณะ/วิทยำลัย/สถำบัน จ ำนวนหลกัสูตรทเี่ปิดสอนท้ังหมด รวม ปริญญำตรี ปริญญำโท ปริญญำเอก กลุ่มวทิยำศำสตร์สุขภำพ 1. วิทยาลัยแพทยศาสตร์ 1 1 0 2 2. วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ 1 2 0 3 3. วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ 2 1 1 4 4. คณะพยาบาลศาสตร์ 3 1 0 4 5. คณะกายภาพบา บดัและเวชศาสตร์การกีฬา 3 0 0 3 6. คณะเทคนิคการแพทย์ 1 0 0 1 7. คณะทัศนมาตรศาสตร์ 1 1 0 2
31 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 8. คณะรังสีเทคนิค 1 0 0 1 9. วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก 3 1 0 4 กลุ่มวทิยำศำสตร์และเทคโนโลยี 10. วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 1 1 3 11. คณะวิทยาศาสตร์ 2 1 0 3 12. วิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัลเทคโนโลยี 5 5 2 12 13. วิทยาลัยนวัตกรรมเกษตรและเทคโนโลยี อาหาร 3 1 0 4 14. วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ 11 2 1 14 15. สถาบันการบิน 1 0 0 1 ล ำดับ คณะ/วิทยำลัย/สถำบัน จ ำนวนหลกัสูตรทเี่ปิดสอนท้ังหมด รวม ปริญญำตรี ปริญญำโท ปริญญำเอก กลุ่มมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ 16. คณะบัญชี 1 1 0 2 17. คณะบริหารธุรกิจ 7 3 1 11 18. คณะเศรษฐศาสตร์ 1 1 2 4 19. วทิยาลยัการท่องเที่ยวการบริการและกีฬา 6 1 1 8 20. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 1 0 0 1 21. คณะดิจิทัลอาร์ต 2 1 0 3 22. วิทยาลัยการออกแบบ 5 1 0 6 23. วิทยาลัยดนตรี 2 1 0 3 24. วิทยาลัยศิลปศาสตร์ 6 1 0 7 25. วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ 12 2 1 15 26. คณะนิติศาสตร์ 2 1 1 4 27. วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 3 2 1 6 28. วิทยาลัยครูสุริยเทพ 0 3 1 4 29. คณะรัฐศาสตร์ 1 1 0 2 30. สถาบนัการทูตและการต่างประเทศ 1 1 0 2
32 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 31. คณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม 1 1 1 3 32. สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบาย สาธารณะ 0 1 1 2 33. วิทยาลัยนานาชาติ 2 1 0 3 รวมทุกระดับกำรศึกษำ (แยกตำมกลุ่ม) 92 40 15 147 ข้อมูลเกยี่วกบัจ ำนวนนักศึกษำ ล ำดับ คณะ/วิทยำลัย/สถำบัน จ ำนวนหลกัสูตรทเี่ปิดสอนท้ังหมด รวม ปริญญำตรี ปริญญำโท ปริญญำเอก กลุ่มวทิยำศำสตร์สุขภำพ 1. วิทยาลัยแพทยศาสตร์ 771 14 0 785 2. วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ 705 3 0 708 3. วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ 932 0 4 936 4. คณะพยาบาลศาสตร์ 679 62 0 741 5. คณะกายภาพบา บดัและเวชศาสตร์การกีฬา 309 0 0 309 6. คณะเทคนิคการแพทย์ 748 0 0 748 7. คณะทัศนมาตรศาสตร์ 303 17 0 320 8. คณะรังสีเทคนิค 237 0 0 237 9. วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก 223 25 0 248 กลุ่มวทิยำศำสตร์และเทคโนโลยี 10. วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ 320 25 8 353 11. คณะวิทยาศาสตร์ 432 13 0 445
33 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 12. วิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัลเทคโนโลยี 835 127 38 1,000 13. วิทยาลัยนวัตกรรมเกษตรและเทคโนโลยีอาหาร 337 7 0 348 14. วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ 1,167 29 3 1,199 15. สถาบันการบิน 31 0 0 31 กลุ่มมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ 16. คณะบัญชี 343 25 0 368 17. คณะบริหารธุรกิจ 1,612 308 14 1,934 18. คณะเศรษฐศาสตร์ 122 31 37 190 19. วทิยาลยัการท่องเที่ยวการบริการและกีฬา 859 2 3 864 20. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 653 0 0 653 21. คณะดิจิทัลอาร์ต 556 46 0 602 22. วิทยาลัยการออกแบบ 828 65 0 893 ล ำดับ คณะ/วิทยำลัย/สถำบัน จ ำนวนหลกัสูตรทเี่ปิดสอนท้ังหมด รวม ปริญญำตรี ปริญญำโท ปริญญำเอก กลุ่มมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์(ต่อ) 23. วิทยาลัยดนตรี 317 51 0 368 24. วิทยาลัยศิลปศาสตร์ 2,115 17 0 2,132 25. วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ 2,429 107 13 2,549 26. คณะนิติศาสตร์ 401 76 20 497 27. วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 191 120 76 387 28. วิทยาลัยครูสุริยเทพ - 317 87 404 29. คณะรัฐศาสตร์ 355 14 0 369 30. สถาบนัการทูตและการต่างประเทศ 80 40 0 120 31. คณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม 214 50 28 292 32. สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ - 43 44 87 33. วิทยาลัยนานาชาติ 635 15 0 650 รวมทั้งสิ้น 19,779 1,649 375 21,803
34 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อเสนอแนะจำกคณะกรรมกำร เพ ื่อกำรปรับปรุงและพฒันำคุณภำพ จำกผลกำรประเมินในปี ที่ผ่ำนมำ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ด าเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ปี การศึกษา 2564 เพื่อจัดท าแผนปรับปรุ งการด าเนินงาน (Improvement Plan) และเพื่อเป็ น แนวทางในการจัดท าแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ระดับหลักสูตรและระดับคณะของปี การศึกษา 2565อัน นา ไปสู่การพฒันาเสริมสร้างจุดแขง็ของมหาวทิยาลยัใหม้ีประสิทธิภาพยงิ่ข้ึน โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี องค์ประกอบที่ 5 กำรบริหำรจัดกำร ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ 1. ควรมีกำรก ำกับติดตำมกำรจัดท ำแผนกำรปรับปรุงกำรด ำเนินงำน โดยเฉพำะคณะ/หลักสูตร ที่มีผล ประเมินกำรด ำเนินงำนด้ำนกำรประกนัคุณภำพลดลง รวมท้งักำรติดตำมผลกำรด ำเนินงำนในกำรปรับปรุง ผลกำรด ำเนินงำนปรับปรุงตำมข้อเสนอแนะ มหาวิทยาลัยรังสิตมีการกา กบัติดตามให้หลกัสูตรและ คณะวิชานา ขอ้เสนอแนะที่ไดจ้ากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน รวมถึงปัญหา/อุปสรรค ที่ส่งผลต่อการ บริหารหลกัสูตรหรือคณะวิชา สู่การจดัทา แผนปรับปรุงการดา เนินงาน (Improvement Plan) โดยเมื่อเสร็จสิ้น การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในท้งัระดับหลักสูตร และระดับคณะวิชา ตามกรอบการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในที่มหาวิทยาลยักา หนด และผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะอนุกรรมการดา เนินงาน ประกนัคุณภาพการศึกษาเป็นที่เรียบร้อยแลว้น้นัส านกังานประกนัคุณภาพจึงส่งบนัทึกขอ้ความแจง้การนา ส่ง
35 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต แบบฟอร์มแผนปรับปรุงการด าเนินงาน (Improvement Plan) ตามระยะเวลาที่ส านกังานประกนัคุณภาพกา หนด และส าหรับหลักสูตรที่มีข้อเสนอแนะเพื่อการพฒันาในประเด็นที่เกี่ยวกบักระบวนการจดัทา รายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ส านกังานประกนัคุณภาพไดด้า เนินการจดัโครงการอบรม “แนวทางการเขียนรายงาน มคอ.7 ระดับหลักสูตร และรายงาน SAR ระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565” ในรูปแบบ Focus Group 2. กำรบริหำรควำมเสี่ยงและกำรควบคุมภำยใน ควรแสดงให้เห็นถึงข้ันตอนกำรวิเครำะห์ปัจจัยเสี่ยง และระดับควำมเสี่ยงที่คำดว่ำจะเกิดในต้นปี เพื่อให้จัดล ำดับควำมเสี่ยงได้อย่ำงชัดเจน โดยมีกำรก ำหนด มำตรกำรที่จะน ำมำใช้ในกำรบริหำรควำมเสี่ยงที่เกิดจำกปัจจัยเสี่ยงนั้น คณะกรรมกำรบริหำรควำมเสี่ยงและ ควบคุมภำยในควรให้ข้อเสนอแนะแนวทำงหรือมำตรกำรทชี่่วยให้ควำมเสี่ยงน้ันลดลงเพื่อเสนอขอค ำแนะน ำต่อ ทปี่ระชุมคณะกรรมกำรตรวจสอบ ผลกำรด ำเนินงำนปรับปรุงตำมข้อเสนอแนะ ในปี การศึกษา 2565คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระดบัมหาวทิยาลยัไดด้า เนินการตามขอ้เสนอแนะเพื่อการพฒันาคุณภาพ ดงัน้ี 2.1 จดัให้มีการวิเคราะห์ปัจจยัเสี่ยง และระดบัความเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิด เพื่อให้จดัลา ดบัความเสี่ยงได้ อย่างชดัเจน โดยมีการกา หนดมาตรการที่จะนา มาใช้ในการบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจยัเสี่ยงน้ันโดยใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมของผูเ้กี่ยวข้อง โดยดา เนินการจดั ประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (ระดับ มหาวทิยาลยั) เพื่อกา หนดนโยบายและวตัถุประสงค์(คร้ังที่1/2565)จากน้นัดา เนินการจดัประชุมคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง(ระดับมหาวิทยาลัย)ในลักษณะเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การวิเคราะห์ความเสี่ยง จัดล าดับความ เสี่ยงและกา หนดมาตรการที่จะนา มาใช้ในการบริหารความเสี่ยง” (คร้ังที่2/2565) ส าหรับผลการวิเคราะห์ความ เสี่ยงไดม้ีการบนัทึกอย่างชดัเจนว่าทา การวิเคราะห์เมื่อไหร่ ปีการศึกษาอะไรวิเคราะห์ในปัจจยัใด ปรากฎใน รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลยัรังสิต (คร้ังที่2/2565) แผนการบริหารความ
36 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต เสี่ยงทั่วท้ังองค์กร ส าหรับการน าเสนอขอข้อแนะน ามาตรการการจัดการความเสี่ยง จากคณะกรรมการ ตรวจสอบ ดังปรากฎในรายงานการประชุมคณะกรรมตรวจสอบ สรุปผลกำรด ำเนินงำนมหำวทิยำลยัรังสิต ประจำ ปีกำรศึกษำ 2565 รำงวัลงำนวิจัย สิ่งประดิษฐ์และงำนสร้ำงสรรค์ของนักศึกษำ ประจ ำปี กำรศึกษำ 2564 ในปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ได้มีการคัดเลือกปริญญานิพนธ์/ศิลปนิพนธ์ของนักศึกษา ปริญญาตรีพร้อมท้งัจดัมอบรางวลัวิจยัสิ่งประดิษฐ์ผลงานสร้างสรรคให้ ์แก่นกัศึกษา เพื่อเป็นการสนบัสนุนให้ มีการสร้างสรรค์ ประดิษฐ์คิดค้นผลงานวิจยังานสร้างสรรค์และนวตักรรมเพื่อนา ไปต่อยอดและใชป้ระโยชน์ ไดจ้ริง รวมท้งัเพื่อเป็นการสร้างขวญักา ลงัใจให้นกัศึกษาที่มีความมุ่งมานะและความคิดสร้างสรรคเ์พื่อต่อยอด ความส าเร็จ โดยในปี การศึกษา 2565 ได้มีการมอบรางวัลผลงานดีเด่น จา นวน 16 รางวัล และรางวัลชมเชย จ านวน 24รางวลัดงัน้ี 1. รำงวัลผลงำนดีเด่น จ ำนวน 16รำงวัล (เงินรำงวัลจ ำนวน 4,000 บำท) ดังตำรำงต่อไปนี้ คณะ/วิทยำลัย/สถำบัน โครงกำรปริญญำนิพนธ์และศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ การศึกษาประสบการณ์การใชย้าฮอร์โมนในหญิงขา้มเพศและการจ่ายยาฮอร์โมน ของเภสัชกรชุมชน คณะวิทยาศาสตร์ การตรวจหาจีโนไทป์แบบอลับิโนเฮเทอโรไซกสัในงูบอลไพธอน
37 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต คณะ/วิทยำลัย/สถำบัน โครงกำรปริญญำนิพนธ์และศิลปนิพนธ์ คณะเทคนิคการแพทย์ การพัฒนาวิธีการตรวจแบบท าให้เกิดสีของวิธีLoop Mediated Isothermal Amplification เพื่อตรวจหาเช้ือ Listeria Monocytogenes คณะกายภาพบ าบัดและ เวชศาสตร์การกีฬา ความสัมพนัธ์ระหว่างระยะเวลาหลงัจากติดเช้ือโคโรนาไวรัสกบัการเปลี่ยนแปลง ระดบัความอิ่มตวัของออกซิเจนที่ปลายนิ้วหลงัการทดสอบ ลุกนงั่ 1 นาที ในผู้ที่มี ภาวะลองโควิด วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ การศึกษาออกแบบและสร้างเครื่องจา แนกการเคลื่อนไหวกลา้มเน้ือมดัใหญ่ ส่วนรยางคบ์น วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล เครื่องแยกน้ ามนัจากน้ าหล่อเย็นของเครื่องจักรกลอตัโนมตัิทา งานด้วยระบบ คอมพิวเตอร คณะนวัตกรรมเกษตร การศึกษาผลของทริปโตเฟนร่วมกบัแสง LED ต่อคุณภาพและสาระสา คญัของเห็ด เมจิกในสภาพปลอดเช้ือ คณะเทคโนโลยีอาหาร การผลิตน้า แอปเปิ้ลผสมน้า กระเจี๊ยบอดัแก๊ส คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ความทรงจา หลงัหยาดน้า ตา คณะดิจิทัลอาร์ต โครงการออกแบบกราฟิ กโนเวล เรื่อง “Afterlife’s Journey” วิทยาลัยการออกแบบ ล าโพงขยะพลาสติกทะเล วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ - สาขาวิชามัลติมีเดีย การเล่าเรื่องขา้มสื่อเรื่อง “อาหารที่เหมาะสม ในแต่ละวยั” วิทยาลัยดนตรี การควบคุมการผลิตดนตรีอลับ้มั“Nocturnally” 2. รำงวัลชมเชยจ ำนวน 24รำงวัล(เงินรำงวัลจ ำนวน 2,500 บำท) ดังตำรำงต่อไปนี้ คณะ/วิทยำลัย/สถำบัน โครงกำรปริญญำนิพนธ์และศิลปนิพนธ์ คณะวิทยาศาสตร์ - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ชีวการแพทย์ ผลของการฝึกออกก าลังกายต่อกระบวนการสร้างหลอดเลือดใหม่และการ แสดงออกของโปรตีนวีอีจีเอฟ-เอและฟอกซ์โซวันในหลอดเลือดจุลภาคสมองของ หนูแรทช่วงกลางวยั คณะวิทยาศาสตร์ - สาขาวิชาเคมีประยุกต์ การแยกสารบริสุทธ์ิและการวิเคราะห์หาสารส าคัญในใบกระท่อมสดโดยใช้ เครื่องไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ ลิควิดโครมาโทกราฟ วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ - สาขาวิชาเภสัชอุตสาหการ การพฒันาแผน่ ฟิลม์ละลายในช่องปากของยาโพรพราโนลอลไฮโดรคลอไรด์
38 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต คณะ/วิทยำลัย/สถำบัน โครงกำรปริญญำนิพนธ์และศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ - สาขาวิชาการบริบาล ทางเภสัชกรรม ต้นทุนประสิทธิผลของการใช้ Insulin degludec ร่วมกบั Liraglutide ในอตัราส่วน ของขนาดยาคงที่เปรียบเทียบกับการใช้Insulin degludec และ Liraglutide เพียง ชนิดเดียว ในผู้ป่ วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในปะเทศไทย คณะเทคนิคการแพทย์ การตรวจหายีน qnr และ aac(6’)-Ib-cr ในเช้ือ Escherichia coli ก่อโรคทางเดินปัส สวะที่ด้ือยาฟลูออโรควิโนโลนดว้ยวิธีMultiplex PCR คณะเทคนิคการแพทย์ การศึกษาฤทธ์ิทางชีวภาพของเปปไทดส์งัเคราะห์บรูไซคลิน คณะกายภาพบ าบัดและ เวชศาสตร์การกีฬา การเปรียบเทียบความสามารถของสมองด้านบริหารจัดการและการท างานของมือ ระหวา่งกลุ่มวยัก่อนเขา้สู่วยัสูงอายแุละกลุ่มวยัสูงอายตุอนตน้ การศึกษาปัจจยัส่วนบุคคล ระดบัความรู้และพฤติกรรม ในการป้องกนัตนเองจาก การติดเช้ือโควิด-19กบัการติดเช้ือโควิด-19ของประชาชนในต าบลหลักหก จังหวัด ปทุมธานี วิทยาลัยวิศวกรรม ชีวการแพทย์ Surgical Navigation Device Using Laser Guidance for Leg and Ankle Surgery. A classification model of EEG in application of motor imagery and real action of hand clenching. วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี การสงัเคราะห์ไคโตซานจากเปลือกกงุ้เพื่อดูดซบั Cr(VI) และ Cu(II) ไอออน คณะ/วิทยำลัย/สถำบัน โครงกำรปริญญำนิพนธ์และศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ราวตากผ้าอัจฉริยะ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศูนย์จัดนิทรรศการและการเรียนรู้สาธารณะ จังหวัดปัตตานี โครงการออกแบบ ลานอนุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้เจา้อยู่หัวและ อาคารหอประชุมอเนกประสงค์บริเวณประตูน้า จุฬาลงกรณ์อา เภธัญบุรีจงัหวดั ปทุมธานี คณะดิจิทัลอาร์ต - สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต โครงการออกแบบแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง “The Adventure of Keankaew” คณะดิจิทัลอาร์ต - สาขาวิชาวิชวลเอฟเฟค โครงการผลิตสื่อภาพยนตร์ส้นัสามมิติเรื่อง “THIEFBOY” วิทยาลัยการออกแบบ โครงการออกแบบเวบ็ ไซตเ์ครือข่ายการใหข้อ้มูลการออกแบบตัวอักษรและฟอนต์ เพื่อส่งเสริมการคา้และการออกแบบตวัอกัษร
39 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต คณะ/วิทยำลัย/สถำบัน โครงกำรปริญญำนิพนธ์และศิลปนิพนธ์ - สาขาวิชาการออกแบบ นิเทศศิลป์ วิทยาลัยการออกแบบ - สาขาวิชาแฟชนั่ดีไซน์ ความเสื่อมโทรมของทะเลระยอง DECAYED (Beach) วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ - สาขาวิชาวิทยุและ โทรทัศน์มัลติแพลตฟอร์ม โครงการสหกิจศึกษา บริษทัทริปเปิลวีบรอดคาสท์(ไทยรัฐทีวี) จา กดั:ผูส้ื่อข่าว รายการไทยรัฐนิวส์โชว์ วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ - สาขาวิชานิเทศศาสตร์ การกีฬา พฤติกรรมและความต้องการของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการจัดกิจกรรมกีฬาเพื่อ ส่งเสริมการเป็นเมืองกีฬา (Sports City) ของจังหวัดเชียงราย วิทยาลัยดนตรี การควบคุมการผลิตดนตรีอลับ้มั“HIS-STORY” การควบคุมการผลิตดนตรีอลับ้มั“AFTER EFFECTS” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ - สาขาวิชาภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร การวิเคราะห์ตัวละครหลักเชิงจิตวิทยาในนวนิยายเรื่อง KinnPorsche story รักโคตร ร้ายสุดทา้ยโคตรรักเล่มที่1ถึง เล่มที่4ของ Daemi วิทยาลัยศิลปศาสตร์ - สาขาวิชาภาษาอังกฤษ การตีความความหมายของภาษาอุปมาอุปไมยในเพลงรักของวีคเอนด์ ขอบคณุข้อมูลจำก: ส ำนักงำนมำตรฐำนทำงวิชำกำร ผลงำนของนักศึกษำและบัณฑิตที่ส ำเร็จกำรศึกษำ ระดับปริญญำโท มหาวิทยาลยัมีผลงานของนกัศึกษาและบณัฑิตที่สา เร็จการศึกษาระดบั ปริญญาโท ระหวา่งปีการศึกษา 2562-2565 โดยมีแนวโน้มของผลงานวิชาการในระดับฐาน TCI 2 และ TCI 1 เป็นแนวโน้มที่สูงข้ึน สามารถ สรุปผลงานวชิาการตามประเภทค่าถ่วงน้า หนกัได้ดงัน้ี จ ำนวนผลงำนของนักศึกษำและผู้ส ำเร็จกำรศึกษำในระดับปริญญำโท จ ำแนกตำมประเภทค่ำถ่วงน ้ำหนัก ปี กำรศึกษำ 2562 2563 2564 2565 จ านวนบทความฉบับสมบูรณ์ที่มีการตีพิมพ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง 48 36 7 23 จ านวนบทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ระดับชาติ 189 142 141 159 จ านวนบทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ 22 27 29 28
40 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต จ ำนวนผลงำนของนักศึกษำและผู้ส ำเร็จกำรศึกษำในระดับปริญญำโท จ ำแนกตำมประเภทค่ำถ่วงน ้ำหนัก ปี กำรศึกษำ 2562 2563 2564 2565 ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร - - - จ านวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCIกลุ่มที่2 68 108 120 138 จ านวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCIกลุ่มที่1 17 21 39 44 จ านวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏอยใู่น ฐานข้อมูลระดับนานานชาติตามประกาศก.พ.อ.หรือระเบียบคณะกรรมการ อุดมศึกษาวา่ดว้ยหลกัเกณฑก์ารพิจารณาวารสารทางวชิาการวา่ดว้ยหลกัเกณฑ์ การพิจารณาวารสารทางวชิาการสา หรับการเผยแพร่ผลงานทางวชิาการ พ.ศ.2556 4 11 5 3 จ ำนวนผลงำนของนักศึกษำและผู้ส ำเร็จกำรศึกษำในระดับปริญญำโท จ ำแนกตำมประเภทค่ำถ่วงน ้ำหนัก ปี กำรศึกษำ 2562 2563 2564 2565 ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร - - - - จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลกัษณะใดลกัษณะหน่ึง หรือ ผา่นสื่ออิเลคทรอนิกส์online 3 3 1 - จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ับการเผยแพร่ในระดบัสถาบนั 2 2 1 2 จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ับการเผยแพร่ในระดบัชาติ- - - - จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ับการเผยแพร่ในระดบัความร่วมมือระหวา่งประเทศ - - - - จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ับการเผยแพร่ในระดบัภูมิภาคอาเซียน - - - - จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ับการเผยแพร่ในระดบันานาชาติ- 2 - - จา นวนผสู้า เร็จการศึกษาระดบั ปริญญาโทท้งัหมด (ปี การศึกษาที่เป็ นวงรอบ ประเมิน) 347 359 346 384 ผลงำนของนักศึกษำและบัณฑิตที่ส ำเร็จกำรศึกษำ ระดับปริญญำเอก มหาวิทยาลัยมีผลงานของนักศึกษาและบัณฑิตที่ส าเร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอก ระหวา่งปีการศึกษา 2562-2565 โดยมีแนวโน้มของผลงานวิชาการในระดับฐานวารสารวิชาการ ระดับนานาชาติสามารถสรุปผลงาน วชิาการตามประเภทค่าถ่วงน้า หนกัได้ดงัน้ี จ ำนวนผลงำนของนักศึกษำและผู้ส ำเร็จกำรศึกษำในระดับปริญญำเอก จ ำแนกตำมประเภทค่ำถ่วงน ้ำหนัก ปี กำรศึกษำ 2562 2563 2564 2565 จ านวนบทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ระดับชาติ - 2 8 1
41 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต จ านวนบทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ 1 2 4 7 ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร - - - จ านวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCIกลุ่มที่2 19 31 25 30 จ านวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCIกลุ่มที่1 9 4 9 6 จ านวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏอยใู่น ฐานข้อมูลระดับนานานชาติตามประกาศก.พ.อ.หรือระเบียบคณะกรรมการ อุดมศึกษาวา่ดว้ยหลกัเกณฑก์ารพิจารณาวารสารทางวชิาการวา่ดว้ยหลกัเกณฑก์าร พิจารณาวารสารทางวชิาการสา หรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 4 5 11 9 ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร - - - - จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลกัษณะใดลกัษณะหน่ึง หรือ ผา่นสื่ออิเลคทรอนิกส์online - - - - จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ับการเผยแพร่ในระดบัสถาบนั- - - - จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ับการเผยแพร่ในระดบัชาติ- - - - จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ับการเผยแพร่ในระดบัความร่วมมือระหวา่งประเทศ - - - - จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ับการเผยแพร่ในระดบัภูมิภาคอาเซียน - - - - จา นวนงานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ับการเผยแพร่ในระดบันานาชาติ- - - - จา นวนผสู้า เร็จการศึกษาระดบั ปริญญาเอกท้งัหมด (ปี การศึกษาที่เป็ นวงรอบ ประเมิน) 24 19 38 38 กำรพัฒนำผลงำนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทำงปัญญำ มหาวิทยาลยัรังสิต มีส านกังานบ่มเพาะธุรกิจและทรัพยส์ินทางปัญญา ซ่ึงเป็นหน่วยงานที่จดัต้งัข้ึนเพื่อ ช่วยในการคุม้ครองสิทธ์ิของงานวิจยัหรืองานสร้างสรรค์ของอาจารยแ์ละนกัศึกษา มีระบบสารสนเทศช้ีแจง ข้นัตอนการขอจดอนุสิทธิบตัรและสิทธิบตัร เพื่อรองรับการยื่นเสนอขอจดสิทธิบัตรจากกรมทรัพย์สินทาง ปัญญา โดยมหาวิทยาลัยมีการสนับสนุนเงินรางวัลส าหรับนักวิจัยที่ได้รับการจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร โดย สิทธิบัตรจะได้รับเงินรางวัล จ านวน 15,000 บาท และอนุสิทธิบัตรจะได้รับเงินรางวัล จ านวน 5,000 บาท โดยมี ผลการด าเนินงานในปี การศึกษา 2562-2565 เทียบกบัค่าเป้าหมายที่กา หนดในแต่ละปีการศึกษา ดงัน้ี
42 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปี กำรศึกษำ เป้ำหมำย จ ำนวนผลงำน จ ำนวนผลงำนที่ยื่นขอ จดทรัพย์สินทำงปัญญำ (ขอยื่นจดใหม่) จ ำนวนผลงำนที่ยื่นขอ จดทรัพย์สินทำงปัญญำ (อยู่ในกระบวนกำร) ประเภทของ ทรัพย์สินทำงปัญญำ (ที่ได้รับกำรจดทะเบียน) รวม (จ ำนวน ชิ้น) 2562 10* 11 ชิ้น 45 ชิ้น 4 ชิ้น -อนุสิทธิบัตร 4 ชิ้น 4 2563 15* 13 ชิ้น 58 ชิ้น 3 ชิ้น -อนุสิทธิบัตร 2 ชิ้น - เครื่องหมายการค้า 1 ชิ้น 3 2564 20* 6 ชิ้น 64 ชิ้น -อนุสิทธิบัตร 6 ชิ้น 6 2565 9 15 ชิ้น 79 ชิ้น อนุสิทธิบัตร 10 ชิ้น 10 หมำยเหตุ: * ค่าเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2560-2564 KPI 2.5/1 จ านวน ผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ นวัตกรรม ที่ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตรในนามมหาวิทยาลัย ** เป็นค่าเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์การพฒันา มหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2565-2569 KR 2.4.3 ซึ่ งมี เป้าหมายของปี การศึกษา 2565อยทู่ ี่9 ชิ้นต่อปี
43 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต
44 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต
45 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต องค์ประกอบที่ 1 กำรผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลกำรบริหำรจัดกำรหลกัสูตรโดยรวม (ข้อมูลโดย: คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน) ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ เกณฑ์กำรประเมิน : ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินทุกหลกัสูตรที่สถาบนัรับผดิชอบ ข้อมูลพืน้ฐำน จ ำนวนยืนยัน จา นวนหลกัสูตรท้งัหมดที่สถาบนัรับผดิชอบ 138 ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลกัสูตร 495.98 คะแนนที่ได้ 3.59 ผลกำรด ำเนินงำน ในปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดการเรียนการสอนท้งัสิ้น 147 หลักสูตร แบ่งออกเป็น หลักสูตรที่ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) จ านวน 138 หลักสูตร(ระดับปริญญาตรี 84 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 39 หลักสูตร ระดับปริญญาเอก 15 หลักสูตร) หลักสูตรที่รับรองโดยเกณฑ์มำตรฐำนสำกล จ ำนวน 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยแพทยศาสตร์ ผา่นการรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ตามเกณฑ์TMC.WFME.BME.Standards (2017) (World Federation for Medical Education, Basic Medical Education: WFME) โดยมีระยะเวลาการ รับรองถึงวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.2567และหลกัสูตรทรี่ับรองโดยสภำวชิำชีพ จ ำนวน 7 หลกัสูตรไดแ้ก่ 1. หลักสูตรทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตรทวิภาษา) (ได้รับการรับรองจากหลักสูตรปรับปรุง ปี 2565-2572) 2. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม (ได้รับการรับรอง ปี2562-2567) 3. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ (ได้รับการรับรองปี2562-2567) 4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบ าบัด (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 5. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ (ได้รับการรับรอง ปี2565-2569) 6. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ (2.5 ปี ) (ได้รับการรับรอง ปี 2565-2569) 7. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ (ได้รับการรับรอง ปี2565-2569) โดยทั้ง 8 หลักสูตรดังกล่ำวไม่ถูกน ำผลกำรบริหำรจัดกำรหลักสูตรมำค ำนวณในตัวบ่งชี้ที่1.1 (ระดับ สถำบัน) ดงัน้นั ในปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต จึงมีผลกำรบริหำรจัดกำรหลักสูตรโดยรวมท้ังสิ้น 138
46 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต หลักสูตร โดยทุกหลักสูตรได้รับการรับรองผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ที่มีผลการด าเนินงานของทุกหลักสูตร เท่ำกับ 3.59อยู่ใน ระดับดี ท้งัน้ีเมื่อเปรียบเทียบผลการบริหารจดัการหลกัสูตรโดยรวมของปีการศึกษา 2565 กบั ผลการบริหาร จัดการหลักสูตรโดยรวมของปี การศึกษา 2564 พบวา่มีผลการดา เนินงานลดลง ซ่ึงในปีการศึกษา2564 มีจ านวน หลักสูตรที่ได้รับการรับรองผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563จ านวน 134 หลักสูตร มีผลการด าเนินงานของทุกหลกัสูตร เท่ากบั 3.69 รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง มรส.สปค.อ1.1.1.01 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัหลกัสูตร มรส.สปค.อ1.1.1.02 รายงานผลการด าเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) และรายงานผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในของหลักสูตร(ตามกลุ่มสาขาวชิา) กลุ่มสาขาวชิาวทิยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวชิาวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวชิามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มรส.สปค.อ1.1.1.03 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม (ข้อมูลจากคณะวิชา) กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ 1.1 เป้ำหมำย ผลด ำเนินงำน ผลกำรประเมิน บรรลุเป้ำหมำย 3.00 คะแนน 3.59คะแนน 3.59คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย
47 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อำจำรย์ประจ ำสถำบันทมี่ีคุณวุฒิปริญญำเอก (ข้อมูลโดย: คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน) ชนิดของตัวบ่งชี้: ปัจจัยน าเข้า เกณฑ์กำรประเมิน:ค่าร้อยละของอาจารยป์ระจา สถาบนัที่มีคุณวฒุิปริญญาเอกเป็นคะแนนระหวา่ง 0 – 5 เกณฑ์เฉพำะสถำบันกลุ่ม ข:ค่าร้อยละของอาจารยป์ระจา สถาบนัที่มีคุณวฒุิปริญญาเอกที่กา หนดใหเ้ป็นคะแนน เต็ม 5 = ร้อยละ 40 ข้ึนไป ข้อมูลพืน้ฐำน จ ำนวนยืนยัน (1)จา นวนอาจารยป์ระจา สถาบนัท้งัหมด 1,071.50 (2) จ านวนอาจารย์ประจ าสถาบันที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 527 (3)ร้อยละของอาจารย์ประจ าสถาบันที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 49.18 ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ (3) X 5 /40 5.00 ผลกำรด ำเนินงำน ในปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลยัรังสิต มีอาจารยป์ระจา ท้งัหมด จา นวน 1,071.50 คน มีอาจารย์ประจ า ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก จ านวน 527คน คิดเป็ นร้อยละ 49.18 ดงัน้นัเมื่อแปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจ า สถาบันที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกจากเกณฑ์การประเมินที่กา หนดให้คะแนนเต็ม 5 เท่ากบัร้อยละ 40 ได้คะแนน เท่ากบั 5.00 คะแนน ท้งัน้ีเมื่อเปรียบเทียบผลการด าเนินงานของปี การศึกษา 2565กับปีการศึกษา 2564 พบว่ามีผลการ ด าเนินงานด้านจ านวนอาจารย์ประจ าสถาบันที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเพิ่มสูงข้ึน ซ่ึงในปีการศึกษา 2564 จ านวน อาจารย์ประจ าสถาบันที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จ านวน 498คน คิดเป็ นร้อยละ 46.98 รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง มรส.สปค.อ1.1.2.01 อาจารย์ประจ าสถาบันที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก (ข้อมูลจากคณะวิชา) (รายงาน SAR ระดับมหาวิทยาลัย ภาคผนวก ข.) กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ 1.2 เป้ำหมำย ผลด ำเนินงำน ผลกำรประเมิน บรรลุเป้ำหมำย ร้อยละ 40 ร้อยละ 49.18 5.00 คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย
48 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อำจำรย์ประจ ำสถำบันที่ด ำรงต ำแหน่งทำงวิชำกำร (ข้อมูลโดย: คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน) ชนิดของตัวบ่งชี้: ปัจจัยน าเข้า เกณฑ์กำรประเมิน: ค่าร้อยละของอาจารยป์ระจา สถาบนัที่ดา รงตา แหน่งทางวชิาการเป็นคะแนนระหวา่ง 0 – 5 เกณฑ์เฉพำะสถำบันกลุ่ม ข: ค่าร้อยละของอาจารย์ประจ าสถาบันที่ด ารงต าแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์และศาสตราจารยร์วมกนัที่กา หนดใหเ้ป็นคะแนนเตม็ 5 = ร้อยละ 60 ข้ึนไป ข้อมูลพืน้ฐำน จ ำนวนยืนยัน (1)จา นวนอาจารยป์ระจา สถาบนัท้งัหมด 1,071.50 จา นวนอาจารยป์ระจา สถาบนัท้งัหมดที่ดา รงตา แหน่งอาจารย์ (ไม่มีตา แหน่งทางวชิาการ) 657.50 จา นวนอาจารยป์ระจา สถาบนัท้งัหมดที่ดา รงตา แหน่งผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ 286 จา นวนอาจารยป์ระจา สถาบนัท้งัหมดที่ดา รงตา แหน่งรองศำสตรำจำรย์ 108 จา นวนอาจารยป์ระจา สถาบนัท้งัหมดที่ดา รงตา แหน่งศำสตรำจำรย์ 20 (2)จา นวนอาจารยป์ระจา สถาบนัที่ดา รงตา แหน่งทางวชิาการ 414 (3) ร้อยละของอาจารย์ประจ าสถาบันที่มีตา แหน่งทางวชิาการ [2]X100/[1] 38.64 ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ (3)X5/60 3.22 ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลยัรังสิต ไดร้วบรวมจดัเก็บขอ้มูลอาจารยป์ระจา ที่ดา รงตา แหน่งทางวิชาการ ในปี กำรศึกษำ 2565 มหาวทิยาลยัรังสิต มีอาจารยป์ระจา ท้งัหมด จา นวน 1,071.50คน โดยมีอำจำรย์ประจ ำที่ด ำรงต ำแหน่งทำง วิชำกำร จ ำนวน 414 คน รายละเอียดดงัน้ี จา นวนอาจารยป์ระจา ที่ดา รงตา แหน่ง ผชู้่วยศาสตราจารย์ 286 คน จา นวนอาจารยป์ระจา ที่ดา รงตา แหน่ง รองศาสตราจารย์ 108 คน จา นวนอาจารยป์ระจา ที่ดา รงตา แหน่ง ศาสตราจารย์ 20 คน รวมจ ำนวนอำจำรย์ประจ ำที่ด ำรงต ำแหน่งทำงวิชำกำร 414 คน คิดเป็ นร้อยละของอาจารย์ประจ าสถาบันที่มีตา แหน่งทางวิชาการเท่ากบั 38.64 ดงัน้ัน เมื่อแปลงค่า ร้อยละของอาจารย์ประจ าสถาบันที่มีตา แหน่งทางวิชาการ จากเกณฑ์การประเมินที่กา หนดให้คะแนนเต็ม 5 เท่ากบัร้อยละ60 ไดค้ะแนนเท่ากบั 3.22 คะแนน
49 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ท้งัน้ีเมื่อเปรียบเทียบผลกำรด ำเนินงำนของปี กำรศึกษำ 2565 กับปี กำรศึกษำ 2564 พบว่ามีผลการ ด าเนินงานด้านจ านวนอาจารย์ประจ าสถาบันที่ดา รงตา แหน่งทางวิชาการเพิ่มสูงขึ้น โดยในปี กำรศึกษำ 2564 จ ำนวนอำจำรย์ประจ ำสถำบันที่ด ำรงต ำแหน่งทำงวิชำกำร จ ำนวน 397 คน คิดเป็ นร้อยละ 37.45 รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง มรส.สปค.อ1.1.3.01 อาจารยป์ระจา สถาบนัที่ดา รงตา แหน่งทางวชิาการ(ข้อมูลจากคณะวิชา) (รายงาน SAR ระดับมหาวิทยาลัย ภาคผนวก ข.) กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ 1.3 เป้ำหมำย ผลด ำเนินงำน ผลกำรประเมิน บรรลุเป้ำหมำย ร้อยละ 30 ร้อยละ 38.64 3.22 คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย
50 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ตัวบ่งชี้ที่ 1.4กำรบริกำรนักศึกษำระดับปริญญำตรี ชนิดของตัวบ่งชี้ :กระบวนการ เกณฑ์กำรประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการด าเนินการ 1 ข้อ มีการด าเนินการ 2 ข้อ มีการด าเนินการ 3 -4 ข้อ มีการด าเนินการ 5 ข้อ มีการด าเนินการ 6 ข้อ ข้อ 1.จัดบริกำรให้ค ำปรึกษำทำงวชิำกำรแนะแนวด้ำนกำรใช้ชีวติและกำรเข้ำสู่อำชีพแก่นักศึกษำในสถำบัน ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลัยรังสิตมีแนวทางการพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยมุ่งเน้นการให้บริการและให้ คา ปรึกษาทางดา้นวิชาการรวมไปถึงการใชช้ีวิตของนกัศึกษา ซ่ึงมหาวิทยาลยัมีการดา เนินการและติดตามอยา่ง ต่อเนื่อง โดยมีระบบฐานข้อมูลนักศึกษา ประกอบดว้ยขอ้มูลดา้นสุขภาพท้งัทางกายและทางจิตใจขอ้มูลดา้น การเรียน ข้อมูลครอบครัว และบุคคลที่มหาวิทยาลยัสามารถติดต่อเมื่อนกัศึกษาเกิดปัญหา และในระดบัคณะมี ระบบอาจารยท์ ี่ปรึกษาที่เหมาะสมคา นึงถึงสัดส่วนอาจารยต์ ่อนกัศึกษาที่ทา ให้อาจารยส์ามารถดูแลนกัศึกษา ทวั่ถึงและมีระบบการช่วยเหลือนกัศึกษาอย่างใกล้ชิด เน้นพฒันาผูเ้รียนเป็นรายบุคคล มีการประชุมระหว่าง อาจารยเ์พื่อส่งต่อขอ้มูลเกี่ยวกบันกัศึกษาที่มีปัญหาดา้นการเรียนในกลุ่มผูส้อน หรือผูร้ับผิดชอบหลกัสูตร เนน้ การให้บริการความช่วยเหลือนกัศึกษาในรูปแบบของการป้องกนั ปัญหามากกว่าการแกป้ ัญหา อีกท้งัมีระบบ ติดตามผลการช่วยเหลือหรือใหค้า ปรึกษาแก่นกัศึกษา จนสามารถแกไ้ขปัญหาของนักศึกษาได้ส าเร็จ ท้งัน้ีทุกคณะวิชา (วิทยาลัย/คณะ/สถาบัน) มีฐานข้อมูลของนักศึกษาทุกคน และจัดระบบการให้ คา ปรึกษาทุกดา้นแก่นกัศึกษา พร้อมจดัใหค้า ปรึกษาการใชช้ีวติในรูปแบบโครงการปฐมนิเทศนกัศึกษาใหม่ของ คณะกิจกรรมสันทนาการการจดัพ้ืนที่ผกัผ่อนหย่อนใจ ห้องให้ค าปรึกษา รวมถึงจัดให้นักศึกษาที่ใกล้ส าเร็จ การศึกษาไดร้ับทราบ และมีขอ้มูลเตรียมความพร้อมสู่อาชีพของนกัศึกษาในรูปแบบของโครงการปัจฉิมนิเทศ ฝ่ายกิจการนักศึกษา โดยส ำนักงำนสวัสดิกำรสุขภำพ จดับริการแก่นักศึกษาในด้านสุขภาพจิต โดย หน่วยพฒันาคุณภาพชีวิต (Counseling Center) เปิ ดบริการคลินิกให้ค าปรึกษาด้านจิตวิทยาและคลินิกอดบุหรี่ “รังสิตฟ้าใส” ทุกวันจันทร์ -วันศุกร์ เวลา 8.30 – 16.30 น. โดยมีนกัจิตวิทยาการให้คา ปรึกษาประจา หน่วยงาน จ านวน 4คน ประสานงานเครือข่ายอาจารย์ที่ปรึกษาประจา หน่วยงาน 81คน และอาจารย์ฝ่ ายพัฒนาวินัย นกัศึกษา เพื่อให้การดูแลช่วยเหลือปรับความคิด ทศันคติและพฤติกรรมของนกัศึกษาที่มีปัญหาในดา้นต่างๆ เช่น การเรียนการสอน การทา ผดิวนิยัที่เกี่ยวขอ้งกบัยาเสพติด ปัญหาพฤติกรรม และกลุ่มที่ตอ้งการเลิกบุหรี่ใหม้ี พฤติกรรมที่เหมาะสม เป็ นต้น ประสานงานส านักงานศิษยเ์ก่าและชุมชนสัมพนัธ์ในการจดักิจกรรมแนะแนว