The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR มหาวิทยาลัยรังสิต 2565 ฉบับก่อนส่งพิมพ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Qa Rsu, 2023-11-15 23:58:07

ทดสอบ

SAR มหาวิทยาลัยรังสิต 2565 ฉบับก่อนส่งพิมพ์

รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ละหลักสูตรเพื่อใช้เป็ นมาตรฐานในการเปรียบเทียบประสิทธิภาพด้านต้นทุนตามแนวทางการ บริหารเชิงกลยุทธ์ โดยคัดเลือกเกณฑ์การปันส่วนรายจ่ายทางออ้ม รายจ่ายทางตรงของคณะบาง รายการ เพื่อใช้ในการค านวณจุดคุม้ทุนของแต่ละหลกัสูตรโดยสร้างกระดาษท าการบนโปรแกรม Excel เพื่อความสะดวกของคณะวิชาในการค านวณและวิเคราะห์ความคุ้มทุน 6) คณะอนุกรรมการดา เนินงานดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษา ไดท้า ความเขา้ใจกบัทุกคณะวิชาใน การใชก้ระดาษทา การดงักล่าวเพื่อให้การรายงานผลการดา เนินงานทางการเงินของแต่ละคณะวิชา อยู่บนมาตรฐานเดียวกัน นอกจากน้ียังได้วางแนวทางในการวิเคราะห์ประสิ ทธิภาพการใช้ ทรัพยากรทางการเงินในการพฒันาคณะดา้นต่างๆ โดยกา หนดใหค้ณะวชิารายงานอตัราร้อยละของ งบประมาณที่จดัสรรไปในกิจกรรมการพฒันาการเรียนการสอน การพฒันานกศึกษา การพัฒนา ั บุคลากร และอื่นตามแผนปฏิบตัิเพื่อให้เปรียบเทียบกบัผลลพัธ์ที่เกิดข้ึน ในการวิเคราะห์ความ คุม้ค่าหรือประสิทธิผลของการดา เนินงานตามแผน กำรกำ กบัติดตำมกำรส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกคณะด ำเนินกำรวเิครำะห์ข้อมูลทำงกำรเงิน มหาวิทยาลัยรังสิตโดยส านักงานงบประมาณได้มีการค านวณต้นทุนผลผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัย โดยคา นวณตน้ทุนผลผลิต ท้งัรายจ่ายทางตรง ไดแ้ก่เงินเดือน งบดา เนินการ งบโครงการ และรายจ่ายทางออ้ม ได้แก่รายจ่ายทุกประเภทของหน่วยงานสนับสนุน และส่งขอ้มูลให้กบัคณะต่างๆ เพื่อการวิเคราะห์ต้นทุน ผลผลิตในระดบัหลกัสูตรและวิเคราะห์ความคุม้ค่าของการบริหารหลกัสูตร ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการ ผลิตบัณฑิต โอกาสในการแข่งขนัรวมถึงได้มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบสัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงในการพฒันา นกัศึกษา พฒันาอาจารย์พฒันาบุคลากรและการจดัการเรียนการสอนเพื่อใชใ้นการวิเคราะห์ความคุม้ค่าของการ บริหารของแต่ละหลกัสูตร นอกจากน้ีในการจดัทา รายงานการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร และระดับคณะวิชา ก็เป็นอีกแนวทางหน่ึงที่มหาวิทยาลยัใชใ้นการกา กบัและติดตามในเรื่องดงักล่าว เนื่องจากในการจดัทา ประกนั คุณภาพการศึกษาภายในมีเกณฑ์ตวับ่งช้ีเกี่ยวกบัการรายงานแผน/ผลการดา เนินงาน การรายงานการใชจ้่ายเงิน การจัดท าวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินที่ประกอบดว้ยการวิเคราะห์ตน้ทุนต่อหน่วย สัดส่วนค่าใชจ้่ายต่างๆ ซ่ึงถือ ว่าเป็นตวัขบัเคลื่อนให้คณะต่างๆ ได้ดา เนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินด้วย รวมท้งัสามารถน าผลการ วิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินมาประกอบการพิจารณาการบริหารจัดการ การผลิตบัณฑิต และโอกาสทางการ แข่งขนัของแต่ละคณะแต่ละหลกัสูตรต่อไป ส่วนใหญ่ต้นทุนต่อหน่วยที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงน้ันข้ึนอยู่กับจ านวนนักศึกษาที่เข้าศึกษาในแต่ละ ปีการศึกษา มหาวิทยาลยัจึงมีแนวทางให้คณะต่างๆ ลดค่าใชจ้่ายเพื่อมิให้เกิดผลกระทบในระยะยาว ตลอดจน การปรับกลยุทธ์ในการบริหารจัดการหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคลอ้งกบัสถานการณ์ปัจจุบนัพร้อมท้งั


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต กระตุน้ ให้คณะต่างๆ ใช้ขอ้มูลที่ได้จากการคา นวณตน้ทุนผลผลิตรวมเพื่อใช้ประกอบการคา นวณตน้ทุนใน ระดบัหลกัสูตร และหาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน รวมถึงไดม้ีการวิเคราะห์ความคุม้ค่า ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและโอกาสในการแข่งขนัของแต่ละหลกัสูตร จากการสา รวจภาวการณ์ไดง้านทา และ การได้ท างานตรงสาขา และผลการประเมินคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิของบัณฑิตที่จบการศึกษา ของแต่ละหลกัสูตร ส าหรับแนวทางการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตรของคณะน้ัน คณะต่างๆ อาจมีแนวทางการวิเคราะห์เพิ่มเติมแตกต่างกันไป อาทิการใช้ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยดูจากสัดส่วนของ ค่าธรรมเนียมการศึกษาตลอดหลกัสูตรต่อหน่วย (คน) หารดว้ยตน้ทุนต่อหน่วย (คน) ในแต่ละหลกัสูตร หากมี ค่ามากกวา่ 1 ถือวา่คุม้ค่า และหรือการใช้ขอ้มูลเชิงคุณภาพ เช่น การเพิ่มข้ึนของศักยภาพทางวิชาการของคณะ วิชา ผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมที่ได้รับรางวัลจากองค์กรภายนอกระดับชาติ นานาชาติ การจัดอันดับคุณภาพ มหาวทิยาลยัที่สูงข้ึน โดยเปรียบเทียบกบัจา นวนทรัพยากรทางการเงินที่ใชไ้ป เป็นตน้ ผลกำรด ำเนินงำน จากการติดตามผลการด าเนินงานทางการเงิน พบวา่มีผลการดา เนินงานดงัน้ี 1. สรุปรายงานผลการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตบณัฑิตของแต่ละหลกัสูตร พบวา่มีหลกัสูตรที่มีจา นวน นกัศึกษาอยูใ่นระดบัที่สามารถดา เนินการต่อไปได้(มากกวา่หรือเท่ากบัจุดคุม้ทุน) ท้งัหมด 146 หลักสูตร และ จ าเป็ นต้องพิจารณาปรับปรุงการด าเนินงานหลักสูตร จ านวน 12 หลักสูตร 2.การจดัสรรงบประมาณเพื่อเป็นค่าใชจ้่ายในการดา เนินงาน พบวา่มีการจดัต้งังบประมาณ โครงการ พฒันาในภาพรวม ท้งัมหาวทิยาลยัเป็นจา นวน 53,595,811.03 บาท แยกเป็ นงบโครงการพัฒนาการเรียนการสอน 26,902,307.37 บาท คิดเป็ นร้อยละ 50.19 งบการพัฒนานักศึกษา 23,815,693.00 บาท คิดเป็ นร้อยละ 44.44และ งบโครงการพัฒนาบุคลากร 3,040,385.66 บาท คิดเป็ นร้อยละ 5.67 3.ผลลพัธ์จากการดา เนินงานในดา้นต่างๆ ของมหาวิทยาลยับรรลุเป้าหมายแผนยุทธศาสตร์ร้อยละ 79.10 ภายใตข้อ้จา กดัดา้นทรัพยากรทางการเงิน และภาระผูกพนัของมหาวิทยาลยักล่าวไดว้่าการบริหารทาง การเงินเป็นไปตามแผน มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอยใู่นระดบัน่าพอใจ รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต มรส.สปค.อ5.5.1.2.01 ระบบข้อมูลทางการเงินเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ มรส.สปค.อ5.5.1.2.02 ตารางแสดงสดัส่วนค่าใชจ้่ายเพื่อการพฒันานกัศึกษา บุคลากรและการจดัการเรียนการ สอน มหาวิทยาลัยรังสิต แยกตามคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.1.2.03 ตารางแสดงการวิเคราะห์ความคุม้ทุนต่อหน่วย รายหลกัสูตร ประจา ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.1.2.04 ตารางแสดงจ านวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ากับจ านวนนักศึกษา ณ จุดคุ้มทุน รายหลักสูตร ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.3.1.02 คา สงั่แต่งต้งัคณะอนุกรรมการดา เนินงานการประกนัคุณภาพ ข้อ 3. ด ำเนินงำนตำมแผนบริหำรควำมเสี่ยง ที่เป็นผลจำกกำรวิเครำะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจำกปัจจัย ภำยนอก หรือปัจจัยทไี่ม่สำมำรถควบคุมได้ทสี่่งผลต่อกำรด ำเนินงำนตำมพนัธกจิของสถำบันและให้ระดับควำม เสี่ยงลดลงจำกเดิม (ข้อมูลโดย: ส ำนักงำนตรวจสอบภำยใน) ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ด าเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง โดยมีส านักงานตรวจสอบภายในท าหน้าที่ ในการตรวจสอบ รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินและให้ค าแนะน า ปรึกษา เกี่ยวกบัการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการตรวจสอบการบริหารจัดการแก่วิทยาลยั/คณะ/สถาบนั/ฝ่าย/หน่วยงานสนบัสนุน เพื่อสร้างเสริมธรรมาภิบาลแก่ทุกภาคส่วนของมหาวทิยาลยั โดยมีกระบวนการดา เนินงานดงัน้ี 1) มหำวิทยำลัยแต่งตั้งคณะกรรมกำรบริหำรควำมเสี่ยง ระดับมหำวิทยำลัย จ านวน 1 ชุด โดยมี อธิการบดีเป็ นประธาน ในปี การศึกษาที่ 2565คณะกรรมการฯ มีการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยรังสิต จ านวน 3คร้ังการจดัทา คู่มือการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ระดบัองคก์รการ จดัอบรมเพื่อสร้างความรู้ความเขา้ใจแก่ทุกภาคส่วน การมอบหมายงาน และติดตามผลการดา เนินงานดา้นการ บริหารความเสี่ยง การด าเนินงานตามกระบวนการบริหารความเสี่ยง ระดับองค์กร ตามกรอบมาตรฐาน COSO ERM 2017 ท้งัน้ีคณะกรรมการฯ กา หนดให้คณะ/ฝ่ าย/ หน่วยงานไม่สังกดัฝ่ายแต่งต้งัคณะกรรมการบริหารความ เสี่ยงระดับหน่วย เพื่อรับผิดชอบการด าเนินการบริ หารความเสี่ ยงและการควบคุมภายใน ระ ดับหน่วย ให้ครอบคลุมทวั่ถึงท้งัองคก์รในปี การศึกษาที่ 2565 ตามโครงสร้างของมหาวิทยาลยัมีหน่วยงานรวมท้งัสิ้น 49 หน่วย ประกอบด้วย 34คณะวิชา, 11ฝ่ าย และ 4 หน่วยงานไม่สังกดัฝ่าย โดยทุกหน่วยงานมีคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ระดบัหน่วย คิดเป็นร้อยละ 100 ท้งัน้ีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระดบัหน่วย ไดร้ับการอบรมสร้างความรู้ความเขา้ใจ รับการมอบหมายการดา เนินการ การรายงานผลการบริหาร


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ความเสี่ยงและการควบคุมภายในตลอดปีการศึกษาและจดัทา เล่มรายงานฉบบัสมบูรณ์ให้เป็นไปตามคู่มือการ บริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในประจ าปี การศึกษา 2565 2) ปี กำรศึกษำ 2565 มหำวิทยำลัยน ำกรอบมำตรฐำน COSO ERM 2017 มำใช้ส ำหรับกำรบริหำรควำม เสี่ยงระดับองค์กร โดยมีการดา เนินการตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่ต่อเนื่อง ดงัน้ี 2.1) กำรวิเครำะห์องค์กร โดยการวิเคราะห์สถานการณ์ภายในภายนอก ที่ทา ให้ตวัช้ีวดัความส าเร็จตาม แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 ไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ต้งัไว้ดา เนินการโดย การวิเคราะห์ขอ้มูลการติดตามผลการดา เนินงานตามตวัช้ีวดัความส าเร็จของมหาวิทยาลยัผลวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของมหาวิทยาลยั โดยผูเ้กี่ยวขอ้ง เช่น ฝ่ ายแผนและพัฒนา ส านักงานวางแผนและพัฒนา ส านักงาน ประกนัคุณภาพการศึกษา เป็นตน้ 2.2)กำรก ำหนดนโยบำยกำรบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยง โดยมีการกา หนดนโยบายและวตัถุประสงค์การ บริหารความเสี่ยงระดบัองค์กรในคู่มือการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในระดบัองคก์ร ปีการศึกษา 2565และนโยบายการยอมรับความเสี่ยงระดบัองคก์ร สา หรับความเสี่ยงดา้นต่างๆ ดงัต่อไปน้ี - ด้ำนกำรปฏิบัติงำน ผูบ้ริหารยอมรับความเสี่ยงระดบั ปานกลาง ในการปฏิบตัิงานทวั่ ไปขององค์กร และยอมรับความเสี่ยงระดบันอ้ย ในการปฏิบตัิงานมีผลกระทบกบัการให้บริการ ยอมรับความเสี่ยงระดับสูงใน การปฏิบตัิงานที่เกี่ยวขอ้งกบันวตักรรมและการพฒันา - ด้ำนภำพลักษณ์ขององค์กร ผบู้ริหารยอมรับความเสี่ยงระดบันอ้ย เกี่ยวกบัความเชื่อถือและภาพลกัษณ์ ขององคก์รอยา่งไรก็ตามผูบ้ริหารให้ความสา คญักบัภาพลกัษณ์ที่สะทอ้นประสิทธิภาพการดา เนินงานที่แทจ้ริง โดยไม่มีการบิดเบือน -ด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ ผู้บริหารปฏิเสธที่จะยอมรับความเสี่ยง ในเรื่องความปลอดภัยของระบบ สารสนเทศที่เกี่ยวขอ้งกบัขอ้มูลทางการเงิน บุคคลยอมรับความเสี่ยงระดบั ปานกลาง สา หรับระบบสารสนเทศที่ เกี่ยวขอ้งกบัเรื่องทวั่ ไป เช่น แบบความคิดเห็น และ ยอมรับความเสี่ยงระดับน้อย ส าหรับประสิทธิภาพของ ระบบสารสนเทศที่มีผลกระทบกบัการใหบ้ริการ 2.3)กำรระบุควำมเสี่ยง มหาวิทยาลัยด าเนินการการระบุความเสี่ยงจาก Universal risk ต่างๆ ครอบคลุม ท้ังประเภทความเสี่ยงด้านกลยุทธ์(เป้าหมายและการด าเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และการพัฒนา มหาวิทยาลัย), ด้านปฏิบัติการ(ครอบคลุมด้านบุคลากร กระบวนงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ด้านคุณธรรมจริยธรรม เป็ นต้น), ด้านการเงิน (จากรายงานบัญชีการเงิน และรายงานอื่นๆ ที่เกี่ยวขอ้ง)และดา้นกฎระเบียบ (ระเบียบ กฎหมายต่างๆ)โดยอาศยักระบวนการมีส่วนร่วมของผูบ้ริหารและ บุคลากรที่เกี่ยวขอ้ง ขอ้มูลที่เกี่ยวขอ้งและใช้เครื่องมือ Bow Tie Analysis ในการรวบรวมสาเหตุ (Root cause) ปัจจัยเสี่ยง (Risk Factor)ผลกระทบ (Impact) รายละเอียดดงัคู่มือฯ ไดผ้ลการระบุความเสี่ยงระดบัองคก์รในปี


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต การศึกษา 2565 ท้งัสิ้น 11 ปัจจยัเสี่ยงจา แนกเป็นดา้นต่างๆ ไดด้งัน้ีด้ำนกลยุทธ์(strategic risk)ไดแ้ก่S1 จ านวน เงินทุนสนบัสนุนงานวิจยัและ/หรืองานสร้างสรรค์(รวมท้งัภายในและภายนอก), S2 ทักษะภาษาอังกฤษของ นักศึกษาปริญญาตรีและเอก,S3 จา นวนอาจารยด์า รงตา แหน่งทางวชิาการมีนอ้ย, S4 การไม่บรรลุเป้าหมาย OKR ของมหาวิทยาลัยและ S5 สมรรถนะด้านนานาชาติของนักศึกษา ด้ำนกำรปฏิบัติกำร (operation risk)ไดแ้ก่O1 การพัฒนาระบบงานสารสนเทศที่รองรับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย, O2 แผนพัฒนาบุคลากรเป็ น รายบุคคลไม่บรรลุเป้าหมาย, O3 ความปลอดภยัของนักศึกษา บุคลากรและผูเ้กี่ยวข้อง, O4 ความเสี่ยงด้าน คุณธรรม จริยธรรมของนักศึกษา ด้ำนกำรเงิน/กำรรำยงำน (financial risk)ไดแ้ก่F1การรักษาสถานภาพทางการ เงินที่มนั่คง ด้ำนกำรก ำกับกำรปฏิบัติตำมกฎหมำย/กฎระเบียบ (compliance risk) ไดแ้ก่ C1 การด าเนินการเชิง พาณิชย์(ผลิตภณัฑแ์ละการใหบ้ริการต่างๆ) ท้งัน้ีสา หรับท้งั 11 ปัจจยัเสี่ยงดงักล่าวอาศยัการวเิคราะห์ความเสี่ยง ที่ครอบคลุมท้งัปัจจยัเสี่ยงภายในและปัจจัยเสี่ยงภายนอก จากน้ันทา การระบุผูร้ับผิดชอบความเสี่ยง (Risk Owner) สรุปความเสี่ยงและปัจจัยความเสี่ยง จ าแนกตามประเภทความเสี่ยง ได้ดังแผนภาพ 2.4) กำรประเมินควำมเสี่ยง เพื่อเป็ นการประเมินระดับความรุนแรงของความเสี่ยง และจัดล าดับความ เสี่ยง ส าหรับการกา หนดการตอบสนองความเสี่ยงตามปัจจยัความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม มหาวิทยาลยัได้ ดา เนินการวเิคราะห์และกา หนดระดบัเกณฑ์ระดบัโอกาสเกิดความเสี่ยง (Likelihood)และผลกระทบ (Impact) ที่ จะเกิดต่อองคก์รหากความเสี่ยงเกิดเป็นเหตุการณ์เสี่ยงข้ึน โดยแบ่งเป็น 5ระดับ และค านวณหาระดับความเสี่ยง (risk level) โดยใชค้่าผลคูณระหวา่ง ระดบั likelihoodกบัระดบั impactจากน้นักา หนด ลา ดบัความเสี่ยงจา แนก เป็นเฉดสีต่างๆตามความรุนแรงของความเสี่ยงหากเกิดข้ึน ดงัตารางต่อไปน้ี


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ล ำดับควำมเสี่ยงและแนวทำงในกำรตอบสนองต่อควำมเสี่ยงในระดับนั้น ๆ ล ำดับควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง แถบสี/ควำมรุนแรง ควำมหมำย สูงมาก 16-25 (แดง) สูงมาก ระดบัที่ไม่สามารถยอมรับได้จา เป็นตอ้งเร่ง จดัการความเสี่ยงใหอ้ยใู่นระดบัที่ยอมรับได้ สูง 10-15 (ส้ม) สูง ระดบัที่ไม่สามารถยอมรับได้จา เป็นตอ้งจดัการ ความเสี่ยงใหอ้ยใู่นระดบัที่ยอมรับได้ ปานกลาง 6-9 (เหลือง) ปานกลาง ระดบัที่พอยอมรับได้แต่ตอ้งมีการควบคุม เพื่อ ป้องกนัไม่ใหเ้กิดความเสี่ยง ต ่า 1-5 (เขียว) ต ่า ระดบัที่ยอมรับไดโ้ดยไม่ตอ้งควบคุมความเสี่ยง ไม่ตอ้งมีการจดัการเพิ่มเติม จากการประเมินโดยอาศยัขอ้มูลเป็นที่ผา่นมา พบวา่ ในช่วงต้นปี กำรศึกษำ ระดับความเสี่ยงของท้งั 11 ปัจจยัความเสี่ยงที่กา หนดมีระดบัความเสี่ยงเริ่มตน้ (inherent risk levelก่อนมีการควบคุมภายในใดๆ) สูง-สูง มาก เมื่อพิจารณาระดับความเสี่ยง residual risk level (ภายหลงัการควบคุมภายในที่มีอย)ู่พบวา่บางปัจจยัมีระดบั คงที่บางปัจจยัมีระดบัลดลงแต่ยงัคงอยูใ่นระดบัสูง-สูงมากโดยมีหลายปัจจยัที่มีระดบัความเสี่ยงเท่ากนัดงัน้นั ในการจัดล าดับความเสี่ยง จึงใช้เทคนิค MARCI chart ร่วมด้วยโดยใช้ค่าผลกระทบ * ค่าความอ่อนไหวของ ความเสี่ยง สามารถจัดล าดับความเสี่ยง ได้เป็ น 4ลา ดบัแสดงดงัตารางต่อไปน้ี ตำรำงแสดงผลกำรจัดล ำดับควำมเสี่ยงส ำหรับ 11 ปัจจัยเสี่ยงที่ก ำหนดให้ด ำเนินกำรทั้งองค์กร ประเภทควำม เสี่ยง Risk category ปัจจัยควำมเสี่ยง Risk factor ควำม ต่อเนื่องของ กำรจัดกำร ควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยงเป้ำหมำย(Risk Level) (โอกำสเกิดxผลกระทบ) *ควำม อ่อนไหว ต่อควำม เสี่ยง กำรจัดล ำดับควำม เสี่ยงโดย Marci chart (ควำมอ่อนไหวx ผลกระทบ) ผลกำร จัดล ำดับ ควำม เสี่ยง inherent Residual Risk Target Risk Strategy S1 จ านวนเงินทุนสนับสนุน งานวิจัย และ/หรืองาน สร้างสรรค์(รวมท้งัภายใน และภายนอก) ใหม่ 4x3 = 12 สูง 4x3 = 12 สูง 3x3= 9 ปาน กลาง 2 2x3 = 6 กา หนด มาตรการ จัดการความ เสี่ยง 4 Strategy S2 ทักษะภาษาอังกฤษของ นักศึกษาปริญญาตรีและเอก ปรับเพิ่ม 3x4= 12 สูง 3x4= 12 สูง 3x3= 9 ปาน กลาง 2 2x4 = 8 กา หนด มาตรการ จัดการความ เสี่ยง 3


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ประเภทควำม เสี่ยง Risk category ปัจจัยควำมเสี่ยง Risk factor ควำม ต่อเนื่องของ กำรจัดกำร ควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยงเป้ำหมำย(Risk Level) (โอกำสเกิดxผลกระทบ) *ควำม อ่อนไหว ต่อควำม เสี่ยง กำรจัดล ำดับควำม เสี่ยงโดย Marci chart (ควำมอ่อนไหวx ผลกระทบ) ผลกำร จัดล ำดับ ควำม เสี่ยง inherent Residual Risk Target Risk Strategy S3จ านวนอาจารย์ด ารง ตา แหน่งทางวชิาการมีนอ้ย ปรับเพิ่ม 5x4= 20 สูงมาก 5x3= 15 สูง 3x3= 9 ปาน กลาง 2 2x3 = 6 กา หนด มาตรการ จัดการความ เสี่ยง 4 Operation S4 การไม่บรรลุเป้าหมาย OKR ของมหาวิทยาลัย ปรับเพิ่ม 5x4 = 20 สูงมาก 4x4= 16 สูงมาก 3x3= 9 ปาน กลาง 2 2x4 = 8 กา หนด มาตรการ จัดการความ เสี่ยง 3 Strategy S5 สมรรถนะด้านนานาชาติ ของนักศึกษา (international competency for students) ใหม่ 5x5= 25 สูงมาก 5x5 = 25 สูงมาก 3x4 = 12 สูง 3 3x5 = 15 กา หนด มาตรการ จัดการความ เสี่ยง 1 Operation O1 การพัฒนาระบบงาน สารสนเทศที่รองรับแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัย ใหม่ 5x5 = 25 สูงมาก 4x4 = 16 สูงมาก 3x3= 9 ปาน กลาง 2 2x4 = 8 กา หนด มาตรการ จัดการความ เสี่ยง 3 Operation O2 แผนพัฒนาบุคลากรเป็ น รายบุคคลไมบ่รรลุเป้าหมาย ใหม่ 5x4 = 20 สูงมาก 5x3 = 15 สูง 3x2 = 6 ปาน กลาง 2 2x3 = 6 กา หนด มาตรการ จัดการความ เสี่ยง 4 Operation O3 ความปลอดภัยของ นักศึกษา บุคลากรและ ผเู้กี่ยวขอ้ง เดิม 5x3 = 15 สูง 4x3 = 12 สูง 3x2 = 6 ปาน กลาง 2 2x3 = 6 กา หนด มาตรการ 4


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ประเภทควำม เสี่ยง Risk category ปัจจัยควำมเสี่ยง Risk factor ควำม ต่อเนื่องของ กำรจัดกำร ควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยงเป้ำหมำย(Risk Level) (โอกำสเกิดxผลกระทบ) *ควำม อ่อนไหว ต่อควำม เสี่ยง กำรจัดล ำดับควำม เสี่ยงโดย Marci chart (ควำมอ่อนไหวx ผลกระทบ) ผลกำร จัดล ำดับ ควำม เสี่ยง inherent Residual Risk Target Risk จัดการความ เสี่ยง Operation O4 ความเสี่ยงด้านคุณธรรม จริยธรรมของนักศึกษา เดิม 5x4 = 20 สูงมาก 2x5 = 10 สูง 2x2 = 4 ต ่า 2 2x5 = 10 กา หนด มาตรการ จัดการความ เสี่ยง 2 Finance F1 การรักษาสถานภาพ ทางการเงินที่มนั่คง เดิม 5x5 = 25 สูงมาก 5x3 = 15 สูง 3x2 = 6 ปาน กลาง 2 2x3 = 6 กา หนด มาตรการ จัดการความ เสี่ยง 4 Compliance C1 การด าเนินการเชิง พาณิชย์ (ผลิตภัณฑ์และการ ใหบ้ริการต่าง ๆ) เดิม 3x5 = 15 สูง 2x5 = 10 สูง 2x4 = 8 ปาน กลาง 2 2x5 = 10 พิจารณา ผลกระทบที่ สะสม 2 มีขอ้ สังเกตวา่ ปัจจยัความเสี่ยงบางส่วนเป็นปัจจยัความเสี่ยงเดิม ที่เคยไดร้ับการจดัการความเสี่ยงจนอยู่ ในระดับที่ยอมรับได้ในปีการศึกษาที่ผ่านมา แต่ด้วยเหตุผล 1) เป็นปัจจัยความเสี่ยงที่มีกลุ่มเป้าหมาย เปลี่ยนแปลงไป เช่น ปัจจยัดา้นคุณธรรม จริยธรรมของนกัศึกษา 2) เป็ นปัจจัยความเสี่ยงที่มีความส าคัญ และมี ปัจจยัเสี่ยงภายนอกที่ไม่แน่นอน เช่น ความปลอดภยัในชีวิตและทรัพยส์ ิน 3) เป็ นปัจจัยความเสี่ยงที่เป้าหมาย ความส าเร็จที่เกี่ยวข้องเป็ นตัวชี้วัดควำมส ำเร็จต่อปี กำรศึกษำ จะไม่สามารถใช้ผลงานในปีที่ผ่านมาได้เช่น สถานภาพทางการเงินที่มนั่คง ทา ให้ตอ้งนา ปัจจยัเสี่ยงท้งัหมดเขา้กระบวนการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง ทุกปีการศึกษา หากพบว่าระดบัความเสี่ยง residual risk (หลังการควบคุมภายในที่มีอยู่) ยงัสูงเกินยอมรับได้ ปัจจยัเสี่ยงเหล่าน้ีก็จะถูกนา มาบริหารจดัการความเสี่ยงในปีการศึกษาน้ีโดยการวเิคราะห์ในส่วนของปัจจยัความ เสี่ยงที่ผ่านมาน้ัน ผูร้ับผิดชอบความเสี่ยง ระดบัมหาวิทยาลยัจะอาศยัขอ้มูลผลการจดัการความเสี่ยงท้งัแบบ จ าแนกตามรายคณะวิชาและระดับมหาวิทยาลัยที่ประมวลผลสะสมในระยะ 5 ปี ประกอบด้วย 2.5) กำรตอบสนองควำมเสี่ยง เพื่อใหเ้กิดความเชื่อมนั่วา่ระดบัความเสี่ยงจะอยใู่นระดบัที่ยอมรับได้คือ นอ้ยกวา่ 10 มหาวิทยาลัยใช้กลยุทธ์ 4T ในการจัดการความเสี่ยง คือ Take, Treat, Transfer, Terminate โดยส่วน


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ใหญ่เป็นการ Treat โดยจะมีการกา หนดและดา เนินการตามมาตรการควบคุมภายในที่มีอยู่และจดัทา แผนจดัการ ความเสี่ยง (มาตรการเพิ่มเติม) ดงัต่อไปน้ี ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) S1 จ านวนเงินทุน สนับสนุนงานวิจัย และ/ หรืองานสร้างสรรค์ (รวมท้งัภายในและ ภายนอก) 1) เชิญนักวิจัยที่มีประสบการณ์มาพูดคุยเรื่องระบบ ขอทุนภายนอก 2) การสนับสนุนทุนวิจัยภายใน (องค์ความรู้/การ เรียนการสอน/พัฒนานวัตกรรม/วิจัยสถาบัน/ทุนวิจัย ร่วมระหวา่ง ม.รังสิตกบั สสส) 1) มีการประชาสัมพันธ์เรื่องทุนสนับสนุน ภายนอก ท้งัในรูปแบบอีเมล/ facebook / เว็บไซต์สถาบันวิจัย 2) แจ้งข้อมูลยอดทุนวิจัยให้คณะ/วิทยาลัย/ สถาบันทราบ เพื่อเตรียมในการขอรับทุน สนบัสนุนใหท้นักา หนดการรับสมคัรทุน 3) การจัดอบรมการขอทุนวิจัยภายนอก โดย วิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ 4) จัดอบรมการขอทุนวิจัยภายใน เพื่อให้ นักวิจัย เข้าใจระบบการด าเนินงาน S2 ทักษะภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาปริญญาตรี และเอก 1) โครงการจัดอบรมการวิจัยเพื่อพัฒนาข้อสอบ มาตรฐาน อิงตามกรอบมาตรฐาน CEFR แต่งต้งั คณะกรรมการศึกษาวิจัย วิเคราะห์ และพัฒนา ข้อสอบ RSU2-Test อิงตามกรอบ CEFR 2)โครงการพัฒนาภาษาอังกฤษ (Intensive English) ระดับปริญญาโท และปริญญาเอก 3)โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ดว้ยตนเอง (SelfAccess Learning) โดยใช้เทคโนโลยีจัดการเรียนรู้ (Learning Management System (LMS) 4) ปรับปรุงเว็บไซต์และ Facebook ของสถาบัน ภาษาองักฤษเพื่อเพิ่มพ้ืนที่ใหน้กัศึกษาแสดงผลงาน ของตน 5) โครงการการสอนแบบออนไลน์และแบบ ผสมผสานรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย (Blended learning) ในรายวชิาภาษาองักฤษพ้ืนฐาน ระดบั ปริญญาตรี 6) หลักสูตรแบบเน้นสมรรถนะ (Competencybased curriculum) ส าหรับรายวิชาภาษาอังกฤษ เฉพาะทางวิชาชีพ (English for Specific Purposes) 1) ตีพิมพ์งานวิจัยพัฒนาข้อสอบมาตรฐาน 2) ด าเนินงานวิจัยการ benchmarking ตาม กรอบมาตรฐาน CEFR 3)วางแผนกา หนดการเก็บขอ้มูลเพื่อวดัผล เปรียบเทียบ pre post ส าหรับป.ตรีในปี การศึกษาต่อไป 4) การจ าแนกนักศึกษาแรกเข้าตามกรอบ สมรรถนะทางภาษา เทียบเท่า CEFR โดยใช้ RSU2 Test ระดับปริญญาตรี 5)จดัหลกัสูตรภาษาองักฤษปรับพ้ืนฐาน (English Bridging) ส าหรับนักศึกษาที่มี คะแนนทดสอบทกัษะภาษาองักฤษต่า กวา่ เกณฑท์ ี่มหาวทิยาลยักา หนด 6) เพิ่มสมรรถนะภาษาองักฤษนกัศึกษา ปริญญาเอก โดยให้เรียน ENG601 และ Intensive English Course (60 ชวั่โมง)และมี ผลผา่นการประเมินของรายวชิาเทียบเท่า เกณฑ์มาตรฐาน CEFR ระดับ C1


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) 7)กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้นอกช้นัเรียน ไดแ้ก่ การบรรยายและแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกบัการเรียน ภาษาองักฤษโดยวทิยากรในอาชีพต่าง ๆ อาทิแพทย์ อาจารย์ ในงาน English with Professionals 8) โครงการพัฒนาการสอนของอาจารย์สอน ภาษาอังกฤษ Teach less to learn more, outcome-based learning, blended learning and flipped classroom, outcome and competency-based classroom, พัฒนา ครูในดวงใจ 9) โครงการพัฒนาทักษะการสอนโดยใช้ ภาษาอังกฤษ English Medium of Instruction 10) ใช้หลักสูตรแบบเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome-based curriculum) ส าหรับรายวิชา ภาษาองักฤษในหมวดวชิาศึกษาทวั่ ไป -ระดับบัณฑิตศึกษา ใช้หลักสูตรแบบเน้นสมรรถนะ (Competencybased curriculum) 7) มีการอัดเทป VDO เพื่อเปรียบเทียบการ พัฒนา pre- post (ส าหรับนักศึกษาระดับป. เอก) 8) วัดผลสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษโดย authentic professional test 9)การเก็บขอ้มูลเพื่อตีพิมพง์านวจิยัพฒันาการ เรียนการสอน/แบบวัดผลสมรรถนะ ภาษาอังกฤษส าหรับระดับปริญญาเอก 10) self-directed learning, e portfolio 11)กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาองักฤษ นอกช้นัเรียนในรูปแบบ ออนไลน์ไดแ้ก่การประกวดคลิปวดิีโอ (Vlog) ภาษาอังกฤษ และการประกวดคลิป วดิีโอรายงานข่าวภาษาองักฤษ (Local Reporters) 12) ใช้รูปแบบการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experiential learning) ในโครงการเพื่อสังคม และชุมชนรอบ มหาวิทยาลัยรังสิต (Corporate Social Responsibility) 13) เปิ ดสอนหลักสูตร ENG128 ENG conference presentation ส าหรับนักศึกษา ปริญญาตรี 14)ร่วมมือกบัว.แพทยศ์าสตร์blend international ENG เข้าหลักสูตร 15) กบัว.ทนัตแพทยฯ์ ในการสอนวชิาศึกษา ทวั่ ไปเป็นภาษาองักฤษ 16) โครงการ action researchร่วมกบัวทิยาลยั ครูสุริยเทพ อยา่งนอ้ย1เรื่องตีพมิพ์ 17) โครงการ professional learning community (KM)ส าหรับอาจารย์ภายในและ ภายนอกสถาบัน


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) 18) โครงการ professional learning community ส าหรับอาจารย์มีศักยภาพ/ ภาระ งานสอนไม่เพียงพอ 19)จดัแผนการศึกษารายบุคคลใหก้บั นกัศึกษาที่มีคะแนนงานชิ้นแรกในวชิา ภาษาองักฤษต่า กวา่ 50% อยา่งนอ้ย2 คน/ปี การศึกษา 20) ระดับปริญญาตรีใช้โครงการอบรม ภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR ส าหรับ คณะวชิาต่าง ๆ 21) จัดสอบวัดสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ ระดับปริญญาตรีด้วย standardized test; RSU2 test 22) จัดสอบวัดสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ ระดับปริญญาเอก ด้วย authentic professional test S3 จ านวนอาจารย์ด ารง ตา แหน่งทางวชิาการมี น้อย 1)จดัสมัมนาเกณฑใ์นการขอตา แหน่งทางวชิาการ 2) จดัทา ขอ้มูลออนไลน์ในการขอตา แหน่งทาง วิชาการ 3) การสนับสนุนการตีพิมพ์บทความในวารสารที่ ปรากฏในฐานข้อมูลนานาชาติ 4)การรับอาจารยใ์หม่พิจารณาจากผทู้ี่มีตา แหน่งทาง วิชาการ 1)จดัทา แผนพฒันารายบุคคลในการเขา้สู่ ตา แหน่งทางวชิาการ 2) รายงานผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนา รายบุคคลอยา่งต่อเนื่อง 3) การจัดท า Knowledge Management การเข้า สู่ตา แหน่งทางวชิาการ 4)การรับอาจารยใ์หม่พิจารณาจากผทู้ี่มี ตา แหน่งทางวชิาการเป็นอนัดบัแรก 5)การรับอาจารยใ์หม่พิจารณาจากการมี ผลงานวจิยัหรือผลงานทางวชิาการที่จะเขา้สู่ ตา แหน่งทางวชิาการ S4 การไม่บรรลุเป้าหมาย OKR ของมหาวิทยาลัย 1) ด าเนินการติดตามการด าเนินงานตามแผนของ คณะวชิาเป็นระยะอยา่งตอ่เนื่องโดยการส่งบนัทึก ขอ้ความ พร้อมผลการดา เนินงานไปยงัแต่ละคณะ วิชา 1)จดัประชุมติดตามความกา้วหนา้การ ด าเนินงานตามแผนแบบ focus group ร่วมกบั คณะวชิาเป้าหมายและร่วมกนักา หนดแนว ทางการพัฒนา เป็ นระยะ/หรือใช้แนวทางอื่น ที่เหมาะสมแลว้แต่กรณี


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) 2) ด าเนินการติดตามการด าเนินงานตามแผนของ คณะวชิาเป็นระยะอยา่งตอ่เนื่องโดยการส่งบนัทึก ข้อความ พร้อมผลการดา เนินงานไปยงัแต่ละ หน่วยงานหลกั 3) ดา เนินการวเิคราะห์ขอ้มูลสารสนเทศที่เกี่ยวขอ้ง ในการประเมินความสา เร็จตามเป้าหมายของตวัช้ีวดั ต่าง ๆ เช่น ขอ้มูลการสอบผา่นเกณฑภ์าษาองักฤษ ของนักศึกษา ปริญญาโท และเอก 2)กา หนดใหค้ณะวชิาจดัทา แผนจดัการความ เสี่ยง โดยการจัดท า improvement plan ส าหรับ OKR ระดบัคณะที่ไม่เป็นไปตาม เป้าหมาย 3) มีการติดตามผลในระยะกลางปี และปลายปี 4)จดัประชุมติดตามความกา้วหนา้การ ด าเนินงานตามแผนแบบ focus group ร่วมกบั หน่วยงานหลกัที่รับผิดชอบเป้าหมาย OKR และร่วมกนักา หนดแนวทางการพฒันาเป็น ระยะ/หรือใชแ้นวทางอื่นที่เหมาะสมแลว้แต่ กรณี 5) ประสานงาน ประชุมร่วมกบัหน่วยงาน หลกัที่รับผิดชอบตวัช้ีวดัใหด้า เนินการ ทบทวนแนวทางการได้มาซึ่งข้อมูล สารสนเทศ/การคา นวณ ใหส้อดคลอ้งกบั ความเปลี่ยนแปลง S5 สมรรถนะด้าน นานาชาติของนักศึกษา 1) จัดท าระบบ E – portfolio 2) คณะวชิาจดั/สนบัสนุนใหน้กัศึกษาเขา้สู่กิจกรรม ความเป็ นนานาชาติท้งัที่เป็นโครงการ/กิจกรรมของ มหาวทิยาลยัและส่วนตวัของนกัศึกษา 3) การพฒันาภาษาองักฤษในรายวชิาพ้ืนฐาน และ การสอบภาษาองักฤษก่อนจบการศึกษาในรายวชิา ภาษาอังกฤษ (เทียบเคียง CEFR) 4) การพัฒนาใช้ภาษาอังกฤษในรายวิชาในหลักสูตร ของคณะวิชา 1) ศึกษาแนวทางการติดตามประเมินผล Eport folio ที่เหมาะสม 2) ปรับปรุงระบบ E portfolio ใหเ้หมาะสมต่อ การติดตาม 3)กา หนดการจดัทา port folio เป็ น lesson assignment ในรายวิชาภาษาอังกฤษ 4) Gen Ed และ RELI กา หนด/ดา เนินการ กิจกรรมที่เป็นนานาชาติใหน้กัศึกษาเขา้ร่วม กิจกรรมในรายวชิา Gen Ed และ ENG (ในปี 1-2 เป็ น 150-300 ชวั่โมง) 5)คณะวชิากา หนดรายวชิาที่มีการบูรณาการ กิจกรรมทางวชิาการที่เป็นนานาชาติสา หรับ นักศึกษา (interaction between Thai and nonThai, study aboard at RSU) โดยเริ่มตน้ ใหแ้ต่ ละหลักสูตร identify รายวชิา ช้นั ปีละ1วิชา


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) และติดตาม พฒันาขยายผลต่อไป (ในปี3-4- 5-6 เป็ น 150-300 ชวั่โมง) 6)ฝ่ายการต่างประเทศกา หนด/สนบัสนุนการ ดา เนินการดา้นนานาชาติเช่น การหา มหาวิทยาลัยพันธมิตรที่สามารถ match รายวิชาได้ 7) ศึกษาและกา หนดเกณฑระดับการยอมรับ ์ ในด้านความเป็ นสากลและระดับเป้าหมาย O1 การพัฒนาระบบงาน สารสนเทศที่รองรับแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัย 1) มีคณะกรรมการ DPO ที่มีตัวแทนจากคณะวิชา 2) มีคณะท างานด้านข้อมูล จ านวน 6กลุ่มขอ้มูล 3) มี core system เดิมอยู่ 1) การจัดหาระบบสารสนเทศที่รองรับ PDPA และการพฒันาต่อยอดระบบ 2) ปรับปรุงระบบเดิมและพฒันาระบบใหม่ เป็ นระยะ ๆในลักษณะ jigsaw ให้รองรับการ ใช้งานตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัย (โดยเรียงล าดับความส าคัญ บาง ระบบใชก้ารจดัซ้ือจัดจ้าง (outsource) บาง ระบบใช้การพัฒนาเองจาก core system เดิม) 3) พัฒนาด้านการเชื่อมโยงข้อมูล ด้วย เทคโนโลยีที่เหมาะสม 4) ดา เนินการเชื่อมโยงระบบขอ้มลูที่เกี่ยวขอ้ง เท่าที่จา เป็น โดยมีมาตรการตรวจสอบกา กบั ดูแลเพื่อไม่ใหม้ีประเด็นดา้นกฎหมายกบั เจ้าของข้อมูลและรองรับความต้องการของ อว.ได้ 5) สทส.จดัทา ขอ้กา หนดทางดา้นเทคโนโลยี สารสนเทศ และมาตรการตรวจสอบ ส าหรับ หน่วยงาน/คณะวชิาที่ตอ้งการพฒันาระบบ เทคโนโลยีเอง เพื่อให้ระบบรองรับการ เชื่อมโยงในระดับองค์กร 6)คณะวชิา/หน่วยงานที่ประสงคพ์ฒันาระบบ เทคโนโลยีเอง ด าเนินการตามข้อกา หนดและ ตอ้งผา่นการรับรองตามมาตรการเพื่อให้ ระบบรองรับการเชื่อมโยงในระดับองค์กร


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) 7) มีการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี ที่ กา หนดเป้าหมายความสา เร็จที่ผา่นการ วเิคราะห์ความเสี่ยงดา้นเวลาและกา ลงัคน ที่ ผา่นความเห็นชอบจากรองอธิการบดีฝ่าย วางแผนฯ แล้ว 8) มีการปรับเพิ่มมาตรการใหเ้หมาะสมหากมี งานจา เป็นเร่งด่วนแทรกเขา้มาและส่งผลต่อ ความส าเร็จตามแผนปฏิบัติการประจ าปี O2 แผนพัฒนาบุคลากร เป็นรายบุคคลไม่บรรลุ เป้าหมาย 1) มีการประสานส่งขอ้มูลที่เกี่ยวขอ้งเพื่อการ ด าเนินงาน/การติดตามผลการพัฒนาตามแผน IDP ใหแ้ก่ทุกหน่วยงาน 2) มีการจัดท าสื่อประสมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ เผยแพร่แก่ประชาคมมหาวทิยาลยั 1) จัดเวทีการน าเสนอแผนการพัฒนา หน่วยงาน/คณะวชิาที่ตอบสนองต่อเป้าหมาย แผนพัฒนามหาวิทยาลัย ที่ครอบคลุมการ พัฒนาบุคลากรเป็ นรายบุคคลโดยผู้บริหาร หน่วยงาน 2) จัดท างานวิจัยประเมินผลการพัฒนา บุคลากรที่สอดคลอ้งกบัสมรรถนะและผลต่อ การพฒันาหน่วยงาน/คณะวชิาตามเป้าหมาย ของมหาวิทยาลัย 3) จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการแบบเฉพาะ กลุ่มเพื่อสร้างความรู้ความเขา้ใจ O3 ความปลอดภัยของ นักศึกษา บุคลากรและ ผเู้กี่ยวขอ้ง 1) มาตรการการบังคับใช้ และการด าเนินการตาม ระเบียบการรักษาความปลอดภัย และการจราจร ภายในมหาวทิยาลยัรังสิตอยา่งตอ่เนื่อง 2)จดักา ลงัเจา้หนา้ที่จราจรดูแลความปลอดภยั จดัการจราจรเพิ่มมาตรการบงัคบัใชแ้ละดา เนินการ ตามระเบียบอยา่งต่อเนื่องและรณรงคใ์หข้บัขี่ ปลอดภัย 3) ติดต้งัระบบกลอ้งวงจรปิดโทรทศน์ ( ั CCTV) 4) มีการประชาสัมพันธ์ถึงหลักเกณฑ์การปฏิบัติของ นักศึกษา บุคลากร 5) มีการประสานงานร่วมกนักบัตา รวจ สภ.ปาก คลองรังสิตออกตรวจรอบมหาวิทยาลัยรังสิต และ อื่น ๆ ตามสถานการณ์ 1)รณรงคด์า้นการป้องกนัอบุตัิเหตุและการใช้ รถ ถนนที่ปลอดภยัเช่น โครงการรณรงคก์าร ใส่หมวกกนัน็อค 2) จัดโครงการฝึ กอบรมเตรียมพร้อมซ้อมแผน เผชิญเหตุกรณีเกิดเหตุการณ์อยา่งรวดเร็วและ วธิีป้องกนัการก่อเหตุ 3)จดัใหม้ีสายด่วนรับแจง้เหตดุ่วน เหตุร้าย โดยมีการเผยแพร่ขอ้มูลประชาสมัพนัธ์ผา่น โปสเตอร์ facebook ตามจุดอับ จุดเสี่ยง line official และ Traffy fondue โดยมีเจ้าหน้าที่รับ แจง้ตลอด 24 ชวั่โมง 4) เพิ่มวงรอบในการตรวจตราความเรียบร้อย ของเจา้หนา้ที่หากประเมินวา่จะมีปัจจยัความ


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) 6) มีการทา สญัญาต่างๆ ที่รัดกมุเสี่ยงจากภายนอกเกิดข้ึน หรือมีการจดังานที่มี คนเขา้ร่วมจา นวนมาก 5) จัดท าระบบ big data ส าหรับแชร์ข้อมูล/ การจดัทา แพลทฟอร์มในการแจง้ล่วงหนา้ 6) ฝ่ ายพัฒนาสังคมศิลปวัฒนธรรมและสิทธิ ประโยชน์จดัส่งรายชื่อและเบอร์ผเู้กี่ยวขอ้ง ใหแ้ก่ตร.ม. เพื่อใชต้ิดตามไดอ้ยา่งมี ประสิทธิภาพเมื่อเกิดเหตุ 7) กา หนดใหทุ้กหน่วยงานจดัส่งแบบฟอร์ม ส าหรับบุคคลภายนอกที่เข้ามาท างานชวั่คราว ใน มรส. ส่งให้ตรม ทราบ 8) พฒันาเป็นระบบออนไลน์ต่อไป O4 ความเสี่ยงด้าน คุณธรรม จริยธรรมของ นักศึกษา 1)รณรงคใ์หน้กัศึกษาตระหนกัรู้ผา่นสื่อต่างๆ 2)ขอความร่วมมือวทิยาลยั/คณะ/สถาบนัเพื่อ ประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาทราบและปฏิบัติตาม กฎหมาย 3) มีประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่อง วินัยนักศึกษา พ.ศ.2565 4) มีการสร้างแกนน านักศึกษาและบุคลากรเพื่อขอ ความร่วมมือในการดูแลนกัศึกษา 5)ขอความร่วมมือวทิยาลยั/คณะ/สถาบนัเพื่อ ประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาทราบและปฏิบัติตาม ประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่องวินัยนักศึกษา พ.ศ. 2565 6) มีประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่องหลักเกณฑ์ ปฏิบัติของนักศึกษาในการสอบ 7) ประชาสมัพนัธ์และรณรงค์ผา่นเวบ็ไซต์ฝ่าย พฒันาวนิยันกัศึกษา สา นกังานกิจการนกัศึกษา มหาวทิยาลยัรังสิต และสื่อสิ่งพิมพต์ ่างๆ 8)ขอความร่วมมือวทิยาลยั/คณะ/สถาบนัเพื่อ ประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาทราบและปฏิบัติตาม ประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่องหลักเกณฑ์ปฏิบัติ 1) ต้งัศูนยร์ับเรื่องร้องเรียนและรับแจง้ เหตุการณ์กระท าผิด พรบ. คอมพิวเตอร์และ ผิดกฎหมาย 2) โครงการ “เครือข่ายหอพกัปลอดภยั ห่างไกลยาเสพติด”ครอบคลุมท้งัหอพกั ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยที่เป็ น เครือข่าย 3)โครงการป้องกนัและแกป้ัญหายาเสพติด 4) โครงการ “ประกวดสื่อสร้างสรรค์ หัวข้อ “อาชญากรรม ป้องกนัได” ้ โดยมีการอบรม โดยวิทยากรด้านอาชญาวิทยา และด้าน ศิลปกรรมการออกแบบสื่อ 5) มีการประชุมเพื่อขอความร่วมมือกรรมการ คุมสอบในการตรวจสอบและแจ้งนักศึกษา ก่อนทา การสอบ 6) โครงการ “ปรับปรุงป้ายห้ามสูบบุหรี่และ ป้ายเขตสูบบุหรี่” 7) โครงการ “ห่วงใยสุขภาพ ลด ละเลิก บุหรี่ ในมหาวิทยาลัย (พี่วินัยดูแลน้อง)”


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) ของนักศึกษาในการสอบ และเรื่องระเบียบ ปฏิบัติ ส าหรับกรรมการคุมสอบ 9) บังคับใช้ประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่องวินัย นกัศึกษา พ.ศ.2565อยา่งเคร่งครัด 10)ขอความร่วมมือจากวทิยาลยั ,คณะ,สถาบัน เพื่อ ประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาทราบและปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ 11) สนบัสนุนโครงการนกัศึกษาทา งานระหวา่ง เรียนและจิตอาสาที่เป็ นประโยชน์ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 12) ใช้สื่อประชาสัมพันธ์ทาง Social Network เพื่อ สร้างจิตส านึกด้านคุณธรรม จริยธรรมให้บุคลากร นักศึกษา 13)คณะวชิามีการกา หนดคุณลกัษณะของบณัฑิตที่ พึงประสงค์ตามกรอบ TQF และมีการติดตาม ผลสมัฤทธ์ิใหเ้ป็นไปตามที่กา หนด 14) มีประกาศฝ่ายกิจการนกัศึกษา เรื่องแนวทางการ ปฏิบตัิในการจดักิจกรรมรับนอ้งใหม่และการ ประชุมเชียร์ 15) มีคู่มือนอ้งใหม่มหาวทิยาลยัรังสิต 16) มีการอบรม Staff และประชุมช้ีแจงอาจารย์ เจ้าหน้าที่และนักศึกษา เรื่องแนวทางปฏิบัติในการ ดา เนินกิจกรรมรับนอ้งใหม่และการประชุมเชียร์ 17) มีการจดัอาจารยแ์ละเจา้หนา้ที่ค่อยกา กบัดูแล กิจกรรมรับนอ้งใหม่และการประชุมเชียร์ 18) มีการขอความร่วมมือวทิยาลยั/คณะ/สถาบนั และหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้งในการกา กบัดูแลการจดั กิจกรรมของนกัศึกษา 19) มีประกาศและมาตรการเกี่ยวกบัมาตรฐาน/ขอ้ ปฏิบัติด้านคุณธรรม จริยธรรม ของนักศึกษา 20) ใช้สื่อประชาสัมพันธ์ทาง Social Network เพื่อ สร้างจิตส านึกด้านคุณธรรม จริยธรรมให้นักศึกษา 8) แจ้งวิทยาลัย/คณะ/สถาบัน ที่นักศึกษาจัด รับนอ้งเกินเวลา ใหก้า กบัดูแลใหน้กัศึกษา ปฏิบตัิตามประกาศการรับนอ้งอยา่งเคร่งครัด 9)ขอความร่วมมือใหว้ทิยาลยั/คณะ/สถาบนั กา กบัดูแลและกา ชบัไม่ใหน้กัศึกษาจดั กิจกรรมรับนอ้งภายนอกมหาวทิยาลยัหรือไป ต่างจงัหวดั 10) ปรับเปลี่ยนรูปแบบการจดักิจกรรมรับ นอ้ง ใหส้ ่งเสริมความรักความผกูพนักบั สถาบนัยงิ่ข้ึน 11) สร้างเครือข่ายนกัศึกษาและบุคลากรใน การสอดส่องดูแลและแจง้เหตุ 12) มีมาตรการลงโทษทางวนิยันกัศึกษาที่ไม่ ปฏิบตัิตามประกาศระเบียบอยา่งเคร่งครัด 13) เพิ่มความสา คญั ในการส่งเสริม สนบัสนุน ให้นักศึกษารับทราบและปฏิบัติตามประกาศ และมาตรการเกี่ยวกบัมาตรฐาน/ขอ้ปฏิบตัิ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ของนักศึกษา 14) มีนโยบายส่งเสริม สนบัสนุน เชิดชูเกียรติ ใหก้บันกัศึกษาที่มีคุณธรรม จริยธรรมเป็ น แบบอยา่งที่ดี


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) ทุนกิจกรรมนอกหลักสูตร นักศึกษาชมรม และ สโมสรนักศึกษา 21) ต้งัศูนยร์ับเรื่องร้องเรียนและรับแจง้เหตุการณ์ กระท าผิด พรบ. คอมพิวเตอร์และผิดกฎหมาย 22) ประสานงานกบัหน่วยงานท้งัภายในและ ภายนอก เพื่อแจ้งเหตุ F1 การรักษาสถานภาพ ทางการเงินที่มนั่คง 1)ลดงบประมาณภาระงานสอนเกินที่ไม่จา เป็น 2) ทา การศึกษาตน้ทุนของหลกัสูตรต่างๆ โดยเฉพาะ คณะที่เปิดใหม่คณะกรรมการพิจารณาหลกัสูตร 3) หากรายรับไม่สมดุลรายจ่ายติดต่อกนั3 ปีควร พิจารณาปรับหลักสูตรเป็ นแขนงวิชาในหลักสูตรที่ สอดคล้องกบัวชิาการ 4)จดัต้งัคณะทา งาน และประสานงานกบัคณะที่ เกี่ยวขอ้งโดยหารือร่วมกบัฝ่ายวชิาการศึกษาและ วเิคราะห์ตน้ทุนของแต่ละหลกัสูตร 5)ควบคุมการเปิดหลกัสูตรโดยผา่นการพิจารณา ตามระเบียบอยา่งเคร่งครัด และสอด คลอ้งกบั รายรับของคณะ 6)ควบคุมการใชจ้่ายงบประมาณใหถู้กต้องตาม วัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพมากที่สุด 7) สรุปรายรับ-รายจ่ายที่เกิดข้ึนจริงทุกภาคการศึกษา เพื่อประกอบการพจิารณาการใชจ้่ายงบประมาณ ส่วนที่เหลือของมหาวทิยาลยั 8)วางแผนการใชง้บประมาณใหส้อดคลอ้งกบั งบประมาณที่ไดร้ับจดัสรรโดยจดัสรรรายจ่าย ประจ าเรื่องที่มีความจา เป็น และรายจ่ายโครงการที่ สอดคล้องตามแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัย 9)การก่อสร้างและปรับปรุงอาคารเกินงบประมาณ ตอ้งขออนุมตัิตามข้นัตอน พร้อมช้ีแจงเหตุผล 10) ตรวจสอบการใชจ้่ายงบประมาณใหเ้ป็นไปตาม วตัถุประสงคก์ารใชจ้่ายงบประมาณก่อนอนุมตัิให้ เบิกจ่าย 1) เพิ่มมาตรการประหยดั/การสร้างจิตสา นึก โดยเฉพาะรายจ่ายจากสาธารณูปโภคส่วนรวม 2) คณะวิชาด าเนินการเพื่อให้การรับ นศ.ใหม่ เป็ นไปตามเป้าการรับนักศึกษาที่เหมาะสมที่ ได้รับการเห็นชอบจากอธิการบดี 3)ฝ่ายแผนและพฒันาร่วมกบัผเู้กี่ยวขอ้ง พัฒนาระบบการรับนักศึกษาแบบ one stop service 4) ฝ่ ายวิชาการมีการพัฒนาหลักสูตรที่เป็ นที่ ตอ้งการของสงัคมอยา่งต่อเนื่อง 5)คณะวชิาที่มีหน่วยบริการเชิงพาณิชย์ (business unit) ต้งัเป้าหมายเชิงพาณิชยแ์ละ พฒันาแผนธุรกิจการใหบ้ริการเชิงพาณิชย์ หน่วยงานที่มีวตัถปุระสงคก์ารจดัต้งัเป็น หน่วยแสวงหารายได้ (profit center) ต้งัเป้าหมายเชิงพาณิชยแ์ละพฒันาแผนธุรกิจ การให้บริการเชิงพาณิชย์ 6)การบริหารลูกหน้ีของมหาวทิยาลยั


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) 11) มีการปรับปรุงงบประมาณระหวา่งกาลให้ สอดคลอ้งกบัรายรับจริงของแต่ละหน่วยงาน (ผอ. งบประมาณ) 12) มีมาตรการจดัเก็บรายไดใ้หไ้ดต้ามเป้าหมายที่ วางไว้โดยช่วยจดัหาแหล่งเงินทุนจากภายนอกและ ใหผ้อ่นชา ระกบัสถาบนัการเงิน รวมถึงอา นวยความ สะดวก โดยน าเทคโนโลยีมาใช้เพื่อให้ช าระเงินได้ รวดเร็วข้ึน เช่น การเตือนใหช้า ระเงินทางSMS การ สอบถามยอดค้างช าระบนเว็บไซต์ พัฒนาระบบการ รับช าระเงินที่โอนเข้าบัญชีของมหาวิทยาลัยรังสิต โดยตรง (ผอ.การเงิน) 13) มีการกา หนดเกณฑท์ ี่ชดัเจนและไดร้ับการ ยอมรับ โดยกลไกอนุกรรมการงบประมาณพิจารณา งบประมาณในกา หนดงบประมาณรายจ่ายของ หน่วยงาน/คณะวชิา 14)การกา หนดแนวทางคา นวณรายรับ และการ อนุมตัิงบประมาณของคณะวชิา/หน่วยงาน เพื่อใหม้ี ความเป็ นปัจจุบันสามารถใช้ในการติดตาม สถานภาพทางการเงินที่เหมาะสมสะท้อนความเป็ น จริง รวมถึงมีการทบทวนในระดับรายวิชาจนถึง ระดบักลุ่มเรียน (section) ให้เกิดความเหมาะสม ใน ปี การศึกษา 2564และประกาศใช้ 15) ในระดบัคณะวชิารายจ่ายคิดตามสาขา (แต่ขาด การปันส่วนตน้ทุนที่แทจ้ริง เช่น เงินเดือน)แต่ รายรับคิดรวมเป็ นระดับคณะ 16) มีการทบทวน ใหม้ีการตกลงการปันส่วนตน้ทุน โดยตอ้งสอดคลอ้งกบัการทา งานดา้นการประกนั คุณภาพการศึกษาเป็นเบ้ืองตน้ 17) จัดท ารายงานงบการเงินให้เป็ นไปตามมาตรฐาน การบญัชีที่ไดป้รับปรุงใหม่ๆ ใหม้ีความถูกตอ้งและ เป็นที่ยอมรับของทาง สกอ.และหน่วยงานที่ เกี่ยวขอ้ง


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) 18) ทา การคา นวณตามเกณฑส์ดัส่วนที่ถูกกา หนด ขา้งตน้ (ท้งัน้ีในสา หรับ KRI กา หนด ณ สิ้นสุด วันที่ 31 พ.ค. ครอบคลุม ภาค S 12โดยรายรับเป็ น ขอ้มูลจากบญัชีรายจ่ายเป็นขอ้มลูจากงบประมาณ) 19) มีระบบการผอ่นชา ระออนไลน์โดยมีการ ประสานกบัสา นกังานงบประมาณ แต่ยงัมีเคสที่ไม่ ปฏิบตัิตามระเบียบปฏิบตัิกา หนดเป็นมาตรการ จดัการความเสี่ยงดา้นขอความร่วมมือกบัทุกคณะ วิชา 20) คณะวชิากา หนดเป้าการรับนกัศึกษาที่เหมาะสม และดา เนินการรับนกัศึกษาใหม่ตามระบบงาน 21)การแสวงหาแหล่งทุนที่มีขอ้ตกลงที่ดี 22)ระเบียบ/กฎเกณฑก์ารจ่ายเงินอยา่งเหมาะสมกบั สถานการณ์ท้งัน้ีมีแนวปฏิบตัิเกี่ยวกบัวงเงินการ หมุนเวยีนข้นัต่า เพื่อรักษาสภาพคล่องอยา่ง เหมาะสม 23)จดัทา แผนการจ่ายเงินและแนวโนม้ในอนาคต เช่น การทา cash flow 24) มาตรการลดรายการรับ-จ่ายดว้ยเงินสด 25) สนบัสนุนใหเ้กิดสภาพคล่องทางการเงิน เช่น กา หนดตารางเวลารับและจ่ายเงินที่แน่นอน 26)จดัทา รายงานทางการเงินระยะส้นั-ยาว (ราย สัปดาห์-รายปี) เช่น ตารางกระแสเงินสดควบคุม ร่วมกนั (Cashflow Controllers) ท าให้ได้ตัวเลขที่ เป็ น real time 27) ปรับลดงานเร่งด่วนใหน้อ้ยลงเพื่อการพิจารณา ความถูกตอ้งของเอกสารการเบิกจ่ายต่าง ๆ ใหม้ี ความถูกตอ้งมากข้ึน 28)กา หนดมาตรการแผน ชา ระหน้ีอยา่งเหมาะสม กบัรายรับและรายจ่ายโดยคา นึงถึงสภาพเศรษฐกิจ ของประเทศ(อตัราดอกเบ้ียอตัราเงินเฟ้อค่าเงิน เป็ นต้น)


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจัยควำมเสี่ยงที่ต้อง ด ำเนินกำรทั่วทั้งองค์กร มำตรกำรควบคุมภำยในทมี่อียู่ แผนจัดกำรควำมเสี่ยง (มำตรกำรเพิ่มเติม) 29) ต้งังบประมาณสา รองเผื่อเหตกุารณ์ฉุกเฉิน หรือ โครงการเร่งด่วน (ผอ.งบประมาณ) 30) การจัดหาเงินทุนแบบอนุรักษ์นิยม โดยค านึงถึง ภาระผูกพันระยะยาว และความแปรปรวนของ ต้นทุนทางการเงิน (ผช.การเงิน) C1 การด าเนินการเชิง พาณิชย์ (ผลิตภัณฑ์และ การใหบ้ริการต่าง ๆ) 1) มีระบบการบริหารจัดการปฏิบัติการตามหลัก วิชาการและวิชาชีพ 2) กรณี TOR กา หนดใหผ้รู้ับผิดชอบโครงการ ประเมินตนเองและทา หนงัสือรับรองก่อนการรับ และท าสัญญา 3) กรณี MOU กา หนดใหผ้า่นการตรวจสอบของนิติ การ 4) มีการทา สญัญากบัผเู้ช่า/ผรู้ับบริการดา้นสิทธิ ประโยชน์อยา่งรัดกมุเพื่อป้องกนัมิใหผ้เู้ช่า/ ผรู้ับบริการดา้นสิทธิประโยชน์ไม่ทา ตามสัญญา 5)ผา่นข้นัตอนของนิติการในการตรวจสอบ 6) หลักสูตรที่เป็ นของวิทยากรรับเชิญ/หลักสูตรที่ เปิดร่วมกบัหน่วยงานภายนอก/หลกัสูตรแบบ hybrid learning กา หนดใหม้ีการปฏิบตัิตาม กฎระเบียบ ควบคุมตามระเบียบ อว. 7) กรณีมหาวิทยาลัยถูกแอบอ้าง ใช้ตราสัญลักษณ์ โดยมิชอบ มีการดา เนินการตามข้นัตอนของ กฎหมาย 8)กรณีผลิตภณัฑต์ ่างๆ ดา เนินการตามกรอบ มาตรฐานทางวิชาชีพ 9) ดา เนินการรับเงินผา่นการบริจาคเขา้สู่ มรส. (ผช. ฝ่ ายการเงิน) 10) ดา เนินการผา่นบริษทั RSU horizon (ยกเว้นกรณี การจดัสอบรับเงินผา่น ศบก. และโอนไปให้ RSU horizon) (ผอ.งบประมาณ) 1) มีการติดตามหน่วยงาน/คณะวชิาวา่ ไดร้ับ การรับรอง/มีการปฏิบัติการตามกฎหมาย/ ระเบียบที่เกี่ยวขอ้งเป็นระยะ 2) หากเริ่มมีปัญหาไม่เป็นไปตาม TOR มีการ Focus group 3)กรณีเกิดขอ้พิพาทดา้นกฎหมายใหท้างนิติ การตรวจสอบดูแลต่อไป


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 2.6) กำรติดตำมและทบทวน ผู้รับผิดชอบความเสี่ยงระดับองค์กรติดตามผลการด าเนินงานของแผน บริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ตามตวัช้ีวดัความเสี่ยง (Key Risk Indicator, KRI) ซ่ึงกา หนดใหม้ีความ สอดคลอ้งกบัตวัช้ีวดัความสา เร็จของมหาวิทยาลยั โดยนา ผลการดา เนินงานตาม KRI มาใช้ประเมินระดับความ เสี่ยงที่เหลืออยู่(สิ้นปี) เทียบกบัระดบัความเสี่ยง Residual Risk level (หลงัการควบคุมภายในที่มีอยู่)ว่าลดลง หรือไม่และเป็นไปตามระดบัความเสี่ยงเป้าหมายและ/หรือยอมรับไดห้รือไม่ พบว่ำปัจจัยควำมเสี่ยงที่มีระดับ ควำมเสี่ยงลดลงตำมเป้ำหมำยในระดับที่ยอมรับได้ มีจ ำนวน 10 ปัจจัยควำมเสี่ยง ได้แก่ S1 จ านวนเงินทุน สนบัสนุนงานวิจยัและ/หรืองานสร้างสรรค์(รวมท้งัภายในและภายนอก), S2 ทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษา ปริญญาตรีและเอก, S3 จ านวนอาจารย์ด ารงตา แหน่งทางวิชาการมีน้อย, S4 การไม่บรรลุเป้าหมาย OKR ของ มหาวิทยาลัย O1 การพัฒนาระบบงานสารสนเทศที่รองรับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย, O2 แผนพฒันาบุคลากรเป็นรายบุคคลไม่บรรลุเป้าหมาย, O3ความปลอดภยัของนกัศึกษา บุคลากรและผูเ้กี่ยวขอ้ง, O4 ความเสี่ยงด้านคุณธรรม จริยธรรมของนักศึกษา, F1 การรักษาสถานภาพทางการเงินที่มั่นคง, C1 การ ดา เนินการเชิงพาณิชย์(ผลิตภณัฑแ์ละการใหบ้ริการต่าง ๆ)อย่ำงไรก็ตำม ปัจจัยเสี่ยงล ำดับที่ 1 คือ S5 สมรรถนะ ด้ำนนำนำชำติของนักศึกษำ มีระดับควำมเสี่ยงสิ้นปีคงที่และยังคงอยู่ในระดับสูงมำก จ ำเป็นต้องได้รับกำร จัดกำรต่อไป ท้งัน้ีผูร้ับผิดชอบความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัยได้มีการทบทวนและระบุแนวทางพัฒนาการ ดา เนินงานจดัการความเสี่ยงในปีต่อไป แสดงดงัตาราง สา หรับผลการบริหารความเสี่ยงที่ดา เนินการทวั่ท้งัองคก์รในระดบัหน่วย (หน่วยงาน ฝ่ายและคณะวชิา) พบว่าส่วนใหญ่มีระดับความเสี่ยงลดลง ดังปรากฏในแบบรายงาน ท้ังน้ีผู้รับผิดชอบความเสี่ยง ระดับ มหาวิทยาลัย จะใช้ข้อมูลผลงานตาม KRI ของแต่ละคณะวิชาที่ประมวลผลสะสมในระยะ 5 ปี มาใช้ในการ กา หนดแนวทางการพฒันาร่วมกบัคณะวชิาน้นัๆ หากพบวา่ผลการดา เนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ตำรำงแสดงผลกำรติดตำมและกำรทบทวนกำรจัดกำรควำมเสี่ยง ของ 11 ปัจจัยควำมเสี่ยง เรียงตำมล ำดับควำมเสี่ยง ผลกำร จัดล ำดับ ควำมเสี่ยง ปัจจัยควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง KRI ผลกำรด ำเนินงำนตำม KRI ผลกำรทบทวนและแนวทำงกำร พัฒนำ Residual Risk เป้ำหมำย ที่เหลืออยู่ (สิ้นปี ) 1 S5 สมรรถนะ ด้านนานาชาติ ของนักศึกษา (international competency for students) 5x5 = 25 3x4 = 12 5x5 = 25 (คงที่) ร้อยละของนักศึกษา เริ่มตน้ สร้างแฟ้ม สะสมผลงานระดับ นานาชาติหรือ เทียบเท่า ได้ผลร้อยละ 3.60 ในปี การศึกษา 2565 เป็ นปี แรก ที่ได้น า KR4.1.1 มาใช้ เนื่องจากเล็งเห็นถึง ความส าคัญของนักศึกษาทุก คนในมหาวิทยาลัยรังสิตมี ความจ าเป็ นต้องได้รับการ จัดอบรมและจัดท าสื่อประชาม สัมพันธ์เพื่อให้วิทยาลัย/คณะ อาจารย์ และนักศึกษามีความเข้าใจใน ความส าคัญของการผลักดันให้ นักศึกษามีการสร้างแฟ้มสะสมผลงาน ระดับนานาชาติและท าให้ทุกฝ่ าย เข้าใจวิธีการใช้งาน E-Inter portfolio


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกำร จัดล ำดับ ควำมเสี่ยง ปัจจัยควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง KRI ผลกำรด ำเนินงำนตำม KRI ผลกำรทบทวนและแนวทำงกำร พัฒนำ Residual Risk เป้ำหมำย ที่เหลืออยู่ (สิ้นปี ) พัฒนาสมรรถนะสากล ท าให้ นักศึกษาที่ทราบถึงการมีแฟ้ม สะสมผลงานระดับนานาชาติ ยงัไม่กวา้งขวาง ร้อยละของนักศึกษา ที่ส าเร็จแฟ้มสะสม ผลงานระดับ นานาชาติหรือ เทียบเท่า ได้ผลร้อยละ N/A เนื่องจากเป็นปีแรกที่เริ่มมีการ เก็บสะสมชวั่โมง Academic Integration ลงในแฟ้มสะสม ผลงานระดับนานาชาติท าให้ ไม่มีนกัศึกษาที่สามารถเก็บ สะสมจา นวนชวั่โมงไดบ้รรลุ ตามเป้าหมายที่กา หนดไวค้ือ 600 ชวั่โมง/4ปีการศึกษา นักศึกษาทุกคนของมหาวิทยาลัยมี ความจ าเป็ นต้องได้รับการพัฒนา สมรรถนะด้านความเป็ นนานาชาติ เพื่อเตรียมพร้อมไปงานในระดับ สากล ดังน้นัแนวทางการพฒันา ส าหรับปี การศึกษา 2566 จึงได้มีการ ปรับปรุงตวัช้ีวดัในแผนยทุธศาสตร์ ให้สอดคลอ้งกบัความเป็นจริงมากข้ึน โดยการควบรวมตัว KR ที่ 5.1.1และ 5.1.2 เขา้ดว้ยกนั ร้อยละของหลักสูตร ที่การบูรณาการ ภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศ ร่วมกนั ในกิจกรรม ทางวิชาการ ได้ผลร้อยละ N/A ในปีการศึกษา2565 ช่วงแรก เขา้ของนกัศึกษาช้นั ปีที่1 มี การวางแผนการเก็บขอ้มูลได้ ไม่ครบถว้น เนื่องจากเป็นปี แรกของการด าเนินงานตาม เป้าหมายของประเด็น ยทุธศาสตร์ที่4จึงทา ให้ไม่ สามารถเก็บขอ้มูลได้ จะดา เนินการปรึกษาหารือร่วมกบัฝ่าย แผนและพัฒนาเพื่อปรับปรุง KR เพื่อให้สะดวกต่อการเก็บขอ้มูลและ น ามาเป็ นแนวทางในการด าเนินงาน ตามแผนยทุธศาสตร์ต่อไป ระดับการยอมรับใน ด้านความเป็ นสากล ได้รับการจัดอันดับ ในระดับชาติและ นานาชาติ (การจัด อันดับมหาวิทยาลัย) เนื่องจาก KR4.2.2 มีความ ซ้า ซอ้นกบั KR 4.1.1 ทา ให้ไม่ สามารถรายงานการ ด าเนินงานได้ จะดา เนินการปรึกษาหารือร่วมกบัฝ่าย แผนและพัฒนาเพื่อตรวจสอบความ คลา้ยคลึงกนัระหวา่ง KR5.2.3 และ KR5.1.1 เพื่อไม่ให้มีความซ้า ซอ้นใน การเก็บขอ้มูล 2 O4ความเสี่ยง ด้านคุณธรรม จริยธรรมของ นักศึกษา 2x5 = 10 2x2 = 4 2x2= 4 (ลดลง, ระดับ ยอมรับได้) การถูกร้องเรียน / เป็นข่าวเชิงลบ / ภาพลักษณ์ของ มหาวิทยาลัยรังสิต เสียหายในด้าน คุณธรรม จริยธรรม ของนักศึกษา -จากผลการด าเนิน งาน โดยรวม พบว่ามีโอกาสเกิด เหตุการณ์ไม่พึงประสงคใ์น ระดบัสูงแต่ผลกระทบอยใู่น ระดับรุนแรงน้อย สามารถ แกไ้ขได้ - ด าเนินการตามแผนและมาตรการ ของ ปี2565อยา่งต่อเนื่อง ดงัน้ี - ประสานงานและขอความร่วมมือ วิทยาลยั/คณะ/ สถาบนัที่เกิด เหตุการณ์กา กบัดูแลนกัศึกษาอยา่ง ใกล้ชิด


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกำร จัดล ำดับ ควำมเสี่ยง ปัจจัยควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง KRI ผลกำรด ำเนินงำนตำม KRI ผลกำรทบทวนและแนวทำงกำร พัฒนำ Residual Risk เป้ำหมำย ที่เหลืออยู่ (สิ้นปี ) - เรื่องแนวทางปฏิบัติการ ดา เนินกิจกรรมนกัศึกษา เนื่องจาก สถานการณ์โควิด19 สโมสรนักศึกษา จึงเปลี่ยน รูปแบบการจดักิจกรรมรับ นอ้งใหม่และการประชุมเชียร์ เป็น กิจกรรม Rangsit Festival จดัข้ึนระหวา่งวนัที่20-24 มิถุนายน 2565 เวลา 15.00- 20.00 น. ณ บริเวณหน้าอาคาร 1 - ประสานงานและขอความร่วมมือ ฝ่ ายรักษาความสงบเรียบร้อย เฝ้าระวัง ดูแลชีวิตและทรัพย์สินของนักศึกษา อยา่งใกล้ชิด - สร้างเครือข่ายท้งับุคลากรและ นกัศึกษาในการสอดส่องดูแลและแจง้ เหตุที่ไม่พึงประสงค์ - เพิ่มนโยบายและมาตรการส่งเสริม สนบัสนุนการจดัโครงการ/กิจกรรม ใน เรื่องคุณธรรม จริยธรรมแก่ นกัศึกษาอยา่งต่อเนื่อง -การจดักิจกรรมประชุมเชียร์ในปี การศึกษา 2566 2 C1การ ด าเนินการเชิง พาณิชย์ (ผลิตภัณฑ์และ การให้บริการ ต่างๆ) 2x5= 10 2x4= 8 3x1 = 3 (ลดลง, ระดับ ยอมรับได้) การถูกร้องเรียน / เป็นข่าวเชิงลบ / ภาพลักษณ์ของ มหาวิทยาลัยรังสิต เสียหายในด้านการ ด าเนินการเชิงพาณิชย์ (ผลิตภัณฑ์และการ ให้บริการต่าง ๆ) * 1) เบ้ืองตน้มีการดา เนินการ ในลกัษณะของหน่วยธุรกิจ เช่น ร้านตะวนั , RSU Store ซึ่ง เป็ นไปตามประกาศของ มหาวิทยาลัย 2) การดา เนินการที่ผา่นมาในปี การศึกษา 2565 ไม่พบ เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์อาจ มีเหตุการณ์เล็กนอ้ยเช่น การ แพค็ของส่งแลว้ทา ให้ ผลิตภณัฑเ์สียหาย ซ่ึงไม่มี ประเด็นเสียหายอะไร **การดา เนินงานกิจกรรม / โครงการต่างๆ ในปีการศึกษา 2565จา นวนท้งัสิ้น13 กิจกรรม และไม่ไดร้ับเอกสาร การร้องเรียนในการด าเนินงาน -ความปลอดภัยจาก บุคคลภายนอกที่เข้ามาใช้ บริการพ้ืนที่เช่า -ความปลอภัยในการเข้าใช้ บริการอาคารศาลาดนตรีและ * 1) ติตามการดา เนินการต่างๆ ที่มี ความเกี่ยวขอ้ง 2) ในกรณีที่มีการด าเนินการใน ลกัษณะใหมๆ่เช่น การให้สิทธ์ิใน ทรัพยส์ินทางปัญญากบัเอกชน ภายนอกด าเนินการผลิตและจัด จา หน่ายจะกา หนดให้ผทู้ี่เกี่ยวขอ้ง ติดตามอยา่งใกลช้ิด 3) ให้ความรู้ความเขา้ใจเกี่ยวกบัความ เสี่ยงในประเด็นน้ีกบัผทู้ี่เกี่ยวขอ้ง เพื่อให้ตระหนักถึงผลกระทบที่อาจจะ เกิดข้ึน **-ด าเนินการขออนุญาต การใช้เสียง ในมาตราฐานทางกฎหมายกบั เทศบาลหลักหก สภ.ปากคลองรังสิต ควบคู่กบัการกา หนดช่วงเวลาในการ ดา เนินงานกิจกรรม -จัดท าหนังสือแจ้งให้ ส านักงาน ต ารวจมหาวิทยาลัยรังสิต ด าเนินการ ควบคุมความปลอดภัย


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกำร จัดล ำดับ ควำมเสี่ยง ปัจจัยควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง KRI ผลกำรด ำเนินงำนตำม KRI ผลกำรทบทวนและแนวทำงกำร พัฒนำ Residual Risk เป้ำหมำย ที่เหลืออยู่ (สิ้นปี ) Foodcourt (อาคารภายนอก และระบบภายในอาคาร) -การจราจรในการด าเนินงาน กิจกรรมต่างๆ เนื่องจากพ้ืนที่ จา กดั หมายเหตุ: *ขอ้มูลจากผชู้่วยอธิการบดี ฝ่ายนวตักรรมและวิสาหกิจ **ผชู้่วยอธิการบดีฝ่ายพฒันา สังคมศิลปวัฒนธรรมและ สิทธิประโยชน์ - ประสานงานกบัสา นกังานอาคาร และสิ่งแวดลอ้ม เพื่อทา การตรวจสอบ แกไ้ข หมายเหตุ: *ขอ้มูลจากผชู้่วยอธิการบดีฝ่าย นวตักรรมและวิสาหกิจ **ผชู้่วยอธิการบดีฝ่ายพฒันาสงัคม ศิลปวัฒนธรรมและสิทธิประโยชน์ 3 S2 ทักษะ ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษา ปริญญาตรีและ เอก 3x4 = 12 3x3 = 9 2x4 = 8 (ลดลง, ระดับ ยอมรับได้) ร้อยละของนักศึกษา ช้นั ปีสุดทา้ยระดบั ปริญญาตรีที่สอบ ผา่นภาษาองักฤษ ต้งัแต่ระดบัเกณฑ์B1 ข้นัต่า ข้ึนไป ร้อยละ 61 -ฝึ กทักษะภาษาอังกฤษ ตามกรอบ สมรรถนะ CEFR ในวิชาภาษาอังกฤษ ระดับสูงที่สถาบันภาษาอังกฤษจัด สอน (ENL 127–129) เพื่อเทียบผล สมรรถนะภาษาองักฤษต้งัแต่ระดบั เกณฑ์ B1 ข้ึนไป -จดัฝึกอบรมเพื่อเตรียมตวัก่อนการ สอบจริงให้แก่คณะวิทยาลยัที่ ต้องการ -จัดแผนการสอบ RSU2-Test และ ประชาสัมพันธ์การสอบ เชิงรุกเพื่อให้ จา นวนผเู้ขา้สอบไม่น้อยกว่าร้อยละ70 ของจา นวนนกัศึกษาในรุ่น -จะมีการเก็บขอ้มูลเพื่อวดัผล เปรียบเทียบ pre-post ต่อไป ร้อยละของนักศึกษา ช้นั ปีสุดทา้ยระดบั ปริญญาเอกที่สอบ ผา่นภาษาองักฤษ ต้งัแต่ระดบัเกณฑ์C1 ข้นัต่า ข้ึนไป นกัศึกษาปริญญาเอกผา่น ระดับ B2ร้อยละ 100 *เกณฑผ์า่นของ นกัศึกษา ระดับปริญญาเอกวัดจากผล การสอบและการเทียบเกณฑ์ ภาษาอังกฤษที่ ระดับ B2ข้ึน ไป เนื่องด้วยการระบาดของ โควิด 19 ทา ให้ผทู้ี่เขา้สู่ 1. เพิ่มสมรรถนะภาษาองักฤษ โดยมี การอบรม 3 ระดับเพื่อพัฒนาตาม ระดับผลสอบภาษาอังกฤษ (Building Academic English (ผลสอบต ่า กวา่ A2), Developing Academic English (ผลสอบที่ A2), and *Advancing Academic English (ผลสอบที่B1)). 2. ปรับเน้ือหาการอบรม Advancing Academic English 2.1 ให้เทียบเท่าระดบั


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกำร จัดล ำดับ ควำมเสี่ยง ปัจจัยควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง KRI ผลกำรด ำเนินงำนตำม KRI ผลกำรทบทวนและแนวทำงกำร พัฒนำ Residual Risk เป้ำหมำย ที่เหลืออยู่ (สิ้นปี ) หลกัสูตรมีขอ้จา กดัทางดา้น ภาษา CEFR C1 2.2 ปรับทุกกิจกรรมเป็นงาน ที่นักศึกษาต้องท าคนเดียว และ2.3 เก็บตวัอยา่งผลงานเพื่อทา การประเมิน แบบ authentic assessment 3 S4 การไม่บรรลุ เป้าหมาย OKR ของ มหาวิทยาลัย 4x4 = 16 3x3 = 9 1x3 = 3 (ลดลง, ระดับ ยอมรับได้) ระดับมหำวิทยำลัย ร้อยละของจ านวน OKR ที่บรรลุเป้าหมาย ต่อจา นวน OKR ท้งัหมดของ มหาวิทยาลัย จ านวน KR ที่ได้รับการ ประเมินแล้ว จ านวน 49 ตวัช้ีวดั/จาก59 ตวัช้ีวดั บรรลุ46 ตวัช้ีวดั ไม่บรรลุ3 ตวัช้ีวดั คิดเป็ นร้อยละ 93.87 (ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2566) ปีการศึกษา2565 หน่วยงาน กลางที่รับผิดชอบข้อมูลระดับ มหาวิทยาลัย มีความเข้าใจใน การรวบรวมข้อมูล KR แต่ยงัมี ความล่าชา้ในการจดัส่งขอ้มูล มายังส านักงานวางแผนฯ เนื่องจากข้อมูลบางประเภท ต้องรอให้คณะวิชาตรวจ ประกนัคุณภาพเรียบร้อยก่อน และมีขอ้มูลบางตวัช้ีวดัที่ยงั ไม่ไดส้ามารถประเมินผลได้ ส าหรับปี การศึกษา 2566 มีแนวทาง การปฏิบตัิงานดงัน้ี 1. จัดประชุมร่วมกบัหน่วยงานกลางที่ รับผิดชอบรวบรวมข้อมูล เพื่อปรึกษา หารือรับฟังปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ และร่วมกนัวิธีการแกไ้ขในการ รวบรวมข้อมูล 2.จดัส่งผลประเมินตวัช้ีวดั ใหก้บั คณะกรรมการขับเคลื่อนแผน ยุทธศาสตร์ฯ เป็ นข้อมูลการปรับ ตวัช้ีวดัสา หรับการปรับกลางแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ.2565-2569 และเพื่อใช้ส าหรับบริหารจัดการที่ เกี่ยวขอ้งต่อไป 4 S1 จ านวน เงินทุน สนับสนุน งานวิจัย และ/ หรืองาน สร้างสรรค์ (รวมท้งัภายใน และภายนอก) 4x3 = 12 3x3 = 9 1x1 = 1 (ลดลง, ระดับ ยอมรับได้) จ านวนเงินทุน สนับสนุนงานวิจัย และ/หรืองาน สร้างสรรค์(รวมท้งั ภายในและภายนอก) จ านวนเงินทุนวิจัย ภำยใน 14,995,045.36 บาท ภำยนอก60,534,455.58 บาท รวมทั้งสิ้น 75,529,500.94 บาท [กรณีไม่รวมวิทยำลัย แพทยศำสตร์ ภายใน 14,995,045.36 บาท ภายนอก 33,030,022.58 บาท รวมท้งัสิ้น 48,025,067.94 บาท] 1.แจ้งข้อมูลยอดทุนวิจัยให้คณะ/ วิทยาลัย/สถาบันทราบ เพื่อเตรียมใน การขอรับทุนสนับสนุนให้ทัน กา หนดการรับสมคัรทุน 2. มีการเปิ ดระบบ Fast Tract ส าหรับ การขอรับทุนวิจัยภายใน 3. มีการประชาสัมพันธ์ทุนภายนอก เพิ่มมากข้ึน รวมถึงไดร้ับการจดัสรร ทุนนอกจากววน. เพิ่มเติมเขา้มา 4 S3 จ านวน อาจารย์ด ารง 5x3 = 15 3x3 = 9 3x2 = 6 ปานกลาง ร้อยละผลรวมถ่วง น้า หนกัของอาจารย์ ตามระดบัตา แหน่ง ร้อยละ 50.90 1. จัดประชุม focus group วิทยาลัย/คณะ ที่มีผลประเมินต่า กวา่ 2.00


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกำร จัดล ำดับ ควำมเสี่ยง ปัจจัยควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง KRI ผลกำรด ำเนินงำนตำม KRI ผลกำรทบทวนและแนวทำงกำร พัฒนำ Residual Risk เป้ำหมำย ที่เหลืออยู่ (สิ้นปี ) ตา แหน่งทาง วิชาการมีน้อย (ลดลง, ระดับ ยอมรับได้) วิชาการต่อจา นวน อาจารย์ประจ า ร้อยละจ านวน อาจารย์ประจ าด ารง ตา แหน่งทางวิชาการ ต่อจา นวนอาจารย์ ประจ า มีจา นวนผดู้า รงตา แหน่งผชู้่วย ศาสตราจารย์จ านวน 408คน รองศาสตราจารย์จ านวน 105 คน และศาสตราจารย์จ านวน 17คน รวม 530คน จาก จา นวนอาจารยท์ ้งัหมด 1,228 คน คิดเป็ น ร้อยละ 43.15ระดับคะแนน 3.59 4 O1 การพัฒนา ระบบงาน สารสนเทศที่ รองรับแผน ยุทธศาสตร์การ พัฒนา มหาวิทยาลัย 4x4 = 16 3x3 = 9 4x1 = 4 (ลดลง, ระดับ ยอมรับได้) มีระบบฐานข้อมูล กลางที่สามารถใช้ ประโยชน์ร่วมกนั และเพิ่ม ประสิทธิภาพการ บริหารงานตามพันธ กิจต่างๆ ของ มหาวิทยาลัย RC O1.1-1.5 มีผลโดยตรงต่อ การส าเร็จของ KR3.2.1 ซึ่งผล การดา เนินเป็นไปดงัน้ี O1.1 อยรู่ะหว่างการเจรจาหา vendor เขา้มาทา ท้งัในส่วนของ การ complie pdpa และ ซ้ือ/ พฒันาระบบที่เกี่ยวขอ้งและ จ าเป็ นต้องใช้ O1.2 ด าเนินการพัฒนาระบบ ทดแทน ตามแผนงาน แต่ เป็นไปดว้ยความล่าช้า เนื่องจากขอ้จา กดัดา้น บุคคลากร,ค่าตอบแทน และ ขอ้จา กดัจากโครงสร้างขอ้มูล เดิมในระบบเก่าที่ยงั จา เป็นตอ้งใชแ้ละเชื่อมโยงกบั ระบบที่พฒันาใหม่ทา ให้ ระบบใหม่จา เป็นตอ้งมีความ ยากและซับซ้อน มีความเสี่ยง สูงที่จะไม่สา เร็จตามเวลาใน ส่วนของระบบที่เป็น ERP มหาวิทยาลัยมีการด าเนินการดู งานและจดัหาแต่ยงัไม่ได้ ข้อสรุป O1.3 ส านักบริการฯ ได้เข้า ติดตาม และแกป้ ัญหาที่คา้งคาอยู่ใน RC O1.1 -1.5 โดยเฉพาะ RC O 1.2,1.3,1.4,1.5 เพื่อให้ส าเร็จตาม เป้าหมาย ซึ่งจะท าให้ KR 3.2.1 ไม่มี ความเสี่ยงอีกต่อไป


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกำร จัดล ำดับ ควำมเสี่ยง ปัจจัยควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง KRI ผลกำรด ำเนินงำนตำม KRI ผลกำรทบทวนและแนวทำงกำร พัฒนำ Residual Risk เป้ำหมำย ที่เหลืออยู่ (สิ้นปี ) อบรมและจัดท าระบบส าหรับ เชื่อมกบั unicorn เรียบร้อยแล้ว สถานะพร้อมใช้งาน แต่ เนื่องจากข้อมูลดิบที่ มรส จดัเก็บ มีหลายส่วนที่ไม่ตรง กบัที่อว ตอ้งการจา เป็นตอ้ง ทา การเคลียริ่งและ mapping ก่อน ซ่ึ ้ งจา เป็นตอ้งให้ หน่วยงานเจา้ของขอ้มูลเป็น ผจู้ดัการเสียก่อน O1.4 ดา เนินการจดัต้งั คณะกรรมการ ดิจิทัล ทรานส์ ฟอร์เมชัน DigitalTransformation เรียบร้อยแล้ว มีการทยอยออก ประกาศขอ้กา หนดในดา้น ต่างๆ O1.5 มีแผนงานประจ าปี ที่ ชัดเจน แต่ยงัคงประสบปัญหา ความล่าชา้ดวยหลายปัจจัย ้ และได้รายงานให้ผู้บริหาร ทราบไปตามลา ดบัช้นัเป็น ระยะๆ 4 O2 แผนพัฒนา บุคลากรเป็ น รายบุคคลไม่ บรรลุเป้าหมาย 5x3 = 15 3x2 = 6 1x5 = 5 (ลดลง, ระดับ ยอมรับได้) ร้อยละการพัฒนา บุคลากรของ มหาวิทยาลัยคณะ/ หน่วยงาน บรรลุ เป้าหมายแผนพัฒนา บุคลากรเป็ น รายบุคคล ร้อยละ 88.68 1.จัดท าระบบการท าแผนพัฒนา รายบุคคล 2.จดัให้มีการประชุมช้ีแจงและทา ความเข้าใจในเรื่องของการจัดท า แผนพัฒนาและระบบการจัดท า แผนพัฒนารายบุคคล ร้อยละของบุคลากรที่ มีความพึงพอใจใน ระบบการบริหารงาน ของมหาวิทยาลัย/ วิทยาลัย/ ร้อยละ 40 1. รวบรวมสภาพปัญหาที่ยงัไม่เป็นที่ พอใจเพื่อปรับปรุงต่อไป


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกำร จัดล ำดับ ควำมเสี่ยง ปัจจัยควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง KRI ผลกำรด ำเนินงำนตำม KRI ผลกำรทบทวนและแนวทำงกำร พัฒนำ Residual Risk เป้ำหมำย ที่เหลืออยู่ (สิ้นปี ) คณะ/สถาบัน/ หน่วยงาน อยใู่น ระดับดี-ดีมาก (3.51) (-ระดับมหำวิทยำลัย ใช้ผลประเมินส่วน ภำพรวม -หน่วยงำน/คณะวิชำ ใช้ผลประเมินส่วน ของหน่วยงำน/คณะ วิชำนั้นๆ) 4 O3 ความ ปลอดภัยของ นักศึกษา บุคลากรและ ผเู้กี่ยวขอ้ง 4x3 = 12 3x2 = 6 1x2 =2 (ลดลง, ระดับ ยอมรับได้) การถูกร้องเรียน / เป็นข่าวเชิงลบ / ภาพลักษณ์ของ มหาวิทยาลัยรังสิต เสียหายในด้านความ ปลอดภัยของ นักศึกษาและ บุคลากร ครอบคลุม คุณธรรม จริยธรรม ของนักศึกษา สถิติจา นวนเหตุการณ์ไม่พึง ประสงค์ที่มีผู้เสียหายและ คู่กรณีที่มีข่าวเชิงลบ 1-3 วัน แต่แกไ้ขได้จ ำนวน 1 เหตุกำรณ์ 1.จัดระเบียบการจราจรภายใน มหาวิทยาลัย และบริเวณโดยรอบ มหาวิทยาลยัเพื่อให้เกิดความเป็น ระเบียบเรียบร้อยและเกิดความ ปลอดภยัสาเหตุสา คญัที่ทา ให้เกิด อุบัติเหตุ คือ การขาดความตระหนัก ถึงความปลอดภัย และขาดความรู้ของ กฎระเบียบด้านการจราจร จึงได้มีการ ติดป้ายจราจรเพื่อเป็ นการ ประชาสมัพนัธ์ให้เกิดความเขา้ใจเช่น ป้ายห้ามย้อนศร ป้ายห้ามจอด และ อื่นๆ ซึ่งส านักงานต ารวจมหาวิทยาลัย รังสิตยังมีการประชุมประจ าเดือนเพื่อ เป็ นการวางมาตรการรักษาความ ปลอดภยัมีการเพิ่มทกัษะให้เจา้หนา้ที่ ส านักงานต ารวจมหาวิทยาลัยรังสิต ท้งัภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ เพื่อเป็ น การเพิ่มพนูความรู้ในดา้นการจราจร 2.ในปี การศึกษา 2565 ส านักงาน ต ารวจมหาวิทยาลัยรังสิต ยังได้มี ความร่วมมือดา้นความปลอดภยักบั หน่วยงานภายนอกเช่น เทศบาล ต าบลหลักหก ซึ่งได้มีการทาสีตี เส้นทางม้าลายบริเวณด้านหน้าทางเข้า และทางออกของมหาวิทยาลัยรังสิต


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกำร จัดล ำดับ ควำมเสี่ยง ปัจจัยควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง KRI ผลกำรด ำเนินงำนตำม KRI ผลกำรทบทวนและแนวทำงกำร พัฒนำ Residual Risk เป้ำหมำย ที่เหลืออยู่ (สิ้นปี ) เพื่อเป็นการลดการเกิดอุบตัิเหตุ ทางการสัญจรทางท้องถนน 3.การควบคุมการเข้า-ออก เจ้าหน้าที่ ประจา ด่านทางเขา้-ออก ส านักงาน ต ารวจมหาวิทยาลัยรังสิต เป็ น หน่วยงานบริการรักษาความปลอดภยั 24 ชวั่โมง มีหนา้ที่ดูแลความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยส์ินให้แก่นกัศึกษา คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่บุคลากร ได้มี การติดป้ายประกาศเกี่ยวกบั เรื่องความ ปลอดภยัเช่น ป้ายพ้ืนที่น้ีควบคุมโดย กล้อง CCTV ตาม พ.ร.บ.กฎหมาย คุม้ครองสิทธิส่วนบุคคลและมีการ ประชาสมัพนัธ์ผา่นทางสื่อโซเซียล มีเดียเช่น Page Facebook: ส านักงาน ต ารวจมหาวิทยาลัยรังสิต Line Official, RSU Connect เป็นตน้นอกจากน้ีมีการ ประชาสมัพนัธ์ผา่นทางช่องทางอีเมล์ ไปยงัหน่วยต่างๆ ภายในมหาวิทยาลยั รังสิตเพื่อป้องกนัทรัพยส์ินสูญหาย 4.การคัดกรองบุคคล และยานพาหนะ จึงเป็นสิ่งที่สา คญั ไดม้ีการให้ลด กระจกมองกล้อง เพื่อเป็ นการสังเกต พฤติกรรมของผทู้ี่เขา้มาในพ้ืนที่ มหาวิทยาลัยรังสิต และให้ชะลอ ความเร็วของยานพาหนะ เนื่องจากปี การศึกษา2565ยงัไม่มีการนา ระบบ โปรแกรมการอ่านป้ายทะเบียน อัตโนมัติ (License Plate Record) มาใช้ การบันทึกภาพจากกล้องวงจรปิ ด 5. ส านักงานต ารวจมหาวิทาลัยรังสิต ได้มีการทดลองน าระบบโปรแกรม การอ่านป้ายทะเบียนอตัโนมตัิ(License Plate Record) มาใช้ ซึ่งจะเห็นไดว้า่ สามารถบันทึกทะเบียนรถยนต์ที่เข้า


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกำร จัดล ำดับ ควำมเสี่ยง ปัจจัยควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง KRI ผลกำรด ำเนินงำนตำม KRI ผลกำรทบทวนและแนวทำงกำร พัฒนำ Residual Risk เป้ำหมำย ที่เหลืออยู่ (สิ้นปี ) มาในเขตพ้ืนที่ของมหาวิทยาลยัรังสิต ท าให้การคัดกรอง และการเฝ้าระวัง ด้านความปลอดภัยของยานพาหนะ เข้า-ออกมีประสิทธิภาพ และมีความ ปลอดภยัมากยิ่งข้ึน 6.การออกตรวจพ้ืนที่ของเจา้หน้าที่ สายตรวจความเสี่ยงที่ยงัคงมีอยดู่าน้ การออกตรวจพ้ืนที่ของเจา้หนา้ที่สาย ตรวจน้นัเป็นในเรื่องของกา ลงัพล ของเจา้หน้าที่สายตรวจที่ไม่เพียงพอ ในการปฏิบตัิหนา้ที่ในเขตพ้ืนที่ที่ รับผิดชอบ มีไดห้ลายปัจจยัเช่น การ ลากิจการลาป่วย หรือการจดั กิจกรรมต่างๆ หลายๆ กิจกรรมของ มหาวิทยาลยัในเวลาเดียวกนัและในปี การศึกษา 2565 ทางมหาวิทยาลัย รังสิตได้มีโครงการมหาวิทยาลัย 24 ชวั่โมง (Dream Space) ซึ่งเป็ นสถานที่ ให้บริการนกัศึกษาในการอ่านหนงัสือ ทา กิจกรรมต่างๆ7.ตา รวจมหาวิทยาลยั รังสิตประจา อาคารน้นัความเสี่ยงใน เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนบ่อยคร้ัง เช่น ทรัพยส์ินมีค่าสูญหายวางลืมสิ่งของ และการร้องขอความช่วยเหลือในดา้น อื่นๆการออกตรวจพ้ืนที่ของเจา้หนา้ที่ ต ารวจมหาวิทยาลัยรังสิตประจ า อาคารน้นัจะตรวจพ้ืนที่ในอาคาร และบริเวณโดยรอบอาคารทุกๆ 3 ชวั่โมงในผลดัเชา้และทุกๆ 2 ชวั่โมง ในผลัดดึก มีการสแกน QR Code ตาม จุดรักษาการณ์ในพ้ืนที่ที่ตน รับผิดชอบเพื่อเฝ้าสังเกตสิ่งผิดปกติ ต่างๆ ท้งับุคคลยานพาหนะและวตัถุ ที่ต้องสงสัย เพื่อเฝ้าระวังด้านความ ปลอดภัย


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกำร จัดล ำดับ ควำมเสี่ยง ปัจจัยควำมเสี่ยง ระดับควำมเสี่ยง KRI ผลกำรด ำเนินงำนตำม KRI ผลกำรทบทวนและแนวทำงกำร พัฒนำ Residual Risk เป้ำหมำย ที่เหลืออยู่ (สิ้นปี ) 4 F1 การรักษา สถานภาพ ทางการเงินที่ มนั่คง 5x3 = 15 3x2 = 6 1x2 = 2 (ลดลง, ระดับ ยอมรับได้) ร้อยละสดัส่วนรายรับ อยเู่หนือรายจ่ายของ คณะวิชา รายรับท้งัหมดของ มหาวิทยาลัย 3,217,236,183.82 บาท รายจ่ายท้งัหมดของ มรส. 2,701,913,585.26 บาท คิดเป็ นร้อยละสัดส่วนรำยรับ อยู่เหนือรำยจ่ำยของ มหำวิทยำลัย 19.07 **ในส่วนของร้อยละรายรับ เหนือรายจ่าย =sum(รายรับรายจ่าย)*100/รายจ่าย - ดา เนินการตามแผนพฒันาต่อ ของมหาวิทยาลัย - มีการกา หนดจา นวนนกัศึกษา ข้นัของหลกัสูตรใหม่โดยมี การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนในทุก หลกัสูตรที่เปิดใหม่ - มีการควบคุมงบประมาณให้ สอดคลอ้งกบัสถานการณ์ที่ เกิดข้ึนตลอดเวลา - เร่งรัดหน้ีสินค่าเล่าเรียนคง คา้งชา ระผอ่นชา ระเป็น ระยะๆ - มีการจดัหาแหล่งเงินทุน หมุนเวียนเพื่อใชจ้่ายกรณี ฉุกเฉิน และให้ดอกเบ้ียต่า เพื่อใช้ในการพัฒนา มหาวิทยาลัย - มีการลงทุนในหน่วยลงทุน ต่าง ๆ ที่มีความเสี่ยงต่า เพื่อ เป็นการบริหารเงินสดอยา่งมี ประสิทธิภาพ - มีมาตรการควบคุมค่าใชจ้่าย อยา่งเขม้งวด - มีนโยบายจดัหารายไดเ้พิ่มข้ึน จากการบริการทางวิชาการ งานวิจัย การอบรมสัมมนา การขายผลิตภัณฑ์ เป็ นต้น - พัฒนาเทคโนโลยีในการ คา นวณตน้ทุนต่อหน่วยและ การปันส่วนตน้ทุนส่วนกลาง - มาตรฐานการตรวจสอบรอบ บัญชีที่ได้รับการยอมรับ)


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 2.7) กำรสื่อสำรและกำรรำยงำน เพื่อให้การด าเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ระดบัองค์กร เป็นไปในทิศทางเดียวกนัคณะกรรมการฯ จึงได้มีการจดัทา แผนการดา เนินงาน (ดงัตาราง) ที่ ครอบคลุมการสื่อสารยงัทุกภาคส่วนของมหาวิทยาลยัและการรายงานอยา่งเป็นข้นัตอน จากระดบัหน่วย มายงั ผู้รับผิดชอบปัจจัยความเสี่ยง ระดับมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัย ท้งัน้ีส านกังาน ตรวจสอบภายใน จะมีการรายงานผลการวิเคราะห์การบริหารความเสี่ยง ท้งัระดบัหน่วย และระดบัมหาวิทยาลยั ผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานกรรมการสภามหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะ โดยมี รายงานต่าง ๆที่เกี่ยวขอ้ง ดงัน้ี - รายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ระดบัหน่วยงาน ของหน่วยงานรวมท้งัสิ้น 49 หน่วย ประกอบดว้ย 33คณะวิชา, 11ฝ่ าย และ 4 หน่วยงานไม่สังกดัฝ่าย โดยทุกหน่วยงานมีนา ส่งรายงานซ่ึง ครอบคลุมการรายงานผลการบริหารความเสี่ยง ระดบัองคก์รที่หน่วยดา เนินการ และการรายงานผลการควบคุม ภายใน สา หรับภารกิจหลกัของหน่วยครบถว้น คิดเป็นร้อยละ 100 -รายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปี การศึกษา 2565 -รายงานผลการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ประจ ามหาวิทยาลัยรังสิต -แผนการตรวจสอบมหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2565 -รายงานผลประชุมคณะกรรมการสภามหาวทิยาลยัรังสิต ที่มีวาระที่เกี่ยวขอ้ง ตำรำงแสดงกำรสื่อสำรและกำรรำยงำนกำรบริหำรควำมเสี่ยงและกำรควบคุมภำยใน ปีกำรศึกษำ 2565 กิจกรรม มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. 1.จัดประชุมคณะกรรมการบริหารความ เสี่ยง มหาวทิยาลยัรังสิต อยา่งนอ้ยปีละ2 คร้ัง 2. คณะกรรมการฯ วิเคราะห์ทบทวน ขอ้มูลกา หนดนโยบายดา้นความเสี่ยง กา หนดปัจจยัเสี่ยงที่สา คญัที่ตอ้ง ดา เนินการร่วมกนัท้งัองคก์รจดัทา คู่มือ บริหารความเสี่ยงทวั่ท้งัองคก์รและ เผยแพร่ 3. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กา หนดแนวทางและติดตามการบริหาร ความเสี่ยง 4.จัดประชุม คณะกรรมการด าเนินงาน ด้านการบริหารความเสี่ยงระดับฝ่ าย/


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต กิจกรรม มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. หน่วยงาน/คณะวชิา มหาวทิยาลยัรังสิต อยา่งนอ้ยปีละ1คร้ัง 5.ฝ่าย/หน่วยงาน/คณะวชิาจดัทา แผนการบริหารความเสี่ยงตามนโยบาย ความเสี่ยงและดา เนินการและจดัส่ง รายงาน 6. ตรวจสอบระบบควบคุมภายใน การ บริหารความเสี่ยง,ผลการประกนั คุณภาพ,ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการประจ าปี โดยผู้ตรวจสอบ ภายใน/ส านักงานตรวจสอบภายใน 7. คณะกรรมการประเมินคุณภาพ การศึกษา ใหข้อ้เสนอแนะแก่ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อ ปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงช่วงกลาง ปี (ถ้ามี) 8. จัดท ารายงานการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงาน โดยส านักงาน ตรวจสอบภายใน 9. กรรมการตรวจสอบพิจารณารายงาน ติดตามฯ และนา เสนอต่อสภา มหาวทิยาลยัเพื่อใหข้อ้เสนอแนะต่อไป 10. สภามหาวิทยาลัยพิจารณาผลการ บริหารความเสี่ยงและความเพียงพอ ระบบควบคุมภายใน 3)กำรควบคุมภำยใน มหาวทิยาลยัมีการดา เนินการดงัน้ี 3.1) ระดับหน่วย ดา เนินการควบคุมภายในส าหรับภารกิจหลกัของระดบัหน่วย ตามกรอบมาตรฐาน COSO 2013 ท้งัน้ีหน่วยมีการรายงานผลการควบคุมภายใน ครบถว้น คิดเป็นร้อยละ 100 3.2) ระดับมหำวิทยำลัย เป็ นการประเมินตามองค์ประกอบการควบคุมภายในตามมาตรฐาน COSO2013 ท้ังน้ีสภามหาวิทยาลัยเห็นชอบให้มีการประเมินทุก 2 ปี โดยอาศัยกลไกของผู้รับผิดชอบ/


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต คณะกรรมการที่เกี่ยวขอ้ง เป็นผูป้ระเมินตนเองเบ้ืองตน้จากน้นัส านกังานตรวจสอบภายใน จะมีการรายงานผล การวิเคราะห์ผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานกรรมการสภามหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาและให้ ข้อเสนอแนะ โดยในปี การศึกษา 2565 มีผลการประเมินตามองค์ประกอบการควบคุมภายใน มีความเพียงพอ องค์ประกอบกำรควบคุมภำยใน/ประเด็น เพียงพอ/ใช่ ไม่เพียงพอ/ไม่ใช่ อื่น ๆ 1. ด้านองค์กรและสภาพแวดล้อม (Organization Control and Environment Measure) 10/10 (ร้อยละ 100) - - 2. ด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Measure) 5/5 (ร้อยละ 100) - - 3. ด้านการควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ ายบริหาร (Manage Control Activities) 5/5 (ร้อยละ 100) - 4. ด้านระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information and Communication Measure) 4/4 (ร้อยละ 100) - - 5. ด้านระบบการติดตาม (Monitoring) 7/1 (ร้อยละ 100) - - 4)กำรพฒันำปรับปรุงกำรบริหำรควำมเสี่ยงและกำรควบคุมภำยใน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย ได้น าข้อเสนอแนะที่ได้รับจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย มาพัฒนาปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ดงัน้ี คณะกรรมกำรที่ให้ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ ผลกำรพฒันำปรับปรุงกำรบริหำรควำมเสี่ยง และกำรควบคุมภำยในของมหำวทิยำลัย คณะกรรมการ ตรวจสอบ ประจ า มหาวทิยาลยั (คร้ังที่ 1/2566) 1. ด้านการบริหารความเสี่ยง โครงการพัฒนา ระบบงานสารสนเทศสู่องคก์รอจัริยะ 1.1 ใหต้ิดตามหลกัประกนัวา่จา นวน หลกัประกนัครอบคลุมความเสียหายหรือไม่ ใหแ้น่ใจวา่ทางมหาวทิยาลยัรังสิต ได้ ดา เนินการทุกอยา่งที่ปกป้องผลประโยชน์ อยา่งเตม็ที่ใหแ้จกแจงวา่รับของมาหรือไม่ เท่าไร พร่องไปเท่าไรโดยแสดงเป็นตวัเลข มี 1.1 นาย นิฐพล พรหมสิทธ์ิผูอ้า นวยการ ส านักงานนิติการ ได้ด าเนินการสรุปความ เป็ นมาและสถานะปัจจุบันของโครงการ การ จ่ายเงิน แนวทางแต่ผลการเรียกร้องค่าเสียหาย อยรู่ะหวา่งข้นัตอนตามกฎหมาย 1.2ฝ่ ายเลขานุการ คณะกรรมการบริหารความ เสี่ยงไดแ้จง้ผบู้ริหารที่เกี่ยวขอ้งแลว้ ปัจจุบนั อยรู่ะหวา่งการพิจารณาดา เนินการต่อไป


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต คณะกรรมกำรที่ให้ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ ผลกำรพฒันำปรับปรุงกำรบริหำรควำมเสี่ยง และกำรควบคุมภำยในของมหำวทิยำลัย การดา เนินการอยา่งไรโครงการตอ้งแลว้เสร็จ เมื่อใด มีการเสียโอกาสที่ไม่ไดใ้ชง้านไป เท่าใด โดยมอบหมายให้นาย นิฐพล พรหม สิทธ์ิผอู้า นวยการสา นกังานนิติการ ด าเนินการสรุปความเป็ นมาและ สถานะปัจจุบนัของโครงการการจ่ายเงิน แนวทางและผลการเรียกร้องค่าเสียหายเพื่อ นา เสนอในที่ประชุมคร้ังต่อไป 1.2กรรมการตรวจสอบมีขอ้เสนอแนะวา่ มหาวทิยาลยัควรมีกรรมการดูแลความมนคงั่ ทางด้านไอที 1.3 ใหส้รุปเพื่อนา เสนอกรรมการสภา ดงัน้ี “พบวา่ทางมหาวทิยาลยัตดัสินใจที่จะฟ้องร้อง เนื่องจากบริษทัไม่ไดท้า ตามสัญญาขณะน้ีมี การยตุิโครงการและกา ลงัดา เนินการเพื่อเรียก ค่าเสียหาย” 1.3 ด าเนินการตามข้อเสนอแนะแล้ว 2. การควบคุมภายในด้านการเงิน ใหเ้ลขานุการฯ หารือร่วมกบันางเบญจา สันติธนานนท์(ผชู้่วยอธิการบดีฝ่ายการเงิน) ถึงแนวทางการบริหาร cash flow มหาวิทยาลัย ใหไ้ดป้ระโยชน์สูงสุดเพราะในขณะน้ี มหาวทิยาลยัมีภาระจ่ายดอกเบ้ียระดบัสูง รวมถึง พิจารณาน าเงินที่ฝากได้ประโยชน์น้อย ไปชา ระเงินกูเ้พื่อลงทุนอาคารต่างๆ เพื่อลด ภาระดอกเบ้ียลงและแนวทางการจดัทา รายงานผู้สอบบัญชีให้เป็ นไปตาม ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบ ส านักงานตรวจสอบภายใน ได้จัดประชุม ร่วมกบันางเบญจา สันติธนานนท์(ผชู้่วย อธิการบดีฝ่ ายการเงิน)ขณะน้ีทางมหาวทิยาลยั อยรู่ะหวา่งการดา เนินงานตามขอ้เสนอแนะ


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต คณะกรรมกำรที่ให้ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ ผลกำรพฒันำปรับปรุงกำรบริหำรควำมเสี่ยง และกำรควบคุมภำยในของมหำวทิยำลัย คณะกรรมการสภา มหาวทิยาลยั (คร้ังที่ 2/2566) 1. ขอชื่นชมและสนับสนุนแนวทางการ ตรวจสอบของมหาวิทยาลัย หลักการ ตรวจสอบไม่ใช่เพื่อจบัผดิแต่empowerให้เขา เก่งข้ึน ดีข้ึน มีตวัอยา่งเปรียบเทียบ คือ สมศ. วางมาตรฐานแลว้วดัวา่ ไดแ้ค่ไหน กบั HA เป็นการทา เพื่อร่วมพฒันาผคู้นมีกา ลงัใจถา้ ตรวจสอบเพื่อจบัผดิจะไม่ไดค้วามจริงวนัที่ รับรองสร้างสมศ.กรรมการท่านหน่ึงลาออก เพราะนา ไปสู่ความเสื่อม แต่HA ท าแล้วมี ความสุขใหย้ดึหลกัการตรงน้ีไว้ 1.เนื่องจากมติที่ประชุมเห็นชอบทุกมาตรการ ส าหรับการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม ภายในที่น าเสนอ มหาวิทยาลัยจึงด าเนินการ ตามที่ระบุในแผนบริหารความเสี่ยงและ ควบคุมภายใน 2. ใหช้่วยทวนสอบความถูกตอ้งของตวัเลข แสดงจ านวนและร้อยละบุคลากรสายอาจารย์ ที่ดา รงตา แหน่งทางวชิาการ มหาวทิยาลยัทา การทวนสอบแลว้พบวา่ ถูกต้อง รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สตภ.อ5.5.1.3.01 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดบัมหาวทิยาลยั มรส.สตภ.อ5.5.1.3.02 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดบัหน่วย ปีการศึกษา 2565 มรส.สตภ.อ5.5.1.3.03 รายงานการประชุมกรรมการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต มรส.สตภ.อ5.5.1.3.04 คู่มือการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในทวั่ท้งัองคก์ร มหาวิทยาลยัรังสิต ปี การศึกษา 2565 มรส.สตภ.อ5.5.1.3.05 แผนการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ระดับองค์กร ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สตภ.อ5.5.1.3.06 รายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในทวั่ท้งองค์กร ั ระดับมหาวิทยาลัย ปี การศึกษา 2565 มรส.สตภ.อ5.5.1.3.07 รายงานการบริหารความเสี่ยงฯระดบัหน่วย มหาวทิยาลยัรังสิต ปีการศึกษา 2565 มรส.สตภ.อ5.5.1.3.08 ตารางสรุปปัจจัยเสี่ยงตาม KRI จ าแนกคณะวิชา มรส.สตภ.อ5.5.1.3.09 รายงานการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต มรส.สตภ.อ5.5.1.3.10 แผนการตรวจสอบมหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สตภ.อ5.5.1.3.11 รายงานการประชุมกรรมการสภามหาวทิยาลยั (วาระที่เกี่ยวขอ้ง) มรส.สตภ.อ5.5.1.3.12 การรายงานแผนการปรับปรุงการด าเนินงาน (Improvement Plan)ของปี การศึกษา 2565 ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ สถาบัน ปี การศึกษา 2564 ข้อ4. บริหำรงำนด้วยหลักธรรมำภิบำลอย่ำงครบถ้วนทั้ง 10 ประกำรที่อธิบำยกำรด ำเนินงำนอย่ำงชัดเจน (ข้อมูลโดย: ส ำนักงำนบุคคล(ฝ่ำยบริหำร) ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลัยรังสิต มีการบริหารงานตามนโยบายของมหาวิทยาลัย มีอธิการบดี สภามหาวิทยาลัย และ คณะผูบ้ริหารของมหาวิทยาลัยกา กับดูแล เพื่อให้การดา เนินงานบรรลุตามพนัธกิจ เกิดประสิทธิภาพและ


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ประสิทธิผล มีระบบการบริหารงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้โดยมีการด าเนินการบริหารงานด้วยหลัก ธรรมาภิบาล 10 ประการ ดงัน้ี 1. หลักประสิทธิผล (Effectiveness) มหาวิทยาลัยรังสิ ต โดยผู้บริ หารมหาวิทยาลัยได้ใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยซึ่ ง ครอบคลุมพนัธกิจสถาบนัทุกด้าน ที่สอดคล้องกบับริบทภายในและสถานการณ์แวดล้อมในปัจจุบนั ในการ บริหารจดัการที่สนับสนุนให้การดา เนินงานของหน่วยงานต่างๆ ภายใตโ้ครงสร้างการบริหารองค์การของ มหาวทิยาลยัมุง่สู่ความสา เร็จในการดา เนินงานบรรลุเป้าหมาย สอดคลอ้งเป็นไปในทิศทางของแผนยุทธศาสตร์ การพฒันามหาวิทยาลยั โดยการกา หนดเป้าประสงค์ และตัวช้ีวดัความส าเร็จ พร้อมค าอธิบายที่ชัดเจน สามารถ วัดได้จัดให้มีระบบและกระบวนการปฏิบัติงานที่เป็ นมาตรฐาน มีระบบและกลไกการติดตามประเมินผล รวมท้งัการพฒันาปรับปรุงอยา่งต่อเนื่อง การจดัลา ดบัความส าคญัของงาน โดยมีการจดัสรรเวลาให้แต่ละงาน อย่างเหมาะสม ผูบ้ริหารสามารถให้คา ปรึกษาและช้ีแนะแนวทางในการพฒันางาน ความรู้ทางด้านบริหาร จดัการกบัแนวทางการบริหารงาน 2. หลักประสิทธิภำพ (Efficiency) มหาวิทยาลยัรังสิต มีการบริหารจดัการที่ส่งผลต่อความคุม้ค่าเมื่อเทียบกบัเป้าหมายงบประมาณ และ เวลาที่ใชไ้ป มีการนา ขอ้มูลสารสนเทศเป็นหลกัส าคญั ในการบริหารงาน ผูบ้ริหารสามารถแนะแนวทาง แกไ้ข ปัญหาการทา งาน หรือแกไ้ขปัญหาเฉพาะหนา้ที่เกิดข้ึนจากการทา งานของคณะ/หน่วยงาน และมีแนวทางการ กา กบัดูแลที่ดีมีการออกแบบกระบวนการปฏิบตัิงานโดยใชเ้ทคนิคและเครื่องมือการบริหารจดัการที่เหมาะสม ให้องคก์ารสามารถใช้ทรัพยากรท้งัดา้นตน้ทุน แรงงานและระยะเวลาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพฒันาขีด ความสามารถในการปฏิบตัิงานตามภารกิจเพื่อตอบสนองความต้องการของคณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และผู้ มีส่วนไดส้่วนเสียที่ขอรับบริการ ดงัน้ี ด้ำนกำรศึกษำ มีการพฒันาระบบฐานขอ้มูลและระบบงานต่างๆ เพื่ออา นวยความสะดวกใหก้บับุคลากร นักศึกษา และผูร้ับบริการ เช่น กำรจัดกำรระบบห้องสมุดอัตโนมัติโดยส ำนักหอสมุด ได้ด าเนินการจัดการ เทคโนโลยีท้งัคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ (Hardware) และโปรแกรม (Software) ส าหรับใช้ปฏิบัติงานและ ให้บริการที่มีความทันสมัย มีคุณสมบัติที่สามารถรองรับการปฏิบัติงานและให้บริการ มีการน าระบบห้องสมุด อตัโนมตัิมาจดัการงานต่างๆ ของห้องสมุด ไดแ้ก่ระบบจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ ระบบวิเคราะห์และควบคุม การจดัทา หมวดหมู่ระบบควบคุมวารสารระบบบริการสืบคน้ฐานขอ้มูลระบบควบคุมการยืม-คืน ระบบการ ยืม-คืนดว้ยตนเองอตัโนมตัิระบบข่ายงานอิเล็กทรอนิกส์และระบบฐานขอ้มูลผใู้ช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ท างาน และคุณภาพการให้บริการ โดยใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Aleph 500 รุ่น 23และ Primo ซ่ึงทา การติดต้งั และใหบ้ริการผา่นระบบ Cloud Server โดยสา นกัหอสมุดใชร้ะบบงาน ดงัต่อไปน้ี


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต - ระบบห้องสมุดอัตโนมัติใช้ฐานข้อมูล Oracle บนระบบปฏิบัติการ Linux ภายใต้ฐานข้อมูล Oracle มี Application Aleph ประกอบด้วย Database ดงัน้ี 1) Bibliographic เก็บรายการบรรณานุกรมทรัพยากรท้งัหมดของห้องสมุด เช่น หนงัสือ วารสาร สื่อ โสตทัศน์ 2) Administrative เก็บขอ้มูลเกี่ยวกบัรายการItem, Acquisitions, Catalog, Serialsและ Parton 3) Holdings เก็บขอ้มูลเกี่ยวกบั MARC, Holdings ท้งัหมด 4) Authorities เก็บขอ้มูลเกี่ยวกบั MARC, Authorities ท้งัหมด - ระบบงานเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์(Information Portal Module) เป็ นระบบที่สามารถท างานเป็ น Gateway ระหวา่ง HTTP ซึ่งเป็ นต้นแบบของ Web กบั Z39.50 สามารถใช้ Web browser ประเภทใดก็ไดใ้นการ คน้หาขอ้มูลไดต้ลอดเวลา โดยไม่จา กดัเวลาและสถานที่ - ระบบบริการสืบค้นข้อมูล (Online Public Access Catalog Module) เป็ นระบบการจัดการให้มีการ สืบค้นรายการบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศในส านักหอสมุด เพื่อให้ผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลได้ตาม ความต้องการ - ระบบพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisition Module) เป็ นระบบที่ใช้ส าหรับการบริหารจัดการ การจดัหาทรัพยากรสารสนเทศรวมท้งัการบริหารงบประมาณ -ระบบวิเคราะห์และควบคุมการจดัทา หมวดหมู่(Cataloging Module) เป็นระบบที่ใชใ้นการกา หนดและ การจดัหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศของสา นกัหอสมุด โดยบูรณาการขอ้มูลกบั Acquisition Module - ระบบควบคุมวารสาร (Serial Control Module) เป็ นระบบการบริ หารจัดการ และการบอกรับ สิ่งพิมพต์ ่อเนื่อง - ระบบควบคุมการยืม-คืน (Circulation Module) เป็ นระบบที่ให้บริการยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศ ของส านักหอสมุด ซ่ึงจะทา งานร่วมกบัรหัสแถบ (Barcode) เพื่อเพิ่มความรวดเร็วและความถูกต้องในการ ให้บริการ - ระบบการยืม-คืน ด้วยตนเองอัตโนมัติ (Self - CheckSystem) เป็ นการน าเทคโนโลยีทันสมัยที่สุดใน ขณะน้ีคือ RFID (คลื่นสัญญาณวิทยุ) มาใช้งานและบันทึกข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศเพื่ออ านวยความสะดวก แก่ผใู้ชใ้หส้ามารถยมื-คืน ได้ด้วยตนเอง ระบบประเมินกำรเรียนกำรสอนของอำจำรย์โดยนักศึกษำ เพื่อให้นักศึกษาได้ท าการประเมินผลการ สอนของอาจารย์ โดยวดัประสิทธิภาพการจดัการเรียนการสอนโดยทวั่ ไป และวดัประสิทธิภาพการจดัการเรียน การสอนแบบ Active Learning รับผิดชอบโดยส านักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ส านักงานมาตรฐานวิชาการ และสา นกังานประกนัคุณภาพ


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ระบบฐำนข้อมูลด้ำนกำรประกนัคุณภำพ ไดแ้ก่ระบบฐานเอกสารกลาง (Documents Base System) เป็ น ระบบที่เก็บรวบรวมรายการเอกสารหลกัฐานที่เกี่ยวขอ้งกบัการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในระดบัหลกัสูตร ระดบัคณะ ระดบัหน่วยงานสนับสนุน และระดบัสถาบนั, ระบบฐานขอ้มูลรายงานผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน ฉบบัเบ้ืองตน้ฉบบัสมบูรณ์และรายงาน Improvement Plan มหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งเป็ นระบบที่ สามารถน าเข้ารายงาน มคอ.7 รายงาน SAR และผปู้ระเมินสามารถอ่านและกรอกรายงานผลการประเมิน รวมถึง การแกไ้ขรายงานการตรวจประเมินเบ้ืองตน้ผา่นระบบฯ ได้และสามารถรวบรวมรายงานผลการตรวจประเมิน เบ้ืองตน้ ให้เป็นฉบบัสมบูรณ์โดยระบบจะสามารถประมวลผลในส่วน Commentของกรรมการประเมินแล้ว สร้างเป็ น Default Improvement Plan เพื่อให้คณะสามารถ Login เข้าระบบฯ เพื่อกรอกข้อมูล Improvement Plan ให้เป็นฉบบัสมบูรณ์ไดท้นัทีซ่ึงถือวา่เป็นระบบแบบ One Stop Serviceและสามารถเก็บรวบรวม Improvement Plan ได้ทุกปี การศึกษา และระบบ EQA Online ซ่ึงเป็นระบบที่ใชร้ายงานขอ้มูลของคณะวิชาต้งัแต่ปีการศึกษา 2563 เป็ นต้นมา เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ด้ำนบริหำรจัดกำร มหาวิทยาลัยรังสิตมีระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนด้านการบริหารงานของสถาบัน ได้แก่ระบบสารสนเทศของบุคลากร (HR Online) เป็นระบบที่บุคลากรสามารถเขา้ดูประวตัิของตนเองเช่น ข้อมูลการใช้สวัสดิการ การลา การเรียกดูรายละเอียดเงินเดือนของตนเอง การดูภาษีของตนเอง รับผิดชอบโดย ส านักงานบุคคล ระบบการจัดการความรู้ (Knowledge Management System: KMS) รับผิดชอบโดยส านักงาน พัฒนาบุคคล ฝ่ ายนวัตกรรมและวิสาหกิจ และส านักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากน้ียงัมีการน า เทคโนโลยีและนวตักรรมมาใชใ้นการบริหารความปลอดภยัของมหาวิทยาลยัและป้องกนัอาชญากรรมภายใน และโดยรอบมหาวิทยาลยัซ่ึงรับผิดชอบโดยส านกังานตา รวจมหาวิทยาลยั ไดแ้ก่ระบบการตรวจจุดดว้ย QR Code ระบบกล้องวงจรปิ ดและ CCTV Mapping เพื่อดูแลความปลอดภัย อ านวยความสะดวกการจราจร และแจ้ง เหตุต่างๆ, งานสายตรวจมีการน า Body Camera ให้สายตรวจติดตัวเมื่อออกตัวเพื่อบันทึกภาพเมื่อประสบเหตุ, มี การน าApplication Life 360 ในการดูวา่สายตรวจปฏิบตัิหนา้ที่บริเวณใด หากมีเหตุจะได้สามารถแจ้งสายตรวจที่ อยู่ใกล้เขา้จุดเกิดเหตุได้ทนัเวลา และมีการจดัเก็บขอ้มูลโดยใช้Google Platform เช่น การจดัเก็บและคน้หา ขอ้มูลทะเบียนรถของบุคลากรที่ลงทะเบียนกบัทางส านกังานตา รวจมหาวิทยาลยัรังสิต ขอ้มูลรถจกัรยานยนต์ รับจ้างงานพิธีประสาทปริญญาบัตร บนัทึกคา ร้องแจง้ทรัพยส์ินสูญหายและทรัพยส์ินที่ไดน้า ส่งคืน บนัทึกการ แจง้เหตุและขอความช่วยเหลือเป็นตน้ 3. หลักกำรตอบสนอง (Responsiveness) มหาวิทยาลยัรังสิตมีการบริหารงานที่สอดคล้องกบัความคาดหวงัของความตอ้งการของหน่วยงานต่างๆ ท้งั ภายใน และจากภายนอกมหาวิทยาลัย จึงมุ่งมนั่ที่จะบริหารจัดการการด าเนินการในทุกพันธกิจใหได้ ้ผลส าเร็จ และเป็ นไปภายในระยะเวลาที่กา หนด เพื่อสร้างความเชื่อมนั่และความไว้วางใจให้กับนักศึกษา คณาจารย์


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้ปฏิบัติงาน และผูม้ีส่วนไดเ้สียอื่น ที่จะไดร้ับบริการอยา่งมีคุณภาพจากการปฏิบตัิงานตามพนัธกิจของสถาบนั โดยถือว่าความตอ้งการของผูม้ีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษา บุคลากร บุคคลหรือองค์การ ภายนอกที่เกี่ยวขอ้งเป็นสิ่งส าคญัดว้ยการจดัให้มีระบบและกลไกในการควบคุม การกา กบั ติดตามผลในการ ด าเนินงานทุกพนัธกิจท้ังด้านการผลิตบณัฑิต การวิจัยและนวัตกรรม การบริ การวิชาการ การท านุบ ารุง ศิลปวัฒนธรรม และเพื่อสร้างความเชื่อมนั่และความไวว้างใจให้กบัผูร้ับบริการ โดยมีการประเมินความพึง พอใจของผู้ใช้บัณฑิต นักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ เพื่อน ามาเป็ นข้อมูลส าหรับการปรับปรุงการให้บริการที่ มีคุณภาพและตอบสนองความตอ้งการของผรู้ับบริการแต่ละกลุ่ม ดงัน้ี - การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณลักษณะของบัณฑิตที่ส าเร็จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยรังสิต -การประเมินความพึงพอใจของนกัศึกษาช้นั ปีสุดทา้ยที่มีต่อหลกัสูตร -การประเมินความพึงพอใจของอาจารยแ์ละนกัศึกษาต่อสิ่งสนบัสนุนการเรียนรู้ -การประเมินความพึงพอใจต่อการจดับริการให้คา ปรึกษา แนะแนวดา้นการใชช้ีวิตและการเขา้สู่อาชีพ แก่นกัศึกษา -การประเมินความพึงพอใจต่อการใหบ้ริการของหน่วยงานต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย 4. หลักภำระรับผิดชอบ (Accountability) มหาวิทยาลยักา หนดให้บุคลากรตระหนกัในความรับผิดชอบต่อหน้าที่และศกัยภาพของตนเอง มีการ กา กบัติดตาม และประเมินผลการปฏิบตัิงานอย่างทดัเทียมกนัมีความส านึกในการรับผิดชอบต่อหน้าที่และ ยอมรับผลการด าเนินงาน ท้งัรับผิดและรับชอบ มีการกา หนดหน้าที่รับผิดชอบของผูบ้ริหารระดบัต่างๆ อย่าง ชดัเจนเพื่อให้ไดผ้ลงานตามเป้าหมายที่กา หนดไว้มีการหมอบหมายงาน มีขอบข่ายอา นาจหน้าที่การทา งาน ชดัเจน มีการประเมินผลการปฏิบตัิงานในหน้าที่ของคณบดีและผูบ้ริหารหน่วยงานโดยคณะกรรมการที่สภา มหาวิทยาลยัแต่งต้งัคณาจารยม์ ีหนา้ที่รับผิดชอบปฏิบตัิงานดา้นต่างๆ ตามภารกิจหลกัของคณะไม่ต่า กวา่ภาระ งานข้นัต่า ตามมหาวิทยาลยักา หนด มีการรายงานผลการปฏิบตัิงานตาม และมีกระบวนการประเมินผลการ ปฏิบตัิงานโดยคณะกรรมการที่คณบดีแต่งต้งัมีการกา หนดให้มีผูร้ับผิดชอบกิจกรรมโครงการต่างๆ ในคณะ มีกระบวนการประเมินกิจกรรมโครงการต่างๆ ภายในคณะวา่บรรลุวตัถุประสงคท์ ี่ต้งัไวห้รือไม่และใชผ้ลการ ประเมินมาปรับปรุงแก้ไขเพื่อการพฒันาให้ดียิ่งข้ึน มีการประเมินผลการปฏิบตัิงานตามเกณฑ์ภาระงานของ คณาจารย์และนา ผลการประเมินมาเป็นส่วนหน่ึงของการพิจารณาข้ึนเงินเดือน และให้ขอ้มูลยอ้นกลับแก่ ผูป้ฏิบตัิงานเพื่อการปรับปรุงแก้ไข เกี่ยวกบัการปฏิบตัิงาน อนัเป็นการนา ไปสู่การปรับปรุงการทา งานให้มี คุณภาพและประสิทธิภาพ


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต นอกจากน้ีมหาวิทยาลัยรังสิต มีการกา หนดภาระงานและหนา้ที่ความรับผิดชอบชดัเจนในทุกตา แหน่ง หรือหากมีการปรับเปลี่ยนภาระหน้าที่และความรับผิดชอบใดๆ จะมีประกาศให้ทราบโดยทวั่กนัการแต่งต้งั คณะกรรมการบริหารงานต่างๆ จะมีออกเป็นประกาศคา สั่งแต่งต้งัชดัเจน โดยภาระงานท้งัหมดจะถูกรายงานใน การประเมินผลปฏิบตัิงานประจา ปีซ่ึงมหาวิทยาลยัได้พฒันารูปแบบการประเมินผลให้มีความเหมาะสมต่อ ภารกิจในแต่ละตา แหน่ง โดยผ่านทางคณะกรรมการบริหารงานบุคคล เพื่อให้ไดเ้กณฑ์การประเมินที่วดัได้มี ประสิทธิภาพมากที่สุด มีการพฒันารูปแบบการประเมินให้เป็นการประเมินทุกระดบัต้งัแต่อธิการวิทยาลัย คณบดี ผู้อ านวยการ อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ทุกประเภท การประเมินจะเป็ นไปแบบบนลงล่าง และล่างข้ึนบน เพื่อให้การประเมินครอบคลุมท้งัหมด ส าหรับการประเมินอธิการบดีมหาวิทยาลัยน้นัจะเป็นการประเมินผ่าน ทางสภามหาวิทยาลัย ทุกๆ 2 ปีอีกท้งัมหาวทิยาลยัไดต้ระหนกัถึงความทุ่มเทและการรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ จึงมีการกา หนดค่าตอบแทนผทู้ี่ทา หนา้ที่บริหารและปรับเงินเดือนบุคลากรทุกระดับตามความเหมาะสม ชัดเจน และโปร่งใส 5. หลักควำมโปร่งใส (Transparency) มหาวทิยาลยัรังสิต มีระบบการตรวจสอบการทา งานภายในท้งัในระดบัมหาวทิยาลยัคณะ/หน่วยงาน มี การเผยแพร่ขอ้มูลของคณะ/หน่วยงานอยา่งเปิดเผย และเขา้ถึงขอ้มูลข่าวสารไดต้ามความเหมาะสม มีการสื่อสาร หรือแจ้งข้อมูลที่จา เป็นและเป็นประโยชน์ในการทา งานอย่างสม่า เสมอและถูกต้อง การตดัสินใจและการ ด าเนินการต่างๆ ของทุกคณะ/หน่วยงานอยู่บนกฎระเบียบชัดเจน การตัดสินใจที่ส าคัญจะอยู่ในรูป คณะกรรมการที่มีองค์ประกอบที่สมดุลและเป็นกลาง คณาจารย์บุคลากรของแต่ละคณะ/หน่วยงานสามารถ รับทราบ และมีความมนั่ใจไดว้า่การดา เนินงานน้นัมาจากความต้งัใจในการดา เนินงานเพื่อให้บรรลุผลตามป้า หมาย มีการกา กบั ให้กลไกการทา งานของทุกคณะ/หน่วยงานมีความโปร่งใส เปิดเผย ขอ้มูล ข่าวสาร และมี กระบวนการให้คณาจารยบ์ุคลากร นกัศึกษา และประชาชนเขา้ถึงขอ้มูลข่าวสารที่สะดวกเป็นจริงรวดเร็วทนั เหตุการณ์ตรงไปตรงมา มีที่มาที่ไปที่ชดัเจนและเท่าเทียมและตรวจสอบความถูกตอ้งได้จดัให้มีกระบวนการ หรือช่องทางรับฟังความคิดเห็นหรือขอ้เสนอแนะของผูร้่วมงานระดบัต่างๆ รวมท้งัของผูท้ ี่มีส่วนไดส้ ่วนเสีย เพื่อการปรับปรุงแกไ้ขการดา เนินงาน ผา่นช่องทางต่างๆ เช่น ผา่นทางเอกสาร ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์และทาง Facebook ของมหาวิทยาลัยหรืออธิการบดี เป็ นต้น มหาวทิยาลยัรังสิตมีการจดัประชุมต้งัแต่ระดบักรรมการสภามหาวทิยาลยัตลอดจนการประชุมในระดบั คณะ/หน่วยงาน ก่อนจะตดัสินใจออกนโยบาย หรือกฎเกณฑ์ต่างๆ เพื่อแสดงความคิดเห็นร่วมกนัและมีความ โปร่งใสในที่มาที่ไปของขอ้มูลต่างๆ อีกท้งัมหาวิทยาลยัรังสิตไดเ้ปิดรับฟังขอ้เสนอแนะหรือขอ้ร้องเรียนผา่น ทางรูปแบบต่างๆ ท้งัสื่ออิเล็กทรอนิกส์และหนงัสือร้องเรียน โดยจะมีการพิจารณาผา่นทางคณะกรรมการอยา่ง ชอบธรรม


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต นอกจากน้ีเรื่องสิทธิต่างๆ ของบุคลากร มีความโปร่งใสในการบริหารจดัการ บุคลากรในมหาวิทยาลยั สามารถตรวจสอบขอ้มูลต่างๆ อาทิข้อมูลการจ่ายเงินเดือน และสิทธิสวสัดิการต่างๆของตนเอง ผ่านทาง Website ส านักงานบุคคล 6. หลักกำรมีส่วนร่วม (Participation) ผูบ้ริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการตดัสินใจและร่วมแสดงความคิดเห็นของตนเองได้ มีการใชก้ระบวนการตดัสินใจจากผูม้ีส่วนไดส้ ่วนเสียที่เกี่ยวขอ้ง มีการรับฟังความคิดเห็นและขอ้เสนอแนะจาก ผูม้ีส่วนไดส้ ่วนเสียและนา ไปปรับปรุงการบริหารงาน โดยอาศยัหลกัคิดวา่คณาจารย์บุคลากร ทุกคนเป็นส่วน หน่ึงของมหาวิทยาลยัที่มีส่วนให้เกิดความเจริญกา้วหน้าได้ทุกคนตอ้งช่วยกนัรับผิดชอบร่วมกนัวางแผนงาน ทา แผนกลยุทธ์ทา แผนงบประมาณ โครงการ กา หนดเป้าหมาย ลงมือปฏิบตัิตามแผนที่วางไวใ้ห้สัมฤทธิผล พร้อมร่วมกนั ประกนัคุณภาพ ทุกคนตอ้งมีส่วนร่วมกนั ในการบริหารคณะ/หน่วยงานต่างๆในมหาวิทยาลยัและ สามารถตัดสินใจด าเนินการได้ในงานที่รับผิดชอบ 7. หลักกำรกระจำยอ ำนำจ (Decentralization) มหาวิทยาลยัมีการกา หนดภาระหนา้ที่หรือข้นัตอนการดา เนินงานของคณะ/หน่วยงาน และมอบหมาย งานแก่บุคลากรในมหาวิทยาลยัไดเ้หมาะสมกบั ปริมาณ และคุณภาพของงานที่ทา มีการกระจายภารกิจหน้าที่ ความรับผิดชอบแก่ผูบ้ริหารระดบัรองลงมา มีการมอบอา นาจและความรับผิดชอบในการตดัสินใจและการ ดา เนินการให้แก่บุคลากร และมีการรับฟังความคิดเห็นและเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนในการตดัสินใจ เบ้ืองตน้และนา ไปปรับปรุงการบริหารงานบริหารจดัการและใชท้รัพยากรที่มีจา กดัเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีการกา กบัการทา งานให้มีการลดข้นัตอนการปฏิบตัิงาน การพฒันาบุคลากรให้เรียนรู้งาน เรียนรู้เทคโนโลยี ใหม่ๆ เพื่อปรับตวัให้ทนักบัการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึน ใหส้ามารถทา งานไดห้ลายหนา้ที่สามารถทา งานแทนกนั ได้ซ่ึงจะช่วยใหง้านคล่องตวัและรวดเร็วข้ึน มีการแสวงหาความร่วมมือทา ความตกลง (MOU) กบัหน่วยงานอื่น ภายนอก ท้งัภาครัฐและเอกชนเพื่อความร่วมมือวชิาการและการใชท้รัพยากรร่วมกนั 8. หลักนิติธรรม (Rule of Law) มหาวิทยาลัยรังสิต มีการกา หนดขอบเขต อา นาจ และหน้าที่ในการปฏิบตัิงานอย่างชัดเจน มีการ บริหารงานด้วยความเป็นธรรม เสมอภาค และไม่เลือกปฏิบตัิคา นึงถึงสิทธิเสรีภาพของผูม้ีส่วนได้ส่วนเสีย ภายใตก้ฎ ระเบียบ ขอ้บงัคบัและแนวปฏิบตัิของมหาวิทยาลยัมีการเผยแพร่ ประชาสัมพนัธ์ข่าวสาร และขอ้ กฎหมาย ที่เกี่ยวขอ้งกบัคณะ/หน่วยงาน มีการกา หนดโครงสร้างคณะ/หน่วยงาน การแบ่งส่วนงาน และการจดั สายงานเพื่อปฏิบัติงานเป็ นไปตามภารกิจ โดยคณาจารย์ บุคลากร ผู้ปฏิบัติงานได้ทราบถึงขอบเขตหน้าที่การ


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ทา งานที่ชัดเจน คณาจารยม์ ีเสรีภาพในทางวิชาการในขอบเขตของกฎหมายอย่างเต็มที่และมีการกา กับให้ คณาจารย์ บุคลากร ผู้ปฏิบัติงานตะหนักในจรรยาบรรณ คุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริต มหาวิทยาลัยมีระเบียบปฏิบัติ ข้อบังคับที่ชัดเจน โดยไดม้ีการเผยแพร่ให้บุคลากรไดร้ับทราบ อีกท้งัมี การกา หนดโครงสร้าง พนัธกิจของคณะ/หน่วยงานที่ชดัเจน บุคลากรมีเสรีภาพในการทา งานตามขอบเขตของ กฎหมายโดยมีสา นกังานิติการและสา นกังานบุคคลกา กบัดูแลเรื่องระเบียบ ขอ้บงัคบักฎเกณฑต์ ่างๆ 9. หลักควำมเสมอภำค (Equity) มีการบริหารงาน โดยคา นึงถึงบุคลากรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้งให้ไดร้ับการปฏิบตัิและไดร้ับบริการ อยา่งเป็นธรรมและเท่าเทียมกนั ไม่เลือกปฏิบตัิไม่มีการแบ่งแยกกีดกนั ให้ทุกคนมีสิทธิในการลามีสิทธิในการ ขออนุญาตไปเข้ารับอบรมสัมมนาพัฒนาตนเอง มีสิทธิในการท าวิจัย ได้รับโอกาสและไดร้ับการส่งเสริมในการ ทา ผลงานทางวิชาการ ตลอดจนมีสิทธิในการขอตา แหน่งทางวิชาการอย่างเท่าเทียมกัน การให้บริการแก่ นกัศึกษา ศิษยเ์ก่า ประชาชนผูม้ีส่วนไดส้ ่วนเสีย ไม่มีการแบ่งแยกดา้นเพศ ชายหรือหญิง ถิ่นกา เนิด เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคลฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความเชื่อ ทางศาสนา ทุกคนมีสิทธิได้รับการบริการ โดยเป็ นไปตามเกณฑ์และกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย มหาวทิยาลยัรังสิตเนน้เรื่องหลกัความเสมอภาคในการบริหารจดัการทรัพยากรมนุษย์โดยเริ่มต้งัแต่การ สรรหาคัดเลือก ที่จะเปิ ดรับทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นเช้ือชาติศาสนา เพศ เมื่อเป็นบุคลากร มหาวิทยาลัยแล้ว สิทธิสวสัดิการต่างๆ ทุกคนได้รับอย่างเท่าเทียมกนั ไม่ว่าจะอยู่ในตา แหน่งใดก็ใช้เกณฑ์ เดียวกนั ในการบริหารจดัการ นอกจากน้ีสิทธิในการลาไดเ้ปิดกวา้งทุกศาสนา เช่น ลาบวช ลาไปประกอบพิธี ฮัจญ์ เป็ นต้น โดยให้บุคลากรทุกคนปฏิบตัิตนภายใต้กฎ ระเบียบ ขอ้บงัคบัของมหาวิทยาลยัอีกท้งัยงัมีการจดั สวสัดิการดา้นต่างๆ ใหก้บับุคลากรอยา่งเท่าเทียมและเสมอภาคเช่น -การจดัต้งักองทุนสา รองเล้ียงชีพ มหาวทิยาลยัรังสิต - การจดัสวสัดิการด้านการเบิกค่ารักษาพยาบาล ค่ารักษาทนัตกรรม ค่ารักษากรณีประสบอุบัติเหตุ การตรวจสุขภาพประจา ปีค่าเล่าเรียนบุตร -การให้ทุนสนับสนุนการศึกษา และการลาศึกษาของบุคลากร 10. หลกัมุ่งเน้นฉันทำมติ(Consensus Oriented) มหาวิทยาลัยรังสิต มีการนา ขอ้เสนอแนะและความคิดเห็นที่ไดท้ ้งัจากภายในและภายนอกมาใชใ้นการ ตดัสินใจการบริหารงาน มีการใชก้ระบวนการตดัสินใจเพื่อสรุปขอ้คิดเห็นโดยยดึหลกัฉนัทามติมีการกา กบั ใหม้ี การหาขอ้ตกลงทวั่ ไปภายในกลุ่มคณาจารย์บุคลากร นักศึกษา ผูม้ีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง มีการรับฟัง ข้อคิดเห็นจากผูบ้ริหารและบุคลากรทุกระดับข้ัน ในบางกรณีอาจใช้ตัวแทนของคณาจารย์ในการมีส่วน


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต เสนอแนะหรือร่วมดา เนินการ ขอ้ตกลงที่ไดจ้ะเกิดจากการใช้กระบวนการเพื่อหาขอ้คิดเห็นจากกลุ่มบุคคลที่ ได้รับประโยชน์และเสียประโยชน์ ต้องเห็นชอบร่วมกนัหากมีขอ้คดัคา้นตอ้งมีการหาขอ้ยตุิร่วมกนั รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.ศบว.อ3.3.1.1.02 แผนบริการวิชาการ ระดับมหาวิทยาลัย ปี การศึกษา 2565 มรส.สพบ.5.5.1.6.01 แผนพัฒนาบุคลากร มรส. 2564-2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.02 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สถาบันวิจัย พ.ศ.2565-2569 มรส.สวผ.อ5.5.1.1.04 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 มรส.สวผ.อ5.5.1.1.12 รายงานการประเมินติดตามผลการด าเนินงานกิจกรรมและโครงการพัฒนา ของมหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565 มรส.สศส.อ4.4.1.2.01 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม 2565-2569 มรส.สบค.อ5.5.1.4.01 เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงานประจ าปี ของอธิการ คณบดีและผู้อ านวยการ 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.02 เกณฑก์ารประเมินผลการปฏิบตัิงานประจา ปีบุคลากรตา แหน่งผชู้่วยอาจารย์2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.03 เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานประจ าปี บุคลากรสายเจ้าหน้าที่ 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.04 เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานประจ าปี บุคลากรสายอาจารย์ 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.05 แบบประเมินการปฏิบตัิงานของผอู้า นวยการหรือเทียบเท่า มหาวทิยาลยัรังสิต 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.06 แบบประเมินการปฏิบัติงานของอธิการ คณบดี มหาวิทยาลัยรังสิต 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4. 07 แบบรายงานและประเมินผลเจ้าหน้าที่ 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.08 แบบรายงานและประเมินผลผชู้่วยอาจารย์2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.09 แบบรายงานและประเมินผลอาจารย์ประจ า 2565 ข้ อ 5. กำรก ำกับติดตำมส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกหน่วยงำนในสถำบันมีกำรด ำเนินกำรจัดกำรควำมรู้ ตำมระบบ (ข้อมูลโดย: ส ำนักงำนพฒันำบุคคล) ผลกำรด ำเนินงำน


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต การจัดการความรู้มหาวิทยาลัยรังสิต มีระบบและกลไกการจดัการความรู้โดยมีการจดัต้งัคณะกรรมการ การจัดการความรู้มหาวิทยาลัยรังสิต แบ่งการจัดการความรู้ออกเป็น 5 ด้านตามยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 (1) สร้างความเป็ นเลิศทางการศึกษาและการผลิตบัณฑิต (Excellence in Education) (2)สร้างนวัตกรรมงานวิจัย (Innovative Research and Development) (3)การบริหารจดัการสู่องคก์ร อัจฉริยะ (Smart Organization) (4) เสริมสร้างและพัฒนาความเป็ นสากล (Internationalization) (5)การบริหาร ภาพลักษณ์และการสร้างความมีชื่อเสียง (Image and Reputation Management) มีการจัดท าแผนปฏิบัติการการ จัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565 มีการประชุมของคณะกรรมการการจัดการความรู้มหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อขับเคลื่อนการด าเนินงานให้บรรลุเป้าหมายคือ (1)การกา หนดความรู้หลกัที่จา เป็นหรือส าคญัต่องานหรือ กิจกรรมของกลุ่มหรือองค์กร (2) การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ (3) การปรับปรุง ดัดแปลง หรือสร้างความรู้ บางส่วนใหเ้หมาะต่อการใชง้านของตน (4)การประยกุตใ์ชค้วามรู้ในกิจการงานของตน (5)การน าประสบการณ์ จากการท างาน และการประยุกต์ใช้ความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และบันทึกไวอ้ยา่งเป็นระบบ และเหมาะต่อการ ใชง้าน นอกจากน้นัคณะวิชาต่างๆ ยงัมีการจดัต้งัคณะกรรมการการจดัการความรู้ของแต่ละคณะเพื่อเป็นกลไก ขับเคลื่อนการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ภายในคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต โดยคณะกรรมการการจัดการความรู้ได้จัดโครงการประชุมช้ีแจง ท าความเข้าใจการด าเนินงานการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) ปี การศึกษา 2565 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2566 เพื่อช้ีแจงแนวทางการดา เนินงาน แบบฟอร์ม และการจดัเก็บขอ้มูล KM ของปี การศึกษา 2565 โดยจัดบรรยายใน 3 หวัขอ้ที่สา คญั ไดแ้ก่ -ระบบกำรจัดกำรควำมรู้มหำวทิยำลยัรังสิต (RKMS) ซึ่งระบบ RKMSไม่ไดม้ีความหมายเพียงระบบ Software ที่เป็ น Database แต่มีความหมายรวมไปถึงการจดัการความรู้ที่ต่อไปจะเป็นวฒันธรรมองค์กรและ สามารถดา เนินการตลอดปีการศึกษาไม่ใช่เพียงช่วงเวลาที่ขอให้ทา การถอดความรู้เท่าน้น ั ซึ่งความส าคัญของ การท า KM ของมหาวิทยาลัยรังสิต ใช้รูปแบบ Model ปลาทู(ส่วนหวั= Knowledge Vision คือ การท า KM เพื่อ ตอบยุทธศาสตร์ฯท้งั 5 ดา้นของมหาวิทยาลยั, ส่วนตวั= Knowledge Sharingคือกระบวนการที่ทา ให้เกิดการ จดัการความรู้และส่วนหาง = Knowledge Assetsคือ การจดัเก็บขอ้มูลในระบบฐานขอ้มูล ต้งัแต่ปีการศึกษา 2564 เป็ นต้นมา ได้มีการเพิ่มเติมช่องทางการเผยแพร่ โดยการนา Clip VDO ของผลงานที่ได้รับรางวัลแนว ปฏิบตัิที่ดีเผยแพร่ผา่น YouTube Channel - กำรจัดกำรควำมรู้(KM) กับกำรประกันคุณภำพ (QA) โดยการให้ความรู้ความเขา้ใจกบัคณะวิชา ต่างๆ ถึงเครื่องมือที่ใช้ในการท า KM (เพิ่มเติม) เช่น การถอดความรู้,การเปลี่ยนจาก Tacit Knowledge (ความรู้ที่ ฝังอยใู่นคน) เป็น Explicit Knowledge (ความรู้ที่ชัดแจ้ง) และส าหรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 สา นกังานประกนัคุณภาพไดป้รับปรุง Template มคอ.7 ในส่วนของผลการประเมิน ซ่ึง


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต มี Check listของคะแนน 4.00และการไปถึงระดับคะแนน 5.00 ที่ต้องมี KM แนวปฏิบัติที่ประสบความส าเร็จ และถ่ายทอดออกมาเป็นลายลกัษณ์อกัษรผ่านระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยและมีหลักฐานที่สามารถยืนยัน ความส าเร็จได้ - กำรจัดกำรควำมรู้ประจ ำปีกำรศึกษำ 2565 โดยการให้ความรู้ความเข้าใจกับคณะวิชาต่างๆ ถึงแนวทางที่คณะ/ หน่วยงานตอ้งดา เนินการ,ขอ้กา หนดของมหาวิทยาลยั, หลกัเกณฑ์การนา ส่งแบบฟอร์มการ รายงาน,กา หนดส่งขอ้มูล, เป้าหมายของการจดัการความรู้และตวัอยา่งผลงานของหน่วยงาน ซึ่ งกระบวนการดา เนินงานในส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจดัการความรู้ถูกจดัทา ข้ึนเพื่อกระตุ้น ส่งเสริมให้เกิดการเผยแพร่แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างกวา้งขวางทวั่ท้งัองค์กรโดยผ่านกิจกรรมต่างๆ ไดแ้ก่งาน เผยแพร่ผลงานดา้นการจดัการความรู้ของมหาวิทยาลยัรังสิต โดยในปีการศึกษา2565คณะกรรมการการจัดการ ความรู้มหาวิทยาลยัรังสิต ไดข้อความร่วมมือจากคณะวิชาและหน่วยงานเพื่อเป็นกา ลงัส าคญั ในการขบัเคลื่อน การด าเนินงาน KM ของมหาวิทยาลัยรังสิต ให้บรรลุผลส าเร็จตามเป้าหมาย โดยน าส่งผลงาน KM มายัง ส่วนกลางอย่างน้อยคณะวิชาละ 2 ชิ้น ตามแบบฟอร์มรายงานการจดัการความรู้(Knowledge Management) ปี การศึกษา 2565 นอกจากน้ีได้ขอความความอนุเคราะห์หน่วยงานสนับสนุนให้ส่งรายงานการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปี การศึกษา 2565ของหน่วยงานโดยเลือกทา ประเด็นความรู้อย่างน้อย 1 ประเด็น ของการจัดการความรู้ด้านใดด้านหนึ่ง ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 เนื่อง ด้วยทางคณะกรรมการการจดัการความรู้ฯ เล็งเห็นความสา คญัเกี่ยวกบัการนา การจดัการความรู้ที่ไดไ้ปใชใ้ห้เกิด ประโยชน์อยา่งแทจ้ริง และก่อให้เกิดการพฒันาประสิทธิภาพการดา เนินงานตามแต่ละพนัธกิจ จึงให้คณะวิชา ต่างๆ ส่งผลงานท้งัในส่วนของการถอดประสบการณ์การเรียนรู้และการนา ไปใชป้ระโยชน์จริง โดยผลงานใน ส่วนของการถอดประสบการณ์การเรียนรู้และแบบรายงานผลการจดัการความรู้ที่มีการจดัส่งเขา้มายงัส่วนกลาง มีดังน้ี1) สร้างความเป็ นเลิศทางการศึกษาและการผลิตบัณฑิต (Excellence in Education) จ านวน 44 เรื่อง 2) สร้างนวัตกรรมงานวิจัย (Innovative Research and Development) จ านวน 34 เรื่อง 3) การบริหารจดัการสู่ องค์ก รอัจฉริ ย ะ (Smart Organization) จ านวน 20 เรื่ อง 4) เส ริ ม ส ร้ างแล ะ พัฒนาความ เป็ นส า ก ล (Internationalization) จ านวน 8 เรื่ อง 5) การบริ หารภาพลักษณ์และการสร้างความมีชื่อเสียง (Image and Reputation Management) จ านวน 9 เรื่อง รวมท้งัหมดจา นวน 115 เรื่อง คณะกรรมการการจดัการความรู้ไดน้า ความรู้ฯ ในดา้นต่างๆ ที่คณะวิชา และหน่วยงานส่งเขา้มาโดยมี การพิจารณาให้รางวลัน้นัมาจากประธานและคณะกรรมการยุทธศาสตร์แต่ละยุทธศาสตร์เป็นผูพ้ ิจารณารางวลั แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ประจ าปี การศึกษา 2565 มีจ านวน 4 เรื่อง และรางวัลชมเชย เรื่อง 22 เรื่อง โดยผู้


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ได้รับรางวัล Good Practice ประจ าปี การศึกษา 2565 ทางคณะกรรมการพิจารณาใหน้า ผลงานที่ไดร้ับรางวลัท้งั 4 เรื่องมาทา เป็นคลิปวดีีโอเผยแพร่บน YouTube ของส านักงาน Wisdom Media ต่อไป ส าหรับการพัฒนาระบบเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ของ มหาวิทยาลัย ในปี การศึกษา 2565คณะกรรมการการจัดการความรู้มหาวิทยาลัยรังสิต ไดร้่วมกนัพฒันาระบบ Knowledge Management System: KMS ซ่ึงพฒันาระบบโดยส านักเทคโนโลยีสารสนเทศ ปัจจุบนัระบบน้ีได้ น ามาทดลองใช้และยงัอยู่ในข้นัตอนระหว่างการพฒันาระบบ ดงัน้ันผลงานการจดัการความรู้ท้งัหมดของ มหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565 จึงมีการเผยแพร่ในรูปแบบออนไลน์ทางเว็บไซต์ สามารถเข้าถึงได้จาก https://hrd.rsu.ac.th/good-practice-65 ภำพ: ช่องทำงกำรเผยแพร่กำรจัดกำรควำมรู้มหำวิทยำลัยรังสิต ปีกำรศึกษำ 2565 รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สพบ.อ5.5.1.5.01 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการการจดัการความรู้ มรส.สพบ.อ5.5.1.5.02 แบบฟอร์มรายงานการจัดการความรู้ปี การศึกษา 2565 มรส.สพบ.อ5.5.1.5.03 แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565 มรส.สพบ.อ5.5.1.5.04 รายงานการประชุมคณะกรรมการการจัดการความรู้ มรส.สพบ.อ5.5.1.5.05 เอกสารแจง้ใหค้ณะวชิาและหน่วยงานจดัส่งผลงานการจดัการความรู้


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สพบ.อ5.5.1.5.06 เอกสารแบบรายงานการประเมินผลการด าเนินงานยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 มรส.สพบ.อ5.5.1.5.07 ประกาศผลงานที่ได้รับรางวัลแนวปฏิบัติที่ดี ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สพบ.อ5.5.1.5.08 https://www. Youtube.com/RSU Academic มรส.สพบ.อ5.5.1.5.09 เว็บไซด์การจัดการความรู้มหาวิทยาลัยรังสิต https://hrd.rsu.ac.th/good-practice-65 ข้อ 6. กำรก ำกับติดตำมผลกำรด ำเนินงำนตำมแผนกำรบริหำรและแผนพัฒนำบุคลำกรสำยวิชำกำรและ สำยสนับสนุน (ข้อมูลโดย: ส ำนักงำนบุคคลและส ำนักงำนพฒันำบุคคล: ฝ่ ำยบริหำร) ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลัยรังสิ ต โดยฝ่ ายบริ หารบุคคล ส านักงานบุคคล มีการบริ หารทรัพยากรบุคคลให้มี ประสิทธิภาพ สามารถบริหารจดัการทรัพยากรบุคคลไดอ้ยา่งคุม้ค่า มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งเสริมให้ การบริหารงานขององคก์รเกิดผลสัมฤทธ์ิตามวสิัยทศัน์ที่กา หนด ดงัน้ี 1. ปรับรูปแบบการท างานเป็ นแบบการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) 2. เน้นการไม่รับคนเพิ่ม แต่รับคนเพื่อเป็นการทดแทน ยกเวน้เป็นหน่วยงานที่ต้งัข้ึนใหม่ หรือเปิ ด หลกัสูตรเพิ่ม หรือปรับปรุงระบบการศึกษา ที่จา เป็นตอ้งรับคนเพิ่ม 3. ปรับฐานเงินเดือนตามความจ าเป็ น เพื่อใหเ้หมาะสมกบัสถานการณ์ปัจจุบนั 4. การรักษาคนเก่งคนดีให้อยกู่บัองคก์ร ท้งัน้ีฝ่ายบริหารบุคคล ส านกังานบุคคล ยงัมีหลกัการบริหารจดัการทรัพยากรบุคคลในองคก์ร เพื่อให้ การดา เนินงานเป็นไปตามแผนงานที่กา หนดไวด้งัน้ี กำรสรรหำคัดเลือก แบ่งเป็นการสรรหาจากภายนอก และการสรรหาจากภายใน โดยคัดเลือกบุคลากรที่ มีผลการปฏิบตัิงานดีเด่นและมีศกัยภาพสูง (High Performance & High Potential) มาวางแผนพัฒนาให้เป็ น Talented peopleกรณีขาดแคลนหายาก มหาวิทยาลัยจะด าเนินการสร้างอาจารย์เอง โดยรับเข้าเป็ นบุคลากรของ สังกดัหลงัจบการศึกษาปริญญาตรีและให้ทุนการศึกษา ตามสาขาที่ขาดแคลน ทุนกำรศึกษำ


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยสนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาและยกระดับการศึกษาของตนเอง โดยการให้ทุน สนับสนุนเพื่อเข้าศึกษาในหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยจัดให้มีการเรียนการสอน หรือศึกษาต่อที่มหาวทิยาลยัอื่นตาม ความจ าเป็ น ซ่ึงถือเป็นส่วนหน่ึงของการพฒันาบุคลากรโดยมีหลกัเกณฑด์งัน้ี 1. ส ารวจคุณวุฒิของทุกสาขาวิชา วิเคราะห์หาความขาดแคลนของแต่ละสาขา เพื่อใช้ประกอบการ พิจารณา 2. เน้นการส่งเสริมให้ทุนตามสาขาที่จา เป็นและขาดแคลน ท้งัในประเทศและต่างประเทศเพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อองคก์ร ท้งัน้ีบุคลากรที่ได้รับทุนการศึกษาจะต้องรายงานผลการศึกษาต่อคณะกรรมการเป็นระยะทุกภาค การศึกษา กำรประเมินผลกำรปฏิบัติงำนและกำรปรับเงินเดือน มหาวิทยาลยัมีการประเมินผลการปฏิบตัิงานประจา ปีของบุคลากรเป็นการประเมินท้งัในระดบัอธิการ/ คณบดี/ผูอ้า นวยการ ตลอดจนเจา้หนา้ที่ทวั่ ไป โดยจะเป็นในลกัษณะการประเมินแบบบนลงล่างและล่างข้ึนบน ผลการประเมินที่ได้จะน าใช้ในด้านต่างๆ รวมท้งัการให้ความดีความชอบประจา ปีโดยการปรับเงินเดือน ประจ าปี โดยจะปรับเงินเดือนในวันที่ 1 มิถุนายนของทุกปี กำรกำ หนดภำระหน้ำที่ของบุคลำกร ส านักงานบุคคลมีการกา หนดภาระหน้าที่ความรับผิดชอบในการปฏิบตัิงานอย่างชดัเจน บุคลากรจึง รับทราบถึงขอบข่ายภาระหนา้ที่ของตนเองเป็นอยา่งดีมีเป้าหมายในการปฏิบตัิงานอยา่งชดัเจน โดยจะมีผลต่อ การประเมินผลการปฏิบัติงานประจ าปี ซึ่งจะค านึงถึงผลการปฏิบัติงานตามกรอบภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ของแต่ละคน และมีการประเมินผลการปฏิบตัิงานตามหลกัเกณฑ์ประจา ปีของมหาวิทยาลยัท้งัน้ีจะนา ผลไป ปรับปรุงโครงสร้างระบบบริหารการจดัการใหเ้กิดประสิทธิภาพในการดา เนินในปีการศึกษาต่อไป แผนงำนประจ ำปี 1. งานสถาปนามหาวิทยาลัย การจัดงานร าลึกวันสถาปนามหาวิทยาลัยในวันที่ 25 มกราคม ของทุกปี เพื่อสร้างขวญักา ลงัใจและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการทา กิจกรรมร่วมกนัของบุคลากร 2.การประเมินผลความส าเร็จของวิทยาลยัคณะและหน่วยงาน มีผลต่อการประเมินผลการปฏิบตัิงาน ของบุคลากรและการใหค้วามดีความชอบประจา ปีแก่บุคลากรดว้ย 4.การจดัตรวจร่างกายประจา ปีใหก้บับุคลากรทุกคน และเพื่อการเป็ นมหาวิทยาลัยที่ทันสมัย และการเป็ น มหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์อันดับหนึ่ง จึงมีการน าเทคโนโลยีเข้ามาพัฒนาปรับปรุงระบบบริหารทรัพยากร บุคคล การใหบ้ริการที่สะดวกรวดเร็ว ท้งัน้ีสา นกังานบุคคลไดด้า เนินการดงัน้ี


Click to View FlipBook Version