รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สวผ.อ5.5.1.1.04 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 มรส.ศบว.อ3.3.1.1.01 แผนสนบัสนุนส่งเสริมการบริการทางวชิาการ 5 ปี พ.ศ.2565-2569 มรส.ศบว.อ3.3.1.1.02 แผนบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565 มรส.ศบว.อ3.3.1.1.03 รายงานผลการด าเนินงานศูนย์บริการทางวิชาการ ประจ าปี การศึกษา 2565 ข้อ 2. จัดท ำแผนบริกำรวิชำกำรโดยมีบำงโครงกำรที่มีส่วนร่วมจำกชุมชนหรือองค์กำรเป้ำหมำย ที่ก ำหนดในข้อ 1 ผลกำรด ำเนินงำน การจดัทา แผนบริการวิชาการ มหาวิทยาลยัรังสิต อยู่ในความรับผิดชอบของศูนยบ์ริการทาง วิชาการ ซ่ึงเกิดจากการมีส่วนร่วมจากชุมชนหรือองคก์รเป้าหมายโดยการลงพ้ืนที่สา รวจความตอ้งการ ของชุมชน เช่น ชุมชนเมืองเอก ชุมชนหนองสาหร่ายและชุมชนอื่นที่เกี่ยวขอ้งเพื่อรับทราบปัญหาของ ชุมชน และไดเ้ชิญผนู้า ชุมชนและกรรมการจากชุมชนเขา้มามีส่วนร่วมในการพฒันาแผนบริการวชิาการ โดยจ าแนกแผนเป็ น 2 ระดับ ประกอบด้วย 1.แผนงานระยะยาวเป็นแผนสนบัสนุนส่งเสริมการบริการ ทางวิชาการ เป็ นแผนระยะ 5 ปีปัจจุบนัอยู่ในช่วงพ.ศ. 2565-2569 และ 2.แผนงานระยะส้ันเป็นแผน บริการวิชาการ ปี การศึกษา 2565 ซ่ึงเป็นกลไกการขบัเคลื่อนสู่การปฏิบตัิกระบวนการจดัทา แผน ดังกล่าวประกอบด้วย การสร้างระบบและกลไกเพื่อการกลั่นกรองแผนงานผ่านคณะกรรมการ ด าเนินงานบริการทางวิชาการ ที่มีผู้บริหารทุกวิทยาลัย/คณะ/สถาบัน และผู้แทนอาจารย์จากทุกคณะ รับผิดชอบในการวางแผน ประเมินผลโครงการบริการวิชาการและให้ข้อเสนอแนะ คณะกรรมการ ดงักล่าวไดร้ับแต่งต้งัโดยรักษาการอธิการบดีดร.อรรถวทิอุไรรัตน์ ในส่วนของชุมชน ตา บลหลกัหกจงัหวดัปทุมธานีซ่ึงถือว่าเป็นชุมชนหรือองค์การเป้าหมาย หลักของปี2565 ได้มีการประชุมร่วมกบัผูน้า ชุมชน ซ่ึงแจง้ความตอ้งการของชุมชนตา บลหลกัหกที่ ต้องการการบริการวิชาการ ได้แก่สุขภาพ สิ่งแวดล้อม กีฬา การศึกษา สร้างอาชีพและรายได้ มหาวิทยาลยัไดร้วบรวมความตอ้งการเหล่าน้นัและนา มาพิจารณาจดัทา โครงการบริการวิชาการที่เป็น ความต้องการของชุมชนและกา หนดโครงการเหล่าน้นั ไวใ้นแผนบริการวิชาการมหาวิทยาลยัรังสิตปี 2565 ตวัอย่างแผนบริการวิชาการดา้นสุขภาพและสิ่งแวดลอ้ม เช่น โครงการพัฒนาแกนน าชุมชนเพื่อ ดูแลผู้ป่ วยหลังโควิด-19กรณีศึกษาชุมชนนาวง ต าบลหลักหก จังหวัดปทุมธานี โครงการออกแบบพ้ืนที่ กิจกรรมเพื่อสุขภาพและกิจกรรมเชิงสร้างสรรคเ์พื่อส่งเสริมสุขภาวะแผนบริการวิชาการดา้นการศึกษา เช่น โครงการโรงเรียนสุขภาวะ ตา บลหลกัหกจงัหวดัปทุมธานีดา้นสังคมและเศรษฐกิจเช่น โครงการ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต พฒันาศกัยภาพของสมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน แม่บา้นเกษตรกร หลกัหกเพื่อเพิ่มรายได้โครงการ การผลิตไมโครกรีนสร้างรายได้เสริมให้ชุมชน กรณีของโครงการออมสินยุวพฒัน์รักษ์ถิ่น มีการดา เนินการโดยการลงพ้ืนที่ส ารวจความ ตอ้งการชุมชน เพื่อดา เนินการให้ตรงตามความตอ้งการของชุมชน ซ่ึงอยูใ่นแผนบริการวิชาการเช่นกนั เริ่มดา เนินการต้งัแต่ปี2563 และต่อเนื่องถึงปี2565 ซ่ึงในปีน้ีมีโครงการที่ลงพ้ืนที่ชุมชนที่กา หนดไว้ เป็ นเป้าหมายในจังหวัดปทุมธานีเป็ นจ านวน 2 โครงการยอ่ย คือโครงการวิสาหกิจชุมชนแม่บา้นสวย ใสพฒันา ที่ตา บลบางเตย อา เภอสามโคก และโครงการพฒันาผลิตภณัฑ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพร และผลไม้แปรรูป ที่ต าบลประชาธิปัตย์ อ าเภอเมืองปทุมธานีซ่ึงไดร้ับความร่วมมือจากผูน้า ชุมชนและ ผูแ้ทนชุมชนที่มีการประชุมร่วมกนัเพื่อสอบถามปัญหาและความตอ้งการจากชุมชน แลว้นา ความรู้ใน สายวิชาชีพที่สอดคล้องตามความต้องการของชุมชนไปผนวกกับภูมิปัญญาที่ชุมชนมีอยู่เพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ทา ให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ดา้นการบริหารจดัการ ดา้น การตลาด ด้านการเงิน และด้านการจัดสวัสดิการเพื่อประโยชน์ของสมาชิกและชุมชน นอกจากน้ียงัมีพ้ืนที่เป้าหมายเดิมที่ยงัคงกา หนดให้มีโครงการบริการวิชาการอยูใ่นแผนบริการ วิชาการประจ าปี 2565คือโครงการนวัตกรรมนาข้าว ชาวนาอัจฉริยะ โดยคณะนวัตกรรมเกษตร ประชุม ร่วมกบักลุ่มเกษตรกร ตา บลหนองสาหร่าย อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรีเพื่อเก็บขอ้มูลส าหรับการพฒันา องคค์วามรู้และนวตักรรมส าหรับการต่อยอดในการทา เกษตรอจัฉริยะให้กบัชุมชน ซ่ึงเป็นโครงการใน แผนบริการวิชาการแก่สังคมและชุมชนที่ดา เนินโครงการพฒันาต่อเนื่องต้งัแต่ปี2557จนถึงปัจจุบัน ที่ ไดร้ับความร่วมมือจากชุมชนเป็นอยา่งดีเสมอมา ท้งัน้ีการดา เนินการในทุกโครงการที่ไดจ้ดัทา แผนบริการวิชาการของมหาวิทยาลยัรังสิต ยงัได้ คา ถึงประโยชน์ที่จะได้รับให้ครอบคลุมท้งัในส่วนของบุคลากร นักศึกษา ชุมชนหรือสังคม ตาม แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการทางวิชาการแก่สังคม ปีการศึกษา 2565 ที่ได้ก าหนดไวใ้ห้ สอดคลอ้งกนัดว้ย รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.ศบว.อ3.3.1.1.01 แผนสนบัสนุนส่งเสริมการบริการทางวชิาการ 5 ปีพ.ศ. 2565-2569 มรส.ศบว.อ3.3.1.1.02 แผนบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565 มรส.ศบว.อ3.3.1.2.01 แผนการใชป้ระโยชน์จากการบริการทางวชิาการแก่สังคม ปีการศึกษา 2565 มรส.ศบว.อ3.3.1.2.02 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการดา เนินงานบริการทางวชิาการ ปีการศึกษา 2565 มรส.ศบว.อ3.3.1.2.03 โครงการพัฒนาแกนน าชุมชนเพื่อดูแลผู้ป่ วยหลังโควิด-19 กรณีศึกษาชุมชนนาวง ต าบลหลักหก จังหวัดปทุมธานี
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.ศบว.อ3.3.1.2.04 โครงการออกแบบพ้ืนที่กิจกรรมเพื่อสุขภาพและกิจกรรมเชิงสร้างสรรคเ์พื่อ ส่งเสริมสุขภาวะ มรส.ศบว.อ3.3.1.2.05 โรงเรียนสุขภาวะ ต าบลหลักหก จังหวัดปทุมธานี มรส.ศบว.อ3.3.1.2.06 โครงการนวัตกรรมนาข้าว ชาวนาอัจฉริยะ มรส.ศบว.อ3.3.1.2.07 โครงการผลิตไมโครกรีนสร้างรายได้เสริมให้ชุมชน มรส.ศบว.อ3.3.1.2.08 โครงการพฒันาศกัยภาพของสมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน แม่บา้นเกษตรกรหลกั หกเพื่อเพิ่มรายได้ มรส.ศบว.อ3.3.1.2.09 โครงการวสิาหกิจชุมชนแม่บา้นสวยใสพฒันา มรส.ศบว.อ3.3.1.2.10 โครงการพฒันาผลิตภณัฑก์ลุ่มวสิาหกิจชุมชนสมุนไพรและผลไมแ้ปรรูป ข้อ 3. ชุมชนหรือองค์กำรเป้ำหมำยได้รับกำรพัฒนำและมีควำมเข้มแข็งที่มีหลักฐำนที่ปรำกฏชัดเจน ผลกำรด ำเนินงำน จากการติดตาม และประเมินผลลัพธ์การให้บริการวิชาการตามวัตถุประสงค์ของแผนบริการ วิชาการ การศึกษาปี 2564 สรุปไดว้า่ ในภาพรวมมหาวิทยาลยัรังสิตมีโครงการบริการวิชาการจา นวน มากแต่โครงการที่มียงัขาดการกา หนดเป้าหมายหรือตวัช้ีวดัว่าชุมชนเป้าหมายไดร้ับการพฒันาโดยมี หลกัฐานปรากฏชดัเจน ทา ให้มีเพียงโครงการจา นวนหน่ึงเท่าน้ันที่สามารถแสดงหลกัฐานที่ปรากฏ ชัดเจน ในปี การศึกษา 2565 จึงปรับกระบวนการเพิ่มเติม เพื่อให้การบริการวิชาการวิชาการแก่ชุมชน และองคก์รเป้าหมายมีความเขม้แข็งและมีหลกัฐานปรากฏชดัเจนวา่ชุมชนเป้าหมายไดร้ับการพฒันาให้ ปรากฏชัดเจนเพิ่มมากข้ึน โดยดา เนินการเน้นย้า ในการประชุมคณะกรรมการดา เนินงานบริการทาง วชิาการต้งัแต่ตน้ ปีและมีการกระตุน้เตือนในระหวา่งปีการการศึกษากบัอาจารยผ์รู้ับผิดชอบโครงการ ส าหรับในปี 2565ขอยกตวัอย่างโครงการที่มีผูร้ับบริการ ซ่ึงประกอบด้วย ชุมชน องค์การ เป้าหมาย ที่ไดร้ับการพฒันาและมีความเขม้แข็งเพิ่มข้ึนอยา่งเป็นรูปธรรมและมีหลกัฐานปรากฏชดัเจน ดงัน้ี ด้านสุขภาพและสิ่งแวดลอ้ม คือ โครงการพฒันาแกนนา ชุมชนเพื่อดูแลผูป้่วยหลังโควิด-19 กรณีศึกษาชุมชนนาวง ตา บลหลกัหกจงัหวดัปทุมธานีโดยคณะกายกาพบา บดัและเวชศาสตร์การกีฬา เห็นวา่การทา ความเขา้ใจมุมมองต่อการเจ็บป่วยการจดัการสุขภาพ และผลกระทบจากการติดเช้ือที่เกิด ข้ึนกบัผูป้่วยและครอบครัวท้งัทางกายจิตใจและสังคม จะเป็นประโยชน์ต่อการพฒันาท้งัสุขภาพกาย และใจของชุมชน จึงควรมีการจดัการระบบบริการฟ้ืนฟูสุขภาพที่เหมาะสมกบับริบทของผูป้่วยหลงัติด เช้ือ โควิด-19 ต่อไป โดยคา นึงถึงความเขม้แข็งของชุมชน จึงให้แกนนา ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกนัการติดเช้ือและลดการแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยเปิ ดโอกาส ให้แกนนา ชุมชนมีส่วนร่วมกา หนดแนวปฏิบตัิในการป้องกนัและดูแลผูป้่วยหลงัติดเช้ือโควิด-19 และ โรคระบาดอื่นๆ ที่อาจเกิดข้ึนในอนาคต ดา เนินการประชุมแกนนา ชุมชนเพื่อร่วมเก็บขอ้มูลผเู้คยติดเช้ือ โควิด-19 ท้งัการใช้แบบส ารวจ เยี่ยมบ้านและสัมภาษณ์ผูป้่วยที่เคยติดเช้ือโควิด19 เพื่อสรุปข้อมูล รวมท้ังระดมสมองร่วมกับแกนน าชุมชน เพื่อหาแนวปฏิบัติส าหรับการดูแลและให้คา แนะน าที่ เหมาะสมแก่ผูป้่วย ซ่ึงจากการดา เนินโครงการทา ให้เกิดความส าเร็จแสดงให้เห็นถึงการพฒันาของ ชุมชนที่มีความเข้มแข็งและมีหลักฐานที่ปรากฏชัดเจนคือ แกนน าชุมชนจ านวน 30 คน มีความรู้และ สามารถในการให้คา แนะนา กบัผูป้่วยติดเช้ือโควิด-19 ไดอ้ยา่งถูดตอ้ง เกิดฐานขอ้มูลและตา แหน่งที่อยู่ ของผูท้ี่เคยเจ็บป่วยติดเช้ือโควิด-19 ท าให้ชุมชนสามารถนา ขอ้มูลดงักล่าวไปใช้ประกอบ เพื่อทา แผน ด าเนินการเฝ้าระวังความเสี่ยงในการระบาดและควบคุมการระบาดของเช้ือโควิด-19 รวมท้งัเกิดความ เข้าใจและมีแนวปฏิบัติส าหรับการดูแลและให้ค าแนะน าที่เหมาะสมแก่ผูป้่วยหลงัติดเช้ือโควิด-19และ โรคติดเช้ืออุบตัิใหม่โดยแกนนา ชุมชนสามารถนา ไปเป็นแนวทางในการปฏิบตัิและถ่ายทอดสู่ชุมชน ได้ อีกตวัอย่างหน่ึงส าหรับโครงการด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม คือโครงการออกแบบพ้ืนที่ กิจกรรมเพื่อสุขภาพและกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมสุขภาวะ โดยวิทยาลัยการออกแบบ เนื่องจากพ้ืนที่วดัรังสิตเป็นทางลดัจากเมืองเอกออกสู่ถนน local road ได้ จึงมีการใช้เป็ นทางสัญจรอยู่ เป็นประจา และโดยส่วนใหญ่จะค่อนขา้งใชค้วามเร็ว จึงทา ให้มีความกงัวลวา่อาจจะเกิดอุบตัิเหตุข้ึนได้ ท้งัน้ีจุดที่มองวา่จะเป็นปัญหา มีอยู่2จุด คือพ้ืนที่หนา้โบสถ์ที่ไม่มีการแบ่งการสัญจรที่ชดัเจน และอีก จุดคือตามพ้ืนที่เสี่ยงต่าง ๆ เช่น ถนนหนา้เขตโรงเรียน ที่เป็นทางขา้มของนกัเรียนและคุณครูและส่วน สามแยกที่เป็นจุดตดัของรถยนต์ที่จะเขา้มาในพ้ืนที่ดงัน้นัจึงไดม้ีการวางแผนแกป้ ัญหาโดยการใช้การ ออกแบบพ้ืนที่กิจกรรมเขา้ทา ในบริเวณดงักล่าว โดยจะทา การทาสีเพื่อสร้างทางมา้ลายแต่หลงัจากที่ ผา่นการวิเคราะห์แลว้การสร้างสัญลกัษณ์ทางมา้ลายแบบเดิม ๆ อาจจะสร้างผลการตอบรับให้กบัพ้ืนที่ ไดไ้ม่มากพอแกป้ ัญหาไม่ไดจ้ริง จึงเกิดแนวคิดของการนา Design Intervention (การแทรกแซงด้วยงาน ออกแบบ) มาใชใ้นโครงการดงักล่าว โดยใหล้อ้ไปกบัพ้ืนที่หนา้โบสถ์ท้งัน้ีเป็นการสร้างแนวคิดของจุด น าทาง เพื่อท าให้เกิดความรู้สึกของการเป็นพ้ืนที่เดียวกนัของในส่วนวดัและโรงเรียนอีกดว้ย โดยทาง คณะท างานได้น าผลงานที่ได้รับการคัดเลือกจ านวน 5ผลงานจากการประกวดชิ้นงานของนักศึกษา วิทยาลยัออกแบบ เขา้นา เสนอแก่ตวัแทนชุมชน และตวัแทนกรรมการวดัรังสิต โดยวตัถุประสงค์หลกั เพื่อให้คนในชุมชนและวัดรังสิตน้ันได้มีส่วนร่วมในกระบวนการคัดเลือกและตัดสินใจ อีก วตัถุประสงค์หน่ึงคือ เพื่อสร้างการตระหนกัรู้และสร้างความรู้สึกสัมพนัธ์ถึงพ้ืนที่ของตนท้งัทางฝั่ง ชุมชน และคณะนกัศึกษาที่ทา งาน ผลลพัธ์ที่ไดจ้ากโครงการปรากฏชดัเจน ในทางตรงคือไดพ้ ้ืนที่ทาง
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ม้าลายที่ผา่นการออกแบบ รวมไปถึงการใชส้ีแบ่งพ้ืนที่เพื่อทา กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดการให้ คุณค่าใหม่ของพ้ืนที่เดิม อีกท้งัยงัเป็นการแกป้ ัญหาความปลอดภยัของทางเดินรถที่ไดร้ับโจทยจ์ากกลุ่ม ตวัแทนชุมชนวดัรังสิตต้งัแต่เริ่มโครงการดว้ย และผลลพัธ์ทางออ้มคือเกิดความร่วมมือ และสร้างการ ตระหนักรู้ให้กับคนในชุมชน ทา ให้ชุมชนได้พ้ืนที่ทา กิจกรรมแห่งใหม่ในพ้ืนที่เดิม แต่ผ่านการ ออกแบบและจดัการอย่างสร้างสรรค์เป็นการแสดงให้ชุมชนได้เห็นและตระหนักรู้ว่า หากผ่านการ จดัการหรือกระบวนการออกแบบอย่างสร้างสรรค์แล้ว พ้ืนที่ที่เคยมีอยู่เดิม ก็สามารถปรับเปลี่ยน วิธีการใช้ประโยชน์ได้เป็นการปรับมุมมองของคนในชุมชนให้เห็นคุณค่าในพ้ืนที่ของตนเองลดการ เกิดอุบตัิเหตุทา ใหส้ภาพแวดลอ้มของชุมชนดีข้ึน ด้านการศึกษาคือ โครงการโรงเรียนสุขภาวะ ต าบลหลักหก จังหวัดปทุมธานี โดยวิทยาลัยครูสุ ริยเทพ โดยมีเป้าหมายส าคญัคือการพฒันาการศึกษาเสริมสร้างพลงัการทา งานของผูท้ ี่เกี่ยวขอ้งกบั โรงเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผูบ้ริหารและครูให้เขา้มามีส่วนร่วมในการพฒันาโรงเรียนไปสู่ความเป็น โรงเรียนสุขภาวะ ซึ่งมีองค์ประกอบส าคัญคือ โรงเรียนเป็ นสุข สภาพแวดล้อมเป็ นสุข ครอบครัวเป็นสุข ชุมชนเป็นสุข โดยมีเป้าหมายคือผูเ้รียนเป็นสุข หรือเป็นการสร้างสุขภาวะให้แก่ผูเ้รียน โครงการน้ี มุ่งเนน้การสนบัสนุนให้ผูม้ีส่วนไดส้ ่วนเสียทุกฝ่ายไดป้รับเปลี่ยนวิธีคิดจากการรอรับนโยบายและการ สั่งการ เป็นการมีส่วนร่วมรับผิดชอบการบริหารจดัการดว้ยตวัเองมากยิ่งข้ึนในรูปแบบการบริหารดว้ย คณะกรรมการ เพื่อเป็นกลไกส าคญั ในการตดัสินใจต้งัแต่การกา หนดเป้าหมาย การวางนโยบาย การ จดัสรรงบประมาณ การดา เนินงานต่างๆ และการประเมินผลโดยมุ่งเน้นการปรับปรุงพฒันาโรงเรียน ตามสภาพจริง ในโครงการดงักล่าวจะเกิดจากการระดมสมอง แสดงความคิดเห็นและร่วมกนัพฒันา โรงเรียนสุลักขณะให้เป็ นโรงเรียนสุขภาวะ ท าให้ได้รับการพัฒนาและมีความเข้มแข็งที่มีหลักฐานที่ ปรากฏชัดเจน อนั ได้แก่ 1) ด้านสภาพแวดล้อมเป็ นสุข ด้วยความตระหนักถึงความปลอดภัยของ โรงเรียน จากการพิจารณาร่วมกนัว่าโรงเรียนไม่มีร้ัวรอบขอบชิด ประกอบกบั ประตูโรงเรียนที่อยู่ใน สภาพไม่พร้อมใชง้าน ไม่สามารถเปิดและปิดประตูโรงเรียนได้จึงมีการจดัต้งัผา้ป่าประตูโรงเรียน โดย ขอความอนุโมทนาจากท่านเจ้าอาวาสวดัรังสิตในการจัดทา ผา้ป่าประตูโรงเรียนข้ึน เมื่อวนัที่ 25 ธันวาคม 2565 ท้งัน้ีโรงเรียนไดต้ิดต้งัร้ัวและประตูโรงเรียนแล้วเสร็จเป็ นที่เรียบร้อย 2) ด้านนักเรียนเป็ น สุข ได้เล็งเห็นว่าหากนักเรียนมีสมาธิที่ดีมีจิตใจที่สงบ จะส่งผลต่อการเรียนและการดา รงชีวิตของ นกัเรียนไดอ้ยา่งมีสติจึงไดจ้ดัทา หลกัสูตรอานาปานสติภาวนาเนกขมัมะบารมีพฒันาจิตอาสาเพื่อสังคม (อนพจ.๒) ซึ่ งมีโครงการย่อยคือโครงการการสร้างสมาธิให้แก่เด็กและเยาวชน เมื่อวนัที่2 และ 6 ธันวาคม 2565 และ 31 มกราคม 2566 ซึ่ งถือเป็ นโครงการโรงเรียนสุขภาวะที่โรงเรียนสุลักขณะได้ ดา เนินการอยา่งเป็นรูปธรรมในปีที่1และ 3)จากการเขา้ร่วมโครงการทา ให้ผูร้่วมโครงการเล็งเห็นและ ตระหนกัวากระบวนการท า ่ PLC เพื่อพฒันาโรงเรียนสุขภาวะ หากมีการวางแผนพฒันาอยา่งเป็นระบบ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต และต่อเนื่องจะช่วยใหค้รูสามารถนา ไปเป็นผลงานประเมิน PA ประจา ปีได้ดงัน้นัจึงไดม้ีการจดัประชุม คณะครูเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา PLC ของโรงเรียนสุลักขณะ ได้ ผลส าเร็จที่เกิดจากการทา กิจกรรม คือผูบ้ริหารโรงเรียนคณะครูไดแ้ลกเปลี่ยนเรียนรู้และไดแ้นวทางใน การท า PLC ของโรงเรียนสุลักขณะ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 ซึ่งได้ข้อสรุปแนวทางกระบวนการท า PLC ของครูโรงเรียนสุลักขณะ ในปี การศึกษา 2566 ต่อไป เพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านการศึกษาที่ ปรากฏชดัเจนใหม้ากยงิ่ข้ึน ด้านสังคมและเศรษฐกิจ คือโครงการผลิตไมโครกรีนสร้างรายได้เสริมให้ชุมชน โดยคณะ นวตักรรมการเกษตร ลงพ้ืนที่ส ารวจความต้องการที่โรงเรียนสุลกัขณะ ตา บลหลกัหก อา เภอเมือง ปทุมธานีจังหวดั ปทุมธานีและลงพ้ืนที่ด าเนินโครงการตามความต้องการของโรงเรี ยน โดยมี วตัถุประสงค์ในการเพิ่มพูนทกัษะและประสบการณ์ให้กบัชุมชนเป้าหมาย ให้สามารถรวมกลุ่มเป็น ชมรมที่มีการดา เนินการปลูกไมโครกรีนมาบริโภคเอง ซ่ึงเป็นผกัที่มีคุณค่าทางอาหารสูงดีต่อสุขภาพ และหากเหลือจากการบริโภคสามารถจัดจ าหน่ายเพื่อเพิ่มรายไดอ้ีกดว้ย จึงเขา้ไปดา เนินการปรับพ้ืนที่ และสร้างโรงเรือนเพาะปลูกไมโครกรีน การอบรมความรู้พ้ืนฐานสา หรับการเริ่มผลิตไมโครกรีนให้กบั แกนนา ในโครงการตลอดจนประเมินระยะการเก็บเกี่ยวไมโครกรีน วางแผนดา เนินการเก็บเกี่ยวผลผลิต การบรรจุหีบห่อ และการจดัจา หน่าย พร้อมท้งัการแบ่งรายได้ซ่ึงพบว่าผูเ้ขา้ร่วมโครงการไดร้ับองค์ ความรู้และมีรายได้เพิ่มเติมโดยเห็นผลปรากฏหลักฐานที่ชัดเจน จา นวน 18 คนในชุมชนที่เข้าร่วม กิจกรรมมีรายไดเ้สริมจากงานประจา เพิ่มข้ึน รวมท้งัสร้างแกนนา ที่มีศกัยภาพในการขยายผลโครงการ ในอนาคตไดต้่อไป อีกโครงการหน่ึงด้านสังคมและเศรษฐกิจคือ โครงการพฒันาศกัยภาพของสมาชิกในกลุ่ม วิสาหกิจชุมชน แม่บา้นเกษตรกรหลกัหกเพื่อเพิ่มรายได้โดยคณะเทคโนโลยอีาหารลงพ้ืนที่ในชุมชน หลกัหกพบวา่ทางส่วนใหญ่ทา อาชีพเกษตรกร ขายผลผลิตการเกษตร หรือนา ผลผลิตเกษตรมาแปรรูป เป็ นผลิตภัณฑ์อาหารจา หน่าย เช่น น้า ออ้ย น้า พริกกะยาสารท ผลไมด้องกลว้ยตากเป็นตน้แต่รายได้ ต่อ ครัวเรือนยงัน้อยต่อการดา รงชีพที่ภาวะเศรษฐกิจขณะน้ีแกนนา ของกลุ่มจึงมีแนวคิดในการเพิ่ม มูลค่าผลผลิตทางการเกษตร มาแปรรูปเป็นเครื่องดื่มที่เพิ่มมูลค่ามากข้ึน โดยหวงัวา่จะเพิ่มรายไดใ้หก้บั ครอบครัว ทางคณะจึงเห็นถึงโอกาสในการถ่ายทอดองคค์วามรู้ในสายวิชาชีพ และทางคณะมีโรงงาน ตน้แบบในการผลิตอาหารที่มีคุณภาพ สอดคลอ้งกบัเป้าหมายของวสิาหกิจชุมชนแม่บา้นเกษตรกรหลกั หก ซ่ึงสมาชิกในกลุ่มชุมชนดงักล่าว มีความสามารถในการทา งานและรวมกลุ่มอยเู่ป็นทุนเดิม จึงส ารวจ ความตอ้งการของชุมชน พร้อมท้งัจดัต้งัคณะทา งานและมีการประชุมร่วมกบัสมาชิกในกลุ่ม พฒันา ศกัยภาพแกนน าของสมาชิกในกลุ่มให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตอาหารที่มีคุณภาพ เป็น ผลิตภณัฑ์น้า ออ้ยเกล็ดหิมะและน้า ผลไมอ้ื่นๆ เพื่อนา ผลิตภณัฑ์มาสร้างเป็นอาชีพและหารายไดเ้พิ่มเติม
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รวมท้งัอบรมสมาชิกในการคา นวณตน้ทุนของการผลิต และการประชาสัมพนัธ์สินคา้และการตลาดเพื่อ เพิ่มยอดขาย ผลความส าเร็จของโครงการนอกจากจะได้ผลิตภณัฑ์น้า ออ้ยเกล็ดหิมะวางจา หน่ายเป็น ผลิตภณัฑ์ของกลุ่มสมาชิกแลว้ยงัทา ให้คุณกนกวรรณ เกียรติวาณีรัตนะ สามารถนา ความรู้ดงักล่าวไป สร้างอาชีพใหม่ช่วยเพิ่มรายไดใ้หก้บัครอบครัวอีกดว้ย โครงการออมสินยุวพฒัน์รักษ์ถิ่น เป็นอีกตวัอย่างหน่ึงของการบริการวิชาการดา้นสังคมและ เศรษฐกิจ ที่นบัว่า มหาวิทยาลยัรังสิตไดเ้ขา้ไปบริการวิชาการให้กบัชุมชนเกิดการพฒันาที่มนั่คงและ ยงั่ยืน โดยส านกังานบ่มเพาะธุรกิจและทรัพยส์ินทางปัญญา มหาวิทยาลยัรังสิต ร่วมกบัคณะ/ วิทยาลัย/ สถาบนัต่างๆ ลงพ้ืนที่ส ารวจความตอ้งการของชุมชน ส่งบุคลากรและนกัศึกษาร่วมดา เนินโครงการ นา ความรู้ในสายวิชาชีพที่สอดคลอ้งตามความตอ้งการพฒันาของแต่ละชุมชนไปผนวกกบัภูมิปัญญาของ ชุมชน เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ทา ให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ด้านการ บริหารจัดการ ด้านการตลาด ด้านการเงิน และ ด้านการจัดสวัสดิการเพื่อประโยชน์ของสมาชิกและ ชุมชน ซ่ึงด าเนินการต้ังแต่ปี2563 และต่อเนื่องถึงปี2565 ภายใต้หลักการของสถาบันอุดมศึกษา ดา เนินการพฒันาสังคมและชุมชน โดยร่วมมือกบัธนาคารออมสิน ซ่ึงขอยกตวัอย่าง 2 ชุมชน ต้งัอยู่ที่ จังหวัดปทุมธานี คือ 1)โครงการวิสาหกิจชุมชนแม่บา้นสวยใสพฒันา ที่ตา บลบางเตย อา เภอสามโคก มี ความตอ้งการให้ช่วยพฒันาฉลากสินคา้บรรจุภณัฑ์ผลิตภณัฑ์ดูแลจุดซ่อนเร้นสตรีลูกประคบสมุนไพร และเพิ่มองค์ความรู้การนวดไทยให้กบัสมาชิกในชุมชน 2)โครงการพฒันาผลิตภณัฑ์กลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนสมุนไพรและผลไมแ้ ปรรูป ที่ตา บลประชาธิปัตย์อา เภอเมืองปทุมธานีมีความตอ้งการให้ช่วย พฒันาบรรจุภณัฑ์ในรูปแบบใหม่รวมท้งัช่วยยืดอายุการการเก็บรักษา และมีความโดดเด่นมากข้ึนโดย ใช้ตน้ทุนต่า ซ่ึงท้งั 2 ชุมชนมีความตอ้งการที่เหมือนกนัคือตอ้งการเพิ่มกลุ่มลูกคา้และความรู้เกี่ยวกบั บญัชีตน้ทุน เพื่อให้สมาชิกในชุมชนเขา้ใจเรื่องการบนัทึกบญัชีว่าส่วนใดบา้งคือตน้ทุนที่แทจ้ริง สอน การจดัทา บญัชีรายรับรายจ่ายใหก้บัชุมชน เพื่อใหส้ามารถดา เนินการไดอ้ยา่งถูกตอ้งและเป็นลายลกัษณ์ อกัษรรวมท้งัมีการเพิ่มช่องการจดัจา หน่ายดา้นการตลาดใหม้ากข้ึนท้งัแบบออนไลน์และออฟไลน์ นอกจากน้ีโครงการบริการทางวิชาการที่ดา เนินการในปี2565 น้ียงัทา ให้ชุมชนไดม้ีโอกาส พฒันา องคค์วามรู้ตามความตอ้งการ สามารถนา องคค์วามรู้แนวคิดไปพฒันาต่อยอดผลิตผลิตภณัฑ์ หรือบริการในเชิงพาณิชย์รวมท้งัยงัส่งผลทางออ้มทา ให้นกัศึกษาของคณะต่างๆ ที่ลงพ้ืนที่ไดม้ีโอกาส เรียนรู้ควบคู่กบัการทา งาน ไดฝ้ึกปฏิบตัิวิชาชีพจริง ไดฝ้ึกการวางแผนการผลิต การขายการตลาด เพื่อ ต่อยอดในเชิงธุรกิจ เตรียมกา้วสู่การเป็นผูป้ระกอบการในอนาคตต่อไป ซ่ึงสอดคลอ้งกบัแผนการใช้ ประโยชน์จากการบริการทางวชิาการแก่สังคมที่กา หนดไว้จะเห็นไดว้า่ โครงการบริการวชิาการเพื่อการ พฒันาชุมชนท้งั 3 ด้านที่ดา เนินการน้ีสามารถทา ให้ชุมชนมีความเขม้แข็ง และมีหลกัฐานที่ปรากฏ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ชดัเจน จากเรื่องขององคค์วามรู้ที่สามารถถ่ายทอดต่อในชุมชน และรายไดท้ ี่เพิ่มข้ึนจากท้งัทางตรงและ ทางอ้อม รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.ศบว.อ3.3.1.1.02 แผนบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565 มรส.ศบว.อ3.3.1.2.02 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการดา เนินงานบริการทางวชิาการ ปีการศึกษา 2565 มรส.ศบว.อ3.3.1.2.01 แผนการใชป้ระโยชน์จากการบริการทางวชิาการแก่สังคม ปีการศึกษา 2565 มรส.ศบว.อ3.3.1.3.01 รายงานการประชุมคณะกรรมการด าเนินงานบริการทางวิชาการ ปี การศึกษา 2565คร้ังที่1/2565 มรส.ศบว.อ3.3.1.3.02 ตวับ่งช้ีของแต่ละโครงการ มรส.ศบว.อ3.3.1.3.03 สูจิบตัรงานกิจกรรม “โชว์ของ Made in หลักหก” มรส.ศบว.อ3.3.1.3.04 ภาพหลกัฐานที่ชุมชนนา ความรู้ที่ไดจ้ากโครงการไปต่อยอดเห็นผลปรากฏ ชัดเจน มรส.ศบว.อ3.3.1.2.03 โครงการพัฒนาแกนน าชุมชนเพื่อดูแลผู้ป่ วยหลังโควิด-19 กรณีศึกษาชุมชน นาวง ต าบลหลักหก จังหวัดปทุมธานี มรส.ศบว.อ3.3.1.2.04 โครงการออกแบบพ้ืนที่กิจกรรมเพื่อสุขภาพและกิจกรรมเชิงสร้างสรรค ์ เพื่อส่งเสริมสุขภาวะ มรส.ศบว.อ3.3.1.2.05 โรงเรียนสุขภาวะ ต าบลหลักหก จังหวัดปทุมธานี มรส.ศบว.อ3.3.1.3.05 โครงการผลิตไมโครกรีนสร้างรายได้เสริมให้ชุมชน มรส.ศบว.อ3.3.1.2.08 โครงการพัฒนาศักยภาพของสมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน แม่บ้าน เกษตรกรหลกัหกเพื่อเพิ่มรายได้ มรส.ศบว.อ3.3.1.2.09 โครงการวสิาหกิจชุมชนแม่บา้นสวยใสพฒันา มรส.ศบว.อ3.3.1.2.10 โครงการพฒันาผลิตภณัฑก์ลุ่มวสิาหกิจชุมชนสมุนไพรและผลไมแ้ปรรูป
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อ 4. ชุมชนหรือองค์กำรเป้ำหมำยด ำเนินกำรพฒันำตนเองอย่ำงต่อเนื่อง ผลกำรด ำเนินงำน ดา้นสุขภาพและสิ่งแวดลอ้ม มหาวิทยาลยัรังสิต ไดด้า เนินโครงการพฒันามหาวิทยาลยัรังสิตสู่ การเป็นมหาวิทยาลยัสร้างเสริมสุขภาพ โดยมหาวิทยาลยัรังสิตร่วมกบัส านกังานกองทุนสนบัสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มหาวิทยาลยัรังสิตนับเป็นมหาวิทยาลยัเอกชนแห่งแรกที่ร่วมโครงการ ดงักล่าว เริ่มดา เนินการมาต้งัแต่ปี2553 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งในปี 2564 มหาวิทยาลัยรังสิตจัดท าโครงการ พลิกโฉมหลกัหกเพื่อช่วยเหลือประชาชนในพ้ืนที่หลกัหกและพ้ืนไกลเ้คียง ที่ไดร้ับผกระทบจากการ แพร่ระบาดของโควิด-19 ประกอบด้วยโครงการสร้างความรู้ในการประกอบอาชีพและหารายได้แนว ใหม่บนพ้ืนฐานเศรษฐกิจฐานราก โดยมีโครงการหลกัหกปลอดภยัไร้โควดิเพื่อช่วยดูแลชาวหลกัหกให้ มีความรู้ในการป้องกันตนเอง รวมท้ังเป็นศูนย์ประสานงานเพื่อให้ข้อมูลความรู้ต่างๆ รวมถึง ประสานงานส่งต่อผปู้่วยโควดิ-19 ใหเ้ขา้สู่ระบบการรักษาในโรงพยาบาล จดัต้งัศูนยบ์ริการฉีดวคัซีนโค วิด-19 ที่ดูแลผู้มารับบริการด้วยใจและมีมาตรฐาน เพื่อให้ประชาชน ในตา บลหลักหาและพ้ืนที่ใกล้เคียงมีโอกาสเข้าถึงวคัซีนมีภูมิคุ้มกัน และในปี2565 น้ีได้ด าเนิน โครงการภายใตแ้ผนงานร่วมทุนสนบัสนุนการพฒันาสุขภาวะ จงัหวดัปทุมธานีกบัส านกังานกองทุน สนบัสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อพฒันากลไกการดา เนินงานร่วมทุนที่ยงั่ยืนและเกิดเป็น แหล่งทุนระยะยาวส าหรับการดา เนินงานสร้างสุขภาวะของประชาชนจงัหวดั ปทุมธานีโดยจดัทา โครงการด้านสุขภาพอยา่งต่อเนื่อง ใหก้บัพ้ืนที่ชุมชนหลกัหกคือโครงการพฒันาแกนนา ชุมชนเพื่อดูแล ผู้ป่ วยหลังโควิด-19กรณีศึกษาชุมชนนาวง ตา บลหลกัหกจงัหวดัปทุมธานีเพื่อดูแลฟ้ืนฟูผูป้่วยที่เคย ได้รับเช้ือโควิด-19 และพฒันาแกนน าชุมชนให้สามารถดูแลให้คา แนะน า รวมท้งัการวางแผนเพื่อ ป้องกนัความเสี่ยงในการควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19และโรคระบาดอื่นๆ ที่อาจเกิดข้ึนใน อนาคตด้วย ซ่ึงเป็นการส่งเสริมให้ชุมชนได้รับการพฒันาและมีความเข้มแข็งในด้านสุขภาพและ สิ่งแวดลอ้มที่พฒันาตนเองอยา่งต่อเนื่อง ดา้นสังคมและเศรษฐกิจ โครงการเกษตรอจัฉริยะ ซ่ึงเป็นการบริการวชิาการใหก้บัชุมชน ตา บล หนองสาหร่าย อา เภอพนมทวน จงัหวดักาญจนบุรีโดยกลุ่มเกษตรกรบ้านหนองสาหร่ายต้ังอยู่ที่ ต.หนองสาหร่ายอ.พนมทวน จ.กาญจนบุรีซ่ึงเป็นกลุ่มเกษตรกรที่มีศกัยภาพในการบริหารจดัการกลุ่ม และสามารถผลิตข้าว ต้นทุนต ่าเป็ นอันดับที่ 2ของประเทศได้อยา่งไรก็ตามก็ยงัประสบปัญหาการทา นา ท้งัในดา้นขาดปัจจยัการผลิต และราคาผลผลิตที่ตกต่า เมื่อกลุ่มไดร้ับความช่วยเหลือจาก ม.รังสิต เริ่มลง พ้ืนที่ส ารวจความตอ้งการชุมชนและบริการวิชาการพฒันาชุมชนต้งัแต่ปี2557 โดยความร่วมมือของ วิทยาลัยนวัตกรรมเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพและอาหาร วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ และคณะ บริหารธุรกิจ ที่เข้าไปช่วยแก้ไขปัญหาของกลุ่ม วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ดูแลเรื่องการจัดสร้าง
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต โรงเรือน ติดต้งัเครื่องอบลดความช้ืน เครื่องสีขา้ว และเครื่องบรรจุภณัฑ์โดยมีการออกแบบและสร้าง จากโรงสีข้าวต้นแบบ น าเทคโนโลยีในการ อบ การสีและการบรรจุภณัฑ์ขา้วที่ทนัสมยัเช่นเดียวกบั โรงสีขนาดใหญ่แต่ยอ่ขนาดของโรงสีให้อยูใ่นขนาดของชุมชน ซ่ึงโรงสีตน้แบบน้ีมีกา ลงัการผลิตได้ ถึง 1 ตนัต่อชวั่ โมง และสามารถเก็บแกลบ ร าขา้ว ปลายขา้ว ไปใชป้ระโยชน์ต่อได้มหาวิทยาลยัรังสิต สนับสนุนด้านการบริการวิชาการและการลงทุนเบ้ืองตน้จดัให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือ การทา การเกษตรใหก้บัชุมชนอีกหลากหลาย เช่นไดแ้ก่ (1)การใชส้ถานีวดัสภาพอากาศ ที่ช่วยพยากรณ์ ปริมาณน้ าฝนในช่วง 24 ชั่วโมง โดยอัพเดทข้อมูลแบบ Real time บนเว็บไซต์ให้สมาชิกในกลุ่ม สามารถดูข้อมูลได้ตลอดเวลา (2) การพัฒนาโดรนส ารวจแปลงข้าวในการวิเคราะห์ความอุดมสมบูรณ์ ของขา้วและโรคของขา้ว จากการวิเคราะห์ความเขียวของใบขา้ว โดรนหว่านเมล็ดขา้ว โดรนพ่นปุ๋ย และพ่นยา ซ่ึงกา ลงัพฒันาและกา ลงัทดลองใช้กบักลุ่มบา้นหนองสาหร่าย (3) การให้ความรู้ การปลูก ข้าว GAP และ ข้าว Organic เพื่อยกระดบัสร้างมาตรฐานให้กบัทางแบรนด์ของกลุ่ม (4) การแปรรูป สินคา้ทางการเกษตร ไดแ้ก่ขา้วสาร พรีเมี่ยม ขา้วพอง ทองมว้น เป็นตน้เพื่อการเพิ่มมูลค่าของสินคา้ทา ใหก้ลุ่มผลิตขา้วที่มีมาตรฐาน สามารถสีขา้วเองได้สร้างแบรนดส์ ินคา้ของตวัเองได้ และเป็ นผู้ขายสินค้า เองอีกท้งัทางคณะบริหารธุรกิจ ยงัช่วยเรื่องการทา การตลาด ในดา้นการออกแบบ บรรจุภณัฑ์การหา ช่องทางการตลาด เพื่อส่งเสริมผลิตภณัฑ์ของชุมชน ซ่ึงเป็นการแกป้ ัญหาท้งัตน้น้า กลางน้า และปลาย น้า รวมท้งัจดัทา แผนสวสัดิการของกลุ่มชาวนาเพื่อบริหารจดัการผลตอบแทนอย่างเป็นธรรมและการ ผอ่นชา ระเพื่อให้ไดส้ิทธ์ิในการเป็นเจา้ของร่วมกนัของชุมชน โดยชุมชนไดร้ับการพฒันาอยา่งต่อเนื่อง ดังที่กล่าวมาน้ัน มีผลให้เกิดการสร้างต้นแบบการทา นาข้าวอินทรีย์โดยได้รับมาตรฐาน “Organic Thailand” แบบอัจฉริยะ (Smart rice farming) ณ ศูนยเ์รียนรู้นวตักรรมเกษตรภาคปฏิบตัิทฤษฎีใหม่และ อินทรีย์มหาวิทยาลัยรังสิตจึงได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้แก่การผลิตข้าวอินทรีย์จากนาข้าว อจัฉริยะสู่ชุมชนเพื่อการพฒันาเกษตรผูผ้ลิตขา้วอยา่งยงั่ยืน มีผลทา ให้(1) มีสมาชิกที่เขา้ร่วมโครงการ สามารถขอมาตรฐานเกษตรปลอดภัยของกรมการข้าว GAP ได้ 21 รายจากผู้ขอ 21 รายคิดเป็ นร้อยละ 100 (2) มีสมาชิกที่เขา้ร่วมโครงการสามารถขอมาตรฐานเกษตรอินทรียข์องกรมการขา้วได้5 รายจากผู้ ขอ 7 รายคิดเป็ นร้อยละ 72 (3)โครงการน้ีไดห้นงัสือรับรองวา่ โรงสีขา้วตน้แบบของมหาวทิยาลยัรังสิต เป็นโรงสีข้าวแปรรูป/คดับรรจุให้ผ่านมาตรฐานการผลิตข้าวอินทรีย์(มกษ 9000 เล่ม1 2552) เพื่อ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตขา้วอินทรียจ์ากนาขา้วอจัฉริยะสู่ชุมชน และจดัต้งัเป็นศูนย์การศึกษาและ เรียนรู้ เพื่อเขา้มาศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกบัการเกษตรอจัฉริยะ ซ่ึงจะถ่ายทอดองคค์วามรู้ให้กบัผูท้ี่สนใจ และมอบปัญญาบตัรการันตีให้ผูเ้ขา้รับการเรียนดว้ย มีผูท้ี่สนใจท้งัจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เขา้ มาศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่องจนทา ให้เป็นศูนยก์ารศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกบัการเกษตรที่มีชื่อเสียงแห่ง หน่ึง รวมถึงการส่งผลให้คนในชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเองและมีความ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต เข้มแข็ง ในปี 2563 มหาวิทยาลยัจึงไม่ไดก้า หนดเป็นชุมชนหลกัแต่เพื่อให้ชุมชนหนองสาหร่ายมีความ ยงั่ยืนต่อไป มหาวิทยาลยัรังสิตจึงยงัคงลงพ้ืนที่จดัโครงการเพิ่มเสริมและต่อยอดในส่วนที่ชุมชนยงั พฒันาต่อได้ซ่ึงในปี2564จดัโครงการวจิยัและพฒันานวตักรรมการสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลพลอยไดข้อง การท านาข้าวที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP ของชุมชนตา บลหนองสาหร่าย สร้างอาชีพและรายไดเ้สริมใน ครัวเรือน ส่งเสริมให้เกษตรกรสร้างมูลค่าเพิ่มจากวสัดุเหลือใชท้ ี่ไดห้ลงัจากการเก็บเกี่ยวไดแ้ก่การทา แกลบด าเป็ นวัสดุเพาะช า การเพาะเห็ดแชมปิ ญองจากปุ้ยหมักตอซังข้าว การเพาะเห็ดนางฟ้า นางรมด้วย ฟางขา้วแบบไม่น่ึงกอ้น เป็นตน้ซ่ึงเป็นโครงการในแผนบริการวิชาการแก่สังคมและชุมชนที่ดา เนิน โครงการพฒันาต่อเนื่องจากผลที่เกิดข้ึน จากโครงการนวตักรรมนาขา้วชาวนาอจัฉริยะ ทา ให้เกษตรกร สร้างมูลค่าเพิ่มจากวสัดุเหลือใชห้ลงัการเก็บเกี่ยวเพื่อสร้างเป็นรายไดเ้สริมให้กบัครัวเรือนเพิ่มเติมอีก ช่องทางหน่ึง ในปี2565 ยงัคงมีโครงการเกษตรอจัฉริยะต่อเนื่องให้กบัชุมชน ตา บลหนองสาหร่าย อ าเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี โดยพัฒนา Weather Station ซึ่ งเป็ นเซ็นเซอร์ส าหรับตรวจเช็ค สภาพแวดล้อมในนาขา้ว ที่สามารถเก็บขอ้มูลที่เกี่ยวขอ้งกบัการเพาะปลูกข้าว ที่จะนา ไปวิเคราะห์ ความสัมพนัธ์ระหว่างการปลูกและการปฏิบตัิดูแลแปลงกบัผลผลิตที่ไดร้ับไดอ้ย่างเหมาะสม รวมท้งั พฒันาระบบซอฟต์แวร์ฐานขอ้มูลไร่นา โมเดล และปัจจยัแวดล้อมในการเพาะปลูกขา้ว เพื่อทา การ วิเคราะห์การให้ปริมาณปุ้ยที่เหมาะสม ซ่ึงช่วยปรับปรุงกระบวนการเพาะปลูกขา้วให้ดียิ่งข้ึน ส่งผลให้ ชุมชนดา เนินการพฒันาตนเองดา้นสังคมและเศรษฐกิจ อยา่งต่อเนื่อง ดา้นการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต ไดด้า เนินโครงการบูรณาการการบริการวิชาการกบัการเรียน การสอนในรายวิชาโดยมีนกัศึกษาร่วมลงพ้ืนที่กบัอาจารยผ์ูส้อน เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กบัชุมชน ต าบลหนองสาหร่าย อา เภอพนมทวน จงัหวดักาญจนบุรีอยา่งต่อเนื่องต้งัแต่ปี2557 โดยคณะนวัตกรรม เกษตร มุ่งถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตขา้วอินทรียจ์ากนาขา้วอจัฉริยะสู่ชุมชน โดยทา งานร่วมกบันาย แรม เชียงกา ประธานชุมชนบา้นหนองสาหร่าย จนเกิดการพฒันาชุมชนเกษตรมาอยา่งต่อเนื่อง จนท า ใหน้ายแรม เชียงกา ประธานกลุ่มเกษตรกรบา้นหนองสาหร่าย จงัหวดักาญจนบุรีไดร้ับการคดัเลือกจาก คณะกรรมการส่งเสริมปราชญ์เกษตรของแผ่นดินให้เป็นปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน ในสาขาที่ 4 ปราชญเ์กษตรผูน้า ชุมชนและเครือข่าย ซ่ึงไดเ้ขา้รับพระราชทานโล่รางวลัในงานพระราชพิธีพืชมงคล จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ไปเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2562 และนอกจากประธานชุมชนแล้ว สมาชิก ของชุมชนหนองสาหร่ายก็มีองคค์วามรู้ทางดา้นการเกษตร ดว้ยการเขา้ร่วมโครงการและผา่นการเรียนรู้ พร้อมลงมือปฏิบตัิด้วยตนเอง จึงจดัต้งัเป็นศูนย์การศึกษาและเรียนรู้ให้เกษตรกรและผูท้ ี่สนใจท้งั หน่วยงานภาครัฐและเอกชน เขา้มาศึกษาดูงานเกี่ยวกบัการทา เกษตรอจัฉริยะอย่างต่อเนื่องกลายเป็น ศูนยก์ารศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกบัการเกษตรที่มีชื่อเสียงแห่งหน่ึงจนถึงปัจจุบนั โดยที่เกษตรกรในชุมชน จะถ่ายทอดองคค์วามรู้ให้กบัผูท้ี่สนใจ ท้งัในเรื่องการบริหาร การจดัการนาขา้ว ต้งัแต่เริ่มตน้ ปลูก เก็บ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต เกี่ยวเป็นขา้วเปลือก จนสีเป็นขา้วสาร และพฒันาชาวนาให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตและการ จดัการผลผลิตขา้ว ทา ให้ผลิตขา้วได้มีคุณภาพ ประหยดัตน้ทุน ส่งผลทา ให้ชาวนามีความเขม้แข็ง มี ความเป็นอยูท่ ี่ดีข้ึน รวมท้งัมีรายได้จากการขายข้าวเปลือกและข้าวสาร ตลอดจนผลผลิตอื่นๆ ที่ได้จาก การทา นาอยา่งยงั่ยนืสามารถพฒันาความรู้ความสามารถตนเองอยา่งต่อเนื่อง รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.ศบว.อ3.3.1.2.06 โครงการนวัตกรรมนาข้าว ชาวนาอัจฉริยะ มรส.ศบว.อ3.3.1.2.03 โครงการพัฒนาแกนน าชุมชนเพื่อดูแลผู้ป่ วยหลังโควิด-19กรณีศึกษา ชุมชนนาวง ต าบลหลักหก จังหวัดปทุมธานี มรส.ศบว.อ3.3.1.3.02 ตวับ่งช้ีของแต่ละโครงการ มรส.ศบว.อ3.3.1.4.01 สรุปผลการด าเนินงานโครงการบริการวิชาการ ปี การศึกษา 2565 มรส.ศบว.อ3.3.1.4.02 ปีที่เริ่มทา โครงการบริการวชิาการ มรส.ศบว.อ3.3.1.4.03 เพจ Facebook บา้นหนองทราย ณ หนองสาหร่าย ข้อ 5. สถำบันสำมำรถสร้ำงเครือข่ำยควำมร่วมมือกับหน่วยงำนภำยนอกในกำรพัฒนำชุมชนหรือ องค์กำรเป้ำหมำย มหาวิทยาลยัสามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือกบัหน่วยงานภายนอกในการพฒันาชุมชน หรือองคก์ารเป้าหมาย ดงัน้ี ความร่วมมือกบัสา นกังานกองทุนสนบัสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ภายใตแ้ผนงานร่วม ทุนสนับสนุนการพัฒนาสุขภาวะ จังหวัดปทุมธานี เพื่อการพัฒนาชุมชนหรือองค์การเป้าหมายในทุก ด้าน ซึ่งประกอบด้วย 1) ดา้นสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ไดแ้ก่โครงการพฒันาแกนนา ชุมชน เพื่อดูแล ผู้ป่ วยหลังโควิด-19 กรณีศึกษาชุมชนนาวง ตา บลหลกัหก จงัหวดัปทุมธานีโครงการออกแบบพ้ืนที่ กิจกรรมเพื่อสุขภาพและกิจกรรมเชิงสร้างสรรคเ์พื่อส่งเสริมสุขภาวะ ในพ้ืนที่ชุมชนวัดรังสิต เป็ นต้น 2) ดา้นการศึกษาไดแ้ก่โครงการโรงเรียนสุขภาวะ ตา บลหลกัหกจงัหวดัปทุมธานีซ่ึงไดร้ับความร่วมมือ จากชุมชนและหน่วยงานสนบัสนุนเป็นอยา่งดีทา ให้เกิดการพฒันาเป็นเครือข่ายคุณครูท้งัในโรงเรียน เดียวกนัและโรงเรียนในเครือข่ายเป็นตน้และ3) ด้านสังคมและเศรษฐกิจไดแ้ก่โครงการผลิตไมโครก รีนสร้างรายได้เสริมให้ชุมชน โครงการพฒันาศกัยภาพของสมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน แม่บา้น เกษตรกรหลกัหกเพื่อเพิ่มรายได้เป็นตน้
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ความร่วมมือกบัธนาคารออมสิน ภายใตโ้ครงการออมสินยุวพฒัน์รักษถ์ิ่น ร่วมกนัพฒันาชุมชน และกลุ่มเป้าหมาย ในดา้นสังคมและเศรษฐกิจ ไดแ้ก่โครงการวิสาหกิจชุมชนแม่บา้นสวยใสพฒันา โครงการวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรและผลไมแ้ปรรูป ซ่ึงต้งัอยูท่ ี่จงัหวดัปทุมธานีโดยโครงการน้ีเขา้ไป ช่วยพฒันาปรับปรุงผลิตภณัฑ์และบริการให้ทนัสมยัเพิ่มช่องทางการจดัจา หน่าย รวมท้งัสอนเรื่องการ ทา บญัชีพฒันาองค์ความรู้ที่ส าคญัๆ ให้สอดคลอ้งกบัความตอ้งการของชุมชน ทา ให้ชุมชนสามารถ ดา เนินการพฒันาเป็นวิสาหกิจชุมชนที่ดียิ่งข้ึน นา ไปสู่การสร้างเครือข่ายกบัวิสาหกิจชุมชนอื่นๆ ใน อนาคต การดา เนินโครงการบริการวชิาการท้งั 3 ดา้นน้ีช่วยใหม้หาวทิยาลยัสามารถสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือกบัหน่วยงานภายนอกในการพฒันาชุมชนหรือองค์การให้บรรลุเป้าหมายไดเ้ป็นอย่างดีซ่ึงจะ เห็นไดจ้ากการดา เนินการตามตวัช้ีวดัไดส้ าเร็จ โดยมีผลลพัธ์ทา ให้ชุมชนเป้าหมายไดร้ับการพฒันาที่ เห็นผลปรากฏชดัเจน สร้างความเขม้แข็งท้งทางด้านวิชาการ วิชาชีพ การบูรณาการการเรียนการสอน ั ของมหาวิทยาลยัและความสัมพนัธ์ที่ดีกบัหน่วยงานภายนอกที่ให้การสนับสนุน ร่วมกบัการพฒันา ชุมชนที่ยงั่ยนืไปพร้อมๆ กนั รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.ศบว.อ3.3.1.2.03 โครงการพัฒนาแกนน าชุมชนเพื่อดูแลผู้ป่ วยหลังโควิด-19กรณีศึกษา ชุมชนนาวง ต าบลหลักหก จังหวัดปทุมธานี มรส.ศบว.อ3.3.1.2.04 โครงการออกแบบพ้ืนที่กิจกรรมเพื่อสุขภาพและกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมสุขภาวะ มรส.ศบว.อ3.3.1.2.05 โรงเรียนสุขภาวะ ต าบลหลักหก จังหวัดปทุมธานี มรส.ศบว.อ3.3.1.2.07 โครงการผลิตไมโครกรีนสร้างรายได้เสริมให้ชุมชน มรส.ศบว.อ3.3.1.2.08 โครงการพฒันาศักยภาพของสมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน แม่บ้าน เกษตรกรหลกัหกเพื่อเพิ่มรายได้ มรส.ศบว.อ3.3.1.2.09 โครงการวสิาหกิจชุมชนแม่บา้นสวยใสพฒันา มรส.ศบว.อ3.3.1.2.10 โครงการพฒันาผลิตภณัฑก์ลุ่มวสิาหกิจชุมชนสมุนไพรและผลไมแ้ปรรูป
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อ 6. ทุกคณะมีส่วนร่วมในกำรด ำเนินกำรในโครงกำรต่ำงๆ ตำมแผนบริกำรทำงวิชำกำรแก่สังคมของ สถำบันตำม ข้อ 2 โดยต้องมีอำจำรย์มำเข้ำร่วมจำกทุกคณะ ผลกำรด ำเนินงำน จากวทิยาลยั/คณะ/สถาบนัท้งัหมด จา นวน 33วิทยาลัย/คณะ/สถาบัน ทุกวิทยาลัย/คณะ/สถาบัน มีส่วนร่วมในการดา เนินการในโครงการต่างๆ ตามแผนบริการทางวิชาการแก่สังคม คิดเป็นร้อยละ100 มีโครงการที่ดา เนินการโดยวิทยาลยั/คณะ/สถาบนัท้งัหมด 123 โครงการ แบ่งเป็นด้านสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม จา นวน 33 โครงการ ด้านการศึกษา จ านวน 54 โครงการและด้านสังคมและเศรษฐกิจ จ านวน 36โครงการ โดยจา นวนอาจารยผ์ูด้า เนินการในโครงการเขา้ร่วมจากทุกคณะรวมท้งัหมด 650 คน รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.ศบว.อ3.3.1.1.02 แผนบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565 มรส.ศบว.อ3.3.1.6.01 รายชื่ออาจารยท์ ี่เขา้ร่วมโครงการบริการวชิาการแยกตาม วิทยาลัย/คณะ/สถาบัน มรส.ศบว.อ3.3.1.6.02 การมีส่วนร่วมโครงการบริการวชิาการของคณะ มรส.ศบว.อ3.3.1.6.03 จ านวนโครงการแยกตามวิทยาลัยคณะสถาบัน มรส.ศบว.อ3.3.1.6.04 จา นวนอาจารยท์ ี่เขา้ร่วมโครงการบริการวชิาการแยกตาม วิทยาลัย/คณะ/สถาบัน มรส.ศบว.อ3.3.1.6.05 รายชื่อผรู้ับผดิชอบโครงการในแต่ละดา้น กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 เป้าหมาย ผลด าเนินงาน ผลการประเมิน บรรลุเป้าหมาย 6 ข้อ 6 ข้อ 5.00คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต องค์ประกอบที่ 3 กำรบริกำรวิชำกำร รำยงำนผลกำรวเิครำะห์จุดเด่น และจุดทคี่วรพฒันำ จุดเด่น 1. มหาวิทยาลัยรังสิต มีคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน ที่มีความเชี่ยวชาญหลากหลาย ท าให้มีองค์ ความรู้ความเชี่ยวชาญ เพื่อการพฒันาที่ครอบคลุมในศาสตร์ต่างๆ ไดค้รบถว้น ท้งัการบริการวิชาการ ดา้นสุขภาพและสิ่งแวดลอ้ม การบริการวิชาการดา้นการศึกษาและการบริการวิชาการดา้นสังคมและ เศรษฐกิจ 2. มหาวิทยาลัยรังสิตมีระบบ และกลไกในการวางแผนโครงการบริการวิชาการให้กบัชุมชน เป้าหมายที่ชัดเจน ตอบสนองความต้องการที่แท้จริง โดยมีผู้น าชุมชนและกรรมการจากชุมชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการพฒันาและจดัทา แผนบริการวิชาการร่วมกับคณะกรรมการดา เนินงานบริการทาง วิชาการ ซึ่งประกอบด้วยทุกวิทยาลัย/คณะ/สถาบัน 3. มหาวิทยาลยัและคณะ/วิทยาลยั/สถาบนัมีการสร้างเครือข่ายกบัหน่วยงานภายนอกในการ พฒันาชุมชนเป้าหมายและมีการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมกบันกัศึกษาในการพฒันาชุมชน โดยมี การบูรณาการกิจกรรมต่างๆ ใหทุ้กคณะ/วทิยาลยั/สถาบนัมีส่วนร่วม และกา หนดสัดส่วนอยา่งชดัเจน มี การประเมินผลสา เร็จร่วมกนั ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ ดว้ยมีการปรับเพิ่มพ้ืนที่เป้าหมายในการบริการวิชาการเพิ่มเติม ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ใหม่และเป็นช่วง เริ่มตน้ดงัน้นัการดา เนินการในมุมมองของความต่อเนื่องหรือยงั่ยืนอาจเป็นมิติเล็กๆ ซ่ึงจา เป็นตอ้งรอ การพฒันาต่อไป เพื่อใหเ้ห็นผลของการพฒันาในมิติที่กวา้งข้ึน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต องค์ประกอบที่ 4 กำรทำ นุบ ำรุงศิลปะและวฒันธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกกำรทำ นุบ ำรุงศิลปะและวฒันธรรม (ข้อมูลโดย: สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม) ชนิดของตัวบ่งชี้:กระบวนการ เกณฑ์กำรประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการด าเนินการ 1 ข้อ มีการด าเนินการ 2 ข้อ มีการด าเนินการ 3 -4 ข้อ มีการด าเนินการ 5 ข้อ มีการด าเนินการ 6 -7 ข้อ ข้อ1.กำ หนดผู้รับผดิชอบในกำรทำ นุบ ำรุงศิลปะและวฒันธรรม ผลกำรด ำเนินงำน การทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรมและความเป็นไทย นบัเป็นพนัธกิจหลกัที่ส าคญัพนัธกิจหน่ึงของ มหาวิทยาลัยรังสิตในฐานะสถาบันผู้ให้การศึกษา สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคมเป็ น หน่วยงานภายในของมหาวิทยาลยัซ่ึงตามโครงสร้างการบริหารมหาวิทยาลยัข้ึนตรงต่ออธิการบดีโดย อยู่ภายใต้การกา กบัดูแลของ ดร.เริงศกัด์ิแก้วเพ็ชร ดา รงตา แหน่ง ผูช้่วยอธิการบดีฝ่ายพฒันาสังคม ศิลปวัฒนธรรมและสิทธิประโยชน์ (อ้างอิง:คา สั่งแต่งต้งับุคลากร ที่ว.112/2565 ลงวันที่ 4 สิงหาคม 2565) เป็ นผู้รับผิดชอบดูแลบริหารงานด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม มีหน้าที่รับผิดชอบขับเคลื่อน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยด้านที่ 5การบริหารภาพลักษณ์ และการสร้างความมี ชื่อเสียง โดยมีผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ (OKR5.1.2) เป็นจา นวนกิจกรรมหรือโครงการท้งัในระดบัชาติ และระดบันานาชาติในแต่ละปีที่มุ่งเน้นการส่งเสริมกิจกรรมนกัศึกษา การทา นุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม โดยมีความร่วมมือกับองค์กรหรือบุคคลภายนอก ที่จะก่อให้เกิดคุณค่า แก่สังคม ประเทศชาติอยา่งยงั่ยนื หน่วยงำนและควำมรับผดิชอบภำรกจิด้ำนทำ นุบ ำรุงศิลปวฒันธรรม 1. สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม เป็ นผู้รับผิดชอบกา หนดแนวทางหรือนโยบายการ ด าเนินงานด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย โดยบรรจุลงในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ด้านศิลปวัฒนธรรม ด าเนินการให้เป็ นไปตามแผน ส่งเสริมสนับสนุนการภารกิจด้านการทา นุบา รุง ศิลปวฒันธรรมรวมท้งัการให้ความอนุเคราะห์ร่วมมือกบัคณะวิชา/ วทิยาลยั/ สถาบัน ในการด าเนินงาน กิจกรรมหรือโครงการต่างๆ ที่สอดคลอ้งกบัแผนยุทธศาสตร์การพฒันามหาวิทยาลยัรังสิตในประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริหารภาพลักษณ์และการสร้างความมีชื่อเสียง ตลอดจนการก ากับติดตาม
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ประเมินผลและรายงานผลการด าเนินงาน ที่ต้งัส านกังาน อาคาร 9 (อาคารประสิทธ์ิพฒันา) ช้นั 2 ห้อง 205 2.คณะวิชา/วิทยาลยั/ สถาบนัและหน่วยงานภายในมหาวิทยาลยัรังสิต เป็นผูร้ับผิดชอบจดัทา และดา เนินการกิจกรรมหรือโครงการดา้นทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม และมีส่วนร่วมในการดา เนินงาน ดา้นการทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรมกบัมหาวทิยาลยั โครงสร้ำงองค์กรและกำรบริหำรจัดกำร สถาบันศิลปวฒันธรรมและพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต แบ่งความรับผิดชอบด้าน ท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมออกเป็ น 5ฝ่ายงานไดแ้ก่1)ฝ่ายงานส่งเสริมศิลปวฒันธรรมและงานส่วนกลาง มหาวิทยาลัย 2) ฝ่ ายงานพัฒนาสังคม 3) ฝ่ ายงานจัดการเรียนการสอน 4) ฝ่ ายงานวิจัยและบริการวิชาการ และ 5)ฝ่ายงานสื่อสารองคก์รและดิจิทลัซ่ึงแต่ละส่วนงานอยูภ่ายใตส้ ังกดั สถาบันศิลปวัฒนธรรมและ พัฒนาสังคม โดยมีผชู้่วยอธิการบดีฝ่ายพฒันาสังคมศิลปวฒันธรรมและสิทธิประโยชน์เป็นผรู้ับผดิชอบ ภารกิจการทา นุบา รุงศิลปวัฒนธรรม โครงสร้ำงองค์กรของสถำบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนำสังคม อธิกำรบดีมหำวิทยำลัยรังสิต ผู้ช่วยอธิกำรบดีฝ่ำยพฒันำสังคมศิลปวฒันธรรมและสิทธิประโยชน์ รองผู้อำ นวยกำรสถำบันศิลปวฒันธรรมและพฒันำ สังคม ฝ่ายงานส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรม และงานส่วนกลาง มหาวิทยาลัย ฝ่ ายงานพัฒนาสังคม ฝ่ ายงานจัดการเรียน การสอน ฝ่ ายงานวิจัยและ บริการวิชาการ ฝ่ ายงานสื่อสาร องค์กรและดิจิทัล
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต หน้ำที่และควำมรับผิดชอบของสถำบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนำสังคม - จดัทา แผนยุทธศาสตร์การพฒันาด้านศิลปวฒันธรรม เพื่อให้เกิดโครงการตามมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ตวัช้ีวดัของสา นกังานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)และตวัช้ีวดัตามแผนยทุธศาสตร์ของมหาวทิยาลยัรังสิต - จัดทา แผนด าเนินงานทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม รายปีให้สอดคล้องกับตัวช้ีวดัของแผน ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยรังสิต - สร้างแหล่งเรียนรู้เพื่อเผยแพร่ศิลปวฒันธรรมและภูมิปัญญาทอ้งถิ่น - สร้างสรรค์สืบสาน พฒันากิจกรรม/โครงการดา้นทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม ส่งเสริม สนับสนุนให้นกัศึกษา บุคลากรตระหนกัถึงคุณค่า ศิลปวฒันธรรม ภูมิปัญญาทอ้งถิ่นและอตัลกัษณ์ของ มหาวิทยาลัยรังสิต - สร้างและรักษาเครือข่ายหน่วยงานภายนอกและภายในมหาวิทยาลัย ในการพัฒนา ศิลปวฒันธรรมและภูมิปัญญาทอ้งถิ่นกบัภาคีเครือข่ายให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดบัชาติหรือ นานาชาติ - พัฒนา website สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม เพื่อการประชาสัมพันธ์โครงการท านุ บา รุงศิลปวฒันธรรมต่างๆ และเป็นแหล่งรวบรวมขอ้มูลดา้นศิลปวฒันธรรมใหก้บัผเู้กี่ยวขอ้งรับทราบ - ติดตามการด าเนินโครงการด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมของคณะวิชา / วิทยาลัย / คณะ / หน่วยงานสนบัสนุน และรายงานผลความกา้วหนา้ในที่ประชุมกรรมการบริหารสถาบนัศิลปวฒันธรรม และพัฒนาสังคม -จัดท ารายงานผลการด าเนินงานตามแผนการด าเนินงานด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อการ ประกนัคุณภาพการศึกษาท้งัภายในและภายนอก - เขา้ร่วมประชุมกรรมการการดา เนินงานประกนัคุณภาพ และอนุกรรมการดา เนินงานประกนั คุณภาพด้วยความสม่า เสมอ เพื่อร่วมกันแก้ปัญหาข้อสงสัยต่างๆ ในการดา เนินงานด้านทา นุบา รุง ศิลปวัฒนธรรม รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สศส.อ4.4.1.1.01 คา สั่งแต่งต้งับุคลากร ที่ว.112/2565 ลงวันที่ 4 สิงหาคม 2565 มรส.สศส.อ4.4.1.1.02 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการแผนยทุธศาสตร์การพฒันาดา้นศิลปวฒันธรรม มรส.สศส.อ4.4.1.1.03 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการดา เนินงานแผนทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้ อ 2. จัดท ำแผนด้ำนท ำนุบ ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และก ำหนดตัวบ่งชี้วัดควำมส ำเร็จตำม วตัถุประสงค์ของแผน รวมท้งัจัดสรรงบประมำณเพื่อให้สำมำรถด ำเนินกำรได้ตำมแผน ผลกำรด ำเนินงำน สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม มีทิศทางที่ชัดเจนในการขับเคลื่อนเป้าประสงค์ของ แผนยุทธศาสตร์ การพฒันามหาวทิยาลยัและบรรลุผลลพัธ์ตามวตัถุประสงคท์ ี่กา หนด จา เป็นตอ้งจดัทา แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม ด้วยความตระหนักรู้ในบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่ ไดร้ับมอบหมายให้ปฏิบตัิภารกิจที่ส าคญั ไดแ้ก่1) การสืบสานศิลปวัฒนธรรม และประเพณีอันดีงาน ในบริบทของมหาวิทยาลัยรังสิต 2) สร้างสรรค์ สืบสาน ส่งเสริมกิจกรรม/โครงการพัฒนาด้านการท านุ บา รุงศิลปวฒันธรรม ที่จดัโดยหรือร่วมจดัโดยนกัศึกษาจากคณะวิชาต่างๆ กบัสถาบนัศิลปวฒันธรรม และพฒันาสังคม เพื่อสร้างความตระหนักรู้ในความส าคัญของคนไทยที่จะต้องช่วยกันทา นุบา รุง ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีอนัดีงาม รวมท้งัการอยูร่ ่วมกนั ในสภาพแวดล้อมแบบข้ามวัฒนธรรม และ 3) การสร้างความรู้ความเขา้ใจในศิลปวฒันธรรม การประยุกต์ใช้ศิลปวฒันธรรมไทยและต่างชาติอย่าง เหมาะสม ซ่ึงภารกิจท้งั 3 ประการน้ีสอดคลอ้งกบัมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 ในมาตรฐานที่ 4 ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็ นไทย แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2565-2569 ฉบบัน้ีกา หนด แนวนโยบายการดา เนินงาน สอดรับกบัวตัถุประสงคข์องแผนยุทธศาสตร์การพฒันามหาวิทยาลยัดา้นที่ 5 ดงัน้นักิจกรรมหรือโครงการที่จะใช้เป็นกลไกการขบัเคลื่อนผลลพัธ์ตามวตัถุประสงค์ของแผน จึง มุ่งเนน้การส่งเสริมกิจกรรมหรือโครงการพฒันานกัศึกษาดา้นการทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม สิ่งแวดลอ้ม โดยมีความร่วมมือกบัองค์กรภายนอกและหรือบุคคลภายนอก ซ่ึงเป็นไปเพื่อก่อให้เกิดคุณค่าหรือ มูลค่าเพิ่มแก่สังคม และประเทศชาติอยา่งยงั่ยืน สถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคมจึงไดก้า หนด กรอบการทา งานดา้นการสืบสาน ส่งเสริม และการสร้างความรู้ความเขา้ใจเกี่ยวกบัศิลปวฒันธรรมไทย การประยุกต์ใช้ศิลปวฒันธรรมไทยและต่างชาติอย่างเหมาะสมในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี ความสุขโดยแบ่งลกัษณะของกิจกรรมหรือโครงการฯ เป็น 4 ดา้น ไดแ้ก่1) วันส าคัญ ทางชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 2) การอนุรักษ์สืบสานประเพณีไทย 3) การพฒันาเครือข่ายความร่วมมือการ ส่งเสริมด้านศิลปวฒันธรรม และ 4) การส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรม/ โครงการด้านการท านุบ ารุง ศิลปวฒันธรรมและสิ่งแวดลอ้ม รวมท้งัการเผยแพร่งานศิลปวฒันธรรมของมหาวิทยาลยัสู่สาธารณชน การจัดท าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ดา้นศิลปวฒันธรรม จะมีรายละเอียดเกี่ยวกบัระบบและกลไกการ ดา เนินงาน แผนกลยุทธ์และแผนการดา เนินงาน ที่มุ่งให้การดา เนินงานบรรลุเป้าหมายท้งัในระยะส้ัน และระยะยาวสามารถสร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัย โดยจะจดั ให้มีระบบและกลไกการพฒันา คุณภาพอยา่งต่อเนื่อง สถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคมจะดา เนินการตามแผนการดา เนินงานโดย
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต มีการกา กบัติดตามการดา เนินงาน การควบคุมคุณภาพการดา เนินงาน และการตรวจสอบประเมินผลการ ดา เนินงาน ดงัน้นัเพื่อให้คณะวิชา/วิทยาลยั/ สถาบนั ไดร้ับทราบถึงแนวทางการดา เนินงานและการมี ส่วนร่วมกับสถาบันในการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และเพื่อขับเคลื่อนพันธกิจการท านุบ ารุง ศิลปวฒันธรรม ที่สอดคล้องกบัเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย ด้านที่ 5การ บริหารภาพลกัษณ์และการสร้างชื่อเสียงใหก้บัมหาวทิยาลยัสถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม จึง ได้จัดท าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม เพื่อสื่อสารอภิปรายภารกิจตามพนัธกิจดงักล่าว ให้ทราบทวั่กนัและเป็นกลไกส าคญัของการดา เนินงาน การติดตาม และการประเมินผลการด าเนินงาน และการรายงานผลการดา เนินงาน ที่เป็นประโยชน์ต่อการพฒันามหาวทิยาลยัต่อไป วตัถุประสงค์ 1. เพื่อสืบสานศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และความตระหนักรู้ถึงความส าคัญ ของวนัสา คญัต่างๆ ของชาติไทยใหเ้ป็นที่ประจกัษแ์ก่บุคลากร นกัศึกษา ชุมชน และสังคม 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพฒันาแหล่งเรียนรู้ศิลปวฒันธรรมและขนบธรรมเนียม ประเพณีไทยและต่างชาติที่งดงาม ให้กบับุคลากร นกัศึกษา ชุมชน และสังคม ไดท้า ความเขา้ใจและ นา ไปประยกุตใ์ชใ้นโอกาสหรือสถานการณ์ต่างๆ ไดอ้ยา่งเหมาะสม 3. เพื่อสร้างมาตรฐานการพัฒนาศิลปวัฒนธรรมทอ้งถิ่นและภูมิปัญญาทอ้งถิ่นกบัภาคีเครือข่าย ให้มีมาตรฐานเป็ นที่ยอมรับในระดับชาติ หรือนานาชาติ ปรัชญำ ของสถำบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนำสังคม “คนสร้างวัฒนธรรม วัฒนธรรมสร้างคน” มรดกไทยอนัล้า ค่าจะพฒันาถาวรได้โดยการสืบสาน รักษา ต่อยอด เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ตลอดจนมีการพฒันาปรับปรุงให้สอดคลอ้งกบัความเจริญของ สังคม วิสัยทัศน์ ของสถำบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนำสังคม “อนุรักษ์ส่งเสริม เผยแพร่สืบสานและสนบัสนุนการดา เนินงานดา้นศิลปวฒันธรรม” ปณิธำน ของสถำบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนำสังคม “เราจะสร้างคนดี” โดยสนับสนุนให้นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ได้สร้างสรรค์และแสดงผล งานทางศิลปวฒันธรรมรวมถึงการจดักิจกรรมที่ฟ้ืนฟูอนุรักษ์สืบสาน พฒันา เผยแพร่ศิลปวฒันธรรม ไทยอันเป็ นเอกลักษณ์ของชาติ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต พันธกิจและภำรกิจของสถำบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนำสังคม พันธกิจ 1.การกา หนดนโยบายและทิศทางการส่งเสริมศิลปะ วฒันธรรมของทอ้งถิ่นและชาติไทย เพื่อ ธา รงรักษา สืบสาน เผยแพร่ความรู้หรือพฒันาต่อยอด 2. ส่งเสริมการเรียนรู้ศิลปะวฒันธรรม และประเพณีอนัดีงาม รวมท้งัประวตัิศาสตร์ชาติไทย ผา่นระบบและกลไกการจดัการศึกษาและกิจกรรมหรือโครงการพฒันานกัศึกษา ภำรกิจหลัก 1. จดัทา แผนยุทธศาสตร์การพฒันาด้านศิลปวฒันธรรม เพื่อให้เกิดโครงการตามมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ตวัช้ีวดัของสา นกังานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)และตวัช้ีวดัตามแผนยทุธศาสตร์ของมหาวทิยาลยัรังสิต 2. ส่งเสริมและสนบัสนุนกิจกรรม/โครงการดา้นศิลปวฒันธรรม และประเพณีอนังดงามของ ทอ้งถิ่นและของชาติไทย 3. พฒันามาตรฐานคุณภาพงานทางดา้นศิลปวฒันธรรมทอ้งถิ่นและภูมิปัญญาทอ้งถิ่นกบัภาคี เครือข่าย 4.การดา เนินงานตามแผนปฏิบตัิการการกา กบัติดตามการดา เนินงาน และการประเมินผลการ ดา เนินงาน รวมท้งัจดัทา รายงานผลการดา เนินงานต่อมหาวทิยาลยั กลยุทธ์แนวทำง หรือมำตรกำร 1. พัฒนาระบบการบริหารจัดการในการให้บริการด้านศิลปวัฒนธรรม 2. บูรณาการกิจกรรมการส่งเสริมศิลปวฒันธรรม กบักระบวนการเรียนการสอน และการบริการ ชุมชนและสังคม 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษา บุคลากร มีส่วนร่วมในการด าเนินงานด้านทา นุบา รุง ศิลปวัฒนธรรม สถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม จะจดัทา แผนปฏิบตัิประจา ปีและแผนงานกิจกรรม/ โครงการดา้นทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม เพื่อขบัเคลื่อนเป้าหมายตวัช้ีวดัความส าเร็จการดา เนินงาน โดย แบง่ ประเภทของกิจกรรมหรือโครงการในแผนปฏิบตัิการ ดงัต่อไปน้ี 1.โครงกำรวันส ำคัญ ทำงชำติ ศำสนำและพระมหำกษัตริย์ ซ่ึงจะเกี่ยวข้องกับตวัช้ีวดัแผน ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต ยุทธศาสตร์ที่ 5 KR 5.1.2 สมศ.1.2และ สกอ.4.1 ซ่ึงกิจกรรมมุ่งเนน้วนั ส าคญัของประเทศชาติและมหาวิทยาลยัรังสิต เป็นโครงการที่จดัข้ึนเพื่อปลูกฝังให้นกัศึกษา บุคลากร มหาวทิยาลยัรังสิต และบุคคลภายนอกไดต้ระหนกัและระลึกถึงเหตุการณ์สา คญัอนัเกี่ยวกบัชาติศาสนา
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต พระมหากษัตริย์ และวันส าคัญของมหาวิทยาลัยรังสิต ด้วยความภาคภูมิใจ และเป็นแบบอย่างในการ ประพฤติปฏิบตัิที่ดีงามสืบต่อไป 2.โครงกำรอนุรักษ์สืบสำนประเพณไีทย ซ่ึงจะเกี่ยวขอ้งกบัตวัช้ีวดัแผนยทุธศาสตร์มหาวิทยาลัย รังสิต ยุทธศาสตร์ที่ 5 KR 5.1.2 สมศ.1.2และ มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ซ่ึงเป็นกิจกรรม/โครงการส่งเสริมศิลปวฒันธรรม และสืบสานประเพณี วฒันธรรมไทย เป็นโครงการที่จดัข้ึนเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในคุณค่าของศิลปวฒันธรรมไทย ตลอดจนกระตุน้ ให้เกิดความภาคภูมิใจแก่นกัศึกษาและบุคลากรในการมีส่วนร่วมของโครงการหรือ กิจกรรมการส่งเสริมศิลปวฒันธรรม อนัเป็นการธา รงไวซ้่ึงขนบธรรมเนียม ประเพณีและวฒันธรรมที่ดี งามของชาติไทย ซ่ึงโครงการน้ีจะมุ่งเน้นการส่งเสริมกิจกรรมศิลปวัฒนธรรมด้านดนตรีไทย ดนตรี ลูกทุ่ง นาฎศิลป์ไทยและนาฏศิลป์ร่วมสมยั งานฝี มือหัตถศิลป์ ไทย ภูมิปัญญาทอ้งถิ่นและการอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย 3. โครงกำรกำรพัฒนำเครือข่ำยควำมร่วมมือกำรส่ งเสริมด้ำนศิลปวัฒนธรรม ซ่ึงจะเกี่ยวขอ้ง กบัตวัช้ีวดัแผนยทุธศาสตร์มหาวทิยาลยัรังสิต ยทุธศาสตร์ที่5 KR 5.1.2 สมศ.1.1และมาตรฐานคุณภาพ การศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ซ่ึงเป็นกิจกรรม/โครงการเพื่อศึกษา บริบทและสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความหลากหลายและความแตกต่างของวิถีชีวิต โดยการนา จุดเด่นดา้นวิชาการและทรัพยากรต่างๆ ของ ชุมชนทอ้งถิ่นให้เป็นแหล่งเรียนรู้กบันกัศึกษา บุคลากรและอาจารย์นา มาพฒันาศึกษาและวิจยัสู่การ พฒันา ต่อยอดขยายผล การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกบัองคก์รทอ้งถิ่นส่วนราชการ/ชุมชนภายนอก นา ไปสู่การสร้างเครือข่ายที่เขม้แขง็ยงั่ยนื ในการพฒันาภูมิปัญญาระดบัทอ้งถิ่นและประเทศต่อไป 4. โครงกำรส่งเสริม สนับสนุน กำรจัดกิจกรรม / โครงกำร ด้ำนกำรท ำนุบ ำรุงศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ทกี่่อเกดิคุณค่ำ / มูลค่ำเพมิ่แก่สังคมและประเทศชำติของคณะวชิำ ซ่ึงจะเกี่ยวขอ้งกบัตวัช้ีวดั แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต ยุทธศาสตร์ที่ 5 KR5.1.2 สมศ.1.2และมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ซ่ึงเป็นกิจกรรม/โครงการการบูรณาการการ เรียนการสอน การบริการวิชาการกบัการทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรมไทย และสิ่งแวดลอ้ม นา ทกัษะและ ความรู้ที่ได้จากการจดัการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาในศาสตร์แขนงต่างๆ สร้างสรรค์ สิ่งประดิษฐเพื่อขยายผลในมิติชุมช ์น สังคม ที่นา ไปสู่การพฒันาคุณภาพชีวิตของชุมชนและสังคม เพื่อ ผลกัดนัเผยแพร่ผลงานดา้นวชิาการที่ก่อใหเ้กิดคุณค่า/มูลค่าเพิ่มแก่สังคมและประเทศชาติ เป้ำหมำย:
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 1. จ านวนโครงการหรือกิจกรรมรวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 โครงการหรือกิจกรรมต่อปีการศึกษา ภายใต้แผนปฏิบัติประจ าปี ของสถาบันศิลปวัฒนธรรม และคณะวิชา วิทยาลัย และสถาบัน 2. ชุมชน สังคม หรือประเทศชาติได้รับประโยชน์จากการดา เนินกิจกรรมหรือโครงการตาม เป้าหมายของกิจกรรมหรือโครงการกา หนด อยา่งเป็นรูปธรรม โดยเป็นตน้แบบขยายผลไปสู่ การพฒันาดา้นศิลปวฒันธรรม ขนมธรรมเนียมประเพณีอนัดีงาม เพิ่มคุณค่าจิตใจ หรือมูลค่า ทางเศรษฐกิจใหก้บัชุมชน สังคมอื่นต่อไป 3. สามารถด าเนินงานดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ตวับ่งช้ี4.1ไดค้รบท้งั 7ข้อ ท้งัน้ีเพื่อใหเ้ป็นกรอบแนวทางการดา เนินงาน แผนปฏิบัติการด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดลอ้ม เพื่อขบัเคลื่อนเป้าหมายสู่การสร้างความมีชื่อเสียงระยะ 5 ปี สถาบันศิลปวัฒนธรรม และพฒันาสังคม ไดก้า หนดแผนปฏิบตัิประจา ปีประกอบดว้ยโครงการต่างๆ ที่คาดวา่จะดา เนินการใน แต่ละปีตลอดระยะเวลาแผนยทุธศาสตร์การพฒั นามหาวิทยาลัย ดังแสดงในตารางต่อไปน้ี
รายงานการประเมินตนเองระดับสถาบัน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ตำรำงแสดงแผนกำรด ำเนินงำนรำยปี ของสถำบันส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ประจ ำปี พ.ศ. 2565-2569 ประเภทโครงกำรและเป้ำหมำย ชื่อโครงกำร/ กิจกรรม ผู้รับผดิชอบ/ ผู้จัด ปี กำรศึกษำ 2565 2566 2567 2568 2569 1 .โค รงกำ รวันส ำ คั ญ ทำ งช ำ ติ ศำสนำและพระมหำกษัตริย์มุ่งเนน้ วันส าคัญของประเทศชาติ และ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็ นโครงการที่ จัดข้ึนเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษา บุคลากรมหาวิทยาลัยรังสิ ต และ บุคคลภายนอกได้ตระหนักและ ระลึกถึงเหตุการณ์สา คญัอนัเกี่ยวกบั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ วันส าคัญของมหาวิทยาลัยรังสิ ต ด้ว ย ค ว า ม ภ า ค ภู มิใ จ แ ล ะ เ ป็ น แบบอยา่งในการประพฤติปฏิบตัิที่ดี งามสืบต่อไป 2. โครงกำรอนุรักษ์สืบสำนประเพณี ไทย ส่งเสริมศิลปวฒันธรรม และ 1.โครงการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตรเนื่องในวนัพอ่แห่งชาติ5 ธันวาคม 2.โครงการพิธีวางพวงมาลาถวายราชสักการะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอ ดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 3.โครงการถวายพระพรพระปรเมนทรรามาธิบดีศรี สินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลา้เจา้อยหู่วั 4. โครงการถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง 1.โครงการประเพณีสงกรานต์ สถาบัน ศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาสังคม และคณะวิชา/ วิทยาลัย / สถาบัน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ประเภทโครงกำรและเป้ำหมำย ชื่อโครงกำร/ กิจกรรม ผู้รับผดิชอบ/ ผู้จัด ปี กำรศึกษำ 2565 2566 2567 2568 2569 สื บสานประเพณี วัฒนธรรมไทย เป็นโครงการที่จดัข้ึนเพื่อให้ความรู้ ควา ม เข้า ใจใ น คุณ ค่าของ ศิ ล ป วัฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย ต ล อ ด จ น กระตุ้นให้เกิดความภาคภูมิใจแก่ นกัศึกษาและบุคลากร ในการมีส่วน ร่วมของโครงการหรือกิจกรรมการ ส่งเสริมศิลปวฒันธรรม อนัเป็นการ ธ ารงไว้ซึ่งขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมที่ดีงามของชาติไทย ซ่ึงโครงการน้ีจะมุ่งเนน้การส่งเสริม กิจกรรมทางด้านดนตรีไทย ดนตรี ลูกทุ่ง นาฎศิลป์ ไทย หัตถศิลป์ ไทย และการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี ไทย 3.โครงกำรพัฒนำเครือข่ำยควำม ร่ ว ม มื อ ก ำ ร ส่ ง เ ส ริ ม ด้ ำ น ศิ ล ป 2.โครงการประเพณีลอยกระทง 3.โครงการทอดกฐินสามัคคี 4.โครงการถวายเทียนพรรษา 5.โครงการรักษ์วัฒนธรรมทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ม 6.โครงการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา (นาฎศิลป์ + ดนตรีไทย) สถาบัน ศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาสังคม และคณะวิชา/ วิทยาลัย / สถาบัน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ประเภทโครงกำรและเป้ำหมำย ชื่อโครงกำร/ กิจกรรม ผู้รับผดิชอบ/ ผู้จัด ปี กำรศึกษำ 2565 2566 2567 2568 2569 วัฒนธรรม เพื่อศึกษาบริ บทและ ส ภ า พ แ ว ด ล้อ ม ท า ง ก า ย ภ า พ ภู มิ ประเทศ ภูมิอากาศ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนี ยม ประเพณี ความ หลากหลายและความแตกต่างของวิถี ชีวิต โดยการน าจุดเด่นด้านวิชาการ และทรัพยากรต่างๆ ของชุมชน ท้องถิ่นให้เป็นแหล่งเรีย นรู้กับ นักศึกษา บุคลากร และอาจารย์ น ามา พัฒนาศึกษาและวิจัยสู่การพฒันา ต่อ ยอดขยายผล การสร้างเครือข่ายความ ร่ว ม มือกับองค์กร ท้องถิ่น ส่ว น ราชการ/ชุมชนภายนอกน าไปสู่การ สร้างเครือข่ายที่เขม้แข็ง ยงั่ยืน ในการ พัฒนาภูมิปัญญาระดับท้องถิ่นและ ประเทศต่อไป 4.โครงกำรส่งเสริม สนับสนุน กำร จัดกจิกรรม / โครงกำร ด้ำนกำรทำ นุ 1.โครงการพฒันาเครือข่ายความร่วมมือการส่งเสริม ด้านศิลปวฒันธรรม ท้ังหมด 4 ภาค (เหนือ กลาง อีสาน ใต้) 2.โครงการพัฒนาเพื่อความยงั่ยืน Creative Young Designer สถาบัน ศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาสังคม และคณะวิชา/ วิทยาลัย / สถาบัน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ประเภทโครงกำรและเป้ำหมำย ชื่อโครงกำร/ กิจกรรม ผู้รับผดิชอบ/ ผู้จัด ปี กำรศึกษำ 2565 2566 2567 2568 2569 บ ำรุงศิลปวฒันธรรม สิ่งแวดล้อม ที่ ก่อเกิดคุณค่ำ / มูลค่ำเพิ่มแก่สังคม และ ประ เทศช ำ ติของคณะวิชำ การบูรณาการการเรียนการสอน การ บริการวิชาการกับการท านุ บ ารุ ง ศิลปวฒันธรรมไทย และสิ่งแวดลอ้ม น าทักษะและความรู้ที่ได้จากการ จัดการเรียนการสอนและกิจกรรม นักศึกษาในศาสต ร์แขนง ต่าง ๆ สร้างสรรคส์ ิ่งประดิษฐเ์พื่อขยายผลใน มิติชุมขน สังคม ที่นา ไปสู่การพฒันา คุณภาพชีวิตของชุมชนและสังคม เพื่อ ผลกัดนัเผยแพร่ผลงานดา้นวิชาการที่ ก่อให้เกิดคุณค่า/มูลค่าเพิ่มแก่สังคม และประเทศชาติ 1.โครงการของส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.)ร่วมกบัสถาบนัวจิยัม.รังสิต 2.โครงการ Startup Thailand League 3.โครงการKid Sai Thailand เยาวชนดีเด่น ระดบัชาติ หรือนานาชาติ 4.โครงการกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวตักรรม เพิ่มมูลค่าทางวฒันธรรม 5 .โครงการคัด เลือก นักศึก ษ า ดีเ ด่น ด้า น ศิลปวัฒนธรรม สถาบัน ศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาสังคม และคณะวิชา/ วิทยาลัย / สถาบัน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สศส.อ4.4.1.2.01 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม ระยะ 5 ปี มรส.สศส.อ4.4.1.2.02 แผนปฏิบัติการการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สศส.อ4.4.1.2.02 แผนงบประมาณปี การศึกษา 2565ของสถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม ข้อ3. กำ กบัติดตำมให้มีกำรด ำเนินงำนตำมแผนด้ำนทำ นุบ ำรุงศิลปะและวฒันธรรม
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกำรด ำเนินงำน สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม มีภารกิจในการพิจารณาให้คา ปรึกษาในการจดัทา โครงการ ด้านทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรมร่วมกนักบัคณะวิชา/คณะ/ สถาบนั ในการส่งขอ้เสนอโครงการ ในช่วงเดือน กุมภาพนัธ์โดยขอ้เสนอโครงการจะถูกตรวจรูปแบบและองค์ประกอบเบ้ืองตน้ โดยรองผู้อ านวยการสถาบัน ศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม และเสนอแก่คณะกรรมการสถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคมเพื่อ พิจารณา ทบทวนความเหมาะสม โครงการที่ผา่นการพิจารณาจะถูกเสนอไปยงัสา นกังานวางแผน เพื่อได้รับการ อนุมัติงบประมาณในการด าเนินการ การประสานงานระหวา่งภารกิจดา้นทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรมของคณะวชิา/ คณะ/ สถาบนั โดยสถาบัน ศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม ไดจ้ดัทา คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการดา เนินงานแผนทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม เพื่อเป็ นผู้แทนในการประสานงาน ติดตาม ประเมินผลการดา เนินงาน รายงานขอ้มูล กิจกรรมดา้นทา นุบา รุง ศิลปวฒันธรรม เพื่อใหส้ถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคมตรวจสอบขอ้มูลเพื่อรายงานการประกนัคุณภาพ การศึกษา การขบัเคลื่อนงานดา้นทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม จะกา หนดเป้าประสงคข์องการบริหารภาพลกัษณ์และ การสร้างความมีชื่อเสียงดา้นทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม โดยมีเป้าประสงคด์งัน้ี เป้ำประสงค์ : นักศึกษา บุคลากร และชุมชนตระหนักรู้คุณค่าและร่วมสืบสานศิลปวฒันธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามของชาติไทย รวมท้ังสร้างเสริมแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวฒันธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น นา ความรู้และภูมิปัญญาไปใชใ้นการพฒันาผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมหรือชุมชน เป้ำหมำยกำรด ำเนินงำน: 1. การตอบสนองประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5การบริหารภาพลักษณ์และการสร้างความมีชื่อเสียงของ มหาวิทยาลัย และวัตถุประสงค์ 5.1.2 จา นวนกิจกรรมหรือโครงการระดับชาติหรือนานาชาติที่มุ่งเน้นการ ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาด้านการท านุบ ารุงศิลปวฒันธรรม โดยความร่วมมือกับองค์กรภายนอกหรือ บุคคลภายนอกที่ก่อให้เกิดคุณค่าหรือมูลค่าแก่สังคมและประเทศชาติจา นวน 15กิจกรรมหรือโครงการต่อปี (รวมกิจกรรมหรือโครงการของกลุ่มคณะซ่ึงจะมีอยา่งนอ้ย 3กิจกรรมหรือโครงการต่อปี) 2. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2565) องค์ประกอบที่ 4การทา นุบา รุงศิลปะและวฒันธรรม ตวับ่งช้ีที่4.1 ระบบและกลไกการ ท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในระดับ 5 ซ่ึงมีเกณฑก์ารประเมินอยทู่้งัหมด 7ขอ้ ไดแ้ก่ 1. กา หนดผรู้ับผดิชอบในการทา นุบา รุงศิลปะและวฒันธรรม
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 2. จัดท าแผนด้านท านุบ ารุงศิลปะและวฒันธรรม และก าหนดตัวช้ีวดัความส าเร็จตาม วัตถุประสงค์ของแผน รวมท้งัจดัสรรงบประมาณเพื่อใหส้ามารถดา เนินการไดต้ามแผน 3. การกา กบัติดตามใหม้ีการดา เนินงานตามแผนดา้นทา นุบา รุงศิลปะและวฒันธรรม 4. ประเมินความสา เร็จตามตวับ่งช้ีที่วดัความสา เร็จตามวตัถุประสงคขอ์งแผน 5. นา ผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือกิจกรรมดา้นการทา นุบา รุงศิลปะและวฒันธรรม 6. เผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการดา้นการทา นุบา รุงศิลปะและวฒันธรรมต่อสาธารณชน 7. กา หนดหรือสร้างมาตรฐานดา้นศิลปะและวฒันธรรม ซ่ ึงเป็นที่ยอมรับในระดบัชาติ 3. การตอบสนองผลลัพธ์การด าเนินงานด้านการทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม ตามที่กา หนดไวใ้นมาตรฐาน การอุดมศึกษา พ.ศ.2561 ซ่ึงกา หนดเป็นจา นวนกิจกรรมหรือโครงการศิลปะและวฒันธรรม และภูมิปัญญา ทอ้งถิ่นที่มีความรู้ความเขา้ใจสืบสาน นา ไปสู่การสร้างโอกาสและมูลค่าเพิ่มของคณะต่างๆ ในสถาบนั ให้ เป็ นไปตามเป้าหมายการด าเนินงานตามแผนท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย 4. การตอบสนองประเด็นการพิจารณาของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ด้านที่ 1ผลสัมฤทธ์ิในการบริหารจดัการตามพนัธกิจที่ตอบสนองต่อการพฒันาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ ที่มีองคป์ระกอบ ไดแ้ก่ องค์ประกอบที่ 1.1 บริ บทของสถาบันอุดมศึกษา (Organization Context) ที่ตอบสนองต่อแผน ยุทธศาสตร์ชาติ องค์ประกอบที่ 1.2ผลสัมฤทธ์ิของการดา เนินงานดา้นการบริหารสถาบนั โดยเฉพาะการดา เนินงานตาม พนัธกิจการทา นุบา รุงศิลปและวฒันธรรมไทย ที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับชุมชน และสังคม ด้านท านุบ ารุง ศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย กลยุทธ์กำรด ำเนินงำน: 1. การพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหารด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย 2. ส่งเสริมและสนบัสนุนการมีส่วนร่วมของคณะวชิา บุคลากรมหาวทิยาลยัชุมชน หรือองค์กรภายนอก มหาวิทยาลัย ในการด าเนินโครงการพัฒนาด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ให้บรรลุตามเป้าหมายและมี ผลลัพธ์ 3. สร้างและพฒันาความร่วมมือกบัองค์กรภายนอกระดบัจงัหวดัหรือระดบั ประเทศ ในการวางแผน พฒันาเชิงพ้ืนที่และดา เนินกิจกรรมหรือโครงการตามพนัธกิจ และศกัยภาพของมหาวิทยาลัยโดยกา หนด เป้าหมายเชิงปริมาณ และคุณภาพ ในด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามของ ชาติไทย
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต การจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี การศึกษา เพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการด าเนินงานด้านการท านุบ ารุง ศิลปวัฒนธรรม ประกอบด้วย 1.วตัถุประสงคข์องแผนที่จะตอ้งสอดคลอ้งกบัยทุธศาสตร์ 2. ตวัช้ีวดัความสา เร็จของผลลพัธ์ตามวตัถุประสงค์(OKR) 3. กิจกรรมหรือโครงการที่จะจดัใหม้ีข้ึนเพื่อตอบสนองวตัถุประสงคข์องแผนปฏิบตัิการประจา ปี รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สศส.อ4.4.1.3.01 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการสถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม มรส.สศส.อ4.4.1.3.02 สรุปการด าเนินงานสถาบันศิลปวัฒนธรรมปี การศึกษา 2565 มรส.สศส.อ4.4.1.1.03 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการดา เนินงานแผนทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม มรส.สศส.อ4.4.1.2.02 แผนปฏิบัติการการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2565 ข้อ 4. ประเมินควำมส ำเร็จตำมตัวบ่งชี้ที่วัดควำมส ำเร็จตำมวัตถุประสงค์ของแผนด้ำนท ำนุบ ำรุงศิลปะ และวัฒนธรรม ผลกำรด ำเนินงำน การประเมินความสา เร็จ การกา กบัติดตามการดา เนินงานด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม มีส่วนประกอบ ส าคัญ 2 ส่วน ไดแ้ก่ 1. การประเมินความส าเร็จตามวตัถุประสงค์ของกิจกรรมหรือโครงการตามภารกิจ ในการน้ีจะใช้ ตวัช้ีวดัความสา เร็จเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ที่ระบุลงในแผนกิจกรรมหรือโครงการ คือระดบัความสา เร็จของ กิจกรรม/ โครงการ ดา้นทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม คือจา นวนผูเ้ขา้ร่วมโครงการไดร้ับประโยชน์อยูใ่นระดบัดี หรือมากข้ึนไปไม่นอ้ยกวา่ร้อยละ 60และจา นวนผูเ้ขา้ร่วมโครงการไม่น้อยกวา่ร้อยละ 80 เป็ นการประเมินทุก กิจกรรม หรือดา เนินกิจกรรมอยา่งนอ้ย จา นวน 5กิจกรรมท้งัที่ดา เนินการโดยสถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันา สังคม และคณะวิชา/วิทยาลยั/สถาบนัหรือร่วมกบัองคก์รภายนอกซ่ึงสถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม มีหน้าที่กา กบัติดตามและรวบรวมผลการดา เนินงานกิจกรรมหรือโครงการ เพื่อสรุปเป็นภาพรวมรายงานต่อ มหาวิทยาลัย การติดตามผลการดา เนินงานจะกระทา ภายหลงัการดา เนินงานกิจกรรมหรือโครงการสิ้นสุดลงโดย ผรู้ับผดิชอบกิจกรรมหรือโครงการ 2. การประเมินความส าเร็จตามวตัถุประสงค์ของแผนปฏิบตัิการประจา ปีในการน้ีจะใช้ผลลพัธ์ตาม วัตถุประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม (OKR) ที่จ าแนกเป้าหมายเป็ นรายปี ตลอด
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ระยะเวลา 5 ปีต้งัแต่ปีพ.ศ.2565-2569การประเมินความส าเร็จจึงเป็ นการประเมินแบบรายปี การติดตามผลการ ดา เนินงานจะกระทา ปีละอยา่งนอ้ย 1คร้ัง รับผิดชอบโดยสถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม กำรประเมินผลควำมส ำเร็จกำรด ำเนินงำนของแผนปฏิบัติประจ ำปี สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม จะด าเนินการประเมินผลความส าเร็จการด าเนินงานตาม แผนปฏิบตัิประจา ปีโดยจะทา การเก็บรวบรวมขอ้มูลผลการดา เนินงานโครงการหรือกิจกรรม ตามแผนปฏิบตัิ การรายปี (Action plan)ของทุกหน่วยงานภายในมหาวิทยาลยัรังสิต โดยจ าแนกตามประเภทที่กา หนดไว้เพื่อ เสนอต่อคณะกรรมการพฒันาส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรม และศิลปวฒันธรรม เพื่อทา การตรวจสอบให้มีความ สอดคลอ้งกบัแผนยทุธศาสตร์ การด าเนินการประเมินผลความส าเร็จการด าเนินงานด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม เป็ นการ ประเมินความสา เร็จตามวตัถุประสงค์โดยมีตวัช้ีวดัเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ซ่ึงแบ่งเป็น 2ระดบัดงัน้ี 1. ระดับกิจกรรมหรือโครงกำรท้ังที่รวมและไม่รวมอยู่ในแผนปฏิบัติกำรประจ ำปีการด าเนินการ ติดตามและประเมินผลจะอยใู่นความรับผดิชอบของผรู้ับผดิชอบกิจกรรมหรือโครงการ ตามที่คณะวชิาวทิยาลยั หรือสถาบนัภายใน รวมท้งัสถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม ได้ระบุไวใ้นแผนปฏิบตัิการประจา ปี การศึกษา หลงัจากที่ไดม้ีการดา เนินกิจกรรมหรือโครงการทา นุบา รุงศิลปะและวฒันธรรมประเภทต่างๆ ตาม แผนปฏิบตัิการประจา ปีของหน่วยงานน้นัๆ เสร็จสิ้นสมบูรณ์ผรู้ับผดิชอบตอ้งดา เนินการติดตามประเมินผลและ จดัทา เป็นรายงานผลการดา เนินงานโครงการหรือกิจกรรมในรูปแบบของ PDCA ทางสถาบันศิลปวัฒนธรรม และพฒันาสังคม จะเก็บรวบรวมผลการดา เนินงานกิจกรรมหรือโครงการเหล่าน้ีเพื่อรวบรวมและจดัทา เป็น รายงานผลการดา เนินงานประจา ปีของมหาวทิยาลยัในพนัธกิจดา้นการทา นุบา รุงศิลปะวฒันธรรม 2. ระดับแผนปฏิบัติกำรประจ ำปี กำรศึกษำของมหำวิทยำลัย โดยสถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนา สังคม เป็ นผู้จัดท ารายงานสรุปผลการด าเนินงานตามวัตถุประสงค์ของแผนการปฎิบัติการด้านการท านุบ ารุง ศิลปวฒันธรรมในแต่ละปีการศึกษาและตวัช้ีวดัความสา เร็จตามแผนยุทธ์ศาสตร์การสร้างภาพลกัษณ์และความ มีชื่อเสียงของมหาวทิยาลยัการใชง้บประมาณ ในภาพรวมของมหาวทิยาลยัเพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ พฒันาส่งเสริม สนับสนุนงานด้านศิลปวัฒนธรรม และรับข้อเสนอแนะเพื่อการวางแผนการปรับปรุงการ ดา เนินงานในปีต่อไป ขั้นตอนกำรติดตำม และประเมินผล 1. ประชุมวางแผนในรูปแบบคณะกรรมการ หรือหน่วยงานที่รับผดิชอบ 2. หน่วยงานที่รับผดิชอบดา เนินการ 3. ติดตามโดยคณะกรรมการพัฒนา ส่งเสริมคุณธรรม จริ ยธรรม ศิลปวัฒนธรรม และ สิ่งแวดลอ้ม
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 4. ประเมินความสา เร็จตามตวัช้ีวดัของแผน 5.รายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษา 6. ทบทวน/ ปรับปรุงพัฒนาแผนปฏิบัติงานด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สศส.อ4.4.1.2.02 แผนปฏิบัติการการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สศส.อ4.4.1.4.01 รายงานการประชุม ข้อ5.น ำผลกำรประเมินไปปรับปรุงแผนหรือกจิกรรมด้ำนทำ นุบ ำรุงศิลปะและวฒันธรรม ผลกำรด ำเนินงำน สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม ได้จัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี การศึกษา 2565 เพื่อเป็ นกลไก การขบัเคลื่อนเป้าหมายกิจกรรมหรือโครงการดา้นการทา นุบา รุงศิลปะและวฒันธรรม ของแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนามหาวิทยาลัย พ.ศ. 2565-2569 ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านที่ 5การบริหารภาพลักษณ์และการสร้างความมี ชื่อเสียงใหก้บัมหาวทิยาลยัเป้าหมายการพฒันาคุณภาพการศึกษาภายใน ตวับ่งช้ีคุณภาพการศึกษาของมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) และการตอบสนองประเด็นการ พิจารณาคุณภาพดา้นการบริหารสถาบนัการศึกษาตามพนัธกิจดา้นการทา นุบา รุงศิลปะวฒันธรรม รวมท้งัการ วิเคราะห์คุณค่าของผลลพัธ์การดา เนินงานที่ได้ตามที่ส านกังานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ภายนอก(สมศ.)กา หนด เป็นการสอดคลอ้งกบัเกณฑม์าตรฐานอุดมศึกษา พ.ศ.2561 จากเป้าหมายแผนยุทธศาสตร์การท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม สถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม ไดถ้่ายทอดเป้าหมายดงักล่าวสู่การปฏิบตัิโดยกา หนดวตัถุประสงคข์อง แผนปฏิบัติการประจ าปี การศึกษา 2565และตวัช้ีวดัความส าเร็จตามวตัถุประสงคใ์ห้สอดคลอ้งกบัเป้าหมายของ แผนยทุธศาสตร์ฯ ซ่ึงจะนา ไปใชใ้นการกา หนดกิจกรรมหรือโครงการพฒันา ออกแบบดา เนินการในปีการศึกษา 2565และเดือนกนัยายน 2566 สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม เรียนเชิญคณะกรรมการด าเนินงานแผน ท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมทา การประชุมช้ีแจงให้คณะวิชา/ วิทยาลัย และสถาบนัซ่ึงเป็นหน่วยงานภายใน มหาวิทยาลัย ได้รับรู้ทิศทางการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม พร้อมแผนงานโครงการด้านการท านุบ ารุง ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต และน าผลการประเมินใน ปี การศึกษา 2565 มาปรับปรุงแผนงานกิจกรรม ในปี การศึกษา 2566และวางแผนงานกิจกรรมต่อเนื่องในปีการศึกษา 2567 เพื่อช่วยเสริมความเขม้แข็งในการ ทา งานร่วมกนักบัสถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคมในการขบัเคลื่อนเป้าหมายดงักล่าว
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สศส.อ4.4.1.2.02 แผนปฏิบัติการการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สศส.อ4.4.1.5.01 รายงานการประชุม ข้อ6. เผยแพร่กจิกรรมหรือกำรบริกำรด้ำนทำ นุบ ำรุงศิลปะและวฒันธรรมต่อสำธำรณชน ผลกำรด ำเนินงำน สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม เป็นหน่วยงานดา้นการส่งเสริมกิจกรรมหรือโครงการพฒันา นกัศึกษาดา้นการทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรมสิ่งแวดลอ้ม โดยมีความร่วมมือกบัองคก์รภายในและภายนอกอีกท้งั บุคคลภายนอกเพื่อก่อใหเ้กิดคุณค่าหรือมูลค่าเพิ่มแก่สังคมและประเทศชาติอยา่งยงั่ยืน สถาบันศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาสังคมจึงได้กา หนดกรอบการทา งานด้านการสืบสาน ส่งเสริม และการสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกบัศิลปวฒันธรรมไทย การประยุกตใ์ชศ้ิลปวฒันธรรมไทยและต่างชาติอย่างเหมาะสมในการอยู่ร่วมใน สังคมอย่างมีความสุขโดยแบ่งลกัษณะของกิจกรรมหรือโครงการฯ เป็น 4 ดา้น ไดแ้ก่1) วันส าคัญ ทางชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ 2) การอนุรักษ์สืบสานประเพณีไทย 3) การพฒันาเครือข่ายความร่วมมือการ ส่งเสริมด้านศิลปวฒันธรรม และ 4) การส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรม/ โครงการ ด้านการท านุบ ารุง ศิลปวฒันธรรมสิ่งแวดลอ้ม จัดท าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม เพื่อสื่อสารภารกิจตามพนัธกิจให้คณะวิชา/ วิทยาลัย/ สถาบนั ได้รับทราบถึงแนวทางการดา เนินงานและการมีส่วนร่วมกับสถาบันฯ ในการส่งเสริม ศิลปวฒันธรรม และเพื่อขบัเคลื่อนพนัธกิจการทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรม ที่สอดคล้องกับเป้าประสงค์ของ ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย ด้านที่5 การบริหารภาพลกัษณ์และการสร้างชื่อเสียงให้กบัมหาวิทยาลยั รังสิตให้ทราบทวั่กนัและเป็นกลไกส าคญัของการดา เนินงาน การติดตาม และการประเมินผลการด าเนินงาน และการรายงานผลการดา เนินงานเป็นประโยชน์ต่อการพฒันามหาวิทยาลยั โดยสถาบันศิลปวัฒนธรรมและ พัฒนาสังคมมีการเผยแพร่งานศิลปวฒันธรรมของมหาวทิยาลยัรังสิตสู่สาธารณชนในทุกปีการศึกษาต่อไป สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม จดัทา เวบ็ ไซต์ของสถาบนัฯ เพื่อเผยแพร่กิจกรรม โครงการ ต่างๆ ภายใตก้ารดา เนินงานของสถาบนัฯ การให้องค์ความรู้ดา้นต่างๆ การประกนัคุณภาพการศึกษา เป็นการ ประชาสัมพันธ์การเพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสาร รองรับการสร้างเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรมกับ สถาบนัอุดมศึกษาและหน่วยงานภายนอกอาทิสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) - เว็บไซต์สถาบันศิลปวัฒนธรรม https://cpi.rsu.ac.th/
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต - Facebook: สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม - YouTube : สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม - จัดท าสื่อ Content “tiktok” https://www.tiktok.com/@culturalarts.rsu?lang=th รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สศส.อ4.4.1.6.01 สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) มรส.สศส.อ4.4.1.3.02 สรุปการด าเนินงานสถาบันศิลปวัฒนธรรมปี การศึกษา 2565 ข้อ7. ก ำหนดหรือสร้ำงมำตรฐำนด้ำนศิลปะและวัฒนธรรมซึ่งเป็ นที่ยอมรับในระดับชำติ ผลกำรด ำเนินงำน สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต จัดท าโครงการสร้างเสริมอาชีพ รายได้ ของชุมชนหลักหก ภายใต้แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการพฒันาสุขภาวะจังหวดั ปทุมธานีเป็ นการสร้าง เอกลกัษณ์ทอ้งถิ่น ภูมิปัญญาของคนในชุมชนหลกัหก ใช้ความรู้ความสามารถที่มีนา มาต่อยอดเป็นผลงาน สร้างสรรค์ที่สามารถสร้างอาชีพ รายได้ให้กบัชุมชนหลกัหก และสร้างแนวคิดเศรษฐกิจฐานรากเพื่อสร้าง สุขภาวะ และสามารถดา เนินธุรกิจ ฟ้ืนฟูคุณภาพชีวิต โดยมุ่งเนน้การกระจายรายไดสู้่ทอ้งถิ่นให้มีคุณภาพชีวิตที่ ดีข้ึนและลดความเสี่ยงดา้นอาชญากรรมต่างๆ ที่อาจเกิดข้ึนได้ สถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม ดา เนินงานร่วมกับนักศึกษาทุนความสามารถพิเศษด้าน ศิลปวฒันธรรมของสถาบนัฯ โดยเป็นนักศึกษาใน วิทยาลยัการท่องเที่ยวการบริการและกีฬา วิทยาลัยนิเทศ ศาสตร์ ในการด าเนินโครงโครงการสร้างเสริมอาชีพ รายได้ ของชุมชนหลักหก ให้ความรู้แก่ชุมชนหลักหกใน การทา กระดาษสาจากผกัตบชวา พร้อมท้งัการข้ึนรูปเป็นดอกไมช้นิดต่างๆ เพื่อนา มาประกอบเป็นพวงหรีด ดอกไมจ้นัทน์ในการสร้างอาชีพ รายได้แก่ชุมชนหลกัหก ในปี การศึกษา 2565 เพื่อการขบัเคลื่อนชุมชนให้เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรคใ์นทุกมิติโดยเฉพาะการ ร่วมสนบัสนุน ส่งเสริม ต่อยอดเป็นผลิตภณัฑ์เพื่อยกระดบัเศรษฐกิจ สร้างงาน สร้างโอกาส สร้างรายไดใ้ห้กบั ชุมชน สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคมด าเนินโครงการจ านวน 2โครงการดงัน้ี 1.ดา เนินการจดัส่งโครงการพวงหรีด ดอกไมป้ระดิษฐ์เขา้ร่วมประกวดแข่งขนัผ่านทางส านักงาน บ่มเพาะธุรกิจและทรัพยส์ ินทางปัญหา มหาวิทยาลยัรังสิต ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติในหัวขอ้แผนธุรกิจใน โครงการ SMART STARTUP COMPANY การพฒันาไปสู่การเป็นผูป้ระกอบการ SME STARTUP ผลการ ประกวด ชนะเลิศการแข่งขนั ไดร้ับทุนสนบัสนุนการจดัต้งัธุรกิจจากธนาคารออมสิน สนบัสนุนโครงการรักษ์
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต สิ่งแวดลอ้ม ร่วมพฒันาชุมชน ทอ้งถิ่น ใหไ้ดม้ีรายไดห้มุนเวยีนอยา่งยงั่ยนืจา นวนเงินท้งัสิ้น 200,000 บาท (สอง แสนบาทถ้วน) มีการประชาสัมพนัธ์ผ่านทางเว็บไซต์สถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม เว็บไซต์ กระทรวงวัฒนธรรม (CPOT) และสื่อสังคมออนไลน์ รายการเส้นทางเศรษฐกิจ 2. ดา เนินโครงการความร่วมมือทางดา้นวิชาการและศิลปวฒันธรรมกบัภาคีเครือข่ายชุมชน 4 ภาค ของ ประเทศไทย ประกอบดว้ย ภาคอีกสาน อา เภอเขมราฐจงัหวดัอุบลราชธานีภาคเหนือเทศบาลเมืองน่าน ภาคใต้ ตอนบน ชุมชนบา้นเขาเต่า จงัหวดัประจวบคีรีขนัธ์ภาคใตเ้ทศบาลลา สินธุจงัหวดัพทัลุง และภาคกลาง จงัหวดั ปทุมธานี ภายใต้แบรนด์ “ทอตะวัน” ผลิตภัณฑ์ กระเป๋ าหนังผ้าฝ้ายทอขัดมันลายกระดองเต่า ผสมกบัเน้ือหนงั EMBOSS มีท้งัหมด 4 สีสา หรับใส่เอกสารหรือโน๊ตบุค๊และมีความเรียบหรูดูแพง มีการประชาสัมพนัธ์ผา่นทาง เว็บไซต์สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม เว็บไซต์กระทรวงวัฒนธรรม (CPOT) รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สศส.อ4.4.1.7.01 โครงการพวงหรีด ดอกไม้ประดิษฐ์ มรส.สศส.อ4.4.1.7.02 ผลิตภัณฑ์ “ทอตะวัน” กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 เป้าหมาย ผลด าเนินงาน ผลการประเมิน บรรลุเป้าหมาย 6ข้อ 6ข้อ 5.00 คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต องค์ประกอบที่ 4 กำรทำ นุบ ำรุงศิลปะและวฒันธรรม รำยงำนผลกำรวเิครำะห์จุดเด่น และจุดทคี่วรพฒันำ จุดเด่น จากการด าเนินงานในปี 2565 สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม ฝ่ ายพัฒนาสังคมศิลปวัฒนธรรม และสิทธิประโยชน์มหาวิทยาลัยรังสิต ได้มีโครงการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม สิ่งแวดลอ้ม ต่อยอดภูมิ ปัญญาทอ้งถิ่นร่วมกบัความคิดสร้างสรรค์นวตักรรม และเทคโนโลยีสู่การพฒันาขบัเคลื่อนสังคมอยา่งมนั่คง และยงั่ยืน ที่ครอบคลุมนโยบายตามเป้าประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต ยุทธศาสตร์ที่ 5 KR 5.1.2 สมศ.1.1และมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) เพื่อให้ ท้งันกัศึกษา บุคลากรและประชาชนทวั่ ไปมีส่วนร่วมและก่อให้เกิดการตระหนกัถึงคุณค่าของศิลปวฒันธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและภูมิปั ญญาท้องถิ่น การสร้างจิตส านึกในการท านุบ ารุง ปกป้ องรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ม โดยสถาบนัศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม เป็นหน่วยงานกลางในการ ส่งเสริม สนบัสนุน คณะ/วิทยาลยั/ สถาบนั ให้มีการด าเนินงานเป็ นคณะท างานร่วมกนั ปฏิบตัิงานท้งัหน่วยงาน ภายในและภายนอกมหาวิทยาลยัร่วมกบัภาคีเครือข่ายศิลปวฒันธรรมและสังคมท้งัภาครัฐและเอกชน มีการ แต่งต้งัคณะทา งานท านุศิลปวัฒนธรรม โดยมหาวิทยาลัยรังสิต จดั ประชุมฝ่ายงานต่างๆ อย่างเหมาะสม ทา ให้ การด าเนินงานของโครงการ/กิจกรรม มีคุณภาพตามเป้าหมายที่กา หนด อีกท้งัมีแผนการด าเนินงานจัดโครงการ อย่างต่อเนื่องและประเมินผลการดา เนินงาน เพื่อการพฒันาโครงการให้เป็นระบบ สร้างแนวทางการส่งเสริม กิจกรรมหรือโครงการต่างๆ ที่มีความเกี่ยวขอ้งสอดคลอ้งกบันโยบายการดา เนินงาน เพื่อให้คณะวิชา/วิทยาลยั/ สถาบนั ไดม้ีแนวทางการปฏิบตัิและสามารถกา หนดแผนการปฏิบตัิการประจา ปีให้เป็นไปในทิศทางเดียวกนั ท้งัน้ีการผนวกความร่วมมือของเครือข่าย อาทิสถาบันการศึกษาองค์กรภาครัฐและเอกชน เขา้ไปดว้ยน้นันา มา ซ่ึงองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการจดักิจกรรม/โครงการบูรณาการกบังานวิจยัและการเรียนการสอน มีโครงการความร่วมมือท้งัระหวา่งชุมชน หน่วยงานรัฐ และบริษทัเอกชน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต รวมไปถึง การน าเสนอแนวทางปฏิบัติเพื่อให้ชุมชนสร้างสรรค์งานจากวตัถุดิบในชุมชนสู่การสร้างอาชีพและรายไดอ้ย่าง ยงั่ยืน สถาบนัศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม ได้ตระหนักถึงความส าคัญของการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ กบัชุมชน/องคก์รทอ้งถิ่น นา จุดเด่นดา้นวิชาการและทรัพยากรต่างๆ ของชุมชนทอ้งถิ่นให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่ นักศึกษา บุคลากรและอาจารย์น ามาพัฒนาศึกษาและวิจยัจดัทา กิจกรรมสร้างสรรค์นวตักรรม และจัดท า โครงการเพื่อใหเ้กิดประโยชน์แก่ชุมชน องคก์รทอ้งถิ่นได้มีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจ นา ไปสู่ การสร้างเครือข่ายที่เขม้แข็ง ยงั่ยืนในการพฒันาภูมิปัญญา ต้งัแต่ระดบัชุมชนทอ้งถิ่น ระดบัชาติตลอดจนถึง ระดับนานาชาติ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ตลอดปี การศึกษา 2565 สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม ได้ด าเนินงานโครงการตามแผนให้ ครอบคลุมในมิติทางวัฒนธรรมและสังคม โดยดา เนินกิจกรรมหรือโครงการฯ ท้งั 4 ดา้น ไดแ้ก่1) วันส าคัญทาง ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ 2) การอนุรักษ์สืบสานประเพณีไทย 3)การพฒันาเครือข่ายความร่วมมือการ ส่งเสริมด้านศิลปวัฒนธรรม และ 4) การส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรม/ โครงการ ด้านการท านุบ ารุง ศิลปวฒันธรรม สิ่งแวดลอ้ม โดยได้รับความร่วมมือกบัหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในการจดังานดงักล่าว อาทิ สถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับศูนย์พฒันาหลักหกและรายวิชาเรียน RSU184คนต่างรุ่นในสังคมสูงวยั (Cross Generations in Aging Society) จดักิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วม การ ทา งานร่วมกนั ในสังคมระหวา่งนกัศึกษา และกลุ่มคนสามเจเนอเรชนั่เขา้ร่วมฝึกอบรมการทา กระดาษผกัตบชวา ซ่ึงเป็นแผนงานร่วมทุนสนบัสนุนการพฒันาสุขภาวะของจงัหวดั ปทุมธานีภายใตโ้ครงการสร้างเสริม อาชีพ รายได้ ของชุมชนหลักหก ได้รับการสนับสนุนโดยส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในการผลิตกระดาษผกัตบชวา มหาวทิยาลยัรังสิต นา โดย ดร.เริงศกัด์ิแกว้เพช็รผชู้่วยอธิการบดีฝ่ายพฒันาสังคม ศิลปวฒันธรรมและสิทธิประโยชน์ซ่ึงเป็นผรู้ิเริ่มโครงการสร้างเสริม อาชีพ รายได้ของชุมชนหลกัหก การผลิต กระดาษผักตบชวา และคณะท างานสถาบนัศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม ร่วมมือการพฒันากบัชุมชนหลกั หกโรงเรียนวดัรังสิต และเทศบาลตา บลหลกัหกจ.ปทุมธานีโดยแกนนา ชุมชนนา โดย นายสมจิตรแกว้พร้อม และนายประทีป รอดทุกข์ ผู้แทนจากเทศบาลต าบลหลักหก และนางเสาวนีย์ ดาบทอง ผู้อ านวยการโรงเรียนวัด รังสิต พร้อมคณะครูนกัเรียน และชาวบา้นชุมชนหลกัหกเขา้ร่วมในการฝึกอบรมการทา กระดาษผกัตบชวา การนา ผกัตบชวามาพฒันา ดดัแปลง ต่อยอด สร้างสรรค์ให้เป็นผลิตภณัฑ์พวงหรีดผกัตบชวาปลอดสารเคมีสี ธรรมชาติเพื่อใชใ้นงานประดิษฐ์ตกแต่งและงานฝีมือจากการทา กระดาษผกัตบชวาปลอดสารเคมีที่มีคุณภาพ ต่องานประดิษฐ์พร้อมท้งัส่งมอบอุปกรณ์การทา เพื่อใหชุ้มชนสามารถสร้างอาชีพ สร้างรายไดใ้หย้งั่ยนืต่อไป การนา ทุนและทรัพยากรทางวฒันธรรมมาต่อยอดและสร้างสรรค์สร้างความรู้ ความเข้าใจในการสืบ สาน รักษา ต่อยอด ขนบธรรมเนียมประเพณีอนัดีงามของคนไทยในคงอยูต่ ่อไป ความร่วมมือด้านวิชาการและ ศิลปวัฒนธรรม 4 ภาค ไดแ้ก่จงัหวดัน่าน จงัหวดัอุบลราชธานีจงัหวดัปทุมธานีจงัหวดัพทัลุง นอกจากน้ียงั ได้รับความร่วมมือจาก กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงวัฒนธรรม, ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี, บริษทั ประชารัฐรักสามคัคีวิสาหกิจเพื่อสังคม (ประเทศไทย) จา กดั, บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ จา กดั (มหาชน) สนบัสนุนกิจกรรม/โครงการเพื่อเป็ นการอนุรักษ์ สืบสานศิลปวัฒนธรรมและการพัฒนาชุมชน อีกท้งัส านกังานกองทุนสนบัสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ส่งเสริมและสนบัสนุนโครงการสร้างอาชีพและรายได้แนวใหม่ตามแนวคิดเศรษฐกิจฐานรากเพื่อสร้างสุขภาวะ เพื่อเป็นการพฒันาศกัยภาพและนา ชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ทา ให้เกิดรายไดแ้ละมูลค่าเพิ่มให้กบัทุนทาง วัฒนธรรมของชุมชนเมืองเอก จังหวัดปทุมธานี
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม มุ่งเสริมสร้างทักษะ พัฒนาบุคลากรและนักศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถและเป็นที่ยอมรับเพื่อสร้างประโยชน์แก่สังคม คิดดีทา ดีสร้างสรรค์ค่านิยมอยา่งมีคุณค่า ปลูกฝัง จิตส านึกที่ดีสร้างคุณธรรม จริยธรรม สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบต่อกนัมาอย่างยาวนานในสาย วิชาชีพต่างๆ ท้งระดับชาติและระดับนานาชาติ รวมถึงการสนับสนุนให้นักศึกษา ัเขา้ร่วมการประกวดแข่งขนั ให้ได้รับรางวัลด้านศิลปวัฒนธรรมและสังคม อาทิรางวลับณัฑิตเหรียญทองสังคมธรรมาธิปไตย มอบแก่ บณัฑิตที่ทา กิจกรรมเพื่อส่วนรวม เป็นผูท้ี่มีความดีความงาม มีเป้าหมายเพื่อชีวิตที่ดีงาม พร้อมเป็นพลเมืองที่ดี ตามแนวทางแห่งสังคมธรรมาธิปไตย, รางวลัคนดีศรีรังสิต เพื่อเชิดชูเกียรตินกัศึกษาที่มีความประพฤติเรียบร้อย และเป็นผูท้ี่มีคุณธรรมจริยธรรม มีจิตอาสา ทา กิจกรรมเพื่อส่วนรวม เป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษา, รางวัล นักศึกษาดีเด่น ประเภทศิลปวฒันธรรมดีเด่น จัดโดยสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือการเป็ นผู้แทนมหาวิทยาลัย โครงการ “เยาวชนนานาชาติเรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสืบสานตามรอยพระยุคลบาท” จัดโดย ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี,งานดนตรีไทยอุดมศึกษาคร้ังที่45 "สังคีตศิลป์ สุนทรีย์ เทิดพระบารมีจอม ราชัน" โดยสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทอดพระเนตร และทรงซอกันตรึม ร่วมกับผู้แทนนิสิต นักศึกษาจากสถาบนัอุดมศึกษาทวั่ประเทศ ในการบรรเลงดนตรี ประกอบบทพระราชนิพนธ์ ชุด "นเรนทราทิตย์ วีรกษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรม" จัดโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ซึ่งเป็ นการสร้างความภาคภูมิใจอีกประการหนึ่งในระดับสถาบันการศึกษา นา มาสู่การสร้างความมีชื่อเสียงใหก้บัมหาวทิยาลยั มหาวิทยาลัยรังสิต ได้มอบทุนการศึกษา ระดับปริญญาตรีและระดับปริญญาโท ด้านศิลปวัฒนธรรม ภายใต้การดูแลของสถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม ฝ่ ายพัฒนาสังคมศิลปวัฒนธรรมและสิทธิประโยชน์ จ านวน 48 ทุน ต่อปีการศึกษาไดแ้ก่ 1. นักศึกษาทุนความสามารถพิเศษ ด้านศิลปวัฒนธรรม 6 ดา้น ไดแ้ก่ดา้นหตัถศิลป์และสิ่งประดิษฐ, ์ ด้านกิจกรรม MOU และบริการสังคม, ด้านดนตรีไทยและดนตรีพ้ืนบา้น, ด้านดนตรีลูกทุ่งและ สากล, ด้านนาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ ประยุกต์ และศิลปะการแสดง, ด้านการประชาสัมพันธ์และผลิต สื่อโซเชียลมีเดีย 2. นักศึกษาทุนสุดยอดเยาวชนคิดใสไทยแลนด์ จากโครงการ "คิดใสไทยแลนด์” เพื่อเป็นกา ลงัในการ ขบัเคลื่อนเยาวชนสร้างสรรคส์ ังคมที่สันติสุข จดัโดยสา นกังานสลากกินแบ่งรัฐบาล(GLO) ร่วมกบั มูลนิธิปัญญาวุฒิจัดการประกวดโครงการคิดใสไทยแลนด์ซีซั่น 6 ร่วมกับบริษัท 360 องศา เอน็เตอร์เทนเมน้ท์จา กดัและองคก์รพนัธมิตรกรมการศาสนากระทรวงวฒันธรรม 3. นกัศึกษาทุนความร่วมมือทางวชิาการและศิลปวฒันธรรม ใหก้บัผแู้ทนชุมชน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต นอกจากน้ีสถาบนัศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม ร่วมกบัวิทยาลัย คณะ สถาบัน และหน่วยงานต่างๆ ยงัให้บริการวิชาการความรู้แก่นักศึกษา และบุคคลทวั่ ไป โดยเน้นกิจกรรมบริการวิชาการในรูปแบบ การ ประชุมสัมมนาอบรมในหลกัสูตรระยะส้ัน การจดังานตามเทศกาล โดยมีการจดักิจกรรมอยา่งต่อเนื่อง จนไดร้ับ การยอมรับจากหน่วยงานภายในและภายนอก ท้งัระดบัชาติและนานาชาตินอกจากน้ียงัไดร้ับความร่วมมือจาก ภาคสื่อสารมวลชน เผยแพร่กิจกรรมบริการแก่สังคม อาทิการเผยแพร่ความรู้และจดักิจกรรมทางวฒันธรรมแก่ นักศึกษาไทยและนานาชาติการบูรณาการรายวิชาให้สอดคล้องกับการเรียนการสอน โดยสถาบัน ศิลปวฒันธรรมและพฒันาสังคม ร่วมกบัสถานีวทิยโุทรทศัน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จดัทา สื่อดิจิทลั เพื่อการศึกษาการสาธิตการออกกา ลงักายโดยใช้ท่ามวยไทยผสมผสานกบัท่ากายบริหารหรือการเคลื่อนไหว เบ้ืองต้น ในรายการ “มวยไทย Exercise” จ านวน 26 ตอน ส าหรับออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อ การศึกษากระทรวงศึกษาธิการและช่องทางออนไลน์ของสถานีETV โครงการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม การแสดงศิลปวฒันธรรมไทยแก่นักศึกษาไทยและนักศึกษา แลกเปลี่ยนนานาชาติ ผ่านกิจกรรมร าวงสงกรานต์ในรูปแบบออนไลน์เพื่อสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมไทยในประเพณีสงกรานต์และวันข้ึนปีใหม่ไทย โดยวิทยาลัยนานาชาติร่วมกับสถาบัน ศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม, โครงการ P2A Amazing Thailand Talk show เพื่อให้นักศึกษาต่างชาติได้ สัมผัส เรียนรู้ และสร้างเสริมประสบการณ์ ด้านศิลปวัฒนธรรมไทย ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ 1. วางแผนการปฏิบตัิงานแก่อาจารย์บุคลากรและนกัศึกษา เพื่อสร้างมาตรฐานให้ชัดเจน ทา ให้เกิด ความรู้ความเขา้ใจในการทา นุบา รุงศิลปะและวฒันธรรมมากข้ึน 2. ส่งเสริมใหค้ณาจารยบ์ูรณาการงานวจิยัในการเรียนการสอนและกิจกรรม/โครงการ 3. ส่งเสริมและสนบัสนุนการมีส่วนร่วมของคณะวชิา บุคลากรมหาวทิยาลยัชุมชน หรือองคก์รภายนอก มหาวิทยาลัย ในการด าเนินโครงการพัฒนาด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ให้บรรลุตามเป้าหมาย 4. สร้างและพฒันาความร่วมมือกบัองค์กรภายนอกระดบัจงัหวดัหรือระดบั ประเทศ ในการวางแผน พัฒนาเชิงพ้ืนที่และดา เนินกิจกรรมหรือโครงการตามพนัธกิจ และศกัยภาพของมหาวิทยาลยั โดยกา หนด เป้าหมายเชิงปริมาณ และคุณภาพ ในด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามของ ชาติไทยและใหบ้ริการทางวชิาการแก่สังคม 5. สนับสนุนการพัฒนาทักษะบุคลากร นักศึกษา เข้าอบรม/สัมมนา ทา การรวบรวมเก็บขอ้มูลจาก ผู้เชี่ยวชาญ, วิเคราะห์ข้อมูล, และกระจายความรู้ขององค์กร ถอดองค์ความรู้ที่เป็ นแนวคิด ประสบการณ์ หรือ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต วิธีการทา งานของบุคคลต่างๆ เพื่อให้เกิดการจดัการองคค์วามรู้ไดข้อ้มูลใหม่นา มาพฒันาต่อยอด ท้งัการเรียน การสอน การค้นคว้างานวจิยัรวมถึงก่อใหเ้กิดวฒันธรรมแห่งการเรียนรู้ภายในองคก์รไปสู่ชุมชน สังคม 6. การประยุกตเ์ทคโนโลยดีิจิทลัสื่อสังคมออนไลน์ในรูปแบบของภาพนิ่ง,วิดีโอ และวารสารเอกสาร เพื่อการสื่อสารเผยแพร่ความรู้และการประชาสัมพนัธ์โครงการดา้นศิลปวฒันธรรมเชิงสร้างสรรค์ส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงวฒันธรรม สร้างเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่น ให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลความรู้ สร้างสรรคผ์ลงานชิ้นใหม่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบัผลิตภณัฑ์สร้างรายไดเ้สริมให้แก่นกัศึกษาและชุมชน ใหเ้ป็นรูปธรรมมากข้ึน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต องค์ประกอบที่ 5 กำรบริหำรจัดกำร ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 กำรบริหำรของสถำบันเพื่อกำรกำ กบัติดตำมผลลพัธ์ตำมพนัธกจิกลุ่มสถำบัน และเอกลกัษณ์ของ สถำบัน ชนิดของตัวบ่งชี้ :กระบวนการ เกณฑ์กำรประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการด าเนินการ 1 ข้อ มีการด าเนินการ 2 ข้อ มีการด าเนินการ 3 -4 ข้อ มีการด าเนินการ 5 -6 ข้อ มีการด าเนินการ 7 ข้อ ข้อ 1. พัฒนำแผนกลยุทธ์จำกผลกำรวิเครำะห์SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของสถำบัน และพัฒนำไปสู่ แผนกลยุทธ์ทำงกำรเงินและแผนปฏิบัติกำรประจ ำปีตำมกรอบเวลำ เพื่อให้บรรลุผลตำมตัวบ่งชี้และเป้ำหมำย ของแผนกลยุทธ์ (ข้อมูลโดย: ส ำนักงำนวำงแผนและพฒันำ) ผลกำรด ำเนินงำน 1) มหำวทิยำลยัรังสิตมีกำรจัดทำ แผนยุทธศำสตร์กำรพฒันำมหำวทิยำลัยรังสิต พ.ศ. 2565 – 2569 1.1) มีการแต่งต้งัคณะกรรมการจดัทา แผนยทุธศาสตร์การพฒันามหาวทิยาลยัรังสิต พ.ศ.2565 – 2569 1.2) จัดประชุมคณะกรรมการจัดท าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565 – 2569 เพื่อวิเคราะห์ผลการด าเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2560-2564และกา หนดแนวทางในการจดัทา แผน ยทุธศาสตร์การพฒันามหาวทิยาลยัรังสิต ท้งัน้ีตวัช้ีวดัการดา เนินงานของยทุธศาสตร์ดา้นใดที่การดา เนินการยงั ไม่บรรลุเป้าหมายในแผนยุทธศาสตร์พ.ศ. 2560-2564จะตอ้งมีการพฒันาต่อไปในแผนยุทธศาสตร์ฉบบั ใหม่ ด้วย 1.3) มีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคาม (SWOT Analysis) โดยเชื่อมโยงกับ วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยโดยการให้คณะกรรมการแผนยุทธศาสตร์แต่ละยุทธศาสตร์เสนอ จากน้ัน คณะกรรมการจัดท าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565 – 2569 ไดย้กร่างแผนยทุธศาสตร์ การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565 – 2569 (ฉบบัร่าง 1) ที่เชื่อมโยงกบั ปรัชญาของมหาวิทยาลยัรังสิตและ สอดคลอ้งกบัการประกนัคุณภาพ และ สปอว. 1.4) มีการน าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565 – 2569 (ฉบบัร่าง 1) เผยแพร่สู่ วิทยาลยั/คณะ/สถาบนัและดา เนินการจดั ประชุมหารือโดยการแบ่ง วิทยาลยั/คณะ/สถาบนัเป็นกลุ่มคณะ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต (Faculty Cluster) เพื่อให้เกิดการร่วมกนัเสนอความคิดเห็นต่อแผนยุทธศาสตร์ฯ นา ไปสู่การปรับปรุงแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565 – 2569 (ฉบบัร่างสมบูรณ์) พร้อมท้งันา เสนอต่อผูบ้ริหาร และที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย (คร้ังที่ 10/2564) และที่ประชุมคณะกรรมการสภา มหาวทิยาลยั (คร้ังที่4/2564) ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2564 1.5) มีการด าเนินการจัดท าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 (ฉบับ สมบูรณ์) เผยแพร่ในรูปแบบ E-Document ส่งใหทุ้กหน่วยงานภายในมหาวทิยาลยัรังสิต ผลกำรด ำเนินงำน ปี การศึกษา 2564 ด าเนินการจัดท า “แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565 – 2569 (ฉบับสมบูรณ์) เป็ นที่เรียบร้อยแล้ว โดยผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลยัเมื่อวนัที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2564 2) มหำวทิยำลยัรังสิตโดยส ำนักงำนวำงแผนและพฒันำ มีกำรถ่ำยทอดแผนฯ ไปสู่ทุกหน่วยงำนภำยใน 2.1) มีการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ฯ ในรูปแบบ E-Document ส่งให้ทุกหน่วยงานภายในผ่านทางอีเมล และเผยแพร่ผา่นเวบ็ ไซต์ของส านกังานวางแผนและพฒันา (https://plan2.rsu.ac.th/) และจดัสัมมนาเพื่อให้เกิด ความรู้ความเขา้ใจต่อแผนยุทธศาสตร์ฉบบั ปัจจุบนัและสามารถจดัทา แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบตัิการ ประจา ปีในระดบัคณะวิชา/หน่วยงาน ไดอ้ย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมท้งัดา เนินการจดัทา และเผยแพร่เล่มแผน ยทุธศาสตร์ฯ (ฉบบัแกไ้ข) 2.2) มีการสร้างพ้ืนที่จดัเก็บขอ้มูลแผนพฒันาระดบัหน่วยงาน พร้อมท้งัแนบเอกสารคู่มือการใชง้านและ แนวทางการจดัทา แผนพฒันาต่างๆ บนเว็บไซต์ส านักงานวางแผนและพฒันา (https://plan2.rsu.ac.th/) และ ระบบคลาวด์ออนไลน์ (OneDrive) ของส านักงาน ผลกำรด ำเนินงำน ปี การศึกษา 2565 มีการด าเนินการจัดท าเว็บไซต์ใหม่ของส านักงานวางแผนและพัฒนาเพื่อ ประชาสัมพนัธ์เผยแพร่ขอ้มูลและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้งกบัแผนยทุธศาสตร์(https://plan2.rsu.ac.th/strategic/) เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ไดน้า ไปใชใ้นการจดัทา แผนยุทธศาสตร์การพฒันาหน่วยงาน ท้งัหน่วยงานวิชาการและ หน่วยงานสนบัสนุนใหส้อดคลอ้งเป็นไปในทิศทางและเป้าหมายการพฒันามหาวทิยาลยั 3) มีกำรพฒันำแผนกลยุทธ์ทำงกำรเงินทสี่อดคล้องกบัแผนยุทธศำสตร์มหำวทิยำลยัรังสิต พ.ศ.2560 – 2564
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 3.1) ฝ่ ายการเงินมีการจัดท ากลยุทธ์ทางการเงิน ภายใต้กรอบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย โดย คณะกรรมการจดัทา แผนกลยทุธ์ทางการเงินร่วมกนัพิจารณากา หนดแผนฯ และทบทวนแผนฯ อยา่งนอ้ยปีละ1 คร้ังเพื่อใหเ้หมาะสมกบัสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบนั 4) มีกำรพฒันำแผนกลยทธ์จำกกำรวิเครำะห์ ุ SWOT และเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์เป็ นแผนปฏิบัติกำรประจ ำปี 4.1) มหาวิทยาลัยรังสิต โดยส านักงานวางแผนและพัฒนา ได้ด าเนินการน าผลการวิเคราะห์ SWOT และ วิสัยทศัน์ตามแผนยุทธศาสตร์ฯ ใชใ้นการวางกรอบแนวทางการพฒันาแผนปฏิบตัิการประจา ปีโดยแบ่งเป็น 6 ดา้น ไดแ้ก่ดา้นการจดักิจกรรมพฒันานกัศึกษา ดา้นการวจิยัและนวตักรรม ดา้นการบริการวชิาการ ดา้นการทา นุ บา รุงศิลปวฒันธรรม ด้านการต่างประเทศและด้านการบริหารจดัการองค์กร เพื่อให้สอดคล้องพนัธกิจของ สถาบนัพร้อมท้งัการเผยแพร่เอกสารต่างๆผ่านระบบออนไลน์เพื่อให้ทุกหน่วยงานจดัทา แผนปฏิบตัิการ ประจา ปีที่สอดคลอ้งกบัแผนยทุธศาสตร์ฯ และดา เนินการจดัทา พ้ืนที่บนระบบคลาวด์ออนไลน์(OneDrive) ของ ส านกังานวางแผนและพฒันา ส าหรับการบริหารจดัการขอ้มูลดา้นแผนปฏิบตัิการประจา ปีให้แก่ทุกหน่วยงาน เมื่อคณะและหน่วยงานต่างๆภายในมหาวิทยาลยักา หนดกิจกรรมหรือโครงการที่จะบรรจุลงในแผนปฏิบตัิการ ประจา ปีที่มีความสอดคลอ้งกบัแผนยทุธศาสตร์ฯ ท้งั 6 ด้าน คณะกรรมการแผนฯ จะพิจารณาอนุมัติงบประมาณ ประจา ปีและแจง้ผลการพิจารณาไปยงัหน่วยงานให้รับทราบ เพื่อให้ดา เนินการตามแผนปฏิบตัิการประจา ปี ระหวา่ง 1 มิถุนายน – 31 พฤษภาคมของรอบปีการศึกษาน้นัต่อไป 4.2) มีการเผยแพร่แนวทางในการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี (action plan)ของหน่วยงานต่างๆ ท้งั วิทยาลยั/คณะ/สถาบนัและหน่วยงานสนบัสนุน โดยประชาสัมพนัธ์และเผยแพร่แนวทางการจดัทา และเตรียม ค ว า ม พ ร้ อ ม ส า ห รั บ ปี ก า ร ศึ ก ษ า ถั ด ไ ป บ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ ส า นั ก ง า น ว า ง แ ผ น แ ล ะ พั ฒ น า (https://plan2.rsu.ac.th/actionplan-project/) ผลกำรด ำเนินงำน ในปี 2565 พบวา่ 1. ทุกคณะ/หน่วยงาน/ฝ่ายมีการดา เนินการจดัทา แผนพฒันาระดบัหน่วย พ.ศ.2565-2569 2. ทุกคณะหรือเทียบเท่ามีการดา เนินการจดัทา แผนปฏิบตัิการประจา ปีครบท้งั 6 ด้าน 3. ทุกหน่วยงาน/ฝ่าย มีการดา เนินการจดัทา แผนปฏิบตัิการประจา ปีตามพนัธกิจที่เกี่ยวขอ้งกบัหน่วยงาน ซ่ึงอาจเป็นการดา เนินงานโดยหน่วยงานในสังกดัฝ่าย หรือโดยฝ่ายเอง ตามแต่ความเหมาะสม 5) มีกำรก ำกับติดตำมผลกำรด ำเนินงำนตำมแผนยุทธศำสตร์และแผนปฏิบัติประจ ำปีและรำยงำนต่อคณะ กรรมกำรบริหำรมหำวิทยำลัย และต่อสภำมหำวิทยำลัยอย่ำงน้อย ปี ละ1 ครั้ง
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 5.1) ในช่วงสิ้นแผนยุทธศาสตร์การพฒันามหาวิทยาลยัรังสิตหรือทุกๆ 5 ปี มหาวิทยาลัยรังสิตโดย ส านักงานวางแผนและพฒันา มีการรวบรวมและประมวลผลขอ้มูลความสา เร็จตามตวัช้ีวดัของแผนยทุธศาสตร์ฯ และจากการติดตามผลความส าเร็จการดา เนินงานตามตวับ่งช้ีและเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์ฯ ในแต่ละปี ตลอดระยะเวลาแผนต้งัแต่ปีการศึกษา 2560-2564 ส านักงานฯ ได้จัดท าเป็ นรายงานผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบ การดา เนินงานกบัเป้าหมายตวับ่งช้ีต่างๆ ท้งัหมดเพื่อประกอบการประเมินผลการปฏิบตัิตามแผนยุทธศาสตร์ โดยไดน้า เสนอต่อผูบ้ริหารและคณะกรรมการจดัทา แผนพฒันามหาวิทยาลยัรังสิต เพื่อให้ไดร้ับขอ้เสนอแนะ นา มาประกอบการพิจารณาวางแนวทางในการพฒันาใหบ้รรลุเป้าหมายตวัช้ีวดัของแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย รังสิตฉบบัถดัไป ดงัน้นัการดา เนินการในพนัธกิจของสถาบนัที่ยงัไม่บรรลุเป้าหมายในแผนยุทธศาสตร์พ.ศ. 2560-2564 จะนา มาปรับปรุงแนวทางหรือวางแนวทางใหม่เพื่อให้มีการพฒันาต่อไปในแผนยุทธศาสตร์พ.ศ. 2565-2569 5.2) มีการติดตามผลการด าเนินงานตามตัวบ่งช้ีของโครงการในแผนปฏิบัติการประจา ปีของทุก หน่วยงานโดยส านักงานวางแผนละพฒันาได้พิจารณาความส าเร็จของการดา เนินงานโครงการพฒันา จาก รายงานการประเมินโครงการตามรู ปแบบ PDCA หน่วยต่างๆ สามารถน าส่งเข้าสู่ระบบคลาวด์ออนไลน์ (OneDrive) ของสา นกังานวางแผนและพฒันาไดต้ลอดเวลาท้งัปีการศึกษาจนถึง 30 มิถุนายนของปี ถัดไป ในการ วดัความส าเร็จของแผนปฏิบตัิการประจา ปีกา หนดให้ทุกโครงการตอ้งไดร้ับการประเมินในรูปแบบ PDCA ทุก โครงการจึงมีการกา หนดเป้าหมายของความสา เร็จตามวตัถุประสงคแ์ละตวัช้ีวดัเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณของ โครงการ และสา นกังานวางแผนและพฒันาจะจดัทา บทสรุปผบู้ริหารและรายงานผลการดา เนินงานเผยแพร่ผ่าน ระบบออนไลน์ 5.3) ส าหรับการติดตามการบรรลุผลตามตัวบ่งช้ีและเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565 ตามแผนยุทธศาสตร์ฯ ฉบับ พ.ศ. 2565-2569 มีการกา หนดเกณฑ์ระดบั ความส าเร็จของตวัช้ีวดัอยา่งชดัเจนและมีเอกสารคู่มือเพื่อช้ีแจงการเก็บขอ้มูลระดบัหน่วย ในการเก็บรวบรวม ขอ้มูลความสา เร็จตามตวัช้ีวดัน้นัจะดา เนินการโดยหน่วยงานผูร้ับผิดชอบขบัเคลื่อนและรวมรวบขอ้มูล จากน้นั จะส่งต่อใหส้า นกังานวางแผนและพฒันาประเมินตวัช้ีวดัความสา เร็จของแผนยทุธศาสตร์ฯ ต่อไป และจะทา เป็น ประจา ทุกปีโดยส านักงานวางแผนและพฒันาจะประมวลผลข้อมูลจากหน่วยงานและผูร้ับผิดชอบท้งัหมด ภายในเดือนตุลาคมของทุกปีจากน้นัจะรายงานผลต่อผบู้ริหารและคณะกรรมการจดัทา แผนพฒันามหาวทิยาลยั รังสิต เพื่อร่วมหาแนวทางในการพฒันาใหบ้รรลุเป้าหมายตวัช้ีวดัในปีการศึกษาต่อไป ผลกำรด ำเนินงำน ในปี 2565 สามารถดา เนินการจดัทา ไดด้งัน้ี
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 1. รายงานผลการด าเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์พัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต ฉบับ พ.ศ.2560-2564 2. รายงานการประเมินติดตามผลการดา เนินงานกิจกรรมหรือโครงการพัฒนา ของมหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565 3. รายงานการประเมินติดตามผลการด าเนินการตามข้อมูล Key Results (KRs) ของแผนยุทธศาสตร์ฯ ปี การศึกษา 2565 รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สวผ.อ5.5.1.1.01 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการจดัทา แผนยุทธศาสตร์การพฒันามหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2565-2569 มรส.สวผ.อ5.5.1.1.02 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569 (ฉบบัร่าง 1) มรส.สวผ.อ5.5.1.1.03 บนัทึกข้อความเชิญประชุมระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569 ณ วันที่ 8-9กรกฏาคม 2565 มรส.สวผ.อ5.5.1.1.04 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 (ฉบบัร่างสมบูรณ์) มรส.สวผ.อ5.5.1.1.05 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวทิยาลยัรังสิต คร้ังที่10/2564 มรส.สวผ.อ5.5.1.1.06 บันทึกข้อความขอเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเข้าวาระการประชุมคณะกรรมการสภา มหาวิทยาลัยรังสิตและมติรายงานการประชุมคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย รังสิต คร้ังที่4/2564 มรส.สวผ.อ5.5.1.1.07 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 (ฉบับสมบูรณ์) มรส.สวผ.อ5.5.1.1.08 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 (ฉบบัแกไ้ข) มรส.สวผ.อ5.5.1.1.09 แผนกลยุทธ์ทางการเงิน มหาวิทยาลัยรังสิต มรส.สวผ.อ5.5.1.1.10 รายงานผลการด าเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์พัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต ฉบับ พ.ศ.2560-2564 มรส.สวผ.อ5.5.1.1.11 บนัทึกแจ้งแนวทางการจัดทา และก าหนดการส่งรายงานสรุปผลการด าเนิน โครงการตามแผนปฏิบัติการ (action plan) ปี การศึกษา 2565 มรส.สวผ.อ5.5.1.1.12 รายงานการประเมินติดตามผลการด าเนินงานโครงการพัฒนา ของมหาวิทยาลัย รังสิต ปี การศึกษา 2565 มรส.สวผ.อ5.5.1.1.13 รายงานการประเมินติดตามผลการด าเนินการตามข้อมูล KRs ของแผน ยุทธศาสตร์ฯ ปี การศึกษา 2565
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 2. กำรกำ กบัติดตำมส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกคณะด ำเนินกำรวเิครำะห์ข้อมูลทำงกำรเงินที่ประกอบไปด้วยต้นทุน ต่อหน่วยในแต่ละหลักสูตร สัดส่วนค่ำใช้จ่ำยเพื่อพัฒนำนักศึกษำอำจำรย์บุคลำกร กำรจัดกำรเรียนกำรสอน อย่ำงต่อเนื่อง เพื่อวิเครำะห์ควำมคุ้มค่ำของกำรบริหำรหลักสูตร ประสิทธิภำพ ประสิทธิผลในกำรผลิตบัณฑิต และโอกำสในกำรแข่งขัน (ข้อมูลโดย: ส ำนักงำนงบประมำณ) ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลัยรังสิต มีการส่งเสริมสนบัสนุนให้คณะวิชาต่างๆ ทา การวิเคราะห์ขอ้มูลทางการเงิน เพื่อ น าไปใช้ในการบริหารความมนั่คงทางการเงินคณะวิชา อยใู่นความรับผดิชอบของคณะกรรมการชุดต่างๆ ไดแ้ก่ คณะกรรมการวางแผนกลยทุธ์ทางการเงิน คณะอนุกรรมการพิจารณางบประมาณ และคณะอนุกรรมการประกนั คุณภาพการศึกษา สา นกังบประมาณ โดยใชร้ะบบงบประมาณเป็นเครื่องมือในการอา นวยการ ดงัน้ี 1) คณะกรรมการวางแผนกลยุทธ์ทางการเงิน และอนุกรรมการพิจารณางบประมาณ ร่วมกนักา หนด นโยบายการจดัทา งบประมาณ เพื่อเป็นแนวทางแก่คณะวิชาและหน่วยงานสนบัสนุนต่างๆ ในการ จัดท างบประมาณประจ าปี 2) คณะอนุกรรมการพิจารณางบประมาณ มอบหมายให้คณะวิชาประมาณการรายรับ จากค่าเล่าเรียน ของนกัศึกษาใหม่และนกัศึกษาที่ยงัคงอยูใ่นระบบจา แนกตามช้นั ปีเพื่อนา ไปประมาณการรายรับ ค่าเล่าเรียน และนา ไปรวมคา นวณประมาณการรายไดจ้ากแหล่งอื่น เช่น ทุนวจิยั การบริการวิชาการ และการให้ใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ เป็ นต้น 3) คณะอนุกรรมการพิจารณางบประมาณทา การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจา และรายจ่าย โครงการพฒันาโดยใชค้ ่า FTESเป็นเกณฑ์เพื่อให้งบประมาณรายจ่ายรวมที่จดัสรรอยูใ่นระดบัที่ เหมาะสมกับรายรับของแต่ละคณะวิชา ซ่ึงสอดคล้องกับนโยบายการจดัทา งบประมาณตามที่ คณะกรรมการวางแผนกลยทุธ์ทางการเงินกา หนด 4) คณะวชิาจดัทา แผนกิจกรรมหรือโครงการพฒันาในดา้นต่างๆ ซ่ึงเป็นส่วนประกอบของแผนปฏิบัติ การประจ าปีโดยจา แนกเป็นกิจกรรมหรือโครงการด้านการพัฒนาการเรียนการสอน พัฒนา นักศึกษา พัฒนาบุคลากร และอื่นๆ ท้งัน้ีคณะวิชาจา เป็นตอ้งจดัทา รายละเอียดของแผนโครงการ ตามที่คณะอนุกรรมการพิจารณางบประมาณก าหนด และต้องสอดคล้องกับเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติการประจ าปี 5) คณะอนุกรรมการด าเนินงานด้านการประกนัคุณภาพการศึกษา และส านักงบประมาณประชุม ร่วมกนัเพื่อกา หนดแนวทางในการวิเคราะห์ตน้ทุนการผลิตบณัฑิตรายหวันกัศึกษาเทียบเท่าของแต่