รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 1) พฒันาเวบ็ไซตข์องสา นกังานใหเ้ป็นแหล่งความรู้แจง้ขอ้มูลข่าวสาร ดาวน์โหลดฟอร์มต่างๆ 2) มี Facebook Fan page ที่สามารถใหบุ้คลากรสื่อสารหรือขอขอ้มูลต่างๆ ผา่นระบบออนไลน์ 3) ระบบฐาน HR Online เป็นระบบที่บุคลากรสามารถเขา้ดูประวตัิของตนเองได้เช่น ขอ้มูลการใช้ สวัสดิการ การลา การเรียกดูรายละเอียดเงินเดือนของตนเอง การดูภาษีของตนเอง ในดา้นการพฒันาบุคลากรน้นั มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาบุคลากร จึง ได้กา หนดแนวทางการพฒันาบุคลากรไวใ้นแผนยุทธศาสตร์การพฒันามหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2565-2569 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความเป็ นเลิศทางการศึกษาและการผลิตบัณฑิต (Excellence in Education) และ ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 การบริหารจัดการสู่องค์กรอัจฉริยะ (Smart Organization) โดยมีรายละเอียด วตัถุประสงคท์ ี่สอดคลอ้งกบัการพฒันาบุคลากร ดงัน้ี - วัตถุประสงค์ (Objective) 1.4 อาจารย์มีความสามารถเป็ นเลิศในการจัดการเรียนการสอน มี Key Result (KR) ดงัน้ี KR 1.4.4 อาจารย์ผู้สอนได้รับการพัฒนาเทคนิคการเรียนการสอนหรือการประเมินผลการเรียนรู้ ของนักศึกษา KR1.4.5 อาจารย์ผู้สอนได้รับการพัฒนาทางวิชาการและวิชาชีพ -วัตถุประสงค์ (Objective) 3.4 บุคลากรสามารถพฒันาทกัษะที่จา เป็นและเพิ่มขีดสมรรถนะในการ ท างาน Human Resource Competency Development (HRCD) มี Key Result (KR) ดงัน้ี KR 3.4.1 บุคลากรสายสนบัสนุนตอ้งเขา้ร่วมโครงการ/กิจกรรมพฒันาทกัษะที่จา เป็นต่อการ พฒันางานและมีผลเชิงประจกัษท์ ี่แสดงความสามารถในการทา งานไดด้ีข้ึน KR 3.4.2 บุคลากรสายสอนตอ้งเขา้ร่วมโครงการ/กิจกรรมพฒันาทกัษะที่จา เป็นต่อการพฒันา ศกัยภาพทางวชิาการและมีผลเชิงประจกัษท์ ี่แสดงถึงศกัยภาพทางวชิาการที่สูงข้ึน KR 3.4.3 บุคลากรทุกประเภทจะตอ้งเขา้รับการพฒันาในโครงการ/กิจกรรมอยา่งนอ้ยปีละ1คร้ัง KR 3.4.4 การพฒันาบุคลากรของมหาวิทยาลัย คณะ/ หน่วยงาน บรรลุเป้าหมายแผนพฒันาเป็น รายบุคคล ปัจจุบนัมหาวิทยาลยัรังสิตแบ่งบุคลากรออกเป็น 2 สาย คือ1) สายวิชาการ 2) สายสนับสนุน ซึ่งท้งัสอง สาย มหาวิทยาลยัรังสิตให้ความส าคญัต่อการพฒันาบุคลากรโดยสายวิชาการ มีหน่วยงานหลกัในการกา กบั ติดตามผลการด าเนินงาน คือ 1.ส านักงานมาตรฐานวิชาการ (ส่งเสริมและพฒันาบุคลากรให้เขา้สู่ตา แหน่ง วิชาการ) 2. สถาบนัวิจยั (ส่งเสริมและพฒันาดา้นการศึกษาวิจยั) 3.ศูนย์บริการทางวิชาการ ในส่วนของ RSU Cyber University (พัฒนาทักษะเทคโนโลยีที่ใช้ในการเรียนการสอน) 4.ส านักงานพัฒนาบุคคล (Soft Skill)
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ท้งัน้ีบุคลากรของมหาวิทยาลยัท้งัหมดจะใช้แนวทางการพฒันาตามสมรรถนะ (Competency) ซึ่งทุก คณะวิชา/ หน่วยงานมีส่วนร่วมในการกา หนดสมรรถนะของบุคลากรในคณะวชิาและหน่วยงานตนเอง มหาวทิยาลยัรังสิตไดแ้บ่งสมรรถนะออกเป็น 3กลุ่ม คือ 1.สมรรถนะหลัก (Core Competency) 1.1ธรรมาธิปไตย (Dharmacracy) 1.2การท างานเป็ นทีม (Team Working) 1.3 มุ่งผลสัมฤทธ์ิ( Work Achievement) 2.สมรรถนะกำรบริหำร (Managerial Competency) 2.1 การบริหารจัดการกลยุทธ์ (Strategic Management) 2.2ความเป็ นผู้น า (Leadership) 2.3การแกไ้ขปัญหาและการตดัสินใจ(Problem Solving & Decision Making) 2.4การมีวิสัยทัศน์(Vision) 2.5การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) 3.สมรรถนะตำมต ำแหน่งงำน (Functional Competency) 3.1 สมรรถนะตา แหน่งสายการสอน 3.1 .1ความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพเฉพาะ และการวิจัย (Academic Knowledge/Content and Research) 3.1.2ความสามารถและเทคนิคในการสอนและการถ่ายทอด (Teaching Ability and techniques) 3.1.3จรรยาบรรณและความซื่อสัตย์(Ethics and Integrity) 3.2 สมรรรถนะตา แหน่งงานสายสนบัสนุน 3.2.1ความรับผิดชอบในงาน (Accountability) 3.2.2จิตส านึกการให้บริการ(Service Mind) 3.2.3ความสามรถในการใช้ภาษาอังกฤษ (English Literacy) 3.2.4 สมรรถนะทางดิจิทัล(Digital Competency) ซึ่งกระบวนการพฒันาบุคลากรของคณะและหน่วยงานจะอยูภ่ายใตก้รอบของสมรรถนะที่กา หนด โดย ส านักงานพัฒนาบุคคลจะด าเนินการส ารวจความต้องการในการฝึ กอบรมและพัฒนา (Training needs) จาก ผู้บริหาร หัวหน้างาน ตลอดจนตัวบุคลากรเอง เพื่อน ามาสรุปผลและใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนการจัดการ ฝึกอบรมและพฒันาในลา ดบัต่อไป บุคลากรที่ตอ้งการพฒันาสามารถเลือกหลกัสูตรฝึกอบรมที่มีความเหมาะสม กบัสมรรถนะ ท้งัที่จดัข้ึนภายในมหาวิทยาลยัโดยหน่วยงานต่างๆ และหลกัสูตรฝึกอบรมที่จดัข้ึนภายนอก โดย สถาบนัการศึกษาของรัฐหรือองค์กรภาคเอกชนต่างๆ โดยการพฒันาบุคลากรของมหาวิทยาลยัรังสิต จะตอ้ง
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต พฒันาตามสมรรถนะที่มหาวทิยาลยักา หนดไว้และอยภู่ายใตก้รอบการพฒันาบุคลากรตามแผนพฒันารายบุคคล (IDP)คณะวชิา/ หน่วยงาน ไดจ้ดัทา ข้ึน ในแต่ละปีส านกังานพฒันาบุคคลไดม้ีการดา เนินการพฒันาบุคลากรตามแผนที่กา หนด โดยมีบุคลากร สายวิชาการและสายสนบัสนุนไดร้ับการฝึกอบรมท้งัจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก ซ่ึงการจดัส่ง บุคลากรเขา้ร่วมในหลกัสูตรต่างๆ จะพิจารณาจากสมรรถนะที่กา หนด เพื่อให้การพฒันาเป็นไปในทิศทางที่ ต้องการ โดยในปี การศึกษา 2565 สา นกังานพฒันาบุคคลไดด้า เนินการจดัหลกัสูตรฝึกอบรมท้งัหมด 22 หลักสูตร มีบุคลากรที่ผา่นการอบรมท้งัหมด 1,188คน ดงัรายละเอียดต่อไปน้ี ประเภทกำรอบรม จ ำนวนหลกัสูตร จ ำนวนบุคลำกร จ ำนวนชั่วโมง ปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ 3 159 9 โครงการพัฒนาศักยภาพผู้บริหารและอาจารย์ 6 262 75 โครงการพัฒนาบุคลากรตามขีดความสามารถ ของผู้ปฏิบัติงาน 7 533 63 โครงการภาษาต่างประเทศ 6 234 90 รวม 22 หลกัสูตร 1,188 คน 237 ชม. โดยหลักสูตรที่ส านักงานพัฒนาบุคคลเป็ นผู้รับผิดชอบจะเป็ นไปตามกรอบการพัฒนาบุคลากรของ มหาวิทยาลยัรังสิตท้งัหมด ดงัน้นัผูท้ี่เขา้ร่วมอบรมท้งัหมดจะถูกพฒันาโดยอยูภ่ายใตแ้ผนการพฒันาบุคลากร ของมหาวิทยาลัยรังสิต คิดเป็ นร้อยละ 100 การติดตามผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนาบุคลากร ส านักงาน พัฒนาบุคคลได้มีแนวทางในการติดตามผลการด าเนินงาน โดยใช้วิธีการประเมินติดตาม ดงัน้ี 1. ประเมินผลการจดักิจกรรมพฒันาบุคลากร ด าเนินการประเมินโดยใช้แบบส ารวจความพึงพอใจ หลงัจากการจดักิจกรรมพฒันาบุคลากร เพื่อให้ทราบถึงระดบัความพึงพอใจของการจดักิจกรรมในแต่ละคร้ัง โดยนา ผลการประเมินมาปรับปรุงการจดักิจกรรมคร้ังต่อๆ ไป และสรุปผลการดา เนินกิจกรรมรายปี 2. ประเมินผลด้านการพัฒนาบุคลากร ส านักงานพัฒนาบุคคล ด าเนินการประเมินโดยส่งแบบสอบถาม เพื่อติดตามผล ซ่ึงจะติดตามผลหลงัจากที่บุคลากรไดผ้ ่านจากการเขา้ร่วมกิจกรรมพฒันาบุคลากรไปแลว้ 3 – 6 เดือน โดยบุคลากรตอ้งสรุปประมวลความรู้ที่นา ไปประยุกต์ใช้ในการทา งาน บอกเล่าตวัอย่างโครงการหรือ กิจกรรมต่างๆ ที่น าเอาความรู้จากการพัฒนาไปประยุกตใ์ช้โดยผูบ้งัคบับญัชาจะตอ้งมีส่วนร่วมในการประเมิน ติดตามผล และรับทราบในรายละเอียด ดงักล่าวดว้ย 3. ติดตามประเมินผลตามตวัช้ีวดั (KR) ของมหาวทยาลัยรังสิต ด้านการพัฒนาบุคลากร จ านวน 6 ตวัช้ีวดัตามประเด็นยทุธศาสตร์ที่1และ 3
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ส าหรับแนวทางการด าเนินการพัฒนาบุคลากรภายใต้แนวคิดการจัดท าสมรรถนะ (Competency) และ การจัดท าแผนพัฒนารายบุคคลของมหาวิทยาลัย ท าให้การพัฒนาบุคลากรของคณะฯ และหน่วยงานต่างๆ มี ความชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากข้ึน มีแผนพฒันาที่สามารถบอกถึงสมรรถนะของบุคลากรแต่ละคนอย่าง ชัดเจน ซึ่งส่งผลต่อการคดัเลือกวิธีการหรือหลกัสูตรที่จะฝึกอบรมให้ตรงกบัสมรรถนะที่ตอ้งการ และสามารถ ประเมินได้ว่าความรู้ความสามารถที่ตอ้งการน้ันได้รับการพฒันาดีข้ึนหรือตอ้งทา การพฒันาเพิ่มเติม รวมถึง ส านกังานพฒันาบุคคลยงัไดท้า การติดตามประเมินผลผูเ้ขา้ร่วมอบรมหลกัสูตรต่างๆ เพื่อน ามาใช้เป็ นข้อมูลใน การวางแผนปรับปรุงการดา เนินงานในปีต่อไป รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สบค.อ5.5.1.6.01 การสรรหาจากภายนอก มรส.สบค.อ5.5.1.6.02 การสรรหาจากภายใน มรส.สบค.อ5.5.1.6.03 รายงานการประชุม เรื่อง พิจารณาการให้ทุนสนับสนุนการศึกษาและการลาศึกษาของ บุคลากร พ.ศ.2565 มรส.สบค.อ5.5.1.6.04 ประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่อง การประเมินผลการปฏิบัติงานประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.04 เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานประจ าปี บุคลากรสายอาจารย์ 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.09 แบบรายงานและประเมินผลอาจารย์ประจ า 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.02 เกณฑก์ารประเมินผลการปฏิบตัิงานประจา ปีบุคลากรตา แหน่งผชู้่วยอาจารย์2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.08 แบบรายงานและประเมินผลผชู้่วยอาจารย์2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.03 เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานประจ าปี บุคลากรสายเจ้าหน้าที่ 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.07 แบบรายงานและประเมินผลเจ้าหน้าที่ 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.01 เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงานประจ าปี ของอธิการ คณบดีและผู้อ านวยการ 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.06 แบบประเมินการปฏิบัติงานของอธิการ คณบดี มหาวิทยาลัยรังสิต 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.4.05 แบบประเมินการปฏิบตัิงานของผอู้า นวยการหรือเทียบเท่า มหาวิทยาลยัรังสิต 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.6.05 Job description ของแต่ละสายงาน มรส.สบค.อ5.5.1.6.06 เกณฑ์การประเมินวิทยาลัย คณะ สถาบัน และหน่วยงาน มรส.สบค.อ5.5.1.6.07 หนังสือแจ้งการตรวจสุขภาพประจ าปี บุคลากร 2565 มรส.สบค.อ5.5.1.6.08 เว็บไซต์ส านักงานบุคคล มรส.สบค.อ5.5.1.6.09 Facebook Fan page: Personnel Office มรส.สบค.อ5.5.1.6.10 ระบบ HR Online
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สพบ.อ5.5.1.6.01 แผนพัฒนาบุคลากร มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี 2565-2569 มรส.สพบ.อ5.5.1.6.02 แผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan) มรส.สพบ.อ5.5.1.6.03 สรุปผลการส ารวจความจ าเป็ นในการอบรม (Training needs) ของบุคลากร ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สพบ.อ5.5.1.6.04 แผนงานการจัดโครงการพัฒนาบุคลากร มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สพบ.อ5.5.1.6.05 สรุปผลโครงการอบรม ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สพบ.อ5.5.1.6.06 ผลการด าเนินงานตามแผนงาน/โครงการพัฒนาบุคลากร มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สพบ.อ5.5.1.6.07 สรุปผลการสา รวจความพึงพอใจของบุคลากรต่อการดา เนินงานโครงการพฒันาบุคลากร มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สพบ.อ5.5.1.6.08 สรุปผลการติดตามประเมินผลโครงการอบรม (Follow Up) ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สพบ.อ5.5.1.6.09 โครงการพัฒนาบุคลากรจ าแนกตามสมรรถนะ ข้อ 7.กำรก ำกับติดตำมส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกหน่วยงำนในสถำบันมีกำรด ำเนินงำนด้ำนกำรประกันคุณภำพ ภำยในตำมระบบและกลไกที่สถำบันก ำหนด ประกอบด้วยกำรควบคุมคุณภำพ กำรตรวจสอบคุณภำพ และกำร ประเมินคุณภำพ (ข้อมูลโดย: ส ำนักงำนประกันคุณภำพ) ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลยัรังสิต โดยส านักงานประกนัคุณภาพมีภารกิจหลกัในการพฒันาระบบประกนัคุณภาพ การศึกษาของมหาวิทยาลัย มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ของ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยกา หนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพฒันาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาทุกระดบัต้งัแต่ระดบัหลกัสูตร ระดบัคณะวิชา และระดบัหน่วยงานสนบัสนุน โดยมีโครงสร้างการ บริหารงานดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวทิยาลยัรังสิต ที่กา หนดใหม้ีคณะกรรมการดา เนินงาน ประกนัคุณภาพ เพื่อทา หน้าที่ขบัเคลื่อนการประกนัคุณภาพการศึกษาในทุกระดับ ทา หน้าที่ในการกา หนด นโยบาย มาตรฐาน หลักเกณฑ์วิธีการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Auditing) การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) และการปรับปรุงคุณภาพ (Quality Improvement) ของ มหาวทิยาลยั โดยมีสา นกังานประกนัคุณภาพ ฝ่ายวชิาการ เป็นหน่วยงานกลางดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษา ทา หน้าที่ในการก ากับ ติดตาม ประสานงาน ส่งเสริม และพฒันางานด้านประกันคุณภาพการศึกษาของ มหาวิทยาลยัให้สอดคลอ้งตามยุทธศาสตร์และระบบกลไกที่มหาวิทยาลยักา หนด เพื่อติดตาม ตรวจสอบ และ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ประเมินผลการดา เนินงานครอบคลุมท้งัระดบัหลกัสูตร ระดบัคณะวิชาและระดบัหน่วยงานสนบัสนุน มีการ พฒันาสื่อความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาให้แก่บุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรังสิตที่ สอดคลอ้งกบัสถานการณ์ปัจจุบนัเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเขา้ใจ และเพื่อให้เกิดการพฒันาและสร้างความ เชื่อมนั่ให้แก่ผูเ้กี่ยวข้องและสาธารณชนว่ามหาวิทยาลัยรังสิตสามารถจดัการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของมหาวิทยาลัยซึ่ งเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่ส านักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจยัและนวตักรรม (สป.อว.) ประกาศกา หนด รวมถึงการพฒันาระบบฐานขอ้มูลดา้นการประกนั คุณภาพการศึกษาที่รองรับท้งัการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก และเพื่อให้การพฒันาระบบประกนัคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลยัมีประสิทธิภาพสอดคล้องกบั วิสัยทัศน์และอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ในปี การศึกษา 2565 คณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต จึงได้ร่วมกันปรับปรุงคา อธิบายตวัช้ีวดัและเกณฑ์ในคู่มือมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 ให้มีตวัช้ีวดัและเกณฑ์การประเมินที่เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของ มหาวิทยาลยัและผา่นความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลยัในคราวประชุมสภามหาวิทยาลยัคร้ังที่4/ 2565 เมื่อ วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2565และได้ประกาศใช้ “คู่มือมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ. 2563(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)” เพื่อเป็นคู่มือในการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในระดบัหลกัสูตร ระดบัคณะ วชิาและระดบัสถาบนัต้งัแต่ปีการศึกษา 2565 เป็ นต้นไป มหาวิทยาลยัรังสิต มีระบบกลไกในการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษา โดยแบ่งออกเป็นระดบั หลักสูตร ระดับคณะวิชา (คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน) ระดับหน่วยงานสนับสนุน และระดับสถาบัน โดยมี รายละเอียด ดงัน้ี ระดับหลกัสูตร ในปี การศึกษา 2565 มหาวทิยาลยัรังสิต เปิดการเรียนการสอนท้งัสิ้น 146 หลกัสูตรแบ่ง ออกเป็ นหลักสูตรที่ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) จ านวน 138 หลักสูตร (ระดับปริญญาตรี 84 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 39 หลักสูตร ระดับปริญญา เอก 15 หลักสูตร) หลักสูตรที่รับรองโดยเกณฑ์มาตรฐานสากล จ านวน 1 หลักสูตรคือ หลักสูตรแพทยศาสตร บัณ ฑิ ต วิ ท ย า ลัย แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ ผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ตามเกณฑ์ TMC.WFME.BME.Standards (2017) (World Federation for Medical Education, Basic Medical Education: WFME) โดยมีระยะเวลาการรับรองถึงวันที่26 พฤษภาคม พ.ศ.2567และหลักสูตรที่รับรองโดยสภาวิชาชีพ จ านวน 7 หลกัสูตรไดแ้ก่ 1. หลักสูตรทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตรทวิภาษา) (ได้รับการรับรองจากหลักสูตรปรับปรุง ปี 2565-2572) 2. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม (ได้รับการรับรอง ปี2562-2567)
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 3. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ (ได้รับการรับรองปี2562-2567) 4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบ าบัด (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 5. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ (ได้รับการรับรอง ปี2565-2569) 6. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ (2.5 ปี ) (ได้รับการรับรอง ปี 2565-2569) 7. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ (ได้รับการรับรอง ปี2565-2569) นอกจากน้ีมหาวิทยาลยัรังสิตยงัมีหลกัสูตรอื่นๆ ที่มีสภาวิชาชีพกา กบัดูและได้รับการรับรองจากสภา วชิาชีพ ดงัน้ี -กำรรับรองหลกัสูตรจำกสภำวชิำชีพรังสีเทคนิค หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค (ได้รับการรับรอง ปี2565-2569) -กำรรับรองหลกัสูตรจำกคณะกรรมกำรประกอบโรคศิลปะ กระทรวงสำธำรณสุข หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนมาตรศาสตร์ (ได้รับการรับรอง ปี2561-2566) -กำรรับรองหลกัสูตรจำกสภำวศิวกร 1. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 2. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 3. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์และมอเตอร์สปอร์ต (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 4. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 5. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 6. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 7. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 8. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการซ่อมบา รุงอากาศยาน (ไดร้ับการรับรอง ปี 2564-2568) 9. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมระบบราง (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 10. หลกัสูตรวศิวกรรมศาสตรบณัฑิต สาขาวชิาวศิวกรรมพลงังานและสิ่งแวดลอ้ม (ไดร้ับการรับรอง ปี 2564-2568) -กำรรับรองหลกัสูตรจำกสภำวชิำชีพบัญชี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (ได้รับการรับรอง ปี2563-2567) กำรรับรองหลกัสูตรจำกสภำสถำปนิก
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ได้รับการรับรองจากสภาสถาปนิก ในปี 2555-2559)และได้รับ การรับรองมาตรฐานทางวิชาการของหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2561 ปัจจุบนัอยใู่นกระบวนการรับรองปริญญาข้นั สุดท้าย ในปี 2566 ระบบกลไกกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ระดับหลักสูตร มุ่งตรวจสอบและประเมินผลการ ดา เนินงานเกี่ยวกับการบริหารหลกัสูตรและการจดัการเรียนการสอนให้เป็ นไปตามมาตรฐานคุณภาพด้าน ผลลพัธ์ผูเ้รียน โดยมีการกา กบัมาตรฐานหลกัสูตรให้เป็นไปตามเกณฑม์าตรฐานการอุดมศึกษาและเป็นไปตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบัอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF) ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวตักรรม (อว.)และกา กบัติดตามใหม้ีผลการดา เนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่กา หนดในตวัช้ีวดัการดา เนินงาน (OKR) ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 มีส านักงานมาตรฐานวิชาการ ท า หน้าที่ในการสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและเน้ือหาวิชาให้มีมาตรฐาน มีความเป็นเลิศทางวิชาการและ สอดคลอ้งกบัมาตรฐานคุณวุฒิระดบัอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF) ให้เป็ นหลักสูตรที่มีความทันสมัย มีความเป็ น นวัตกรรม และตอบสนองความต้องการของสังคม รวมถึงการน านวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิผลการเรียนรู้ของผูเ้รียน มีการดา เนินการและประสานงานกบัวิทยาลยั/คณะ/สถาบนั ในการ พัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทาง Outcome-Based Education ที่สอดคลอ้งกบัแผนยุทธศาสตร์การพฒันา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความเป็ นเลิศทางการศึกษาและการผลิตบัณฑิต (Excellence in Education) โดยดา เนินการกา กบัมาตรฐานหลกัสูตรให้เป็นไปตามตวับ่งช้ีที่ 1.1การบริหารการ จัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่ องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี และ บัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 จ านวน 136 หลักสูตร และเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 จ านวน 2 หลักสูตร รวมถึงการตรวจสอบคุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจ า หลกัสูตรผา่นระบบฐานขอ้มูลกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบัอุดมศึกษาแห่งชาติของสา นกังานมาตรฐานวชิาการ ส าหรับหลักสู ตรที่ได้รับการรับรองตามเกณฑ์สภาวิชาชีพ และหลักสู ตรที่รับรองโดยเกณฑ์ มาตรฐานสากล ต้องรายงานผลการด าเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) พร้อม Upload มคอ.7 ข้ึนระบบ TQFของ ส านักงานมาตรฐานวิชาการ ภายใน 60 วนัหลงัสิ้นสุดปีการศึกษา เป็นประจา ทุกปีการศึกษา และส่งรายงานผล การด าเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) พร้อมด้วยผลการตรวจรับรองหลักสูตรตามเกณฑ์สภาวิชาชีพ และตาม เกณฑ์ WFME ใหค้ณะวชิาและสา นกังานประกนัคุณภาพรับทราบทุกปีการศึกษา กำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ระดับหลักสูตร ดา เนินการในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึงเดือน สิงหาคม 2566 โดยท าการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร จ านวน 6องคป์ระกอบ ดงัน้ี -การกา กบัเพื่อใหเ้ป็นไปตามมาตรฐานหลกัสูตร จา นวน 1องคป์ระกอบ คือ ดา้นการกา กบัมาตรฐาน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต -การกา กบัเพื่อการพฒันาคุณภาพหลกัสูตร จา นวน 5องคป์ระกอบ ไดแ้ก่ดา้นบณัฑิต ดา้นนกัศึกษา ด้านอาจารย์ดา้นหลกัสูตรการเรียนการสอน การประเมินผเู้รียน และดา้นสิ่งสนบัสนุนการเรียนรู้ การแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัหลกัสูตร มหาวิทยาลยัทา การแต่งต้งั บุคลากรภายในมหาวทิยาลยัเป็นคณะกรรมการประเมินฯ โดยมีคุณวฒุิตรงหรือสัมพนัธ์กบัสาขาวิชาที่ขอรับการ ประเมินตาม ISCED Fields of Education and Training 2013 (ISCED-F 2013)โดยคณะกรรมการประเมินจะต้อง ศึกษาท าความเข้าใจ “การปรับปรุงคา อธิบายตวับ่งช้ีและเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ. 2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับหลักสูตร” ผ่านวีดิทศัน์ที่เผยแพร่ที่ YouTube ส านักงานประกนั คุณภาพ และศึกษาท าความเข้าใจ Template รายงานผลการด าเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) ปี การศึกษา 2565 ที่ ไดม้ีการเพิ่มเติมคา อธิบายแนวทางการรายงานในทุกตวับ่งช้ีและเพิ่มเติมคา อธิบายเกณฑ์การประเมิน และต้อง เขา้ร่วมอบรม “โครงการอบรมผู้ประเมินระดับหลักสูตร ในการใช้งานระบบ Improvement Plan: IP(การใช้งาน ระบบรายงานประเมินเบ้ืองตน้ออนไลน์ที่พฒันาข้ึนโดยสา นกังานประกนัคุณภาพ) ข้นัตอนการตรวจประเมิน 1. หลักสูตรฯ จัดท ารายงานผลการด าเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) ตามคู่มือมาตรฐานคุณภาพ การศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)และท าการอัพโหลดเอกสารหลักฐานตามตัว บ่งช้ีบนระบบฐานเอกสารกลาง (Documents Base System: DBS)แลว้ส่งรายงานผลการดา เนินการของหลกัสูตร (มคอ.7) ใหส้า นกังานประกนัคุณภาพล่วงหนา้ก่อนวนั ประเมินฯ 7วันท าการ 2. คณะกรรมการฯ พิจารณาผลการประเมินล่วงหน้าก่อนวนัตรวจประเมิน และรายงานผลการตรวจ ประเมิน (เบ้ืองตน้ ) พร้อมบนัทึกประเด็น ขอ้ซักถาม และขอ้คิดเห็นต่างๆ ผ่านระบบ Improvement Plan (IP) และตรวจสอบรายการหลกัฐานผา่นระบบฐานเอกสารกลาง (Document Base System: DBS) 3. ด าเนินการตรวจประเมินโดยใช้โปรแกรมในการจัดประชุมออนไลน์ Zoom Meeting ตาม กา หนดการที่มหาวิทยาลยักา หนด และนา เสนอสรุปผลการตรวจประเมิน จุดแข็งขอ้เสนอแนะเพื่อการพฒันา ของหลักสูตร รวมท้ังคะแนนการประเมินในภาพรวมที่สะท้อนผลการด าเนินงานของหลักสูตร โดย คณะกรรมการประเมินมีหลกัเกณฑก์ารพิจารณาผลการดา เนินงานในตวับ่งช้ีเชิงกระบวนการ ดงัน้ี 3.1 พิจารณาว่าตวับ่งช้ีที่รายงาน ในปีการศึกษาที่ผ่านมามีผลลพัธ์การดา เนินงานอย่างไร บรรลุ เป้าหมายที่หลกัสูตรกา หนดไวห้รือไม่แลว้ปีการศึกษาที่ประเมินมีการปรับปรุง/ พฒันากระบวนการหรือไม่ หากไม่มีการปรับปรุง/ พฒันากระบวนการ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 2 3.2 หากมีการปรับปรุง/ พฒันากระบวนการจากผลการประเมิน แต่ผลการดา เนินงานยงัไม่ส าเร็จ ชัดเจนเป็ นรูปธรรมตามเป้าหมาย ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 3
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 3.3 หากมีการปรับปรุ งกระบวนการและมีผลการด าเนินงานที่ส าเร็ จ ชัดเจน เป็ นรู ปธรรม (ผลการดา เนินงานสา เร็จเป็นไปตามเป้าหมายที่หลกัสูตรกา หนดไว)้ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 4 3.4 หากมีผลการด าเนินงานที่เป็ นแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ซ่ึงก่อนจะเป็นแนวปฏิบตัิที่ดี จะตอ้งมีการพิสูจน์แลว้วา่แนวปฏิบตัิน้นัสามารถทา ให้เกิดผลส าเร็จชดัเจนเป็นรูปธรรม คือแนวปฏิบตัิที่นา ไป ดา เนินการจริงแลว้ประสบผลส าเร็จตามตวัช้ีวดัจริง ชดัเจนเป็นรูปธรรม และคณะกรรมการเห็นตรงกนัว่าเป็น แนวปฏิบตัิที่ทา ให้เกิดความส าเร็จไดจ้ริง และไดน้า แนวปฏิบตัิน้ีถ่ายทอดผ่านการจดัการความรู้(Knowledge Management: KM)ออกมาเป็ นแนวปฏิบัติที่ครบถ้วน เป็ นไปตามหลัก KM (มี 6ข้นัตอนในการจดัการความรู้) โดยนา เสนอผ่านระบบ RKMSของมหาวิทยาลยัรังสิต ซ่ึงหลกัสูตรอื่นสามารถนา แนวปฏิบตัิน้ีไปใช้เพื่อเป็น การยืนยันความส าเร็จ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 5 ผลกำรด ำเนินงำน ปี การศึกษา 2565 ท้งัหลกัสูตรที่ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) จ านวน 138 หลักสูตร หลักสูตรที่รับรองโดยสภา วิชาชีพ จ านวน 7 หลักสูตร และหลักสูตรที่รับรองโดยเกณฑ์มาตรฐานสากล (WFME)จ านวน 1 หลักสูตร รวม ท้งัสิ้น 146 หลกัสูตรน้นั ไดร้ับการรับรองจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) วา่เป็นหลกัสูตรที่ไดม้าตรฐานสามารถเปิดดา เนินการเรียนการสอนไดท้ ้งั 146 หลักสูตร โดยมีแนวโน้มผลการบริ หารจัดการหลักสูตรโดยรวม ในปี กำรศึกษำ 2565 (ประเมินตามเกณฑ์ มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) จ านวน 138 หลักสูตรปี กำรศึกษำ 2564 ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 จ านวน 134 หลักสูตร ปี กำรศึกษำ 2563 ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 จ านวน 131 หลักสูตร และปี กำรศึกษำ 2562 ประเมินตามคู่มือการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน พ.ศ.2557 ดงัน้ี ปี กำรศึกษำ ผลกำรด ำเนินงำน (คะแนนเฉลี่ย) 2565 3.59 2564 3.69 2563 3.68 2562 3.62
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ระดับคณะวิชำ (คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน) ประกอบด้วย 14คณะ16 วิทยาลัย และ 3 สถาบัน โดยวิทยาลัย แพทยศาสตร์ประเมินตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็ นเลิศ (EdPEx)และ 32คณะ/วิทยาลัย/ สถาบัน ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ระบบกลไกกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ระดับคณะวิชำ มุ่งตรวจสอบและประเมินผลการ ด าเนินงานให้เป็ นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา 5 ด้าน คือ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน ด้านการวิจัยและนวัตกรรม ด้าน การบริการวิชาการ ด้านศิลปวฒันธรรมและความเป็นไทย และด้านการบริหารจัดการ โดยมีการแต่งต้งั “คณะกรรมการประกนัคุณภาพการศึกษา ประจา คณะ” ซ่ึงมีบทบาทหน้าที่ในการกา กบัติดตาม และพฒันาผล การดา เนินงานในภารกิจต่างๆ ของคณะให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) และสอดคลอ้งกบัพนัธกิจ และแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลยัพฒันา กระบวนการสร้างความรู้ความเขา้ใจและจิตส านึกร่วมกนั ในการประกนัคุณภาพการศึกษาและจดักิจกรรมที่ เกี่ยวขอ้งกับการประกันคุณภาพการศึกษาให้กับบุคลากรและนักศึกษาของคณะ รวมท้งัจดัทา รายงานการ ประเมินตนเองเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (SAR) ของคณะ และด าเนินการเตรียมความ พร้อมเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก (จาก สมศ.) รวมถึงการเตรียมความพร้อมในด้านข้อมูลผลการ ดา เนินงานตามเกณฑก์ารจดักลุ่มสถาบนั (Reinventing University) กำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ระดับคณะวิชำ ด าเนินการในเดือนตุลาคม 2566 โดยท าการ ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ที่ สอดคลอ้งกบัมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561จ านวน 5 มาตรฐาน ดงัน้ี มาตรฐานที่ 1 ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 ด้านการวิจัยและนวัตกรรม มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริการวิชาการ มาตรฐานที่ 4 ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็ นไทย มาตรฐานที่ 5 ด้านการบริหารจัดการ การแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัคณะวิชา มหาวิทยาลยัทา การแต่งต้งั บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยเป็ นคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะวิชา โดย คณะกรรมการประเมินจะต้องศึกษาท าความเข้าใจ “การปรับปรุงคา อธิบายตวับ่งช้ีและเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ การศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)” และตอ้งเขา้ร่วมอบรม “โครงการอบรมผู้ ประเมินระดับคณะวิชา ในการใช้งานระบบ Improvement Plan: IP(การใชง้านระบบรายงานประเมินเบ้ืองตน้ ออนไลน์ที่พฒันาข้ึนโดยสา นกังานประกนัคุณภาพ)
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้นัตอนการตรวจประเมิน 1. คณะวิชา (วิทยาลัย/ คณะ/ สถาบัน) จัดท ารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ตามคู่มือมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) และท าการอัพโหลดเอกสาร หลกัฐานตามตวับ่งช้ีบนระบบฐานเอกสารกลาง (Documents Base System: DBS)แลว้ส่งรายงานการประเมิน ตนเอง (SAR) มายงัสา นกังานประกนัคุณภาพ ล่วงหนา้ก่อนวนั ประเมินฯ 7วันท าการ 2. คณะกรรมการฯ พิจารณาผลการประเมินล่วงหน้าก่อนวนัตรวจประเมิน และรายงานผลการตรวจ ประเมิน (เบ้ืองตน้ ) พร้อมบนัทึกประเด็น ขอ้ซักถาม และขอ้คิดเห็นต่างๆ ผ่านระบบ Improvement Plan (IP) และตรวจสอบรายการหลกัฐานผา่นระบบฐานเอกสารกลาง (Document Base System: DBS) 3. ด าเนินการตรวจประเมินโดยใช้โปรแกรมในการจัดประชุมออนไลน์ Zoom Meeting ตามกา หนดการ ที่มหาวิทยาลยักา หนด และนา เสนอสรุปผลการตรวจประเมิน จุดแข็ง ขอ้เสนอแนะเพื่อการพฒันาของคณะ รวมท้งคะแนนการประเมินในภาพรวมที่สะท้อนผลการด าเนินงานของคณะ เพื่อให้คณะน าผลการประเมินฯ ั ดงักล่าว สู่การจดัทา แผนปรับปรุงการดา เนินงาน (Improvement plan) ต่อไป โดยคณะกรรมการประเมินมี หลกัเกณฑก์ารพิจารณาผลการดา เนินงาน ดงัน้ี 3.1 พิจารณาว่าตวับ่งช้ีที่รายงาน สามารถดา เนินการได้ครบถ้วนและมีหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ เป็นไปตามเกณฑม์าตรฐานในแต่ละขอ้หรือไม่ - หากมีการด าเนินการ 1ข้อ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 1 - หากมีการด าเนินการ 2ข้อ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 2 - หากมีการด าเนินการ 3-4ข้อ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 3 - หากมีการด าเนินการ 5ข้อ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 4 - หากมีการด าเนินการ 6 ข้อ/6-7ข้อ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 5 3.2การพิจารณาผลการดา เนินงานในรายตวับ่งช้ีของทุกองคป์ระกอบเนน้การประเมินตามหลกัฐาน เชิงประจกัษท์ ี่เกิดจากการปฏิบตัิงานตามสภาพจริงของคณะวชิาเป็นสา คญั ผลกำรด ำเนินงำน แนวโน้มผลการบริหารจัดการคณะโดยรวม ในปี กำรศึกษำ 2565 (ประเมินตามเกณฑ์ มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิ ต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุ ง พ.ศ.2565) จ านวน 32 คณะ ปี กำรศึกษำ 2564 ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563จ านวน 32คณะ ปี กำรศึกษำ 2563 ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563จ านวน 32คณะ และปี กำรศึกษำ 2562 ประเมินตามคู่มือการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน พ.ศ.2557 จ านวน 29คณะ ดงัน้ี
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปี กำรศึกษำ ผลกำรด ำเนินงำน (คะแนนเฉลี่ย) 2565 4.44 (32คณะ) 2564 4.51 (32คณะ) 2563 4.48 (32คณะ) 2562 4.43 (29คณะ) หน่วยงำนสนับสนุน ในปี การศึกษา 2565 มีหน่วยงานสนบัสนุน จ านวน 33 หน่วยงาน ทุกหน่วยงาน จัดท ารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ตามคู่มือการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน หน่วยงานสนบัสนุน ที่มี การพฒันา/ปรับปรุง ตัวบ่งช้ีและเกณฑ์การประเมินผลการด าเนินงานของหน่วยงานสนับสนุนที่มุ่งเน้น ความสา เร็จของการบริหารงาน อยา่งนอ้ย 4 ดา้นที่สา คญัดงัน้ี 3.1 ด้านประสิทธิภาพ เป็ นการพิจารณาถึงปัจจัยหรือทรัพยากรน าเข้า ได้แก่กา ลังคน (Man) งบประมาณ (Money) วัสดุ อุปกรณ์ (Materials) และการจัดการ (Management) ในเชิงเปรียบเทียบกบัผลลพัธ์ที่ ได้จากการด าเนินงาน 3.2 ด้านประสิ ทธิผล เป็นการพิจารณาว่าหน่วยงานมีKey Result ใดที่รับผิดชอบตามแผน ยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิ ต พ.ศ.2565-2569 (รวมท้ัง Key Result ที่หน่วยงานต้ังเพิ่มข้ึนเองตาม พนัธกิจของหน่วยงาน) และมีการรายงานผลการดา เนินงานตามตวัช้ีวดัความส าเร็จ และค่าเป้าหมายตามตวัช้ีวดั ก่อใหเ้กิดประโยชน์ต่อหน่วยงานและภาพรวมของมหาวทิยาลยัอยา่งไร 3.3 ด้านคุณภาพการบริ การ เป็ นการพิจารณาถึงคุณภาพการบริการที่ส่งเสริม ผลักดันให้ พนัธกิจและวตัถุประสงค์ของหน่วยงานน้ันประสบความส าเร็จ ผูร้ับบริการหรือผูม้ีส่วนไดเ้สียจะตอ้งได้รับ ประโยชน์จากหน่วยงานภายใตค้วามพึงพอใจที่ดี 3.4 ด้านการพัฒนาองค์กร เป็นการพิจารณาถึงการพฒันาหน่วยงานตามยุทธศาสตร์ Smart Organization ประกอบด้วย -การพฒันาทกัษะของบุคลากรในสังกดัในดา้นต่างๆ รวมถึงการพฒันาความรู้ความสามารถ ที่เกี่ยวขอ้งต่อการปฏิบตัิงาน และการพฒันา Mindset จาก Fixed Mindset ไปสู่ Growth Mindset -การพัฒนา/ ปรับปรุงกระบวนการท างาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล -การพฒันา/ ปรับปรุงเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล ระบบกลไกกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ของหน่วยงำนสนับสนุน ประกอบด้วย 6 ตวับ่งช้ี ไดแ้ก่ ตัวบ่งชี้ที่1แผนการดา เนินงานตามพนัธกิจของหน่วยงาน ตัวบ่งชี้ที่ 2แผนการบริหารและแผนพัฒนา
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต บุคลากรสายสนับสนุน ตัวบ่งชี้ที่ 3แผนบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้ที่ 4 ภาระงานหลัก ตัวบ่งชี้ที่5ผลประเมินการ ใหบ้ริการของหน่วยงานตามภาระงานหลกัและ ตัวบ่งชี้ที่6การประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ท้งัน้ีตวับ่งช้ีและเกณฑ์การประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ของหน่วยงานสนับสนุนครอบคลุมการ ด าเนินงานตามวสิัยทศัน์พนัธกิจวตัถุประสงค์และภารกิจของหน่วยงานเป็นหลกั กำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ระดับหน่วยงำนสนับสนุน ดา เนินการในช่วงเดือนตุลาคม 2566 การแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัหน่วยงานสนบัสนุน มหาวิทยาลัยท า การแต่งต้งับุคลากรภายในมหาวิทยาลยัเป็นคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ของหน่วยงาน สนับสนุน ประจ าปี การศึกษา 2565 โดยพิจารณาจากความรู้ ความเชี่ยวชาญ ในเกณฑ์การประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน ระดบัหน่วยงานสนับสนุน และมีความเข้าใจกระบวนการบริหารงานและการพัฒนาแผน ยทุธศาสตร์/แผนกลยทุธ์ที่สอดคลอ้งกบัแผนยทุธศาสตร์ของมหาวทิยาลยั ข้นัตอนการตรวจประเมิน 1. หน่วยงานสนบัสนุนจดัทา รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ตามคู่มือการประกนัคุณภาพการศึกษา ภายใน หน่วยงานสนบัสนุน (คู่มือฉบบัใหม่เพื่อใช้ในการประเมินปี การศึกษา 2565เป็ นปี การศึกษาแรก) และท า การอพั โหลดเอกสารหลกัฐานตามตวับ่งช้ีบนระบบฐานเอกสารกลาง (Documents Base System: DBS) แลว้ส่ง รายงานการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ใหส้า นกังานประกนัคุณภาพและคณะกรรมการฯ ล่วงหนา้ก่อนวนั ประเมินฯ 7วันท าการ 2. คณะกรรมการประเมินฯ ไดร้ับแบบรายงานการตรวจประเมิน สา หรับใชใ้นการประเมินฯ หน่วยงาน สนับสนุนล่วงหน้าก่อนวนั ประเมินฯ 7 วนัทา การ โดยคณะกรรมการประเมินฯ ศึกษา และอ่านรายงานการ ประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน รวมท้งัรายงานผลการประเมินลงในแบบรายงานการตรวจประเมินฯ ดงักล่าว แลว้ส่งให้ส านกังานประกนัคุณภาพ เพื่อทา การสรุปและนา ส่งผลการประเมินให้กบัหน่วยงานสนบัสนุนเพื่อ นา ไปสู่การจดัทา แผนปรับปรุงการด าเนินงาน (Improvement Plan)ระดบัหน่วยงานสนบัสนุนต่อไป ระดับสถำบัน มีหน่วยงานสนับสนุนกลางที่รับผิดชอบตวับ่งช้ีระดบัสถาบนัจา นวน 10 หน่วยงาน ได้แก่ส านักงานกิจการนักศึกษา, สถาบันวิจัย ศูนย์บริการทางวิชาการ สถาบันส่งเสริมศิลปวฒันธรรม ส านักงานวางแผนและพัฒนา ส านักงานงบประมาณ ส านักงานตรวจสอบภายใน ส านักงานบุคคล ส านักงาน พฒันาบุคคลและสา นกังานประกนัคุณภาพ ระบบกลไกกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ระดับสถำบัน มุ่งตรวจสอบและประเมินผลการ ด าเนินงานที่ประกอบด้วยผลการด าเนินงานระดับหลักสูตร ระดับคณะ และเพิ่มเติมตวับ่งช้ีที่ดา เนินการในระดบั สถาบนัที่กา หนดโดยส านกังานปลดักระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจยัและนวตักรรม (สป.อว.) และ เพิ่มเติมผลการดา เนินงานตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561จ านวน 5 ด้าน คือด้านผลลัพธ์ผู้เรียน ด้านการ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต วิจัยและนวัตกรรม ด้านการบริการวิชาการ ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็ นไทย และด้านการบริหารจัดการ โดยส่วนหน่ึงเป็นการสะทอ้นผลการดา เนินงานที่เกิดจากคณะ และอีกส่วนหน่ึงเป็นการส่งเสริมสนบัสนุนให้ หน่วยงานต่างๆ ดา เนินการเพื่อบรรลุผลตามตามเป้าหมายที่กา หนดใน Key Result (KR)ของแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 และสอดคลอ้งกบันโยบายและพนัธกิจของมหาวทิยาลยั กำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ระดับสถำบัน ด าเนินการในเดือนพฤศจิกายน 2566 โดย กา หนดให้มีการจดัทา (ร่าง) รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ให้แลว้เสร็จในช่วงตน้เดือนพฤศจิกายน 2566 และน าผลการประเมินรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการสภามหาวิทยาลยัรังสิต เพื่อ โปรดพิจารณาอนุมตัิให้หลักสูตรและคณะวิชาน าผลการประเมินสู่การจดัทา แผนปรับปรุงการดา เนินงาน ( Improvement plan) แ ล ะ เ พื่ อ เ ข้ า รั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ย ใ น ร ะ ดั บ ส ถ า บั น ประจ าปีการศึกษา 2565 ระหว่างวนัที่23-24 พฤศจิกายน พ.ศ.2566 และท าการรายงานผลการด าเนินงานด้าน การประกนัคุณภาพการศึกษาผา่นระบบฐานขอ้มูลดา้นการประกนัคุณภาพ (CHE QA ONLINE) ตามระยะเวลา ที่ส านักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.)กา หนด ผลกำรด ำเนินงำน แนวโน้มผลการบริหารจัดการโดยรวมระดับสถาบัน ในปี กำรศึกษำ 2565 ประเมิน ตามเกณฑ์มาตรฐานคุ ณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิ ต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุ ง พ.ศ.2565) ปี กำรศึกษำ 2564และปี กำรศึกษำ 2563 ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2563และปี กำรศึกษำ 2562 ประเมินตามคู่มือการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน พ.ศ.2557 ดงัน้ี ปี กำรศึกษำ ผลกำรด ำเนินงำน ระดับสถำบัน (คะแนนเฉลี่ย) 2565 4.66 2564 4.64 2563 4.63 2562 4.51 ส าหรับระบบกลไกการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต ที่กา กบัดูแล และ ขบัเคลื่อนโดยคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพ และมีสา นกังานประกนัคุณภาพทา หนา้ที่รับผิดชอบ และดา เนินงานตามระบบกลไกการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษาของมหาวทิยาลยัรังสิต น้นัมุ่งเนน้ความ ร่วมมือ ประสานงานระหวา่งหลกัสูตร คณะวชิาและหน่วยงานต่างๆ ของมหาวทิยาลยัเพื่อใหเ้กิดประสิทธิภาพ และประโยชน์สูงสุดต่อคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลยัรังสิต โดยมีระบบการประกนัคุณภาพการศึกษาที่มี ลกัษณะสา คญัดงัน้ี
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 1. เป็นระบบที่มีการพฒันาอย่างต่อเนื่อง โดยมีการพฒันาประสิทธิภาพและคุณภาพการดา เนินงานใน รูปแบบวงจรคุณภาพ (PDCA) ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนการปฏิบัติงาน การตรวจสอบการประเมินผล และ การปรับปรุงพัฒนา 2. เป็ นระบบที่พิจารณาการด าเนินงานของมหาวิทยาลัย แบบ 3 ส่วน คือ ดา้นปัจจยันา เขา้ (Input) ด้าน กระบวนการด าเนินงาน (Process) และด้านผลการด าเนินงาน (Output/ Outcome) 3. เป็นระบบที่มีการตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพตามองค์ประกอบ ตวับ่งช้ีและเกณฑ์ การประเมินที่มีผลต่อคุณภาพ โดยมีมาตรฐานที่เหมาะสมที่กา หนดและรับรองโดยส านักงานปลัดกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) 4. มีระบบการดา เนินงานในการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมกบับริบทของสถาบนัและ สอดคลอ้งกบัแผนยทุธศาสตร์การพฒันามหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) และเพื่อให้การ ด าเนินงานเป็ นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ จึงได้ออกประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่อง แนวทาง และแผนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในท้งัระดบัหลกัสูตร ระดบัคณะ และระดบัหน่วยงานสนับสนุน ประจ าปี การศึกษา 2565 และประกาศแนวทางการประเมินส าหรับคณะกรรมการประเมินทุกระดับ ที่ลงนามโดย ผูช้่วยอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพ และมีส านักงานประกันคุณภาพกา กับติดตามให้หลักสูตร คณะ และ หน่วยงานสนบัสนุน ดา เนินการตามประกาศฯอยา่งเคร่งครัด ท้งัน้ีจากระบบกลไกในการดา เนินงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต ที่กล่าวถึงใน ขา้งตน้น้นัสามารถขบัเคลื่อนไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพตามแผนการดา เนินงานและตามระยะเวลาที่กา หนด โดยมี ท่านอธิการบดีคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษา และผูช้่วยอธิการบดีฝ่ายประกนัคุณภาพ ที่ทา หน้าที่ในการขบัเคลื่อนและพฒันาระบบการประกนัคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลยั ให้เป็นไปตาม บริบทของสถานการณ์การศึกษาในปัจจุบัน สอดคล้องกบันโยบายและพนัธกิจของมหาวิทยาลยัและกา กับ ติดตามใหม้ีผลการดา เนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่กา หนดใน Key Result (KR)ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 และมีการดา เนินงานตามระบบการประกนัคุณภาพการศึกษา ได้แก่การ ควบคุมคุณภาพ (Quality Control) การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Auditing) และการประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี 1.กำรควบคุมคุณภำพ มหาวิทยาลยัรังสิตมีการดา เนินการที่สอดคลอ้งตามกฎกระทรวงศึกษาธิการว่า ดว้ยการประกนัคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561, ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561, ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการนา มาตรฐานการอุดมศึกษาสู่การปฏิบตัิพ.ศ. 2561, ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วยหลกัเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ ส าหรับการ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2562, ประกาศ ก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ ส าหรับ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2562 ผนวกกบัแผนยุทธศาสตร์การพฒันามหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2565- 2569 โดยมีระบบการควบคุมคุณภาพการประกนัคุณภาพการศึกษา ครอบคลุมท้งัระดบัหลกัสูตร ระดบัคณะวชิา ระดบัหน่วยงานสนบัสนุน และระดบัสถาบนัดงัน้ี ระดับหลกัสูตร ระดับคณะวิชำ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ระดับหน่วยงำนสนับสนุน ระดับสถำบัน 1.1 มีการแต่งต้งัคณะกรรมการและคณะทา งานที่เกี่ยวขอ้งกบัการประกนัคุณภาพการศึกษา ไดแ้ก่ 1.1.1คณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษา มหาวทิยาลยัรังสิต 1.1.2คณะกรรมการเตรียมวาระการประชุม คณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต 1.1.3คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต (ระดับหลักสูตร ระดับ คณะระดบัหน่วยงานสนบัสนุน และระดบัสถาบนั ) 1.1.4คณะกรรมการประกนัคุณภาพการศึกษา ประจา คณะโดยมีคณบดี/ รองคณบดีที่เกี่ยวขอ้ง และผรู้ับผดิชอบงานดา้นประกนัคุณภาพของคณะ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 1.1.5อาจารยผ์รู้ับผดิชอบหลกัสูตรและอาจารยป์ระจา หลกัสูตรของแต่ละหลกัสูตร โดยรับผดิชอบ กา กบัติดตามใหห้ลกัสูตรเป็นไปตามองคป์ระกอบและเกณฑก์ารประเมินคุณภาพ 1.1.6 ส านักงานมาตรฐานวิชาการ (สมว.) เป็นหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ รับผิดชอบในการ ประสานงานการขอเปิ ดด าเนินการหลักสูตร รับรองมาตรฐานหลักสูตร ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาการ ปรับปรุงหลกัสูตรและกา กบัดูแลใหเ้ป็นไปตามเกณฑม์าตรฐานหลกัสูตร 1.1.7 สา นกังานประกนัคุณภาพ ฝ่ายวชาการ ิเป็นหน่วยงานกลางดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษา ทา หน้าที่ในการก ากับ ติดตาม ประสานงาน ส่งเสริม และพฒันางานด้านประกันคุณภาพการศึกษาของ มหาวิทยาลยัให้สอดคลอ้งตามยุทธศาสตร์และระบบกลไกที่มหาวิทยาลยักา หนด เพื่อติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการดา เนินงานครอบคลุมท้งัระดบัหลกัสูตร ระดบัคณะวิชา ระดบัหน่วยงานสนับสนุน และใน ภาพรวมของมหาวิทยาลัย 1.1.8 สภามหาวิทยาลัย ซึ่งประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกและผู้บริหารมหาวิทยาลัย ท าหน้าที่ พิจารณากลนั่กรองเกณฑ์การประกนัคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลยัและผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน รวมถึงผลการประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) ใหเ้ป็นไปตามเกณฑท์ ี่กา หนด และใหค้วามเห็นชอบเพื่อ นา ขอ้เสนอแนะมาปรับปรุง พฒันาการประกนัคุณภาพการศึกษาของมหาวทิยาลยัใหม้ีความทนัสมยัทนัต่อการ เปลี่ยนแปลงของเกณฑท์ ี่กระทรวงกา หนด และยกระดบัคุณภาพการจดัการศึกษาของมหาวทิยาลัย 1.2 มีการกา หนดโครงสร้าง บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการในแต่ละระดับ รวมท้ังตรวจสอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัย 1.3 มีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาส านักงานประกันคุณภาพ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 1.4 มีมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ที่มีการ ปรับปรุงคา อธิบายตวัช้ีวดัและเกณฑ์ตามเจตนารมณ์ของกฎกระทรวงวา่ดว้ยการประกนัคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โดยหน่ึงในหลักการส าคัญในการพฒันาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยให้มี ประสิทธิภาพ คือ มาตรฐานการศึกษาที่กา หนด ควรมีการนา แนวคิดใหม่ๆ ในการประกนัคุณภาพการศึกษา หรือ มาตรฐานคุณภาพการศึกษา หรือระบบการประกนัคุณภาพการศึกษาอื่นๆ มาพิจารณาในการกา หนดมาตรฐาน เกณฑ์ตวับ่งช้ีหรือประเด็นพิจารณา เพื่อให้การประกนัคุณภาพภายในที่เกิดข้ึน สามารถประยุกต์ได้กบัทุก บริบทของการประเมินคุณภาพการศึกษา และสอดคลอ้งกบัวิสัยทศัน์และอตัลกัษณ์ของมหาวิทยาลยัและผา่น มติเห็นชอบโดยสภามหาวิทยาลัยรังสิตและผ่านการอนุมัติจากส านักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาศาสตร์วิจยัและนวตักรรม (สป.อว.) ให้สามารถใช้ดา เนินการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ของ มหาวทิยาลยัรังสิต ต้งัแต่ปีการศึกษา 2565 เป็ นต้นไป ท้งัน้ีการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษาภายในท้งัระดบัหลกัสูตร ระดบัคณะวชิา ระดบัหน่วยงาน สนับสนุน และระดบัสถาบนั ไดด้า เนินการตามประกาศมหาวิทยาลยัรังสิต และแผนการดา เนินงานต่างๆ อยา่ง เคร่งครัด เพื่อใหก้ารดา เนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกนัและทนัต่อรอบการประเมินในทุกปีการศึกษา นอกจากน้ีในปี กำรศึกษำ 2565 มหำวิทยำลัยรังสิต มีกระบวนกำรเตรียมควำมพร้อมเพื่อรับกำรประเมิน คุณภำพภำยนอกรอบสี่จำก สมศ. โดยมีรองอธิการบดีฝ่ายวชิาการ คณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพ และส านกังานประกนัคุณภาพ ทา หนา้ที่กา กบัติดตามข่าวสารการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ.การจดัทา แผนการดา เนินงาน การกา หนดหน่วยงานที่รับผิดชอบข้อมูล (Process Owner) ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสี่ การพัฒนา Template เพื่อรวบรวมข้อมูล กระบวนการจัดท ารายงาน PA2-1, รายงาน PA2-2, รายการ Common Data Set: CDS และรายการหลักฐานประกอบการรายงาน โดยมหาวิทยาลัยรังสิตสามารถ จัดท ารายงาน PA2-1 และ PA2-2 พร้อมท้ังเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้เสร็จสมบูรณ์ครบถ้วนทันตาม กา หนดการ Upload เขา้สู่ระบบ Automated QA ตามที่สมศ.กา หนด จากน้นัทาง สมศ.ไดเ้สนอรายชื่อคณะผู้ ประเมินคุณภาพภายนอก มายังมหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันที่ 18กรกฎาคม 2566เพื่อให้มหาวิทยาลัยพิจารณา รายชื่อผูป้ระเมินวา่เคยปฏิบตัิงาน มีประโยชน์ทบัซ้อน หรือมีบทบาทขดัแยง้กบัมหาวิทยาลยัในระยะเวลา 2 ปี (ก่อนและระหว่างการประเมินคุณภาพภายนอก) หรือไม่ซ่ึงมหาวิทยาลยัรังสิตโดยรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และประธานคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพ ไดร้่วมกนัพิจารณาแลว้พบวา่คณะผปู้ระเมินฯ ไม่เคย ปฏิบตัิงานในมหาวทิยาลยัรังสิต ไม่มีผลประโยชน์ทบัซ้อน และไม่มีบทบาทขดัแยง้กบัมหาวทิยาลยัจึงไม่มีการ ทกัทว้งรายชื่อผูป้ระเมินฯ โดยไดผ้า่นความเห็นชอบและลงนามโดยอธิการบดีและส าหรับการพิจารณาจา นวน วนั ประเมินน้นัทาง สมศ.มีการจา แนกรูปแบบการประเมินแบบ Online/ Onsite โดยพิจารณาจากรายงาน PA2- 1, PA2-2 ใน 5องค์ประกอบ 32 ประเด็นพิจารณา เพื่อจดัทา กา หนดการตรวจประเมินใน 3ลักษณะ คือ 1.หากมี ผลการด าเนินงานที่เป็ นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ร้อยละ 65ข้ึนไปของประเด็นพิจารณา จา นวนวนั ประเมิน 1วัน, 2.หากมีผลการด าเนินงานที่เป็ นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ร้อยละ 50ข้ึนไปของประเด็น พิจารณา จ านวนวันประเมิน 2วัน และ 3.หากมีผลการดา เนินงานที่เป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ต่า กวา่ ร้อยละ 50ของประเด็นพิจารณา จ านวนวันประเมิน 3วัน ซึ่งมหาวิทยาลัยรังสิตได้รับการพิจารณาจากคณะผู้ ประเมินฯ ให้เป็ นการตรวจประเมินแบบ Non-Visit คือ การประเมิน Online ผ่าน Zoom Meeting จ านวนวัน ประเมิน 1วนัจากน้นัมหาวิทยาลยัรังสิตไดด้า เนินการเตรียมความพร้อมรับการสัมภาษณ์โดยคณะผูป้ระเมิน จาก สมศ.กา หนดให้มหาวิทยาลยัรังสิตสามารถจดัผูใ้ห้ขอ้มูลส าคญั ในแต่ละดา้นที่เป็นรองอธิการบดีคณบดี ผูบ้ริหาร หรือผูท้ี่ไดร้ับมอบหมาย หรือผูเ้กี่ยวขอ้ง จากน้นัมหาวิทยาลยัไดด้า เนินการร่างขอ้คา ถามเพื่อรับการ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต สัมภาษณ์ในแต่ละดา้น และจดัประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมรับการสัมภาษณ์และแนวทางการตอบค าถาม และ การนา เสนอผลการดา เนินงานของมหาวทิยาลยัต้งัแต่ปีการศึกษา 2562-2564 มหำวิทยำลัยรังสิต รับกำรตรวจประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสี่จำก สมศ. เมื่อวันที่27กันยำยนพ.ศ. 2566 โดยผูป้ระเมินทา การสัมภาษณ์ผูบ้ริหารที่เกี่ยวขอ้งตามพนัธกิจเพื่อรับทราบขอ้มูลเพิ่มเติมประกอบการ พิจารณาและทา การสรุปผลการประเมินเบ้ืองตน้ดว้ยวาจาถึงจุดเด่น และจุดที่ควรพฒันาแต่ยงัไม่สรุปผลการ ประเมินท้งั 32 ประเด็นพิจารณา เนื่องจากคณะผูป้ระเมินจะตอ้งทา การสรุปผลการประเมินต่อ สมศ.แลว้ทาง สมศ.จะนา ส่ง (ร่าง) รายงานการประเมินมายงัมหาวิทยาลยัเพื่อพิจารณายอมรับ/ยอมรับโดยมีขอ้แก้ไข/ไม่ ยอมรับ มหาวิทยาลัยสามารถทักท้วงผลการประเมินเป็ นลายลักษณ์อักษรได้ภายใน 30 วนัซ่ึงขณะน้ีอยู่ใน ระหวา่งรอผลการประเมินจาก สมศ. ท้งัน้ีในวนัรับการตรวจประเมิน คณะผูป้ระเมินไดร้ายงานผลการประเมิน ถึงจุดเด่นและจุดที่ควรพฒันาของมหาวทิยาลยัรังสิต ดงัน้ี จุดเด่นที่พบจากการประเมิน 1) มหาวิทยาลยัให้ความส าคญักบัการเพิ่มคุณค่า (Add Value) ให้แก่นกัศึกษาทุกคนผ่านกระบวนวิชา ศึกษาทวั่ ไป เช่น วิชาธรรมาธิปไตยวิชาที่ส่งเสริมทกัษะการเป็นผูป้ระกอบการเพื่อให้นกัศึกษามีคุณลกัษณะ (Character) ที่สา คญัที่สามารถสร้างประโยชน์ใหแ้ก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 2) มหาวทิยาลยัมีบณัฑิตที่ไดง้านทา มีสัดส่วนที่สูงและมีแนวโนม้ที่ดีข้ึนอยา่งต่อเนื่อง 3) มหาวทิยาลยัมีกลไกในการส่งเสริมและตีพิมพเ์ผยแพร่ผลงานวจิยัที่เขม้แขง็ 4) มหาวิทยาลัยมีการวางแผนกลยุทธ์กา หนดพ้ืนที่ในการให้บริการวิชาการที่ชดัเจน และมีการติดตาม ผลลพัธ์และประโยชน์ที่เกิดข้ึน 5) มหาวิทยาลยัแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมนั่ในการกา กบัดูแลการบริหารงานประกนัคุณภาพภายใน ท้งั ในระดับหลักสูตร ระดับคณะ/ หน่วยงานสนับสนุน และระดับสถาบนั โดยมีการติดตาม ตรวจสอบ และ กา หนดใหจ้ดัทา แผนปรับปรุงการดา เนินงาน (Improvement Plan) เป็ นประจ าทุกปี ตลอดจนใช้การบริหารความ เสี่ยงเป็นกลไกในการส่งเสริมการบรรลุเป้าหมายการดา เนินงานของมหาวิทยาลยัในดา้นต่างๆ ส่งผลให้ค่าเฉลี่ย ผลการดา เนินงานโดยรวมในทุกระดบัมีแนวโนม้ที่ดีข้ึนต่อเนื่อง ต้งัแต่ปีการศึกษา 2562-2564 จุดที่ควรพัฒนา 1) มหาวิทยาลัยควรพิจารณาทบทวน/ก าหนดตัวช้ีวัดความส าเร็จของแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ที่สามารถสะท้อนความส าเร็จของวิสัยทศัน์ให้ชัดเจนยิ่งข้ึน รวมท้งัอาจพิจารณากา หนดตวัช้ีวดัในมิติของ Outcomeและ Impact ส าหรับการด าเนินงานในแต่ละยุทธศาสตร์เพิ่มเติม และสื่อสาร ถ่ายทอดให้บุคลากรทุก ระดบัไดเ้ห็นเป้าหมายเดียวกนัเพื่อร่วมกนัขบัเคลื่อนมหาวทิยาลยัสู่ความสา เร็จตามที่มุ่งหวงั
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 2) มหาวิทยาลัยควรกา หนดกลยุทธ์ในการต่อยอดผลงานวิจยัและนวตักรรมไปสู่การจดทะเบียน ทรัพยส์ินทางปัญญาใหเ้พิ่มข้ึน 3) มหาวิทยาลยัควรพิจารณาขยายพ้ืนที่และกา หนดกลุ่มเป้าหมายในการให้บริการวิชาการ เพื่อสร้าง ความเขม้แขง็ใหก้บัพ้ืนที่ในวงกวา้ง 4) มหาวิทยาลยัอาจพิจารณาการใช้ขอ้มูลเชิงเปรียบเทียบจากคู่เทียบ เพื่อผลกัดนั ให้เกิดการปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงแบบกา้วกระโดด หรือเกิดการสร้างนวตักรรมท้งัดา้นการเรียนการสอน การวิจยัและบริการ วิชาการ 2.กำรตรวจสอบคุณภำพ มหาวิทยาลยัรังสิต โดยส านักงานประกนัคุณภาพ มีการกา กบัติดตามการ ดา เนินงานการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในระดบัหลกัสูตร ระดบัคณะวิชา ระดบัหน่วยงานสนบัสนุน และ ระดับสถาบัน รวมถึงการด าเนินการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา ผ่านการประชุม คณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษา มหาวทิยาลยัรังสิต โดยในปีการศึกษา 2565 มีการประชุม เพื่อกา กบัติดตาม ตรวจสอบ และพฒันาคุณภาพการศึกษาของมหาวทิยาลยัจา นวน 6คร้ัง ไดแ้ก่ (1) คร้ังที่1/2565 เป็นการรายงานขอ้มูลจากการเขา้ร่วมประชุมเชิงปฏิบตัิการ เรื่อง EdPEx facilitator training จัดโดยกองยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษา สป.อว. ซึ่งทาง สป.อว.ต้องการให้ทุก สถาบนัอุดมศึกษาที่เริ่มใช้ระบบบริหารคุณภาพการศึกษาเพื่อการดา เนินการที่เป็นเลิศส่งผูแ้ทนของสถาบนั จ านวน 2 ท่าน ที่เป็นระดบับริหารเขา้ร่วมอบรมเพื่อทา หนา้ที่เป็น EdPEx facilitator โดยผู้แทนของมหาวิทยาลัย รังสิตที่เขา้ร่วมอบรม ไดแ้ก่ (1)ผูช้่วยอธิการบดีฝ่ายประกนัคุณภาพ และ (2) รองคณบดีฝ่ ายแผนงานและการ ประกนัคุณภาพ วิทยาลยัทนัตแพทยศาสตร์เนื่องจากปัจจุบันมีแนวโน้มที่สองคณะวิชาของมหาวิทยาลัยรังสิต จะใช้เกณฑ์ EdPEx ในการบริหารงานคณะวชิา ไดแ้ก่วทิยาลยัทนัตแพทยศาสตร์และคณะพยาบาลศาสตร์,การ รายงานการพฒันาระบบฐานขอ้มูลเพื่อใช้ในงานประกนัคุณภาพ ซ่ึงในปีการศึกษา 2565คณะอนุกรรมการ ดา เนินงานประกนัคุณภาพ และส านกังานประกนัคุณภาพประสบความสา เร็จในการพฒันาระบบ Improvement Plan ซ่ึงเป็นระบบฐานขอ้มูลรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในฉบบัเบ้ืองตน้ฉบบัสมบูรณ์และ การรายงาน Improvement plan มหาวิทยาลยัรังสิต, การรายงานแผนการดา เนินงานระบบการประกนัคุณภาพ การศึกษาภายนอก (EQA) ที่ส านักงานประกันคุณภาพได้พฒันาข้ึนความคืบหน้าการกรอกข้อมูลผลการ ดา เนินงานการประกนัคุณภาพภายนอกของคณะวิชาในระบบ EQA และการรายงานความคืบหน้าการสอบวัด ระดับและการพัฒนาความรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษา โดยเทียบเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) (2)คร้ังที่2/2565 เป็ นการรายงานการดา เนินงานที่เกี่ยวขอ้งกบัเกณฑ์มาตรฐานหลกัสูตร พ.ศ.2565โดย สา นกังานมาตรฐานวชิาการจะมีการวางแผนการดา เนินงาน เพื่อรองรับหลกัสูตรเปิดใหม่และใชเ้กณฑม์าตรฐาน หลักสูตร พ.ศ. 2565 เช่น การปรับรูปแบบของ มคอ.2 ให้มีความเชื่อมโยงกบั Program Learning Outcome เป็ น
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ต้น, การรายงานผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยใน Webometrics รอบ July 2022, การรายงานการติดตามความ พร้อมของหน่วยงานสนับสนุนในการดา เนินงานตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหน่วยงาน สนับสนุน พ.ศ.2565 เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดอบรม/สัมมนาสร้างความรู้ความเขา้ใจให้กบัหน่วยงานต่างๆ, การรายงานขอ้มูลคณะพยาบาลศาสตร์กบัการใช้ระบบ EdPEx ในการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในระดบั คณะ,การรายงานการเลือกหน่วยงานที่ทา หน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่มหาวิทยาลยัรังสิต และการ รายงานการจัดท ามาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) (3) คร้ังที่ 3/2565 เป็ นการรายงานผลการ Focus Group แบบรายงานผลการด าเนินงานการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสี่ของหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ง เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินฯ และความคืบหน้าการ จัดท ามาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) (4) คร้ังที่ 4/2565 เป็นการรายงานการลงนามในความร่วมมือเครือข่ายประกันคุณภาพการศึกษา นานาชาติ (Institutional Quality Assurance Network: IQAN) ซ่ึงสถาบันในเครือข่าย IQAN ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยรังสิต, มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟิ ก, วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา และมหาวิทยาลัย นานาชาติแสตมฟอร์ด, การรายงานการพิจารณาตรวจทาน (ร่าง) รายงาน PA2-2และแผนดา เนินการต่างๆ เพื่อ เตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ จาก สมศ. และการรายงานแผนการด าเนินงานการ ประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวทิยาลยัรังสิต ปีการศึกษา 2565 (5)คร้ังที่5/2565 เป็นการรายงานแผนการจดัโครงการอบรมอาจารยผ์ูส้อน ที่เกี่ยวขอ้งกบการประเมิน ั การสอน ตาม KR1.4.2และ KR1.4.3 (แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569) และการ เตรียมความพร้อมของอาจารยผ์ูร้ับผิดชอบหลกัสูตรที่สอดคล้องกบัเกณฑ์มาตรฐานหลกัสูตร พ.ศ.2565และ โครงการเตรียมความพร้อมอาจารยใ์หม่, การรายงานแผนการจดัโครงการประชุมช้ีแจงทา ความเขา้ใจการ ด าเนินงานการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) ปี การศึกษา 2565 ประกอบด้วยระบบการจัดการ ความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต (RKMS), การจัดการความรู้ (KM)กบัการประกนัคุณภาพ (QA)และการนา ส่งผลงาน การจัดการความรู้ ประจ าปี การศึกษา 2565และการรายงานผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยใน Webometrics รอบ January 2023 ที่มีการกา หนดค่าเป้าหมายไวใ้นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 KR 5.1.1 มหาวิทยาลัยรังสิตมีพัฒนาการการจัดอันดับมหาวิทยาลัย, การรายงานความคืบหน้าของการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสี่จาก สมศ. เกี่ยวกบัแผนการ Upload รายงาน PA2-1, PA2-2, Common Data Set และ รายการหลักฐาน ลงในระบบ Automated QA ภายในวันที่ 31ธันวาคม พ.ศ. 2565 ตามที่สมศ.กา หนด, การ รายงานแนวทางการพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2566 (ตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตร พ.ศ.2565และอื่นๆ ที่เกี่ยวขอ้ง โดยใหค้วามสา คญักบัการเชื่อมโยงระหวา่งตวับ่งช้ีการประกนัคุณภาพ การศึกษาภายในกบั Common Data Set ของ สป.อว.,รายละเอียดประเด็นตวับ่งช้ีต่างๆ จะตอ้งสามารถตอบการ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ด าเนินงานตาม KR ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569และการจัดท าวิดิทัศน์ เรื่องความรู้การประกนัคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2565 (6)คร้ังที่6/2565 เป็นการรายงานแนวทางการพฒันาคุณภาพอาจารยเ์พื่อส่งเสริมการบรรลุผลลพัธ์การ เรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2566, การรายงานการจัดอบรมแนวทางการเขียนรายงาน มคอ. 7 ระดับหลักสูตร และรายงาน SAR ระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 ในรูปแบบ Focus Group, การรายงานเมนู ใหม่บนเวบ็ ไซต์ส านกังานประกนัคุณภาพ (เมนู“การดา เนินงานดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษา” และ เมนู “งานด้านการประเมินการเรียนการสอนอาจารย์โดยนักศึกษา” การรายงานการจดัอบรมหลกัสูตรที่ครบกา หนด ต้องปรับปรุง ปี การศึกษา 2567 เพื่อใช้ในปี การศึกษา 2568, การรายงานผลประเมินการสอน ปี การศึกษา 2565 และความคืบหน้าระบบ EV และ Schedule 2566โดยสาธิตการเข้าใช้งานระบบ และรายงานสรุปผลการประเมิน การสอนในภาพรวมท้งัระดบัสถาบนัรวมท้งัผลการประเมินการสอนของอาจารย์ในดา้น Active Learningและ การรายงานความคืบหน้าระบบ IP (Improvement Plan) และแผนการจดัอบรมให้กบัคณะกรรมการประเมิน ระดับหลักสูตรและระดับคณะวิชา, การรายงานการดา เนินการการจดักลุ่มสถาบนัอุดมศึกษาตามกฎกระทรวง การจดักลุ่มสถาบนัอุดมศึกษา พ.ศ. 2564 สู่การปฏิบตัิ,การรายงานการติดตามการดา เนินงานตวับ่งช้ีต่างๆ ใน Webometricsของหน่วยงานผูร้ับผิดชอบร่วมตามตวัช้ีวดั 3 ดา้น ไดแ้ก่ ด้าน Impact ฝ่ ายสื่อสารองค์กรในการ ปรับปรุงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล Website ทวั่ท้งัองคก์ร, ดา้น Openness ส านกังานประกนัคุณภาพมีกลยุทธ์ ร่วมกบับณัฑิตวิทยาลยัในการประชาสัมพนัธ์ให้นกัศึกษาบณัฑิตศึกษา สมคัรสมาชิก Google Scholar หรือใน การปฐมนิเทศนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ของส านักหอสมุดที่จัดให้มีการปฐมนิเทศการใช้ระบบฐานข้อมูล ต่างๆ ควรมีการขอความร่วมมือให้นกัศึกษา Register ใน Google Scholarและด้าน Excellence สถาบันวิจัยใน การพฒันาแนวทางการเพิ่มจา นวนบทความวิชาการ และบทความวิจยัที่ตีพิมพใ์นฐานขอ้มูลระดบันานาชาติ, การรายงานการนา เสนอร่างมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2566 และการรายงานการ ดา เนินการที่เกี่ยวขอ้งกบัการสอบวดัระดบัความรู้ภาษาองักฤษของนกัศึกษา ในปีการศึกษา 2566 โดยในแต่ละรอบการประชุมคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพจะมีการบนัทึกขอ้มูลและ สรุปผลการดา เนินงานในแต่ละรอบปีการศึกษาที่เกี่ยวข้องกบัการประเมินคุณภาพการศึกษาท้งัภายในและ ภายนอกเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการสภามหาวิทยาลยัรังสิต เพื่อทราบและ พิจารณาต่อไป 3. กำรประเมินคุณภำพ มหาวิทยาลยัรังสิต โดยคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษา และส านกังานประกนัคุณภาพ ฝ่ายวิชาการ ทา หนา้ที่ในการกา กบัติดตาม ประสานงาน ส่งเสริมและสนบัสนุน ให้ทุกหลกัสูตร ทุกคณะวิชาและทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลยัดา เนินการประกนัคุณภาพการศึกษาตามระบบ และกลไกที่มหาวิทยาลยักา หนด และตอ้งดา เนินงานตามกรอบการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565 และตามประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต ตามประกาศแนวปฏิบัติ และตามปฏิทินการด าเนินงาน อยา่งเคร่งครัด โดยมีระบบการประเมินคุณภาพ ดงัน้ี 3.1 มีการจัดทา แผนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและภายนอกที่สอดคลอ้งกบัสถานการณ์และ เป็นไปตามขอ้กา หนดขององคก์รที่เป็นผูป้ระเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและ ภายนอกเป็นสิ่งจา เป็นที่จะทา ให้มนั่ใจวา่นโยบาย ระบบกลไกกระบวนการต่างๆ ที่มหาวทิยาลยัดา เนินอยู่น้นัมี ประสิทธิภาพและเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย 3.2 มีการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในทุกปีการศึกษาโดยมีการสรรหาและแต่งต้งัคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัหลกัสูตรระดบัคณะวิชาระดบัหน่วยงานสนบัสนุน และระดบัสถาบนั ตามหลักเกณฑ์การพิจารณาที่มหาวิทยาลยักา หนด รวมท้งัมีการพฒันาผูป้ระเมินรายใหม่ที่มีศกัยภาพและมี คุณสมบัติตามเกณฑ์การพิจารณาทุกปี การศึกษา 3.3 มีการพิจารณาทบทวนตรวจสอบประเด็นข้อเสนอแนะและผลจากการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายในรวมถึงการนา จุดที่ควรพฒันาไปสู่การจดัทา แผนปรับปรุงการด าเนินงาน (Improvement plan) เพื่อเป็ น แนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยรังสิตให้มี ประสิทธิภาพยงิ่ข้ึนต่อไป 3.4 มีการปรับปรุงกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในที่สอดคลอ้งกบัสถานการณ์ทางการ ศึกษาในปัจจุบัน, สอดคล้องกับข้อก าหนด หลักเกณฑ์ที่กระทรวงก าหนด และสอดคล้องกับบริบทของ มหาวิทยาลัยตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 โดยจดัรูปแบบการประเมินท้งั ระบบ Onlineและรูปแบบ Onsiteและมีระบบให้คา ปรึกษาในระหวา่งการตรวจประเมินแบบ Call Center Line Group, มีการพัฒนา ปรับปรุง Template รายงาน มคอ.7 ที่มีการเพิ่มคา อธิบายแนวทางการรายงานในทุกตวับ่งช้ี เพื่อสร้างความเขา้ใจและเป็นแนวทางการเขียนรายงานให้กบัระดบัหลกัสูตรและในส่วนของผลการประเมิน มี การจัดท า Check listของคะแนน 4.00และการไปถึงระดับคะแนน 5.00 ที่ต้องมีการด าเนินการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) แนวปฏิบตัิที่ประสบความสา เร็จและถ่ายทอดออกมาเป็นลายลกัษณ์อกัษรผา่น ระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยและมีหลักฐานที่สามารถยืนยันความส าเร็จได้ และการจัดอบรมแนวทางการ เขียนรายงาน มคอ.7 ระดับหลักสูตร และรายงาน SAR ระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 ในรูปแบบ Focus Group โดยกลุ่มเป้าหมาย คือ หลกัสูตรที่มีการเปลี่ยนแปลงรายชื่ออาจารยผ์ูร้ับผิดชอบหลกัสูตรหรือมีการ เปลี่ยนแปลงผูร้ับผิดชอบงานดา้นประกนัคุณภาพของหลกัสูตร หลกัสูตรที่เปิดดา เนินการเป็นปีการศึกษาแรก หรือหลักสูตรที่มีความต้องการรับทราบขอ้มูลต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้งกบัการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน รวมถึง ระดบัคณะวชิาที่มีการเปลี่ยนผบู้ริหารคณะ ซ่ึงมีข้นัตอนการจดัอบรมฯ ดงัน้ี
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 3.4.1 แนะนา การทา ความเขา้ใจตวับ่งช้ีและเกณฑ์การประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน โดย แนะนา แนวทางการรายงานในแต่ละตวับ่งช้ีและช่องทางการศึกษาผา่น YouTube สา นกังานประกนัคุณภาพที่มี การจัดเรียง Clip VDO เป็ น Playlist แยกตามระดบัหลกัสูตรระดบัคณะและระดบัหน่วยงานสนบัสนุน 3.4.2แนะน าเกณฑ์ที่ปรับปรุง ในปี การศึกษา 2565 โดยเปรียบเทียบขอ้แตกต่างกบัเกณฑ์ที่ เป็ นฉบับ พ.ศ.2563 3.4.3 แนะน า Template มคอ.7 ระดับหลักสูตร และรายงาน SAR ระดับคณะวิชา โดยมีการ ใหแ้นวทางการรายงานในทุกประเด็นที่ไดร้วบรวมมาจากนิยามศพัทแ์ละการสกดัความรู้จากวทิยากร และมีการ เสริมการด าเนินการเพื่อตอบ Key Results ในแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 3.4.4 แนะน าปฏิทินการด าเนินงานระดับหลักสูตร และระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 3.4.5 ช่วงตอบคา ถาม (Q&A) ในประเด็นที่เกี่ยวขอ้งกบัการจดัทา รายงาน มคอ.7และรายงาน SAR ระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 นอกจากน้ีในปีการศึกษา 2565 คณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพ ไดว้างแผน การพฒันาร่างมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2566 ที่ครอบคลุมเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ.2565และมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2565 โดยส านักงานประกนัคุณภาพจะทา งานร่วมกบั ส านักงานมาตรฐานวิชาการเพื่อติดตามแนวปฏิบตัิในการนา เกณฑ์ดงักล่าวสู่การบริหารหลกัสูตรและการ พัฒนา Template เช่น มคอ.2, มคอ.3, มคอ.4, มคอ.5, มคอ.6และมคอ.7 ซ่ึงการพฒันาร่างมาตรฐานฯ พ.ศ.2566 อ้างอิงตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) เป็นพ้ืนฐานใน การดา เนินงาน โดยให้ความส าคญักบัการเชื่อมโยงระหว่างตวับ่งช้ีการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในกบั Common Data Set ของ สป.อว., รายละเอียดประเด็นตวับ่งช้ีต่างๆ และสามารถตอบการดา เนินงานตาม KR ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569 และเชื่อมโยงตวับ่งช้ีและประเด็นยอ่ยรวม 32 ประเด็น ของเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) และตอบโจทย์เงื่อนไขในการรับรองหลักสูตร 5 ข้อ ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ.2565 4. กำรส่งเสริมและสนับสนุน มหาวิทยาลยัรังสิต โดยคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพ การศึกษา และส านักงานประกนัคุณภาพ ฝ่ายวิชาการ ไดม้ีการส่งเสริมการสร้างความรู้ความเขา้ใจการประกนั คุณภาพการศึกษาให้แก่บุคลากรและนกัศึกษามหาวิทยาลยัรังสิตเป็นประจา ทุกปีเพื่อก่อให้เกิดการยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการจดัการศึกษาของสถาบนัผา่นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเผยแพร่ขอ้มูลที่เกี่ยวกบัการ ประกนัคุณภาพการศึกษา โดยมีระบบการส่งเสริมและสนบัสนุนการประกนัคุณภาพการศึกษา ดงัน้ี 4.1 มีการพฒันาระบบฐานขอ้มูลที่เกี่ยวขอ้งกบัการประกนัคุณภาพ ในการจดัเก็บขอ้มูลเพื่อใช้ในการ ประกนัคุณภาพการศึกษาภายในและภายนอกที่ครอบคลุมถึงการรวบรวมและการประเมินผลเพื่อสนับสนุน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อมูลด้านการวิจัย การบริการวิชาการ และสนับสนุนข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาและตรวจสอบการ ดา เนินงานของหลกัสูตรของคณะวิชาและของหน่วยงานสนบัสนุน ซ่ึงในปีการศึกษา 2565 คณะอนุกรรมการ ดา เนินงานประกนัคุณภาพ โดยส านกังานประกนัคุณภาพ ฝ่ายวิชาการ ประสบความส าเร็จในการพัฒนาระบบ ฐานขอ้มูลเพื่อใชใ้นการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดบัหลกัสูตร ระดบัคณะวชิา ดงัน้ี -การน าระบบ IP (Improvement Plan) มาใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 โดยระบบสามารถน าเข้ารายงาน มคอ.7, รายงาน SAR และผู้ประเมินสามารถ อ่านและกรอกรายงานผลประเมิน รวมถึงแกไ้ขรายงานการตรวจประเมินเบ้ืองตน้ผา่นระบบฯ ได้นอกจากน้ียงั สามารถรวบรวมรายงานการตรวจประเมินเบ้ืองตน้ที่เป็นฉบบั Default ก่อนวนัตรวจประเมินโดยจุดเด่นของ ระบบ IP(Improvement Plan)คือ (1) มีการแยกการประเมินเป็นระบบอยา่งชดัเจน ระหวา่งหลกัสูตรกบัคณะวชิา (2) ผูป้ระเมินระดบัหลกัสูตร สามารถประเมินหลกัสูตรเบ้ืองตน้ผา่นระบบ Online โดยเข้า ผา่น Link ที่ส่งใหอ้ตัโนมตัิจาก Email ของระบบ (3) ตวับ่งช้ีเชิงผลลพัธ์ระดบัหลกัสูตร ตวับ่งช้ีที่2.2, 3.3และ 4.2 ระบบช่วยคา นวณผลลพัธ์ และค่าร้อยละใหอ้ตัโนมตัิ (4) ระบบช่วยสร้างรายงานผูป้ระเมินฉบบัสมบูรณ์ให้อตัโนมตัิ(ค านวณคะแนน IPO ให้ อัตโนมัติ) (5) ระบบช่วยสร้าง Improvement Plan ระดบัหลกัสูตรระดบัคณะวชิา เบ้ืองตน้ ใหอ้ตัโนมตัิ (6) ระบบช่วยสร้างรายงานผลการด าเนินงานตาม Key Results (KR) ที่เกี่ยวข้องกับ ยุทธศาสตร์ที่1 ที่ส านกังานประกนัคุณภาพรับผิดชอบ ที่สามารถใช้เป็นรายงานให้กบัส านกังานวางแผนและ พัฒนาในการสรุปผลการด าเนินงานของมหาวิทยาลัยตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569และใช้ประกอบการประเมิน Post Auditระดบัหลกัสูตรตามเกณฑใ์หม่
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต - การน าผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากระบบ EQA Online มาใช้ในการรายงานผลการด าเนินงานของ มหาวิทยาลัยตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ สมศ. ในปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ด าเนินการรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสี่ ในวันที่ 27กนัยายน พ.ศ.2566 โดยสามารถน าข้อมูลที่รายงานในระบบ EQA Onlineคือข้อมูล ของคณะวิชาต้งัแต่ปีการศึกษา 2563-2564 ที่มีการกา กบัติดตามให้คณะวิชารายงานขอ้มูลในระบบฯ ตามช่วง ระยะเวลา (Phase) ที่ส านักงานประกนัคุณภาพกา หนด โดยขอ้มูลที่มาจากผลการวิเคราะห์ของระบบ EQA Online สามารถน ามารายงานแนวโน้มผลการด าเนินงานของมหาวิทยาลัยรังสิต ในการจัดท ารายงาน การ ประเมินตนเองเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก (PA2-2) ไดต้ามระยะเวลาที่สมศ.กา หนด ดงัน้ี ด้านที่2คุณภาพบัณฑิต (ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก) ด้านที่ 3คุณภาพงานวิจัย และด้านที่ 4ผลของการบริการวิชาการ ส าหรับด้านที่ 1 ผลสัมฤทธ์ิในการบริหารจดัการตามพนัธกิจที่ตอบสนองต่อการพฒันา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และดา้นที่5ผลของการประกนัคุณภาพภายใน ปัจจุบนัอยูใ่นระหวา่งการวาง แผนการด าเนินงานให้คณะวิชารายงานข้อมูล - พฒันาสื่อออนไลน์เพื่อใชใ้นการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในส าหรับทุกกลุ่ม (อาจารย์นกัศึกษา และผู้ประเมิน) ผ่านช่อง YouTube ส านักงานประกันคุณภาพ มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาสื่อความรู้ (ในรูปแบบออนไลน์) โดยในปี การศึกษา 2565 มีการจดัทา วิดิทศัน์เรื่องความรู้การประกนัคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2565 ดงัน้ี (1) การจัดท าวีดิทัศน์ “การถ่ายทอดความรู้และทกัษะการประกนัคุณภาพแก่นกัศึกษา (QA for Fun) ประจ าปี การศึกษา 2565 เพื่อให้เป็ นไปตามกรอบมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ที่ให้ความส าคญักบัการที่นกัศึกษาเขา้มามีส่วนร่วมในการประกนัคุณภาพการศึกษา และส่งเสริมคุณลกัษณะบณัฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติโดยมีวิทยากร บรรยายในเวอร์ชนั่ภาษาไทยและภาษาองักฤษ และเผยแพร่วดีิทศัน์พร้อมตวัอยา่งแบบประเมินฯ ฉบบัภาษาไทย
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต และภาษาอังกฤษที่ Website, YouTube ส านกังานประกนัคุณภาพ และประชาสัมพนัธ์ผ่านทางอีเมลให้กบัทุก คณะวิชา (2) การจดัทา วีดิทศัน์เรื่องความแตกต่างของ “คู่มือประกนัคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยั รังสิต พ.ศ.2565” และ “คู่มือประกนัคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) โดยมีประธานคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพ มหาวิทยาลยัรังสิต เป็นวิทยากรบรรยายและทา การ เผยแพร่วดีิทศัน์ที่Website, YouTube สา นกังานประกนัคุณภาพ และประชาสัมพนัธ์ผา่นอีเมล@rsu.ac.th -การปรับปรุงเมนูใหม่บนเวบ็ ไซตส์ านกังานประกนัคุณภาพที่ดา เนินการเพิ่มเติมในปีการศึกษา 2565 ดงัน้ี
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต (1) เมนูการดา เนินงานดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษา โดยมีการแจ้งปฏิทินการด าเนินงาน ระดบัหลกัสูตรระดบัคณะวชิาและระดบัหน่วยงานสนับสนุน (2) เมนูงานด้านการประเมินการเรี ยนการสอนอาจารย์โดยนักศึกษา โดยมีปฏิทินการ ด าเนินงาน, Link เขา้สู่ระบบประเมินการเรียนการสอน, Link ระบบรายงานประเมินการสอน EV Report และ การประชาสัมพันธ์ Lineกลุ่ม “RSU ประเมินการสอน” 4.2 ความร่วมมือกบัหน่วยงานภายนอกเพื่อส่งเสริมและพฒันาคุณภาพการศึกษา ในปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลยัรังสิตมีความร่วมมือกบัหน่วยงานภายนอกมหาวทิยาลยัเพื่อส่งเสริมและพฒันาการประกนัคุณภาพ ดงัน้ี 4.2.1 การลงนามในความร่วมมือเครือข่ายประกนัคุณภาพการศึกษานานาชาติ(Institutional Quality Assurance Network: IQAN) ปี พ.ศ.2566-2570 ซ่ึงสถาบนั ในเครือข่ายIQAN ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยรังสิต, มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟิ ก, วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา และมหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ ดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษา การจดัทา โครงการอบรม/สัมมนา เพื่อพฒันาศกัยภาพนกัศึกษา ดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษา การจดักิจกรรมดา้นการ จดัการความรู้การประกนัคุณภาพการศึกษา เพื่อประโยชน์ในการประกนัคุณภาพการศึกษาของเครือข่ายอยา่ง ต่อเนื่อง การจดัทา แผนดา เนินการและร่วมมือกนัจดัอบรมการประกนัคุณภาพการศึกษา ท้งัระดบัผูป้ฏิบตัิงาน และผูป้ระเมินคุณภาพอยา่งต่อเนื่อง รวมถึงการศึกษาวิจยัดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษาโดยจัดพิธีลงนามฯ เมื่อวันที่ 23กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 4.2.2 การเขา้ร่วมเครือข่ายประกนัคุณภาพการศึกษา ภาคกลางตอนบน ในการรับทราบขอ้มูลข่าวสาร การเขา้ร่วมอบรม/สัมมนาต่างๆ เพื่อเป็นการพฒันางานประกนัคุณภาพและงานวิชาการของมหาวทิยาลยั โดยใน ปี การศึกษา 2565 สา นกังานประกนัคุณภาพ ฝ่ายวชิาการไดเ้ขา้ร่วมอบรมโครงการที่สา คญั ไดแ้ก่ 1)การเขา้ร่วมอบรมเชิงปฏิบตัิการเรื่อง EdPEx facilitator training จัดโดยกองยกระดับคุณภาพการจัด การศึกษาระดบัอุดมศึกษา สป.อว.ซ่ึงทาง สป.อว.ตอ้งการใหทุ้กสถาบนัอุดมศึกษาที่เริ่มใชร้ะบบบริหารคุณภาพ การศึกษาเพื่อการดา เนินการที่เป็นเลิศส่งผูแ้ทนของสถาบนัจา นวน 2 ท่าน ที่เป็นระดบับริหารเขา้ร่วมอบรมเพื่อ ท าหน้าที่เป็ น EdPEx facilitator โดยผูแ้ทนของมหาวิทยาลยัรังสิตที่เขา้ร่วมอบรม ไดแ้ก่ผูช้่วยอธิการบดีฝ่าย ประกนัคุณภาพ และรองคณบดีฝ่ายแผนงานและการประกันคุณภาพ วิทยาลยัทนัตแพทยศาสตร์เนื่องจาก ปัจจุบันมีแนวโน้มที่สองคณะวิชาจะใช้เกณฑ์ EdPEx ในการบริ หารงานคณะวิชา ได้แก่วิทยาลัยทันต แพทยศาสตร์ และคณะพยาบาลศาสตร์
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 2) การเขา้ร่วมอบรมโครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลยั (Reinventing University) และการอบรมการใช้ ระบบ UCLAS จัดโดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อเตรียมความพร้อม ของคณะวชิาในการเก็บขอ้มูลตามเกณฑก์ารจดักลุ่มสถาบนั 3)การเขา้ร่วมประชุมสมาคมสถาบนัอุดมศึกษาแห่งประเทศไทยในประเด็นเกณฑ์การประกนัคุณภาพ AUN QA 4) การเขา้ร่วมประชุมเครือข่ายเพื่อการพฒันาอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน ในประเด็นการเตรียมความ พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ และประเด็นความรู้เกณฑก์ารจดักลุ่มสถาบนั 5) การเขา้ร่วมการประชุมแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา จดัโดยส านักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เพื่อรับทราบแนวทางการประเมิน ข้นัตอน และวธิีการประเมินเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนรับการตรวจประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ 6) การเขา้ร่วมอบรมโครงการพฒันาสมรรถนะเลขานุการการตรวจประเมิน จดัโดย สป.อว. เพื่อให้ บุคลากรสายสนบัสนุนมีความรู้ความเขา้ใจ มีทกัษะที่จา เป็นต่อกระบวนการตรวจประเมินองค์กรดว้ยเกณฑ์ EdPEx สามารถสนับสนุนการตรวจประเมินอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อสร้างเครือข่ายการแบ่งปันเรียนรู้ ระหว่างสถาบนั ในการสนับสนุนและขบัเคลื่อนมหาวิทยาลยัให้เข้าสู่การพฒันาคุณภาพสู่ความเป็นเลิศใน อนาคต 5. กำรส่งเสริมระบบประกนัคุณภำพกำรศึกษำเพื่อกำรด ำเนินกำรทเี่ป็นเลิศ (EdPEx) มหาวิทยาลัยรังสิต โดยส านกังานประกนัคุณภาพ ฝ่ายวิชาการ ไดม้ีการส่งเสริมให้คณะวิชาที่มีความพร้อมและศกัยภาพสามารถ พัฒนาการบริหารจัดการคณะให้เป็ นไปตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็ นเลิศ (EdPEx)โดยมี การถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากการเขา้ร่วมอบรมผา่นการประชาสัมพนัธ์ความรู้ที่เวบ็ ไซตส์ านกังาน ประกนัคุณภาพ และเป็นวิทยากรให้ความรู้แนวทางการจดัทา รายงานโครงร่างองค์กร (Organization Profile: OP), ขอ้มูลแผนต่างๆ และการจดัส่งขอ้มูล Common Data Set (CDS) เป็นตน้ โดยส านกังานประกนัคุณภาพจะ กา กบัการดา เนินงานของคณะที่เขา้ EdPEx ในช่วง 3 ปีแรกเช่น คณะพยาบาลศาสตร์ โดยจะมีการเตรียมความ พร้อมในช่วงปีการศึกษา 2566-2567 และจะเข้ารับการประเมินตามเกณฑ์EdPEx ในปี การศึกษา 2568 ซึ่ งมี กระบวนการดงัน้ี ปี ที่ 1คณะตอ้งส่งรายงานโครงสร้างองคก์ร (OP Report) ตามแบบรายงานที่กา หนด และรายงานวธิีการ น าเกณฑ์EdPEx ไปใช้ในสถาบนัว่ามีแนวทางในการดา เนินการอย่างไร พร้อมจดัส่งขอ้มูลพ้ืนฐาน(Common data set) ผา่นระบบ CHE QA Online ปี ที่ 2จดัส่งขอ้มูลรายการผลการดา เนินงานตามแผนพฒันาที่จดัส่งในปีที่1 พร้อมจดัส่งขอ้มูลพ้ืนฐาน (Common data set) ผา่นระบบ CHE QA Online
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ปี ที่ 3จดัส่งรายงานผลการประเมินตนเองด้วยเกณฑ์ EdPEx ฉบบัสมบูรณ์ตามรูปแบบที่กา หนดพร้อม จัดส่งข้อมูลพ้ืนฐาน (Common data set) ผ่านระบบ CHE QA Online โดยคณะอนุกรรมการจากกระทรวง สป.อว.จะพิจารณาและสุ่มตรวจเยยี่ม ณ สถานที่จริง ส าหรับวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ใช้ระบบ EdPEx ในการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน ระดับคณะวิชา ต้ังแต่ปีการศึกษา 2559 และเริ่มรายงานผลการด าเนินงานตามเกณฑ์EdPEx ตาม กระบวนการของปี ที่ 1 ในปี การศึกษา 2563, ปี ที่ 2 ในปี การศึกษา 2564และปี ที่ 3 ในปี การศึกษา 2565 และใน ทุกปี การศึกษา วิทยาลยัแพทยศาสตร์จะตอ้งนา ส่งรายงานผลการดา เนินงานตามเกณฑ์EdPEx ให้กบัส านกังาน ประกนัคุณภาพ พร้อม Upload รายการหลกัฐานต่างๆ ลงในระบบ DBSเพื่อเป็นขอ้มูลในการกา กบัติดตามและ สนบัสนุนวทิยาลยัแพทยศาสตร์ต่อไป
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สปค.1.1.1.03 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของหลักสูตร ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.1.7.02 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.1.7.04 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัหน่วยงานสนบัสนุน ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.1.7.05 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัสถาบนั มรส.สปค.อ5.5.1.7.01 แผนการด าเนินงานการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.3.1.02 คา สั่งแต่งต้งัอนุกรรมการประกนัคุณภาพ มรส.สปค.อ5.5.3.3.02 วีดิทัศน์ให้ความรู้การใช้งานระบบ CHE QA 3D Online System ระดับหลักสูตร ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.3.3.03 วีดิทัศน์ให้ความรู้การใช้งานระบบ CHE QA 3D Online System ระดับคณะ ปี การศึกษา 2565 กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ที่5.1 เป้าหมาย ผลด าเนินงาน ผลการประเมิน บรรลุเป้าหมาย 7 ข้อ 7 ข้อ 5.00 คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ผลกำรบริหำรงำนของคณะ (ข้อมูลโดย: คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน) ชนิดของตัวบ่งชี้:กระบวนการ เกณฑ์กำรประเมิน:คะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินระดับคณะของทุกคณะ † ผู้รับผดิชอบตัวบ่งชี้: สา นกังานประกนัคุณภาพ ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลยัรังสิต มีคณะที่เปิดการเรียนการสอนท้งัหมด 33คณะ ประกอบด้วย 14คณะ16 วิทยาลัย และ 3 สถาบัน โดยวิทยาลัยแพทยศาสตร์ประเมินด้วยเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็ นเลิศ (EdPEx)และ 32คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ซ่ึงมีตวัช้ีวดัผลการด าเนินงานตามองค์ประกอบ 5 ด้าน คือ ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการ ด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม และด้านการบริหารจัดการ ส าหรับ ในปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิตด าเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะในเดือนตุลาคม พ.ศ.2565 มีผลการประเมินสรุปดงัตารางต่อไปน้ี ตำรำงที่ 5.2-1 ตำรำงแสดงผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน แยกเป็ นรำยคณะ ปี กำรศึกษำ 2565 คณะ/ วิทยำลัย/สถำบัน ผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำระดับคณะ เฉลี่ย ทั้งหมด 13 ตัวบ่งชี้ ระดับ คุณภำพ องค์ ประกอบ ที่ 1 กำรผลิต บัณฑิต องค์ ประกอบ ที่ 2 กำรวิจัย องค์ ประกอบ ที่ 3 กำร บริกำร วิชำกำร องค์ ประกอบที่ 4 กำรทำ นุ บ ำรุงศิลป และ วัฒนธรรม องค์ ประกอบ ที่ 5 กำร บริหำร จัดกำร 1.วิทยาลัยแพทยศาสตร์ ประเมนิตำมเกณฑ์คุณภำพ EdPEx 2.วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ 4.66 5.00 5.00 5.00 5.00 4.84 ดีมำก 3.คณะพยาบาลศาสตร์ 4.25 5.00 5.00 5.00 5.00 4.65 ดีมำก 4.คณะเทคนิคการแพทย์ 4.85 4.63 5.00 5.00 5.00 4.84 ดีมำก †คณะที่ดา เนินการตามระบบคุณภาพระบบอื่นๆ ที่คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาเห็นชอบ และมีการ ประเมินตามระบบดงักล่าวไม่ตอ้งนา คะแนนผลการประเมินของคณะน้นัมาคา นวณในตวับ่งช้ีน้ีแต่ตอ้งรายงานผลในตวับ่งช้ีน้ีให้ ครบถ้วน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ตำรำงที่ 5.2-1 ตำรำงแสดงผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน แยกเป็นรำยคณะ ปีกำรศึกษำ 2565 (ต่อ) คณะ/ วิทยำลัย/สถำบัน ผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำระดับคณะ เฉลี่ย ทั้งหมด 13 ตัวบ่งชี้ ระดับ คุณภำพ องค์ ประกอบ ที่ 1 กำรผลิต บัณฑิต องค์ ประกอบ ที่ 2 กำรวิจัย องค์ ประกอบ ที่ 3 กำร บริกำร วิชำกำร องค์ ประกอบที่ 4 กำรทำ นุ บ ำรุงศิลป และ วัฒนธรรม องค์ ประกอบ ที่ 5 กำร บริหำร จัดกำร 5.คณะกายภาพบ าบัดและ เวชศาสตร์การกีฬา 3.66 3.56 5.00 5.00 5.00 4.05 ดี 6.วิทยาลัยการแพทย์ แผนตะวันออก 4.06 4.02 5.00 5.00 4.50 4.26 ดี 7.วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ 4.26 4.50 5.00 5.00 5.00 4.54 ดีมำก 8.คณะทัศนมาตรศาสตร์ 2.91 3.82 5.00 5.00 5.00 3.76 ดี 9.คณะรังสีเทคนิค 2.83 5.00 5.00 5.00 4.00 3.84 ดี 10.วิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัล เทคโนโลยี 4.15 4.02 5.00 5.00 5.00 4.38 ดี 11.วิทยาลัยวิศวกรรม ชีวการแพทย์ 4.64 5.00 5.00 5.00 5.00 4.83 ดีมำก 12.คณะวิทยาศาสตร์ 4.80 3.90 5.00 5.00 5.00 4.66 ดีมำก 13.วิทยาลัยนวัตกรรมเกษตร และเทคโนโลยีอาหาร 4.57 5.00 5.00 5.00 5.00 4.80 ดีมำก 14.วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ 4.58 4.35 5.00 5.00 4.50 4.58 ดีมำก 15.สถาบันการบิน 4.38 2.77 3.00 3.00 3.00 3.58 ดี 16.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 4.12 4.93 5.00 5.00 5.00 4.58 ดีมำก 17.คณะบริหารธุรกิจ 3.87 3.52 5.00 5.00 5.00 4.14 ดี 18.คณะบัญชี 4.78 5.00 5.00 5.00 5.00 4.90 ดีมำก 19.วทิยาลยัการท่องเที่ยว การบริการและกีฬา 4.27 3.79 5.00 5.00 5.00 4.38 ดี
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต คณะ/ วิทยำลัย/สถำบัน ผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำระดับคณะ เฉลี่ย ทั้งหมด 13 ตัวบ่งชี้ ระดับ คุณภำพ องค์ ประกอบ ที่ 1 กำรผลิต บัณฑิต องค์ ประกอบ ที่ 2 กำรวิจัย องค์ ประกอบ ที่ 3 กำร บริกำร วิชำกำร องค์ ประกอบที่ 4 กำรทำ นุ บ ำรุงศิลป และ วัฒนธรรม องค์ ประกอบ ที่ 5 กำร บริหำร จัดกำร 20.คณะเศรษฐศาสตร์ 4.72 2.52 4.00 5.00 4.00 4.07 ดี 21.วิทยาลัยการออกแบบ 3.56 5.00 5.00 5.00 5.00 4.34 ดี 22.วิทยาลัยดนตรี 4.39 5.00 5.00 5.00 5.00 4.72 ดีมำก 23.คณะดิจิทัลอาร์ต 3.06 5.00 5.00 5.00 5.00 4.10 ดี 24.วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ 4.54 5.00 5.00 5.00 5.00 4.79 ดีมำก 25.วิทยาลัยศิลปศาสตร์ 4.17 3.65 5.00 5.00 5.00 4.31 ดี 26.คณะนิติศาสตร์ 3.44 5.00 1.00 3.00 4.00 3.66 ดี 27.วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 4.67 5.00 5.00 5.00 4.50 4.77 ดีมำก 28.คณะรัฐศาสตร์ 4.38 5.00 5.00 5.00 4.00 4.56 ดีมำก 29.สถาบันการทูตและ การต่างประเทศ 4.32 4.81 5.00 5.00 5.00 4.64 ดีมำก 30.คณะอาชญาวิทยาและ การบริหารงานยุติธรรม 4.64 5.00 5.00 5.00 5.00 4.83 ดีมำก 31.สถาบันรัฐประศาสน ศาสตร์และนโยบาย สาธารณะ 4.68 5.00 4.00 3.00 3.50 4.34 ดี 32.วิทยาลัยนานาชาติ 4.17 4.65 5.00 5.00 5.00 4.53 ดีมำก 33.วิทยาลัยครูสุริยเทพ 4.40 5.00 5.00 5.00 5.00 4.78 ดีมำก ผลรวมของค่ำคะแนนเฉลยี่ของทุกคณะ 142.05 คะแนนเฉลี่ยรวม 4.44
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ตำรำงที่ 5.2-2 ตำรำงแสดงคะแนนเฉลี่ยของผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ระดับคณะ ปี กำรศึกษำ 2562-2565 คณะ/ วิทยำลัย/สถำบัน ปี กำรศึกษำ 2562 2563 2564 2565 1.วิทยาลัยแพทยศาสตร์ ประเมนิตำมเกณฑ์คุณภำพ EdPEx 2.วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ 4.74 4.79 4.86 4.84 3.คณะพยาบาลศาสตร์ 4.36 4.35 4.35 4.65 4.คณะเทคนิคการแพทย์ 4.73 4.50 4.58 4.84 5.คณะกายภาพบา บดัและเวชศาสตร์การกีฬา 4.21 4.38 4.16 4.05 6.วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก 3.90 4.46 4.50 4.26 7.วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ 4.55 4.56 4.52 4.54 8.คณะทัศนมาตรศาสตร์ 3.99 4.15 3.95 3.76 9.วิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัลเทคโนโลยี 4.67 4.80 4.55 4.38 10.คณะวิทยาศาสตร์ 4.51 4.54 4.51 4.66 11.วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ 4.84 4.91 4.92 4.83 12.คณะรังสีเทคนิค 3.73 3.97 4.01 3.84 13.วิทยาลัยนวัตกรรมเกษตรและเทคโนโลยีอาหาร 4.71 4.77 4.78 4.80 14.วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ 4.67 4.68 4.40 4.58 15.สถาบันการบิน 3.80 3.86 4.02 3.58 16.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 4.46 4.43 4.54 4.58 17.คณะบริหารธุรกิจ 4.46 4.35 4.23 4.14 18.คณะบัญชี 4.72 4.74 4.82 4.90 19.วิทยาลยัการท่องเที่ยวการบริการและกีฬา 4.22 4.22 4.10 4.38 20.คณะเศรษฐศาสตร์ 4.50 4.72 4.79 4.07 21.วิทยาลัยการออกแบบ 4.36 4.39 4.41 4.34 22.วิทยาลัยดนตรี 4.56 4.62 4.71 4.72 23.คณะดิจิทัลอาร์ต 4.36 4.42 4.53 4.10 24.วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ 4.71 4.75 4.79 4.79 25.วิทยาลัยศิลปศาสตร์ 4.16 4.45 4.39 4.31
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต คณะ/ วิทยำลัย/สถำบัน ปี กำรศึกษำ 2562 2563 2564 2565 26.คณะนิติศาสตร์ 4.55 4.68 4.49 3.66 27.วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 4.80 4.78 4.82 4.77 28.คณะรัฐศาสตร์ - 3.56 4.47 4.56 29.สถาบนัการทูตและการต่างประเทศ - 4.18 4.57 4.64 30.คณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม - 4.62 4.79 4.83 31.สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ - 4.42 4.65 4.34 32.วิทยาลัยนานาชาติ - 4.61 4.69 4.53 33.วิทยาลัยครูสุริยเทพ 4.81 4.67 4.52 4.78 หมำยเหตุ: 1. ปี การศึกษา 2562 คณะรัฐศาสตร์, สถาบันการทูตและการต่างประเทศ,คณะอาชญาวิทยาและการ บริหารงานยุติธรรม และสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ รับการตรวจประเมินระดับคณะภายใต้ วิทยาลยัรัฐกิจ(คะแนนผลการประเมิน 3.92) 2. ปี การศึกษา 2562วิทยาลัยนานาชาติรับการตรวจประเมินระดับคณะภายใตค้ณะบริหารธุรกิจ รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สปค.อ5.5.2.01 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษายใน ระดบัคณะวชิา ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.2.02 ผลการบริหารงานของคณะ ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.3.1.02 คา สั่งแต่งต้งัอนุกรรมการประกนัคุณภาพ กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ 5.2 เป้ำหมำย ผลด ำเนินงำน ผลกำรประเมิน บรรลุเป้ำหมำย 4.00คะแนน 4.44คะแนน 4.44คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 ระบบกำ กบักำรประกนัคุณภำพหลกัสูตร ผู้รับผดิชอบตัวบ่งชี้: สา นกังานประกนัคุณภาพ ชนิดของตัวบ่งชี้:กระบวนการ เกณฑ์กำรประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการด าเนินการ 1 ข้อ มีการด าเนินการ 2 ข้อ มีการด าเนินการ 3 -4 ข้อ มีการด าเนินการ 5 ข้อ มีการด าเนินการ 6 ข้อ 1. มีระบบและกลไกในกำรก ำกับกำรด ำเนินกำรประกันคุณภำพหลักสูตรและคณะให้เป็นไปตำมองค์ประกอบ กำรประกนัคุณภำพหลกัสูตรและคณะ ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลยัรังสิต โดยส านักงานประกันคุณภาพ ฝ่ ายวิชาการ มีระบบและกลไกในการกา กับการ ดา เนินงานการประกนัคุณภาพระดบัหลกัสูตรและคณะวิชา มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพตาม มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) เพื่อพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาระดับหลักสูตร และระดับคณะวิชา โดยมีคณะอนุกรรมการด าเนินงานประกนัคุณภาพ การศึกษา มหาวทิยาลยัรังสิต เป็นผกู้า หนดกรอบนโยบายดา้นการประกนัคุณภาพ กา หนดมาตรฐาน หลกัเกณฑ์ วิธีการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Auditing) การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) และการปรับปรุงคุณภาพ (Quality Improvement) ของมหาวิทยาลัย ท าหน้าที่ขับเคลื่อน การด าเนินงานเพื่อให้หลักสู ตร จ านวน 146 หลักสู ตร และ 32 คณะวิชา สามารถด าเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมีกระบวนการกา กบัติดตามการดา เนินงาน ดงัภาพที่5.3.1
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ภำพที่ 5.3.1กระบวนกำรกำ กบัติดตำมกำรด ำเนินงำนกำรประกนัคุณภำพระดับหลกัสูตรและคณะวชิำ ระบบและกลไกกำรก ำกับกำรด ำเนินงำนกำรประกันคุณภำพระดับหลักสูตร ในปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลยัรังสิต เปิดการเรียนการสอนท้งัสิ้น 146 หลกัสูตร แบ่งออกเป็นหลกัสูตรที่ประเมินตามเกณฑ์ มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) จ านวน 138 หลักสูตร (ระดับปริญญาตรี 84 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 39 หลักสูตร ระดับปริญญาเอก 15 หลักสูตร) หลักสูตรที่ รับรองโดยเกณฑ์มาตรฐานสากล จ านวน 1 หลักสูตรคือ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยแพทยศาสตร์ ผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ตามเกณฑ์TMC.WFME.BME.Standards (2017) (World Federation for Medical Education, Basic Medical Education: WFME) โดยมีระยะเวลาการรับรองถึงวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.2567และหลักสูตรที่รับรองโดยสภาวิชาชีพ จ านวน 7 หลกัสูตรไดแ้ก่ ก ำหนดกรอบนโยบำย มำตรฐำน หลักเกณฑ์ กำรประกนัคุณภำพกำรศึกษำ ประเมนิคุณภำพ กำรศึกษำภำยใน ก ำกับติดตำม ตรวจสอบ ผลกำรด ำเนินงำน คณะอนุกรรมกำรดำ เนินงำน ประกนัคณุภำพ ส ำนักงำนประกนัคณุภำพ ฝ่ำยวชิำกำร ระดบัหลกัสูตร กรกฎำคม - สิงหำคม 2566 ระดับคณะวิชำ ตุลำคม 2566 ระดบัหน่วยงำนสนับสนุน ตุลำคม 2566 ระดับสถำบัน พฤศจิกำยน 2566 ระบบ CHE QA ONLINE ส ำนักงำนประกนัคณุภำพ ฝ่ ำยวิชำกำร คณะอนุกรรมกำรดำ เนินงำน ประกนัคณุภำพ กรรมกำรบริหำร มหำวิทยำลัย สภำมหำวิทยำลัย
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 1. หลักสูตรทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตรทวิภาษา) (ได้รับการรับรองจากหลักสูตรปรับปรุง ปี 2565-2572) 2. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม (ได้รับการรับรอง ปี2562-2567) 3. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ (ได้รับการรับรองปี2562-2567) 4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบ าบัด (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 5. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ (ได้รับการรับรอง ปี2565-2569) 6. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ (2.5 ปี ) (ได้รับการรับรอง ปี 2565-2569) 7. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ (ได้รับการรับรอง ปี2565-2569) โดยมุ่งตรวจสอบและประเมินผลการดา เนินงานเกี่ยวกบัการบริหารหลกัสูตรและการจดัการเรียนการ สอนให้เป็ นไปตามมาตรฐานคุณภาพด้านผลลัพธ์ผู้เรียน และมีการกา กบัมาตรฐานหลกัสูตรใหเ้ป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานการอุดมศึกษา และเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบัอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF)ของกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจยัและนวตักรรม (อว.) และกา กบัติดตามให้มีผลการดา เนินงานเป็นไปตาม เป้าหมายที่กา หนดในตวัช้ีวดัการดา เนินงาน (OKR) ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569 กำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ระดับหลักสูตร ดา เนินการในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึงเดือน สิงหาคม 2566 โดยท าการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพระดับหลักสูตร จ านวน 6องค์ประกอบ และมี กระบวนการตรวจสอบคุณภาพ ดงัน้ี -การกา กบัเพื่อใหเ้ป็นไปตามมาตรฐานหลกัสูตร จา นวน 1องคป์ระกอบ คือ ดา้นการกา กบัมาตรฐาน -การกา กบัเพื่อการพัฒนาคุณภาพหลักสูตร จ านวน 5องค์ประกอบ ไดแ้ก่ดา้นบณัฑิต ดา้นนกัศึกษา ดา้นอาจารย์ดา้นหลกัสูตรการเรียนการสอน การประเมินผเู้รียน และดา้นสิ่งสนบัสนุนการเรียนรู้ - มีการแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัหลกัสูตรโดยมหาวิทยาลัยท าการ แต่งต้งับุคลากรภายในมหาวิทยาลยัเป็นคณะกรรมการประเมินฯ ซึ่งมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพนัธ์กบัสาขาวิชาที่ ขอรับการประเมินตาม ISCED Fields of Education and Training 2013 (ISCED-F 2013) และมหาวิทยาลัยโดย คณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพพิจารณาแลว้ว่าเป็นผูม้ีความรู้ในตวับ่งช้ีและเกณฑ์การประเมิน มีประสบการณ์ในการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร และเป็นผูม้ีความรับผิดชอบต่อ การท าหน้าที่ผู้ประเมิน โดยคณะกรรมการประเมินจะต้องศึกษาท าความเข้าใจ “การปรับปรุงคา อธิบายตวับ่งช้ี และเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับหลักสูตร” ผา่นวีดิทศัน์ที่เผยแพร่ที่YouTube ส านกังานประกนัคุณภาพ และศึกษาท าความเข้าใจ Template รายงานผลการ ด าเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) ปี การศึกษา 2565 ที่ไดม้ีการเพิ่มเติมคา อธิบายแนวทางการรายงานในทุกตัว
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต บ่งช้ีและเพิ่มเติมคา อธิบายเกณฑ์การประเมิน และตอ้งเขา้ร่วมอบรม “โครงการอบรมผู้ประเมินระดับหลักสูตร ในการใช้งานระบบ Improvement Plan: IP(การใชง้านระบบรายงานประเมินเบ้ืองตน้ออนไลน์ที่พฒันาข้ึนโดย สา นกังานประกนัคุณภาพ) โดยคณะกรรมการประเมินมีหน้าที่ตรวจสอบผลการด าเนินงานของหลักสูตรตามหลักเกณฑ์การ พิจารณาผลการด าเนินงานที่กา หนดไวใ้นคู่มือมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2563(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2565) ดงัน้ี 1) พิจารณาวา่ตวับ่งช้ีที่รายงาน ในปีการศึกษาที่ผา่นมามีผลลพัธ์การดา เนินงานอยา่งไร บรรลุเป้าหมาย ที่หลกัสูตรกา หนดไวห้รือไม่แลว้ปีการศึกษาที่ประเมินมีการปรับปรุง/ พฒันากระบวนการหรือไม่หากไม่มีการ ปรับปรุง/ พัฒนากระบวนการ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 2 2) หากมีการปรับปรุง/ พฒันากระบวนการจากผลการประเมิน แต่ผลการดา เนินงานยงัไม่สา เร็จชดเจนั เป็ นรูปธรรมตามเป้าหมาย ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 3 3) หากมีการปรับปรุงกระบวนการและมีผลการด าเนินงานที่ส าเร็จ ชัดเจน เป็ นรูปธรรม (ผลการ ดา เนินงานสา เร็จเป็นไปตามเป้าหมายที่หลกัสูตรกา หนดไว)้ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 4 4) หากมีผลการด าเนินงานที่เป็ นแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ซ่ึงก่อนจะเป็นแนวปฏิบตัิที่ดีจะตอ้งมี การพิสูจน์แลว้วา่แนวปฏิบตัิน้นัสามารถทา ให้เกิดผลสา เร็จชดัเจนเป็นรูปธรรม คือแนวปฏิบตัิที่นา ไปดา เนินการ จริงแลว้ประสบผลสา เร็จตามตวัช้ีวดัจริง ชดัเจนเป็นรูปธรรม และคณะกรรมการเห็นตรงกนัวา่เป็นแนวปฏิบตัิที่ ทา ให้เกิดความส าเร็จไดจ้ริง และไดน้า แนวปฏิบตัิน้ีถ่ายทอดผา่นการจดัการความรู้(Knowledge Management: KM)ออกมาเป็ นแนวปฏิบัติที่ครบถ้วน เป็ นไปตามหลัก KM (มี 6ข้นัตอนในการจดัการความรู้)โดยนา เสนอ ผ่านระบบ RKMSของมหาวิทยาลยัรังสิต ซ่ึงหลกัสูตรอื่นสามารถนา แนวปฏิบตัิน้ีไปใช้เพื่อเป็นการยืนยนั ความส าเร็จ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 5 เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัหลกัสูตร ในทุกปีการศึกษาส านกังาน ประกนัคุณภาพจะดา เนินการติดตามใหทุ้กหลกัสูตรจดัทา แผนปรับปรุงการดา เนินงาน (Improvement Plan) โดย น าข้อเสนอแนะที่มาจากคณะกรรมการประเมินระดับหลักสูตร หรือคณะกรรมการอื่นๆ ที่ไดใ้หข้อ้เสนอแนะต่อ การบริหารจัดการหลักสูตร เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดท าแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ระดับหลักสูตร/ระดับ คณะวิชาของปี การศึกษาถัดไป ระบบและกลไกกำรกำ กับกำรด ำเนินงำนกำรประกันคุณภำพระดับคณะวิชำ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิ ดการ เรียนการสอน 33คณะวิชา ประกอบด้วย 14คณะ16 วิทยาลัย และ 3 สถาบัน โดยวิทยาลัยแพทยศาสตร์ประเมิน ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็ นเลิศ (EdPEx)และ 32คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน ประเมินตาม เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) มุ่งตรวจสอบและ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ประเมินผลการด าเนินงานให้เป็ นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา 5 ด้าน คือ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน ด้านการวิจัยและ นวัตกรรม ด้านการบริการวิชาการ ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็ นไทย และด้านการบริหารจัดการ โดยมีการ แต่งต้งั“คณะกรรมการประกนัคุณภาพการศึกษา ประจา คณะ” ซึ่ งมีบทบาทหน้าที่ในการกา กบัติดตาม และ พฒันาผลการดา เนินงานในภารกิจต่างๆ ของคณะใหเ้ป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวทิยาลยั รังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) และสอดคลอ้งกบัพนัธกิจ และแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลยั พฒันากระบวนการสร้างความรู้ความเขา้ใจและจิตส านึกร่วมกันในการประกันคุณภาพการศึกษา และจดั กิจกรรมที่เกี่ยวขอ้งกบัการประกนัคุณภาพการศึกษาให้กบับุคลากรและนกัศึกษาของคณะรวมท้งัจดัทา รายงาน การประเมินตนเองเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (SAR) ของคณะ กำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ระดับคณะวิชำ ด าเนินการในเดือนตุลาคม 2566 โดยท าการ ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ที่ สอดคลอ้งกบัมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561จ านวน 5 มาตรฐาน ดงัน้ี มาตรฐานที่ 1 ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 ด้านการวิจัยและนวัตกรรม มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริการวิชาการ มาตรฐานที่ 4 ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็ นไทย มาตรฐานที่ 5 ด้านการบริหารจัดการ - มีการแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัคณะวิชา มหาวิทยาลัยท าการ แต่งต้งับุคลากรภายในมหาวิทยาลยัเป็นคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะวิชา โดย คณะกรรมการประเมินจะต้องศึกษาท าความเข้าใจ “การปรับปรุงคา อธิบายตวับ่งช้ีและเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ การศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)” และตอ้งเขา้ร่วมอบรม “โครงการอบรมผู้ ประเมินระดับคณะวิชา ในการใช้งานระบบ Improvement Plan: IP(การใชง้านระบบรายงานประเมินเบ้ืองตน้ ออนไลน์ที่พฒันาข้ึนโดยส านกังานประกนัคุณภาพ) เพื่อเตรียมความพร้อมเป็ นผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน ระดับคณะวิชา โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาตวับ่งช้ีที่ปรากฏในแต่ละองค์ประกอบของเกณฑ์การ ประเมินระดับคณะวิชา หากคณะมีผลการด าเนินงานครบถ้วนและมีหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานในแต่ละขอ้ซ่ึงมีเกณฑก์ารพิจารณาผลการประเมินดงัน้ี - หากมีการด าเนินการ 1ข้อ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 1 - หากมีการด าเนินการ 2ข้อ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 2 - หากมีการด าเนินการ 3-4ข้อ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 3 - หากมีการด าเนินการ 5ข้อ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 4
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต - หากมีการด าเนินการ 6 ข้อ/ 6-7ข้อ ผลกำรประเมิน คือ ระดับคะแนน 5 ท้งัน้ีในการพิจารณาผลการดา เนินงานในรายตวับ่งช้ีของทุกองคป์ระกอบเนน้การประเมินตามหลกัฐาน เชิงประจกัษ์ที่เกิดจากการปฏิบตัิงานตามสภาพจริงของคณะวิชาเป็นส าคญัและเมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัคณะวิชา ในทุกปีการศึกษาส านักงานประกนัคุณภาพจะดา เนินการ ติดตามให้ทุกคณะวิชาจัดท าแผนปรับปรุงการด าเนินงาน (Improvement Plan) โดยน าข้อเสนอแนะที่มาจาก คณะกรรมการประเมินระดบัคณะวชิา หรือคณะกรรมการอื่นๆ ที่ไดใ้หข้อ้เสนอแนะต่อการบริหารงานของคณะ เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดท าแผนปฏิบัติการ (Action Plan)ระดับคณะวิชาของปี การศึกษาถัดไป รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สปค.1.1.1.02 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของหลักสูตร ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.1.7.02 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.1.7.05 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัสถาบนั มรส.สปค.อ5.5.1.7.01 แผนการด าเนินงานการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.3.1.02 คา สั่งแต่งต้งัอนุกรรมการประกนัคุณภาพ 2. มีคณะกรรมกำรก ำกับ ติดตำมกำรด ำเนินงำนให้เป็ นไปตำมระบบที่ก ำหนดในข้อ 1 และรำยงำนผลกำรติดตำม ให้กรรมกำรระดับสถำบันเพื่อพิจำรณำ ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลัยรังสิต ไดม้ีการแต่งต้งัคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษาภายในเพื่อ กา กบัติดตาม ดูแลการจดัการคุณภาพการศึกษาภายในทุกระดบัต้งัแต่ระดับหลักสูตร ระดับคณะวิชา ระดับ สถาบนัรวมถึงหน่วยงานสนบัสนุน และเพื่อให้การดา เนินงานดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในของ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงมีการประกาศค าสั่ง มหาวิทยาลัยรังสิ ต ที่ 444/ 2565 เรื่อง แต่งต้ังอนุกรรมการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา 2564 โดยใชค้า สั่งฯ ฉบบัน้ีเป็นตน้มาจนถึงปีการศึกษา 2565 โดยมีผูช้่วย อธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพเป็นเลขานุการคณะอนุกรรมการฯ ในปี การศึกษา 2565 มีการจัดประชุม คณะอนุกรรมการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อก ากับติดตาม ตรวจสอบ และพฒันาคุณภาพ การศึกษาของมหาวิทยาลัย จ านวน 6คร้ัง โดยในแต่ละรอบการประชุมจะมีวาระติดตามการด าเนินงาน และการ พฒันางานประกนัคุณภาพรวมถึงงานดา้นวิชาการที่มีผลสืบเนื่องกบัเกณฑ์การประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต สามารถสรุปประเด็นจากรายงานการประชุมคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ดงัน้ี (1) คร้ังที่1/2565 เป็นการรายงานขอ้มูลจากการเขา้ร่วมประชุมเชิงปฏิบตัิการ เรื่อง EdPEx facilitator training จัดโดยกองยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษา สป.อว. ซึ่งทาง สป.อว.ต้องการให้ทุก สถาบนัอุดมศึกษาที่เริ่มใช้ระบบบริหารคุณภาพการศึกษาเพื่อการดา เนินการที่เป็นเลิศส่งผู้แทนของสถาบัน จ านวน 2 ท่าน ที่เป็นระดบับริหารเขา้ร่วมอบรมเพื่อทา หนา้ที่เป็น EdPEx facilitator โดยผู้แทนของมหาวิทยาลัย รังสิตที่เขา้ร่วมอบรม ไดแ้ก่ (1)ผูช้่วยอธิการบดีฝ่ายประกนัคุณภาพ และ (2) รองคณบดีฝ่ ายแผนงานและการ ประกนัคุณภาพ วิทยาลยัทนัตแพทยศาสตร์เนื่องจากปัจจุบันมีแนวโน้มที่สองคณะวิชาของมหาวิทยาลัยรังสิต จะใช้เกณฑ์ EdPEx ในการบริหารงานคณะวชิา ไดแ้ก่วทิยาลยัทนัตแพทยศาสตร์และคณะพยาบาลศาสตร์,การ รายงานการพฒันาระบบฐานขอ้มูลเพื่อใช้ในงานประกนัคุณภาพ ซ่ึงในปีการศึกษา 2565คณะอนุกรรมการ ดา เนินงานประกนัคุณภาพ และส านกังานประกนัคุณภาพประสบความสา เร็จในการพฒันาระบบ Improvement Plan ซ่ึงเป็นระบบฐานขอ้มูลรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในฉบบัเบ้ืองตน้ฉบบัสมบูรณ์และ การรายงาน Improvement plan มหาวิทยาลยัรังสิต, การรายงานแผนการดา เนินงานระบบการประกนัคุณภาพ การศึกษาภายนอก (EQA) ที่ส านักงานประกันคุณภาพได้พฒันาข้ึนความคืบหน้าการกรอกข้อมูลผลการ ดา เนินงานการประกนัคุณภาพภายนอกของคณะวิชาในระบบ EQA และการรายงานความคืบหน้าการสอบวัด ระดับและการพัฒนาความรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษา โดยเทียบเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) (2)คร้ังที่2/2565 เป็ นการรายงานการดา เนินงานที่เกี่ยวขอ้งกบัเกณฑ์มาตรฐานหลกัสูตร พ.ศ.2565โดย สา นกังานมาตรฐานวชิาการจะมีการวางแผนการดา เนินงาน เพื่อรองรับหลกัสูตรเปิดใหม่และใชเ้กณฑม์าตรฐาน หลักสูตร พ.ศ. 2565 เช่น การปรับรูปแบบของ มคอ.2 ให้มีความเชื่อมโยงกบั Program Learning Outcome เป็ น ต้น, การรายงานผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยใน Webometrics รอบ July 2022, การรายงานการติดตามความ พร้อมของหน่วยงานสนับสนุนในการดา เนินงานตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหน่วยงาน สนับสนุน พ.ศ.2565 เพื่อเป็นแนวทางในการจดัอบรม/สัมมนาสร้างความรู้ความเขา้ใจให้กบัหน่วยงานต่างๆ, การรายงานขอ้มูลคณะพยาบาลศาสตร์กบัการใช้ระบบ EdPEx ในการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในระดบั คณะ,การรายงานการเลือกหน่วยงานที่ทา หน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่มหาวิทยาลยัรังสิต และการ รายงานการจัดท ามาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) (3) คร้ังที่ 3/2565 เป็ นการรายงานผลการ Focus Group แบบรายงานผลการด าเนินงานการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสี่ของหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ง เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินฯ และความคืบหน้าการ จัดท ามาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต (4) คร้ังที่ 4/2565 เป็นการรายงานการลงนามในความร่วมมือเครือข่ายประกันคุณภาพการศึกษา นานาชาติ (Institutional Quality Assurance Network: IQAN) ซ่ึงสถาบันในเครือข่าย IQAN ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยรังสิต, มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟิ ก, วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา และมหาวิทยาลัย นานาชาติแสตมฟอร์ด, การรายงานการพิจารณาตรวจทาน (ร่าง) รายงาน PA2-2และแผนดา เนินการต่างๆ เพื่อ เตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ จาก สมศ. และการรายงานแผนการด าเนินงานการ ประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวทิยาลยัรังสิต ปีการศึกษา 2565 (5)คร้ังที่5/2565 เป็นการรายงานแผนการจดัโครงการอบรมอาจารยผ์ูส้อน ที่เกี่ยวขอ้งกบัการประเมิน การสอน ตาม KR1.4.2และ KR1.4.3 (แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569) และการ เตรียมความพร้อมของอาจารยผ์ูร้ับผิดชอบหลกัสูตรที่สอดคล้องกบัเกณฑ์มาตรฐานหลกัสูตร พ.ศ.2565และ โครงการเตรียมความพร้อมอาจารยใ์หม่, การรายงานแผนการจดัโครงการประชุมช้ีแจงทา ความเขา้ใจการ ด าเนินงานการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) ปี การศึกษา 2565 ประกอบด้วยระบบการจัดการ ความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต (RKMS), การจัดการความรู้ (KM)กบัการประกนัคุณภาพ (QA)และการนา ส่งผลงาน การจัดการความรู้ ประจ าปี การศึกษา 2565และการรายงานผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยใน Webometrics รอบ January 2023 ที่มีการกา หนดค่าเป้าหมายไวใ้นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 KR 5.1.1 มหาวิทยาลัยรังสิตมีพัฒนาการการจัดอันดับมหาวิทยาลัย, การรายงานความคืบหน้าของการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสี่จาก สมศ. เกี่ยวกบัแผนการ Upload รายงาน PA2-1, PA2-2, Common Data Set และ รายการหลักฐาน ลงในระบบ Automated QA ภายในวันที่ 31ธันวาคม พ.ศ. 2565 ตามที่สมศ.กา หนด, การ รายงานแนวทางการพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2566 (ตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตร พ.ศ.2565และอื่นๆ ที่เกี่ยวขอ้ง โดยใหค้วามสา คญักบัการเชื่อมโยงระหวา่งตวับ่งช้ีการประกนัคุณภาพ การศึกษาภายในกบั Common Data Set ของ สป.อว.,รายละเอียดประเด็นตวับ่งช้ีต่างๆ จะตอ้งสามารถตอบการ ด าเนินงานตาม KR ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569และการจัดท าวิดิทัศน์ เรื่องความรู้การประกนัคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2565 (6)คร้ังที่6/2565 เป็นการรายงานแนวทางการพฒันาคุณภาพอาจารยเ์พื่อส่งเสริมการบรรลุผลลพัธ์การ เรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2566, การรายงานการจัดอบรมแนวทางการเขียนรายงาน มคอ. 7 ระดับหลักสูตร และรายงาน SAR ระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 ในรูปแบบ Focus Group, การรายงานเมนู ใหม่บนเวบ็ ไซต์ส านกังานประกนัคุณภาพ (เมนู“การดา เนินงานดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษา” และ เมนู “งานด้านการประเมินการเรียนการสอนอาจารย์โดยนักศึกษา” การรายงานการจดัอบรมหลกัสูตรที่ครบกา หนด ต้องปรับปรุง ปี การศึกษา 2567 เพื่อใช้ในปี การศึกษา 2568, การรายงานผลประเมินการสอน ปี การศึกษา 2565 และความคืบหน้าระบบ EV และ Schedule 2566โดยสาธิตการเข้าใช้งานระบบ และรายงานสรุปผลการประเมิน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต การสอนในภาพรวมท้งัระดบัสถาบนัรวมท้งัผลการประเมินการสอนของอาจารย์ในดา้น Active Learningและ การรายงานความคืบหน้าระบบ IP (Improvement Plan) และแผนการจดัอบรมให้กบัคณะกรรมการประเมิน ระดบัหลกัสูตรและระดบัคณะวิชา, การรายงานการดา เนินการการจดักลุ่มสถาบนัอุดมศึกษาตามกฎกระทรวง การจดักลุ่มสถาบนัอุดมศึกษา พ.ศ. 2564 สู่การปฏิบตัิ,การรายงานการติดตามการดา เนินงานตวับ่งช้ีต่างๆ ใน Webometricsของหน่วยงานผูร้ับผิดชอบร่วมตามตวัช้ีวดั 3 ดา้น ไดแ้ก่ ด้าน Impact ฝ่ ายสื่อสารองค์กรในการ ปรับปรุงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล Website ทวั่ท้งัองคก์ร, ดา้น Openness ส านกังานประกนัคุณภาพมีกลยุทธ์ ร่วมกบับณัฑิตวิทยาลยัในการประชาสัมพนัธ์ให้นกัศึกษาบณัฑิตศึกษา สมัครสมาชิก Google Scholar หรือใน การปฐมนิเทศนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ของส านักหอสมุดที่จัดให้มีการปฐมนิเทศการใช้ระบบฐานข้อมูล ต่างๆ ควรมีการขอความร่วมมือให้นกัศึกษา Register ใน Google Scholarและด้าน Excellence สถาบันวิจัยใน การพฒันาแนวทางการเพิ่มจา นวนบทความวิชาการ และบทความวิจยัที่ตีพิมพใ์นฐานขอ้มูลระดบันานาชาติ, การรายงานการนา เสนอร่างมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2566 และการรายงานการ ดา เนินการที่เกี่ยวขอ้งกบัการสอบวดัระดบัความรู้ภาษาองักฤษของนกัศึกษา ในปี การศึกษา 2566 นอกจากน้ีมหาวิทยาลยัรังสิต ยงัมีคณะกรรมการชุดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวขอ้งกบัการด าเนินงานการ ประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัหลกัสูตรและระดบัคณะวชิา ดงัน้ี 1. คณะกรรมกำรวิชำกำร มหาวิทยาลยัไดม้ีคา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการวิชาการ ประกอบดว้ยคณบดี/ รองคณบดีหรือผูแ้ทนของแต่ละวิทยาลยั/คณะ/สถาบนัและหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ง ลงนามโดยอธิการบดีซึ่ง กา กบัดูแลโดยรองอธิการบดีฝ่ายวชิาการ และสา นกังานมาตรฐานวิชาการ เพื่อให้การบริหารและการพัฒนางาน วิชาการของมหาวิทยาลยัเป็นไปดว้ยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ จึงกา หนดให้มีการประชุมเดือนละ 1 คร้ัง เพื่อเป็นการก ากับติดตามการด าเนินงานด้านมาตรฐานหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบัอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF), เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ.2558 และเป็ นไปตามเกณฑ์ของ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในปี การศึกษา 2565 มีหลักสูตรที่ด าเนินการปรับปรุ งเพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ของกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จ านวน 22 หลักสูตร 29 สาขาวชิาแบ่งเป็น ระดับปริญญาตรี จ านวน 9 หลักสูตร 12 สาขาวิชา ระดับปริญญาโท จ านวน 9 หลักสูตร 11 สาขาวิชา ระดับปริญญาเอก จ านวน 4 หลักสูตร 6 สาขาวิชา ท้งัน้ีทุกหลกัสูตรที่ดา เนินการปรับปรุงได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลยัเรียบร้อยแลว้ โดย กระบวนการกา กบัติดตามการดา เนินงานด้านมาตรฐานหลกัสูตรน้ันน ามาสู่การประเมินคุณภาพการศึกษา ภายในระดบัหลกัสูตร ตามคู่มือมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 2565) ตวับ่งช้ีที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 2. คณะกรรมกำรกำรจัดกำรควำมรู้ซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิภายในมหาวิทยาลัย มีหน้าที่ในการ จัดท าแผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565, พัฒนาระบบการจัดการความรู้ (Rangsit Knowledge Management System: RKMS)และกา หนดแนวทางการจดัการความรู้ของมหาวทิยาลยั มหาวิทยาลัย แบ่งการจดัการความรู้ออกเป็น 5 ด้านตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 (1) สร้าง ความเป็ นเลิศทางการศึกษาและการผลิตบัณฑิต (Excellence in Education) (2)สร้างนวัตกรรมงานวิจัย (Innovative Research and Development) (3) การบริหารจัดการสู่องค์กรอัจฉริยะ (Smart Organization) (4) เสริมสร้างและพัฒนาความเป็ นสากล (Internationalization) (5) การบริหารภาพลักษณ์และการสร้างความมี ชื่อเสียง (Image and Reputation Management) ซึ่งในการประชุมคณะกรรมการการจัดการความรู้มหาวิทยาลัย รังสิต มีเป้าหมายเพื่อขับเคลื่อนการด าเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย ดงัน้ี(1)การกา หนดความรู้หลกัที่จา เป็นหรือ สา คญัต่องานหรือกิจกรรมของกลุ่มหรือองคก์ร (2) การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ (3) การปรับปรุง ดัดแปลง หรือ สร้างความรู้บางส่วนให้เหมาะต่อการใชง้านของตน (4)การประยุกตใ์ชค้วามรู้ในกิจการงานของตน (5)การน า ประสบการณ์จากการท างาน และการประยกุตใ์ชค้วามรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และบนัทึกไวอ้ยา่งเป็นระบบ และ เหมาะต่อการใช้งาน นอกจากน้นัคณะวิชาต่างๆ ยงัมีการจดัต้งัคณะกรรมการการจดัการความรู้ของแต่ละคณะ เพื่อเป็ นกลไกขับเคลื่อนการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ภายในคณะวิชา โดยกระบวนการกา กบัติดตามการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้น้ัน นา มาสู่การประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในระดับคณะวิชา ตามคู่มือมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2565) ตวับ่งช้ีที่5.1การบริหารของคณะเพื่อการกา กบัติดตามผลลพัธ์ตามพนัธกิจกลุ่มสถาบนั และเอกลักษณ์ของคณะ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อ 5คน้หาแนวปฏิบตัิที่ดีจากความรู้ท้งัที่มีอยูใ่นตวับุคคล ทกัษะของ ผมู้ีประสบการณ์ตรง และแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ตามประเด็นความรู้อยา่งนอ้ยครอบคลุมพนัธกิจดา้นการผลิตบณัฑิต และด้านการวิจยัจดัเก็บอย่างเป็นระบบ โดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลกัษณ์อกษรและน ามาปรับใช้ในการ ั ปฏิบัติงานจริง รวมถึงเกณฑ์การประเมินฯ ระดบัสถาบนัตวับ่งช้ีที่5.1 เกณฑ์มาตรฐาน ข้อ 5การกา กบัติดตาม ส่งเสริมสนบัสนุนใหทุ้กหน่วยงานในสถาบนัมีการดา เนินการจดัการความรู้ตามระบบ 3. คณะกรรมกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน ระดับหลักสูตร และระดับคณะวิชำ ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิภายในมหาวิทยาลัยที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพนัธ์กบัสาขาวชิาที่ขอรับการประเมินตาม ISCED Fields of Education and Training 2013 (ISCED-F2013) และผา่นการเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนั คุณภาพการศึกษา มีหน้าที่ด าเนินการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ตามกรอบเวลาที่กา หนด
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สปค.อ1.1.1.01 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร มรส.สปค.อ5.5.1.7.05 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัสถาบนั มรส.สปค.อ5.5.2.01 คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัคณะวชิา ประจ าปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.3.1.02 คา สั่งแต่งต้งัคณะอนุกรรมการประกนัคุณภาพ มรส.สปค.อ5.5.3.1.03 คู่มือมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวทิยาลยัรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) 3. มีกำรจัดสรรทรัพยำกรเพื่อสนับสนุนกำรด ำเนินงำนของหลักสูตรและคณะให้เกิดผลตำมองค์ประกอบกำร ประกนัคุณภำพหลกัสูตรและคณะ ผลกำรด ำเนินงำน มหาวทิยาลยัรังสิต มีการจดัสรรทรัพยากรในดา้นต่างๆ เพื่อสนบัสนุนการดา เนินงานการประกนัคุณภาพ การศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรและคณะวิชา (วิทยาลยั/คณะ/สถาบนั ) ท้งัในดา้นทรัพยากรบุคคล งบประมาณ และทรัพยากรเพื่อการด าเนินงานและสนับสนุนการเรียนรู้งานดา้นประกนัคุณภาพการศึกษา เพื่อให้เกิดผลตาม องคป์ระกอบการประกนัคุณภาพหลกัสูตรและคณะ ประกอบด้วย 1. ทรัพยำกรบุคคล มหาวิทยาลัยสนับสนุนให้คณาจารย์ภายในมหาวิทยาลัยได้มีส่วนร่วมในการ รับผิดชอบงานด้านประกนัคุณภาพการศึกษา ไดจ้ดัทา คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน ระดับหลักสูตร และระดบัคณะ ที่ผ่านการเห็นชอบจากที่ประชุมคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนั คุณภาพการศึกษา โดยมีคณาจารย์ที่เป็นตัวแทนจากทุกคณะเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ เพื่อรับทราบการ ดา เนินงานดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกนัเพื่อกา กบัติดตามการประกนัคุณภาพ ระดับหลักสูตรให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 ระดับคณะ (วิทยาลัย/คณะ/ สถาบัน) ให้เป็ นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) โดย มีส านกังานประกนัคุณภาพทา หน้าที่ในการประสานงาน กา กบัติดตาม ส่งเสริมและสนบัสนุนการดา เนินงาน ภายใต้การควบคุมดูแลของคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพ และผชู้่วยอธิการบดีฝ่ายประกนัคุณภาพ ในปี การศึกษา 2565คณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพและส านักงานประกนัคุณภาพ ได้ร่วมกนั พัฒนา ปรับปรุง Template รายงาน มคอ.7 ที่มีการเพิ่มคา อธิบายแนวทางการรายงานในทุกตวับ่งช้ีเพื่อสร้าง ความเขา้ใจและเป็นแนวทางการเขียนรายงานใหก้บัระดบัหลกัสูตร และในส่วนของผลการประเมิน มีการจดัทา
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต Check listของคะแนน 4.00และการไปถึงระดับคะแนน 5.00 ที่ต้องมีการด าเนินการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) แนวปฏิบตัิที่ประสบความสา เร็จและถ่ายทอดออกมาเป็นลายลกัษณ์อกัษรผา่นระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยและมีหลักฐานที่สามารถยืนยันความส าเร็จได้ 2. กำรสนับสนุนงบประมำณ มหาวิทยาลัยได้มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อใช้ในการด าเนินงานด้าน การประกนัคุณภาพการศึกษาที่เพียงพอและเหมาะสมเป็นประจา ทุกปีและผ่านการอนุมตัิจากอธิการบดีโดย สามารถนา ไปบริหารจดัการเพื่อการดา เนินงานในดา้นต่างๆ รวมถึงการพฒันาระบบงานประกนัคุณภาพของ มหาวิทยาลยัให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ทา ให้สามารถขบัเคลื่อนงานดา้นประกนัคุณภาพของมหาวิทยาลยัไดอ้ย่าง คล่องตวัมีการสนบัสนุนงบประมาณเพื่อใช้ในการจดัอบรม สัมมนา ท้งัภายในมหาวิทยาลยัและเครือข่ายการ ประกนัคุณภาพการศึกษา รวมท้งัสนบัสนุนโครงการพฒันาระบบเพื่อใช้ในการประกนัคุณภาพการศึกษาของ มหาวทิยาลยัท้งัน้ีงบประมาณที่ไดร้ับการสนบัสนุนจากมหาวทิยาลยัจะมีการรายงานขอ้มูลในระบบงบประมาณ ของส านักงานงบประมาณ ทุกปี การศึกษา 3. ทรัพยำกรเพื่อกำรด ำเนินงำนและสนับสนุนกำรเรียนรู้งำนด้ำนประกันคุณภำพกำรศึกษำ ในปี การศึกษา 2565 ส านกังานประกนัคุณภาพ ไดพ้ฒันาระบบฐานขอ้มูลและมีการปรับปรุงขอ้มูลสารสนเทศเพื่อ อ านวยความสะดวกในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดบัหลกัสูตรและระดบัคณะวชิา ดงัน้ี -การพัฒนาระบบ IP (Improvement Plan) ส าเร็จและน ามาใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 โดยระบบสามารถน าเข้ารายงาน มคอ.7, รายงาน SAR และผู้ ประเมินสามารถอ่านและกรอกรายงานผลประเมิน รวมถึงแกไ้ขรายงานการตรวจประเมินเบ้ืองตน้ผา่นระบบฯ ได้นอกจากน้ียงัสามารถรวบรวมรายงานการตรวจประเมินเบ้ืองตน้ที่เป็นฉบบั Default ก่อนวนัตรวจประเมิน โดยจุดเด่นของระบบ IP(Improvement Plan)คือ (1) มีการแยกการประเมินเป็นระบบอยา่งชดัเจน ระหวา่งหลกัสูตรกบัคณะวชิา (2) ผูป้ระเมินระดบัหลกัสูตร สามารถประเมินหลกัสูตรเบ้ืองตน้ผา่นระบบ Online โดยเข้า ผา่น Link ที่ส่งใหอ้ตัโนมตัิจาก Email ของระบบ (3) ตวับ่งช้ีเชิงผลลพัธ์ระดบัหลกัสูตร ตวับ่งช้ีที่2.2, 3.3และ 4.2 ระบบช่วยคา นวณผลลพัธ์ และค่าร้อยละใหอ้ตัโนมตัิ (4) ระบบช่วยสร้างรายงานผูป้ระเมินฉบบัสมบูรณ์ให้อตัโนมตัิ(ค านวณคะแนน IPO ให้ อัตโนมัติ) (5) ระบบช่วยสร้าง Improvement Plan ระดบัหลกัสูตรระดบัคณะวชิา เบ้ืองตน้ ใหอ้ตัโนมตัิ (6) ระบบช่วยสร้างรายงานผลการด าเนินงานตาม Key Results (KR) ที่เกี่ยวข้องกับ ยุทธศาสตร์ที่1 ที่ส านกังานประกนัคุณภาพรับผิดชอบ ที่สามารถใช้เป็นรายงานให้กบัส านกังานวางแผนและ