รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต พัฒนาในการสรุปผลการด าเนินงานของมหาวิทยาลัยตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569และใช้ประกอบการประเมิน Post Auditระดบัหลกัสูตรตามเกณฑใ์หม่ - พฒันาสื่อออนไลน์เพื่อใชใ้นการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในส าหรับทุกกลุ่ม (อาจารย์นกัศึกษา และผู้ประเมิน) ผ่านช่อง YouTube ส านักงานประกันคุณภาพ มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาสื่อความรู้ (ในรูปแบบออนไลน์) โดยในปี การศึกษา 2565 มีการจดัทา วิดิทศัน์เรื่องความรู้การประกนัคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2565 ดงัน้ี (1) การจัดท าวีดิทัศน์ “การถ่ายทอดความรู้และทกัษะการประกนัคุณภาพแก่นกัศึกษา (QA for Fun) ประจ าปี การศึกษา 2565 เพื่อให้เป็ นไปตามกรอบมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ที่ให้ความส าคญักบัการที่นกัศึกษาเขา้มามีส่วนร่วมในการประกนัคุณภาพการศึกษา และส่งเสริมคุณลกัษณะบณัฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติโดยมีวิทยากร บรรยายในเวอร์ชนั่ภาษาไทยและภาษาองักฤษ และเผยแพร่วดีิทศัน์พร้อมตวัอยา่งแบบประเมินฯ ฉบบัภาษาไทย และภาษาอังกฤษที่ Website, YouTube ส านกังานประกนัคุณภาพ และประชาสัมพนัธ์ผ่านทางอีเมลให้กบัทุก คณะวิชา (2) การจดัทา วีดิทศัน์เรื่องความแตกต่างของ “คู่มือประกนัคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยั รังสิต พ.ศ.2565” และ “คู่มือประกนัคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) โดยมีประธานคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกนัคุณภาพ มหาวิทยาลยัรังสิต เป็นวิทยากรบรรยายและทา การ เผยแพร่วดีิทศัน์ที่Website, YouTube สา นกังานประกนัคุณภาพ และประชาสัมพนัธ์ผา่นอีเมล@rsu.ac.th -การปรับปรุงเมนูใหม่บนเวบ็ ไซตส์ านกังานประกนัคุณภาพที่ดา เนินการเพิ่มเติมในปีการศึกษา 2565 ดงัน้ี (1) เมนูการดา เนินงานดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษา โดยมีการแจ้งปฏิทินการด าเนินงาน ระดบัหลกัสูตรระดบัคณะวชิาและระดบัหน่วยงานสนบัสนุน (2) เมนูงานด้านการประเมินการเรี ยนการสอนอาจารย์โดยนักศึกษา โดยมีปฏิทินการ ด าเนินงาน, Link เขา้สู่ระบบประเมินการเรียนการสอน, Link ระบบรายงานประเมินการสอน EV Report และ การประชาสัมพันธ์ Lineกลุ่ม “RSU ประเมินการสอน” รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สปค.อ5.5.3.1.02 คา สั่งแต่งต้งัคณะอนุกรรมการประกนัคุณภาพ มรส.สปค.อ5.5.3.3.01 โครงการอบรม “แนวทางการเขียนรายงาน มคอ.7 ระดับหลักสูตร และ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร รายงาน SAR ระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 ในรูปแบบ Focus Group” มรส.สปค.อ5.5.3.3.02 วีดิทัศน์ให้ความรู้ การใช้งานระบบ CHE QA ONLINE ระดับหลักสูตร มรส.สปค.อ5.5.3.3.03 วีดิทัศน์ให้ความรู้ การใช้งานระบบ CHE QA ONLINE ระดับคณะ มรส.สปค.อ5.5.3.3.04 วีดิทัศน์ “การใช้งานระบบ IP (Improvement plan) ส าหรับ “ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ มรส.สปค.อ5.5.3.3.05 วีดิทัศน์ “การใช้งานระบบ IP (Improvement plan) ส าหรับ “ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร” มรส.สปค.อ5.5.3.3.06 วีดิทัศน์ “การใช้งานระบบฐานเอกสารกลาง (Document Base System: DBS) ระดบัหน่วยงานสนบัสนุนและหน่วยงานกลางระดบัสถาบนั” มรส.สปค.อ5.5.3.3.07 วีดิทัศน์ “การใช้งานระบบฐานเอกสารกลาง (Document Base System: DBS) คณะวิชา” มรส.สปค.อ5.5.3.3.08 วีดิทัศน์ “การใช้งานระบบฐานเอกสารกลาง (Document Base System: DBS) ระดับหลักสูตร” 4. น ำผลกำรประเมินคุณภำพทุกหลกัสูตรและทุกคณะทผี่่ำนกำรพจิำรณำของกรรมกำรระดับสถำบันเสนอสภำ สถำบันเพื่อพิจำรณำ ผลกำรด ำเนินงำน ในการดา เนินงานดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยรังสิต น้นัเมื่อเสร็จสิ้นการ ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในท้งัระดบัหลกัสูตร ระดบัคณะวิชา และระดบัสถาบนั ประจา ปีการศึกษา 2565 ตามกรอบการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในที่มหาวิทยาลยักา หนด และผ่านความเห็นชอบจากที่ ประชุมคณะอนุกรรมการดา เนินงานประกันคุณภาพการศึกษาเป็นที่เรียบร้อยแล้วน้ัน ผูช้่วยอธิการบดีฝ่าย ประกนัคุณภาพ ได้น าเสนอผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 เพื่อนา ไปสู่การ จัดท าแผนปรับปรุงการด าเนินงาน (Improvement Plan) เพื่อพิจารณาต่อสภามหาวิทยาลยั ในการประชุมสภา มหาวิทยาลัยคร้ังที่4/ 2566 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.2566โดยมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัหลกัสูตรและระดบัคณะ ดงัน้ี ระดับหลกัสูตร ในปี การศึกษา 2565 มหาวทิยาลยัรังสิต เปิดการเรียนการสอนท้งัสิ้น 146 หลกัสูตรแบ่ง ออกเป็ นหลักสูตรที่ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) จ านวน 138 หลักสูตร (ระดับปริญญาตรี 84 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 39 หลักสูตร ระดับปริญญา
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต เอก 15 หลักสูตร) หลักสูตรที่รับรองโดยเกณฑ์มาตรฐานสากล จ านวน 1 หลักสูตรคือ หลักสูตรแพทยศาสตร บัณ ฑิ ต วิ ท ย า ลัย แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ ผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ตามเกณฑ์ TMC.WFME.BME.Standards (2017) (World Federation for Medical Education, Basic Medical Education: WFME) และหลักสูตรที่รับรองโดยสภาวิชาชีพ จ านวน 7 หลักสูตร โดยการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ดา เนินการในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือน สิงหาคม พ.ศ.2566และมีคะแนนเฉลยี่ผลกำรประเมินระดับหลกัสูตร เท่ำกับ 3.59 ระดับคณะวิชำ (คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน) ประกอบด้วย 14คณะ16 วิทยาลัย และ 3 สถาบัน โดยวิทยาลัย แพทยศาสตร์ประเมินตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็ นเลิศ (EdPEx)และ 32คณะ/วิทยาลัย/ สถาบัน ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) โดยการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ ด าเนินการในเดือนตุลาคม พ.ศ.2566 และ มีคะแนนเฉลี่ยผลกำรประเมิน ระดับคณะ เท่ำกับ 4.44 ระดับสถำบัน เป็ นการรายงานผลการด าเนินงานที่ประกอบด้วย ผลการด าเนินงานระดับหลักสูตร ระดับ คณะ และเพิ่มเติมตวับ่งช้ีที่ดา เนินการในระดบัสถาบนัที่กา หนดโดยส านกังานปลดักระทรวงการอุดมศึกษา วทิยาศาสตร์วจิยัและนวตักรรม (สป.อว.) และเพิ่มเติมผลการดา เนินงานตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 จ านวน 5 ด้าน คือด้านผลลัพธ์ผู้เรียน ด้านการวิจัยและนวัตกรรม ด้านการบริการวิชาการ ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทยและดา้นการบริหารจดัการ โดยส่วนหน่ึงเป็นการสะทอ้นผลการดา เนินงานที่เกิดจากคณะ และอีกส่วนหน่ึงเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วยงานต่างๆ ดา เนินการเพื่อบรรลุผลตามตามเป้าหมายที่ กา หนดใน Key Result (KR)ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 และสอดคล้อง กบันโยบายและพนัธกิจของมหาวทิยาลยั โดยการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดบัสถาบนัดา เนินการระหว่างวนัที่23 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ท้งัน้ีส านกังานประกนัคุณภาพมีการรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัหลกัสูตร ระดับคณะ ประจ าปี การศึกษา 2565 ต่อที่ประชุมคณะอนุกรรมการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต คร้ังที่2/2566 เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.2566 เพื่อสรุปผลการดา เนินงานการประกนัคุณภาพ การศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี การศึกษา2565 เพื่อให้ที่ประชุมรับทราบและเตรียมความพร้อมรับการ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบัสถาบนัต่อไป
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สปค.1.1.1.02 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของหลักสูตร ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.1.7.02 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะวิชา ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.3.4.01 บันทึกข้อความน าเสนอวาระเพื่อพิจารณา เรื่อง การน าผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ระดับคณะวิชา ประจ าปี การศึกษา 2565 เพื่อ ปรับปรุงผลการด าเนินงานตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการการประเมินฯ บรรจุ เข้าวาระการประชุมคณะกรรมการการสภา มหาวิทยาลัยรังสิต 5. น ำผลกำรประเมินและข้อเสนอแนะจำกสภำสถำบันมำปรับปรุงหลักสูตร และกำรด ำเนินงำนของคณะให้มี คุณภำพดีขึน้อย่ำงต่อเนื่อง ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลัยรังสิต ด าเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ระดับคณะ ระดับ หน่วยงาน และระดับสถาบนั ประจา ปีการศึกษา 2565 ตามกรอบการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในที่ มหาวทิยาลยักา หนด - ระดบัหลกัสูตร ดา เนินการต้งัแต่วนัที่3กรกฎาคม ถึงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2566 - ระดบัคณะวชิา ดา เนินการต้งัแต่วนัที่2ถึงวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2566 - ระดบัหน่วยงานสนบัสนุน ดา เนินการต้งัแต่วนัที่18 ตุลาคม ถึงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2566 - ระดบัสถาบนัดา เนินการระหวา่งวนัที่23 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 จากกรอบการดา เนินงานดงักล่าว ส านกังานประกนัคุณภาพมีการสรุปผลการดา เนินงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2565 เสนอต่อที่ประชุมคณะอนุกรรมการด าเนินงาน ประกนัคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต คร้ังที่2/2566 เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.2566และน าเสนอเพื่อ พิจารณาต่อสภามหาวิทยาลยั ในการประชุมสภามหาวิทยาลยัคร้ังที่4/ 2566 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.2566 จากน้นัจะนา ขอ้เสนอแนะที่ไดจ้ากคณะกรรมการประเมินและคณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั มาด าเนินการ จัดท าแผนปรับปรุงการด าเนินงาน (Improvement Plan) ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมิน เพื่อเป็ น แนวทางในการจัดท าแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ระดับหลักสูตรและระดับคณะของปี การศึกษา 2566 ต่อไป
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สปค.อ5.5.1.7.01 แผนการดา เนินงานการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565 มรส.สปค.อ5.5.3.4.01 บันทึกข้อความน าเสนอวาระเพื่อพิจารณา เรื่อง การน าผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ระดับคณะวิชา ประจ าปี การศึกษา 2565 เพื่อ ปรับปรุงผลการด าเนินงานตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการการประเมินฯ บรรจุ เข้าวาระการประชุมคณะกรรมการการสภา มหาวิทยาลัยรังสิต มรส.สปค.อ5.5.3.5.01 บันทึกข้อความแผนการปรับปรุงการด าเนินงาน (Improvement Plan) และรายงาน ความก้าวหน้าผลการด าเนินงานตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมิน คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะและหลักสูตร 6. มีผลกำรประเมินคุณภำพทุกหลกัสูตรผ่ำนองค์ประกอบที่1กำรก ำกับมำตรฐำน ผลกำรด ำเนินงำน ปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต มีการดา เนินงานดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ในการ ตรวจสอบคุณภาพและติดตามความก้าวหน้าในระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) องค์ประกอบที่ 1การกา กบัมาตรฐาน ตวับ่งช้ีที่1.1การ บริหารจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และ บัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 โดยในปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดการเรียนการสอนท้งัสิ้น 146 หลักสูตร แบ่งออกเป็นหลกัสูตรที่ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2565) จ านวน 138 หลักสูตร (ระดับปริญญาตรี 84 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 39 หลักสูตร ระดับ ปริญญาเอก 15 หลักสูตร) หลักสูตรที่รับรองโดยเกณฑ์มาตรฐานสากล จ านวน 1 หลักสูตร คือ หลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยแพทยศาสตร์ผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ตามเกณฑ์ TMC.WFME.BME.Standards (2017) (World Federation for Medical Education, Basic Medical Education: WFME) โดยมีระยะเวลาการรับรองถึงวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.2567และหลักสูตรที่รับรองโดยสภาวิชาชีพ จ านวน 7 หลกัสูตรไดแ้ก่ 1. หลักสูตรทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตรทวิภาษา) (ได้รับการรับรองจากหลักสูตรปรับปรุง ปี 2565-2572) 2. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม (ได้รับการรับรอง ปี2562-2567) 3. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ (ได้รับการรับรองปี2562-2567)
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบ าบัด (ได้รับการรับรอง ปี2564-2568) 5. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ (ได้รับการรับรอง ปี2565-2569) 6. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ (2.5 ปี ) (ได้รับการรับรอง ปี 2565-2569) 7. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์(ได้รับการรับรอง ปี2565-2569) จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร โดยภาพรวมพบว่ามีผลการประเมิน โดยรวม เท่ากบั 3.59อยูใ่นระดบัดีโดยในปี การศึกษา 2565 ทุกหลักสูตรที่รับการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) จ านวน 138 หลกัสูตรผา่นเกณฑ์การ กา กบัมาตรฐาน ตวับ่งช้ีที่1.1การบริหารการจัดการหลักสูตร ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร คิดเป็ นร้อยละ 100 ท้งัน้ีมหาวิทยาลยัได้มีการกา กับติดตามการบริหารจดัการหลักสูตรส าหรับหลักสูตรที่รับรองโดย สภาวิชาชีพ และหลกัสูตรที่รับรองโดยเกณฑม์าตรฐานสากล ดงัน้ี 1. หลกัสูตรถูกยกเวน้การตรวจเยี่ยมจากผูป้ระเมินฯ แต่ตอ้งรายงานผลการดา เนินการของหลกัสูตร (มคอ.7) และต้อง Upload มคอ.7 ข้ึนระบบ TQF ภายใน 60 วนัหลงัสิ้นสุดปีการศึกษาเป็นประจา ทุกปีการศึกษา และส่งรายงานผลการดา เนินการของหลักสูตร (มคอ.7) ใหค้ณะวชิาและสา นกังานประกนัคุณภาพ 2. หลักสูตรต้องกรอกข้อมูลผลการด าเนินงานตามองค์ประกอบที่ 1 และขอ้มูลพ้ืนฐาน Common Data Set ผา่นระบบ CHE QA ONLINE ทุกปี การศึกษา 3. หลักสูตรต้องแจ้งผลการตรวจรับรองหลักสูตรตามระบบสากลหรือตามระบบสภาวิชาชีพตามการ ปรับปรุงหลกัสูตรใหส้า นกังานประกนัคุณภาพทราบทุกคร้ัง 4. เมื่อมีการปรับปรุงหลักสูตรจะต้องส่งเอกสารผลลพัธ์การเรียนรู้ตามหลกัสูตรของบณัฑิตแยกตาม หลกัสูตรใหส้า นกังานประกนัคุณภาพ รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สปค.1.1.1.02 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของหลักสูตร ปี การศึกษา 2565 มรส.สปค.1.1.1.04 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม (รายงาน SAR ระดับมหาวิทยาลัย ภาคผนวก ข.)
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ 5.3 เป้ำหมำย ผลด ำเนินงำน ผลกำรประเมิน บรรลุเป้ำหมำย 6 ข้อ 6 ข้อ 5.00 คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 5 กำรบริหำรจัดกำร รำยงำนผลกำรวเิครำะห์จุดเด่น และข้อเสนอแนะเพื่อกำรพฒันำ (โดยรวมขององค์ประกอบที่ 5) จุดเด่น 1. มหาวิทยาลยัรังสิตมีการใช้หลกัการกา กบัดูแลกิจการที่ดีและการประกนัคุณภาพการศึกษาในการ บริหารจดัการภารกิจของสถาบนั ในดา้นต่างๆ ไดอ้ยา่งชดัเจน ซ่ึงนอกจากการใชแ้ผนยทุธศาสตร์และแผนปฏิบตัิ การที่มีอย่างครบถ้วน เป็นกลไกการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่เป้าหมายการบรรลุตัวช้ีวัดความส าเร็จที่มี ประสิทธิภาพภายใตข้อ้จา กดัแล้ว ยงัสามารถดึงความร่วมมือจากหน่วยงานและบุคลากรในการใช้ทรัพยากร อยา่งประหยดัก่อให้เกิดความคุม้ค่าเมื่อเปรียบเทียบกบัผลการดา เนินงานและการลงทุน แมว้า่จะยงัมีภารกิจใน บางส่วนซ่ึงเป็นส่วนนอ้ย ที่ยังคงต้องปรับปรุงประสิทธิภาพเพื่อใหเ้กิดประสิทธิผลตามเป้าหมายในปีต่อไป 2.พนัธกิจดา้นการจดัการความรู้มีการแต่งต้งัคณะกรรมการการจดัการความรู้และกา หนดแนวทางการ ด าเนินงานประจ าปีที่ชดัเจนสอดคลอ้งกบัการขบัเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลยัและมีการพิจารณา ผลงานรางวลัจากประธานและคณะกรรมการยุทธศาสตร์แต่ละยุทธ์ซ่ึงถือเป็นผูเ้ชี่ยวชาญและมีความเขา้ใจมาก ที่สุด ท าให้ผลการตัดสินการให้รางวัลมีความเหมาะสม 3. พนัธกิจด้านการพฒันาบุคลากร มีWeb-Site ของหน่วยงานกลางในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนความรู้ต่างๆ ที่ใช้ในการพัฒนางาน มีการจัดอบรมในรูปแบบ On-line และ Off line (Classroom Training) มีการประเมิน/ วิเคราะห์ ถึงความจ าเป็ นที่ต้องพัฒนาในระดับรายบุคคล ตลอดจนมีการสร้างหลักสูตร มีการประเมิน/ วิเคราะห์เพื่อให้เห็นปัญหาที่เกิดข้ึน และวางแผนจดัทา หลกัสูตรเพื่อพฒันาบุคลากรอย่างเป็น ระบบ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ 1. การติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน ควรเพิ่มการประเมินแผนยุทธศาสตร์เพื่อให้ทราบปัจจัย เชิงสาเหตุของการไม่บรรลุเป้าหมายตวัช้ีวดัซ่ึงมีท้งัปัจจยัภายในและปัจจยัภายนอก รวมท้งัความเป็นไดข้องการ ยกระดบัเป้าหมายให้สูงข้ึน เพื่อวางมาตรการสนับสนุนส่งเสริมการดา เนินงานของหน่วยงานต่างๆ ภายใน มหาวิทยาลัยและควรรายงานกรอบเวลา (Timeline) ของกระบวนการติดตามผลการด าเนินงาน 2. ควรมีการช้ีแจงการดา เนินงานประจา ปีให้กบัคณะ/หน่วยงาน ทราบต้งัแต่ตน้ ปีการศึกษาเพื่อให้ ผเู้กี่ยวขอ้งไดว้างแผนการดา เนินงานไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต สรุปผลกำรด ำเนินงำนตำมตัวบ่งชี้ ตวับ่งช้ีคุณภาพ เป้า หมาย ผลการด าเนินงาน การ ประเมิน ตนเอง ตวัต้งั ผลลัพธ์ ตัวหาร ตวับ่งช้ีที่1.1ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.00 คะแนน 495.98 3.59 3.59 138 ตวับ่งช้ีที่1.2 อาจารย์ประจ าคณะที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก 40% 527 49.18% 5.00 1,071.50 ตวับ่งช้ีที่1.3อาจารยป์ระจา คณะที่ดา รงตา แหน่ง ทางวิชาการ 30% 414 38.64% 3.22 1,071.50 ตวับ่งช้ีที่1.4การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 6ข้อ - 6ข้อ 5.00 ตวับ่งช้ีที่1.5กิจกรรมนกัศึกษาระดบั ปริญญาตรี 6ข้อ - 6ข้อ 5.00 ตวับ่งช้ีที่2.1ระบบและกลไกการบริหารและ พัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 6ข้อ - 6ข้อ 5.00 ตวับ่งช้ีที่2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 4.00 คะแนน 13.83 4.61 4.61 3 ตวับ่งช้ีที่2.3ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ า และนักวิจัย 4.00 คะแนน 152.42 4.76 4.76 32 ตวับ่งช้ีที่3.1การบริการวชิาการแก่สังคม 6 ข้อ - 6 ข้อ 5.00 ตวับ่งช้ีที่4.1ระบบและกลไกการท านุบ ารุงศิลปะ และวัฒนธรรม 6 ข้อ - 6 ข้อ 5.00 ตวับ่งช้ีที่5.1การบริหารของสถาบนัเพื่อการกา กบัติดตาม ผลลพัธ์ตามพนัธกิจกลุ่มสถาบนัและเอกลกัษณ์ของ สถาบัน 7 ข้อ - 7 ข้อ 5.00 ตวับ่งช้ีที่5.2 ผลการบริหารงานของคณะ 4.00 คะแนน 142.05 4.44 4.44 32 ตวับ่งช้ีที่5.3ระบบกา กบัการประกนัคุณภาพหลกัสูตร 6 ข้อ - 6 ข้อ 5.00 เฉลยี่คะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้(จ ำนวน 13 ตัวบ่งชี้) 4.66 คะแนน
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ตำรำงวิเครำะห์กำรประเมินตนเองของมหำวิทยำลัยรังสิต ปี กำรศึกษำ 2565 องค์ ประกอบ คุณภำพ จ ำนวน ตัวบ่งชี้ I P O คะแนน เฉลี่ย ผลกำรประเมิน 1 5 4.11 5.00 3.59 4.36 กำรด ำเนินงำนระดับดี 2 3 4.61 5.00 4.76 4.79 กำรด ำเนินงำนระดับดีมำก 3 1 - 5.00 - 5.00 กำรด ำเนินงำนระดับดีมำก 4 1 - 5.00 - 5.00 กำรด ำเนินงำนระดับดีมำก 5 3 - 5.00 4.44 4.81 กำรด ำเนินงำนระดับดีมำก ผลกำรประเมิน 4.28 5.00 4.27 4.66 กำรด ำเนินงำนระดับดีมำก ระดับคุณภำพ ระดับดี ระดับ ดีมำก ระดับดี *ตวับ่งช้ีที่1.1 เป็นค่าคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินระดบัหลกัสูตรทุกหลกัสูตร