The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR มหาวิทยาลัยรังสิต 2565 ฉบับก่อนส่งพิมพ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Qa Rsu, 2023-11-15 23:58:07

ทดสอบ

SAR มหาวิทยาลัยรังสิต 2565 ฉบับก่อนส่งพิมพ์

รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 5. โครงการทา ดีเพื่อนอ้งดว้ยมือสองเรา พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยใู่นระดบั มากค่าเฉลี่ย4.13 6. โครงการ CSR สัญจร พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมประโยชน์ที่ไดร้ับจากโครงการอยู่ ในระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.55 7. โครงการ Christmas Concert & Charity พบว่า ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยู่ใน ระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.77 8. โครงการพี่ช่วยน้อง คร้ังที่23 พบว่า ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยู่ในระดบัมาก ที่สุด ค่าเฉลี่ย4.65 ในการดา เนินโครงการมีขอ้เสนอแนะเพิ่มเวลาในการจดักิจกรรม 9.โครงการญี่ปุ่ นเพื่อสังคม พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยใู่นระดบัมากค่าเฉลี่ย 4.34 ในการดา เนินโครงการไม่พบขอ้ที่ตอ้งนา มาปรับปรุง 10. โครงการครูอาสา พบวา่ภาพรวมความประทบั ใจในการจดักิจกรรมโครงการอยูใ่นระดบั มากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.64 11. โครงการริเริ่มเติมฝันผา่นศิลปะ สิ่งประดิษฐ์และดนตรีประยุกต์พบวา่ภาพรวมในการจดั กิจกรรมโครงการอยใู่นระดบัมากค่าเฉลี่ย4.46 12. โครงการพี่สอนนอ้ง (ชมรมวอลเลยบ์อล) พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยู่ใน ระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.74 ในการดา เนินโครงการไม่พบขอ้ที่ตอ้งนา มาปรับปรุง 13. โครงการ GIVE&GO พบว่า ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยู่ในระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.83 14. โครงการพี่สอนนอ้ง (ชมรมวอลเล่ยบ์อล) พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยู่ใน ระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.75 15. โครงการพี่สอนน้อง (ชมรมฟิตส์บอล) พบว่า ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยู่ใน ระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.75 ในภาพรวมของการด าเนินกิจกรรมบา เพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม พบว่า ควร ปรับปรุงและวางแผนพฒันาในดา้นวนัเวลาและสถานที่ในการจดักิจกรรม ให้สอดคลอ้งกบัโครงการ ที่ด าเนินการและบริหารจัดการงบประมาณที่ได้รับให้มีความเหมาะสมกบัค่าอาหาร ค่าอุปกรณ์ค่า เดินทาง ฯลฯ ในกรณีที่งบประมาณไม่เพียงพอ ควรมีแผนในการหางบประมาณสนบัสนุนในช่องทาง อื่นๆ เช่น การเปิดรับบริจาค หรือขอสปอนเซอร์การทา เส้ือโครงการจา หน่าย เป็นตน้ 4) กจิกรรมเสริมสร้ำงคุณธรรมและจริยธรรม 1. โครงการฝึกเอาตวัรอดจากการจมน้า และป้องกนัการจมน้า พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรม โครงการอยใู่นระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.79 ในการดา เนินโครงการไม่พบขอ้ที่ตอ้งนา มาปรับปรุง


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 2. โครงการแรกพบสู่ร้ัวรังสิต พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยใู่นระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.93 มีขอ้เสนอแนะเพิ่มระยะเวลาในการทา กิจกรรม 3. โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรมแก่นกัศึกษาทนัตแพทยศาสตร์พบวา่ภาพรวมในการจดั กิจกรรมไดร้ับประโยชน์จากโครงการอยใู่นระดบัมาก ค่าเฉลี่ย4.27 4. โครงการรอมฎอนสัมพนัธ์พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยใู่นระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.68 มีขอ้เสนอแนะเพิ่มระยะเวลาในการทา กิจกรรม 5. โครงการตกับาตรประจา สัปดาห์พบว่า ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยู่ในระดบั มากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.70 6. โครงการ Training Day พบว่า ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยู่ในระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.63 จากผลการประเมินโครงการในภาพรวม พบว่า การด าเนินโครงการกิจกรรมสร้างเสริม คุณธรรมและจริยธรรม ควรนา มาพฒันาปรับปรุงคือการวางแผนระยะเวลาในการจดักิจกรรม เนื่องจาก รูปแบบกิจกรรมแต่ละโครงการน้นัเป็นการส่งเสริมให้ผูเ้ขา้ร่วมคิดดีประพฤติดีและการเรียนรู้ร่วมกนั ดงัน้นัระยะเวลาในการดา เนินงานควรมีการพฒันาปรับปรุงให้เหมาะสมกบัรูปแบบกิจกรรม และควร คา นึงถึงจา นวนผเู้ขา้ร่วมใหส้มดุลกบัรูปแบบและระยะเวลาการดา เนินกิจกรรม 5) กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม 1. โครงการทา นุบา รุงศิลปวฒันธรรมประเพณีไทย พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการ อยใู่นระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.58 2. โครงการพิธีไหวค้รู(สโมสรนกัศึกษา) พบว่า ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยู่ใน ระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.58 มีข้อเสนอแนะระยะเวลาการด าเนินงาน 2. โครงการพิธีไหวค้รู(วิทยาลยัวิศวกรรมชีวการแพทย)์พบว่า ภาพรวมในการจดักิจกรรม โครงการอยใู่นระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.90 3. โครงการพิธีไหวค้รูครอบครูช่าง พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยใู่นระดบัมาก ที่สุด คาเฉลี่ย ่ 4.25 4. โครงการ Rangsit Festival x Loy Kratong Day 2022 พบว่า ภาพรวมในการจัดกิจกรรม โครงการอยใู่นระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.55 5. โครงการลอยกระทงสี่ภาค พบว่า ภาพรวมในการจดักิจกรรมส าเร็จบรรลุวตัถุประสงค์ โครงการอยใู่นระดบัมากที่สุด 6. โครงการ ASHURA DAY พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยูใ่นระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.55


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 7. โครงการประกวดร้องเพลงภาษาญี่ปุ่น พบว่า ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยู่ใน ระดบัมาก ค่าเฉลี่ย4.49 8. โครงการคอนเสิร์ตดาวรุ่งลูกทุ่งรังสิต พบว่า ภาพรวมในการจัดกิจกรรมส าเร็จบรรลุ วตัถุประสงค์โครงการอยใู่นระดบัมากที่สุด 9. โครงการดนตรีไทยสัญจรคร้ังที่19 พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยูใ่นระดบั มากค่าเฉลี่ย4.13 10. โครงการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมคณะวิทยาศาสตร์ 10.1)กิจกรรมปัญญาอบรมใจ พบวา่ภาพรวมในการจดักิจกรรมโครงการอยูใ่นระดบั มากค่าเฉลี่ย4.46 10.2) กิจกรรมพิธีทา บุญ และรดน้า ขอพรอาจารยอ์าวุโส พบว่า ภาพรวมในการจดั กิจกรรมอยใู่นระดบัมากที่สุด ค่าเฉลี่ย4.69 จากผลการประเมินโครงการในภาพรวม พบวา่การดา เนินโครงการกิจกรรมส่งเสริมศิลปะและ วัฒนธรรม ควรนา มาพฒันาปรับปรุง คือ การวางแผนระยะเวลาในการจดักิจกรรม เนื่องจากรูปแบบ กิจกรรมแต่ละโครงการน้ันเป็นการเรียนรู้ส่งเสริมและอนุรักษ์วฒันธรรม ซ่ึงอาจรวมถึงผูเ้ข้าร่วม กิจกรรมมีวฒันธรรมที่แตกต่างอาศยัการเรียนรู้การอยูร่ ่วมกนัดงัน้นัระยะเวลาในการดา เนินงานควรมี การพฒันาปรับปรุงใหเ้หมาะสมกบัรูปแบบกิจกรรม และควรคา นึงถึงผเู้ขา้ร่วมที่มีการนบัถือทางศาสนา และวฒันธรรมที่แตกต่างน้นัสามารถที่จะเรียนรู้กิจกรรมร่วมกนัได้ รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สกน.อ1.1.5.4.01 กิจกรรมส่งเสริมคุณลกัษณะบณัฑิตที่พึงประสงค์ มรส.สกน.อ1.1.5.4.02 กิจกรรมกีฬา หรือการส่งเสริมสุขภาพ มรส.สกน.อ1.1.5.4.03 กิจกรรมบา เพญ็ ประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดลอ้ม มรส.สกน.อ1.1.5.4.04 กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม มรส.สกน.อ1.1.5.4.05 กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวฒันธรรม มรส.สกน.อ1.1.5.4.06 ตารางสรุปผลการจดักิจกรรม 5 ด้าน


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อ5.ประเมินควำมส ำเร็จตำมวตัถุประสงค์ของแผนกำรจัดกจิกรรมพฒันำนักศึกษำ ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลยัรังสิตมีแผนการจดักิจกรรมเพื่อพฒันานกัศึกษาที่สอดคลอ้งกบัยุทธศาสตร์การ พฒันามหาวทิยาลยัรังสิต โดยวตัถุประสงคข์องแผนการจดักิจกรรมพฒันานกัศึกษาคือ 1) สามารถพฒันานกัศึกษาไดต้ามตวัช้ีวดัการดา เนินงานดา้นความเป็นเลิศทางการศึกษาและ การผลิตบัณฑิตของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต 2) ดา เนินการไดบ้รรลุตามตวัช้ีวดัความสา เร็จของกิจกรรม/โครงการไม่นอ้ยกวา่ร้อยละ 80ของ แผนการจดักิจกรรม ท้งัน้ีตวัช้ีวดัความส าเร็จตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ได้แก่ KR1.3.3 หลักสูตรมีผลการประเมิน คุณภาพของบณัฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิและมาตรฐานการอุดมศึกษาจากผูใ้ช้บณัฑิตไม่ต่า กวา่ ระดับดีของปี การศึกษา 2564 และปี การศึกษา 2565 บรรลุเป้าหมายทุกข้อ แสดงให้เห็นว่าการจดัทา แผนการจดักิจกรรมพฒันานกัศึกษา ไดผ้ลลพัธ์ตามเป้าหมายของแผน ดงัน้ี ตวัช้ีวดัความสา เร็จ ค่าเป้าหมาย ผลการด าเนินงาน ปี การศึกษา 2564 ปี การศึกษา 2565 KR1.3.3 หลักสูตรมีผลการประเมิน คุ ณภาพ ของบัณฑิ ต ตาม ก ร อ บ มาตรฐานคุณวุฒิและมาตรฐานการ อุดมศึกษา จากผู้ใช้บัณฑิตไม่ต่ า กวา่ระดบัดี ไม่นอ้ยกวา่ร้อยละ60 ของจ านวนหลักสูตร N/A 100 ส าหรับการประเมินความสา เร็จตามวตัถุประสงคข์องแผนการจดักิจกรรมพฒันานกัศึกษาขอ้ 2 แบ่งการประเมินตามประเภทของกิจกรรม 5 ประเภท สอดคล้องกับแผนพฒันายุทธศาสตร์ของ มหาวทิยาลยัดงัน้ี 1. ประเด็นยุทธศำสตร์ที่1 สร้ำงควำมเป็ นเลิศทำงกำรศึกษำและกำรผลิตบัณฑิต - สา นกังานกิจการนกัศึกษา มีโครงการที่เสนอไว้32โครงการ มีผลการด าเนินโครงการที่บรรลุ ตามตวัช้ีวดัความสา เร็จของโครงการ จา นวน 32โครงการ คิดเป็ นร้อยละ 100


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต -ศูนยพ์ฒันากีฬาเชียร์ลีดดิ้ง มีโครงการที่เสนอไว้2 โครงการ มีผลการด าเนินโครงการที่บรรลุ ตามตวัช้ีวดัความสา เร็จของโครงการ จา นวน 2โครงการ คิดเป็ นร้อยละ 100 - ส านักงานหอพัก มีโครงการที่เสนอไว้ 1 โครงการ มีผลการด าเนินโครงการที่บรรลุตาม ตวัช้ีวดัความสา เร็จของโครงการ จา นวน 1โครงการ คิดเป็ นร้อยละ 100 - ส านักงานศิษย์เก่าและชุมชนสัมพนัธ์มีโครงการที่เสนอไว้1 โครงการ มีผลการด าเนิน โครงการที่บรรลุตามตวัช้ีวดัความสา เร็จของโครงการ จา นวน 1โครงการ คิดเป็ นร้อยละ 100 - สถาบนักีฬา มีโครงการที่เสนอไว้13 โครงการ มีผลการดา เนินโครงการที่บรรลุตามตวัช้ีวดั ความส าเร็จของโครงการ จ านวน 13โครงการ คิดเป็ นร้อยละ 100 2. ประเด็นยุทธศำสตร์ที่2 สร้ำงนวัตกรรมงำนวิจัย ส านกังานกิจการนกัศึกษามีโครงการสร้างสรรค์และนวตักรรม 1 โครงการ ไดแ้ก่โครงการ เลือกต้งัคณะกรรมการสโมสรนกัศึกษาออนไลน์ซ่ึงมีผลการดา เนินโครงการบรรลุคิดเป็นร้อยละ 100 3. ประเด็นยุทธศำสตร์ที่3กำรบริหำรจัดกำรสู่องค์กรอจัฉริยะ -ศูนยพ์ฒันากีฬาเชียร์ลีดดิ้ง มีโครงการที่เสนอไว้1 โครงการ มีผลการด าเนินโครงการที่บรรลุ ตามตวัช้ีวดัความสา เร็จของโครงการ จา นวน 1โครงการ คิดเป็ นร้อยละ 100 4. ประเด็นยุทธศำสตร์ที่4 เสริมสร้ำงเละพัฒนำควำมเป็ นสำกล - สา นกังานกิจการนกัศึกษา มีโครงการที่เสนอไว้1โครงการ มีผลการด าเนินโครงการที่บรรลุ ตามตวัช้ีวดัความสา เร็จของโครงการ จา นวน 1โครงการ คิดเป็ นร้อยละ 100 5. ประเด็นยุทธศำสตร์ที่5 บริหำรภำพลักษณ์และกำรสร้ำงควำมมีชื่อเสียง - ส านักงานหอพัก มีโครงการที่เสนอไว้ 14 โครงการ มีผลการด าเนินโครงการที่บรรลุตาม ตวัช้ีวดัความสา เร็จของโครงการ จา นวน 14 โครงการ คิดเป็ นร้อยละ 100 - สถาบนักีฬา มีโครงการที่เสนอไว้9 โครงการ มีผลการดา เนินโครงการที่บรรลุตามตวัช้ีวดั ความส าเร็จของโครงการ จ านวน 9โครงการ คิดเป็ นร้อยละ 100 - ส านักงานสวัสดิการสุขภาพ มีโครงการที่เสนอไว้ 12 โครงการ มีผลการด าเนินโครงการที่ บรรลุตามตวัช้ีวดัความสา เร็จของโครงการ จา นวน 12โครงการคิดเป็ นร้อยละ 100 โดยสรุปจะเห็นไดว้่าการจดักิจกรรมพฒันานกัศึกษาที่ดา เนินการตามแผนการจดักิจกรรมน้นั ส่งผลให้นกัศึกษามีความผูกพนัต่อสถาบนัและมีผลการพฒันานกัศึกษารอบดา้น ทา ให้อตัราการตก ออก หรือลาออก ซ่ึงบรรลุตามค่าเป้าหมายของมหาวิทยาลยัอีกท้งัผลการประเมินคุณภาพบณัฑิตโดย ผู้ใช้บณัฑิตก็บรรลุตามค่าเป้าหมายเช่นกนั


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สกน.อ1.1.5.5.01 แผนยทุธศาสตร์ฝ่ายกิจการนกัศึกษา พ.ศ.2565-2569 มรส.สกน.อ1.1.5.5.02 สรุปภาพรวมโครงการพฒันาของหน่วยงานในฝ่ายกิจการนกัศึกษา ข้อ6.น ำผลกำรประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงกำรจัดกจิกรรมเพื่อพฒันำนักศึกษำ ผลกำรด ำเนินงำน มหาวทิยาลยัรังสิต โดยสา นกังานกิจการนกัศึกษาไดน้า ผลการประเมินความสา เร็จกิจกรรมการ พฒันานกัศึกษาและผลการวิเคราะห์จุดอ่อน-จุดแข็งไปใชพ้ฒันางานดา้นกิจการนกัศึกษาอยา่งต่อเนื่อง ซ่ึงทางฝ่ายกิจการนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ได้ดา เนินการจดัทา แผนพฒันาฝ่ายกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569 หรือแผนพัฒนา 5 ปี โดยได้เตรียมแผนงาน หรือมาตรการรองรับ กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินที่ส่งผลกระทบต่อการดา เนินกิจกรรมนักศึกษา รวมถึงการสร้างสรรค์รูปแบบ กิจกรรมให้สอดคล้องกับภาวะปกติใหม่และการใช้สื่อเทคโนโลยีหรือสื่อออนไลน์ทุกรูปแบบมา ประยกุตใ์ชใ้นการดา เนินกิจกรรมพฒันานกัศึกษา รำยกำรเอกสำรหลักฐำนอ้ำงอิง หมำยเลขเอกสำร ชื่อเอกสำร มรส.สกน.อ1.1.5.6.01 แผนยทุธศาสตร์การพฒันาฝ่ายกิจการนกัศึกษา พ.ศ. 2565-2569 กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 เป้าหมาย ผลด าเนินงาน ผลการประเมิน บรรลุเป้าหมาย 6ข้อ 6ข้อ 5.00 คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 1 กำรผลิตบัณฑิต รำยงำนผลกำรวเิครำะห ์ จุดเด่น และข้อเสนอแนะเพ ื่อกำรพฒันำ


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต จุดเด่น น ำกจิกรรมคืนสู่ควำมมีชีวติชีวำให้กบันักศึกษำ ช่วงปีการศึกษา 2565 เป็นรอยต่อเปลี่ยนผา่นจากยคุ New Normal สู่ Next Normalกา้วสู่วถิีชีวิต ปกติรูปแบบใหม่สถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิด-19 ผอ่นคลาย มาตรการต่างๆ ยืดหยุน่ ฝ่ายกิจการ นกัศึกษาจึงมีนโยบายขบัเคลื่อนกิจกรรมนกัศึกษาเพื่อสร้างความมีชีวิตชีวาให้กบัมหาวิทยาลยัสโมสร นักศึกษาจึงริเริ่มกิจกรรมแรกตอ้นรับเปิดเทอม ในชื่อ Rangsit Festival X Open Club RSU จัดเวทีแสดง ความสามารถ แสดงดนตรี มินิคอนเสิร์ต แสดง Cover dance เปิ ดบูธแนะน าชมรมและรับสมัครสมาชิก เปิ ดบูธขายสินค้า ฯลฯ อีกท้งัเปิดรับสมคัรนกัศึกษาอาสามาร่วมเป็นทีมงานสโมสรนกัศึกษา ระยะเวลา 1 สัปดาห์แห่งการสร้างบรรยากาศความสุขและสีสันกิจกรรม ท้งัน้ีกระแสตอบรับดีมาก บริเวณหนา้ตึก 1 สถานที่จดักิจกรรมบรรยากาศคึกคกันกัศึกษาใหค้วามสนใจเขา้ร่วมกิจกรรมมากมาย นอกจากน้ีไดเ้ปิดช่องทางออนไลน์ในการรับสมคัรสมาชิกชมรม โดยจดัทา QR Code ประจ า ชมรม และเปิดโอกาสให้ชมรมต่างๆ รับสมคัรสมาชิกนกัศึกษาต่างชาติเพื่อผสมผสานวฒันธรรมและ แลกเปลี่ยนการทา กิจกรรมร่วมกนัอีกท้งัสนบัสนุนใหน้กัศึกษาต่างชาติจดัต้งัชมรมในอนาคต เปิดพืน้ทสี่่งเสริมกำรเรียนรู้และกำรทำ กจิกรรม 24 ชั่วโมง จดัพ้ืนที่บริการต่าง ๆให้สอดคล้องกบัวิถีชีวิตของนักศึกษา โดยขยายเวลาบริการพ้ืนที่ออก กา ลงักายจนถึงเวลา22.00 น. เช่น สนามกีฬา ฟิตเนส สระวา่ยน้า ฯลฯ ส่งผลให้นกัศึกษาออกกา ลงักาย ดว้ยการเล่นกีฬามากข้ึน บรรยากาศยามเยน็ถึงค่า คึกคกัไปดว้ยนกัศึกษาเล่นกีฬาตามความชอบและถนัด ท้งัน้ีสอดคลอ้งกบันโยบายของฝ่ายกิจการนกัศึกษาและฝ่ายแผนและพฒันา ในการเปิดพ้ืนที่ส่งเสริมการ เรียนรู้และการทา กิจกรรม 24 ชวั่ โมง Co-learning Space เพื่อใหน้กัศึกษาไดใ้ชช้ีวติในมหาวทิยาลยัอยา่ง มีความสุข เป็นแหล่งรวมตวัของนักศึกษา ระดมความคิดหรือสร้างสรรค์งานวิชาการหรือกิจกรรม ร่วมกนั โดยใช้ชื่อว่า “ Dream Space” สถานที่ต้งัช้ันล่าง อาคาร 10 และมีโครงการจดัสร้างเพิ่มเติม บริเวณพ้ืนที่ระหวา่งตึก2 ตึก3และ ตึก 6 ช้นั 2 จากการเปิดพ้ืนที่กิจกรรม 24 ชวั่ โมง หน่วยงานภาคส่วนต่างๆ สนบัสนุนนโยบายพร้อมกบัจดั งานในการดูแลและให้บริการนกัศึกษา เช่น จดัอาจารยป์กครองอยู่เวรเพื่อดูแลนกัศึกษากรณีเจ็บป่วย หรือเกิดอุบตัิเหตุนา ส่งโรงพยาบาล หรือกรณีมีปัญหาอื่นใดช่วงหลงัเวลาท าการ คลินิกเวชกรรม เปิ ด บริการดูแลรักษาสุขภาพจนถึงเวลา 20.00 น. และจัดบริการรถ Ambulance ตลอด 24 ชวั่ โมง เพื่อรับ-ส่ง นักศึกษากรณีเจ็บป่ วย


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต นอกจากน้ีไดเ้ปิดให้บริการทางสื่อออนไลน์ซ่ึงนกัศึกษาสามารถใช้บริการหรือสอบถามได้ ตลอด เช่น บริการใหป้รึกษาดา้นจิตวทิยา การเลิกบุหรี่กิจกรรมนกัศึกษาฯลฯ แชมป์เหรียญรวมอนัดับ 5 &ชนะเลิศวอลเล่ย์บอลหญิง กีฬำมหำวิทยำลัยแห่งประเทศไทย สร้ำงชื่อเสียง สู่ควำมเป็นเลศิระดับนำชำติเป็นเจ้ำภำพจัดแข่งขันกฬีำยูยติสู ปี การศึกษา 2565 สถาบนักีฬา ดา เนินการนา นกัศึกษาเขา้ร่วมการแข่งขนักีฬามหาวิทยาลยัแห่ง ประเทศไทยคร้ังที่48 “ดอกจานบ้านเชียงเกมส์”ผลการแข่งขนั ปรากฏวา่มหาวิทยาลยัรังสิต ไดอ้นัดบั ที่ 5 จากท้งัหมด 122 สถาบัน โดยได้ 10 เหรียญทอง 19 เหรียญเงิน 27 เหรียญทองแดง อีกท้งัทีม วอลเล่ย์บอลหญิงได้รับรางวัลชนะเลิศหรื อเหรี ยญทอง นับว่าประสบความส าเร็จสูงสุดใน ประวตัิศาสตร์ดา้นกีฬาของของมหาวิทยาลยัรังสิต จากปีการศึกษา 2564 ได้อันดับที่ 14 จากท้งัหมด 123 สถาบัน (5 เหรียญทอง, 12 เหรียญเงิน, 16 เหรียญทองแดง) นอกจากน้ีสถาบนักีฬาไดเ้ป็นเจา้ภาพจดัการแข่งขนักีฬาระดบั ประเทศและนานาชาติไดแ้ก่ การจดัการแข่งขนักีฬายูยิตสูชิงแชมป์ประเทศ อีกท้งัไดร้ับรางวลัชมเชย ยุทธศาสตร์ที่5 (การส่งเสริม ภาพลกัษณ์และการสร้างชื่อเสียงแก่มหาวิทยาลยั)ในหัวข้อเรื่อง“การจดัการกีฬายูยติสูสู่ความเป็นเลิศ” จากรางวัลแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice) แชมป์เชียร์ลดีดิง้ชนะเลศิ 2รำยกำร มหาวิทยาลยัรังสิต เป็นเจา้ภาพจดัการแข่งขนัเชียร์ลีดดิ้งชิงแชมป์ประเทศไทย ประจา ปี2565 ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ถ้วยประทานพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ และถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเจา้ลูกเธอ เจา้ฟ้าพชัรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดีกรมหลวงราชสาริณีสิริพชัร มหาวชัรราช ธิดา จดัระหว่างวนัที่25-27 พฤศจิกายน 2565 ณ ศาลาดนตรีสุริยเทพ มหาวิทยาลยัรังสิต ท้งัน้ีได้ส่ง นกักีฬาเชียร์ลีดดิ้งเขา้ร่วมการแข่งขนัเชียร์ลีดดิ้งชิงแชมป์ประเทศไทย โดยทีมเชียร์ลีดดิ้ง นกัศึกษาจาก มหาวิทยาลัยรังสิตได้รับรางวัลชนะเลิศ 2 รายการและรองชนะเลิศอีก 2 รายการ ในชื่อทีม RSU CHEER TIGER ARMY ท้งัน้ีศูนยพ์ฒันากีฬาเชียร์ลีดดิ้ง ไดจ้ดักิจกรรมสอนทกัษะเชียร์ลีดดิ้งใหก้บันกัเรียนในโรงเรียน ต่าง ๆเพื่อฝึกฝนทกัษะการเตน้การออกกา ลงักายการทา งานเป็นทีม และกลา้แสดงออก ซ่ึงในปัจจุบนั นักเรียนนักศึกษาให้ความสนใจในการฝึกทกัษะเชียร์ลีดดิ้งมากข้ึน พัฒนำต้นแบบนักกิจกรรม : คิดสร้ำงสรรค์ยดึมั่นคุณธรรม น ำกำรเปลยี่นแปลง


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต ก าหนดอัตลักษณ์ในการพฒันาคุณลักษณะบณัฑิตที่พึงประสงค์“คิด สร้างสรรค์ยึดมนั่คุณธรรม นา การเปลี่ยนแปลง” จึงเป็นแนวทางสร้างสรรค์กิจกรรมให้สอดคล้อง กบัอตัลกัษณ์โดยหล่อหลอมการพฒันานกัศึกษาครบถว้นท้งัดา้น Hard Skill and Soft Skill โดยในปี การศึกษา 2565 มีโครงการกิจกรรมที่สอดคลอ้งอตัลกัษณ์ที่มีความโดดเด่นหลายโครงการ การหล่อหลอมตน้แบบนกัศึกษา “ผูน้า เพื่อการเปลี่ยนแปลง สู่สังคมธรรมาธิปไตย” ซ่ึงผ่าน กระบวนการ Hard Skill and Soft Skill โดยน าเสนอตวัแทนนักศึกษามหาวิทยาลัย เพื่อเข้าร่วมเวที คดัเลือกรางวลัต่างๆในระดบั ประเทศหลายรายการ เช่น รางวลัพระราชทาน ระดบัอุดมศึกษา รางวลั นกัศึกษากิจกรรมดีเด่นของสมาคมสถาบนัอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย(สสอท.) เป็ นต้น โดยใน รอบปี การศึกษา 2565 ประสบผลสา เร็จโดยนกัศึกษาของมหาวทิยาลยัรังสิต ไดร้ับรางวลัดงัน้ี รำงวัลนักศึกษำกิจกรรมดีเด่น และทีมนักศึกษำดีเด่น สมำคมสถำบันอุดมศึกษำเอกชนแห่ง ประเทศไทย(สสอท.) โดยมหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับรางวัล 2 ประเภท ดงัน้ี 1. รางวัลนกัศึกษาดีเด่น ดา้นกิจกรรมดีเด่น ประเภทบุคคล 2. รางวลันกัศึกษาดีเด่น ดา้นกิจกรรมดีเด่น ประเภททีม จัดเวทยีกย่องเชิดชูเกยีรตินักกจิกรรมและต้นแบบโครงกำรกจิกรรมทดี่ี ส านกังานกิจการนกัศึกษา ไดจ้ดักิจกรรมส่งเสริมและพฒันานกักิจกรรม ในดา้นทกัษะ Hard Skill and Soft Skill บูรณาการให้เกิดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์โดยยกย่องเชิดชูเกียรติและจดัมอบรางวลัให้กับ นกัศึกษา เพื่อแสดงถึงความเป็นตน้แบบของนกักิจกรรม รวมถึงโครงการกิจกรรมตน้แบบที่ดีดงัน้ี โครงการมอบรางวลัในพิธีไหวค้รูโดยจดัคดัเลือกและมอบรางวลั ได้แก่อาจารยท์ ี่ปรึกษา ชมรมดีเด่น 6คน นกัศึกษากิจกรรมชมรมดีเด่น 19 คน และรางวัลคนดี ศรีรังสิต 3 คน โครงการสรุปบทเรียนกิจกรรมนกัศึกษาเชิงสร้างสรรค์ประจา ปีการศึกษา 2565 โดยจัดมอบ รางวลัโครงการกิจกรรมดีเด่น แก่สโมสรนักศึกษา และชมรมนักศึกษา 4 ฝ่ายได้แก่ฝ่ายบา เพ็ญ ประโยชน์และสิ่งแวดลอ้ม ฝ่ายวชิาการฝ่ายศิลปวฒันธรรม และฝ่ายกีฬา โครงการเชิดชูเกียรติสโมสรนักศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต ปีการศึกษา 2565 โดยจัดให้ คณะกรรมการสโมสรนกัศึกษา ชุดปัจจุบนัและชุดใหม่ไดส้ ่งมอบงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใน การทา กิจกรรม รวมถึงมอบเกียรติบตัรแก่คณะกรรมการสโมสรนักศึกษาอีกด้วย ต้นแบบกิจกรรมส่งเสริมควำมหลำกหลำยทำงเพศที่เท่ำเทยีมของกลุ่ม LGBTQ+


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต สโมสรนกัศึกษา ไดเ้ล็งเห็นถึงความสา คญัของการส่งเสริมความหลากหลายทางเพศที่เท่าเทียม ของ กลุ่ม LGBTQ เพื่อสนบัสนุนสิทธิเสรีภาพของกลุ่ม LGBTQ และเป็ นการยอมรับในตัวเอง ความมี เกียรติความเท่าเทียม และการสร้างการรับรู้ต่อบุคคลในสังคมว่ำพวกเขำมีอิสระต่อกำรเปิ ดเผยตัวตน อย่ำงเต็มที่โดยไม่ถูกมองแปลกแยก ท้ังนี้สโมสรนักศึกษำ ได้ปรับโฉมใหม่ของกำรประกวดและมอบ รำงวัล ในโครงกำร RSU Night 2022 โดยปรับรูปแบบกิจกรรมในส่วนของการประกวดดาว-เดือน ซึ่ง เดิมเป็นตวัแทนนกัศึกษาชายกบันกัศึกษาหญิง จากวิทยาลยั/คณะ/สถาบนั ปรับเป็นการประกวด RSU Blooming Star โดยไม่จา กดัเพศ ไม่จา กดัคณะที่สังกดัและสัดส่วนรูปลกัษณ์ขอเพียงเป็นนกัศึกษาที่ กล้าคิด กล้าท า กล้าแสดงออก อยา่งสร้างสรรคแ์ละเป็นตวัเอง ส่งเสริมสนบัสนุนความเท่าเทียม ความ หลากหลายทางเพศในสังคมยุคปัจจุบัน และความเป็ นสากลนานาชาติ และในโครงการลอยกระทงที่มี การประกวดนางนพมาศไดใ้ชรู้ปแบบประกวดส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศเช่นเดียวกนั กจิกรรมรณรงค์สุขภำวะด้ำนเพศศึกษำ ส านักงานสวสัดิการสุขภาพ ร่วมกับสโมสรนักศึกษา และสมาคมวางแผนครอบครัวแห่ง ประเทศไทย โดยนา ตวัแทนนกัศึกษาที่เป็นแกนนา เขา้รับการอบรมในโครงการส่งเสริมการป้องกนัการ ติดเช้ือเอชไอวีกลุ่มเยาวชนในสถานศึกษา พ้ืนที่จงัหวดัปทุมธานีซ่ึงจดัโดยสมาคมวางแผนครอบครัว แห่งประเทศไทย ท้งัน้ีแกนนา นกัศึกษาในการเขา้รับการอบรมคือกลุ่มผแู้ทนสโมสรนกัศึกษา และไดน้า ความรู้มาจัดกิจกรรมต่อยอดในกลุ่มนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรังสิต และขอรับการสนับสนุน งบประมาณจากคลินิกเวชกรรม มหาวิทยาลยัรังสิต ในระบบหลกั ประกนัสุขภาพแห่งชาติส านกังาน หลกั ประกนัสุขภาพแห่งชิ(สปสช.) เพื่อจดักิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ด้านอนามัยการเจริญ พนัธ์เอชไอวี/เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพนัธ์พร้อมท้งัจดัตรวจคดักรองหาเช้ือเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพนัธ์ใหก้บันกัศึกษาฟรีไม่มีค่าใชจ้่าย ซ่ึงไดร้ับความสนใจจากนกัศึกษาทวั่ ไป บริกำรดูแลสุขภำพเชิงรุกเสริมสร้ำงดุลยภำพ กำยใจและจิตวญิญำณ ส านักงานสวสัดิการสุขภาพเน้นการให้บริการความช่วยเหลือนักศึกษาในรูปแบบของการ ป้องกนั ปัญหามากกวา่การแกป้ ัญหาอีกท้งัมีระบบติดตามผลการช่วยเหลือหรือใหค้า ปรึกษาแก่นกัศึกษา จนสามารถแกไ้ขปัญหาของนกัศึกษาไดส้ าเร็จ โดยจดัโครงการต่างๆ เช่น โครงการเปิดประตูใจไปบอก รักตัวเอง หัวข้อ “โอบกอดตัวฉันที่เคยพลาด” คร้ังที่1 หน่วยพฒันาคุณภาพชีวิต ได้เปิดบริการให้ ค าปรึกษาเพื่อดูแลนักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย ซึ่งจากสถิติในการใหบ้ริการปรึกษาที่ผา่นมา พบว่า ปัญหาสุขภาพจิตที่พบมากในกลุ่มนกัศึกษาไดแ้ก่ปัญหาอาการซึมเศร้า ปัญหาการเรียน ปัญหา ความกังวล ปัญหาครอบครัว และปัญหาความสัมพนัธ์จึงให้ความส าคัญกับการพฒันางานด้าน สุขภาพจิตในเชิงรุกเพื่อเป็นการส่งเสริมและป้องกนั ปัญหาสุขภาพจิต โดยการส่งเสริมให้นกัศึกษามี


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ความเขา้ใจตวัเอง สามารถดูแลสุขภาพจิตของตนเองไดต้้งัแต่ยงัไม่ป่วย สามารถปรับตวัหรือใชช้ีวิตได้ อยา่งมีความสุข มีแรงจูงใจในการศึกษาเล่าเรียน มีความสัมพนัธ์ที่ดีกบัผอู้ื่น ซ่ึงจะนา ไปสู่การมีสุขภาวะ ทางจิตและมีคุณภาพชีวติที่ดียงิ่ข้ึน รูปแบบของการพฒันาคลินิกการให้คา ปรึกษาเชิงรุกและเขา้ถึงนกัศึกษา บุคลากรให้มากยงิ่ข้ึน ไดแ้ก่การจดักิจกรรมกลุ่มเรียนรู้ร่วมกนัเพื่อนช่วยเพื่อน การสร้างสัมพนัธภาพ การสร้างความสุขเป็น ตน้และการประชาสัมพนัธ์หน่วยงานโครงการต่าง ๆ ให้มากข้ึน โดยทา ทุกภาคการศึกษา จัดท าคลิป วีดีโอความรู้เคล็ดลบัการดูแลตนเองดา้นจิตใจ และเพิ่มช่องทางให้มากข้ึนทวั่ถึง เช่น ประชาสัมพนัธ์ มรส.หน่วยงาน คณะข่าว มรส.และFacebook Line สา นกังาน ประสานงานกบัคณะ หน่วยงาน รายวชิา RSU 171วิถีสุขภาพดีมีความสุข นอกจากน้ีพฒันาอาจารยท์ ี่ปรึกษา โดยจดักิจกรรมอบรมความรู้พฒันาเน้ือหาการให้คา ปรึกษา ให้เหมาะสมกบักลุ่มเป้าหมายแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์จริง,กรณีศึกษาของไทย,กรณีศึกษา ของต่างประเทศ, ฐานขอ้มูลตวัเลข สถิติ,ความรู้งานวจิยัที่ทนัสมยัวทิยากรเล่ากรณีศึกษาที่สา เร็จและไม่ ส าเร็จในฐานะมีประสบการณ์ตรง จดัอบรมทกัษะเพิ่มเติมนอกรอบให้กบัคณะต่างๆ ที่ร้องขอ และ กา หนดใหอ้าจารยท์ ี่ปรึกษาฯ ตอ้งเขา้รับการอบรมทุกคน หอพกัอบอุ่นปลอดภัย บ้ำนหลงัทสี่อง นักศึกษาในหอพกัส่วนใหญ่มาจากต่างจงัหวดัห่างไกลครอบครัวมกัรู้สึกเหงา บทบาทของ หอพัก คือ “แม” ่ โดยหอพักจัดมาตรการดูแลด้วย Concept ความปลอดภัย Safety, well-being การบริการ ด้วยใจ เพื่อสร้างบรรยากาศในการอยูห่อพกัให้นกัศึกษารู้สึกอบอุ่นเหมือนอยูบ่า้น และไดร้ับการดูแล ให้ใกลช้ิดทวั่ถึงยิ่งข้ึน ไดโ้ครงการ “หวัหนา้ช้นั” (โดยให้นักศึกษาสมัครเข้ามา) จากตวัแทนแต่ละช้น ั จ านวน 24คน หวัหนา้ช้นัจะเรียกวา่“แม่ช้นั”หรือ“พ่อช้นั” เป็ นผู้ประสานงานเป็ นตัวแทนสื่อสารและ ประสานงานกบัเจา้หนา้ที่สา นกังาน ใหใ้กลช้ิดยงิ่ข้ึน เพื่อดูแล“ลูกช้นั”อยา่งทวั่ถึงอบอุ่น กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโควดิ-19 (COVID -19) ในช่วงปีการศึกษา2565 ยังคง มีอยา่งต่อเนื่อง ทางสา นกังานหอพกัจึงมีข้นัตอนการดา เนินงานดูแลนกัศึกษาครบวงจร โดยใหน้กัศึกษา ใช้บริการผ่านช่องทาง Line Official หอพกัซ่ึงจะประสานกบัทางส านกังานสวสัดิการสุขภาพในการ ดูแลนกัศึกษาช่องทางออนไลน์โดย add line: @rsu.clinic ให้นกัศึกษากกัตวัอยูใ่นห้องของตนเองและ ปฏิบตัิตามมาตรการที่กา หนดของหอพกั งำนเชิดชูเกยีรติศิษย์เก่ำ รูปแบบผสมผสำน


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ส านักงานศิษย์เก่าและชุมชนสัมพนัธ์จดัวนัเชิดชูศิษย์เก่า ประจา ปี2565 (Made in Rangsit Awards 2022) โดยมอบรางวลัให้กบัศิษยเ์ก่า ประจา ปี2565 (Made in Rangsit Awards 2022) เพื่อเป็ น เกียรติแก่ศิษยเ์ก่าและเพื่อสร้างแรงบนัดาลใจให้กบันกัศึกษาปัจจุบนัอีกท้งัเป็นการสร้างเครือข่ายศิษย์ เก่าเพื่อให้เกิดการบูรณาการดา้นต่างๆ ระหวา่งศิษยเ์ก่าศิษยป์ ัจจุบนัและมหาวิทยาลยัรังสิต และพฒันา ไปสู่การเป็น RSU Family Networks ต่อไปในอนาคต ในปีการศึกษา 2565 ได้ปรับการพัฒนารูปแบบ การจดักิจกรรมแบบผสมผสาน(Online และ On-site) โดยการมอบรางวลัศิษยเ์ก่ายอดเยยี่ม จา นวน 6คน และรางวลัศิษยเ์ก่าสร้างแรงบนัดาลใจ1คน ในรูปแบบ On-site ณ ศาลาดนตรีสุริยเทพ และการมอบ รางวลัศิษยเ์ก่าดีเด่น จา นวน 52คน จาก 22คณะ 52 สาขา ในรูปแบบ Online โดยมีผู้เข้าชม ยอด Like 157คร้ังแชร์88คร้ังแสดงความคิดเห็น 112รายการ ยอด view 3,200คร้ัง สำนสัมพนัธ์ชุมชนจัดกจิกรรมจิตอำสำถวำยพระรำชกุศลในหลวงรัชกำลที่ 10 โครงการ RSU Volunteer Spirit พัฒนาสุขภาพชุมชน เพื่อถวายเป็ นพระราชกุศล เนื่องใน โอกาสวนัเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลา้เจา้อยู่หัว คร้ังที่1 เป็ นการท างานแบบ บูรณาการประสานความร่วมมือกบัหน่วยงานท้งัภายในและภายนอกมหาวิทยาลยัรังสิต โดยส านกังาน ศิษยเ์ก่าและชุมชนสัมพนัธ์ร่วมกบัวิทยาลยัศิลปศาสตร์และนักศึกษารายวิชา RSU 111 สังคมธรรม มาธิปไตย ร่วมจดักิจกรรมจิตอาสาพฒันาชุมชน เพื่อให้นกัศึกษาและชุมชนมีส่วนร่วมคิดหาแนวทาง สร้างแบบแผนการปฏิบตัิร่วมกัน เพื่อรักษาสภาพอนามยัสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม ป้องกนัการเกิด โรคติดต่อในชุมชน และให้ชุมชนมีจิตส านึกที่ดีในการรักษาสภาพแวดลอ้ม กิจกรรมในคร้ังน้ีส่งเสริม ให้นักศึกษา บุคลากรและชุมชน มีจิตส านึกรับผิดชอบต่อสังคม ในการรักษาความสะอาด สภาพ สิ่งแวดล้อมบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยรังสิตและหมู่บ้านเมืองเอก อีกท้งัสร้างความสัมพนัธ์ที่ดี ระหว่างมหาวิทยาลัยรังสิตและชุมชนรอบมหาวิทยาลัย เพื่อน าไปสู่การพฒันาชุมชนที่เข้มแข็งใน อนาคต ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ ในการปรับปรุงหลกัสูตรส่งผลให้นกัศึกษาสา เร็จการศึกษาเร็วระยะเวลาใชช้ีวิตทา กิจกรรม ในมหาวทิยาลยัจึงมีเวลาจา กดัซ่ึงควรส่งเสริมการบูรณาการกิจกรรมนกัศึกษาร่วมกบัวิชาการใหช้ดัเจน มากข้ึน โดยผา่นสถาบนั Gen.Ed และวิทยาลัย/คณะ/สถาบัน ปรับปรุงสัญญาณ Wifi ในหอพกัเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชส้ื่อออนไลน์ในการเรียนและ การใช้ชีวิตของนักศึกษา


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต องค์ประกอบที่ 2 กำรวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.1ระบบและกลไกกำรบริหำรและพัฒนำงำนวิจัยหรืองำนสร้ำงสรรค์ (ข้อมูลโดย:ฝ่ ายวิจัย สถาบันวิจัย) ชนิดของตัวบ่งชี้:กระบวนการ เกณฑ์กำรประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการด าเนินการ 1 ข้อ มีการด าเนินการ 2 ข้อ มีการด าเนินการ 3 -4 ข้อ มีการด าเนินการ 5 ข้อ มีการด าเนินการ 6 ข้อ ข้อ 1. มีระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำรงำนวิจัยที่สำมำรถน ำไปใช้ประโยชน์ในกำรบริหำรงำนวิจัย และงำนสร้ำงสรรค์ ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลัยรังสิตมีหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการจัดสรรทุนสนับสนุนวิจัยออกเป็น 3 หน่วยงาน ไดแ้ก่สถาบนัวิจยัส านกังานวางแผนและพฒันาและศูนยบ์ริการทางวิชาการแต่ละศูนยม์ ี ผู้อ านวยการรับผิดชอบการบริหารทุนวิจัย โดยจะมีระบบสารสนเทศที่เกี่ยวขอ้งเพื่อให้นกัวิจยัสามารถ เขา้ถึงการวจิยัท้งัเรื่องการขอทุนวจิยัจา แนกประเภทของทุนวจิยัดงัน้ี 1) สถาบนัวิจยัเป็นหน่วยให้ทุนวิจยัวิทยาการพ้ืนฐาน วิจยัประยุกต์วิจยัด้านการเรียนการ สอน รวมถึงการให้ทุนวิจัยด้านชุมชน 2) ส านักวางแผนและพัฒนา ให้ทุนวิจัยสถาบัน 3) ศูนย์บริการทางวิชาการ ให้ทุนวิจัยด้านนวัตกรรม การขอเงินสนับสนุน จะมีระบบสารสนเทศเพื่อรองรับการยื่นขอทุน อนุมัติการขอทุน การ ติดตามผลการดา เนินงานทุน การเก็บรวบรวมขอ้มูลสถิติทุน สามารถเขา้ถึงท้งัแบบเอกสารและแบบ ออนไลน์รวมท้งัการเผยแพร่งานวจิยังานสร้างสรรค์การตีพิมพบ์ทความวจิยั การบริการงานวิจัยด าเนินการยึดตามแบบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569 โดยกา หนดตวั Key Results Objective เพื่อให้สอดคลองกบัระดบัองค์กร ระดบัคณะวิชา และระดบับุคคล ท้งัการพฒันากา ลงัคน การพฒันางานวิจยังานสร้างสรรค์และนวตักรรมตามบริบท ของมหาวิทยาลัย รวมถึงการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก พฒันาชุมชนและประชากรรวมไปถึงการพฒันา ใหน้า ไปสู่เชิงพาณิชย์นอกจากน้ียงัส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานดา้นวิจยังานสร้างสรรค์และนวตักรรม ให้เป็ นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติอีกด้วย


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต จากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 คณะกรรมการบริ หาร งานวจิยัรวบรวม และสกดัแยกกา หนดเป้าหมาย นโยบาย ทิศทางและแผนการปฏิบตัิงานดา้นงานวิจยั ของสถาบันฯ โดยมีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สถาบันวิจัย พ.ศ.2565-2569โดยระบุกิจกรรมขบัเคลื่อน ใหส้อดคลอ้งกบัเป้าประสงคใ์นแต่ละประเด็น ในแต่ละปีสถาบันวิจัยจะร่างแผนปฏิบัติงาน (Action plan) โดยสอดรับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลยักา หนดกิจกรรม/โครงการเพื่อให้มุ่งเป้าหมายเป็นรายปีเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร งานวิจัย พิจารณาในที่ประชุมที่มีรองอธิการบดีฝ่ ายวิจัยเป็ นประธาน และมีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกด้าน ต่างๆ เพื่อช่วยวิพากษ์ร่างแผนการด าเนินงาน สถาบันวิจัยท าการปรับแก้ตามข้อแนะน าจาก กรรมการบริหารงานวิจยัและกา หนดงบประมาณรองรับการดา เนินงานตามเป้าประสงค์และกา หนด ผู้รับผิดชอบกิจกรรมหรือโครงการ รวมท้ังวิธีการประเมินผลกิจกรรม และขออนุมัติต่อสภา มหาวิทยาลัย กล่าวไดว้า่มหาวทิยาลยัรังสิตมีกลไกและการจดัการงานวจิยัในมหาวทิยาลยัอยา่งเป็นระบบ 1.1 ระบบสำรสนเทศส ำหรับคณะกรรมกำรบริหำรงำนวิจัย มหาวิทยาลยัรังสิตส่งเสริม และสนบัสนุนคณาจารยท์า งานวิจยัและงานสร้างสรรค์และต่อ ยอดองค์ความรู้สู่ระดบัการแข่งขนัระดบัชาตินานาชาติอีกท้งัยงัมีการสนบัสนุนส่งเสริม ทุนวิจยัท้งั ภายใน และภายนอกโดยมีการดา เนินการดงัต่อไปน้ีโดยมีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิจยั ดงัน้ี 1.1.1คา สั่งแต่งต้งัคณะกรรมการบริหารงานวิจยั 1.1.2แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สถาบันวิจัย พ.ศ.2565-2569 1.1.3แผนปฏิบัติงาน (Action plan) สถาบันวิจัย ประจ าปี 2565 1.1.4 นโยบายการจัดสรรงบประมาณวิจัย ประจ าปี งบประมาณ 2565 1.1.5 หลักเกณฑ์การจัดสรรรายได้จากการด าเนินงานวิจัย 1.1.6แผนการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ของสถาบันวิจัย ประจ าปี 2565 1.1.7ระเบียบมหาวทิยาลยัรังสิตวา่ดว้ยทุนอุดหนุนการวิจยัจากแหล่งทุนภายนอก พ.ศ.2556 1.1.8ระเบียบ ประกาศ และข้อปฏิบัติการให้ทุนอุดหนุนการวิจัยและการสมัครขอรับทุน 1.1.9การบริหารจัดการโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนการวิจัย 1.1.10คู่มือการสมคัรเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจยั 1.1.11 เว็บไซต์สถาบันวิจัย


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 1.2 สถำบันวจิัยมีระบบสำรสนเทศ เพื่อด ำเนินงำนให้ทุนวจิัยต่ำงๆ ดังนี้ สถาบนัวิจยักา หนดช่วงเวลาการส่งขอ้เสนอโครงการในส่วนของทุนวิจยัประเภทองคค์วามรู้3 รอบต่อปีกล่าวคือ เดือนมกราคม มิถุนายน และกนัยายน และในส่วนประเภทการเรียนการสอน จะ เปิ ดรับข้อเสนอโครงการ 2รอบ ต่อปีคือเดือนมิถุนายน-สิงหาคม และเดือนตุลาคม-มกราคม ของแต่ละ ปี โดยประกาศให้อาจารย์/ บุคลากรรับทราบทวั่กนัผา่นทางอีเมลส่วนตวัของมหาวทิยาลยัและประกาศ ในเว็บไซต์ของสถาบันวิจัย (www.rri.rsu.ac.th) โดยข้อเสนอโครงการจะถูกตรวจรู ปแบบและ องคป์ระกอบเบ้ืองตน้ โดยผูอ้า นวยการสถาบนัวิจยัและส่งประเมินความเป็นไปไดแ้ละความเหมาะสม โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีความเชี่ยวชาญตามสาขาของข้อเสนอโครงการ และพิจารณางบประมาณที่ เหมาะสมโดยคณะกรรมการบริหารงานวิจยัซ่ึงจะมีกรรมการภายนอกผูท้รงคุณวุฒิร่วมประเมินและ อนุมตัิทุน นกัวจิยัที่ไดร้ับอนุมตัิทุนตอ้งรายงานความกา้วหนา้รวมท้งัรายงานการใชเ้งินงวด และส่งเล่ม รายงานวจิยัฉบบัสมบูรณ์ซ่ึงจะถูกประเมินความเหมาะสมและสมบูรณ์ของเล่มวิจยัโดยผูเ้ชี่ยวชาญ และ นักวิจยัจา ตอ้งทา การเผยแพร่ผลงานวิจยัผ่านรูปแบบต่างๆ ได้แก่การนา เสนอในที่ประชุมวิชาการ วารสารและรายงานสืบเนื่อง นอกจากน้ีในปีการศึกษา 2565 เมื่อได้รับทุนสนับสนุนด าเนินการวิจัยแล้ว น้นัเมื่อเสร็จสิ้นการวิจยันกัวิจยัจกัตอ้งทา คลิปงานวิจยัเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์งานวิจัยในรูปแบบ ต่าง ๆ ในระบบออนไลน์อีกท้งัสถาบนัวจิยัจะทา การติดตาม และรายงานสรุปผลการดา เนินงานทุนวิจยั ต่อคณะกรรมการบริหารงานวจิยัหากมีขอ้เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงในปีต่อไป อน่ึง เนื่องจากกพอ.กา หนดให้นกัวิจยัที่ทา วิจยัในคน ตอ้งไดร้ับใบรับรองจากคณะกรรมการ จริยธรรมการวิจยัในคนของสถาบนัน้ัน ๆ ดังน้ันสถาบนัวิจยัจึงกา หนดให้นักวิจยัที่ได้รับทุนจาก สถาบนัวิจยัและทา งานวิจยัในคน ตอ้งยื่นเสนอและตอ้งได้รับใบรับรองการทา วิจยัในคน ก่อนการ อนุมตัิเงินงวด ท้งัน้ีเพื่อใหง้านวจิยัในคนมีมาตรฐานและรักษาสิทธ์ิใหก้บัผเู้ขา้ร่วมวจิยัอยา่งถูกตอ้ง โดยสถาบนัวิจยัจดัทา เอกสารเพื่อกา หนดรูปแบบของเอกสารที่เกี่ยวขอ้ง ให้นกัวิจยัสามารถ ดาวน์โหลดไดด้ว้ยตวัเอง โดยมีระบบสารสนเทศ ดงัน้ี 1.2.1 ประกาศมหาวทิยาลยัรังสิต วา่ดว้ยทุนอุดหนุนการวจิยัมหาวทิยาลยัรังสิต พ.ศ.2565 1.2.2 ประกาศรับข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยมหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี2565 (รอบ 1-3) 1.2.3แบบฟอร์มสา หรับนกัวจิยัเพื่อเสนอขอรับทุนวจิยัรูปแบบต่าง ๆ (มรส. 80 – 88) อนึ่ งปีการศึกษา 2565 สถาบันวิจัยปรับเพิ่มสื่อสารสนเทศให้เป็นระบบที่มีแบบฟอร์ม ภาษาองักฤษ ควบคู่กบัภาษาไทยโดยมีแบบฟอร์มต่างๆ ดงัน้ี ดา้นองคค์วามรู้ใหม่


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต -แบบฟอร์ม มรส.80การเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนสนับสนุนการวิจัย -แบบฟอร์ม มรส.81 สัญญารับทุนอุดหนุนการวิจัย -แบบฟอร์ม มรส.82 สัญญายืมเงินทุนอุดหนุนการวิจัยของ มรส. (รวมงวดที่ 1-4) -แบบฟอร์ม มรส.82-1 สัญญายมืเงินทุนอุดหนุนการวจิยัมรส.(แต่ละงวด) -แบบฟอร์ม มรส.83 ประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย -แบบฟอร์ม มรส.84รายงานความกา้วหนา้ของการวจิยัที่ไดร้ับทุนอุดหนุน -แบบฟอร์ม มรส.85 ประเมินร่างรายงานการวจิยั -แบบฟอร์ม มรส.86 ตาราง TOR และแผนการด าเนินงานโครงการวิจัย -แบบฟอร์ม มรส.88รายงานการปฏิบัติงานให้ค าปรึกษาโครงการวิจัย ด้านการเรียนการสอน -แบบฟอร์ม มรส. RS 80: ข้อเสนอโครงการวิจัย -แบบฟอร์ม มรส. RS 81: สัญญารับทุนอุดหนุนวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน -แบบฟอร์ม มรส. RS 82: สัญญายืมเงินทุนอุดหนุนวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน -แบบฟอร์ม มรส. RS 15แบบประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย -แบบฟอร์ม มรส. RS 3:แบบรายงานความกา้วหนา้ -แบบฟอร์ม มรส. RS 4:แบบส่งการวิจัยฉบับสมบูรณ์ -แบบฟอร์ม มรส. RS 5: ข้อแนะน าในการเขียนรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์และสรุป ยอ่งานวจิยั -แบบฟอร์ม มรส. RS 6: Script & Storyboard - แบบฟอร์ม มรส. RS 7: แบบค ารับรองการตรวจสอบคุณภาพของที่ปรึ กษา โครงการวจิยัแกไ้ข -แบบฟอร์ม มรส. RS 8: ตรวจสอบคุณภาพบทคดัยอ่ -แบบฟอร์ม มรส. RS 9-1รายงานค่าใชจ้่ายทวั่ ไป -แบบฟอร์ม มรส. RS 9-2รายงานค่าใชจ้่าย E-learning / E-Book -แบบฟอร์ม มรส. RS 10 ตารางแบ่งจ่ายงบประมาณ -แบบฟอร์ม มรส. RS 11ยกเลิกทุนวิจัย -แบบฟอร์ม มรส. RS 12 TOR 1.2.4คู่มือนกัวจิยัและรูปแบบการจดัพิมพร์ายงานการวจิยั 1.2.5คู่มือการจดัทา คลิปวดิีโอเผยแพร่ผลงานวจิยั


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 1.3 สถำบันวจิัยมีฐำนข้อมูลกำรบริหำรงำนวจิัย เพื่อให้นักวิจัยของมหาวิทยาลัยรังสิต สามารถเข้าถึงและมีข้อมูลในการท างานวิจัย สถาบันวิจัย มีฐานขอ้มูลการบริหารงานวิจยัสา หรับบุคลากรดงัน้ี 1.3.1ฐานข้อมูลทุนวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต 1.3.2ฐานขอ้มูลนกัวิจยัหนา้ใหม่ 1.3.3ฐานขอ้มูลการเผยแพร่ผลงานวจิยั 1.3.4ฐานข้อมูลการประชาสัมพันธ์ 1.3.5ฐานขอ้มูลประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง รหัสเอกสำร รำยกำรเอกสำรหลักฐำน มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.01 คา สงั่แต่งต้งัคณะกรรมการบริหารงานวิจยั ปี2563 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.02 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สถาบันวิจัย พ.ศ.2565-2569 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.03 แผนปฏิบัติงาน (Action plan) สถาบันวิจัย ประจ าปี 2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.04 นโยบายการจัดสรรงบประมาณวิจัย ประจ าปี งบประมาณ 2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.05 หลักเกณฑ์การจัดสรรรายได้จากการด าเนินงานวิจัย มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.06 แผนการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ของสถาบันวิจัย ประจ าปี 2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.07 ระเบียบมหาวิทยาลยัรังสิตวา่ดว้ยทุนอุดหนุนการวิจยัจากแหล่งทุนภายนอก พ.ศ. 2556 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.08 ระเบียบ ประกาศ และข้อปฏิบัติการให้ทุนอุดหนุนการวิจัยและ การสมัครขอรับทุน มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.09 การบริหารจัดการโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนการวิจัย มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.10 คู่มือการสมคัรเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจยั มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.11 เว็บไซต์สถาบันวิจัย มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.12 ประกาศมหาวิทยาลยัรังสิต วา่ดว้ยทุนอุดหนุนการวิจยัมหาวิทยาลยัรังสิต พ.ศ.2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.13 ประกาศรับข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนสนับสนุนการวิจัย มหาวิทยาลัย รังสิต ประจ าปี 2565 (รอบ 1-3) มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.14 แบบฟอร์มสา หรับนกัวิจยัเพื่อเสนอขอรับทุนวิจยัรูปแบบต่าง ๆ มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.15 คู่มือนกัวิจยัและรูปแบบการจดัพิมพร์ายงานการวิจยั


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รหัสเอกสำร รำยกำรเอกสำรหลักฐำน มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.16 คู่มือการจดัทา คลิปวิดีโอเผยแพร่ผลงานวิจยั มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.17 ฐานข้อมูลทุนวิจัยสถาบันวิจัย มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.18 ฐานขอ้มูลนกัวิจยัหนา้ใหม่ มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.19 ฐานขอ้มูลการเผยแพร่ผลงานวิจยัของบุคลากร มรส. ที่นา เสนอผลงานวิจยัใน การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.20 ฐานขอ้มูลการเผยแพร่ผลงานวิจยัของบุคลากร มรส. ที่ตีพิมพเ์ผยแพร่ ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ ปี 2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.21 ฐานขอ้มูลการเผยแพร่ผลงานวิจยัของบุคลากร มรส. ในงานประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ RSU Conference 2023 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.22 ฐานขอ้มูลการเผยแพร่ผลงานวิจยัของบุคลากร มรส. ที่ได้รับรางวัลการตีพิมพ์ เผยแพร่ผลงานวิจยัในวารสารวิชาการระดบัชาติและระดบันานาชาติ มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.23 ฐานข้อมูลการประชาสัมพันธ์ มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.24 ฐานขอ้มูลประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อ2. สนับสนุนพันธกจิด้ำนกำรวจิัยหรืองำนสร้ำงสรรค์อย่ำงน้อยในประเด็นต่อไปนี้ ผลกำรด ำเนินงำน (2.1) ห้องปฏิบัติกำรหรือห้องปฏิบัติงำนสร้ำงสรรค์หรือหน่วยวิจัย หรือศูนย์เครื่องมือ หรือ ศูนย์ให้ค ำปรึกษำและสนับสนุนกำรวจิัยหรืองำนสร้ำงสรรค์ มหาวิทยาลยัรังสิตมีห้องปฏิบตัิการวิจยั ในคณะวิชาต่างๆ ซ่ึงแต่ละคณะจดัหาและสนบัสนุน ทรัพยากรด้านงานวิจัย โดยต้ังโครงการต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ และ มหาวิทยาลัยมีศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรังสิต และศูนย์มาตรฐานฮาลาล ภายใตก้ารกา กบัของกลุ่มวทิยาลยัแพทยศาสตร์และวทิยาศาสตร์สุขภาพ เพื่อเป็นศูนยก์ลางของเครื่องมือ วิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เครื่องมือถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยศูนยเ์ครื่องมือมี เครื่องมือวิเคราะห์วิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วยเครื่องมือวิเคราะห์ระดับสูงต่างๆ ได้แก่ High Performance Liquid Chromatography, Gas chromatography, Nano particle size & Zeta potential, Atomic Absorption, Microplate reader ฯลฯ ศูนยเ์ครื่องมือวิจยัวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต้งัอยู่ที่ห้อง 701อาคารคณะวิทยาศาสตร์ 4/2 โดยมีระบบสารสนเทศออนไลน์ผ่านเว็บไซต์โดยแสดงรายละเอียดเครื่องมือ อตัราค่าบริการ และ ข้นัตอนการขอใช้เครื่องมือและสามารถจองเวลาการใช้เครื่องมือผ่านระบบออนไลน์ทา ให้นักวิจยั ภายในมหาวิทยาลยัและผูข้อใชภ้ายนอกสามารถใชเ้ครื่องมือไดอ้ยา่งสะดวกรวดเร็ว ประหยดัเวลาอีก ท้งัในปีการศึกษา 2565ศูนย์เครื่องมือวิจยัวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไดผ้ ่านการตรวจประเมินและ รับรองห้องปฏิบัติการในรูปแบบ Peer Evaluation ของสา นกังานการวจิยัแห่งชาติเป็นที่เรียบร้อยแลว้ นอกจากน้ีมหาวิทยาลยัรังสิตเห็นความส าคญัของการพฒันากญัชาเพื่อใชใ้นทางการแพทย์จึง จดัต้งัสถาบันวิจัยกญัชาเพื่อการแพทย์สา หรับการบริการงานวจิยักญัชา มุ่งเป้าการไดต้วัยาที่มีสารสา คญั คงที่ปลอดภยัจากสารปนเป้ือน โดยมีการเปิดตวัผลวิจยัที่เป็นการคน้พบคร้ังส าคญัคือ CBN จากกญัชา ซ่ึงมีฤทธ์ิในการยบัย้งัเซลลม์ะเร็งปอดของมนุษยใ์นสัตวท์ดลองและเปิดตวัผลิตภณัฑต์น้แบบจากกญัชา เพื่อใช้ในทางการแพทย์ จ านวน 6ผลิตภณัฑ์ไดแ้ก่1) น้า มนักญัชา (ต ารับอาจารย์เดชา) 2) สเปรยก์ญัชา ฉีดพ่นในช่องปาก 3) ยาแคปซูลแกน้อนไม่หลบั (ประสะกญัชา) 4) ยาแคปซูลย์ศุขไสยาศน์5) อัมฤตย์ โอสถ6) ยาแคปซูลทา ลายพระสุเมรุและอยใู่นระหวา่งการพฒันาสูตรอื่นๆ เพิ่มเติม


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รูปที่1ผลิตภณัฑต์น้แบบจากกญัชาเพื่อใชใ้นทางการแพทย์ นอกเหนือจากการเตรียมตน้แบบผลิตภณัฑ์กญัชา มหาวิทยาลยัรังสิตเน้นการวิจยัครบวงจร ต้งัแต่ตน้น้า กลางน้า และปลายน้า โดยงานวิจยัตน้น้า ไดแ้ก่การวิจยัการปลูกกญัชาทางเลือก เช่นการ อนุมัติทุนวิจัยเรื่อง “การพฒันาสูตรสารละลายธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตของกญัชาในระบบไฮโดร โปนิกส์ในรูปแบบวิสาหกิจชุมชนทางการแพทย” ์ ให้กบัคณะนวตักรรมการเกษตร เป็นตน้นอกจากน้ี การขยายกรอบการใชป้ระโยชน์ของกญัชาในรูปของเครืองดื่ม ไดแ้ก่การศึกษาน้า ผลไมผ้ สมแคนนาบิ ไดออลใหแ้ก่คณะเทคโนโลยอีาหาร (2.2) ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้ำข้อมูลสนับสนุนกำรวจิัยหรืองำนสร้ำงสรรค์ มหาวิทยาลัยรังสิต มีส ำนักหอสมุดมหำวิทยำลัยรังสิต ส าหรับเป็นแหล่งคน้ควา้ขอ้มูลท้งัจาก ต าราและฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติเพื่อสนบัสนุนท้งัดา้นการเรียนการสอนและการวิจยัหรือ งานสร้างสรรค์ส าหรับนักศึกษาและบุคลากร ซึ่งเมื่อปี 2563 ส านักหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับ รำงวลัชนะเลศิห้องสมุดสีเขียว IFLA Green Library Award 2020 รางวัลระดับนานาชาติ จากสหพันธ์ ระหวา่งประเทศว่าดว้ยสมาคมและสถาบนัห้องสมุด (International Fedaration of Library Associations and Institutions- IFLA) ซึ่งในปี 2020 มีห้องสมุดจ านวน 50แห่ง จาก35 ประเทศทวั่ โลกร่วมเสนอชิง รางวลัรางวลัน้ีจดัข้ึนเป็นประจา ทุกปีห้องสมุดที่ไดร้ับรางวลัจะไดร้ับมอบเกียรติบตัรและเงินรางวลั 500ยโูรในพิธีการมอบรางวลัจดัข้ึนในการประชุม World Library and Information Congressโดยมีการ มอบเกียรติบตัรยอ้นหลงัในงาน IFLA Green Library Award Session ณ ห้องประชุม RTM Rotterdam Ahoy Meeting ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่ งมหาวิทยาลัยรังสิต โดยส านักหอสมุดได้เสนอรายงานเรื่อง Rangsit University Library and Sustainable Environment Report เพื่อรับการพิจารณารางวัล โดยรายงาน ดงักล่าวฯ เป็นการนา เสนอการดา เนินงานของสา นกัหอสมุด ที่สอดคลอ้งกบัเป้าหมายการพฒันาที่ยงั่ยืน ของโลกของสหประชาชาติ (United Nations Sustainable Development Goals) การเป็ นองค์กรสีเขียว (Green Organization) ที่มีการพฒันาอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการให้ความส าคญักบัการมีส่วนร่วมและ


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต การรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม (Community/Social engagement) ท้งัน้ีผลงานของส านกัหอสมุด “Rangsit University Library and Sustainable Environment Report” จะอยู่ใน IFLA Library Map of the World ซ่ึงเป็นขอ้มูลระดบันานาชาติอนัเป็นรางวลัทรงคุณค่าอยา่งสูงสุดของห้องสมุดที่เป็นการปกป้อง รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้มระดบัโลก สร้างชื่อเสียงให้กบั ประเทศไทยและมหาวิทยาลยั รังสิต ในปี การศึกษา 2565 ส านกัหอสมุดยงัคงมีการบริหารจดัการที่เป็นมิตรกบัสิ่งแวดลอ้ม มีการ ดา เนินโครงการห้องสมุดและส านกังานสีเขียวเพื่อให้มีการจดัจกรรมต่างๆ ที่สอดคลอ้งกบัการบริหาร จดัการเรื่องสิ่งแวดลอ้ม มีการปฏิบตัิตามมาตรการการใชพ้ลงังานและทรัพยากรเพื่อลดการใชพ้ลงังาน ไฟฟ้า น้ า กระดาษ มีการบริหารจัดการเรื่องขยะในหน่วยงาน มีการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดลอ้ม และมีการนา องคค์วามรู้เรื่องการอนุรักษพ์ลงังานและสิ่งแวดลอ้ม ไปสู่ชุมชนภายนอกโดย การจดักิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น อบรม กิจกรรม DIY กิจกรรมตอบปัญหา โดยในปีการศึกษา 2565 มีการทา โครงการไปสู่ชุมชนโรงเรียนวดัรังสิต ไดแ้ก่การจดัการขยะในโรงเรียนเพื่อสุขภาวะ ได้รับทุนจากแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการพฒันาสุขภาวะจงัหวดั ปทุมธานีซ่ึงระยะเวลาโครงการ ต้งัแต่เดือนกรกฎาคม 2565 - กุมภาพันธ์ 2566 นอกจากน้ีผูบ้ริหารส านักหอสมุด รองผูอ้า นวยการ ส านักหอสมุด และหัวหน้าแผนกเทคนิค ได้มีการน าข้อมูลความรู้น าเสนอเป็ นโปสเตอร์จ านวน 2 เรื่อง ในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET คร้ังที่ 13 โดยส านักวิทยบริ การ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานีร่วมกบัข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลยัส่วนภูมิภาค(PULINET) วันที่ 18-20 มกราคม 2566 2.2.1 ระบบสำรสนเทศระบบออนไลน์ ส านักหอสมุดให้บริการการค้นข้อมูล โดยสามารถสืบค้นต ารา และวารสารให้ห้องสมุด ซ่ึงทา ให้นักวิจยัสามารถคน้ยืม คืน หนังสือผ่านระบบออนไลน์ได้โดยมี รายละเอียดของวธิีการคน้ขอ้มูลเพื่อประกอบการคน้ควา้อยา่งสมบูรณ์


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต นอกจากน้ีส านกัหอสมุด ยงัดา เนินการจดัหา E-Book ที่มีความทนัสมยัในเน้ือหาและสะดวก สามารถคน้ควา้ไดง้่าย เป็นส่วนหน่ึงของโครงการคลงัปัญญามหาวทิยาลยัรังสิต รูปที่2ฐานข้อมูล E-Book 2.2.2ฐำนข้อมูลงำนวิจัยออนไลน์ซึ่งมีฐานข้อมูลการวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครอบคลุมข่ายงาน วิจยัท้งัด้าน science และ non-science รองรับการค้นควา้จากนักวิจยัของมหาวิทยาลัย ตวัอย่างเช่น Scopus, Access Pharmacy, BioMed Central, Business Source Ultimate, CINAHL Plus With Full Text, Corpus, DOAJ (e-Journal), DOAB (e-book), eBook Collection (EBSCOhost), Education Research Complete, EBSCO Open Dissertations, Green Digital Library, IEEE/IEL, Matichon e-library, Proquest Dissertation & Thesis, Science direct, , Wiley Online library, ThaiLI, UN Library, Academic Search Ultimate, Free resources available on Cambridge Core, Clinical Effectiveness COVID-19, CNKI, CJFD, CDMD, JTP, Proquest : Coronavirus Research Database, Dentistry & Oral Sciences Source, Emerald Insight, Total Materia, The Royal Society แ ล ะ Wiley Online Library Covid-19 : Novel Coronavirus Outbreak 2.2.3 เครือข่ำยควำมร่วมมือ TU-Thaipul เป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกบัห้องสมุดของรัฐและ เอกชน ในการยมืทรัพยากรสารสนเทศระหวา่งหอ้งสมุด (Resources sharing) ผา่นระบบ EDS (EBSCO Discovery Service) จ านวน 13 แห่ง เป็ นมหาวิทยาลัยเอกชน 9แห่งและรัฐ4 แห่ง ไดแ้ก่สา นกัหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิต ส านักหอสมุดและศูนย์การเรียนรู้มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ส านักหอสมุดมหาวิทยาลัย ห อการค้าไ ท ย ศูน ย์ส น เ ท ศและ ห อ ส มุด ม ห าวิท ยาลัยธุรกิจ บัณฑิต ย์ห อ ส มุด แ ห่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ส านักหอสมุดมหาวิทยาลัยศรีปทุม ส านักทรัพยากรสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม ส านักงานวิทยทรัพยากรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หอสมุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ส านักหอสมุดมหาวิทยาลัยพายัพ และที่เข้ามาเป็ นสมาชิก ใหม่ในปีการศึกษา 2564 อีก 2แห่ง ไดแ้ก่ ส านักหอสมุด มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่ น ท้งัน้ีเพื่อเป็นการใชท้รัพยากรสารสนเทศร่วมกนัและที่สา คญัเป็นการช่วย องค์กรในการประหยัดงบประมาณ ในปี การศึกษา 2565 มีการให้บริการยืมระหวา่งห้องสมุดโดยผ่าน


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต เครือข่าย TU-Thaipul จ านวน 232 รายการ ปี การศึกษา 2564จ านวน 236 รายการ และปี การศึกษา 2563 จ านวน 268รายการ และในปี การศึกษา 2565 ส านักหอสมุดมีการจัดอบรมเพื่อพัฒนาทักษะในการสืบค้นฐานข้อมูล เพื่อการวจิยัใหก้บัอาจารย์บุคลากรและนกัศึกษาจ านวน 5คร้ัง ไดแ้ก่ - การใช้โปรแกรม Turnitin ส าหรับอาจารย์/ เจ้าหน้าที่หลักสูตร (แบบ on-site) วันที่ 2 ธันวาคม 2565 มีผู้ลงทะเบียนเข้าอบรมจ านวน 42คน ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย4.29 และได้รับประโยชน์จากการอบรมคิดเป็ นร้อยละ 85.20 - การใช้โปรแกรม Turnitin ส าหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (แบบ online) วันที่ 6 ธันวาคม 2565 มีผู้ลงทะเบียนเข้าอบรมจ านวน 71คน ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย4.65 และได้รับประโยชน์จากการอบรมคิดเป็ นร้อยละ 96 - การค้นข้อมูลเพื่อการท าวิจัยในยุค Link Data จากฐานข้อมูล EBSCO (แบบ on-site) วันที่ 8 มีนาคม 2566 ผู้เข้าอบรม 49คน ผเู้ขา้อบรมมีความพึงพอใจค่าเฉลี่ย 4.20 และ ได้รับประโยชน์จากการอบรมคิดเป็ นร้อยละ 88.20 - การเลือกวารสารในการตีพิมพ์บทความในฐานข้อมูล Scopus (แบบ online) วันที่11 พฤษภาคม 2566 มีผู้ลงทะเบียนเข้าอบรมจ านวน 185 คน ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย4.55และได้รับประโยชน์จากการอบรมคิดเป็ นร้อยละ 92.60 - ดชันีช้ีวดัคุณภาพและการเลือกวารสารเพื่อการตีพิมพบ์ทความวิชาการ (แบบ online) วันที่ 24 พฤษภาคม 2566 มีผู้ลงทะเบียนเข้าอบรมจ านวน 103คน ผู้เข้าอบรมมีความ พึงพอใจค่าเฉลี่ย4.64และได้รับประโยชน์จากการอบรมคิดเป็ นร้อยละ 95 นอกจากน้ีมีการอบรม สอนทกัษะวิธีการสืบคน้ฐานขอ้มูลเพื่อการวิจยัให้กบันกัศึกษาท้งั ระดับปริญญาตรีและบณัฑิตศึกษา ไดแ้ก่การสืบคน้ขอ้มูลทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด (WebPac) ฐานข้อมูล Business Source Ultimate ทางการบริหารธุรกิจและที่เกี่ยวขอ้ง ฐานข้อมูล CINAHL Plus With Full Text ทางการพยาบาล ฐานข้อมูล Education Research Complete ทางการศึกษา ฐานข้อมูล ScienceDirect ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและที่เกี่ยวขอ้งฐานขอ้มูล Wiley Online Library ครอบคลุมสห สาขาวิชา ฐานข้อมูล Proquest Dissertation & Theses วิทยานิพนธ์สหสาขาวิชาท้งัปริญญาโทและ ปริญญาเอก ฐานข้อมูล ThaiLIS แหล่งเอกสารขอ้มูลฉบบัเต็มงานวิจยัวทิยานิพนธ์รายงานการวจิยัทุก มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ในปี การศึกษา 2565 มีการอบรมสอนการสืบค้นให้กับนักศึกษาใน หลกัสูตรต่างๆ รวมจ านวน 25คร้ัง 21 สาขา 871คน


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รูปที่3ฐานข้อมูลออนไลน์ส าหรับนักวิจัย


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต (2.3) สิ่งอ ำนวยควำมสะดวกหรือกำรรักษำควำมปลอดภัยในกำรวิจัยหรือกำรผลิตงำนสร้ำงสรรค์ เช่น ระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ ระบบรักษำควำมปลอดภัยในห้องปฏิบัติกำร 2.3.1 ห้องสมุดจัดหำเครื่องมือบริหำรจัดกำรวจิัยได้แก่ มหาวิทยาลยัสนบัสนุนการใชโ้ปรแกรมวิเคราะห์สถิติทางการวิจยัที่ถูกลิขสิทธ์ิไดแ้ก่ โปรแกรม SPSSและ LISREL เวอร์ชัน 9.2 โดยกา หนดให้ส านกัหอสมุด เป็นผูดู้แลรับผิดชอบระบบ จะเห็นไดว้่า ส านกัหอสมุดมีระบบสารสนเทศรองรับการบริการงานวิจยัอยา่งครบองค์รวมโปรแกรมจัดท าฐานข้อมูล และสร้างบรรณานุกรม ZOTERO และ Mendeley สา หรับการจดัเก็บขอ้มูลที่สืบคน้ ไดจ้ากฐานขอ้มูลต่างๆ จัดท ารายการบรรณานุกรมหรือเอกสารอา้งอิงท้งัที่เป็นสาระสังเขป ไดอ้ยา่งสะดวกรวดเร็ว สา หรับการทา วิทยานิพนธ์ หรือรายงาน หรือบทความ 2.3.2 โปรแกรมช่วยเหลือนักวิจัยให้มีควำมปลอดภัยในกำรวิจัยหรืองำนสร้ำงสรรค์ นอกจากน้ีห้องสมุดมีการจดัซ้ือโปรแกรมการตรวจลอกเลียนแบบ ช่วยเหลือให้นักวิจยัมีการ ป้องกนัการละเมิดจริยธรรมการเขียนงานวิจยั โดยจดัซ้ือและติดต้งัโปรแกรม turnitinรวมท้งัจดัหาความ ร่วมมือสา หรับการใชโ้ปรแกรมอกัขราวสิุทธ์ิเพื่อตรวจสอบการละเมิดจริยธรรมทางงานวจิยั โดยมีการจดั อบรมการใช้งานให้กับคณาจารย์มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิตก าหนดการตรวจการ ลอกเลียนแบบของบทความโดยการใช้โปรแกรม turnitin และอกัขราวิสุทธ์ิตรวจวิทยานิพนธ์และดุษฎี นิพนธ์ทุกเล่มโดยฝ่ายบณัฑิตวทิยาลยั รูปที่4 เครื่องมือบริหารจัดการส าหรับนักวิจัย


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต (2.4)กจิกรรมวชิำกำรทสี่่งเสริมงำนวจิัยหรืองำนสร้ำงสรรค์เช่น กำรจัดประชุมวชิำกำร กำรจัดแสดงงำน สร้ำงสรรค์กำรจัดให้มีศำสตรำจำรย์อำคันตุกะหรือศำสตรำจำรย์รับเชิญ (visiting professor) ในปีการศึกษา 2565กิจกรรมดา้นวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจยัหรืองานสร้างสรรค์ที่ไดด้า เนินงาน ไดแ้ก่ 2.4.1 กำรจัดประชุมวชิำกำรระดับนำนำชำติมหำวทิยำลยัรังสิต 2023 มหาวิทยาลัยรังสิตร่วมกับเครือข่ายประชาชื่น (ประเทศไทย) Hanoi University of Science & Technology(ประเทศเวียดนาม) National University of Kaohsiung (ประเทศไต้หวัน)และยงัมีสมาคมร่วม จัด อีก 5 สมาคม ดงัน้ีสมาคมสตรีอุดมศึกษาแห่งประเทศไทยในพระอุปถมัภข์องสมเด็จพระเจา้พี่นางเธอ เจา้ฟ้ากลัยาณิวฒันา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์มูลนิธิสมาคมสตรีอุดมศึกษาแห่งประเทศไทยใน พระอุปถัมภส์มเด็จพระเจา้พี่นางเธอเจา้ฟ้ากลัยาณิวฒันากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมาคม IEEE Magnetic Society (Thailand Chapter) สมาคมวิจัยวัสดุ (MRS Thailand) สมาคมเซรามิกอเมริกนั ประจา ประเทศไทย (ACerS - Thailand Chapter) กา หนดจดังานประชุมวิชาการระดบัระดบันานาชาติ ซึ่งในปี การศึกษา 2565 น้ีได้มีการแบ่งกลุ่มงานวิจัยออกเป็น 2 สายหลักอย่างชัดเจน คือ 1) “The 8th RSU International Research Conference on Sciences and Technology 2023 (RSUSCI-2023)” และ 2) “The 8th RSU International Research Conference on Social Sciences, Humanities, Education, Management and Arts 2023 (RSUSOC-2023)” ภายใต้หัวข้อภาษาอังกฤษ คือ "Leading Research and Innovation for Opportunity and Readiness after the Pandemic" เพื่อเป็ นเวทีวิชาการในการน าเสนอผลงานวิจัย และ แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ระหว่างนักวิชาการ และเพื่อส่งเสริมการสร้างเครือข่ายงานวิจยัใน ระดบัชาติและระดบันานาชาติต่อไป ปี การศึกษา 2565 สถาบันวิจัยจึงใช้รูปแบบการจัดงานในรูปแบบ Onsite ณ อาคารพระพิฆเนศ Student Center (อาคาร 6) มหาวิทยาลัยรังสิต อีกคร้ังหลงัจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโค วิด-19 ภายในประเทศมีแนวโนม้ไปในทางที่ดีข้ึน ในตอนเปิดรับบทความไดม้ีบทความจากต่างประเทศ เข้ามาเป็นจา นวนมาก แต่ท้ายที่สุดแล้วด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 ของ ต่างประเทศยงัคงมีแนวโน้มที่เสี่ยงต่อการติดเช้ือ จึงทา ให้นักวิจยัขอยกเลิกการมานา เสนอบทความที่ ได้รับการตอบรับแล้ว ณ ประเทศไทยในท้ายที่สุด โดยการจดังานประชุมวิชาการฯ มีผูเ้ข้าร่วมจาก ต่างประเทศ ท้งัหมด 10 ประเทศ ดงัน้ีประเทศบรูไนดารุสซาลาม ประเทศบังกลาเทศ ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่ น ประเทศเอสโตเนีย ประเทศไต้หวัน และประเทศไทย จา นวนบทความตีพิมพ์ระดบันานาชาติมีส่งเขา้ร่วมจา นวน 133 บทความ ผ่านการคดัเลือกท้งัสิ้น 107 บทความ โดยมีบทความจากมหาวิทยาลัยภายนอกที่มาจาก Ho Chi Minh City Open University (ประเทศ เวีย ดนาม ) Gia Dinh University (ป ระ เท ศ เวีย ดนาม ) Keys School Manila (ป ระ เท ศ ฟิ ลิ ป ปิ นส์ )


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวทิยาลยัเชียงใหม่โรงพยาบาลกรุงเทพ มหาวทิยาลยัขอนแก่นจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยัมหาวทิยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง โรงเรียนคณะราษฎร์บ ารุง ปทุมธานี มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยวลัย ลกัษณ์มหาวทิยาลยัเทคโนโลยสีุรนารีมหาวทิยาลยัธุรกิจบณัฑิตย์และมหาวทิยาลยัรังสิต ผลการประเมิน ความพึงพอใจการจัดประชุมวิชา RSU conference ได้เป็ นระดับดี (4.40จากคะแนนเต็ม5.00) 2.4.2วำรสำรระดับชำติ และระดับนำนำชำติ มหาวิทยาลยัรังสิตมีวารสารที่จดัทา เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานวิจยัหรือผลงานทางวิชาการของ คณาจารย์นกัศึกษา บุคคลภายในและภายนอก ซ่ึงจดัทา โดยสถาบนัวจิยัและคณะวชิาต่างๆ จา นวนท้งัสิ้น 14วารสาร แบ่งเป็นวารสารนานาชาติจา นวน 4 วารสาร และวารสารระดับชาติจ านวน 10วารสาร โดย สถานภาพปัจจุบันมีวารสารสามารถสืบค้นด้วยฐาน SCOPUS และ Asian citation index (ACI) จ านวน 1 วารสาร และ TCI กลุ่ม 1จ านวน 4วารสาร และ TCI กลุ่ม 2จ านวน 10วารสารแต่ละวารสารมีจุดมุ่งหมาย การด าเนินงานเพื่อเข้าระบบฐานข้อมูลของ TCI (Thai citation index)และจะพฒันาส าหรับการเขา้สู่ฐาน ระดบัสากลในลา ดบัถดัไป รายละเอียดของวารสารแสดงไดด้งัน้ี ตำรำงที่ 1รายละเอียดระดับฐานการรับรองคุณภาพของวารสารในมหาวิทยาลัยรังสิต ประเภท ชื่อวำรสำร ระดับ ระดับนำนำชำติ 1. Journal of Current Science and Technology SCOPUS Tier 1, ACI1 และ TCI กลุ่มที่1 2. Rangsit Journal of Social Sciences and Humanities ACI และ TCI กลุ่มที่1 กำ ลงัพฒันำเข้ำสู่ ระดับนำนำชำติ 3. Rangsit Journal of Education Studies TCI กลุ่ม 2 4. Interprofessional Journal of Health Sciences TCI กลุ่ม 2 ระดับชำติ 5. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน TCI กลุ่ม 1 6. วารสารดนตรีรังสิต TCI กลุ่ม 1 7. วารสารนิเทศศาสตร์ปริทัศน์ TCI กลุ่ม 2 8. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจปริทศัน์ TCI กลุ่ม 2 9. วารสารรังสิตสารสนเทศ TCI กลุ่ม 2 10. วารสารศิลปศาสตร์ TCI กลุ่ม 2 11.รังสิตบณัฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสงัคมศาสตร์ TCI กลุ่ม 2 12. วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยี TCI กลุ่ม 2 1 ACI : Asian Citation Index ปรับปรุงรายละเอียดอ้างอิงจาก เว็บไซต์ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย วันที่ 18 สิงหาคม 2566


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 13. วารสารนวัตกรรมสังคม TCI กลุ่ม 2 14. วารสารกฎหมายและสังคมรังสิต TCI กลุ่ม 2 2.4.3สนับสนุนพนัธกจิกำรต่อยอดงำนวจิัยและงำนสร้ำงสรรค์ให้เป็นผลติภัณฑ์ ปี การศึกษา 2565จากที่มหาวิทยาลยัเนน้การพฒันาต่อยอดงานวิจยัและงานสร้างสรรค์ให้เป็น เชิงธุรกิจ ดงัน้นัจึงจดัต้งัฝ่ายนวัตกรรมและวิสาหกิจ (คา สั่งมหาวิทยาลยัรังสิตที่ว 103/2563 เรื่อง ปรับ โครงสร้างและแต่งต้งับุคลากร) เพื่อให้มุ่งเป้าการต่อยอดงานวิจยั โดยมีผศ.ดร.วุฒิพงษ์ชินศรี ด ารง ตา แหน่งผูช้่วยอธิการบดีฝ่ายนวัตกรรมและวิสาหกิจ ซ่ึงในปีการศึกษา 2565 ได้จัดสรรทุนสนับสนุน เพื่อพฒันานวตักรรม ท้งัหมด 5 ทุน รวมงบประมาณ 1,055,900.00 บาท หลงัจากที่ไดผ้ลลพัธ์จากทุนดงักล่าวแล้ว จะมีการพิจารณาเพื่อดา เนินการด้านทรัพยส์ ินทาง ปัญญา และส่งเสริมให้เกิดให้น าผลที่ได้มาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ต่อไป ซ่ึงทางหน่วยงานจะช่วย ประสานงานและเตรียมช่องทางสา หรับการจดัจา หน่ายในรูปแบบต่างๆ เอาไว้ท้งัแบบปกติและช่องทาง ออนไลน์เช่น การเปิดร้าน RSU Store บน Platform Shopee Lazada และ Facebook รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง รหัสเอกสำร รำยกำรเอกสำรหลักฐำน มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.01 ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรังสิต มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.02 คา สั่งมหาวิทยาลยัรังสิต เรื่อง ปรับโครงสร้างศูนยเ์ครื่องมือวิจยัวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และศูนย์มาตรฐานฮาลาล มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.03 คา สงั่มหาวิทยาลยัรังสิต เรื่องแต่งต้งับุคลากรดา เนินงานของศูนยเ์ครื่องมือวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และศูนย์มาตรฐานฮาลาล มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.04 ประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่องการด าเนินการจัดท าห้องปฏิบัติการปลอดภัย มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.05 หนังสือแจ้งการรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.06 คา สงั่มหาวิทยาลยัรังสิต เรื่องจดัต้งัสถาบนัวิจยักญัชาเพื่อการแพทย์ มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.07 ฐานข้อมูลงานวิจัยออนไลน์ ของส านักหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิต มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.08 โปรแกรม SPSS มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.09 โปรแกรม LISREL เวอร์ชัน 9.2 มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.10 เครื่องมือบริหารจัดการงานวิจัย มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.11 สรุปประชุมวิชาการระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ าปี 2566 ในวันที่ 28 เมษายน 2566 มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.12 รายชื่อวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยรังสิต


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รหัสเอกสำร รำยกำรเอกสำรหลักฐำน มรส.สวจ.อ.2.2.1.2.13 รายละเอียดทุนสนบัสนุนการต่อยอดงานวิจยัและงานสร้างสรรคใ์หเ้ป็น ผลิตภัณฑ์


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อ3.จัดสรรงบประมำณ เพื่อเป็นทุนวจิัยหรืองำนสร้ำงสรรค์ ผลกำรด ำเนินงำน การจดัสรรงบประมาณของสถาบนัเพื่อสนบัสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจยัหรืองานสร้างสรรค์ รวมท้งัจา นวนที่จดัสรรอยใู่นทุนวจิยัที่ไดร้ับในปีการศึกษา 2565 1) สถาบันวิจัย - งานวิจยัและงานสร้างสรรค์ประเภทองค์ความรู้ได้แก่ความรู้พ้ืนฐาน/วิจยัและ พัฒนา/วิจัยประยุกต์ ปี การศึกษา 2565 สถาบนัวจิยัมีผลการดา เนินงานใหทุ้นวจิยัที่แบ่งเป็น 3รอบดงัน้ี รอบที่ 1/2565 มีจ านวนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ท้ังสิ้น 21 โครงการ งบประมาณ 3,434,536.19 บาท รอบที่ 2/2565 มีจ านวนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ท้ังสิ้น 19 โครงการ งบประมาณ 3,179,339.50 บาท รอบที่ 3/2565 มีจ านวนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ท้ังสิ้น 29 โครงการ งบประมาณ 5,941,569.00 บาท รวมเงินทุนวิจัยสถาบันวิจัยประจ าปี 2565 เป็ นเงิน 12,555,444.69 บาท -งานวิจัยด้านการเรียนการสอน และด้าน e-Learning ในปี 2565อนุมัติทุนวิจัยด้านการ เรียนการสอนรวมเป็ นเงิน 648,090 บาท 2) ส านักงานวางแผนและพัฒนา ดูแลด้านงานวิจัยสถาบัน ในปี 2565 ส านักงานวางแผนอนุมัติ ทุนวิจัยสถาบัน รวมเป็ นเงิน 21,340 บาท 3) ฝ่ ายนวัตกรรมและวิสาหกิจ รับผิดชอบทุนวิจยัเพื่อพฒันานวตักรรม ไดอ้นุมตัิทุนท้งัสิ้น 30 โครงการ จ านวนเงิน 1,055,900 บาท สรุปรวมงบประมาณทุนวิจัยภายในของมหาวิทยาลัยปี 2565รวมเป็ นเงิน 17,085,944.69 บาท นอกจากน้ีในปีการศึกษา 2565 มีนักวิจัยของมหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับการสนับสนุนทุนจาก แหล่งทุนภายนอกได้แก่1) ส านักงานสาธารณสุขแห่งชาติ(สช.) 2) บริหารและจัดการทุนด้านการ พฒันาระดบัพื่นที่(บพท.) เป็นการร่วมกนัระหวา่ง เทคโนโลยพีระจอมเกลา้ธนบุรีคณะพยาบาลศาสตร์ ม.รังสิต และคณะครุศาสตร์ จุฬาฯ 3) สภาองค์กรของผู้บริโภค โดยมีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร เป็นแม่ข่าย 4) ส านกังานการวิจยัแห่งชาติ(วช.) 5) กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 6) สถาบนัเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) 7) หน่วยบริหารลัจดัการทุนด้านการเพิ่ม ความสามารถในการแข่งขนัของประเทศ (บพข.) เป็นจา นวน 12 ทุน คิดเป็ นเงินทุนภายนอกรวม 7,467,569.00 บาท


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ท้งัน้ีฝ่ายวิจยัมหาวิทยาลยัรังสิต มีการจดัต้งัศูนยพ์ฒันาหลกัหกข้ึน เพื่อบริหารจดัการและ ส่งเสริมการจดักิจกรรม การดา เนินงานวิจยัที่จะพฒันาชุมชนหลกัหก พ้ืนที่ใกลเ้คียงในจงัหวดัปทุมธานี ให้เป็นพ้ืนที่สุขภาวะที่ดีและยงั่ยนืซ่ึงในปีการศึกษา2565ศูนยพ์ฒันาหลกัหกไดร้่วมทุนกบัส านกังาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในการด าเนินงานวิจัย ในการด าเนินการจัดสรรให้ทุน วิจัยเป็ นระยะเวลา 3 ปี และไดอ้นุมตัิทุนท้งัสิ้น 30 โครงการ รวมเป็ นเงิน 2,805,170.00 บาท รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง รหัสเอกสำร รำยกำรเอกสำรหลักฐำน มรส.สวจ.อ. 2.2.1.3.01 สรุปทุนวิจัยด้านองค์ความรู้ของสถาบันวิจัย ประจ าปี 2565 มรส.สวจ.อ. 2.2.1.3.02 สรุปทุนวิจัยด้านการเรียนการสอนของสถาบันวิจัย ประจ าปี 2565 มรส.สวจ.อ. 2.2.1.3.03 สรุปทุนวิจัยของส านักงานวางแผน ประจ าปี 2565 มรส.สวจ.อ. 2.2.1.3.04 สรุปทุนวิจยัของสา นกังานนวตักรรมวิสาหกิจ ประจา ปี2565 มรส.สวจ.อ. 2.2.1.3.05 สรุปทุนวิจัยภายนอก ประจ าปี 2565 มรส.สวจ.อ. 2.2.1.3.06 คา สงั่แต่งต้งัศูนยพ์ฒันาหลกัหก มรส.สวจ.อ. 2.2.1.3.07 สรุปทุนวิจัยแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการพฒันาสุขภาวะจังหวดั ปทุมธานี ประจ าปี 2565 ข้อ 4. จัดสรรงบประมำณเพื่อสนับสนุนกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัย หรืองำนสร้ำงสรรค์ในกำรประชุม วิชำกำร หรือกำรตีพิมพ์ในวำรสำรระดับชำติหรือนำนำชำติและมีกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัย หรืองำน สร้ำงสรรค์ในกำรประชุมวชิำกำรหรือกำรตีพมิพ์ในวำรสำรระดับชำติหรือนำนำชำติ ผลกำรด ำเนินงำน มหาวทิยาลยัรังสิตจดัสรรงบประมาณเพื่อสนบัสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจยัที่ตีพิมพใ์นวารสาร ระดับชาติและระดับนานาชาติ หรือน าเสนอบทความวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ ส าหรับปี 2565และยังสนับสนุนการตรวจทานภาษาอังกฤษ ส าหรับนักวิจัยเพื่อการ ตีพิมพใ์นระดบันานาชาติอีกดว้ย โดยจา แนกเป็นงบประมาณโครงการต่าง ๆดงัน้ี


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต 4.1 น ำเสนอผลงำนต่ำงประเทศในกำรจัดประชุมวชิำกำรระดับนำนำชำติ โดยในปี 2565 มีการขอสนับสนุนการน าเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ จ านวน 23 บทความ คิดเป็ นเงิน 364,034.16 บาท ซ่ึงเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID19 ที่เบาบางลง ทา ให้อาจารยส์ามารถดา เนินการเขา้ร่วมนา เสนอที่ต่างประเทศเพิ่มมากข้ึน ทา ให้มี ผลงานนา เสนอมากกวา่ ปี2565ร้อยละ 78.20และเลือกวิธีการน าเสนอแบบ On-site 4.2 งบประมำณสนับสนุนค่ำตีพมิพ์บทควำมลงในวำรสำรระดับนำนำชำติ มหาวิทยาลัยรังสิต จัดสรรงบประมาณสนับสนุนค่าตีพิมพ์บทความลงในวารสารระดับ นานาชาติโดยเป็นการสนบัสนุนตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 35,000 บาท ต่อฉบบั ปี2565 มีนักวิจัยขอ สนับสนุน จ านวน 55 บทความ คิดเป็ นเงินท้ังสิ้น 1,260,840 บาท ซ่ึงเพิ่มจากปี2564 ซึ่ งมีการขอ สนับสนุน จ านวน 16 บทความ และด้วยการด าหนดยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน ท าให้นักวิจัยเลือกที่จะตีพิมพ์ เผยแพร่เพิ่มมากข้ึนท้งัในระดบัชาติและระดบันานาชาติ 4.3 งบประมำณกำรจัดประชุมวชิำกำร RSU International Research Conference 2023 สถาบันวิจัย ได้มีการจัดงานประชุมวิชาการฯ เพื่อเป็ นเวทีวิชาการในการน าเสนอผลงานวิจัย และแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ระหวา่งนกัวิชาการและเพื่อส่งเสริมการสร้างเครือข่ายงานวิจยัใน ระดับนานาชาติมีการแบ่งกลุ่มงานวิจัยออกเป็น 2 สายหลักอย่างชัดเจน คือ 1) “The 8th RSU International Research Conference on Sciences and Technology 2023 (RSUSCI-2023)” และ 2) “The 8th RSU International Research Conference on Social Sciences, Humanities, Education, Management and Arts 2023 (RSUSOC-2023)” ภายใต้หัวข้อภาษาอังกฤษ คือ "Leading Research and Innovation for Opportunity and Readiness after the Pandemic"ซ่ึงมีนักวิจัยร่วมน าเสนอบทความระดับนานาชาติ ท้งัหมด จา นวน 107 บทความ โดยมีงบประมาณ 900,000 บาท 4.4 โครงกำรสนับสนุนค่ำตรวจทำนบทควำมระดับนำนำชำติมีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับการตีพิมพ์ ผลงานวิจยัของคณาจารย์ให้เข้าสู่สากลมากข้ึน โดยการส่งตรวจแกรมม่าภาษาองักฤษข้นัสูง โดย Cambridge English Proofreading ในปี 2565 นกัวิจยัของมหาวิทยาลยัไดส้ ่งบทความเพื่อขอตรวจภาษา เพิ่มข้ึนเล็กนอ้ย โดยมีจา นวน 98 บทความ ใช้งบประมาณไปท้งัสิ้น 334,000.00 บาท 4.5 งบประมำณโครงกำรพัฒนำวำรสำรระดับชำติและระดับนำนำชำติของมหำวิทยำลัย จากการที่มหาวิทยาลยัมีวารสารของมหาวิทยาลยัท้งัระดบัชาติและระดบันานาชาติจา นวน 14 เล่ม มหาวิทยาลยัจดัสรรงบประมาณดา เนินงานสา หรับวารสาระดบันานาชาติ2 เล่ม ไดแ้ก่Journal of


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต Current Science and Technology (JCST) แ ล ะ Rangsit Journal of Social Science and Humanity(RJSH) เป็ นงบประมาณ 400,000 บาท ซึ่งรับผิดชอบการด าเนินการโดยสถาบันวิจัย รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง รหัสเอกสำร รำยกำรเอกสำรหลักฐำน มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.19 ฐานขอ้มูลการเผยแพร่ผลงานวิจยัของบุคลากร มรส. ที่นา เสนอผลงานวิจยัใน การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ปี 2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.20 ฐานข้อมูลการเผยแพร่ผลงานวิจัยของบุคลากร มรส. ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ ปี 2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.1.21 ฐานขอ้มูลการเผยแพร่ผลงานวิจยัของบุคลากร มรส. ในงานประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ RSU Conference 2023 มรส.สวจ.อ.2.2.1.4.04 ประกาศเรื่องการสนบัสนุนค่าใชจ้่ายในการนา เสนอและการตีพิมพ์ปี2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.4.05 ประกาศ เรื่อง การขอตรวจภาษาอังกฤษ 2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.4.06 สรุปโครงการ RSU Conference 2023 มรส.สวจ.อ.2.2.1.4.07 สรุปโครงการสนบัสนุนค่าตรวจทานบทความระดบันานาชาติ มรส.สวจ.อ.2.2.1.4.08 สรุปโครงการพฒันาวารสารระดบันานาชาติของมหาวิทยาลยัเขา้สู่ระบบ สากล


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อ5. มีกำรพัฒนำสมรรถนะอำจำรย์และนักวิจัย มีกำรสร้ำงขวัญและก ำลังใจตลอดจนยกย่องอำจำรย์ และนักวิจัยที่มีผลงำนวิจัย หรืองำนสร้ำงสรรค์ดีเด่น ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลัยรังสิต มีงบประมาณส าหรับพัฒนาสมรรถนะอาจารย์และนักวิจัย สร้างขวัญและ กา ลงัใจใหแ้ก่นกัวจิยั ไดแ้ก่ 5.1 โครงกำรพัฒนำศักยภำพด้ำนกำรวิจัย เป็นโครงการสา หรับจดัอบรมความรู้ใหแ้ก่นกัวิจยั ในปีการศึกษา 2565 ได้จัดอบรมความรู้ด้านการวิจัย โครงการ 1 โครงการ โดยใช้งบประมาณ 30,000.00 บาท ได้แก่โครงการอบรม เรื่อง การเขียนขอ้เสนอเพื่อขอการรับรองการวิจยัในคน ผ่าน ส านักงานจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2566 โดยมีผูเ้ขา้ร่วมโครงการ ท้งัสิ้น 58คน ผลการประเมินความคิดเห็นของการอบรมในภาพรวมมีความคิดเห็นอยูใ่นระดบัดีมาก (ค่าเฉลี่ย4.73) 5.2โครงกำรเงินรำงวลัสนับสนุนกำรเผยแพร่บทควำมวจิัยในวำรสำรทำงวชิำกำรระดับนำนำชำติ มหาวิทยาลัยรังสิตมีการจัดโครงการเงินรางวลัสนับสนุนการเผยแพร่บทความในระดับ นานาชาติเพื่อเป็นกา ลงัใจในการตีพิมพบ์ทความในวารสาร ที่มีImpact factor หรือวารสารนานาชาติที่ อยู่ในระบบฐานขอ้มูลระดบั Scopus, Scimago หรือ ฐานข้อมูลที่ กพอ.ให้การรับรอง โดยรับรางวัล พิเศษเพิ่มเติมตามระดบัของวารสาร ไดแ้ก่ควอไทล์Q1, Q2, Q3, Q4จะได้รับเงินรางวัล เป็ นเงิน 35,000, 20,000และ 5,000 บาท ตามล าดับ และหากนักวิจัยสามารถลงตีพิมพ์ใน Q1 ที่อยใู่นอนัดบัสูงสุดร้อยละ สิบ จะมีเงินรางวัลให้เป็ น 40,000 บาท นอกจากน้ีนกัวิจยัที่ลงในฐาน TCI ฐาน 1 จะได้รับเงินรางวัล เป็ นเงิน 2,000 บาท ในปี 2565 มีนักวิจยัขอรับรางวลัโครงการน้ีจา นวน 107 รางวลั โดยพบว่านักวิจยัสามารถ ยกระดับตีพิมพ์วารสารคุณภาพระดับ Q1 จ านวน 26 บทความ ระดับ Q2 จ านวน 29 บทความ ระดับ Q3 จ านวน 16 บทความ ระดับ Q4 จ านวน 2 บทความ บทความที่เข้าฐาน Scopus อื่นๆ จ านวน 7 บทความ และระดับ TCI ฐาน 1จ านวน 27 บทความ โดยมีใช้งบประมาณจ านวนท้งัสิ้น 1,750,000.00 บาท กล่าว ไดว้า่นโยบายการสนบัสนุนเงินรางวลัสามารถทา ให้นกัวิจยัของมหาวิทยาลยั สามารถตีพิมพ์ระดับการ ยอมรับที่ดีข้ึนตามเป้าหมายการดา เนินงาน 5.3กำรยกย่องเชิดชูมอบรำงวลันักวจิัย มหาวิทยาลยัเห็นความส าคญัของการยกย่องเชิดชูมอบรางวลัให้แก่บุคลากรที่มีการปฏิบตัิ ดีเด่นในทุกๆ มิติเช่น อาจารยส์อนดีเด่น นกัวิจยัดีเด่น บุคลากรดีเด่น โดยให้รางวลัเป็นเงินสด ในพิธี


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ประสาทปริญญาบัตร ในปี 2565ผูท้ี่ไดร้ับการพิจารณารางวลัอาจารยด์ีเด่นมหาวิทยาลยัรังสิต ในดา้น สาขาการวจิยั ไดแ้ก่รศ.ดร.สุรชัย กาญจนคม คณะวิทยาศาสตร์ อีกท้งัสถาบนัวิจยัมีโครงการส าหรับสร้างขวญัและกา ลงัใจให้นกัวิจยั โดยมีการจดัโครงการ นกัวจิยัดีเด่น ปี2565 ซ่ึงแบ่งรางวลัออกเป็น 3 ประเภทดงัน้ี 1) Platinum Award รศ.ดร.จิระพรชัย สุขเสรี วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ ผศ.เชาวลิต มณฑล วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ รศ.ดร.สื่อจิตต์ เพ็ชร์ประสาน วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ 2) Gold Award รศ.ดร.สุรชัย กาญจนคม คณะวิทยาศาสตร์ 3) Silver Award รศ.ปัญญา มณีจักร คณะวิทยาศาสตร์ ผศ.ดร.เอกพลลิ้มพงษา วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ นอกจากน้ีมหาวิทยาลัยรังสิต มีอาจารย์ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยจากส านักงานการวิจัย แห่งชาติซ่ึงไดร้างวลัท้งัสิ้น 3รางวลัแบ่งตามประเภทรางวลัฯ ดงัน้ี 1) รางวัลผลงานวิจัย จ านวน 1รางวลั ไดแ้ก่ รศ.ดร.สื่อจิตต์ เพ็ชร์ประสาน และคณะ วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ ผลงานวิจัยเรื่อง "การ ประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการวิเคราะห์และปรับปรุงสัญญาณเซอร์เฟชพลาสมอนโรโซแนนซ์ เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพของไบโอเซนเซอร์" รางวลัระดบัดีสาขาวทิยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ 2) รางวัลวิทยานิพนธ์ จ านวน 1รางวลั ไดแ้ก่ ผศ.ดร.ปาริสุทธ์ิเลิศคชาธารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์วิทยานิพนธ์เรื่อง"ประวตัิศาสตร์และ วฒันธรรมทอ้งถิ่นจากจิตรกรรมฝาผนังในจงัหวดัลา ปาง ระหว่างพุทธศตวรรษที่24ถึง ทศวรรษที่ 2540" รางวัลระดับดี สาขาปรัชญา 3) รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น จ านวน 1รางวลั ไดแ้ก่ ผศ.ดร.ณัฐพล ถนดัช่างแสง และคณะ วิทยาลยัวิศวกรรมชีวการแพทย์ผลงานเรื่อง "ผิวหนงั เทียมจากเจลลาตินผสมเซลล์ตน้กา เนิดกบั โกรทแฟคเตอร์ด้วยเทคนิคการพิมพ์ชีวภาพแบบสามมิติ สา หรับการรักษาแผลและฟ้ืนฟูผวิหนงั" รางวลัระดบัดีสาขาวทิยาศาสตร์การแพทย์


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต รวมถึงในปี 2565 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับการพิจารณารางวัล Thailand Research Expo 2022 Award ซึ่ งได้รับรางวัล Bronze Award จากผลงาน “ไข่ผงจากพืชไร้สารก่อภูมิแพ” ้ โดยมี รศ.ยพุกนิษฐ์พว่งวรีะกุลคณะเทคโนโลยอีาหาร รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง รหัสเอกสำร รำยกำรเอกสำรหลักฐำน มรส.สวจ.อ.2.2.1.5.01 สรุปโครงการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัย มรส.สวจ.อ.2.2.1.5.02 ประกาศเรื่องการมอบรางวลัสนบัสนุนการตีพิมพเ์ผยแพร่บทความวิจยั ปี2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.5.03 สรุปโครงการรางวลัสนบัสนุนการเผยแพร่บทความวิจยัในวารสารทางวิชาการ ระดับนานาชาติ ปี 2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.5.04 ประกาศมหาวิทยาลยัรังสิต เรื่องรางวลัอาจารยด์ีเด่นมหาวิทยาลยัรังสิต ปี2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.5.05 ประกาศมหาวิทยาลยัรังสิต เรื่อง หลกัเกณฑก์ารพิจารณารางวลันกัวิจยัดีเด่น พ.ศ.2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.5.06 สรุปโครงการรางวลันกัวิจยัดีเด่น มรส.สวจ.อ.2.2.1.5.07 รางวลันกัวิจยัดีเด่นแห่งชาติรางวลัผลงานวิจยัรางวลัวิทยานิพนธ์และรางวลั ผลงานประดิษฐ์คิดค้น มรส.สวจ.อ.2.2.1.5.08 รางวัล Thailand Research Expo 2022 Award ข้อ 6. มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในกำรคุ้มครองสิทธ์ิของงำนวิจัยหรืองำนสร้ำงสรรค์ที่น ำไปใช้ ประโยชน์และด ำเนินกำรตำมระบบที่ก ำหนด ผลกำรด ำเนินงำน การคุม้ครองสิทธ์ิงานวิจยัและงานสร้างสรรค์มีความส าคญัอยา่งยงิ่โดยเป็นส่วนหน่ึงของการ สนบัสนุนให้นกัวิจยัทา งานวิจยัไดโ้ดยมีช่องทางช่วยเหลือดูแลและสนับสนุนบุคลากร โดยจ าแนกได้ ดงัน้ี 6.1 ส านักงานทรัพย์สินทางปัญญา มหาวทิยาลยัรังสิต เป็นหน่วยงานที่จดัต้งัข้ึนเพื่อช่วยในการ คุม้ครองสิทธ์ิของงานวิจยัหรืองานสร้างสรรค์โดยรับ (มหาวิทยาลัยสนับสนุนงบประมาณ) มีระบบ สารสนเทศ ช้ีแจงข้นัตอนการขอจดอนุสิทธิบตัรและสิทธิบตัร เพื่อรองรับการยื่นเสนอขอจดสิทธิบตัร โดยมหาวิทยาลัยมีการสนับสนุนเงินรางวัลส าหรับนักวิจัยที่ได้รับสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร โดย สิทธิบัตรจะรับเงินรางวัลเป็ นเงิน 15,000 และอนุสิทธิบัตรจะได้รับเงินรางวัล 5,000 บาท


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ท้งัน้ีปีการศึกษา 2565 มีผลงานที่ได้รับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา มีจ านวน 10โครงการ กล่าวไดว้า่มหาวิทยาลยัรังสิต มีการคุม้ครองสิทธ์ิงานวิจยัและงานสร้างสรรค์สนับสนุนการพัฒนาเพื่อ การผลิตต้นแบบและน าไปใช้งานได้จริงซึ่งเป็ นไปตามเป้าหมาย 6.2 ส านกังานจริยธรรมการวิจยัเป็นหน่วยงานที่จดัต้งัข้ึนเพื่อช่วยสนบัสนุน และกา หนดให้ นกัวจิยัเพื่อดูแลดา เนินงานเกี่ยวกบัการวิจยัที่เกี่ยวขอ้งกบัคน สัตว์และสิ่งชีวภาพ เพื่อใหก้ารดา เนินงาน มีมาตรฐานถูกต้องตามข้อก าหนดของสากล โดยการด าเนินในปีการศึกษา 2565 มีการจัดต้ัง คณะกรรมการจริยธรรมงานวิจัยในคน ปี 2564และด าเนินงานให้นักวิจัยต้องขอใบรับรองจริยธรรม ก่อนการเริ่มด าเนินงาน ปี2564 มีงานวิจัยที่เสนอขอใบรับรองจริ ยธรรมวิจัยในคน จ านวน 253 โครงการ ในสัตว์ทดลอง 4โครงการ โดยใช้งบประมาณ 99,896 บาท เพื่อให้สนับสนุนกลไกการท างาน ส านักงานจริยธรรมการวิจัยจัดทา คู่มือการขอใบรับรองจริยธรรมการวิจัยในคน เผยแพร่ข้อมูล จรรยาบรรณการใชส้ ัตวท์ดลองเพื่องานทางวิทยาศาสตร์สภาวิจยัแห่งชาติและเผยแพร่แนวทางปฏิบตัิ เพื่อความปลอดภยัทางชีวภาพ ส านักงานจริยธรรมการวิจยัมีสื่อสารสนเทศเพื่อช่วยนักวิจยัในเรื่อง จริยธรรมในคนใหด้าวน์โหลดเอกสาร และติดต่อผา่นหนา้เวบ็ไซต์ รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง รหัสเอกสำร รำยกำรเอกสำรหลักฐำน มรส.สวจ.อ.2.2.1.6.01 คา สงั่แต่งต้งัคณะกรรมการทรัพยส์ินทางปัญญาของ มหาวิทยาลยัรังสิต มรส.สวจ.อ.2.2.1.6.02 ระเบียบมหาวิทยาลยัรังสิตวา่ดว้ยการจดัการทรัพยส์ินทางปัญญา พ.ศ.2564 มรส.สวจ.อ.2.2.1.6.03 ประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราการจัดสรรผลประโยชน์ จากผลงานดา้นทรัพยส์ินทางปัญญาและการถ่ายทอดเทคโนโลยี มรส.สวจ.อ.2.2.1.6.04 ผลงานที่ได้รับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ปี 2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.6.05 คา สงั่แต่งต้งัคณะกรรมการจริยธรรมในคน สตัวท์ดลองและความปลอดภยัทาง ชีวภาพ ปี 2565 มรส.สวจ.อ.2.2.1.6.06 สรุปโครงการจริยธรรมการวิจัยในคน การใช้สัตว์ทดลองเพื่องานทาง วิทยาศาสตร์ และความปลอดภัยทางชีวภาพ มรส.สวจ.อ.2.2.1.6.07 คู่มือการขอใบรับรองจริยธรรมการวิจยัในคน (Standard Operation Procedure; SOP) มรส.สวจ.อ.2.2.1.6.08 จรรยาบรรณการใชส้ตัวท์ดลองเพื่องานทางวิทยาศาสตร์สภาวิจยัแห่งชาติ มรส.สวจ.อ.2.2.1.6.09 แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ มรส.สวจ.อ.2.2.1.6.10 เว็บไซต์ส านักงานจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ 2.1 เป้าหมาย ผลด าเนินงาน ผลการประเมิน บรรลุเป้าหมาย 6ข้อ 6ข้อ 5.00คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงำนวจิัยและงำนสร้ำงสรรค์ (ข้อมูลโดย: คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน) ชนิดของตัวบ่งชี้: ปัจจัยน าเข้า เกณฑ์กำรประเมิน: คะแนนที่ไดใ้นระดบัสถาบนัเป็นผลรวมของคะแนนที่ไดข้องทุกกลุ่มสาขาวิชาฯ (เงินสนบัสนุนงานวจิยัหรืองานสร้างสรรคจ์ากภายในและภายนอกสถาบนัต่ออาจารย์ประจ าและนักวิจัย ต่อกลุ่มสาขาวชิาฯ) โดยการแปลงจา นวนเงินต่อจา นวนอาจารยป์ระจา และนกัวจิยัเป็นคะแนนระหวา่ง 0 -5จ าแนกเป็ น 3กลุ่มสาขาวชิา - กลุ่มสำขำวิชำวิทยำศำสตร์สุขภำพ จ านวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จาก ภายในและจากภายนอกสถาบนัที่กา หนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทข้ึนไปต่อคน -กลุ่มสำขำวิชำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีจ านวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ จากภายในและจากภายนอกสถาบนัที่กา หนดให้เป็นคะแนนเตม็ 5 = 60,000 บาทข้ึนไปต่อคน - กลุ่มสำขำวิชำมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์จ านวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรื องาน สร้างสรรคจ์ากภายในและจากภายนอกสถาบนัที่กา หนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทข้ึนไปต่อ คน ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลัยรังสิต มีระบบและกลไกในการส่งเสริมและสนบัสนุนการผลิตผลงานวิจยัและงาน สร้างสรรค์ ตลอดจนการพฒันาต่อยอดให้เป็นนวตักรรม ใหแ้ก่อาจารย์นักวิจัย และนักศึกษา โดยมีการ ส่งเสริมการของบประมาณสนับสนุนด้านการวิจยัจากแหล่งงบประมาณต่างๆ ท้งัจากภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัยเช่น การประชาสัมพนัธ์ช้ีแจงการขอทุนวิจยัจากแหล่งทุนต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้งและมี กระบวนการกา กบัติดตามต้งัแต่การจดัทา สัญญาการยื่นขอรับการพิจารณาจริยธรรมการวิจัย เป็ นต้น ท้งัน้ีสามารถจา แนกแหล่งสนับสนุนงบประมาณภายใน และแหล่งสนับสนุนงบประมาณภายนอก มหาวทิยาลยัดงัรายละเอียดต่อไปน้ี 2.2.1 แหล่งสนับสนุนงบประมำณภำยในมหำวิทยำลัยเป็ นงบประมาณที่มหาวิทยาลัยจัดสรร ให้กบัอาจารย์นักวิจัย และนักศึกษา โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนางานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ตามบริบทของมหาวิทยาลัยที่ตอบโจทย์การพึ่งพาตนเองทางด้านเทคโนโลยีของประเทศไทย ซึ่ ง


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต กา หนดเป้าหมายการดา เนินงานไวใ้นแผนยทุธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2565-2569 โดย มีหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยที่สนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนางานวิจัย งานสร้างสรรค์ และ นวัตกรรม ดงัน้ี 1) สถำบันวิจัย เป็นหน่วยงานสนับสนุนทุนวิจยัวิทยาการพ้ืนฐาน วิจยัประยุกต์วิจยัดา้นการ เรียนการสอน รวมถึงการให้ทุนวิจัยด้านชุมชน 2) ส ำนักงำนวำงแผนและพัฒนำ เป็นหน่วยงานสนับสนุนทุนวิจัยสถาบัน 3) ศูนย์บริกำรทำงวิชำกำร เป็นหน่วยงานสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรม โดยช่วย ส่งเสริมและผลกัดนั ให้อาจารยไ์ดท้า การต่อยอดงานวิจยัและงานสร้างสรรค์ของตนเอง ให้กลายเป็น นวตักรรม ผลิตภณัฑ์บริการที่พร้อมนา ไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์ 2.2.2 แหล่งสนับสนุนงบประมำณภำยนอกมหำวิทยำลัย เป็ นงบประมาณที่มหาวิทยาลัยโดย คณะวิชา (วิทยาลัย/คณะ/สถาบัน) ได้รับการจัดสรรจากหน่วยงานภายนอกมหาวทิยาลยั โดยมีเป้าหมาย เพื่อส่งเสริมการพฒันางานวิจยั/งานสร้างสรค/์นวตักรรม ที่ตอบโจทยก์ารพฒันาประเทศ ในปี การศึกษา 2565อาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากหน่วยงานภายนอก ใน ระดบัชาติและระดบันานาชาติดงัน้ี ล ำดับที่ รำยชื่อแหล่งทุนวจิยัภำยนอก 1. บริษทั โนโว นอร์ดิสค์ฟาร์มา (ประเทศไทย)จา กดั 2. โรงพยาบาลราชวิถี 3. บริษทัแอสตร้าเซเนกา้ 4. สา นกังานพฒันาวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยแีห่งชาติ(สวทช.)และกรมการแพทย์ 5. บริษัท เอฟ ฮอฟฟ์ มันน์ -ลาโรซ 6. บริษทัเธอแรทออคคูลาร์ไบโอเทคจา กดั 7. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 8. บริษทั โนวาร์ตีส (ประเทศไทยจา กดั) 9. บริษัท รีเจเนรอน ฟาร์มาซูติคอล อินคอร์ปอเรท 10. บริษทัอินเวอร์ซาจา กดั 11. สถาบนัวจิยัแห่งชาติ 12. หน่วยบริหารและจดัการทุนดา้นการพฒันากา ลงัคน และทุนดา้นการพฒันาสถาบนัอุดมศีกษาการ วิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.) 13. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 14. กองทุนส่งเสริมวทิยาศาสตร์วจิยัและนวตักรรม มหาวทิยาลยัสงขลานครินทร์ 15. กองทุนด้านการพัฒนาระดับพื่นที่ (บพท.) เป็นการร่วมกนัระหว่าง เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ธนบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ล ำดับที่ รำยชื่อแหล่งทุนวจิยัภำยนอก 16. สา นกังานการวจิยัแห่งชาติ(วช.)และสา นกังานพฒันาวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยแีห่งชาติ 17. กองทุนส่งเสริมวทิยาศาสตร์วจิยัและนวตักรรม 18. ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 19. กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 20. บริษทัอินเตอร์และบุตรจา กดั 21. ส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 22. บริษทั ไอชิน ออโตพาร์ทส์จา กดั 23. บริษทัเวลิด์เคสคอน จา กดั 24. บริษัทเสาดีเวลลอปเม้นท์ 25. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 26. บริษทัอีเอม็ดีไซน์แอนด์แมเนจเมนท์จา กดั 27. บริษทัไทยเบฟเวอเรจจา กดั (มหาชน) 28. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 29. สถาบันสุวรรณภูมิศึกษา วิทยสถานธัชชา กระทรวง อว. ผ่านทาง คณะโบราณคดีมหาวิทยาลัย ศิลปากร 30. สา นกังานการวจิยัแห่งชาติผา่นทางสถาบนัเอเชียศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั 31. สภาองคก์รของผบู้ริโภคโดยมีสถาบนับณัฑิตพฒันบริหารศาสตรเป็นแม่ข่าย 32. สภาองค์กรของผู้บริโภค 33. วดัป่าสิริวฒัน์นวสิทธ์ิ 34. สมาคมราชกีฑาสโมสร 35. ส านักงานกองทุนสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ 36. ส านักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 37. หน่วยบริหารและจดัการทุนดา้นการพฒันาระดบัพ้ืนที่(บพท.) 38. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม 39. สา นกังานการวจิยัแห่งชาติ(วช.) 40. สถาบนัเทคโนโลยนีิวเคลียร์แห่งชาติ(องคก์ารมหาชน) ระดับนำนำชำติ 1. Arrowhead Pharmaceuticals, Inc. 2. Valeo Group 3. Alexion Pharmaceuticals, Inc 4. Horizon Therapeutics Ireland DAC 5. Regeneron Pharmaceuticals, Inc 6. Abbott Laboratories Limited


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ล ำดับที่ รำยชื่อแหล่งทุนวจิยัภำยนอก 7. Vietnam Nation University Hanoi 8. Institute of Management Accountants (IMA) 9. University of North Texas (UNT), United States of America. 10. The Asia Foundation and Australia Embassy in Kingdom of Thailand. 11. The Gender Development Research Institution (GDRI). จากกระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษา ของมหาวิทยาลัย รังสิตยื่นขอทุนสนับสนุนงานวิจัย/ งานสร้างสรรค์/ นวัตกรรม ส่งผลให้ผลการดา เนินงานด้านเงิน สนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของมหาวิทยาลัยรังสิต ปี กำรศึกษำ 2565 มีค่ำคะแนนเท่ำกับ 4.61 แยกตามกลุ่มสาขาวชิา ดงัน้ี กลุ่ม คณะ/วิทยำลัย/ สถำบัน จ ำนวนอำจำรย์ ประจ ำ รวมจ ำนวนเงิน สนับสนุนงำนวจิัย และงำนสร้ำงสรรค์ เงินสนับสนุนฯ ต่อจ ำนวน อำจำรย์ประจ ำ และนักวิจัย ผลประเมิน กลุ่มวทิยาศาสตร์ สุขภาพ 353.50 17,194,872.75 48,641.79 4.86 กลุ่มวทิยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 237 11,278,331.19 47,587.90 3.97 กลุ่มมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ 469 23,155,404.32 49,371.86 5.00 ผลรวมของคะแนนทไี่ด้จำกทุกกลุ่มสำขำวชิำ 4.61 ท้งัน้ีเมื่อเปรียบเทียบผลกำรด ำเนินงำนของปี กำรศึกษำ 2565กับปี กำรศึกษำ 2564 พบวา่มีผล กำรด ำเนินงำนด้ำนเงินสนับสนุนงำนวจิัยและงำนสร้ำงสรรค์ของมหำวทิยำลัยรังสิตเพมิ่สูงขึน้ ซึ่งในปี การศึกษา 2564 ผลรวมของคะแนนด้านเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของท้งัสามกลุ่ม สาขาวิชา เท่ากบั 4.27 รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง มรส.สปค.อ2.2.2.01 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ (ข้อมูลจากคณะวิชา) (รายงาน SAR ระดับมหาวิทยาลัย จากภาคผนวก ข.)


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ 2.2 เป้ำหมำย ผลด ำเนินงำน ผลกำรประเมิน บรรลุเป้ำหมำย 4.00คะแนน 4.61คะแนน 4.61คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงำนทำงวิชำกำรของอำจำรย์ประจ ำและนักวิจัย (ข้อมูลโดย: คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน) ชนิดของตัวบ่งชี้:ผลลัพธ์ เกณฑ์กำรประเมิน: คะแนนที่ไดใ้นระดบัสถาบนัเป็นค่าเฉลี่ยของคะแนนผลการประเมินผลงานทาง วชิาการของอาจารยป์ระจา และนกัวจิยัของทุกคณะและหน่วยงานวจิยัในสถาบนั ข้อมูลพืน้ฐำน จ ำนวนยืนยัน จา นวนคณะและหน่วยงานวิจยัท้งัหมดของสถาบนั 32 ผลรวมของคะแนนผลการประเมินผลงานทางวชิาการของทุกคณะและหน่วย งานวิจัย 152.42 คะแนนที่ได้ 4.76 ผลกำรด ำเนินงำน มหาวิทยาลยัรังสิต มีระบและกลไกเพื่อส่งเสริมการสร้างสรรคผ์ลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจ าและนักวิจัย โดยมีสถาบันวิจัย ฝ่ ายวิจัย ทา หนา้ที่กา กบัดูแลต้งัแต่กระบวนการตน้น้า ไปจนกระทงั่ ถึงกระบวนการปลายน้า ของการทา วิจยัเพื่อใหม้ีงานวิจยัที่สามารถนา ไปตีพิมพเ์ผยแพร่ท้งัในระดบัชาติ และนานาชาติและเพื่อการอา้งอิงต่อยอดในเชิงวชิาการได้โดยมีกระบวนการที่สา คญัดงัน้ี 1)กระบวนการตน้น้า โดยสถาบนัวจิยัไดแ้ต่งต้งัคณะกรรมการบริหารงานวิจยัเพื่อทา หนา้ที่ให้ คา ปรึกษาและคา แนะนา เกี่ยวกบัแนวทางปฏิบตัิที่เกี่ยวขอ้งกบังานวิจยัและกระตุน้ ส่งเสริมให้คณะวชิา ต่างๆ ภายในมหาวทิยาลยัเห็นความส าคญั ในการศึกษาคน้ควา้และจดัทา รายงานวจิยัรวมท้งัการตีพิมพ์ เผยแพร่เพื่อน าไปใช้ประโยชน์ในเชิงวิชาการและสังคม อีกท้งัมีการประชาสัมพนัธ์โครงการท้งัภายใน และภายนอกมหาวิทยาลยัที่เกี่ยวขอ้งกบัเทคนิคการเขียนงานวิจยัการตีพิมพเ์ผยแพร่และเทคนิคการ เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อให้ได้รับทุนสนับสนุน และการจัดท าคู่มือการสมัครเพื่อขอรับ


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ทุนอุดหนุนการวิจยัสถาบนัวิจยัมหาวิทยาลยัรังสิต (ฉบบัล่าสุด พ.ศ.2566) เป็ นต้น โดยสถาบันวิจัย เปิ ดรับข้อเสนอโครงการวิจัย 3รอบ/ปี การศึกษา รอบที่ 1 วันที่ 1-30 มิถุนายน รอบที่ 2 วันที่ 1-30กนัยายน รอบที่ 3 วันที่ 1-31 มกราคม 2)กระบวนการกลางน้า ซ่ึงดา เนินการระหวา่งการไดร้ับทุนวิจยั โดยสถาบนัวจิยัมีหนา้ที่ในการ บริหารทุนวิจัยภายในและทุนวิจยัจากแหล่งทุนภายนอก มีการติดตาม ตรวจสอบ ควบคุมคุณภาพของ งานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุน มีการติดตามความกา้วหนา้ทุก3 เดือน ตามแบบฟอร์ม มรส.84 เพื่อให้ได้ งานวิจัยที่มีคุณภาพ และเพิ่มประสบการณ์ด้านงานวิจัยให้มุ่งเน้นการพฒันาและต่อยอดสามารถ ประยกุตใ์ชง้านไดจ้ริง เป็นประโยชน์ต่อสังคมและตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ 3)กระบวนการปลายน้า เป็ นการด าเนินการภายหลังปิ ดโครงการวิจัย ส่งเสริมใหง้านวิจยัไดร้ับ การตีพิมพ์ในระดับที่ได้รับการยอมรับในวงการวิชาการ และส าหรับงานวิจยัที่ได้รับการเผยแพร่ บทความลงในวารสารนานาชาติที่เข้าฐาน SCImago ในระดบัต่างๆ จะไดร้ับค่าตีพิมพแ์ละเงินรางวลั ตามการจัดอันดับวารสาร (Quartile) ดงัน้ี กำรจัดอันดับวำรสำร (Quartile) ได้รับค่ำสนับสนุนและ/หรือรำงวลั ควอไทล์ที่ 1 (Q1) ที่อยใู่นอนัดบัสูงสุดร้อยละสิบ 100,000 บาท/ฉบับ ควอไทล์ที่ 1 (Q1) 90,000 บาท/ฉบับ ควอไทล์ที่ 2 (Q2) 70,000 บาท/ฉบับ ควอไทล์ที่ 3 (Q3) 40,000 บาท/ฉบับ ควอไทล์ที่ 4 (Q4) 20,000 บาท/ฉบับ งานวิจยัที่ได้รับการเผยแพร่บทความลงในวารสารวิชาการระดบัชาติที่ปรากฏในฐานขอ้มูล TCI (Thai Journal Citation Index Centre) มีเกณฑ์การมอบเงินรางวลัดงัน้ี TCI ได้รับเงินรำงวัล TCIกลุ่มที่1 10,000 บาท/ฉบับ งานวิจัยที่ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตร และอนุสิทธิบตัร ต้งัแต่เดือนมกราคม พ.ศ.2565 มี เกณฑ์การมอบเงินรางวลัดงัน้ี ประเภทกำรจดทะเบียนให้ควำมคุ้มครองผลงำน ได้รับเงินรำงวัล สิทธิบัตร 15,000 บาท/ฉบับ อนุสิทธิบัตร 5,000 บาท/ฉบับ


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต ท้งัน้ีจากกระบวนส่งเสริมและสนบัสนุนให้อาจารย์และนักวิจัย สร้างสรรค์ผลงานวิชาการ ส่งผลใหก้ารดา เนินการในปี กำรศึกษำ 2565 ด้านผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ าและนักวิจัย มีค่า คะแนนเท่ากบั 4.76(จากคะแนนเต็ม 5.00) ท้งัน้ีเมื่อเปรียบเทียบผลกำรด ำเนินงำนของปี กำรศึกษำ 2565 กับปี กำรศึกษำ 2564 พบว่ามีผลการด าเนินงานด้านผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ าและนักวิจัย ของมหำวทิยำลยัรังสิตเพมิ่สูงขึน้ ซึ่งในปี การศึกษา 2564ผลการด าเนินงานด้านผลงานทางวิชาการของ อาจารย์ประจ าและนักวิจัยของทุกคณะวชิาและหน่วยงานวจิยัเท่ากบั 4.72 รำยกำรหลักฐำนอ้ำงอิง มรส.สปค.อ2.2.3.01 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ าและนักวิจัย (ข้อมูลจากคณะวิชา) (รายงาน SAR ระดับมหาวิทยาลัย จากภาคผนวก ข.) กำรประเมินตนเองจำกผลกำรด ำเนินงำน ตัวบ่งชี้ 2.3 เป้ำหมำย ผลด ำเนินงำน ผลกำรประเมิน บรรลุเป้ำหมำย 4.00คะแนน 4.76คะแนน 4.76คะแนน บรรลุเป้าหมาย ไม่บรรลุเป้าหมาย


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต องค์ประกอบที่ 2 กำรวิจัย รำยงำนผลกำรวเิครำะห์จุดเด่น และข้อเสนอแนะเพื่อกำรพฒันำ จุดเด่น 1. ผูบ้ริหารระดบัสูงของมหาวิทยาลยัมีวิสัยทศัน์มีการบริหารแบบยืดหยุน่ และใช้เทคโนโลยี ในการพัฒนางานวิจัยโดยการน าแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการมาเป็ นเครื่องมือ 2. มหาวิทยาลัยมีบุคลากรที่มีคุณภาพสูง มีศักยภาพในการผลิตผลงานวิจัยในระดับสากล ผลงานอยใู่นฐานขอ้มูลScopus ที่โดดเด่น ซ่ึงเป็นการเพิ่มชื่อเสียงและภาพลกัษณ์ของมหาวทิยาลยั 3. มหาวิทยาลัยมีผลงานของนักศึกษา ที่เป็ นการพัฒนานวัตกรรมจากการเรียนการสอน ที่มี คุณภาพและได้รับรางวัลจ านวนมาก 4. วารสารทางวิชาการของมหาวิทยาลยัไดร้ับการพฒันาอยา่งต่อเนื่อง ทา ให้ไดร้ับการรับรอง คุณภาพที่สูงข้ึน ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ จากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์จ านวนมาก อาจจะคัดเลือกผลงานและพิจารณาความเป็ นไป ไดใ้นการที่จะพฒันาให้เป็นผลิตภณัฑ์ในเชิงพาณิชย์โดยอาจจะทา ความร่วมมือกบัสถานประกอบการ ที่เกี่ยวขอ้งในการดา เนินการใหเ้ป็นรูปธรรมเพิ่มข้ึน ผลกำรปรับปรุงตำมข้อเสนอแนะของผลกำรประเมินปี กำรศึกษำ 2564 องค์ประกอบที่2 กำรวิจัย ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพฒันำคุณภำพ มหาวทิยาลยัควรมีแนวทางในการสนบัสนุนรางวลันกัวิจยัดีเด่น กรณีอาจารยไ์ปร่วมทา วิจยักบั สถาบนัอื่นและมีชื่อปรากฏอยู่ในผลงาน ไม่ว่าจะเป็นผูป้ระพนัธ์บรรณกิจ (Corresponding Author) ผู้ประพันธ์อันดับแรก (First Author) หรือผปู้ระพนัธ์ร่วม (Co-author) ผลกำรปรับปรุงตำมข้อเสนอแนะ การสนับสนุนรางวลัส าหรับการตีพิมพเ์ผยแพร่ผลงานวิจยัเดิมจะสนับสนุนบทความวิจยัที่ นกัวจิยัคณาจารยข์องมหาวทิยาลยัรังสิตมีชื่อเป็นผปู้ระพนัธ์บรรณกิจ (Corresponding Author) และเป็ น ผู้ประพันธ์อันดับแรก (First Author) เท่าน้ัน แต่เพื่อการส่งเสริมให้นักวิจัยได้มีการร่วมงานกับ หน่วยงานอื่น และสร้างความสัมพนัธ์ทางด้านงานวิจยั ในปี2565 มหาวิทยาลัยได้สนับสนุนการรับ รางวลัสามารถเป็นผูป้ระพนัธ์บรรณกิจ (Corresponding Author) หรื อผู้ประพันธ์อันดับแรก (First Author)


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต องค์ประกอบที่ 3 กำรบริกำรวิชำกำรแก่สังคม ตัวบ่งชี้ที่ 3.1กำรบริกำรวิชำกำรแก่สังคม (ข้อมูลโดย: ศูนย์บริการทางวิชาการ) ชนิดของตัวบ่งชี้:กระบวนการ เกณฑ์กำรประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการด าเนินการ 1 ข้อ มีการด าเนินการ 2 ข้อ มีการด าเนินการ 3 -4 ข้อ มีการด าเนินการ 5 ข้อ มีการด าเนินการ 6 ข้อ ข้อ 1. ก ำหนดชุมชนหรือองค์กำรเป้ำหมำยของกำรให้บริกำรทำงวิชำกำรแก่สังคมโดยมีควำมร่วมมือ ระหว่ำงคณะหรือหน่วยงำนเทียบเท่ำ ผลกำรด ำเนินงำน การกา หนดกลุ่มเป้าหมายของการใหบ้ริการทางวชิาการแก่สังคมและชุมชน มหาวทิยาลยัรังสิต โดยศูนย์บริการวิชาการ ได้ค านึงความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569 ซ่ึงมีเป้าประสงคท์ ี่จะมุ่งสร้างเสริมองคค์วามรู้พ้ืนฐาน การบริการวิชาการเพื่อพฒันาให้กบั บุคลากรมหาวิทยาลยัรังสิต ผา่นกระบวนการที่ครอบคลุมศาสตร์ทุกสาขา ที่จะทา ใหม้หาวิทยาลยัรังสิต เป็นที่พ่ึงและแหล่งอา้งอิงทางวชิาการใหแ้ก่ชุมชน สังคม ประเทศและภูมิภาคอาเซียน จากเดิมแผนบริการวิชาการแก่สังคมและชุมชน มีการกา หนดชุมชนหลักคือ ตา บลหนอง สาหร่าย อา เภอพนมทวน จงัหวดักาญจนบุรีเป้าหมายของแผนบริการวิชาการ เพื่อแกป้ ัญหาการทา นา เรื่องขาดปัจจัยการผลิต และราคาผลผลิตที่ตกต ่า โดยมหาวิทยาลัยรังสิตสนับสนุนด้านการบริ การ วิชาการและการลงทุนเบ้ืองต้น รวมท้งัต้องการพฒันาให้ชุมชนเป็นกลุ่มเกษตรกรต้นแบบชาวนา อัจฉริยะ สามารถถ่ายทอดองคค์วามรู้สู่ผทู้ี่สนใจ ซ่ึงไดร้ับความร่วมมือจากคณะ/ วทิยาลยั/สถาบนัต่าง ๆ ดว้ยดีมาโดยตลอด โดยเฉพาะจากความร่วมมือของวิทยาลยันวตักรรมเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพและ อาหาร วิทยาลยัวิศวกรรมศาสตร์และคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลยัรังสิต จนกระทงั่ปัจจุบนัชุมชน เป็นแหล่งถ่ายทอดองคค์วามรู้สู่ผูท้ี่สนใจและไดร้ับปัญญาบตัร เป็นสิ่งการันตีให้ผูเ้ขา้รับการเรียน คน ในชุมชนมีความเป็นอยทู่ ี่ดีข้ึน ชุมชนไดร้ับรางวลัต่อเนื่องตลอดมา ในปี 2563ไดม้ีการหารือกนัระหวา่งส่วนงานต่างๆ ท้งัทาง สถาบนัวจิยัศูนยบ์ริการทางวชิาการ และคณะ/ วิทยาลยั/สถาบนัต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ง พบวา่มีโครงการจา นวนไม่น้อยที่ดา เนินการกบัชุมชนที่ ใกลเ้คียงกบัสถานที่ต้งัของมหาวิทยาลยั ประกอบกบัมหาวิทยาลยัรังสิตไดร้ับมอบหมายจากกระทรวง สาธารณสุข ให้เป็นหน่วยบริการวคัซีน เพื่อดูแลประชนในบริเวณใกล้เคียงมหาวิทยาลยัทา ให้เกิด


รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ าปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยรังสิต แนวคิดที่จะมีโครงการบริการวิชาการและชุมชนเป้าหมาย โดยในปี การศึกษา 2564 น้ีมหาวทิยาลยัรังสิต ไดก้า หนดชุมชนเป้าหมาย เนน้พ้ืนที่ให้บริการสัมพนัธ์กบัที่ต้งัมหาวิทยาลยั (Area Base ระยะทาง 300 กิโลเมตร) คือจงัหวดัที่ต้งัมหาวิทยาลยัและจงัหวดัรอยต่อของจงัหวดัที่ต้งัคือชุมชนหลกัหกจงัหวดั ปทุมธานีแต่อยา่งไรก็ตามการบริการวชิาการน้นั ไม่ไดจ้า กดัพ้ืนที่เฉพาะชุมชนเป้าหมายเท่าน้นั ในส่วน ของชุมชนหนองสาหร่าย ซ่ึงเป็นชุมชนเป้าหมายในปีการศึกษาที่ผ่านมา ทางมหาวิทยาลัยก็ยังมี โครงการที่ดา เนินการต่อเนื่องอยู่รวมไปถึงพ้ืนที่อื่นๆ ในจงัหวดัปทุมธานีเพื่อนา ไปสู่การพฒันาตนเอง ที่มีความเข้มแข็ง โดยมีหลักฐานปรากฏชัดเจนที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นอยู่ที่ดีข้ึนท้ังทางด้าน การศึกษา, ดา้นสังคมและเศรษฐกิจและดา้นสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีโครงการจากคณะ/ วิทยาลัย/ สถาบนัต่าง ๆ ที่เขา้ไปบริการวิชาการให้กบัชุมชนตา บลหลกัหก จงัหวดัปทุมธานีอย่างต่อเนื่องและ สา หรับชุมชนตา บลหนองสาหร่าย อา เภอพนมทวน จงัหวดักาญจนบุรีก็ยังคงมีโครงการบริการวิชาการ เช่นเดิม เพื่อส่งเสริมพฒันาชุมชนใหย้งัยนือยางถาวร ่ ในปี 2564 ตามที่มีการวางแผนก าหนดชุมชนในการบริการวิชาการต่อเนื่องจากปี2563 โครงการบริการวิชาการในพ้ืนที่เดิมคือชุมชนตา บลหนองสาหร่าย อา เภอพนมทวน จงัหวดักาญจนบุรี เป็นโครงการเพิ่มเติมที่ให้บริการเฉพาะส่วนที่ชุมชนตอ้งการ เพื่อเสริมความเขม้แข็งให้ชุมชนมากข้ึน และกา หนดชุมชนตา บลหลกัหกจงัหวดัปทุมธานีและพ้ืนที่จงัหวดัปทุมธานีเพิ่มเติมอีกพ้ืนที่หน่ึงเพื่อ ขยายพ้ืนที่การพฒันาในพ้ืนที่ชุมชนใกลเ้คียงมหาวทิยาลยัดว้ยการสร้างคุณภาพชีวติและสังคมที่ดีให้กบั ชุมชนแวดล้อม ดังน้ันโครงการบริการวิชาการในปี2564 จะเน้นที่การพัฒนาชุมชนต าบลหลักหก จงัหวดั ปทุมธานีและพ้ืนที่อื่นในจงัหวดั ปทุมธานีซ่ึงเป็นชุมชนที่มหาวิทยาลัยกา หนดเป็นชุมชน เป้าหมายใหม่และเนื่องจากการดา เนินการในพ้ืนที่น้ีอยู่ในช่วงระยะเวลาการเริ่มตน้จึงจา เป็นตอ้งรวม สรรพกา ลงัใหเ้กิดการพฒันาร่วมกนัแบบองคร์วม โดยการแบ่งงานบริการวิชาการทางสังคมเป็น 3 ด้าน ไดแ้ก่คือ ดา้นสุขภาพและสิ่งแวดลอ้ม ดา้นการศึกษา ดา้นสังคมและเศรษฐกิจ ในปี 2565 มหาวิทยาลยัไดก้า หนดชุมชนหรือองคก์ารเป้าหมายต่อเนื่องจากปี2564 คือ ชุมชน ตา บลหลกัหกจงัหวดัปทุมธานีและพ้ืนที่อื่นในจงัหวดัปทุมธานีทุกคณะมีส่วนร่วมในการดา เนินการ ในโครงการต่าง ๆ รวมท้งัการมีส่วนร่วมจากชุมชนเป้าหมาย มหาวิทยาลยัไดก้า หนดเป็นโครงการใน ระดับสถาบัน จ านวน 2 โครงการ ที่สนบัสนุนให้คณะต่างๆ เขา้มามีส่วนร่วม ไดแ้ก่1) โครงการการ พัฒนาสุขภาวะจังหวัดปทุมธานี 2)โครงการออมสินยวุพฒัน์รักษถ์ิ่น ซ่ึงเป็นโครงการที่มีการดา เนินการ ครอบคลุม 3 ดา้นตามที่มหาวทิยาลยักา หนดไว้


Click to View FlipBook Version