The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรโรงเรียนวัดหน้าเมือง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by p.yasmee, 2022-05-03 07:43:30

หลักสูตรโรงเรียนวัดหน้าเมือง

หลักสูตรโรงเรียนวัดหน้าเมือง

หลกั สตู รโรงเรยี นวัดหน้าเมอื ง

พุทธศักราช ๒๕๖๕

ตาม (ร่าง) กรอบหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
พุทธศกั ราช..............ระดบั ประถมศกึ ษา

สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลักสตู รโรงเรียนวดั หน้าเมอื ง
พทุ ธศักราช 2565

ตาม (ร่าง) กรอบหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
พุทธศักราช....ระดับประถมศกึ ษา

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

หลกั สตู รโรงเรยี นวดั หนา้ เมือง พุทธศกั ราช 2565 ตาม(รา่ ง)กรอบหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้น
พ้ืนฐานพุทธศักราช.... ระดับประถมศกึ ษา ได้พฒั นาขนึ้ ตามแนวคิดการจดั การศึกษาฐานสมรรถนะ มเี ปา้ หมาย
เพอ่ื พัฒนาผูเ้ รยี นทกุ คนให้มสี มรรถนะหลักทีส่ ำคัญ จำเปน็ และส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนไดบ้ ม่ เพาะ พฒั นา และตอ่
ยอดสมรรถนะหลกั และสมรรถนะอ่นื ได้เต็มตามศักยภาพ ตามความจำเพาะเจาะจงของบุคคล
(Personalization)ตามความเช่อื ที่วา่ มนษุ ย์มหี นา้ ที่ในการพยายามค้นหาตัวเอง และเลือกสร้างลักษณะของ
ตนเองตามที่อยากจะเป็น การจัดการศกึ ษาตามแนวคิดน้ี จงึ มงุ่ ให้ผูเ้ รยี นทบทวน พิจารณา ไตรต่ รอง ใครค่ รวญ
และตรวจสอบเพ่อื ใหค้ ้นพบและร้จู ักตนเองอยู่เสมอ เพอื่ พัฒนาศกั ยภาพของตนเองอย่างเป็นองค์รวม และ
สอดคล้องกบั การจดั การศกึ ษาเป็นกลไกสำคญั ของการพัฒนาคณุ ภาพของประชากร ซึ่งส่งผลตอ่ การพฒั นา
ประเทศในทกุ มติ ิ ด้วยสถานการณข์ องโลกปัจจุบันท่ีผนั ผวน ไม่แน่นอน สลับซบั ซอ้ น ความคลมุ เครอื และ
เปลีย่ นแปลงรวดเร็วตลอดเวลา การจดั การศึกษาโดยเฉพาะในระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานจงึ จำเปน็ ตอ้ งเตรียมเดก็
และเยาวชนของชาติให้เขม้ แขง็ และสามารถดำรงอยูไ่ ดท้ ่ามกลางภาวะวิกฤตแิ ละการเปลี่ยนแปลงท้ังวิถีชีวติ ดงั
เปา้ หมายการจัดการศึกษาที่กำหนดไว้ใน แผนการศกึ ษาชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 และมาตรฐานการศึกษา
ของชาติ พ.ศ. 2561 ที่ลว้ นมุง่ พฒั นา “ผลลัพธ์ท่ีเกิดในตัวผ้เู รียน”

ในหลกั สูตรโรงเรียนวัดหน้าเมือง พุทธศักราช 2565 ตาม(ร่าง)กรอบหลักสตู รแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พ้นื ฐานพทุ ธศักราช.... ระดับประถมศึกษา ฉบบั นี้ ได้บรู ณาการตามร่างกรอบหลกั สูตรการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช... ของกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย แนวคิดพ้ืนฐานของการพัฒนาหลักสูตร วสิ ัยทัศน์ของ
โรงเรียน หลักการเป้าหมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะหลัก กลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงสร้างเวลา
เรยี น คำอธบิ ายหนว่ ยการเรียนรู้ การจัดหนว่ ยการเรียนรู้ แนวทางการบรหิ ารการจัดการหลกั สูตร แนวทางการ
จัดการเรียนรู้ และการประเมินการเรียนรู้ ผู้ที่เก่ียวข้องและผู้ที่นำหลักสูตรฉบับนี้ไปใช้ได้เข้าใจ และสามารถ
นำไปใช้ได้อยา่ งถูกต้องและบรรลุผลตามทตี่ อ้ งการ

หลักสตู รโรงเรยี นวดั หนา้ เมอื ง พทุ ธศกั ราช 2565 ตาม(ร่าง)กรอบหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ัน
พื้นฐานพุทธศักราช.... ระดับประถมศกึ ษา ฉบับนี้ สำเร็จลุล่วงไปดว้ ยดกี ็ด้วยความร่วมมอื จากบุคคลหลายฝ่าย
ประกอบด้วย ศกึ ษาธิการจังหวัดสตูล ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสตูลศึกษานเิ ทศ
ศึกษาธกิ ารจังหวัดสตูล ศกึ ษานเิ ทศสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล คณะกรรมการสถานศึกษา
ขนั้ พืน้ ฐานของโรงเรียน ผ้ปู กครองนักเรียน คณะครู และผู้ที่มสี ว่ นเกี่ยวขอ้ งทกุ ภาคส่วนทม่ี ีสว่ นร่วมดำเนินการ
ทางโรงเรยี นจงึ ขอขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสน้ี

โรงเรียนวดั หนา้ เมือง

ประกาศโรงเรยี นวัดหนา้ เมือง

เรอ่ื ง ใหใ้ ช้หลักสตู รโรงเรียนวัดหนา้ เมือง พุทธศักราช 2565 ตาม(รา่ ง)กรอบหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา

ขัน้ พ้นื ฐานพทุ ธศักราช.... ระดับประถมศึกษา
..................................................................................................................................................................

เพื่อใหก้ ารจดั การศกึ ษาตาม (ร่าง) กรอบหลกั สูตรการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช .... ระดับ
ประถมศกึ ษา และพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2545 และท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 2)
พ.ศ. 2545 มาตรา 27 กำหนดให้สถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานมีหนา้ ท่ีจัดทำสาระของหลักสตู ร ตาม (ร่าง) กรอบ
หลักสูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช .... กำหนด ดังน้นั สถานศึกษาจงึ ได้จดั ทำหลักสูตรโรงเรยี นวัดหนา้
เมอื ง พุทธศกั ราช 2565 ตาม(รา่ ง)กรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช.... ระดบั
ประถมศกึ ษาข้นึ ซึง่ กำหนดกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย สมรรถนะเฉพาะ และผลลัพธก์ ารเรียนรู้เม่ือจบ
ช่วงช้นั คอื ช่วงชั้นท่ี 1 (ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 - ๓) กำหนด 7 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ ศิลปะ สุขศกึ ษาและพลศึกษา สงั คมศกึ ษา วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ และ
ชว่ งช้ันท่ี 2(ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6) กำหนด 9 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์
ภาษาอังกฤษศลิ ปะ สุขศกึ ษาและพลศึกษา สงั คมศึกษา การจัดการในครวั เรอื นและการประกอบการ
วทิ ยาศาสตรแ์ ละระบบธรรมชาติ เทคโนโลยีดิจทิ ัล พฒั นาสมรรถนะหลกั 6 ด้านผา่ นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ โดย
ผสมผสานระหว่างสมรรถนะหลกั กบั สมรรถนะเฉพาะ ของแตล่ ะกล่มุ สาระการเรียนรู้ เพือ่ กำหนดเป็นผลลพั ธ์
การเรยี นรู้เม่ือจบชว่ งช้ันของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมเพมิ่ เติมตามจุดเนน้ และบรบิ ทของสถานศึกษา
และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน และระเบยี บการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หลกั สตู รโรงเรียนวัดหน้าเมอื ง
พทุ ธศักราช 2565 ตาม(ร่าง)กรอบหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช.... ระดบั ประถมศึกษา
เป็นทเี่ รียบรอ้ ยแลว้ โดยใหใ้ ช้ทกุ ช้นั เรียน ในปกี ารศกึ ษา 2565 เปน็ ต้นไป

ทั้งน้ีหลกั สูตรโรงเรียนวดั หน้าเมือง พุทธศกั ราช 2565 ตาม(รา่ ง)กรอบหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช.... ระดับประถมศึกษา ได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ใน
คราวประชุม ครัง้ ท่ี 2/2565 เมื่อวันท่ี 9 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2565 จึงประกาศให้ใช้หลักสตู รโรงเรยี นวัด
หน้าเมือง พุทธศักราช 2565 ตาม(ร่าง)กรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช.... ระดับ
ประถมศึกษาทุกชนั้ ปี ต้งั แต่บัดนเ้ี ปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565

(นายสมพงค์ รัตตพนั ธ์) (นางจุรีรัตน์ แคยิหวา)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ผอู้ ํานวยการโรงเรียนวดั หนา้ เมอื ง

โรงเรยี นวดั หนา้ เมอื ง

สารบญั หนา้

คำนำ 1
ส่วนที่ 1 4
ขอ้ มูลทวั่ ไป 5
สว่ นท่ี 2 6
1. แนวคิดพน้ื ฐานของการพัฒนาหลักสตู ร 7
2. วิสัยทัศน์ 8
3. หลกั การของหลักสูตร 24
4. จดุ หมายของหลกั สตู ร 25
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6. สมรรถนะหลัก 6 ด้าน และระดับสมรรถนะ 10 ระดบั 26
7. กลุม่ สาระการเรยี นรู้ 32
8. ความสมั พันธ์ระหวา่ งสมรรถนะหลกั กบั กล่มุ สาระการเรียนรู้ 40
45
8.1 ผลลัพธ์การเรยี นรู้ช้ันปี (ป.1 - 3) ใน 7 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 52
• ภาษาไทย 58
• คณิตศาสตร์ 70
• ภาษาองั กฤษ
• ศลิ ปะ 80
• สุขศกึ ษาและพลศึกษา 89
• สงั คมศกึ ษา 96
• วทิ ยาศาสตรแ์ ละระบบธรรมชาติ 101
112
8.2 ผลลัพธ์การเรียนร้ชู ั้นปี (ป.4 - 6) ใน 9 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ 121
• ภาษาไทย 133
• คณิตศาสตร์ 138
• ภาษาองั กฤษ 149
• ศิลปะ 156
• สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 158
• สังคมศึกษา 227
• การจดั การในครวั เรือนและการประกอบการ 236
• วทิ ยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ
• เทคโนโลยีดิจทิ ัล

9. โครงสรา้ งเวลาเรียน
คำอธิบายรายวิชา

10. แนวทางการบรหิ ารจัดการหลักสตู ร
11. แนวทางการจัดการเรียนรู้ และการประเมินการเรียนรู้

ข้อมลู พ้ืนฐานโรงเรียนวดั หน้าเมือง

โรงเรยี นวัดหน้าเมือง ทีต่ ง้ั หมทู่ ี่ 6 ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จงั หวดั สตลู 91000 สังกดั
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตลู โทรศัพท์ 074-772177 e-mail :
[email protected] website : http://www.spesao.go.th/wm เปดิ สอนตง้ั แตร่ ะดับชั้น
อนุบาล 1 ถึงระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มเี น้อื ที่ 10 ไร่ 1 งาน 8 ตารางวา เขตพื้นทบี่ รกิ ารมี 1
หมบู่ ้าน คอื หมู่ท่ี 6 ตำบลคลองขดุ มีนกั เรยี นจำนวน 85 คน ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
จำนวน 10 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มนี าคม 2565) เปน็ โรงเรยี นขนาดเล็ก เปดิ ทำการสอนตั้งแต่ชน้ั
อนุบาล 2 ถงึ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

โรงเรยี นวดั หน้าเมือง เปน็ โรงเรียนนำร่องพื้นที่นวตั กรรมจังหวัดสตลู ในการพัฒนาคุณภาพ
ผเู้ รียนนน้ั โรงเรียนใช้หลกั การบูรณาการ การมีส่วนรว่ ม เนน้ กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย การเรยี นรู้
แบบลงมือปฏบิ ตั ิ Active Learning และใช้โครงงานฐานวิจยั (RBL)เปน็ เครอื่ งมือต้นทางในการจดั การ
เรียนรู้ นำไปสูก่ ารคดิ คน้ และพัฒนานวตั กรรมใหม่ ๆ อยา่ งหลากหลายมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
ท้งั ด้านความรู้ เจคคติ และ ทกั ษะสมรรถนะ

ทนุ ชุมชนโรงเรียนวัดหน้าเมอื ง ชุมชนเป็นชมุ ชนกึ่งเมอื งกง่ึ ชนบท ประชากรสว่ นใหญน่ ับถือ
ศาสนาพุทธ รอ้ ยละ 90 และนบั ถอื อิสลาม ร้อยละ10 ประชากรในชมุ ชนสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี
รบั จา้ งเป็นหลัก มอี าชีพเกษตรกรรมเปน็ รอง ชุมชนหน้าเมอื งท่ีตั้งรายลอ้ มดว้ ยสถานท่ีสำคญั เชน่ วัด
หนา้ เมือง เซเวน่ ปม๊ั นำ้ มนั บ้านเขา่ บ้านจัดสรร หา้ งรา้ น บรษิ ัท และสถานทรี่ าชการตา่ งๆ ดา้ นภมู ิ
ปญั ญาชุมชนหน้าเมืองมีภมู ิปญั ญาทีม่ ีความสามารถหลากหลาย เชน่ มีการทำขนมพ้ืนบา้ น การทำขนม
จาก การรำมโนราห์ การทำไข่เคม็ สมุนไพร มวยไทยและเล้ยี งวัวชน การทำว่าวควาย โดยมีตาเคลือ่ น
การทําเหรียญโปรยทาน กลองยาว บาสโลบ กีฬาวดู บอล ด้านประเพณแี ละวฒั นธรรม งานว่าว ทำบญุ
เดอื นสบิ ชักพระ ทอดกฐิน การหล่อเทยี นพรรษา งานบวช งานแตง่ งาน สงกรานต์ ขึน้ บา้ นใหม่ วนั รายอ

แหลง่ เรียนรู้ในชุมชน ได้แก่ วัดหน้าเมือง เทศบาล อบจ. กล่มุ แม่บ้านทำไข่เคม็ ค่ายทหาร กรมอตุ ุฯ
โรงเรียนประจำจังหวัด ร้านตัดผม รา้ นเสริมสวย บ้านเช่าต่างๆ ป้ัมน้ำมัน โรงแก็ส โรงงานปลากระป๋อง
และบรษิ ทั หา้ งร้าน ห้างแมค็ โคร ด้านการมีส่วนรว่ มของชมุ ชน การเข้าร่วมแข่งขันกฬี าสานสัมพันธ์
สังสรรค์ศิษยเ์ กา่ และมหี น่วยงานราชการเขา้ มามีส่วนรว่ มในการใหค้ วามรู้นกั เรยี น ไดแ้ ก่ โรงพยาบาล
สง่ เสริมสขุ ภาพทหาร ตำรวจ กระทรวงพลังงาน วิทยาลยั เทคนิคสตูล เรือนจำจังหวัดสตูล คริสต์จกั ร
สตลู เปน็ ตน้

ทนุ โรงเรียน ด้านสถานท่ี มอี าคารเรียน อาคารประกอบ มหี อ้ งนำ้ ห้องสว้ ม สนามเด็กเล่น
สนามกีฬา เรอื นเพาะชำ มีระบบสาธารณูปโภคเพียงพอและได้รับการบำรงุ ซอ่ มแซมอยเู่ สมอ ด้าน
ทรัพยากร สถานทตี่ งั้ ของโรงเรยี น อยู่ใกลก้ บั สถานทีร่ าชการ ทา่ มกลางบริษัทหา้ งร้านและส่งิ อำนวย
ความสะดวกต่างๆ เชน่ เซเวน่ แมค็ โคร ปม๊ั น้ำมัน การคมนาคมและการเดินทางสะดวก ด้านการจัดการ
มกี ารบริหารงานร่วมกันและทำงานเป็นทมี มกี ารรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของทุกคน พดู คุยในวง PLC มีการ
นิเทศติดตามอย่างสมำ่ เสมอด้านบคุ ลากรและความถนดั ของครู บคุ ลากรมีจำนวนเพียงพอ ตรงความถนัด
ของแต่ละวชิ าเอก มวี ัฒนธรรมองคก์ รท่ีทำงานเปน็ ทมี ด้านความมุ่งม่ันของโรงเรียน ครูและบคุ ลากร มี
ความมุ่งมัน่ ตงั้ ใจ ทุ่มเท แรงกายแรงใจในการพฒั นานกั เรียนในทุกๆดา้ น เพือ่ ใหน้ ักเรยี นเกิดทกั ษะ
พนื้ ฐาน ในการดำเนินชวี ิตและใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข

มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน โดยรวม
สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโดยกระบวนการ Active Learning จัดการเรียนรู้
ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต มีหลักสูตร
สถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีแผนการการจัดการเรียนรู้ ท่ี
สามารถจัดกิจกรรมได้จริง ผเู้ รยี นได้รบั การฝกึ ทักษะการแสดงออก แสดงความคิดเหน็ สรุปองค์ความรู้
นำเสนอผลงาน สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้ และมแี ผนIEP ของเด็กพเิ ศษเรยี นร่วม ตาม โครงการ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติเพื่อพัฒนาความคิดรวบยอด และได้ใช้
กระบวนการคดิ เป็นรายกลุ่มเลก็ และกลุ่มใหญอ่ ย่างหลากหลายเกย่ี วกับส่งิ ที่ได้กระทำลงไปทุกกลุ่มสาระ
และมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการโครงงานฐานวิจัยในทุกชั้นเรียน มีการนำความรู้ที่ได้มา
ถ่ายทอดให้ผู้อ่ืน และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน โรงเรียนส่งเสริมให้ครูใช้สื่อการเรียนการสอน
นวตั กรรมและเทคโนโลยี ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นให้กบั ผ้เู รียนไดเ้ รยี นรอู้ ย่างเป็นรูปธรรม ผา่ นการลงมือปฏบิ ัติ
จริงในกิจกรรมตา่ งๆ มแี หล่งการเรยี นรู้ที่เอื้อต่อการเรยี นรู้ ครูมีการผลติ สื่อ ใชส้ อ่ื และใชส้ ่อื เทคโนโลยี ใช้
แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน เช่น ห้องพยาบาล ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด ห้องสหกรณ์
โรงเรียน ใตถ้ ุนอาคารเรยี น แหลง่ เรียนรู้นอกโรงเรียน วัด สำนักงานเทศบาลตำบลคลองขดุ รวมท้งั นำภมู ิ
ปญั ญาท้องด้านการทำขนมทอ้ งถน่ิ มาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ โดยให้ผู้เรยี นไดแ้ สวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง
จากสื่อท่หี ลากหลาย ครูใช้แรงเสริมในการช่วยพัฒนาการจดั การเรียนรู้ มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชิง
บวก ครูผ้สู อนมกี ารบริหารจัดการช้นั เรยี น โดยเน้นปฏิสัมพนั ธ์เชิงบวกโดยครูรักเดก็ เหมือนลูก เดก็ รักครู
เหมือนพ่อแม่ เด็กรักเด็กเหมือนเป็นพ่ีน้องครอบครัวเดียวกัน ทำให้การเรียนของนักเรียนเป็นไปด้วย
ความสขุ เช่น กจิ กรรมการทักทายระหว่างครกู ับนกั เรียน และครูรจู้ ักนกั เรยี นเป็นรายบุคคลทำใหผ้ ู้เรยี น
เรียนรอู้ ยา่ งความสขุ โรงเรียนมีการวเิ คราะห์ผเู้ รียนรายบุคคลมีการประเมินความก้าวหน้ามีการวิเคราะห์
ผลการประเมิน และนำผลการประเมินไปพัฒนาการเรียนรู้กับผู้เรียนรายกลุ่มเพื่อจัดการเรียนรู้ให้
เหมาะสม ครูและผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อปรับปรุงและ
พัฒนาการจดั การเรียนรู้ดว้ ยวิธกี ารสร้างชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ

จุดเด่น :
ผเู้ รยี นอ่านหนังสอื ออก รวมทงั้ สามารถเขียนเพอ่ื การสือ่ สารไดท้ ุกคน สามารถใช้

เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ไดด้ ้วยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรียนอยใู่ นระดบั ดี
ผู้เรียนมีสุขภาพรา่ งกายแขง็ แรง มีสมรรถภาพทางกายและนำ้ หนักส่วนสงู ตามเกณฑ์ มีระเบียบวนิ ยั เปน็
ที่ยอมรบั ของชุมชนโดยรอบในเรื่องความมวี นิ ยั เคารพกฎกตกิ า มารยาทของสงั คม ได้แก่ การเขา้ ควิ รับ
อาหารกลางวนั การไหว้ หรอื เคารพผู้อนื่ เป็นตน้ สถานศึกษามกี ารบริหารและการจดั การอย่างเป็น
ระบบ ใช้เทคนิคการประชุมทหี่ ลากหลายวธิ ี เชน่ การประชุมแบบมีสว่ นรว่ ม การประชมุ ระดมสมอง การ
ประชมุ กลุม่ เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนรว่ มในการกำหนดวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ท่ีชัดเจน มีการปรับ
แผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ัติการประจำปี ท่ีสอดคล้องกบั ผลการจดั การศึกษา สภาพ
ปญั หา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏิรูปการศกึ ษาทม่ี ุง่ เน้นการพฒั นาใหผ้ ูเ้ รียนมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการเรียนรูต้ ามหลกั สูตรสถานศกึ ษาครผู ู้สอนสามารถจัดการเรยี นรไู้ ด้อย่างมีคุณภาพ มกี าร
ดำเนินการนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตามประเมนิ ผล การดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา
นอกจากนี้ครมู คี วามต้ังใจ มงุ่ มัน่ ในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นกั เรยี นได้เรยี นรู้โดยการคดิ ได้

ปฏิบตั จิ ริง มกี ารใหว้ ธิ กี าร และแหล่งเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย ให้นักเรียนแสวงหาความร้จู ากสอ่ื เทคโนโลยี
ด้วยตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง นกั เรียนมีสว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ้ มที่เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้
จุดท่ีควรพฒั นา :

การจดั กจิ กรรมทมี่ ุง่ เน้นยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ยงั ขาดการปฏิบัตทิ ่ีต่อเนอื่ ง จริงจงั การจัด
กิจกรรมด้านการอ่าน การเขยี น คำนวณให้กับนักเรยี นและพฒั นานักเรียนที่มีความตอ้ งการพเิ ศษเรียน
รวมให้พฒั นาไปตามศกั ยภาพ เปรียบเทียบความกา้ วหนา้ และการพัฒนาของนักเรียนเปน็ รายบคุ คลอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง และยังต้องเรง่ พฒั นาดา้ นการนำเสนอ การอภปิ ราย แลกเปลี่ยนเรียนร้อู ยา่ งสมเหตุสมผล และ
ตอ้ งพฒั นาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามสถานการณไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม ควรนำภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ินให้เขา้ มามี
สว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรมให้นกั เรยี นไดเ้ รยี นรู้ และการให้ข้อมูลย้อนกลบั แก่นักเรยี นทนั ทเี พ่อื นักเรยี น
นำไปใช้พัฒนาตนเอง สถานศึกษาควรเปิดโอกาสใหผ้ ปู้ กครองไดม้ ีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นใน
การจัดการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาผเู้ รียนให้มากขึ้น และสร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมือของผูม้ สี ่วนเก่ยี วขอ้ งใน
การจดั การศกึ ษาของโรงเรียนให้มคี วามเข้มแขง็ มีส่วนร่วมรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา และการ
ขบั เคล่ือนคุณภาพการจัดการศกึ ษาต่อไป

โอกาส
สถานศึกษาตั้งอยู่ติดริมถนนทางหลวง มีการเดินทาง การคมนาคมที่สะดวกสบาย และ

สถานศึกษายังต้ังอยู่ในบริเวณวัดหน้าเมืองเปน็ แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม เจ้าอาวาสเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินโดย
ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาในการให้ความรู้กับผู้เรียนในด้านคุณธรรม จริยธรรม ประเพณีและวัฒนธรรม
ท้องถิ่นต่างๆ นอกจากนี้สถานศึกษายังตั้งอยู่ใกล้กับหน่วยงานราชการอ่ืน ๆ อีก เช่น สำนักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาสตูล องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล วิทยาลัยชุมชน โรงเรียนสตูลวิทยา และบริษัท
หา้ งร้านตา่ งๆ เปน็ ตน้

อุปสรรค
ผู้ปกครองไม่ให้ความสำคัญในการศึกษาของผู้เรียน ผู้ปกครองส่วนใหญ่ไปทำมาหากินท่ีอื่น และ

ปล่อยผู้เรียนให้อยู่กับปู่ ยา่ ตา ยาย และครอบครัวเป็นครอบครวั ที่หย่าร้างกัน พ่อแมไ่ มไ่ ด้อยู่ดว้ ยกัน ซ่ึงเป็น
ปญั หาของสถานศึกษาขนาดเล็กทกุ สถานศึกษา

สว่ นท่ี 2

1

1. แนวคิดพ้ืนฐานของการพฒั นาหลกั สูตร

ตามที่กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ตามคำสั่ง กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ 293/2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ส่ัง ณ วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 โดยกำหนดใช้ทุกโรงเรียน โรงเรยี นวัดหน้าเมือง
ได้จัดทำหลักสูตรโรงเรียนวัดหน้าเมือง พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 ข้ึนเพื่อใหส้ ถานศึกษาได้นำไปใช้ในการจดั การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพในด้าน
ความรู้ ทักษะ คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ให้สามารถใช้เป็นแนวทางในการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการ
เปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพ่ือการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตนั้น กระทรวงศึกษาธิการและ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้มปี ระกาศและคำสง่ั แก้ไข ปรับปรุงการใช้หลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ตามลำดบั

ต่อมาวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2555 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้มีคำส่ังที่
110/2555 เรือ่ ง การแก้ไขโครงสรา้ งเวลาเรียนและเกณฑก์ ารจบการศึกษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พื้นฐานพุทธศกั ราช 2551 ส่งั ณ วนั ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2555

วันท่ี 28 พฤศจิกายน 2557 กระทรวงศึกษาธกิ าร ได้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเพิ่ม
วชิ าหนา้ ท่พี ลเมืองเปน็ รายวิชาเพิ่มเตมิ ในหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

วันท่ี 31 ตุลาคม 2559 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การบริหาร
จัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานในโครงการลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ และได้ประกาศ
กระทรวงศกึ ษาธิการ เร่ือง การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 ในสถานศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน

วันท่ี 11 กรกฎาคม 2560 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง การบรหิ าร
จดั การเวลาเรยี นของสถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

วันที่ 7 สิงหาคม 2560 กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคำส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ.
1239/2560 เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และสาระภูมศิ าสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตาม
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุธศกั ราช 2551

วันท่ี 5 มกราคม พ.ศ.2561 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้มีคำสั่ง สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ท่ี 30/2561 เร่ือง ใหเ้ ปลยี่ นแปลงมาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวช้วี ัด กลุ่ม
สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุธศกั ราช 2551

วันท่ี 8 มกราคม 2561 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ออกประกาศ สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เร่ือง การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุธศักราช
2551

ต่อมากระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา ลดความ
เหล่ือมล้ำทางการศึกษา ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนร่วมกันจัดการศึกษา จึงจัดตั้งพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาเพื่อ
ส่งเสรมิ ให้สถานศึกษามีอสิ ระในการจัดหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการที่คลอ่ งตัว ใหค้ รูใช้เวลา

2

ในการพัฒนานักเรียนอย่างเต็มที่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพสูง มีการคิดค้น
พัฒนานวัตกรรมการศึกษาที่เหมาะสมกบั บริบทและสามารถขยายวธิ ปี ฏิบตั ิที่ดมี ปี ระสทิ ธิภาของสถานศึกษาใน
พ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาไปยังสถานศึกษาในพ้ืนท่ีอืน่ ได้ โดยกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศพื้นท่ีนวัตกรรม
การศึกษา จำนวน 6 พื้นที่ ได้แก่ จังหวัดระยอง จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสตูล จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด
กาญจนบุรี และจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในส่วนของจังหวัดสตูลมีโรงเรียนเรยี นนำรอ่ งพ้ืนทนี่ วัตกรรมการศึกษา
ของจังหวัดสตูลจำนวน 14 โรงเรียน เพ่ือให้ครู นักเรียน ชุมชน สามารถร่วมกันจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม
แนวทางพ้นื ที่นวตั กรรมการศึกษาสตลู โรงเรียนจงึ นำกระบวนการจัดการเรยี นรู้โครงงานฐานวิจยั 5 หนว่ ย 14
ข้ันตอน มาใชร้ ะดับประถมศกึ ษา

ในปีการศึกษา 2563 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สำนักมาตรฐาน
การศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ ได้ทำโครงการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน 10 ด้าน ระดับ
ประถมศึกษาตอนต้น สำหรบั หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2562 มีนโยบายให้โรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมเป็น
โรงเรียนนำร่องการพัฒนาและใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดหน้าเมืองจึงต้อง
ปรับปรุงหลกั สูตรเปน็ หลักสูตรโรงเรียนวัดหนา้ เมอื ง พุทธศักราช 2563 (ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา
ขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เพ่ือให้สถานศึกษาได้นำไปใช้ในการจัด
การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี ุณภาพในดา้ นความรู้ ทักษะ คุณธรรม และคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ ให้สามารถใช้
เป็นแนวทางในการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงและแสวงหาความรู้เพื่อการพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนื่องตลอดชีวิต ให้สอดคล้องกับกรอบสมรรถนะ บริบทของโรงเรียน ชุมชน สังคม ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว
ข้างตน้

ในปีการศึกษา 2564 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้
จดั ทำกรอบสมรรถนะผู้เรียน 5 ด้าน โรงเรียนวัดหน้าเมืองจึงต้องปรับปรุงหลักสูตรเป็นหลักสูตรโรงเรียนวัด
หน้าเมือง พุทธศักราช 2564 (ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ฉบับ
ปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560) เพือ่ ใหส้ ถานศกึ ษาได้นำไปใช้ในการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาผู้เรยี นให้มคี ณุ ภาพ
ในด้านความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม และค่านยิ มที่พงึ ประสงค์ ใหส้ ามารถใช้เป็นแนวทางในการดำรงชีวิตในสังคมท่ี
มีการเปล่ียนแปลงและแสวงหาความรู้เพื่อการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ให้สอดคล้องกับกรอบ
สมรรถนะ บริบทของโรงเรียน ชุมชน สงั คม

ในปีการศกึ ษา 2565 โรงเรียนได้ปรบั ปรุงหลักสูตรเป็นหลักสูตรโรงเรียนวัดหน้าเมอื ง พุทธศกั ราช
2565 ตาม(ร่าง)กรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช.... ระดับประถมศึกษา เพื่อ
พัฒนาข้ึนตามแนวคิดการจัดการศึกษาฐานสมรรถนะ ซ่ึงมีความแตกตา่ งจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทพี่ ัฒนาขน้ึ ตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน ซ่งึ มีเปา้ หมายเพ่ือพัฒนาผู้เรียนทุก
คนให้มีคุณภาพอย่างน้อยตามท่ีมาตรฐานกำหนด ส่วน เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีเป้าหมายเพื่อพัฒนา
ผู้เรยี นทุกคนใหม้ สี มรรถนะหลักท่ีสำคญั จำเป็น และสง่ เสริมให้ผเู้ รียนได้บม่ เพาะ พัฒนา และตอ่ ยอดสมรรถนะ
หลักและสมรรถนะอื่นไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ ตามความจำเพาะเจาะจงของบุคคล (Personalization) ตามความ
เช่ือท่ีว่ามนุษย์มีหน้าที่ในการพยายามค้นหาตัวเอง และเลือกสร้างลักษณะของตนเองตามท่ีอยากจะเป็น การ
จัดการศึกษาตามแนวคดิ นี้จึงมุ่งให้ผู้เรียนทบทวน พิจารณา ไตร่ตรอง ใคร่ครวญ และตรวจสอบ เพ่ือให้คน้ พบ
และรจู้ ักตนเองอยู่เสมอ เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพของตนเองอยา่ งเปน็ องคร์ วม

การจัดการศึกษาซึง่ หมายถึงการออกแบบหลกั สูตร การจดั การเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ ตาม หลักสูตรฐานสมรรนะโรงเรียนวัดหน้าเมือง ระดบั ประถมศกึ ษา จึงมเี ป้าหมายในการพัฒนา
สมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นท่ีเหมาะสมตามช่วงวัย จัดสภาพแวดล้อมและเส้นทางการเรยี นรู้ (Learning

3

Pathways) ท่ีหลากหลาย จดั ระบบสนับสนนุ การเรียนรูท้ ่ีสอดคลอ้ งกับธรรมชาติของผเู้ รียน (Differentiated
Learning) ใชก้ ระบวนการจดั การเรียนร้เู ชิงรกุ ใช้ส่อื และสถานการณก์ ารเรยี นรู้ทร่ี ่วมสมยั หลากหลายและ
ยืดหยุ่น ตามความสนใจและความถนัดของผู้เรยี น บรบิ ท และจดุ เน้นของสถานศกึ ษาและชุมชนแวดล้อม เนน้
ประเมินการเรียนร้เู พอ่ื พัฒนาและสะทอ้ นสมรรถนะของผู้เรยี นตามเกณฑ์การปฏบิ ตั ิท่ีเป็นธรรม เชื่อถือได้
เอื้อตอ่ การถ่ายโยงการเรยี นรูแ้ ละพัฒนาในระดบั ทส่ี งู ข้ึนตามความเช่ยี วชาญของผ้เู รียนอยา่ งต่อเน่ือง

4

2. วสิ ัยทศั น์

โรงเรียนวัดหน้าเมืองกำหนดวิสัยทัศน์ของหลักสูตรโรงเรียนวัดหน้าเมือง พุทธศักราช 2565 ตาม
(ร่าง)กรอบหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช.... ระดับประถมศกึ ษา ดังน้ี

โรงเรียนมุง่ เนน้ พฒั นานกั เรียนให้มีทักษะพนื้ ฐานในการประกอบอาชีพ เปน็ คนดี มีคุณธรรมเป็น
ภมู คิ ุม้ กนั ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ สามารถนำความร้ไู ปประกอบอาชพี ท่ีสุจริต รจู้ กั ใช้
สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรทม่ี อี ยู่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ชมุ ชน และสงั คม สามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อน่ื ได้
อยา่ งมีความสุข

School conceptของโรงเรียนวัดหนา้ เมือง
ยุวน้อยร้อยอาชีพ รู้เทา่ ทนั เทคโนโลยี บนวิถพี หุวัฒนธรรม

DOL โรงเรยี นวดั หน้าเมือง
ยวุ น้อยร้อยอาชีพ หมายถึง เด็กมที กั ษะพื้นฐานในการรจู้ ักเลอื กอาชีพทหี่ ลากหลายเพอื่ เปน็ แนวทางในการ
สร้างรายได้ท่ีเหมาะสมใหก้ ับตัวเอง และครอบครัว โดยมคี ณุ ธรรมเป็นพนื้ ฐาน
รเู้ ทา่ ทันเทคโนโลยี หมายถึง รู้จักเลอื กใช้สื่อเทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์ สามารถแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นข้ันตอน
ถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั
วิถีพหุวฒั นธรรม หมายถงึ การใช้ชีวิตรว่ มกันด้วยความเขา้ ใจในสังคมที่มคี วามหลากหลายวฒั นธรรม ความ
แตกตา่ งทางศาสนา(พุทธ อิสลาม และอนื่ ๆ) ทำกิจกรรมตา่ งๆในชุมชน ท้ังไทยพทุ ธและอิสลาม ยอมรับใน
ความแตกตา่ งของประเพณีวฒั นธรรมที่มีในชุมชน

สมรรถนะหลักโรงเรยี น
1. นำความรูไ้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน เพ่อื เปน็ ทกั ษะพน้ื ฐานในการประกอบอาชพี ท่สี ุจริตทีส่ ามารถ
สร้างรายไดใ้ ห้กับตนเองและครอบครัว
2. เป็นคนดี มีคณุ ธรรมเปน็ ภมู ิคุ้มกัน ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ และสามารถอยู่ร่วมกบั
ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ
3. ใช้ส่ือเทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง กอ่ ให้เกดิ ประโยชน์ต่อตนเอง ชมุ ชนและ
สงั คม ในฐานะเยาวชนพลเมอื งทีเ่ ข้มแขง็
4. เห็นคณุ ค่าในตนเองและผ้อู ่ืน และการอยู่ร่วมกนั ในวถิ ีพหุวฒั นธรรมอย่างสนั ติ
5. สามารถคิดวเิ คราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์
6. ใชแ้ หล่งเรียนรู้ ภมู ปิ ัญญาในท้องถ่ิน ให้เกดิ ประโยชนอ์ ย่างคุ้มค่า นำไปสู่การพง่ึ พาตนเอง

5

3. หลกั การของหลักสูตร

หลักสูตรโรงเรยี นวัดหน้าเมือง พทุ ธศกั ราช 2565 ตาม(รา่ ง)กรอบหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้น
พน้ื ฐานพุทธศักราช.... ระดับประถมศกึ ษา กำหนดหลักการสำคญั ของหลักสตู ร ไว้ดงั น้ี

1. เป็นหลักสตู รที่มีเป้าหมายในการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนท่ีเหมาะสมตามช่วงวยั เน้นการพัฒนา
ผู้เรียนรายบุคคล (Personalization) อย่างเป็นองค์รวม (Holistic Development) เพื่อการเป็นเจ้าของ
การเรียนร้แู ละพฒั นาตนเองอย่างต่อเนอื่ ง (Life-Long Learning)

2. เป็นหลักสตู รที่เชื่อมโยงระหว่างสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะในการกำหนดผลลัพธก์ ารเรียนรู้
(Learning Outcome) เพ่ือการพฒั นาผ้เู รียนใหส้ ามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ และการทำงาน

3. เป็นหลักสูตรท่ีจัดสภาพแวดล้อมและเส้นทางการเรียนรู้ (Learning Pathway) ท่ีหลากหลาย และ
ระบบสนับสนุนการเรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกบั พหปุ ญั ญาและธรรมชาตขิ องผู้เรียน

4. เปน็ หลักสูตรที่มีกระบวนการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active Learning) กระบวนการเรียนรูด้ ้วย
โครงงานฐานวจิ ัย (PBL) การใชส้ อ่ื และสถานการณ์การเรียนรรู้ ว่ มสมยั มีความหลากหลาย และยืดหยุน่ ตาม
ความสนใจ ความถนดั ของผู้เรียน (Differentiated Instruction) บริบท จุดเนน้ ของสถานศึกษา และชมุ ชน
แวดล้อม

5. เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งใช้การประเมินเพ่ือการพัฒนาการเรียนรู้และสะท้อนสมรรถนะของผู้เรียน
ตามเกณฑ์การปฏิบตั ิ (Performance) ที่เป็นธรรม เชือ่ ถือได้ เอ้อื ต่อการถ่ายโยงการเรียนรู้และพัฒนาในระดับ
ทีส่ ูงข้ึนตามระดับความสามารถ

6

๔. จดุ หมายของหลกั สูตร

การพัฒนาผู้เรียนตาม หลักสูตรโรงเรยี นวดั หนา้ เมือง พทุ ธศักราช 2565 ตาม(ร่าง)กรอบหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช.... ระดบั ประถมศึกษา มีจดุ หมายเพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้
ทกั ษะ คณุ ลกั ษณะและเจตคติที่จำเปน็ ต่อการดำเนินชวี ติ และมคี วามสามารถ ดังน้ี

1. รู้จัก รัก เห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน จัดการอารมณ์และความเครียด ปัญหาและภาวะวิกฤต
สามารถฟืน้ คนื สู่สภาวะสมดลุ (Resilience) และมสี ุขภาวะและมีสัมพนั ธภาพทดี่ ีกบั ผู้อื่น

2. มีทักษะการคิดข้ันสูงอย่างมีคุณธรรม มีความสามารถในการนำและกำกับการเรียนรู้ของตนเอง
อยา่ งมีเปา้ หมาย

3. สอื่ สารอย่างฉลาดรู้ สรา้ งสรรค์ มีพลัง ดว้ ยความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสงั คม
4. จัดระบบและกระบวนการทำงานให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย มีความเป็นผู้ประกอบการ
ภาวะผู้นำ และจัดการความขัดแย้งภายใต้สถานการณ์ทีม่ ีความซับซอ้ น
5. ปฏิบัตติ นอย่างรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริยธรรม ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก
6. เข้าใจพ้ืนฐานเก่ียวกับปรากฏการณ์ของโลกและจักรวาล เข้าถึงและรู้เท่าทันวิทยาการเทคโนโลยี
เพื่อการดำรงชีวติ และอยูร่ ่วมกบั ธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน

7

๕. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นค่านิยมร่วมท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน อันเป็นคุณลักษณะ
ท่ีสังคมต้องการในด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและจิตสํานึกเพื่อให้อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
ท้ังในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ประกอบดว้ ย

1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถงึ การเป็นพลเมืองดีของชาติ มีทัศนคติ
ที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ เคารพสถาบัน
พระมหากษัตรยิ ์ และยึดมัน่ ในวถิ ชี ีวติ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข

2) ซ่ือสัตย์สุจริต เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดม่ันในความถูกต้อง ประพฤติตรง
ตามความเป็นจริงต่อตนเองและผอู้ ่ืนทงั้ ทางกาย วาจาและใจ ยึดหลักความจริงและความถูกตอ้ งในการดำเนินชีวิต
มีความละอายและเกรงกลวั ต่อการกระทำผดิ

3) มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์และระเบียบ
ขอ้ บงั คับ ท้งั ของตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและสังคมเป็นปกตวิ สิ ัย และไม่ละเมดิ สิทธิของผอู้ ื่น

4) อยูอ่ ย่างพอเพียง เป็นคุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการดำเนินชีวิตอยา่ งพอประมาณ มีเหตุผล
รอบคอบ มีคุณธรรม อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนด้วยความรับผิดชอบไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ
มีการวางแผนป้องกันความเส่ียงและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง มีภูมคิ ุ้มกันในบุคคลที่ดีและปรับตัว เพ่ืออยู่ในสังคม
ได้อย่างมีความสุข

5) มีจิตสาธารณะ เป็นคุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือสถานการณ์
ท่ีก่อใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กผ่ ู้อื่น ชมุ ชน และสงั คม ดว้ ยความเตม็ ใจและกระตอื รอื ร้นโดยไมห่ วังผลตอบแทน

8

6. สมรรถนะหลกั 6 ดา้ น

สมรรถนะหลัก (Core Competencies) ตามหลักสตู รโรงเรียนวดั หน้าเมือง พทุ ธศักราช 2565 ตาม(ร่าง)
กรอบหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช.... ระดบั ประถมศกึ ษา หมายถึง สมรรถนะท่ี
กำหนดให้เป็นพืน้ ฐานทีน่ กั เรียนทกุ คนตอ้ งได้รับการพฒั นาให้เปน็ ความสามารถติดตัวเมื่อจบการศึกษา มี
ลักษณะเปน็ สมรรถนะขา้ มกลุ่มสาระการเรยี นรู้หรอื คร่อมวชิ า สามารถพฒั นาให้เกดิ ข้ึนแก่ผู้เรยี นได้ในกลมุ่
สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีหลากหลาย หรอื สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในการพฒั นาผ้เู รียนใหเ้ รียนรู้สาระต่าง ๆ ได้
ดีขน้ึ เป็นสมรรถนะท่ีมีลกั ษณะ “content – free” คือ ไมข่ น้ึ กบั เนื้อหาสาระของศาสตร์ใด ๆ อย่างไรกต็ าม
สมรรถนะหลักโดยตวั มนั เองไมไ่ ด้ปราศจากความรู้ แตค่ วามรู้ท่ีเป็นองค์ประกอบของสมรรถนะหลกั จะเป็นองค์
ความรู้เชิงกระบวนการ (Procedural Knowledge) ซ่ึงเปน็ ชุดของขน้ั ตอนหรอื การปฏิบัติเพอ่ื ดำเนินการให้
บรรลุเป้าหมายของสมรรถนะนนั้ ๆ เป็นไดท้ งั้ กระบวนการทใ่ี ชเ้ ฉพาะศาสตรห์ รอื บรู ณาการขา้ มศาสตร์ เชน่
ความรทู้ ีเ่ ป็นองค์ประกอบของสมรรถนะการคิดขั้นสูงเปน็ เป็นชดุ ความรู้ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับกระบวนการคิดประเภท
ต่าง ๆ เชน่ การคิดวิเคราะห์ การคดิ เชิงวพิ ากษ์ และการคดิ สร้างสรรค์

หลกั สูตรโรงเรยี นวัดหนา้ เมือง พทุ ธศักราช 2565 ตาม(ร่าง)กรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐานพทุ ธศักราช.... ระดบั ประถมศึกษา กำหนดสมรรถนะหลกั 6 ดา้ น เพือ่ เป็นเป้าหมายการพัฒนาผเู้ รยี น
ระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ดังนี้

1. การจดั การตนเอง
2. การคิดข้นั สงู
3. การสอื่ สาร
4. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม
5. การเป็นพลเมืองทเ่ี ขม้ แขง็
6. การอยรู่ ่วมกับธรรมชาติ และวทิ ยาการอยา่ งยั่งยืน

9

1. สมรรถนะการจดั การตนเอง (Self-Management: SM)

นิยาม
การรู้จัก รัก เห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น การพัฒนาปัญญาภายใน ตั้งเป้าหมายในชีวิต

และกำกับตนเองในการเรียนรู้และใช้ชีวิต การจัดการอารมณ์และความเครียด รวมถึงการจัดการปัญหาและ
ภาวะวิกฤต สามารถฟื้นคืนสู่สภาวะสมดุล (Resilience) เพื่อไปสู่ความสำเร็จของเป้าหมายในชีวิต มีสุขภาวะท่ีดี
และมสี มั พันธภาพกบั ผู้อ่ืนได้ดี

องค์ประกอบ
1. การเห็นคุณค่าในตนเอง : การรู้จัก รัก เห็นคุณค่าในตนเอง รู้จุดเด่น ข้อจำกัด ความสนใจ

ความสามารถ ความถนัด และภาคภูมิใจในตนเอง ม่ันใจในตนเอง เห็นอกเห็นใจ ให้เกียรติและเคารพสิทธิ
ตนเองและผู้อน่ื มคี วามรบั ผดิ ชอบในตนเอง

2. การมีเป้าหมายในชีวิต : การตั้งเป้าหมายในชีวิต มีวินัยในตนเอง สามารถบริหารจัดการเวลา
ทรัพยากร สามารถพง่ึ พาและกำกบั ตนเองให้ไปสเู่ ปา้ หมายในชวี ติ และมสี ุขภาวะท่ีดี

3. การจัดการอารมณ์และความเครียด : การรับรู้ เข้าใจ รู้เท่าทัน อารมณ์ ความรู้สึก ความคิด
และความเครียดที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของตนเอง เข้าใจสาเหตุและสามารถจัดการอารมณ์ ความรู้สึก และ
ความคิดของตนเอง

4. การจัดการปัญหาและภาวะวิกฤต : การร้เู ทา่ ทันการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กิดจากปัญหาและภาวะ
วิกฤต สามารถฟนื้ คืนสสู่ ภาวะสมดุลได้ สามารถเตรียมการ ปอ้ งกนั และแก้ไข เพ่อื ให้เกิดความปลอดภัยในชวี ิต
และทรพั ย์สิน

10

ระดบั สมรรถนะการจดั การตนเอง

ระดบั การพัฒนา ป.1-3 ระดบั ความสามารถ ม.4-6
ระดบั คำบรรยายระดับ เร่มิ ตน้ ป.4-6 ม.1-3

รจู้ ักตนเอง (Knowing Self) ทางด้านกายภาพ ความชอบ ความสนใจ จดั การชวี ิตประจำวัน

1 ของตนเอง รับรแู้ ละจดั การอารมณแ์ ละความรสู้ กึ พืน้ ฐาน ปฏิบตั ิตนตามบรรทัดฐาน
ทางสังคมภายใต้การดูแลของผอู้ ืน่

2 รจู้ กั ตนเองในจดุ เด่น จุดควรพฒั นา มวี ินัยในการดแู ลจดั การชวี ิตประจำวนั ของตนเอง รบั รู้ กำลัง
และจดั การอารมณ์และความรู้สกึ พ้นื ฐาน รถู้ ูกผดิ ในการปฏิบัตติ นตามบรรทดั ฐานทางสังคม พัฒนา
ภายใตก้ ารดูแลของผู้อน่ื ตระหนกั รใู้ นสถานการณ์ท่ีเป็นปญั หาในชวี ติ ประจำวัน

3 รจู้ กั ความสามารถของตนเอง มวี ินยั ในการดแู ลจัดการชวี ติ ประจำวันของตนเอง รับรู้และ สามารถ เรมิ่ ตน้
จดั การอารมณแ์ ละความเครยี ด แยกแยะสิ่งถูกผดิ หลีกเล่ียงการนำพาตัวเองเขา้ ไปสู่ภาวะเส่ยี ง
ตามคำแนะนำ อดทนต่อปญั หาในชีวิตประจำวันและการเรยี น

4 ร้จู กั ความสามารถของตนเอง มีวนิ ยั ในการดูแลจดั การชีวิตประจำวันของตนเอง รบั รู้ เหนอื กำลงั
และจัดการอารมณ์และความเครยี ด ตระหนักรู้ผดิ ชอบชวั่ ดี จัดการปญั หาชวี ติ ประจำวนั ความ พฒั นา
และการเรยี นตามคำแนะนำ พรอ้ มเผชิญและยอมรบั ปญั หาที่เกดิ ข้นึ คาดหวงั

มมี โนทัศน์เก่ียวกับตวั เอง (Self Concept) ท่ถี ูกต้อง สามารถตัดสินใจและมุ่งม่ันท่จี ะจัดการ สามารถ เร่มิ ต้น

5 ส่ิงที่จำเป็นสำหรับชีวติ และการเรยี นของตนเอง รบั รู้และจดั การอารมณแ์ ละความเครยี ด
ละเวน้ การกระทำท่ีไม่ควรทำ รู้ทนั การเปล่ยี นแปลงท่ีเกดิ ขน้ึ จัดการปญั หาชีวติ ประจำวนั
และการเรยี นตามคำแนะนำ

มีความมั่นใจและภาคภูมใิ จในตนเอง (Self Esteem) สามารถตดั สินใจและวางแผนเก่ียวกับ เหนอื กำลัง
ความ พฒั นา
6 ชีวิตและการเรียนของตนเอง มีวินยั และจงู ใจตนเองใหไ้ ปสเู่ ป้าหมาย รบั รู้และจดั การอารมณ์ คาดหวัง
และความเครยี ด มีจดุ ยนื และความเชื่อของตวั เอง ปรบั ตวั รับการเปลยี่ นแปลงท่ีเกิดขนึ้
และสามารถฟื้นคืนจากสภาพปัญหาเม่อื เผชิญภาวะวกิ ฤตตามคำแนะนำ

มีความภาคภมู ิใจในตนเอง มกี รอบความคิดแบบเตบิ โต (Growth Mindset) สามารถกำกบั สามารถ เริ่มต้น

7 ตนเองใหล้ งมอื ทำตามแผนเกย่ี วกับชวี ติ และการเรยี นของตนเอง รับรแู้ ละจัดการอารมณ์
และความเครยี ด แสดงออกตามความเช่ือและจุดยืนของตัวเอง แก้ไขปัญหา มคี วามรบั ผดิ ชอบ
ในผลของการกระทำของตนเอง และฟน้ื คืนจากสภาพปัญหาเมื่อเผชิญภาวะวิกฤตตามคำปรึกษา

มีกรอบความคดิ แบบเตบิ โต สามารถกำกับตนเองให้ลงมอื ทำตามแผนเกยี่ วกบั ชวี ิต เหนอื กำลงั
ความ พฒั นา
8 และการเรยี นของตนเอง และสะทอ้ นความกา้ วหน้าของตนเอง รู้ทันและจัดการอารมณ์ คาดหวงั
และความเครยี ด มคี วามรบั ผดิ ชอบในผลของการกระทำของตนเอง วางแผนป้องกนั ปัญหา
และความเสยี่ ง และฟื้นคนื จากสภาพปญั หาเมือ่ เผชิญภาวะวกิ ฤต

มีภาพอนาคตของตนเอง (Ideal Self) ทตี่ ้องการจะเปน็ มองเหน็ ขอ้ จำกัดและแนวทาง สามารถ

9 การพฒั นาตนเอง กำหนด ลงมอื ทำ ปรบั เปล่ียนพฤติกรรม คา่ นยิ ม และความเชือ่ ของตนเอง
ตามแผนพฒั นาตนเอง รู้ทนั และจัดการอารมณ์และความเครียด และสามารถฟน้ื คืน
จากสภาพปญั หาได้ด้วยตนเองเมอ่ื เผชิญภาวะวิกฤต

10 มีความสขุ กบั ชวี ติ ทีต่ นเองเป็นอยู่ มุ่งมั่นเพอื่ ความสำเร็จแมต้ ้องเผชญิ ความทา้ ทายทีเ่ ขา้ มา เหนอื
ในชีวิต รู้ทนั และจดั การอารมณ์และความเครยี ด สามารถสรา้ งมุมมอง คา่ นิยมใหม่ ใหก้ บั ตนเอง ความ
และสามารถฟ้นื คืนจากสภาพปัญหาเมอ่ื เผชญิ ภาวะวกิ ฤต คาดหวงั

11

2. สมรรถนะการคดิ ข้นั สูง (Higher Order Thinking: HOT)

นยิ าม
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสินใจอย่างมีวิจารญาณบนหลักเหตุผลอย่างรอบด้าน

โดยใช้คุณธรรมกำกับการตัดสินใจได้อย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลด้วยความเข้าใจ
ถึงความเชื่อมโยงของสรรพส่ิงที่อยู่ร่วมกันอย่างเป็นระบบ ใช้จินตนาการและความรู้สร้างทางเลือกใหม่
เพือ่ แก้ปญั หาที่ซับซอ้ นได้อยา่ งมีเป้าหมาย

องค์ประกอบ
1. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking: HOT-CTC) หมายถึง กระบวนการคิด

ที่พิจารณาไตร่ตรองอย่างมีเหตุผล มีจุดประสงค์เพ่ือตัดสินว่าส่ิงใดควรเช่ือหรือควรกระทำ โดยมีหลักฐาน
สนบั สนุนซึ่งเป็นผลมาจากการตคี วาม ประเมิน วิเคราะห์ สรปุ ความ และอธบิ ายตามหลกั ฐาน แนวคดิ วิธีการ
กฎเกณฑ์ หรือบริบทต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกับข้อมูลท่ีรวบรวมหรือข้อมูลจากการสังเกต ประสบการณ์ การใช้เหตุผล
การสะท้อนคิด การสื่อสาร และการโต้แย้ง นำไปพิจารณาร่วมกับข้อมูลด้านอื่น ๆ เช่น ความเหมาะสม
ตามหลักกฎหมาย ศีลธรรม คณุ ธรรม คา่ นิยม ความเชอ่ื และบรรทัดฐานทางสงั คมและวฒั นธรรม

2. การคิดเชิงระบบ (System Thinking: HOT-STM) หมายถึง กระบวนการคิดท่ีมองเห็น
ภาพรวมโครงสร้างท้ังหมดที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันเป็นหนึ่งเดียวกันอย่างเป็นระบบ ภายใต้บริบท/ ปัจจัย
ของสิ่งแวดล้อมที่เกิดสถานการณ์น้ัน ๆ โดยมองสถานการณ์ให้ลึกลงไปกว่าเหตุการณ์ท่เี กดิ ขึ้น เห็นแบบแผน
หรือรูปแบบท่ีเกิดขึ้น เหน็ รากเหงา้ ของสถานการณ์และปัจจยั ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับสถานการณ์นั้น ๆ จนเกิด
ความเข้าใจอย่างลึกซ้ึงในสถานการณ์น้ัน นำไปสู่การออกแบบระบบ เปรยี บเทยี บแบบจำลองความคิด ทำนาย
ผลลัพธข์ องการแทรกแซงระบบ และประเมนิ ระบบได้

3. การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking: HOT-CRT) หมายถึง กระบวน การคิด
ท่ีหลากหลาย ริเร่ิม ประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาต่อยอดความคิด เพื่อการแก้ปัญหาหรือสร้างทางเลือก
ทีม่ ีประสิทธภิ าพ การสร้างความก้าวหน้าในความรู้ หรือการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ โดยอาศัยจินตนาการ
และทักษะพื้นฐานด้านการคิดริเร่ิม คิดคล่อง คิดยืดหยุ่น คิดละเอียดลออ คิดหลากหลาย คิดวิเคราะห์
และสังเคราะห์ เพ่ือให้ได้ส่ิงใหม่ท่ีดีกว่า แตกต่างไปจากเดิม มีประโยชน์ และมีคุณค่าต่อตนเอง ผู้อื่น และ
สังคมมากกว่าเดิม ซึ่งส่ิงใหม่ในที่นี้อาจเป็นการปรับหรือประยุกต์ส่ิงเดิมให้อยู่ในรูปแบบใหม่ หรือเป็นการต่อยอด
จากสิ่งเดิม หรือเปน็ การริเร่ิมส่งิ ใหม่ขึ้นมาทงั้ หมด

4. การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking: HOT-PRB) หมายถึง กระบวนการคิด
ท่ีใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการกำหนดปัญหา เข้าใจเหตุและผลของปัญหา วางแผน
การแก้ปัญหาโดยรวบรวมข้อมูลเพ่ือแก้ปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย และเลือกวิธีการ
แก้ปัญหาท่ีดีที่สุด ดำเนินการแก้ไขปัญหาตามแผนท่ีวางไว้อย่างเป็นลำดับข้ันตอน เก็บ และวิเคราะห์ข้อมูล
เพ่อื ประเมินและตรวจสอบผลของการแกป้ ญั หา ปรับปรุง จนปญั หาได้รับการแก้ไข

สำนกั วชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ณ วันท่ี 27 พฤศจิกำยน 2563

12

ระดับสมรรถนะการคิดขนั้ สงู

ระดบั การพฒั นา ระดบั ความสามารถ

ระดบั คำบรรยายระดบั ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6

ตั้งคำถามหรือระบุปัญหาอย่างง่ายจากการสังเกตส่ิงต่าง ๆ รอบตัวสถานการณ์ หรือ

1 ปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน สังเกต จำแนก สำรวจ วางแผน รวบรวมข้อมูลหรือทรัพยากร เรม่ิ ต้น
สรุปข้อมลู และเสนอแนวทางแก้ปญั หาอยา่ งง่ายได้ สามารถจนิ ตนาการและเสนอความคิดได้

อย่างอสิ ระ ตลอดจนสามารถผลิตผลงานอยา่ งง่ายโดยอาศัยต้นแบบ

ต้ังคำถามหรือระบุปัญหาอย่างง่ายจากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัว สถานกา รณ์ หรือ

ปรากฏการณใ์ นชีวติ ประจำวนั สังเกต จำแนก หรอื ระบุความสัมพันธ์ของส่งิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับ

2 ปรากฏการณ์หรือสถานการณ์นั้น ๆ ได้ สามารถสำรวจ วางแผน รวบรวมข้อมูลหรือ กำลงั
ทรัพยากร สรุปข้อมูล และเสนอแนวทางแก้ปัญหาอย่างง่ายได้ พร้อมแสดงเหตุผลและ พฒั นา
ประเมินความเหมาะสมของคำตอบ สามารถจินตนาการและเสนอความคิดได้อย่าง

คล่องแคล่ว หลายประเภทและหลายทิศทาง ตลอดจนสามารถผลิตผลงานอย่างง่าย

โดยอาศยั ตน้ แบบ

ตั้งคำถามหรือระบุปัญหาอย่างง่ายจากการสังเกตส่ิงต่าง ๆ รอบตัว สถานการณ์ หรือ

ปรากฏการณใ์ นชีวิตประจำวัน สงั เกต จำแนก หรือระบุความสัมพันธ์ของสงิ่ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับ

ปรากฏการณ์หรือสถานการณ์น้ัน ๆ ได้ สามารถสำรวจ วางแผน รวบรวมข้อมูลหรือ

3 ทรัพยากร แปลความหมายข้อมูลด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ และสรุปข้อมูล เพ่ือ สามารถ เรม่ิ ตน้
เปรยี บเทยี บ ประเมนิ ตัดสินใจ หรือเสนอแนวทางแกป้ ญั หาอย่างงา่ ยได้ พร้อมแสดงเหตุผล

โดยคำนึงถึงความเหมาะสมของการออกแบบวิธีการแก้ปัญหา สามารถจินตนาการและ

เสนอความคิดได้อย่างคล่องแคล่ว หลากหลาย โดยใช้ความคิดท่ีแปลกใหม่ที่ไม่ซ้ำใคร

ตลอดจนสามารถผลติ ผลงานตามจินตนาการโดยอาศัยต้นแบบ

ตั้งคำถามหรือระบุปัญหาอย่างง่ายจากการสังเกตส่ิงต่าง ๆ รอบตัว สถานการณ์ หรือ

ปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวันโดยละเอียด ระบุความสัมพันธ์ของส่ิงท่ีเกี่ยวข้องกับ

4 ปรากฏการณ์หรอื สถานการณ์น้ัน ๆ ได้ สามารถวางแผนและดำเนินการสำรวจตรวจสอบ เหนือ กำลัง
เลือกวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล แปลความหมายข้อมูลดว้ ยหลักฐานเชิงประจักษ์ และสรุป พฒั นา
ข้อมูล พร้อมท้ังประเมินความถูกต้องและข้อจำกัดของข้อมูล เพื่อเปรียบเทียบ ประเมิน ความ
ตดั สินใจ หรือเสนอแนวทางแก้ปญั หาอยา่ งง่ายได้ สามารถจินตนาการและเสนอความคิดได้ คาดหวัง

อย่างคล่องแคล่ว หลากหลาย โดยใช้ความคิดทแี่ ปลกใหม่ที่ไม่ซ้ำใคร หรอื พัฒนาต่อยอดจาก

ของเดิม

ตั้งคำถามหรือระบปุ ญั หาทซี่ ับซ้อน จากการสงั เกตสิง่ ต่าง ๆ สถานการณ์ หรอื ปรากฏการณ์

ในชีวิตประจำวันโดยละเอียด สามารถวางแผนและดำเนินการการสำรวจตรวจสอบ เลือก

5 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล วิเคราะห์ข้อมลู แปลความหมายขอ้ มูล เพื่อสร้างข้อสรปุ ทแี่ ม่นยำ สามารถ เริ่มตน้
และน่าเช่ือถือ พร้อมนำเสนอและเปรียบเทียบข้อสรุปท่ีเหมือนหรือแตกต่างกับขอ้ สรุปของ

ตน สามารถพัฒนาชิ้นงานหรือวิธีการ โดยใชค้ วามคิดทแ่ี ปลกใหม่ ที่ไม่ซำ้ ใครหรอื พฒั นาต่อ

ยอดจากของเดมิ วิเคราะหอ์ งค์ประกอบของชน้ิ งานหรอื วิธกี ารเพอื่ สร้างแบบจำลองอยา่ งง่าย

ตั้งคำถามหรอื ระบุปัญหาหรือสถานการณ์ที่ซับซ้อน จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ สถานการณ์

หรือปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน ระบุสาเหตุของปัญหา แยกปัญหาเป็นปัญหาย่อย ๆ

สามารถวางแผนและดำเนินการการสำรวจตรวจสอบ เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เหนอื
ความ กำลัง
6 เปรียบเทียบแหล่งข้อมูลและข้อเท็จจริงได้ วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูล ลง คาด พัฒนา
ขอ้ สรุปได้อย่างถกู ต้อง นำเสนอข้อสรุปรวมทงั้ เปรียบเทยี บและประเมินข้อสรุปที่แตกต่าง
หรือตรงกันข้ามกับข้อสรุปของตน และสามารถปรับปรุงข้อสรุปของตนตามข้อมูลและ หวัง
หลักฐานใหม่สร้างแบบจำลองเพ่ือแสดงโครงสร้างของปัญหาหรือสถานการณ์ได้ พัฒนา

ชิน้ งานหรือวิธีการโดยใช้ความคิดท่ีแปลกใหม่ท่ีไม่ซ้ำใคร หรือพัฒนาต่อยอดจากของเดิม

ใหเ้ หมาะสมตอ่ การใชง้ านจริง

13

ระดบั สมรรถนะการคิดข้ันสงู (ต่อ) ป.1-3 ระดบั ความสามารถ
ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6
ระดับการพัฒนา
ระดับ คำบรรยายระดับ สามารถ เร่ิมต้น

ต้ังคำถามหรือระบุปัญหาหรือสถานการณ์ท่ียากและซับซ้อน จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ เหนือ กำลงั
สถานการณ์หรือปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน ระบุสาเหตุของปัญหา แยกปัญหา พฒั นา
เป็นปัญหาย่อย ๆ สามารถวางแผนและดำเนินการการสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ ความ
หรอื เทคโนโลยี เลือกวธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อสรา้ งข้อสรุปท่ีแม่นยำ คาดหวัง

7 และน่าเช่ือถือ เปรียบเทียบแหล่งข้อมูลและข้อเท็จจริงได้ สามารถลงข้อสรุปได้อย่าง สามารถ
ถูกต้อง เปรียบเทียบและประเมินข้อสรุปที่แตกต่างหรือตรงกันข้ามกับข้อสรุปของตน
โดยใช้เหตุผลและหลักฐานที่หลากหลายและสามารถปรับปรุงข้อสรุปของตนตามขอ้ มูล เหนือ
และหลักฐานใหม่ สร้างแบบจำลองเพ่ือแสดงโครงสร้างของปัญหาหรือสถานการณ์
ได้ พัฒนาชิ้นงาน วิธีการหรือนวัตกรรม โดยใช้ความคิดที่แปลกใหม่ที่ไม่ซ้ำใครหรือ ความ
พัฒนาตอ่ ยอดจากของเดิมใหเ้ หมาะสมตอ่ การใชง้ านจรงิ คาดหวงั

ต้ังคำถามหรือระบุปัญหาหรือสถานการณ์ที่ยากและซับซ้อน จากการสังเกตส่ิงต่าง ๆ
สถานการณ์หรือปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน ประเมินคำถ ามว่าสามารถสำรวจ
ตรวจสอบได้หรือไม่ ระบุสาเหตุของปัญหา แยกปัญหาเป็นปัญหาย่อย ๆ สามารถ
วางแผนและดำเนินการการสำรวจตรวจสอบ เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมลู วิเคราะห์

8 ข้อมูลเพื่อสรา้ งข้อสรุปทแ่ี มน่ ยำและนา่ เช่ือถือ เปรียบเทยี บแหลง่ ขอ้ มูลและขอ้ เท็จจรงิ ได้
นำเสนอข้อสรุปรวมท้ังเปรียบเทียบและประเมินข้อสรุปที่แตกต่างหรือตรงกันข้ามกับ
ข้อสรปุ ของตน โดยใช้เหตุผลและหลกั ฐานทีห่ ลากหลายและสามารถปรับปรุงข้อสรุปของ
ตนตามข้อมูลและหลักฐานใหม่ สรา้ งแบบจำลองความคดิ เพอ่ื อธิบายแนวคิดท่ใี ช้ในการ
ออกแบบระบบได้ สามารถพัฒนาชิ้นงาน วิธีการหรือนวัตกรรม โดยใชค้ วามคดิ ที่แปลก
ใหม่ทไี่ มซ่ ำ้ ใคร หรอื พัฒนาต่อยอดจากของเดมิ ให้เหมาะสมตอ่ การใช้งานจริง

ตั้งคำถามหรือระบุปัญหาหรือสถานการณ์ท่ียากและซับซ้อน จากการสังเกตส่ิงต่าง ๆ
สถานการณ์หรือปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวันหรือจากผลท่ีไม่คาดคิดมาก่อน เพ่ือหา
ข้อมูลเพิ่มเติม ประเมินคำถามว่าสามารถสำรวจตรวจสอบได้หรือไม่ ระบุสาเหตุของ
ปญั หา สามารถแยกปญั หาเป็นปัญหาย่อย ๆ สามารถวางแผนและดำเนนิ การการสำรวจ
ตรวจสอบ เลอื กวิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล พรอ้ มทั้งประเมินความถูกตอ้ ง วเิ คราะห์ข้อมูล
เพ่ือสร้างข้อสรุปท่ีแม่นยำและน่าเชื่อถือ เปรียบเทียบแหล่งข้อมูลและข้อเท็จจริงได้

9 ประเมินผลกระทบของปัญหาโดยใช้วิธีการที่เหมาะสมและครอบคลุมทุกมิติ นำเสนอ
ข้อสรุปรวมท้ังเปรยี บเทียบและประเมนิ ข้อสรุปทแี่ ตกตา่ งหรอื ตรงกันข้ามกับข้อสรุปของ
ตน โดยใช้เหตุผลและหลักฐานท่ีหลากหลายและสามารถปรับปรุงข้อสรุปของตน
ตามข้อมูลและหลักฐานใหม่ สามารถสร้างแบบจำลองความคิดเพื่ออธิบายแนวคิดที่ใช้
ในการออกแบบการแก้ปญั หา สามารถทำนายผลลัพธท์ ี่เกิดข้ึนเมื่อมีการปัจจยั อ่นื เข้ามา
ในระบบ พัฒนาชิ้นงาน วิธีการหรือนวัตกรรม โดยใช้ความคิดที่แปลกใหม่ที่ไม่ซ้ำใคร
หรือพัฒนาต่อยอดจากของเดิมให้เหมาะสมต่อการใช้งานจริง เขียนสะท้อนความคิด
เกีย่ วกบั เนื้อหาและกระบวนการเรยี นรู้
ตั้งคำถามหรือระบุปัญหาหรือสถานการณ์ท่ียากและซับซ้อน จากการสังเกตส่ิงต่าง ๆ
สถานการณ์หรอื ปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวันหรือจากผลท่ีไม่คาดคิดมาก่อน เพื่อหา
ขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ และหาความสมั พนั ธ์ของส่ิงตา่ ง ๆ รวมท้ังประเมนิ คำถามวา่ สามารถสำรวจ
ตรวจสอนได้หรือไม่ ระบุสาเหตุของปัญหา แยกปัญหาเป็นปัญหาย่อย ๆ สามารถ
วางแผนและดำเนินการการสำรวจตรวจสอบ เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล พรอ้ มทั้ง
ประเมินความถูกต้องและข้อจำกัดของข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสรา้ งข้อสรุปที่แม่นยำ

10 และน่าเชื่อถอื รวมท้งั พจิ ารณาข้อจำกัดของการวเิ คราะหแ์ ละตีความหมายขอ้ มูล สามารถ
เปรียบเทียบแหล่งข้อมูลและข้อเท็จจริงได้ นำเสนอข้อสรุปรวมทั้งเปรียบเทียบและ
ประเมินข้อสรปุ ท่ีแตกต่างหรอื ตรงกันขา้ มกบั ข้อสรุปของตนโดยใช้เหตุผลและหลักฐาน
ที่ ห ล า ก ห ล าย แ ล ะ ส า ม า ร ถ ป รับ ป รุ งข้ อ ส รุ ป ข อ งต น ต าม ข้ อ มู ล แ ล ะ ห ลั ก ฐ าน ใ ห ม่
สร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายแนวคิด ทำนายหรือประเมินผลลพั ธ์ พัฒนาชิ้นงาน วิธีการ
หรือนวัตกรรม โดยใช้ความคิดที่แปลกใหม่ที่ไม่ซ้ำใคร หรือพัฒนาต่อยอดจากของเดิม
ใหเ้ หมาะสมต่อการใช้งานจริงและส่งผลดีตอ่ สงั คม เขียนสะท้อนความคดิ เกี่ยวกบั เนอื้ หา
และกระบวนการเรยี นรู้ และระบุส่งิ ที่ต้องส่ิงที่จะทำในอนาคตเพ่อื พัฒนาการเรียนรูข้ อง
ตนเองและพัฒนาสงั คม

14

3. สมรรถนะการสอ่ื สาร (Communication: CM)

นยิ าม
มีความสามารถรับรู้ รับฟัง ตีความ และส่งสารด้วยภาษาต่าง ๆ ท้ังวัจนภาษาและอวัจนภาษา

โดยใช้กระบวนการคิด ซ่ึงจะนำไปสู่การเรียนรู้ ความเข้าใจ ในระบบคุณค่า การแก้ปัญหาร่วมกันผ่านกลวิธี
การส่ือสาร อยา่ งฉลาดรู้ สร้างสรรค์ มพี ลัง โดยคำนึงถงึ ความรับผิดชอบตอ่ สังคม

องค์ประกอบ
1. การรับสารอย่างมีสติและถอดรหัสเพ่ือให้เกิดความเข้าใจ หมายถึง การรับสารด้วยความใส่ใจ

ผ่านประสาทสัมผัสในการรับสาร ตลอดจนสามารถตีความ1สารท่ีส่งมาได้ท้ังความคิด ความรู้สึก เจตนา
ตลอดจนสามารถตีความสารและสามารถนำสารมาใชพ้ ฒั นาตนเองและสงั คม

2. การรับส่งสารบนพ้ืนฐานความเข้าใจและความเคารพในความคิดเห็นและวัฒนธรรม
ท่ีแตกต่าง หมายถึง การรับส่งสารด้วยวิธีการที่หลากหลาย ทั้งการเจรจาต่อรอง หรือแลกเปลี่ยนข้อมู ล
สารสนเทศ องค์ความรู้ ประสบการณ์ ผ่านช่องทางหรือสื่อท่ีมีความหลากหลาย ท้ังสื่อบุคคล ส่ือธรรมชาติ
สอื่ สิ่งพิมพ์สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ และสื่อระคน โดยปราศจากความขัดแย้งต่าง ๆ และร้เู ท่าทัน บนพ้ืนฐานความเข้าใจ
ในบริบทสงั คมทีม่ ีความคดิ และวฒั นธรรมทีแ่ ตกต่าง ท้งั ในระดบั ชุมชน ชาติ และสากล

3. การเลือกใชก้ ลวิธีการส่อื สารอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถงึ ความรับผิดชอบต่อสังคมเพ่ือบรรลุ
วัตถุประสงค์ในการส่ือสาร หมายถึง การเลือกใช้วิธีการส่ือสารในลักษณะต่าง ๆ ท้ังวัจนภาษาและอวัจนภาษา
ตลอดจนการสื่อความหมายผ่านสื่อในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือบรรลุเป้าหมายในการสื่อสาร โดยมีความรับผิดชอบ
ตอ่ ผลท่ีจะเกิดขน้ึ ในสังคมและวัฒนธรรมท่ีแตกต่างทง้ั ในระดับชุมชน ชาติ และสากล

14

ระดบั สมรรถนะการสือ่ สาร

ระดับการพฒั นา ระดับความสามารถ

ระดบั คำบรรยายระดบั ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6

1 ใช้ประสาทสัมผัสในการรับและส่งสารอย่างต้ังใจ เข้าใจความแตกต่างทางกายภาพที่มีผลต่อการส่ือสาร เริม่ ต้น
ใชส้ อื่ ภาพ เสียง คำพูด ท่าทาง สัญลกั ษณ์ใกลต้ ัว และผลงานอย่างงา่ ย ๆ ในการสือ่ สารแบบตรงไปตรงมา

รับและส่งสารอย่างต้ังใจโดยใช้ประสาทสัมผัส เข้าใจนัยตรง บอกข้อมูลและความรู้สึกท่ีมีต่อสารในสถานการณ์

2 ใกล้ตวั แบบตรงไปตรงมา โดยเลอื กและผลติ ส่ือที่เหมาะสมกับบุคคลผ่านการเคล่ือนไหว ท่าทาง เสียง ภาษา กำลัง
ภาพ สัญลักษณ์ และผลงานแบบง่าย ๆ พร้อมท้ังคำนึงถึงประโยชน์และโทษของการสื่อสารท่ีมีผลกระทบ พฒั นา
ต่อตนเอง

รับและส่งสารที่เป็นข้อมูล ข้อเท็จจริง และความรู้สึกท่ีมีรายละเอียดมากขึ้นในสถานการณ์ใกล้ตัว มีความอดทน

3 ในการรบั สารแลกเปล่ียนประสบการณ์และสอ่ื สาร โดยตระหนักถึงความแตกต่างระหว่างตนเองกบั บคุ คลใกล้ตัว สามารถ เรมิ่ ตน้
คำนึงถึงประโยชน์และโทษของส่ือที่มีต่อตนเอง สามารถส่ือสารเรื่องราวใกล้ตัวทั้งที่เป็นภาษา ภาพ เสียง

สัญลกั ษณ์ ท่าทาง การแสดงออกทางศิลปะอยา่ งง่าย โดยเลือกและผลติ ส่อื ให้เหมาะกบั บคุ คล และกาลเทศะ

4 รบั และส่งสารที่เกี่ยวข้องกบั สถานการณท์ ีใ่ กลต้ ัว จบั ประเด็นสำคัญ หรือวตั ถปุ ระสงค์ของผู้ส่งสารได้ อธิบาย เหนอื กำลงั
ความรู้สกึ ท่เี กิดขน้ึ จากการรับสารประเภทตา่ ง ๆ ทม่ี คี วามซบั ซอ้ นมากขน้ึ มคี วามอดทนในการรบั และสง่ สาร ความ พัฒนา
ใช้สื่อที่มีความหลากหลายขนึ้ เข้าใจผลกระทบของสื่อที่มีต่อตนเอง มีจุดมุ่งหมาย และกลวิธีในการส่ือสารและ คาดหวงั
การผลิตส่อื เพื่อสอื่ สาระที่เปน็ ประโยชน์ต่อตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

รับและส่งสารท่ีเก่ียวข้องกับสถานการณ์ในชุมชน สังคม อย่างมีสติ จับประเด็นสำคัญ ข้อคิด ท้ังเชิงบวก สามารถ เรม่ิ ต้น

5 และลบท่ีได้รบั ตามวัตถุประสงคข์ องผู้ส่งสาร แลกเปล่ียนประสบการณ์อย่างมสี ติกบั บุคคลที่หลากหลายขึ้น
ในสถานการณ์ที่มีความซบั ซ้อน ท้ังโลกจริงและโลกเสมือน มีมารยาทและจริยธรรมในการส่ือสาร เลือกใช้
กลวธิ ใี นการผลิตสือ่ และสอื่ สารทเี่ หมาะสม และเกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและต่อกลมุ่ ตามจดุ มงุ่ หมายที่กำหนดไว้

รับและส่งสารผ่านสื่อที่หลากหลาย โดยปราศจากอคติ สรุปประเด็น ตีความ และประเมนิ คุณค่า ในมิตคิ วามจริง เหนอื กำลัง
ความ พัฒนา
6 (ข้อมลู ขา่ วสาร) ความดี (แก่นแนวคดิ ) และความงาม (อารมณ์ สุนทรียะ) แบบง่ายได้ สือ่ สารอยา่ งสร้างสรรค์ คาดหวงั
เพ่ือการอยู่รว่ มกันในสังคม โดยคำนึงถึงผลกระทบของการสื่อสาร รู้ผลกระทบของส่ือ ประเมินคุณค่าและ
จรยิ ธรรมในการสอื่ สาร ผ่านส่ือประเภทต่าง ๆ มีจดุ มงุ่ หมายในการสื่อสาร การผลติ สื่อ และออกแบบการส่ือสาร
เพื่อให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ต่อกลุ่ม และตอ่ สังคม

รบั และส่งสารผ่านสื่อท่ีหลากหลาย โดยปราศจากอคติ สรุปประเด็น ตีความ วิเคราะห์ และประเมินคุณค่า สามารถ เรม่ิ ต้น

7 ในมิติความจริง ความดี ความงาม ท่ีมีความซับซ้อนมากข้ึน และเข้าใจกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการสื่อสาร
สามารถออกแบบการส่ือสารท่ีซับซ้อนได้อย่างมีศิลปะ และสร้างสรรค์ในการส่ือสารมากขึ้น โดยคำนึงถึง
ประโยชนท์ งั้ ต่อตนเอง กลมุ่ และสังคมของตนเอง ตามจดุ ม่งุ หมายท่ีกำหนดไว้

รบั และส่งสารท่ีมีความซับซ้อนผ่านสื่อท่ีหลากหลาย โดยปราศจากอคติ ตีความ วิเคราะห์ วิพากษ์จุดเด่น เหนือ กำลัง
ความ พฒั นา
8 จุดด้อย ประเมินคุณค่าของสารที่เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก หรือที่ทดสอบได้ว่าเป็นประโยชน์ จริง คาดหวัง
หรือที่เป็นไปตามอุดมการณ์ ส่ือสารทางบวก ผลิตส่ือที่ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารท่ีซับซ้อนไ ด้ โดยคำนึงถึง
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และสามารถออกแบบการสื่อสารผ่านส่ือหลากหลายประเภทได้อย่างเหมาะสมกับ
กลุม่ เป้าหมายทตี่ ้องการ คำนึงถึงสทิ ธิและประโยชนข์ องสว่ นรวมและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม

9 รับและส่งสารที่มคี วามซับซ้อนและมนี ัยแฝงผ่านสื่อที่หลากหลาย โดยปราศจากอคติ ตีความ วิเคราะห์ วิพากษ์ สามารถ
จุดเด่น จุดด้อย ประเมินคณุ ค่าของสารน้ันได้ลึกข้นึ มีพฤติกรรมทางกาย วาจาและใจในการสอ่ื สารกับบุคคล
ทม่ี ีความตา่ งอยา่ งเห็นอกเหน็ ใจได้อย่างเหมาะสม รูส้ กึ ร่วมและเข้าใจความรู้สึกต่อบุคคลที่มคี วามต่างจากตนเอง
มกี ลยุทธใ์ นการผลติ สื่อและสื่อสารผา่ นส่ือหลากหลายประเภทได้อยา่ งมีศลิ ปะและมพี ลังด้วยความรบั ผิดชอบ
ต่อสงั คม (Social Responsibility)

รับและส่งสารผ่านส่ือท่ีหลากหลายรูปแบบและมีความซับซ้อนหรือมีนัยมากข้ึน เข้าใจ วิเคราะห์ วิพากษ์ เหนอื
ความ
10 และนำสารท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนาตนเอง ชุมชน หรือสังคมได้ ใช้กลยุทธ์ในการผลิตส่ือและ คาดหวงั
สื่อสารได้อย่างมีสติและวิจารณญาณ และรู้สึกร่วมและเข้าใจความรู้สึก (Empathy) เพ่ือสร้างความเข้าใจ
โดยคำนงึ ถงึ ความแตกต่างในทกุ มติ ดิ ว้ ยความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมและการสรา้ งสงั คมทีพ่ ฒั นาอยา่ งย่ังยืน

สำนักวชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ณ วันท่ี 27 พฤศจิกำยน 2563

15

4. สมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทมี (Teamwork and Collaboration: TC)
นิยาม
สามารถจัดระบบและกระบวนการทำงาน กิจการ และการประกอบการใด ๆ ท้ังของตนเอง และ

ร่วมกับผู้อ่ืน โดยใช้การรวมพลังทำงานเป็นทีม มีแผน ข้ันตอน ให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย มีภาวะผู้นำ
มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการประสานความคิดเห็นที่แตกต่างสู่การตัดสินใจและแก้ปัญหาเป็นทีม
อย่างรบั ผิดชอบร่วมกนั สร้างความสมั พันธ์ที่ดแี ละจดั การความขดั แย้งภายใตส้ ถานการณท์ ยี่ งุ่ ยาก

องคป์ ระกอบ
1. เป็นสมาชิกทีมท่ีดีและมีภาวะผู้นำ มีทักษะการทำงานเป็นทีม รับผิดชอบในบทบาทหน้าที่

ของตนและของทีม มีความยืดหยุ่นในการทำงานร่วมกบั กลุ่มคนท่ีแตกต่าง นำจุดเด่นของตนและสมาชิกมาใช้
ในการทำงานให้บรรลุเป้าหมาย สะท้อนการทำงานของตนเองและทีม ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของทีม
สร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเอง ให้เป็นที่ยอมรับและไว้วางใจ ประสานความร่วมมือภายในทีม
และระหว่างทีม สร้างคา่ นยิ มใหม่ในการทำงานร่วมกนั และการพัฒนาทีมทเี่ ข้มแขง็ สามารถเป็นต้นแบบผ้สู รา้ ง
การเปลยี่ นแปลง

2. กระบวนการทำงานแบบร่วมมือรวมพลังอย่างเป็นระบบ สามารถจัดระบบการทำงาน
กิจการ และการประกอบการใด ๆ ทั้งของตนเอง และร่วมกับผู้อื่น ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย แผนการทำงาน
ขน้ั ตอน และกระบวนการทำงานเปน็ ทีม เห็นภาพความสำเรจ็ ของทีม คำนึงถึงประโยชนข์ องทมี ก่อนประโยชน์
ส่วนตน แบ่งบทบาทหน้าที่ให้เหมาะสมกับศักยภาพของสมาชิก รับผิดชอบตามบทบาทหน้าท่ีด้วยความใส่ใจ
มีความพยายามในการทำงานและสนับสนุนช่วยเหลือให้เกิดความสำเร็จ เคารพ รับฟัง แลกเปล่ียน และ
ประสานความคิดเห็นที่แตกต่าง ประยุกต์ใช้ทักษะการคิดข้ันสูงในการตัดสินใจเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ
ประเมนิ และปรับปรงุ กระบวนการทำงานร่วมกนั อย่างเป็นระบบ ด้วยความโปรง่ ใสและตรวจสอบได้ ร่วมรบั ผิด
และรับชอบตอ่ ผลการตดั สนิ ใจของทมี เห็นคุณค่าของการทำงานแบบรว่ มมอื รวมพลงั

3. สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีและการจัดการความขัดแย้ง มีทัศนคติเชิงบวกในการทำงานร่วมกับ
ผู้อ่ืน เห็นคุณค่าของสัมพันธภาพที่ดี สร้างและรักษาความสัมพันธ์อันดีในทีม ให้ความไว้วางใจซ่ึงกันและกัน
ปฏิบัติต่อผู้อ่ืนด้วยความจริงใจ เห็นอกเห็นใจในฐานะท่ีเป็นมนุษย์ด้วยกัน เคารพและเห็นประโยชน์ของ
ความแตกต่างหลากหลาย มีทกั ษะและใชว้ ิธกี ารปอ้ งกนั และจดั การความขัดแย้งได้อยา่ งเปน็ ระบบ

สำนกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ณ วนั ท่ี 27 พฤศจกิ ำยน 2563

16

ระดบั สมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม ป.1-3 ระดบั ความสามารถ ม.4-6
ป.4-6 ม.1-3
ระดบั การพัฒนา เริม่ ตน้ เร่ิมต้น
ระดบั คำบรรยายระดบั เร่มิ ตน้ กำลัง
กำลงั พฒั นา
1 รับรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง มงุ่ ม่ันทำงานและทำกจิ กรรมของตนเองและ พฒั นา กำลัง สามารถ
ร่วม กับ ผู้ อื่ นได้ส ำเร็จตาม ข้ อต กล ง กฎ ก ติกา แ ล ะแ ส ดงออ ก พฒั นา เหนือ
อยา่ งเหมาะสมในสถานการณต์ ่าง ๆ ตามคำชีแ้ นะ สามารถ ความ
รแู้ ละรบั ผิดชอบในบทบาทหนา้ ทีข่ องตนเอง มคี วามมัน่ ใจในการทำงานตาม เหนอื คาดหวงั
ความ
2 ขั้นตอนต่าง ๆ ให้สำเร็จ ตามคำแนะนำ และปฏิบัติตามกฎ กติกา ของทีม คาดหวงั
เมื่อได้รับ การช้ีแ น ะเพื่ อส นับ ส นุน การท ำกิ จกรรมร่วม กับ ผู้ อื่น
ให้บรรลุผลสำเร็จ สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อ่ืนและตอบสนองต่อ สามารถ เริม่ ตน้
สถานการณ์ต่าง ๆ ตามคำแนะนำ
มคี วามรบั ผิดชอบและใช้จุดเด่นในการทำงานให้สำเรจ็ รักการทำงาน เป็น เหนือ กำลงั
ความ พฒั นา
3 สมาชิกที ม ที่ มีส่ วน ร่วมใน การตัดสิน ใจ การกำห น ดเป้ าห มาย คาดหวัง
การสร้างข้อตกลงและการทำงานของทีม แสดงออกถึงความเข้าใจ
ตอ่ เพ่ือนในทมี ด้วยความเป็นมติ รตามคำแนะนำ สามารถ

4 เป็นสมาชิกทีมที่รับผิดชอบต่อบทบาทและงานตามท่ีได้รับมอบหมาย เหนือ
จัดระบบความคิดก่อนลงมือทำงานอย่างเป็นลำดับข้ันและปฏิบัติงานจน ความ
สำเรจ็ รวมทัง้ การช่วยเหลือเพอ่ื นในทีม โดยปฏบิ ัติต่อผอู้ ื่นอยา่ งเป็นมิตร คาดหวงั
เปน็ สมาชกิ ที่รเิ ร่ิมกำหนดเป้าหมาย วิธกี ารทำงานท้ังของตนเองและทมี ใช้

5 ความคิดสร้างสรรค์ในการวางแผนการทำงานอย่างเป็นลำดับข้ัน
และปฏิบัติงานจนสำเร็จ วิเคราะห์และสะท้อนการทำงาน แสดง
ความคิดเห็นและสนับสนุนการทำงานของสมาชิกในทีมให้บรรลุเป้าหมาย

6 เป็นผู้นำตนเองมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและการทำงานเพ่ือให้บรรลุ
เป้าหมายของตนเองและทีม จดั ระบบความคิดและการทำงาน สะท้อนผล
การทำงานโดยตระหนกั ถึงเปา้ หมายและสัมพนั ธภาพเชิงบวกของทมี
เปน็ ผู้นำตนเอง สรา้ งการมีสว่ นรว่ มในการตัดสนิ ใจและกระบวนการทำงาน
ตรวจสอบและพัฒนางานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างเป็นระบบ มีวิธีการทำงานท่ี

7 โปร่งใสตรวจสอบได้ สร้างสัมพันธภาพเชิงบวก และจัดการความขัดแย้ง
ด้วยความเข้าใจและยอมรับ ความแตกต่าง ความเสมอภาคและเท่าเทียม
กั น โ ด ย ไ ม่ เ ลื อ ก ป ฏิ บั ติ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ข อ ง ทุ ก ค น ใ น ที ม
อย่างเท่าเทียมกนั
มภี าวะผู้นำ ใช้ทักษะการคิดขั้นสูง เพื่อมองเห็นภาพความสำเร็จ ตัดสินใจ

8 และทำงานอย่างมีส่วนร่วม เพื่อขับเคลื่อนทีมให้บ รรลุเป้าหมาย
ด้วยกระบวนการทำงานท่ีโปร่งใส ตรวจสอบได้ อีกทั้งรักษาสมั พันธภาพเชิง
บวกในทมี

มีภาวะผู้นำ เสริมสร้างความสัมพันธ์ เชิงบวกและคุณค่าของการรวมพลัง

9 ทำงานเปน็ ทีม มคี วามสามารถในการประสานความคดิ เหน็ ทแ่ี ตกต่าง และ
ท ำง าน ด้ วย ค ว าม โป ร่ง ใส ต ร วจ ส อ บ ได้ แ ล ะส าม ารถ จั ด ก า ร
ความขดั แย้งได้

10 มีคุณ ลักษณ ะของผู้ที่สร้างการเป ล่ียนแปลง สร้างแรงบันดาล ใจ
เห็นคุณค่าของทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน สร้างพลวัตรของการท ำงาน
เปน็ ทีม เพื่อขบั เคลื่อนส่เู ปา้ หมายความสำเร็จของงานและของทีม

สำนักวชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ณ วันที่ 27 พฤศจิกำยน 2563

17

5. สมรรถนะการเปน็ พลเมืองทเ่ี ขม้ แขง็ (Active Citizen: AC)
นิยาม
การปฏบิ ัติตนอย่างรบั ผิดชอบในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รู้เคารพสิทธิเสรีภาพของตนเอง

และผู้อื่น เคารพในกฎกติกาและกฎหมาย มีส่วนร่วมทางสังคมอย่างมีวิจารณญาณ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนท่ามกลาง
ความหลากหลาย เห็นคุณค่าของศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีบทบาทในการตัดสินใจและสร้างการเปล่ียนแปลง
ทางสงั คม โดยยดึ ม่ันในความเทา่ เทียมเป็นธรรม ค่านิยมประชาธปิ ไตย และสนั ตวิ ิธี

องค์ประกอบ
๑. พลเมืองรู้เคารพสิทธิ เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อ่ืน ตระหนักในสิทธิเสรีภาพของตนเอง

ช่วยเหลือ ให้เกียรติ และเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืนบนพ้ืนฐานของการพ่ึงพาอาศัยกัน โดยปราศจากอคติ ไม่เลือกปฏิบัติ
เพอื่ การอย่รู ่วมกนั อย่างสันติ

๒. พลเมืองรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา ข้อตกลง กฎหมาย อย่างถูกต้อง
และเหมาะสม รับผิดชอบบทบาทหน้าทต่ี นเองในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก

๓. พลเมืองมีส่วนร่วมอย่างมีวิจารณญาณ ติดตามสถานการณ์และประเด็นปัญหาของสังคม
อยา่ งมีวจิ ารณญาณ มีส่วนรว่ มทางสงั คมด้วยจิตสาธารณะและสำนึกสากล

๔. พลเมืองผู้สร้างการเปล่ียนแปลง มีความกระตือรือร้นในการสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงบวก
ทางสังคม บนพื้นฐานของความเท่าเทียมเปน็ ธรรม ค่านิยมประชาธปิ ไตย และสนั ติวธิ ี

สำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ณ วันท่ี 27 พฤศจิกำยน 2563

18

ระดับสมรรถนะการเปน็ พลเมอื งท่เี ขม้ แขง็

ระดบั การพัฒนา ระดบั ความสามารถ ม.4-6
ระดบั คำบรรยายระดบั ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3

1 เข้าใจผลกระทบของการกระทำอะไรที่ตามใจตนเอง รับผิดชอบและปฏิบัติตน
ตามคำแนะนำอยา่ งเหมาะสม มีส่วนร่วมในกจิ กรรมส่วนรวมและแจ้งผู้เก่ียวข้อง เร่ิมตน้
เมื่อพบปญั หาในชน้ั เรยี น

มีความสามารถในการยับย้ังช่ังใจ เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อ่ืน รู้จัก ปฏิเสธ

2 ช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อได้รับการร้องขอ รับผิดชอบและปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม กำลงั
ตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง มีส่วนร่วมในกิจกรรมส่วนรวมต่าง ๆ ท่ีโรงเรียน พัฒนา
จัดข้ึ น ห รือค รูม อบ ห ม ายแ ละแจ้ งผู้เกี่ ยว ข้องเมื่ อพ บ ปั ญ ห าห รือคว ามขั ดแ ย้ ง

ในช้นั เรียน

อิสระที่จะคิดและแสดงออกที่รบั ผิดชอบและไม่ทำให้ผู้อ่ืนเดือดร้อน เคารพสิทธิ

3 เสรีภาพของผู้อ่ืน ช่วยเหลือผู้อื่น รับผิดชอบและปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม
ตามบทบาทหน้าท่ขี องตนเอง เคารพต่อสถาบันหลกั ของชาติ ตดิ ตามข้อมลู ข่าวสาร สามารถ เร่มิ ตน้
ทเ่ี ก่ียวข้องกับตนเอง ครอบครัว เพื่อนร่วมชั้นเรียน มีสว่ นรว่ มในกิจกรรมส่วนรวมต่าง ๆ
ในระดบั ช้ันเรียนหรอื โรงเรียน แก้ไขปญั หาความขดั แย้งในชน้ั เรยี นอย่างมเี หตุผล

อดทนอดกลั้นในความคดิ เห็นและการแสดงออกที่แตกต่าง ยอมรับความแตกต่าง

หลากหลาย ช่วยเหลือและแบ่งปันกับผู้อ่ืน รับผิดชอบและปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม
4 ตามบทบาทหน้าท่ีในฐานะพลเมอื งในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ เหนือ
ทรงเปน็ ประมุข เคารพตอ่ สถาบนั หลักของชาติ ติดตามและตรวจสอบข้อมูลขา่ วสาร ความ กำลงั
เข้าร่วมกิจกรรมและร่วมเป็นอาสาสมัครในกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ คาดหวัง พฒั นา

ระดับโรงเรียนและชุมชน หาทางออกร่วมกันกับผู้เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหา

หรอื ความขดั แยง้ อยา่ งมีเหตผุ ล

รู้จักและปกป้องสิท ธิเสรีภ าพของตนเอง และผู้อ่ืน ยอมรับและเคารพ สามารถ เริม่ ตน้
ความแตกต่างหลากหลาย พยายามที่จะเห็นอกเหน็ ใจ ช่วยเหลอื และแบ่งปันกบั ผอู้ ื่น

5 รับผิดชอบและปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมตามบทบาทหน้าท่ีในฐานะพลเมือง
ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข เคารพตอ่ สถาบนั หลัก
ของชาติ ติดตามและตรวจสอบข้อมูลข่าวสาร เข้าร่วมกิจกรรมและร่วมเป็นอาสาสมัคร
ในกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ระดับโรงเรียนและชุมชน หาทางออกร่วมกัน
กับผเู้ กี่ยวข้องในการแก้ปญั หา โดยใช้กระบวนการปรึกษาหารือตามวถิ ปี ระชาธิปไตย

รู้จักและปกป้องสิทธิเสรีภาพของตนเอง และผู้อนื่ พยายามท่ีจะเห็นอกเห็นใจและ เหนอื กำลงั
ช่วยเหลอื ผู้อน่ื เคารพและปฏิบตั ิตนตามกฎ กตกิ าทางสงั คม มีความรบั ผิดชอบต่อ ความ พฒั นา
ผลการกระทำตามบทบาทหน้าท่ีพลเมืองประชาธิปไตย ติดตามและประเมิน คาดหวัง

6 ความถกู ตอ้ งและนา่ เชอ่ื ถือของขอ้ มลู รเิ ร่ิมและมสี ว่ นร่วมทางสงั คมในประเด็นท่สี นใจ
ระดับท้องถ่ินและประเทศ ด้วยจิตสาธารณะ กระตือรือร้นในการหาทางออก
และร่วมสร้างการเปลี่ยนแปลงร่วมกันเก่ียวกับประเด็นปัญหา โดยคำนึงถึง
ความเท่าเทียมเป็นธรรมด้วยสันติวิธีและวิถีประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข

สำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ณ วันท่ี 27 พฤศจกิ ำยน 2563

19

ระดบั สมรรถนะการเปน็ พลเมืองท่ีเข้มแขง็ (ต่อ)

ระดบั การพฒั นา ป.1-3 ระดบั ความสามารถ
ระดับ คำบรรยายระดบั ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6

รูจ้ กั และปกป้องสิทธิเสรภี าพของตนเอง และผูอ้ ื่น พยายามที่จะเห็นอกเห็นใจผ้อู ่ืน สามารถ เรมิ่ ตน้
ทั้งในโลกจริงและโลกเสมือน ให้เกียรติ ช่วยเหลือผู้อ่ืนโดยไม่เลือกปฏิบัติ
เคารพและปฏิบตั ิตนตามกฎ กติกาทางสังคม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าท่ี
พลเมืองประชาธิปไตย ติดตามและประเมินความถูกต้องและน่าเชอื่ ถือของข้อมูล

7 ที่เก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม
ริเริ่มและมีส่วนร่วมทางสังคมในประเด็นท่ีสนใจระดับท้ องถ่ินและประเทศ
ด้วยจิตสาธารณะ กระตือรือร้นในการหาทางออกร่วมกันและริเริ่มในการสร้าง
การเปลี่ยนแปลงของท้องถิน่ ภูมิภาค และประชาคมโลก เก่ียวกับประเด็นปัญหา
โดยคำนึงถึงความเท่าเทียมเป็นธรรม ด้วยสันติวิธีและวิถีประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข

ยึดม่ันในหลักสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาค พยายามที่จะเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน เหนอื กำลัง
ทั้งในโลกจริงและโลกเสมือนบนพื้นฐานของการพ่ึงพาอาศัยกันโดยปราศจากอคติ ความ พัฒนา
คาดหวัง
8 ใช้วิจารณญาณในการติดตามสถานการณ์และประเด็นปัญหา ริเร่ิมและมีส่วนร่วม
ทางสังคมในประเด็นที่หลากหลายระดับภูมิภาคและประชาคมโลก ด้วยจิต
สาธารณะและสำนึกสากล กระตือรือรน้ ในการร่วมสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงบวก
เกีย่ วกบั ประเด็นปญั หาของทอ้ งถ่นิ ดว้ ยคา่ นิยมประชาธปิ ไตย

ยึดม่ันในหลักสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาค เคารพและปฏิบัติตามกฎ สามารถ
กติกาทางสังคม พยายามท่ีจะเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืนทั้งในโลกจริงและโลกเสมือน
บนพ้ืนฐานของการพึ่งพากนั โดยปราศจากอคติ ไม่เลือกปฏบิ ัติ มีความรับผิดชอบ เหนือ
ต่อบทบาทหน้าที่พลเมืองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ความ
คาดหวงั
9 ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย ใช้วิจารณญาณในการติดตามสถานการณ์
และประเด็นปัญหา ริเริ่มและมีส่วนร่วมทางสังคมในประเด็นที่หลากหลาย
ระดับภูมิภาคและประชาคมโลก ด้วยจิตสาธารณะและสำนกึ สากล กระตือรือร้น
ในการร่วมสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงบวก เกี่ยวกับประเด็นปัญหาของท้องถิ่น
ดว้ ยความเชอ่ื ม่ันในสงั คมทีเ่ ท่าเทียมเปน็ ธรรม ค่านิยมประชาธปิ ไตย และแนวทาง
ทีไ่ มเ่ กดิ ความรุนแรงต่อสังคมและต่อตัวเอง

ยึดม่ันและปกป้องในหลักสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาค ส่ือสารผ่านช่องทาง

10 สาธารณะระดับภูมิภาคและประชาคมโลก ด้วยจิตสาธารณะ สำนึกสากล
ด้วยความเชอื่ ม่ันในสงั คมทเ่ี ท่าเทียมเป็นธรรม คา่ นิยมประชาธปิ ไตย และแนวทาง
ทไ่ี ม่เกิดความรุนแรงต่อสงั คมและตอ่ ตัวเอง แนวทางสันตวิ ธิ ี

สำนักวชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ณ วันที่ 27 พฤศจกิ ำยน 2563

20

6. สมรรถนะการอยูร่ ่วมกบั ธรรมชาติ และวทิ ยาการอย่างยัง่ ยนื (Sustainable coexistence with living
in the harmony of nature and science: SLNS)
นยิ าม
มคี วามเข้าใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับปรากฏการณ์ของโลกและเอกภพและความสัมพันธ์ของคณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์และธรรมชาติในชีวิตประจำวัน ใช้และรู้เท่าทันวิทยาการเทคโนโลยี มีความอยากรู้ อยากเห็น
ชา่ งสงั เกต เห็นคุณคา่ สามารถแกป้ ัญหา หรือสรา้ งสรรค์นวัตกรรมได้เพื่อการดำรงชวี ติ และอยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาติ
อย่างยง่ั ยนื

องค์ประกอบ
๑. การเข้าใจปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึน้ บนโลกและในเอกภพ: สืบเสาะ ทำความเข้าใจข้อเท็จจริง

สาเหตุ กระบวนการ และผลกระทบทเ่ี กดิ ข้นึ ของปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลก และในเอกภพ
๒. การเช่ือมโยงความสมั พันธ์ของคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์เพื่อการอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติ

อย่างยั่งยืน: มองเห็นปัญหา เช่ือมโยงและประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพอ่ื แก้ปญั หา หรอื สรา้ งสรรคน์ วัตกรรม เพอื่ การดำรงชวี ิตและอยู่ร่วมกบั ธรรมชาติ
อย่างยง่ั ยนื

๓. การสร้าง ใช้ และรู้เทา่ ทันวิทยาการเทคโนโลยี: สร้างและใช้เทคโนโลยีอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
สร้างสรรค์ ร้เู ทา่ ทัน มคี วามฉลาดทางดิจทิ ัล คำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชีวิต สิง่ แวดลอ้ ม และสงั คม

๔. การมีคุณลักษณะทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับการเข้าใจระบบธรรมชาติและ
การอยู่ร่วมกันอย่างย่ังยืน: มีความอยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกต เข้าใจระบบธรรมชาติ เห็นคุณค่าของ
คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื การดำรงชวี ิตและอยู่รว่ มกับธรรมชาตอิ ย่างยง่ั ยืน

สำนกั วชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ณ วนั ท่ี 27 พฤศจกิ ำยน 2563

21

ระดับสมรรถนะการอยู่ร่วมกบั ธรรมชาติ และวิทยาการอย่างยง่ั ยนื

ระดับการพฒั นา ระดบั ความสามารถ
ระดับ คำบรรยายระดับ ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6

ช่างสงสยั มจี นิ ตนาการ สงั เกต ซักถาม เก็บรวบรวมข้อมลู อย่าง

กระตือรือร้น บอกขอ้ เท็จจรงิ ลงความเหน็ จากการสังเกต จำแนก

1 ความแตกตา่ งของขอ้ มูล นำเสนอขอ้ มลู ในรูปแบบท่ีเหมาะสม และอธิบาย
สถานการณ์ทเี่ กีย่ วข้องกับตนเองและสงิ่ รอบตัว ทำกิจกรรม กิจวตั รตา่ ง ๆ เริ่มต้น
และแกป้ ัญหาโดยใชค้ วามรูค้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ/ หรือเทคโนโลยี

ใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภยั และเหมาะสม มสี ว่ นร่วมในการดูแลส่งิ แวดล้อม

รอบตวั ใชส้ ่ิงของอยา่ งประหยัด

ชา่ งสงสยั กระตือรอื รน้ ในการตงั้ คำถามและรวบรวมขอ้ มูลโดยใช้เคร่อื งมอื

อยา่ งงา่ ย อ่านขอ้ มลู และลงขอ้ สรุปเพ่ืออธิบายสาเหตขุ องสถานการณ์ใกล้

2 ตวั จากความสัมพันธ์ของหลกั ฐานที่รวบรวมได้ แกป้ ัญหาจากสถานการณ์ กำลงั
ใกลต้ ัวหรือส่ิงแวดลอ้ มโดยใชค้ วามรคู้ ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ/ หรือ พฒั นา
เทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยอี ยา่ งปลอดภยั และเหมาะสม มีส่วนร่วมในการ

ดูแลส่ิงแวดลอ้ มในโรงเรียนหรอื ชมุ ชน

ใชส้ ง่ิ ของอย่างใส่ใจและรู้คณุ คา่

กระตือรอื ร้นและมฉี นั ทะในการใฝห่ าความรู้ ตั้งคำถามทนี่ ำไปสู่การหา

คำตอบและรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมอื อยา่ งง่าย เลือกรูปแบบ

การนำเสนอ วิเคราะห์ และประเมินความนา่ เช่ือถอื ของข้อสรุป อธบิ าย

3 สาเหตุของปรากฏการณ์จากหลกั ฐานท่ีรวบรวมไดแ้ ละเชื่อมโยงผลท่ีมีต่อ สามารถ เร่ิมต้น
ชีวติ และส่งิ แวดล้อมในชุมชน ออกแบบแนวทางและลงมือแกป้ ญั หา

จากสถานการณ์ใกลต้ ัวหรือส่ิงแวดลอ้ มโดยใชค้ วามรู้คณติ ศาสตร์

วิทยาศาสตร์ และ/ หรือเทคโนโลยี ใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งปลอดภัยและ

เหมาะสม ใสใ่ จ ดแู ลสง่ิ แวดล้อมในบริเวณบา้ น โรงเรยี น หรือชมุ ชน

ของตนเอง ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งรูค้ ุณคา่

รวบรวมขอ้ มูลอย่างซ่อื สตั ย์ ออกแบบและเลอื กใช้เคร่อื งมือทีเ่ หมาะสม

ประเมินความนา่ เช่อื ถอื ของขอ้ มลู วิเคราะห์ข้อมูลท่จี ัดการเพ่ือลงข้อสรปุ

อธบิ ายสาเหตแุ ละกระบวนการของปรากฏการณจ์ ากหลักฐานท่ีรวบรวมได้

4 โดยใชค้ วามรู้ในศาสตรต์ ่าง ๆ และเชอื่ มโยงผลต่อธรรมชาติ และ เหนือ กำลัง
สงิ่ แวดล้อมในชมุ ชน คาดการณเ์ กย่ี วกับปรากฏการณโ์ ดยอาศยั หลกั วิชา ความ พฒั นา
และไม่มอี คติ ออกแบบแนวทางและลงมอื แกป้ ญั หาจากสถานการณ์ คาดหวงั

ต่าง ๆ ในธรรมชาตหิ รือสิ่งแวดล้อม โดยใช้ความรคู้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

และเทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยตี ามวัตถุประสงค์อยา่ งคมุ้ คา่ และปลอดภัย

รบั รูแ้ ละมีจิตสำนึกในการดูแลธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

ใส่ใจ และมฉี ันทะในการใฝห่ าความรู้ สงั เกต ตั้งคำถามที่นำไปสกู่ ารหา

คำตอบเกย่ี วกบั ปรากฏการณท์ วั่ ไป ประเมินและเลือกวิธีการรวบรวมข้อมูล

ท่สี อดคล้องกบั คำถาม ประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถอื ของข้อมลู จดั การและ

นำเสนอข้อมูลหลายประเภทได้อยา่ งเหมาะสม วเิ คราะห์และเลอื ก

ชุดข้อมลู ทีส่ อดคล้องกับสมมติฐาน และประเมนิ ข้อสรปุ และขอ้ กลา่ วอา้ ง

5 อธิบายสาเหตุและกระบวนการของปรากฏการณ์จากหลักฐานท่รี วบรวมได้ สามารถ เรมิ่ ต้น
โดยใชค้ วามร้ใู นศาสตรต์ ่าง ๆ และเช่ือมโยงผลตอ่ ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ในชุมชน คาดการณ์เกีย่ วกับปรากฏการณ์โดยอาศยั หลักวชิ าอย่างมเี หตผุ ล

และไม่มีอคติ แก้ปญั หาปัจจบุ นั ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับ

การเปลย่ี นแปลงของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในระบบธรรมชาติ โดยใชค้ วามรู้

คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ใชเ้ ทคโนโลยีอย่างค้มุ คา่

ปลอดภยั และเหมาะสม รบั ร้แู ละเหน็ ตัวเองเปน็ สว่ นหน่งึ ของระบบ

ธรรมชาติ ใชท้ รัพยากรธรรมชาติตามความจำเป็น

สำนกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ณ วนั ท่ี 27 พฤศจกิ ำยน 2563

22

ระดบั สมรรถนะการอยูร่ ่วมกับธรรมชาติ และวิทยาการอยา่ งย่ังยืน (ต่อ) ระดบั ความสามารถ ม.4-6
ป.4-6 ม.1-3
ระดบั การพฒั นา เร่ิมตน้
ระดบั คำบรรยายระดบั ป.1-3 เหนือ กำลงั กำลัง
ความ พฒั นา พัฒนา
มุ่งม่ันในการหาสาเหตุของปรากฏการณ์ ออกแบบวิธีการรวบรวมข้อมูล คาดหวัง
วเิ คราะหแ์ ละนำเสนอข้อมูลทค่ี อ่ นขา้ งซบั ซอ้ นและประเมินความสมเหตุ สม
ผลของข้อสรปุ และการอนุมาน ยอมรับและยินดีเปลี่ยนแปลงขอ้ สรุปเม่อื มี สามารถ
หลักฐานท่ีน่าเชื่อถือเพียงพอ อธิบายสาเห ตุและกระบวนการของ
ปรากฏการณ์จากหลักฐานท่ีรวบรวมได้โดยใชค้ วามรู้ในศาสตร์ตา่ ง ๆ และ เหนือ
ความ
6 เชื่อมโยงผลตอ่ ธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมในระดับประเทศอย่างเป็นระบบ คาดหวัง
คาดการณ์ เกี่ย วกับ ป รากฏ ก ารณ์ โดย อาศัยห ลักวิช าแล ะข้อมูล
รอบด้าน แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี และปฏิบตั ิตนเพ่ืออยรู่ ่วมกับการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์
ใ น ร ะ บ บ ธ ร ร ม ช า ติ ไ ด้ อ ย่ า ง เห ม า ะ ส ม ใ ช้ เท ค โ น โ ล ยี
โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และรู้เท่าทั น
ใน ก า รส่ื อ ส าร ผ่ าน โล ก ดิ จิ ทั ล ใช้ ท รั พ ย าก ร ธ รร ม ช าติ อ ย่ า ง
มคี วามรบั ผิดชอบ

มุ่งม่ัน อดทน และจดจ่อในการหาสาเหตุของปรากฏการณ์ท่ีค่อนข้าง
ซับซ้อน สังเกต ต้ังคำถาม ออกแบบ ประเมิน และปรับปรุงวิธีการ
และเคร่ืองมือในการเก็บ รวบ รวมข้อมู ล ตรวจสอบ และป ระเมิน
ความน่าเช่ือถือของข้อมูล ประเมินและปรับปรุงการนำเสนอข้อมูล
ให้เหมาะสม ใช้ความรู้ในการประเมินความสมเหตุสมผลของข้อสรุป
และการอนุมาน อธิบายสาเหตุและกระบวนการของปรากฏการณ์

7 จากหลักฐานท่ีรวบรวมได้ และใช้ความรู้ หลักการ ทฤษฎี หรือกฎ
และเช่ือมโยงผลต่อชีวิต ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับประเทศ
อย่างเป็นระบบ พยากรณ์เก่ียวกับปรากฏการณ์อย่างสมเหตุสมผลและใช้
ข้อมูลรอบด้าน แก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่ไม่คาดคิดเก่ียวกับการดำเนินชีวิต
ของมนุษย์ สิ่งแวดล้อม และธรรมชาติ ด้วยคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี มีส่วนรว่ มในการปกป้องหรือฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนหรือ
ชุมชน โดยเสนอแนวทาง นำไปปฏบิ ัติ ตรวจสอบผลและปรับปรุงวิธีการ ใช้
เทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลที่เกิดข้ึนต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม สร้าง
และแบง่ ปนั ขอ้ มูลอยา่ งปลอดภัย

สร้างโครงงานตามหัวข้อท่ีกำหนด โดยตง้ั คำถาม กำหนดขอบเขตที่ศึกษา
ออกแบบ ประเมิน และปรับปรุงวิธีการรวบรวมขอ้ มูล วิเคราะห์ขอ้ มูลและ
เลอื กการอนมุ านที่ตรงกบั เงื่อนไขและขอ้ จำกดั อย่างมีเหตุผล อธิบายสาเหตุ
แ ล ะ ก ระ บ ว น ก ารข อ ง ป ราก ฏ ก ารณ์ ที่ ซั บ ซ้ อ น จ าก ห ลั ก ฐ า น
ท่ีรวบรวมได้ โดยใช้ความรู้ หลักการ ทฤษฎี กฎ และปัจจัยต่าง ๆ
ท่ีเก่ียวข้อง และเช่ือมโยงผลต่อชีวิต สิ่งแวดล้อม และธรรมชาติอย่าง

8 เป็นระบบ พยากรณ์เกีย่ วกบั ปรากฏการณอ์ ย่างสมเหตุสมผล ใช้ขอ้ มูลรอบ
ด้านและน่าเชื่อถือ วิเคราะห์ปัญหาในเชิงระบบจากสถานการณ์
ท่ีซับซ้อนในธรรมชาติ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและมีวิจารณญาณ
ด้วยคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีส่วนร่วมสร้างสมดุล
เพือ่ การดำรงชีวติ ในธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของชุมชนโดยเสนอแนวทาง
นำไปปฏิบัติ ตรวจสอบผลและปรับปรุงวิธีการอย่างมุ่งมั่น อดทน ใช้
เทคโนโลยีท่ีหลากหลายในการทำงาน และจัดการผลที่เกิดข้ึน เคารพ
กฎหมาย มีจริยธรรม เห็นคุณ ค่าของระบบธรรมชาติโดยปรับตัว
ให้อย่รู ว่ มกันไดอ้ ยา่ งสมดุล

สำนักวชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ณ วันที่ 27 พฤศจกิ ำยน 2563

23

ระดบั สมรรถนะการอยู่รว่ มกบั ธรรมชาติ และวทิ ยาการอย่างย่ังยืน (ตอ่ ) ระดับความสามารถ ม.4-6
ป.4-6 ม.1-3
ระดบั การพัฒนา สามารถ
ระดับ คำบรรยายระดบั ป.1-3
เหนือ
สรา้ งโครงงานตามความสนใจ โดยตั้งคำถาม วิเคราะห์ สงั เคราะห์หลักการ ความ
หรือทฤษฎีอยา่ งรอบด้านเพ่ือออกแบบวิธีการรวบรวมข้อมูล ประเมินและ คาดหวงั
ป รั บ ป รุ ง ก า ร น ำ เ ส น อ ข้ อ มู ล วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล
เพ่ือการอนุมาน เลือกใช้โมเดลในการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือนำไปสู่ข้อสรุป
และตอบข้อสงสัย อธิบายสาเหตุและกระบวนการของปรากฏการณ์
ทซ่ี ับซ้อนและสนใจโดยบูรณาการความรหู้ ลากหลายสาขาวชิ าและเช่ือมโยง

9 ผลต่อธรรมช าติ วิเค ราะห์ปั ญ ห าใน เชิงระบ บ จากสถานการณ์
ในระบบ ธรรมชาติ แก้ปัญ หาอย่างเป็นระบ บและมีวิจารณ ญ าณ
โดยบูรณ าการศ าสตร์ต่าง ๆ อย่างแน่วแน่ ไม่ย่อท้อ ป ฏิบัติตน
เพ่ือดำรงชีวิตในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล มีส่วนร่วม
ในการสร้างจติ สำนกึ ของคนในชมุ ชน โดยเสนอแนวทางในการปกป้องหรือ
ฟื้นฟู และอยู่รว่ มกับธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมได้อย่างเหมาะสมและยั่งยืน
ใช้เทคโนโลยีเพอื่ ส่งเสริมการสร้างอาชีพและโอกาสในการแข่งขัน รู้เท่าทัน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
วิเคราะห์ สังเคราะห์หลักการหรือทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง
เพ่ือกำหนดขอบเขตโครงงานท่ีศึกษา ออกแบบวิธีการรวบรวมข้อมูล
อยา่ งมีประสิทธภิ าพและสรา้ งสรรค์ ประเมนิ จุดแขง็ ของชดุ ข้อมลู สรา้ งและ
ยืนยันความถูกต้องของข้อสรุป อธิบายสาเหตุ กระบวนการ และ
ความสัมพันธข์ องปรากฏการณ์ทซี่ ับซ้อนในระบบธรรมชาติโดยบูรณาการ

10 ความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลท่ี เป็น
จุดวิกฤตซึ่งมีผลต่อความอยู่รอดของมนุษย์และโลกจากสถานการณ์
ในระบบธรรมชาติ สรา้ งนวัตกรรมเพ่ือแก้ปญั หาอย่างเปน็ ระบบ สรา้ งสรรค์
และมีวิจารณญาณ โดยบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ อย่างมุ่งมั่นและเด็ดเด่ียว
ส ร้ า ง จิ ต ส ำ นึ ก ข อ ง ค น ใ น ชุ ม ช น ป ก ป้ อ ง ห รื อ ฟื้ น ฟู แ ล ะ
อยู่ร่วม กับ ธรรมช าติแ ล ะสิ่ งแ วดล้ อม ได้อย่างส มดุ ล แ ล ะยั่ งยื น
ใช้เทคโนโลยีเพ่ื อส่งเสริมการสร้างอาชีพห รือการเพ่ิมมูลค่าของผลผลิ ต
และโอกาสในการแข่งขัน คำนึงถึงผลท่จี ะเกดิ ขนึ้ อยา่ งรอบดา้ น

สำนกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ณ วันที่ 27 พฤศจิกำยน 2563

24

7. กลุ่มสาระการเรยี นรู้

หลักสูตรโรงเรียนวัดหน้าเมือง พุทธศักราช 2565 ตาม(ร่าง)กรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐานพุทธศักราช.... ระดับประถมศึกษา กำหนดกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย สมรรถนะเฉพาะ และ
ผลลัพธ์การเรยี นรู้เมอ่ื จบช่วงชั้น ดงั น้ี

• ช่วงชน้ั ที่ 1 (ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 - ๓) กำหนด 7 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ดังนี้
๑. ภาษาไทย
๒. คณิตศาสตร์
๓. ภาษาอังกฤษ
๔. ศลิ ปะ
๕. สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
๖. สังคมศึกษา
๗. วทิ ยาศาสตรแ์ ละระบบธรรมชาติ

• ชว่ งชั้นที่ 2 (ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6) กำหนด 9 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ดงั น้ี
๑. ภาษาไทย
๒. คณิตศาสตร์
๓. ภาษาองั กฤษ
๔. ศลิ ปะ
๕. สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
๖. สังคมศึกษา
7. การจดั การในครวั เรอื นและการประกอบการ
8. วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ
9. เทคโนโลยีดจิ ิทัล

ความหมายขององคป์ ระกอบกลมุ่ สาระการเรียนรู้
สมรรถนะเฉพาะ (Specific Competencies) เป็นสมรรถนะเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีประกอบด้วย
ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) เจตคติ (Attitudes) และค่านิยม (Values) ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
ทก่ี ำหนดสำหรับนกั เรียนในแต่ละชว่ งชั้น

ผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อจบช่วงชั้น (Learning Outcome) เป็นเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้
เมือ่ จบช่วงชั้น ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ประกอบด้วย พฤตกิ รรมทสี่ ะท้อนสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะ ท่ีครูผสู้ อน
ต้องนำไปใช้เป็นกรอบแนวคิดในการออกแบบการจัดการเรียนรู้และการวัดผลประเมินผล เพ่ือพัฒนาผู้เรียน
ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้เมือ่ จบช่วงช้ันเปน็ ภาพรวมความสามารถของนกั เรียนตามกล่มุ สาระการเรยี นรู้

25

8. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมรรถนะหลักกบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้

หลักสูตรโรงเรียนวดั หนา้ เมือง พทุ ธศกั ราช 2565 ตาม(ร่าง)กรอบหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พ้ืนฐานพทุ ธศักราช.... ระดบั ประถมศึกษา กำหนดแนวคิดการพัฒนาสมรรถนะหลัก 6 ด้านผ่านกลุ่มสาระการ
เรยี นรู้ โดยผสมผสานระหวา่ งสมรรถนะหลักกบั สมรรถนะเฉพาะของแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรู้ เพอ่ื กำหนดเป็น
ผลลัพธก์ ารเรยี นรเู้ มอ่ื จบชว่ งช้นั ของแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรู้ ดงั นี้

26

8.1 ชว่ งชนั้ ท่ี 1 (ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - ๓)
กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
 สาระสำคัญของกลมุ่ สาระการเรียนรู้

ความสำคญั ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นเครื่องมือสำหรับการส่ือสารท่ีสำคัญของคนไทย ทำให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน
ทั้งระดับบุคคลและระดับสังคม เป็นเคร่ืองมือสำหรับการคิด การรู้คิดด้วยภาษาไทยจะช่วยให้การเรียนรู้
และการแสวงหาความรู้ในศาสตร์อ่ืน ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ภาษาไทยเป็นสำนึกร่วม เป็นมรดก
ทางวัฒนธรรม และเป็นเอกลักษณ์ของชาติ ตลอดจนเป็นเคร่ืองมือสำหรับการสร้างสรรค์และการเข้าถึง
สุนทรียภาพ ดังนั้น การใชภ้ าษาไทยจึงเปน็ สมรรถนะท่ีต้องศกึ ษาและฝกึ ฝนจนเกิดความชำนาญ
กลุ่มสาระการเรียนรู้น้ีมีสมรรถนะเฉพาะ 4 สมรรถนะ ได้แก่ 1) การฟัง การดู และการพูด
เพ่ือพัฒนาการคิด 2) การอ่านเพื่อพัฒนาการคิด 3) การเขียนเพ่ือพัฒนาการคิด และ 4) การเข้าใจธรรมชาติ
ของภาษาและการใชภ้ าษาไทย
สมรรถนะเฉพาะทั้ง 4 สมรรถนะดังกล่าว มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับสมรรถนะหลักทัง้ 6 สมรรถนะ
และบูรณาการกันเป็นผลลพั ธก์ ารเรียนรูช้ ว่ งช้ัน 9 ขอ้ ซึง่ เป็นเปา้ หมายของช่วงชั้นน้ี
ผลลัพธ์การเรียนรู้ช่วงชั้นท่ี 1 ทั้ง 9 ข้อ นำไปกำหนดเป็นผลลัพธ์การเรยี นรู้ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3
โดยต้องคำนึงถึงการบูรณาการสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะด้วย เพื่อให้เม่ือผู้เรียนบรรลุผลลัพธ์
การเรยี นรชู้ ้นั ปีแลว้ จะนำไปสูก่ ารบรรลผุ ลลัพธ์การเรยี นรชู้ ่วงชั้นตามท่หี ลกั สูตรกำหนดไว้
ลกั ษณะเฉพาะ/ ธรรมชาตขิ องกลมุ่ สาระการเรียนรู้
การเรยี นรู้ภาษาไทยในช่วงชนั้ ท่ี 1 เป็นการเรียนรู้การใชภ้ าษาที่เก่ียวข้องกับบริบทใกลต้ วั เร่ิมต้นจาก
เร่อื งของตวั เอง เรอ่ื งทีเ่ ก่ียวข้องกับตัวเอง สถานการณ์ หรือบริบทใกล้ตวั ของนักเรียน ท้ังในและนอกโรงเรียน
นักเรียนจะได้รับการพัฒนาสมรรถนะการฟังจากการฟังและ/ หรือดูสิ่งต่าง ๆ เพื่อเรียนรู้คำศัพท์ และสร้าง
ความเข้าใจเร่ืองราวไปพร้อม ๆ กับการพัฒนาสมรรถนะการพูดจากการพูดสนทนาและการเล่าเรื่อง เพ่ือแลกเปลี่ยน
ความรู้ แสดงความคิดเห็น และความรู้สึก รวมทั้งถ่ายทอดประสบการณ์ของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
ถกู กาลเทศะ บคุ คล รวมท้งั มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด
ในขณะเดียวกัน นกั เรียนกต็ ้องไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะการอ่านจากการอ่านบทอ่านประเภทต่าง ๆ
เพื่อให้สามารถอ่านออกและเข้าใจเนื้อหาสาระของบทอ่านไปพร้อม ๆ กับการพัฒนาสมรรถนะการเขียน
เพ่ือให้สามารถเขียนสะกดคำได้ถูกต้องตามโครงสร้างภาษา และเขียนข้อความแสดงความรู้ความเข้าใจ
ความคิด ความรู้สึก โดยใช้คำและประโยคง่าย ๆ ตรงตามวัตถุประสงค์ได้อย่างถูกหลักการใช้ภาษาในการสื่อ
ความหมาย เพื่อส่ือสารและเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีมารยาทในการอ่านและการเขียน ท้ังนี้ วิธีการสอน
อา่ นเขียนแบบแจกลูกสะกดคำ และอ่านตามครู ยังคงเป็นวิธกี ารสอนท่ีมีประสิทธิภาพ สำหรับจัดการเรียนการสอน
ใหน้ ักเรียนสามารถอา่ นออกและเขยี นได้
จดุ เนน้ การพัฒนา
การสอนภาษาไทยในช่วงช้ันที่ 1 เป็นการพัฒนาสมรรถนะการใช้ภาษาของนักเรียน ผ่านการเรยี นรู้
หลักภาษาไทยและโครงสร้างภาษาไทยพ้ืนฐานจากส่ือต่าง ๆ เพ่ือให้นักเรียนเกิดสมรรถนะการใช้ภาษา
เพื่อสื่อสารในบริบทต่าง ๆ และเกิดสมรรถนะการใช้ภาษาในฐานะเคร่ืองมือการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้
ในช่วงช้ันท่ี 1 เป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยคำนึงพัฒนาการการเรียนรู้ภาษาของนักเรยี นเป็นสำคัญ
เน่ืองจากเป็นวัยที่เพ่ิงก้าวออกมาจากระดับปฐมวัย หรือครอบครัว นักเรียนจึงมีความแตกต่างระหว่างบุคคล
ทั้งดา้ นการใชภ้ าษา การเรียนรู้ร่วมกบั เพือ่ น และการใช้ชีวิตกบั ผู้อืน่ ที่ไม่ใช่คนในครอบครวั ในเบ้ืองตน้ ครูควร

27
จัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความสามารถในการรับรู้และการเรียนรู้ของนักเรียน ปรับพ้ืนฐานของนักเรียน
แต่ละคน โดยออกแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนบนฐานของสถานการณ์ หรือบริบทใกล้ตัวของนักเรียน
ท้งั ในและนอกโรงเรียน เชน่ การใชภ้ าษาพูดเพือ่ สือ่ สารในห้องเรยี น หอ้ งสมดุ โรงอาหาร เปน็ ต้น รวมท้ังออกแบบ
กิจกรรมการอ่านและการเขียนโดยใช้วิธีการสอนหลากหลาย เพ่ือให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ และสื่อสารได้
อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับช่วงวัยของนักเรียน โดยใช้บทอ่านในหนังสือหรือสื่อประเภทต่าง ๆ
ในชวี ติ ประจำวนั เชน่ บทอา่ นสำหรบั เด็ก วรรณคดไี ทย ป้ายโฆษณา ประกาศ

การนำไปใช้ในชวี ิตจรงิ
การเข้าใจธรรมชาติของภาษาและการใช้ภาษาไทยในช่วงชั้นนี้ มีวัตถุประสงค์สำคัญเพ่ือให้นักเรียน
ได้ฝึกการฟัง การดู การพูด การอ่าน และการเขียน ผ่านการเรียนรู้หลักการใช้ภาษาและโครงสรา้ งภาษาไทย
พื้นฐานจากส่ือตา่ ง ๆ เพื่อให้นักเรียนเกิดสมรรถนะการใช้ภาษาเพื่อส่ือสารในบรบิ ทต่าง ๆ และเกิดสมรรถนะ
การใช้ภาษาในฐานะเคร่อื งมือการเรยี นรู้ ทั้งนี้ การสอนอ่านเขียนในเบอื้ งต้นเพ่ือให้นักเรียนสามารถอ่านเขียน
ได้อย่างถกู ตอ้ ง ชดั เจน ยงั คงเนน้ การสอนอ่านเขียนโดยการแจกลกู สะกดคำเปน็ หลกั จากนนั้ จะเปน็ การเรียนรู้
เกี่ยวกับการเข้าใจความหมายของคำ การนำไปใช้แต่งประโยคอย่างง่ายในบริบทและสถานการณ์ต่าง ๆ
รวมทัง้ การใช้ภาษาไทยได้อย่างเหมาะสมกบั กาลเทศะ
การใช้ภาษาไทยเพ่ือให้สามารถส่ือสารได้ในบริบทต่าง ๆ ท้ังการเรียนในชั้นเรียนและทุกเวลาที่ต้องมี
การปฏิสัมพนั ธ์ส่ือสารกับผูอ้ ่ืน นักเรยี นจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาหรือฝึกฝนอยา่ งต่อเนอ่ื ง เพื่อให้การส่ือสาร
เปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ
การเรียนรภู้ าษาไทยในช่วงชั้นท่ี 1 น้ี นักเรียนจะไดเ้ รยี นรูผ้ ่านการรับสารต่าง ๆ ทั้งจากการฟัง การดู
และการอ่าน เพ่ือให้สามารถส่งสาร คือ การเขียนและการพูดได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
ด้วยเหตุน้ี การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนอกจากจำเป็นต้องเช่ือมโยงบนฐานของสถานการณ์
หรือบริบทใกล้ตัวแลว้ ยงั ต้องมกี ารบรู ณาการร่วมกับวชิ าอน่ื ๆ เชน่

คณิตศาสตร์ อ่านและเขียนแผนภาพแผนภูมิ แผนผัง ฟัง ดู และอ่านโจทย์คณิตศาสตร์ ตีความ
แก้ปญั หา พูดนำเสนอ แสดงวิธีคิด เขียนคำท่ีสื่อความหมายถึงการบวก การลบ การคูณ การหาร แสดงความสมั พันธ์
ของจำนวนที่เป็นรูปธรรม รับฟังและอธิบายใหเ้ หตผุ ลความสัมพันธ์ของจำนวน

ภาษาองั กฤษ เรียนรู้ ฟัง ดู และพดู คำศพั ท์ ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
ศิลปะ วาดภาพประกอบคำ ประโยค เร่ืองราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน แล้วเขียน
เร่ืองราวเกยี่ วกบั ภาพท่ตี นวาดขนึ้
สุขศึกษาและพลศึกษา พูดนำเสนอความรู้ที่ได้จากการดูคลิปสถานการณ์ต่าง ๆ เก่ียวกับ
ชีวิตประจำวัน เช่น การดูแลสุขภาพ การรักษาสิ่งแวดล้อม ฟัง ดู และอ่านวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ฉลากต่าง ๆ
การปฏบิ ัติตนเกยี่ วกบั สุขอนามัย อา่ นสญั ลักษณ์ หรือปา้ ยเตอื นในโรงเรียน และชมุ ชน
สังคมศึกษา อ่านแผนผังโรงเรียน แผนผังหมู่บ้าน ชุมชนที่ตนเองอยู่ อ่าน และเขียนบันทึก
รายรับ - รายจ่ายในครัวเรือน เรียนรู้เรื่องราวจากบทอ่านที่มีเน้ือหาเก่ียวกับวันสำคัญประเพณีและวัฒนธรรม
ชมุ ชน ท้องถ่ิน สภาพแวดล้อม ศาสนา พิธีกรรม ประวัติของท้องถน่ิ นิทานในท้องถ่ิน เพลงพื้นบ้าน อ่านข้อมูล
จากแผ่นพับสำหรับโฆษณาหรือป้ายโฆษณาสินค้า หรือแพลตฟอร์มดิจิทัล เช่น สภาพอากาศ แผนที่
การเดินทาง
วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ สืบค้น หาแหล่งข้อมูลท่ีต้องการศึกษาได้สอดคล้องกับ
ความต้องการ หรือได้ตรงตามสถานการณ์ หรอื ข้อความที่กำหนดให้ สังเกต พูด เขยี น หรือวาดภาพเกี่ยวกับ
พืชและสัตว์ที่มีในท้องถ่ิน สรุปความเข้าใจในส่ิงท่ีได้เรียนรู้จากปรากฏการณ์ ธรรมชาติ สถานการณ์ ในรูปแบบต่าง ๆ
ตามความสนใจ

28

 ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก
1. การจัดการตนเอง
สมรรถนะเฉพาะ 2. การคิดขน้ั สงู
3. การสือ่ สาร
1. การฟงั การดู และการพูดเพือ่ พฒั นาการคิด 5. การเปน็ พลเมอื งท่ีเข้มแข็ง

1.1 ฟังและ/ หรือดอู ยา่ งตั้งใจแล้วปฏบิ ตั ติ ามคำสั่ง คำชีแ้ จง และ 1. การจดั การตนเอง
คำแนะนำได้ถูกตอ้ งเหมาะสม 2. การคดิ ขั้นสูง
3. การสือ่ สาร
1.2 ฟงั และ/ หรือดูสือ่ ต่าง ๆ อย่างตง้ั ใจแล้วพูดเล่าเร่ือง บอกรายละเอียด 5. การเป็นพลเมืองที่เขม้ แข็ง
และสาระสำคญั รวมท้ังแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกอยา่ ง ๖. การอยูร่ ่วมกับธรรมชาติ
สร้างสรรค์
และวทิ ยาการอย่างยง่ั ยืน
1.3 พดู ส่ือสารได้ตรงตามวตั ถุประสงค์อยา่ งเหมาะสม
1.4 พดู แสดงความคิดเหน็ และความรู้สึกเกย่ี วกบั การพูดของตน 1. การจดั การตนเอง
2. การคิดขนั้ สูง
ไดอ้ ย่างเป็นกลาง 3. การส่อื สาร
1.5 สนทนาแลกเปลยี่ นความรู้ ความคดิ เห็น และประสบการณก์ บั ผอู้ ่ืน 5. การเป็นพลเมืองทีเ่ ข้มแขง็

ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยเคารพในความหลากหลาย
2. การอา่ นเพ่ือพัฒนาการคดิ

2.1 อา่ นออกเสยี งคำในบทอ่านและส่ือประเภทตา่ ง ๆ ทกี่ ำหนดให้
อยา่ งตัง้ ใจและถูกตอ้ ง รวมท้ังเขา้ ใจความหมายของคำ แลว้ สามารถ
อา่ นออกเสียงตลอดจนทำความเข้าใจบทอ่านและสื่อท่ีพบ
ในชวี ติ ประจำวัน

2.2 อา่ นบทอ่านและส่อื ประเภทต่าง ๆ แล้วลำดบั เหตุการณ์ ต้ังคำถาม
และตอบคำถามเพ่อื สรุปเรอื่ งและบอกข้อคิด ตลอดจนคาดคะเน
เหตกุ ารณจ์ ากเรือ่ งทอี่ า่ นอยา่ งมีเหตผุ ล

2.3 อา่ นบทอา่ นและสื่อประเภทต่าง ๆ แลว้ นำความรู้และข้อคิด
ไปปรับใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเองและผู้อนื่

2.4 อา่ นบทอ่านตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรอ่ื งทอ่ี ่าน
ไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์

3. การเขยี นเพ่ือพัฒนาการคดิ

3.1 คัดลายมือและเขยี นคำอย่างตงั้ ใจและถกู ต้อง แลว้ สามารถนำไปใช้
ในการเขียนส่อื สารในชีวิตประจำวนั ได้ถูกต้อง ชดั เจน และเหมาะสม

3.2 เขยี นส่ือสารได้ตรงตามวัตถุประสงค์และรปู แบบการเขียน
โดยไมล่ ะเมิดสทิ ธ์ขิ องผ้อู ืน่

3.3 เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์
3.4 เขยี นแสดงความคิดเห็นและความรู้สกึ เก่ยี วกับงานเขียนของตน

ไดอ้ ย่างเปน็ กลาง

29

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั

4. การเขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและการใช้ภาษาไทย 2. การคดิ ขนั้ สูง
3. การส่ือสาร
4.1 ใช้ภาษาพดู และภาษาเขยี นไดถ้ กู ต้อง เหมาะสมกับบคุ คลและกาลเทศะ 5. การเป็นพลเมอื งทเ่ี ขม้ แข็ง
4.2 ใชภ้ าษาไทยมาตรฐานได้ถกู ตอ้ ง เหมาะสมกับบคุ คลและกาลเทศะ

เรยี นรู้ภาษาถน่ิ เพ่ือให้เกิดความเขา้ ใจในความหลากหลาย
4.3 อา่ นและเขยี นสะกดคำตามหลกั การไดถ้ ูกตอ้ งและนำไปใช้อ่าน

และเขียนสะกดคำใหมใ่ นชวี ติ ประจำวนั
4.4 แตง่ ประโยคอยา่ งงา่ ยตรงตามเจตนาในการสอื่ สารและเหมาะสม

กับบริบท

 ผลลัพธ์การเรียนรูเ้ มือ่ จบช่วงชน้ั ท่ี 1
1. มีสมาธใิ นการฟังและการดู เข้าใจและตอบสนองตอ่ สิ่งท่ีฟงั และดู สามารถถ่ายทอดเน้ือหาของสิ่งท่ีฟังและดู

รวมทัง้ แสดงความคดิ เห็นและความร้สู ึกได้อยา่ งเหมาะสม
2. พูดเพ่ือส่ือสารข้อเท็จจริง ความคิดเหน็ ความรู้สึก ได้ถูกตอ้ งเหมาะสมและเป็นกลาง โดยเคารพในความหลากหลาย

3. อ่านออกเสียงคำได้ถูกต้อง เข้าใจความหมายของคำท่ีอ่านออกเสียง สามารถอ่านออกเสยี งและเขา้ ใจตัวบท
ไดห้ ลากหลายมากขึ้น

4. มสี มาธิในการอ่าน เข้าใจส่ิงท่ีอ่าน มีนิสัยรักการอ่าน สามารถวิเคราะห์ส่ิงที่อ่านและนำข้อคิดจากการอ่าน

ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์
5. คัดลายมือและเขียนคำได้ถูกต้อง แล้วสามารถนำไปใช้ในการเขียนเพื่อส่ือสารในชีวิตประจำวันได้ชัดเจนและ

เหมาะสม
6. เขียนส่ือสารได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เขียนแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกเก่ียวกับงานเขียนของตน

ได้เหมาะสมเป็นกลางโดยไม่ละเมดิ สิทธข์ิ องผู้อ่ืน

7. เขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการอย่างสร้างสรรค์
8. ใช้ภาษาพูดและภาษาเขียนไดถ้ ูกต้อง เหมาะสมกบั บุคคลและกาลเทศะ

9. มีเจตคตทิ ดี่ ตี ่อการใช้ภาษาไทยอย่างถกู ตอ้ ง

 ผลลพั ธ์การเรยี นรู้รายชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1
1. ฟังและปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำ คำส่ังงา่ ย ๆ สามารถจับใจความและพูดแสดงความคดิ เห็นและความรูส้ กึ จาก

เร่ืองทีฟ่ ังและดู ได้อยา่ งเหมาะสมทั้งท่ีเป็นความรู้และความบนั เทงิ พร้อมทั้งมมี ารยาทในการฟงั และดู

2. พดู เล่าเรอ่ื ง ความรู้สึกจากเรอื่ งที่ฟงั และดู ท้ังที่เป็นความรแู้ ละความบันเทิง พูดสอ่ื สารในชวี ติ ประจำวนั
และมีมารยาทในการพูด
3. การอา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของคำ คำคลอ้ งจอง และข้อความทีป่ ระกอบดว้ ย คำพ้นื ฐาน การ
อา่ นเครือ่ งหมายหรือสญั ลักษณ์ และมีมารยาทในการอา่ น
4. อ่านจบั ใจความจากสอื่ ต่าง ๆ เช่น นิทานเร่ืองสนั้ ๆ บทร้องเลน่ และบทเพลง เรอ่ื งราวจากบทเรียนใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลมุ่ สาระการเรียนรอู้ ืน่ ได้อย่างมสี มาธิ

30

5. การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดตามรปู แบบการเขยี นตัวอักษรไทยและเขยี นคำไดช้ ัดเจนและถูกต้อง
และสามารถเขยี นเพื่อสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อยา่ งชัดเจนและมีมารยาท
6. การเขียนสื่อสาร คำท่ีใช้ในชวี ิตประจำวนั คำพื้นฐานในบทเรียน คำคลอ้ งจอง ประโยคง่ายๆ และเขียน
แสดงความคิดเหน็ และความรู้สกึ เกีย่ วกับงานเขียนของตนได้ เหมาะสมเปน็ กลางโดยไมล่ ะเมดิ สิทธ์ิของผู้อื่น
7. ร้จู ักคำ นำเรือ่ ง การเขียนสะกดคำ คัดลายมอื ใชค้ ำในการแตง่ ประโยค สามารถ เขยี นสะกดคำ
คัดลายมือ แตง่ ประโยค โดยการเขยี นอยางงายได้
8. ใช้ภาษาพูดและภาษาเขียนได้ถูกต้อง เหมาะสม
9. มเี จตคติท่ีดีต่อการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง

 ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้รายชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2
1. ฟังและปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำ คำสงั่ ทีซ่ ับซอ้ นสามารถจับใจความและพูดแสดงความคิดเหน็ และ ความรู้สึก

จากเร่อื งทฟ่ี งั และดู ได้อยา่ งเหมาะสมทง้ั ที่เป็นความร้แู ละความบนั เทงิ พรอ้ มทั้งมีมารยาทในฟงและดู

2. พูดเลา่ เร่อื งและพูดแสดงความคิดเหน็ ความรู้สกึ จากเรื่องท่ีฟังและดู ท้งั ที่เปน็ ความรู้และความบันเทงิ พูด
ส่อื สารในชีวิตประจำวนั และมีมารยาทในการพดู
3. การอ่านออกเสยี งและการบอกวามหมายของคำ คำคล้องจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ที่
ประกอบดว้ ยคำพ้ืนฐานเพมิ่ จาก ป. 1 การอ่านข้อเขยี นเชงิ อธิบาย และปฏบิ ัติตามคำสั่งหรอื ขอ้ แนะนำ และมี
มารยาทในการอา่ น
4. อา่ นจบั ใจความจากสอ่ื ต่าง ๆ เชน่ นทิ าน เรอ่ื งเลา่ สน้ั ๆ บทเพลง ขา่ วและเหตุการณ์ประจำวนั อ่าน
หนงั สอื ตามความสนใจ หนังสือทีค่ รูและนักเรยี นกำหนดรว่ มกนั และบทร้อยกรองง่ายๆ เรื่องราวจากบทเรียน
ในกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทยและกล่มุ สาระการเรียนรอู้ ื่น ได้อยา่ งมีสมาธแิ ละสามารถวิเคราะห์สงิ่ ทอี่ า่ น
และนำข้อคิดจากการอ่านไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวัน
5. การคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตามรูปแบบการเขยี นตวั อักษรไทยและเขยี นคำ ได้ถกู ต้องชัดเจน มี
มารยาทในการเขียน และสามารถเขยี นเพื่อสอื่ สารในชีวิตประจำวันได้อยา่ งชัดเจนและเหมาะสม
6.การเขยี นเรอ่ื งสนั้ ๆ เก่ยี วกับประสบการณ์ และเขยี นแสดงความคิดเห็นและความรู้สกึ เกีย่ วกบั งานเขยี นของ
ตนได้ เหมาะสมเป็นกลางโดยไม่ละเมดิ สทิ ธิ์ของผู้อน่ื
7.รู้จกั การแตง่ ประโยค แผนภาพโครงเรื่อง บนั ทึกเหตกุ ารณป์ ระจำวนั เขยี นแผนภาพโครงเร่อื ง บนั ทกึ

เหตุการณป์ ระจำวันโดยเขียนอยางงายได และสามารถนำไปใชจริงในชวี ิตประจำวัน

8.ใช้ภาษาพูดและภาษาเขยี นไดถ้ กู ต้อง เหมาะสมกบั บุคคล

9. มเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ การใช้ภาษาไทยอยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม

31

 ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้รายช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3

1.จับใจความและพูดแสดงความคิดเห็นและ ความรสู้ ึกจากเรื่องทีฟ่ งั และดู ได้อยา่ งเหมาะสมทงั้ ท่ีเป็นความรู้

และความบนั เทงิ พรอ้ มทัง้ มีมารยาทในการฟังและการดดู ้วย
2.จับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกจากเรือ่ งทฟ่ี งั และดู ท้งั ท่เี ปน็ ความร้แู ละความบันเทงิ พดู
ส่อื สารในชวี ิตประจำวัน และมีมารยาทในการพูด
3.การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมายของคำ คำคลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ ท่ี
ประกอบดว้ ยคำพนื้ ฐานเพม่ิ จาก ป.2 การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ การอา่ นขอ้ เขียนเชิงอธิบาย และ
ปฏิบัตติ ามคำสงั่ หรือขอ้ แนะนำ และมีมารยาทในการอ่าน
4.อ่านจับใจความจากสือ่ ตา่ ง ๆ เชน่ นิทานหรอื เร่อื งเก่ยี วกับท้องถิน่ เร่ืองเล่าสั้นๆ บทเพลงและบทร้อย
กรอง บทเรยี นในกลุ่มสาระการเรียนร้อู นื่ ขา่ วและเหตุการณ์ในชวี ิตประจำวนั ในทอ้ งถ่ินและชุมชนได้อยา่ งมี
สมาธสิ ามารถวเิ คราะห์ส่ิงที่อา่ นและนำข้อคิดจากการอา่ นไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์
5.การคัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตามรปู แบบการเขียน ตัวอกั ษรไทย และเขียนคำได้ถูกต้อง แล้วสามารถ

นำไปใช้ในการเขยี นเพอ่ื สื่อสารในชวี ิตประจำวันไดช้ ัดเจนและเหมาะสมกับกาลเทศะ

6.การเขยี นบรรยายเกี่ยวกับลกั ษณะของ คน สัตว์ สง่ิ ของ สถานท่ี การเขียนบันทกึ ประจำวนั การเขยี น
จดหมายลาครู และเขยี นแสดงความคดิ เหน็ และความรู้สึกเกีย่ วกบั งานเขียนของตนได้ เหมาะสมเป็นกลางโดย
ไมล่ ะเมดิ สิทธ์ขิ องผอู้ ่ืน
7.รู้จกั การคัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการเขียนอักษรไทย เขียนบรรยายเกีย่ วกับลักษณะ คน
สตั ว์ ส่งิ ของ สถานท่ี การเขียนเรอ่ื งตามจินตนาการจากคำ หัวขอ้ และภาพท่ีกำหนด
คัดลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทัดตามรูปแบบการเขียน เขยี นบรรยาย เขียนเร่อื งตามจนิ ตนาการจากคำ หวั ข้อ

และภาพ เขียนอย่างสร้างสรรค์และสามารถนำไปใชจรงิ ในชวี ติ ประจำวนั

8.ใชภ้ าษาพดู และภาษาเขียนไดถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสมกบั บุคคลและกาลเทศะ

9.มเี จตคติท่ีดีตอ่ การใช้ภาษาไทยอยา่ งถกู ต้องเหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ

32

กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์

 สาระสำคัญของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ความสำคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาความคิดของนักเรียนในช่วงชั้นที่ 1 ทำให้สามารถ
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
ให้กับนกั เรียนจะส่งผลให้นกั เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างมเี หตุผล สอื่ สารนำเสนอ คดิ สรา้ งสรรค์ และ
สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากน้ี
คณติ ศาสตรย์ ังเปน็ เคร่ืองมือในการศึกษาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตรอ์ ื่น ๆ เพอ่ื ให้มีความเขา้ ใจ
เกย่ี วกับปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ใกล้ตัว อยรู่ ่วมกบั ธรรมชาติและผู้อื่นในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ
ลักษณะเฉพาะ/ ธรรมชาตขิ องกลมุ่ สาระการเรียนรู้
คณิตศาสตรเ์ ปน็ ศาสตร์ท่เี ก่ียวข้องกับการคำนวณ การคิด และการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
เพ่ือแก้ปัญหาในชีวติ ประจำวนั สำหรับนักเรียนช่วงชั้นท่ี 1 จะได้เรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ยังไม่เคยมปี ระสบการณ์
การเรียนรู้มาก่อน ได้แก่ จำนวน การดำเนินการของจำนวน การวัด รปู เรขาคณิต แบบรูปและความสัมพนั ธ์
และสถิติ ที่เป็นความรู้เบ้ืองต้น โดยใช้การให้เหตุผลท่ีสมเหตุสมผลสร้างองค์ความร้ตู ่าง ๆ ข้ึน และนำไปใช้
อยา่ งเป็นระบบ
คณิตศาสตร์มีความถูกต้องเที่ยงตรง คงเส้นคงวา มีระเบียบแบบแผน เป็นเหตุเป็นผล เพ่ือให้
ได้ข้อสรุปและนำไปใช้ประโยชน์ คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็นภาษาสากลที่ทุกคนเข้าใจตรงกันในการสื่อสาร
สื่อความหมายและถา่ ยทอดความร้รู ะหว่างศาสตรต์ ่าง ๆ
จดุ เน้นการพฒั นา
ในกล่มุ สาระการเรยี นรู้น้ี สำหรับนกั เรียนในช่วงชน้ั ที่ 1 มจี ดุ เนน้ ในการพัฒนา ดงั นี้
จำนวนและการดำเนินการเป็นการเร่ิมต้นพัฒนากระบวนการคิดโดยให้นักเรียนใช้จำนวนนับ และ
การดำเนินการของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 บูรณาการกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
ผ่านกิจกรรมแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ จนเกิดความคล่องแคล่วและนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
คณติ ศาสตรเ์ นอ้ื หาอ่นื หรือวิชาอื่นได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
แบบรูปของจำนวนและแบบรูปซ้ำของรูปเรขาคณิตและรูปอ่ืน ๆ เป็นการเช่ือมโยงความสัมพันธ์
ของส่ิงต่าง ๆ ในลักษณะแบบรูปผ่านกิจกรรมบูรณาการกับธรรมชาติและชีวิตประจำวัน ให้นักเรียนใช้
การค้นหาความสัมพันธ์ ส่ือสารและนำเสนอข้อสรุปและขยายแนวคิดนำไปสู่การสร้างสรรค์ผลงาน
ตามจนิ ตนาการ
การวัดความยาว น้ำหนักและปริมาตร เน้นทักษะเก่ียวกับการวัดโดยการลงมือปฏิบัติ ให้นักเรียน
สังเกตเคร่ืองวัดและใช้เครื่องวัดให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด สื่อสารและเชื่อมโยงการวัดกับความรู้
เร่ืองจำนวนและการดำเนินการบูรณาการกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันผ่านกิจกรรมแก้ปัญหา
คณติ ศาสตรจ์ นเกิดความคลอ่ งแคลว่ และใชเ้ ป็นทกั ษะพน้ื ฐานในการสืบเสาะหาความรู้ในศาสตร์แขนงอน่ื
เงินและการวางแผนเกี่ยวกับเงิน เนน้ การส่ือสาร นำเสนอ และเชอื่ มโยงความรเู้ ร่ืองเงนิ กบั ความรู้
เรื่องจำนวนและการดำเนินการบรู ณาการกับสถานการณ์ตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวันผา่ นกิจกรรมแกป้ ัญหา
คณิตศาสตร์จนเกดิ ความคลอ่ งแคล่ว นำไปใช้ในชีวิตประจำวนั และใชเ้ ป็นทักษะพนื้ ฐานในการวางแผน
การเงินเพอ่ื นำไปสูก่ ารจดั การเรอ่ื งเงินอย่างมปี ระสิทธิภาพ

33

เวลาและระยะเวลาเป็นการบูรณาการให้นักเรยี นใช้การส่ือสารเรื่องเวลาและระยะเวลาผ่านการทำ
กิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว เพ่ือนและผู้เก่ียวข้อง ชุมชนและสังคม แก้ปัญหาเก่ียวกับเวลาและระยะ
เพอ่ื นำไปสกู่ ารจดั การเก่ียวกบั เวลาของตนเองได้อย่างมีประสทิ ธิภาพผ่านการบันทึกกิจกรรมทร่ี ะบุเวลา

ข้ อ มู ล แ ล ะ ก า ร น ำ เส น อ ข้ อ มู ล เป็ น ก า ร บู ร ณ า ก า ร ให้ นั ก เรี ย น ใช้ ก า ร ตั้ ง ค ำ ถ า ม ใ น สิ่ ง ท่ี ส น ใ จ
ในชีวิตประจำวัน เก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูลผ่านกิจกรรมแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และสามารถ
วิเคราะห์ แปลความหมายจากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง ตาราง และนำไปใช้แก้ปัญหาได้อย่าง
สมเหตุสมผลเพอื่ นำไปสูก่ ระบวนการแกป้ ัญหาทางสถิติ

การนำไปใชใ้ นชวี ติ จริง
เมื่อนักเรียนได้ฝึกฝนและเรียนรู้คณิตศาสตร์ในช่วงช้ันที่ 1 จะทำให้นักเรียนมองเห็นปัญหา และ
วเิ คราะห์ปัญหาด้วยมุมมองของตนเองอย่างมีเหตุผลและมีแนวคดิ ท่ีหลากหลายและยืดหยุ่น ต่อยอดแนวคิด
ในการแก้ปญั หาเพ่ือสร้างแนวคิดใหม่หรือแกป้ ัญหาในสถานการณ์อ่ืนซึ่งนักเรยี นนำไปใช้ทำความเข้าใจปญั หา
ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน แก้ปัญหาด้วยความมุ่งม่ัน ค้นหาข้อมูล หรือเรื่องราวต่าง ๆ ท่ีตนเองสนใจและ
อยากหาคำตอบหรือสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ สำหรับตนเอง นอกจากนี้นักเรียนสามารถสื่อสาร สื่อความหมาย
และนำเสนอแนวคิดต่าง ๆ ของตนเองเพื่อสนับสนุนแนวคิดของตนเอง หรือโต้แย้งแนวคิดของผู้อ่ืนอย่าง
สมเหตุสมผลซ่งึ นำไปใชใ้ นการอยู่ร่วมกันในสงั คมอยา่ งมีความสุข
การบูรณาการกบั กล่มุ สาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ

ภาษาไทย/ ภาษาต่างประเทศ สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศ
ในสถานการณ์ หรือเร่ืองราวต่าง ๆ โดยใช้คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์ เช่น อ่านและเขียนแสดงจำนวนของส่ิงต่าง ๆ
หรือจำนวนเงิน บอกเวลา บนั ทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา รวมทงั้ ควรส่งเสริมการอ่าน การเขยี นและการใช้ภาษา
เพือ่ นำเสนอเรอ่ื งราวในการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์

ศิลปะ สามารถใช้แบบรูปของรูปเรขาคณิตและรูปอ่ืน ๆ ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ
ตามจินตนาการ และส่ือสาร ส่ือความหมายและนำเสนอแนวคิดของตนเองหรอื เร่ืองราวผา่ นงานศิลปะ

สุขศึกษาและพลศึกษา สามารถนำความรู้เกี่ยวกับจำนวน แบบรูป การอ่านข้อมูลจากตาราง
และเวลา ไปใช้ในการกำหนดจำนวนคร้ังและท่ากายบริหาร กำหนดตารางการแข่งขัน เวลาและระยะเวลา
ในการแขง่ ขนั

สังคมศึกษา สามารถนำความรู้เก่ียวกับเงิน เพ่ือวางแผนการใช้จ่ายเงินและทรพั ยากรให้คุ้มค่า
และการอ่านปฏิทิน การคำนวณเวลาเพื่อเช่อื มโยงการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณีในรอบปี
และการทำความเขา้ ใจประวัติความเป็นมาของครอบครัว โรงเรยี นและชุมชน

วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ สามารถนำความรู้เก่ียวกับคณิตศาสตร์ไปใช้เป็นเครื่องมือ
ในการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ใช้การวัดและเลือกเครื่องวัดท่ีเหมาะสม
เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้การนับจำนวนข้อมูล ใช้แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง และตารางในการนำเสนอ
ขอ้ มูล

34

 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะ

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก

1. การแกป้ ญั หา

1.1 มีความอยากรอู้ ยากเหน็ สามารถมองเหน็ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 1. การจัดการตนเอง

ในชวี ติ จรงิ ด้วยมมุ มองของตนเอง (thinking mathematically) 2. การคิดขน้ั สูง

1.2 แก้ปัญหาในชวี ิตจรงิ ผ่านการลงมือแกป้ ญั หาในสถานการณ์ต่าง ๆ 3. การส่อื สาร
4. การรวมพลังทำงานเป็นทมี
และเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ผ่านการสะท้อนความคิด (reflect)
6. การอยรู่ ว่ มกับธรรมชาติ
จากประสบการณ์
และวิทยาการอยา่ งยัง่ ยนื
1.3 มคี วามมุมานะในการทำความเขา้ ใจและแกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์

1.4 ตระหนักและเหน็ คุณค่าของการใชค้ ณิตศาสตรใ์ นการแก้ปญั หา

2. การส่อื สาร และนำเสนอ (Communication and presentation)

2.1 สอ่ื สารแนวคิดทางคณิตศาสตรข์ องตนเองอย่างม่ันใจ โดยใช้ 1. การจดั การตนเอง

การแสดงแทนทางคณติ ศาสตร์ท่ีหลากหลาย ด้วยสื่อของจริง 3. การสือ่ สาร

รปู ภาพ งานศลิ ปะ แผนภาพ ภาษา หรือสัญลกั ษณ์ 4. การรวมพลงั ทำงานเป็นทมี

2.2 รับฟัง เขา้ ใจความหมาย และเห็นคุณค่าแนวคิดของผู้อน่ื 5. การเป็นพลเมืองทเี่ ข้มแขง็

2.3 นำเสนอข้อมูลทางคณิตศาสตร์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 6. การอยรู่ ว่ มกับธรรมชาติ
และวทิ ยาการอยา่ งยั่งยนื

3. การใหเ้ หตุผล

3.1 ให้เหตุผลสนบั สนุนแนวคดิ ของตนเองไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล 2. การคดิ ข้นั สงู

โดยมขี อ้ เท็จจรงิ ทางคณติ ศาสตรร์ องรบั 3. การส่อื สาร

3.2 รับฟัง พิจารณาแนวคดิ ของผอู้ ่ืนหรือข้อมลู ในรปู แบบต่าง ๆ 4. การรวมพลังทำงานเป็นทีม

ประกอบการตัดสนิ ใจเพื่อสนับสนุนหรอื โตแ้ ย้งอยา่ งเหมาะสม 6. การอยู่รว่ มกับธรรมชาติ
3.3 ตระหนักถงึ ความจำเปน็ และความสำคัญในการให้เหตผุ ล และวิทยาการอยา่ งยงั่ ยนื

4. การสรา้ งขอ้ สรปุ ทว่ั ไป และขยายแนวคดิ (Generalization & Extension)

4.1 สรา้ งข้อสรปุ ทว่ั ไป (generalization) โดยสงั เกต ค้นหาลักษณะรว่ ม 2. การคดิ ข้นั สงู

ทเี่ กิดขนึ้ ซ้ำ ๆ (pattern) จากมุมมองทางคณติ ศาสตร์ ทั้งดา้ นความรู้ 6. การอยรู่ ว่ มกับธรรมชาติ

และวิธกี ารเรยี นรู้ (how to learn) และวิทยาการอยา่ งย่ังยืน

4.2 ขยายแนวคิด (extension) จากขอ้ สรปุ ทวั่ ไป โดยนำไปใชแ้ ก้ปัญหา

ในสถานการณต์ า่ ง ๆ

5. การคิดสร้างสรรค์

5.1 คิดไดอ้ ย่างหลากหลาย แตกตา่ งจากเดมิ คิดริเริ่ม 2. การคิดขั้นสูง

5.2 ประยุกต์ และนำไปใชไ้ ด้อย่างคล่องแคล่ว ยืดหยุ่นในการแกป้ ัญหา 6. การอย่รู ว่ มกบั ธรรมชาติ

5.3 ต่อยอดแนวคดิ หรอื แนวทางแกป้ ญั หา เพ่อื สรา้ งแนวคิดใหม่ หรือ และวทิ ยาการอย่างยัง่ ยนื

แกป้ ัญหาในสถานการณ์อื่นในชวี ติ จรงิ

35

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก

6. การใช้เคร่ืองมือในการเรยี นรู้ (Use aids and tools) 3. การสื่อสาร
4. การรวมพลังทำงานเป็นทีม
6.1 ใช้สอ่ื การเรยี นรู้ต่าง ๆ (manipulatives) เพือ่ สรา้ งความเข้าใจ 6. การอยู่รว่ มกบั ธรรมชาติ
และแนวคดิ ของตนเอง
และวทิ ยาการอยา่ งยง่ั ยืน
6.2 สืบค้น ตรวจสอบแหล่งท่มี า (origin) ของขอ้ มูลจากแหล่งเรยี นรู้
ตา่ ง ๆ และเลือกใช้ประกอบการเรียนรู้และแก้ปญั หาในชวี ติ จริง
ได้อยา่ งเหมาะสมกับสถานการณ์

 ผลลัพธก์ ารเรยี นรูเ้ มอื่ จบช่วงชนั้ ท่ี 1
1. ส่ือสารทางคณิตศาสตร์เก่ียวกับจำนวนนับได้อย่างถูกต้อง และนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง

เหมาะสม
2. อธิบายความสัมพันธ์ของจำนวนนับโดยใช้การรวม (compose) หรือการแยก (decompose)

ของจำนวน เปรยี บเทียบและเรียงลำดับจำนวนพร้อมให้เหตุผล
3. อธิบายความสัมพนั ธ์ของแบบรูปซ้ำของจำนวน รูปเรขาคณิตและรูปอืน่ ๆ และแบบรปู ของจำนวนนบั ที่

เพิม่ ข้นึ หรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน พร้อมให้เหตผุ ล สร้างข้อสรปุ และขยายแนวคิดเพ่ือสรา้ งแบบรปู และ
รว่ มกันแก้ปญั หาในสถานการณต์ ่าง ๆ ได้อย่างหลากหลายหรอื แตกต่างจากเดิม
4. อธิบายสถานการณ์ในชีวิตจริงที่จะนำการบวก การลบ การคูณ และการหารมาใช้ได้อย่างเหมาะสม
สร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ในการดำเนินการ คำนวณและเลือกใช้เคร่ืองมือในการบวก การลบ
การคูณ และการหาร โดยเชื่อมโยงกับความสัมพันธ์และสมบัติต่าง ๆ ของการดำเนินการได้อย่าง
ยืดหยุ่นและคล่องแคล่ว และแปลความหมายภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เป็นสถานการณ์
ในชีวติ จริง
5. แกป้ ัญหาเกย่ี วกบั จำนวนนับในสถานการณต์ ่าง ๆ ด้วยแนวคดิ ทห่ี ลากหลายหรือแตกตา่ งจากเดิม อยา่ ง
มุมานะ พร้อมทง้ั แลกเปลยี่ นแนวคดิ รว่ มกับผอู้ นื่ โดยตระหนกั ถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
6. อธิบายสถานการณ์ในชีวติ จรงิ ทีเ่ กยี่ วกบั การวัดความยาว นำ้ หนกั และปริมาตร เลือกใช้หนว่ ยการวดั
และเครื่องวดั เพอ่ื วัดและบอกความยาว นำ้ หนัก และปรมิ าตรได้อยา่ งเหมาะสม
7. ส่ือสารเก่ยี วกับเวลา ระยะเวลา ไดถ้ ูกต้อง โดยเช่อื มโยงกบั สถานการณ์ในชวี ิตจรงิ
8. ส่ือสารเกี่ยวกับเงิน เปรียบเทียบจำนวนเงิน แลกเงินได้อย่างถูกต้องหลากหลาย และนำไปใช้
ในสถานการณต์ ่าง ๆ
9. แก้ปัญหาเก่ียวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เวลา และเงิน ในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยแนวคิด
ท่ีหลากหลายหรือแตกต่างจากเดิม อยา่ งมมุ านะ พรอ้ มทั้งแลกเปล่ียนแนวคดิ รว่ มกบั ผอู้ ื่น
10. รับรู้และอธิบายลักษณะของรูปร่างต่าง ๆ จากสิ่งของ สิ่งแวดล้อมรอบตัว สถานการณ์ในชีวิตจริง
ผา่ นการสงั เกตและการสร้างรูปรา่ ง เชื่อมโยงสู่ลกั ษณะของรปู เรขาคณิตสองมิติ รปู เรขาคณิตสามมติ ิ
11. ให้เหตุผลในการจำแนกและบอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติและรปู ท่ีมีแกน
สมมาตร และนำไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ
12. จัดการข้อมูล และนำเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง หรือตารางทางเดียว
สื่อสาร แปลความหมายของข้อมูล และใช้ข้อมูลเพื่ออธิบายเหตุการณ์ ตัดสินใจ หรือแก้ปัญหา
ในสถานการณต์ า่ ง ๆ
13. ร่วมกันแก้ปัญหาทางสถิติในสถานการณ์ใกลต้ ัว หรอื ส่งิ แวดล้อมในบรเิ วณบ้าน โรงเรยี น หรือชุมชนของ
ตนเอง อยา่ งมมุ านะ และสรา้ งสรรค์

36

 ผลลพั ธ์การเรยี นรู้รายชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1
1. นับ และบอกจำนวน อ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ สามารถ
แสดงจำนวนนับ 1 ถงึ 100อย่างมีความหมาย
2. แสดงจำนวนนับไม่เกิน 100 ในรูปความสัมพนั ธ์ของจำนวนแบบสว่ นยอ่ ยและสว่ นรวม เปรียบเทยี บ
และเรียงลำดบั จำนวนการบอกอนั ดบั ท่ี พรอ้ มให้เหตุผล
3. เขียนให้เหตุผลโต้แย้งหรือสนับสนุน แสดงความสัมพันธ์ของแบบรูปท่ีมีรูปร่าง สีขนาด สัมพันธ์กัน
พร้อมให้เหตุผล สร้างข้อสรุป และขยายแนวคิดเพ่ือสร้างแบบรูปและร่วมกันแก้ปัญหาในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ได้
4. บอกความหมาย พร้อมท้ังหาผลบวก ผลลบ โดยเช่ือมโยงความสัมพันธ์และสมบัติต่าง ๆ ของการ
ดำเนินการได้อยา่ งยืดหยนุ่ และ คล่องแคล่ว และแปลความหมายภาษาและสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์
เป็นสถานการณ์ในชวี ิตจริง
5. แก้ปัญหา เก่ียวกับจำนวนนับและสร้างโจทย์ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยแนวคิดที่หลากหลาย
พรอ้ มท้ังแลกเปลี่ยนแนวคดิ ร่วมกับผูอ้ น่ื
6. อธิบายสถานการณ์ในชีวิตจริงท่ีเกี่ยวกับการวัดความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร น้ำหนักเป็น
กิโลกรัม เป็นขีด และปริมาตร เลือกใช้หน่วยการวัด และเคร่ืองวัดเพ่ือวัดและบอกความยาว น้ำหนัก
และปริมาตรไดอ้ ย่างเหมาะสม
7. อ่านเวลาเป็นนาฬิกาจากหน้าปัดนาฬิกา พร้อมบอกกิจกรรมท่ีทำในแต่ละช่วงเวลา ได้ถูกต้อง โดย
เชอ่ื มโยงกับสถานการณ์ในชีวิต
8. บอกและแสดงจำนวนเงินจากเงินเหรียญและธนบัตรชนิดต่าง ๆ อ่าน และเขียนเก่ียวกบั จำนวนเงิน
เปรยี บเทียบจำนวนเงิน โดยเชือ่ มโยงกบั สถานการณ์ ต่าง ๆ ในชีวิตจรงิ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
9. แก้ปัญหาการบวกและการลบเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม เป็นขีด ในสถานการณ์ต่าง ๆ
ด้วยแนวคดิ ท่ีหลากหลายหรอื แตกต่างจากเดิม อยา่ งมมุ านะ พรอ้ มท้งั แลกเปลีย่ นแนวคิดร่วมกับผู้อนื่
10. อธิบายลักษณะรูปเรขาคณิต วาดรูปตามขอบของสิ่งของและตามแบบของรูป สำรวจ สังเกต
ลักษณะ จำแนกตามเกณฑ์ของตนเอง เช่น ด้าน มุม ขอบ อภิปรายสรุปลักษณะ พร้อมด้วยบอกชื่อรูป
เรขาคณิตสองมิติ โดยเชื่อมโยงสู่ลกั ษณะของรูปเรขาคณิตสองมติ ิ รูปเรขาคณิตสามมิติ และนำไปใช้ใน
สถานการณต์ ่าง ๆ
11. จำแนกรูปเรขาคณิต วาดรูปตามขอบของส่ิงของและตามแบบของรูป สำรวจ สังเกต ลักษณะ
จำแนกตามเกณฑข์ องตนเอง เช่น ดา้ น มมุ ขอบ อภิปรายสรปุ ลักษณะ พรอ้ มด้วยบอกช่ือรปู เรขาคณิต
สองมิติ โดยเช่ือมโยงสู่ลักษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ และนำไปใช้ใน
สถานการณ์ตา่ ง ๆ
12. เก็บข้อมูลอย่างง่าย โดยบันทึกข้อมูลด้วยรอยขีด นำเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปภาพ สัญลักษณ์
แผนภาพ แผนภมู ิอย่างง่ายด้วยตนเองหรือจากการช่วยเหลอื ของครูอา่ น เพ่อื อธิบายเหตุการณ์ ตดั สินใจ
หรอื แกป้ ัญหาในสถานการณต์ า่ ง ๆ

13. ร่วมกันแก้ปัญหาทางสถิติในสถานการณใ์ กล้ตวั โดยการจำแนก การเก็บ การบันทึกขอ้ มลู อยา่ ง
ง่ายแสดงความคิดเห็น สื่อสาร แปลความหมายข้อมูลด้วยภาษาตนเองใช้ข้อมูลเพ่ือตัดสินใจหรือ
แกป้ ญั หาในสถานการณต์ ่าง ๆอยา่ งมมุ านะ

37

 ผลลัพธก์ ารเรียนรู้รายชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2
1. อ่านและเขียนตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0
พรอ้ มบอกจำนวนคู่ จำนวนค่ี สามารถนำไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
2. นับทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 และทีละ 100บอกจำนวนคู่ จำนวนคี่ และหลัก ค่าของเลขโดดในแต่
ละหลัก เขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายนับไม่เกิน 1,000 และเปรียบเทียบและเรียงลำดับ
จำนวน พรอ้ มใหเ้ หตุผล
3. เขยี นให้เหตุผลโตแ้ ย้งหรือสนับสนนุ แสดงความสัมพันธ์ของแบบรปู ของจำนวนท่ีเพิ่มขน้ึ หรือลดลงที
ละ 2 ทลี ะ 5 ทีละ 100 และแบบรูปซำ้ พรอ้ มให้เหตุผล สร้างขอ้ สรุป และขยายแนวคดิ เพ่ือสร้างแบบ
รปู และร่วมกนั แกป้ ัญหาในสถานการณต์ ่าง ๆ ได้อย่างหลากหลายหรือแตกตา่ งจากเดิม
4. เลือกใช้วิธีหาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหาร โดยเช่ือมโยงความสัมพันธ์และสมบัติต่าง ๆ ของการ
ดำเนินการได้อยา่ งยืดหยนุ่ และ คล่องแคลว่ และแปลความหมายภาษาและสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์
เป็นสถานการณ์ในชีวติ จรงิ
5. แก้โจทย์ปัญหาทีเ่ ก่ียวกับการบวก การลบ การคูณ หรือการหารในสถานการณ์ต่าง ๆการแก้ปัญหา
เก่ียวกับจำนวนนับในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยแนวคิดที่หลากหลายหรือแตกต่างจากเดิม พร้อมท้ัง
แลกเปลีย่ นแนวคดิ ร่วมกับผ้อู น่ื โดยตระหนกั ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
6. อธิบายสถานการณใ์ นชวี ิตจริงของตนท่ีเกยี่ วกบั การวัดความยาว เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและ
เซนติเมตร น้ำหนัก กิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด และปริมาตร ปริมาตรและความจุเป็นลิตรและ
มิลลิลิตร เลือกใช้หน่วยการวัด และเคร่ืองวัดเพ่ือวัดและบอกความยาว น้ำหนัก และปริมาตรได้อย่าง
เหมาะสม
7. บอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาที จากนาฬิกาแบบดจิ ิทัล และนาฬิกาแบบใช้เข็ม จากสถานการณต์ ่าง
ๆ รับรู้เกยี่ วกับระยะเวลา บอกระยะเวลาเปน็ ชวั่ โมง เป็นนาที สำรวจปฏิทิน บอกชอ่ื วัน วนั ที่ เดอื น ปี
(พ.ศ. และ ค.ศ.) ของวันสำคญั ต่าง ๆ จากปฏิทนิ ไดถ้ ูกต้อง โดยเชือ่ มโยงกับสถานการณ์ในชวี ิต
8. บอกและเขียนจำนวนเงินจากเงนิ เหรยี ญและธนบัตรชนิดตา่ ง ๆ โดยบอกเปน็ บาท เปน็ สตางค์ หรือ
เป็นบาทและสตางค์ แลกเงินเหรียญและธนบตั ร อ่านและเขียนแสดงจำนวนเงนิ แบบใช้จุด เปรยี บเทียบ
จำนวนเงินได้อยา่ งถกู ต้อง โดยเช่อื มโยงกบั สถานการณ์ ตา่ ง ๆ ในชวี ติ จรงิ ไดห้ ลากหลายวธิ ี
9. แก้ปัญหาเกย่ี วกับความยาวทีม่ ีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร น้ำหนกั ปริมาตรและความจุทม่ี หี นว่ ยเปน็
ช้อนชา ชอ้ นโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร และเวลา ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ดว้ ยแนวคดิ ทห่ี ลากหลายหรือแตกต่าง
จากเดิม อย่างมมุ านะ พรอ้ มท้ังแลกเปลี่ยนแนวคิดรว่ มกัน
10. อธบิ ายลกั ษณะรปู เรขาคณิตสองมติ ิเขียนรปู เรขาคณิตสองมติ ิ สรา้ งชิ้นงานโดยใช้แบบของรปู
กระดาษจุด หรือโปรแกรมสำเรจ็ รปู อย่างงา่ ย เชอ่ื มโยงส่ลู กั ษณะของรปู เรขาคณิตสองมิติ รปู เรขาคณติ
สามมิติ และนำไปใช้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ไดอยางหลากหลาย
11. จำแนกรปู เรขาคณติ สองมิติเขียนรปู เรขาคณิตสองมิติ สรา้ งช้นิ งานโดยใชแ้ บบของรูป กระดาษจุด
หรือโปรแกรมสำเรจ็ รูปอยา่ งงา่ ย เช่อื มโยงสู่ลักษณะของรปู เรขาคณติ สองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ และ
นำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ บอกเลาความคิดของ ตนเองหรือจินตนาการ ท่แี ปลกใหม ไปจากสง่ิ
รอบตัว ไดอยาง หลากหลาย และรวดเร็ว ในเวลาทีก่ ำหนด
12. เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยใช้เครอ่ื งมอื อย่างงา่ ย และบันทึกข้อมลู โดยการอา่ นและเขียนแผนภมู ิ

38

รูปภาพ แผนภมู ิแทง่ สญั ลกั ษณ์ แผนภาพ แผนภูมิอย่างงา่ ยและใช้ข้อมูลเพื่ออธิบายเหตุการณ์ ตดั สินใจ
หรือแก้ปัญหาในสถานการณต์ ่าง ๆ จากคำถามของครูหรอื ดว้ ย วธิ ีการของตนเอง
13. ร่วมกันแกป้ ัญหาทางสถิติในสถานการณ์ใกล้ตัว โดยการจำแนก การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การ
บนั ทึกขอ้ มูล การนำเสนอข้อมลู ดว้ ยแผนภูมิ ให้เหตุผล ส่ือสาร แปลความหมายขอ้ มลู ใช้ขอ้ มลู เพอื่
ตดั สินใจหรือแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆอยา่ งมุมานะ และสร้างสรรค์

 ผลลพั ธ์การเรยี นรู้รายชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3

1. อธิบายสถานการณ์ในบริบทต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันที่เกี่ยวกับ จำนวนนบั ไม่เกิน 100,000 และ 0
โดยนับและบอกจำนวน ของส่ิงตา่ ง ๆ ในเชิงปริมาณ หรือ เชงิ อนั ดับท่ีและแสดงสง่ิ ตา่ ง ๆ ตามจำนวนที่
กำหนดและนำไปใชใ้ นสถานการณต์ ่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม
2. เขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 เปรียบเทียบและ
เรยี งลำดับจำนวน พร้อมใหเ้ หตุผลสนับสนุนในการตดั สนิ ใจได้อย่างเหมาะสม
3. เขียนให้เหตผุ ลโต้แย้งหรือสนบั สนุน แสดงความสมั พนั ธ์ของแบบรปู ของจำนวนที่เพิ่มขน้ึ หรือลดลงที
ละเท่าๆกัน แบบรูปเรขาคณิตและรูปอื่นๆ สร้างข้อสรุปและขยายแนวคิด เพ่ือสร้างแบบรูปและ
แกป้ ัญหา ไดอ้ ย่างหลากหลายหรือแตกตา่ งจากเดิม
4. อธิบายสถานการณ์ในชีวิตจริงท่จี ะนำการบวก การลบ การคูณ และการหารมาใช้ได้อย่างเหมาะสม
สร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ในการดำเนินการ คำนวณและเลือกใช้เครื่องมือในการบวก การลบ การ
คูณ และการหาร โดยเช่ือมโยงกับความสัมพันธ์และสมบัติต่าง ๆ ของการดำเนินการได้อย่างยืดหยุ่น
และ คลอ่ งแคลว่ และแปลความหมายภาษาและสญั ลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์เป็นสถานการณ์ในชีวติ จริง
5. แก้โจทยป์ ัญหา 2 ขั้นตอน ของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 สรา้ งโจทย์ปัญหาการแกป้ ญั หา
เก่ียวกับจำนวนนับในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยแนวคิดที่หลากหลายหรือแตกต่างจากเดิม พร้อมท้ัง
แลกเปล่ียนแนวคิดร่วมกบั ผ้อู ื่นโดยตระหนกั ถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
6. อธิบายสถานการณ์ในชีวิตจริงของตนเองและผู้อื่นที่เกี่ยวกับการวัดความยาว เซนติเมตรและ
มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร น้ำหนัก เป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัม และขีด
เมตริกตนั และกิโลกรัม ปริมาตร และความจเุ ป็นลติ รและมิลลิตร และช้อนชา ช้อนโตะ๊ ถ้วยตวง เลือกใช้
หน่วยการวัด และเครื่องวัดเพ่ือวัดและบอกความยาว น้ำหนัก และปริมาตรได้อย่างเหมาะสม พร้อม
ด้วยสรุปความเข้าใจ ของตน และแสดง ความคิดเห็นอย่าง มเี หตุผลเกย่ี วกับ เรอ่ื งนั้นได้
7. บอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาทีจากนาฬิกา อา่ นและเขยี นแสดงเวลาโดยใช้มหพั ภาคหรือใชท้ วภิ าคใน
สถานการณ์ ต่าง ๆ สามารถหาระยะเวลาเป็นช่ัวโมงและนาทีและเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้
ความสมั พันธ์ระหวา่ งช่ัวโมงกบั นาที อ่านและเขียนบันทกึ กจิ กรรมท่ีระบุเวลาได้ถกู ต้อง โดยเชื่อมโยงกับ
สถานการณใ์ นชวี ิตจรงิ
8. บอกและเขียนแสดงจำนวนเงินจากเงินเหรียญและธนบัตรชนิดต่าง ๆ โดยบอกเป็นบาท เป็นสตางค์
หรือเป็นบาทและสตางค์ แลกเงินเหรียญและธนบัตร อ่านและเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด
เปรียบเทียบจำนวนเงิน โดยเชื่อมโยงกับสถานการณ์ ต่าง ๆ ในชีวิตจริง ได้หลากหลายวิธีและ
คล่องแคลว่
9. แก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับการวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร

39

กโิ ลเมตรและเมตร น้ำหนักเปน็ กิโลกรัมและกรมั กโิ ลกรัม และขีด เมตรกิ ตันและกิโลกรมั และปริมาตร
และความจุเป็นลิตรและมิลลิตร และช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง เวลาเป็นนาฬิกาและนาที และเงิน ใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยแนวคดิ ที่หลากหลายหรือแตกต่างจากเดิม อยา่ งมุมานะ พร้อมทั้งแลกเปลี่ยน
แนวคดิ รว่ มกับผอู้ ืน่ รูวิธีการเขาถงึ สื่อทห่ี ลากหลาย
10. รับรู้และอธิบายลกั ษณะของรูปร่างรูปสามเหลี่ยม รปู สี่เหล่ียม รูปหลายเหล่ียม วงกลม วงรีต่าง ๆ
จากส่งิ ของ ส่ิงแวดล้อมรอบตัว สถานการณ์ในชีวิตจริง ผ่านการสังเกตและการสร้างรปู ร่าง เชอ่ื มโยงสู่
ลกั ษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ ใช้รูปเรขาคณิตในการสรา้ งสรรค์ ชิน้ งานได้อย่าง
หลากหลาย แตกตา่ งจากเดิม
11. จำแนกรปู เรขาคณิตสองมิติ รปู หลายเหลี่ยม รปู ท่ีมแี กนสมมาตรและรปู ที่ไม่มีแกนสมมาตร ใช้รูป
เรขาคณิตในการสร้างสรรค์ ชิ้นงาน เชื่อมโยงสู่ลักษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
และนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ บอกเล่าความคิดของตนเองหรือจินตนาการท่ีแปลกใหม่ไปจากส่ิง
รอบตัว ได้อย่างหลากหลายและ รวดเร็วในเวลาที่กำหนด ทำผลงานที่เป็น ช้ินงานหรือวิธีการที่มี
รายละเอียด โดยใช้การ ดัดแปลงจากความคิดเดิม ส่ิงทม่ี ีอยู่ หรือนำสง่ิ อ่ืนมาทดแทนสงิ่ ที่ขาดได้ในเวลา
ที่กำหนดและสามารถนำไปใชจ้ ริงในชีวติ ประจำวนั
12. การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำแนกข้อมูล จัดการข้อมูล และนำเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปภาพ
แผนภูมิแทง่ หรือตารางทางเดียว ส่ือสาร แปลความหมายของขอ้ มูล และใชข้ ้อมูลเพ่อื อธิบายเหตุการณ์
อยางงา่ ยทเี่ ก่ียวของกนั ตัดสินใจ หรือแก้ปญั หาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ
13. ร่วมกันแก้ปัญหาทางสถิติในสถานการณ์ใกล้ตัว การจำแนก การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึก
ข้อมูล การนำเสนอข้อมูลที่เหมาะสม ใช้เคร่ืองมือพื้นฐาน หรือเครื่องมือดิจิทัลนำเสนอข้อมูลด้วย
แผนภูมิแทง่ หรือตารางทางเดียว ส่ือสาร แปลความหมายขอ้ มูล ใช้ข้อมลู เพ่ือตัดสนิ ใจ หรอื แกป้ ัญหาใน
สถานการณ์ต่างๆอย่างมมุ านะ และสรา้ งสรรค์

40

กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาอังกฤษ

 สาระสำคัญของกลุ่มสาระการเรยี นรู้

ความสำคญั ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษ
ด้วยภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลท่ีมีการใช้อย่างแพร่หลายมากที่สุดภาษาหน่ึงและมีความสำคัญ
เป็นอย่างยิ่งในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยังเป็นทักษะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
เปน็ เครอื่ งมือสำคัญในการติดต่อส่อื สารในชวี ิตประจำวัน การแสดงออก การจัดการตนเอง การแสวงหาความรู้
เช่ือมโยงกับวิชาอ่ืน ๆ การศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ อันจะนำไปสู่การเพ่ิมขีดความสามารถ
ในการแขง่ ขนั ของประเทศ
ลกั ษณะเฉพาะ/ ธรรมชาตขิ องกลุ่มสาระการเรยี นรู้
เปน็ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ที่เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรใู้ นดา้ นต่าง ๆ และเป็นเคร่ืองมือสำหรับ
การส่ือสารสร้างความเข้าใจในความแตกต่างในด้านเชื้อชาติ ศาสนาและวฒั นธรรม นอกจากน้ี ภาษาอังกฤษ
ยังสามารถช่วยกระตุ้นจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน รวมทั้งเป็นเครื่องมือสรา้ งความเข้าใจอันดี
กับผู้อื่น โดยเฉพาะเม่ือทำงานร่วมกัน อันนำไปสู่สัมพันธภ าพท่ีดีระหว่างกัน ผู้เรียนภาษาอังกฤษ
จะได้รับการพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนคำศัพท์ ประโยคง่าย ๆ เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องราว
พร้อม ๆ กับแลกเปล่ียนความรู้ แสดงความคิดเห็น และความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม โดยผู้เรียนควรได้รับ
แรงเสริมและกำลังใจจากครใู ห้มีความกล้า รู้สึกสนุก มีความเพลิดเพลินในการเรียนรู้ภาษา เกิดความคุ้นเคย
และความม่นั ใจในการฝกึ สนทนา โตต้ อบ และเพม่ิ โอกาสให้นักเรยี นไดใ้ ชภ้ าษาองั กฤษทงั้ ในและนอกชน้ั เรียน
จดุ เนน้ การพฒั นา (ช่วงชนั้ ท่ี 1)
ในชว่ งช้นั ที่ 1 ภาษาองั กฤษมุ่งเนน้ การติดตอ่ สอ่ื สารในแง่มุม/ มิตติ ่าง ๆ ไดแ้ ก่
1) รคู้ ำศัพทท์ ี่พบบอ่ ยๆ และสำนวนพนื้ ฐานเก่ยี วกับตนเอง ครอบครัว และสิง่ ต่าง ๆ รอบตวั
2) เข้าใจและสามารถโต้ตอบกับผู้พูด/ คู่สนทนาได้ ในการแสดงความคิด อารมณ์ ความรู้สึก โดยใช้
ประโยคง่าย ๆ
3) ใหข้ อ้ มูลส่วนตัวเบอ้ื งตน้ เก่ยี วกับตนเอง โดยใช้คำและวลี ที่ส้นั และง่าย หรือใช้ประโยคพนื้ ฐานได้
4) เข้าใจคำศัพท์ วลี ประโยคสั้นๆรวมไปถึงคำส่ังท่ีใช้บ่อย ๆ ในสถานการณ์ท่ีคุ้นเคย ไม่ว่าจะเป็น
ท้งั ในการพดู และการเขยี น
5) สามารถใช้คำศัพท์ วลีส้ันๆ และสำนวนที่ใช้ในการส่ือสารเร่ืองราวในชีวิตประจำวัน เพื่อส่ือสารและ
บรรยายข้อมูลสว่ นบุคคล สี ตัวเลขพื้นฐาน ส่งิ ของพื้นฐาน กิจวัตรประจำวนั ฯลฯ
6) สามารถจดจำและใช้คำศัพท์ได้ถูกต้อง ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นคำโดด ๆ ระดับพ้ืนฐาน และใช้วลีสั้น ๆ
เกยี่ วกับสถานการณใ์ นชีวิตประจำวันท่พี บได้ท่วั ไป

* หมายเหตุ ได้ใช้สมรรถนะตามกรอบอ้างอิง FRELE-TH เป็นพ้ืนฐาน เพื่อความชัดเจน เป็นประโยชน์ต่อ
การจัดการเรียนการสอน ช่วยให้ครูวิเคราะห์ได้ง่ายข้ึน สอดคล้องกับระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษ
ตามกรอบ CEFR และ FRELE-TH


Click to View FlipBook Version