The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรโรงเรียนวัดหน้าเมือง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by p.yasmee, 2022-05-03 07:43:30

หลักสูตรโรงเรียนวัดหน้าเมือง

หลักสูตรโรงเรียนวัดหน้าเมือง

91

เทคโนโลยีดิจิทัล สามารถบูรณาการเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ปัญหา
ทางคณิตศาสตร์ เช่น สืบค้นและประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ใช้ซอฟต์แวร์เพ่ือช่วย
ในการคำนวณ การวัด หรือนำเสนอข้อมูล

การจัดการในครัวเรือนและการประกอบการ สามารถนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปใช้

เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์แนวทาง วางแผน และเพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้ เช่น สำรวจตลาดและ
วิเคราะหข์ ้อมลู คำนวณต้นทุน กำไร ขาดทุน ทำบัญชีรายรบั รายจ่ายต่าง ๆ ในการประกอบการ การออกแบบ
ผลติ ภณั ฑเ์ พอื่ เพ่มิ มูลค่าหรอื ลดตน้ ทนุ

 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก

สมรรถนะเฉพาะ 1. การจดั การตนเอง
2. การคิดขน้ั สูง
1. การแกป้ ญั หา 3. การสือ่ สาร
5. การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
1.1 มีความอยากรู้อยากเห็น มองเห็นปญั หาทางคณิตศาสตร์ 6. การอยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาติ
ในชวี ติ จริงด้วยมมุ มองของตนเอง (thinking mathematically)
และวทิ ยาการอย่างยั่งยืน
1.2 แกป้ ญั หาในชีวติ จริงด้วยแนวคิดของตนเองในสถานการณต์ ่าง ๆ
และเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ผ่านการสะท้อนความคดิ (reflect) 1. การจัดการตนเอง
จากประสบการณ์ของตนเองหรอื แลกเปลย่ี นกับผู้อน่ื 2. การคดิ ขน้ั สงู
3. การสือ่ สาร
1.3 มีความกระตอื รือรน้ และมุมานะในการแก้ปญั หาทางคณติ ศาสตร์ 4. การรวมพลังทำงานเป็นทีม
1.๔ ตระหนกั และเหน็ คณุ คา่ ของการใชค้ ณติ ศาสตรใ์ นการแกป้ ัญหา 5. การเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง
2. การสอื่ สาร และนำเสนอ (Communication and presentation) 6. การอยรู่ ่วมกับธรรมชาติ

2.1 สือ่ สารแนวคดิ ทางคณิตศาสตรข์ องตนเองอย่างม่นั ใจ โดยใช้ และวิทยาการอยา่ งยงั่ ยืน
การแสดงแทนทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลาย ด้วยสอ่ื ของจริง
รูปภาพ งานศลิ ปะ แผนภาพ ภาษา หรือสญั ลักษณ์ 2. การคดิ ข้นั สูง
3. การสื่อสาร
2.2 รบั ฟัง เข้าใจความหมาย เคารพในความแตกต่างระหวา่ งตนเอง 4. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม
กบั ผู้อ่นื เหน็ คุณค่าแนวคดิ ของผอู้ ื่น 6. การอยู่รว่ มกบั ธรรมชาติ

2.3 แสดงวธิ ีคิด หลกั ฐาน หรือขอ้ มูลประกอบการแกป้ ัญหา และวิทยาการอย่างยง่ั ยืน
เพอ่ื นำเสนอแนวคดิ หรอื วิธกี ารของตนเองอย่างเปน็ ระบบ

3. การให้เหตุผล

3.1 ใหเ้ หตุผลทางคณิตศาสตร์สนับสนุนแนวคิดหรือข้อคาดการณ์ของ
ตนเองไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผล ใหเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะ (logical
reasoning) โดยใช้ขอ้ เท็จจริง สมบัตติ ่าง ๆ หรอื ข้อสรุปทว่ั ไปทาง
คณติ ศาสตร์

3.2 รบั ฟงั พิจารณาแนวคิดของผูอ้ น่ื หรือขอ้ มูลในรูปแบบตา่ ง ๆ
ประกอบการตดั สินใจเพ่ือสนับสนนุ หรอื โต้แย้งอย่างเหมาะสม

3.3 ตระหนกั ถงึ ความจำเป็นและความสำคญั ในการให้เหตุผล

92

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก

4. การสร้างข้อสรปุ ทั่วไป และขยายแนวคิด (Generalization and extension)

4.1 สร้างขอ้ คาดการณ์ ผ่านการสงั เกต ค้นหาลกั ษณะร่วมที่เกดิ ขน้ึ จาก 2. การคดิ ขั้นสงู

กรณเี ฉพาะ โดยใชม้ ุมมองทางคณติ ศาสตร์ ทั้งดา้ นความรู้และ 6. การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
และวิทยาการอย่างยง่ั ยืน
วิธีการเรียนรู้ (how to learn) เพ่อื สร้างขอ้ สรปุ ท่ัวไป
(generalization)

4.2 ขยายแนวคิด (extension) โดยใช้ความรแู้ ละวิธีการเรยี นรู้

(how to learn) ทไี่ ด้เรยี นรูม้ าก่อนเพื่อสร้างแนวคิดใหม่ หรอื
แกป้ ัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชวี ติ จริง

5. การคดิ สร้างสรรค์

5.1 คิดไดอ้ ยา่ งหลากหลาย ละเอียดละออ แตกตา่ งจากเดิม คดิ ริเรม่ิ 2. การคดิ ขน้ั สูง

5.2 ประยกุ ต์และนำไปใชไ้ ด้อย่างคลอ่ งแคล่ว ยืดหย่นุ ในการแกป้ ัญหา 6. การอยู่รว่ มกับธรรมชาติ
และวิทยาการอย่างยัง่ ยนื
ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ

6. การใชเ้ ครอื่ งมือและเทคโนโลยีในการเรยี นรู้

6.1 ใช้และแบ่งปันสอ่ื การเรยี นรูแ้ ละเทคโนโลยีต่าง ๆ เพอื่ แสดงแนวคิด 2. การคดิ ข้ันสูง

สร้างความเข้าใจ หรือแก้ปญั หา 3. การสอื่ สาร

6.2 สืบค้น ตรวจสอบแหลง่ ท่ีมา (origin) ของขอ้ มูลจากแหล่งเรยี นรู้ 4. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม
ตา่ ง ๆ และเลือกใช้ประกอบการเรยี นรู้และแกป้ ัญหาในชีวิตจริงได้ 5. การเปน็ พลเมอื งทเ่ี ขม้ แข็ง
อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ และรเู้ ท่าทัน 6. การอยรู่ ว่ มกับธรรมชาติ

และวิทยาการอยา่ งยง่ั ยืน

 ผลลัพธก์ ารเรยี นรเู้ มอ่ื จบชว่ งช้นั ท่ี ๒

1. ส่ือสารทางคณิตศาสตร์เก่ียวกับจำนวนนับ เศษสว่ น ทศนิยม ร้อยละและอัตราส่วนไดถ้ ูกต้อง และนำไปใช้
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

2. อธิบายความสมั พันธ์ของจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยม และร้อยละ เปรียบเทียบและเรยี งลำดับจำนวนนับ
เศษส่วน และทศนยิ ม พรอ้ มให้เหตุผล

3. อธิบายความสัมพันธ์ของแบบรูป แสดงแนวคิดประกอบการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ สร้างข้อคาดการณ์
และข้อสรุป และแกป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งหลากหลายหรือแตกต่างจากเดิม

4. อธบิ ายสถานการณ์ในชีวติ จริงท่ีเกีย่ วกบั การดำเนินการของจำนวนนับ เศษส่วน และทศนิยม สร้างตัวแบบ
เชิงคณติ ศาสตร์ในการดำเนนิ การ หาผลลัพธข์ องการดำเนินการไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ ยืดหย่นุ รอบคอบ และ
แปลความหมายภาษาและสญั ลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์เป็นสถานการณ์ในชีวิตจรงิ

5. แก้ปัญหาเก่ียวกับจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยม ร้อยละและอัตราส่วนในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยแนวคิด
ท่หี ลากหลายหรอื แตกต่างจากเดมิ อย่างมมุ านะ และกระตือรือร้น พรอ้ มท้ังแลกเปลีย่ นแนวคิดรว่ มกบั ผู้อ่ืน
โดยตระหนกั ถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล

6. สื่อสารเกีย่ วกบั ระยะเวลาไดถ้ ูกตอ้ ง และแก้ปัญหาในสถานการณต์ ่าง ๆ อย่างมุมานะ และกระตือรือรน้

93

7. ส่ือสารทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับจุด มุม เส้นตรง ส่วนของเส้นตรง รังสี เส้นต้ังฉาก และเส้นขนาน โดยใช้
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตรไ์ ดถ้ กู ต้อง พรอ้ มทงั้ อธิบายสมบัตขิ องเส้นขนาน และนำไปใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ

8. ให้เหตุผล สร้างข้อคาดการณ์และข้อสรปุ เก่ียวกับสมบัติของรูปสามเหลี่ยม รูปส่ีเหลี่ยม วงกลม และขยาย
แนวคิดเพื่อหาความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสามเหล่ียม รูปส่ีเหลี่ยม และวงกลมในสถานการณ์ต่าง ๆ
ด้วยวธิ ที ห่ี ลากหลาย

9. ให้เหตุผลในการจำแนก อธิบายลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของแบบจำลอง และสร้างแบบจำลองของปริซึม
พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม สร้างข้อคาดการณ์และข้อสรุปเก่ียวกับการหาปริมาตรและ
ความจขุ องทรงสเี่ หลยี่ มมุมฉาก และหาปรมิ าตรและความจขุ องทรงสี่เหลยี่ มมุมฉาก

10.แก้ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม รูปส่ีเหล่ียม และวงกลม ปริมาตรและ
ความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยแนวคิดที่หลากหลายหรือแตกต่างจากเดิม
อยา่ งมุมานะ และกระตือรอื ร้น พรอ้ มท้ังแลกเปลยี่ นแนวคดิ รว่ มกบั ผู้อน่ื

11. จัดการข้อมูล และนำเสนอข้อมูลด้วยแผนภมู ิแท่ง ตาราง กราฟเส้น แผนภูมิรปู วงกลม ได้อย่างเหมาะสม
โดยใชเ้ ทคโนโลยี วิเคราะห์และแปลความหมายของขอ้ มูลจากสอ่ื ต่าง ๆ ส่ือสารและใช้ขอ้ มูลเพ่ือแก้ปัญหา
ในสถานการณต์ า่ ง ๆ อธบิ ายเหตุการณ์ คาดการณ์ หรือตดั สินใจอยา่ งรู้เท่าทัน

12.รว่ มกันวางแผน มีสว่ นรว่ มในการแก้ปญั หาทางสถิติในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วข้องกบั โรงเรียนและชมุ ชน
อย่างมุมานะ กระตือรือรน้ และสร้างสรรค์

 ผลลัพธ์การเรียนรู้รายชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

1. เขยี นจำนวนนบั ทีม่ ากกวา่ 100,000 ในสถานการณต์ ่าง ๆ ในชีวติ จริง และแสดงจำนวนโดยใช้สญั ลักษณ์
แสดงจำนวน มคี วามเข้าใจเกีย่ วกบั เศษส่วน และทศนยิ ม บอก อ่าน และเขยี นเศษสว่ น แสดงปรมิ าณของส่ิง
ต่าง ๆ ในชีวิตจรงิ และแสดงเศษสว่ น และทศนยิ มทีก่ ำหนดด้วยวิธหี รือเครื่องมอื ทหี่ ลากหลาย
2. เขียนแสดงการเปรียบเทยี บและเรียงลำดับเศษสว่ นและจำนวนคละ อธิบายหลกั คา่ ประจำหลัก และค่าของ
เลขโดด ให้เหตผุ ล
3. อธบิ ายแบบรปู สร้างข้อคาดการณ์ความสัมพันธ์ นำไปใช้ ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างหลากหลาย
4. อธิบาย และหาผลลัพธ์การบวกและการลบจำนวนสองจำนวน การหาผลลพั ธ์การคณู จำนวนที่มีหนึง่ หลัก
กับจำนวนทมี่ ากกว่าสี่หลกั การคูณจำนวนทมี่ ีหลายหลกั การหารท่ีตัวหารมหี นึ่งหลัก สองหลกั และสาม
หลัก การบวก และการลบเศษสว่ น จำนวนคละที่ตัวสว่ นตวั หนง่ึ เป็นพหคุ ูณของตัวสว่ นอีกตวั หนง่ึ การบวก
และการลบเศษสว่ น จำนวนคละท่ีตวั ส่วนตัวหนึ่งเป็นพหคุ ณู ของตวั ส่วนอีกตวั หนง่ึ นำไปใช้ ในสถานการณ์
ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งหลากหลายในชีวติ จรงิ
5. แกโ้ จทย์ปญั หาการบวก การลบ การคูณ และการหารจำนวนนับ แก้โจทย์โจทย์ปัญหาการบวก และการลบ
เศษส่วน แกโ้ จทยป์ ญั หาการบวกและการลบทศนิยมไมเ่ กนิ สามตำแหนง่
6. บอกระยะเวลาเปน็ วนิ าที นาที ชวั่ โมง วนั สปั ดาห์ เดอื น และปี แก้โจทย์ปญั หาเกีย่ วกับเวลา
7. อธิบายเกย่ี วกบั ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี สว่ นของเส้นตรง และสัญลกั ษณ์ สามารถวดั มมุ และการสร้างมมุ
นำไปใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
8. ใหเ้ หตุผลเกี่ยวกับชนดิ และสมบตั ิของรูปสเี่ หล่ียมมุมฉาก หาความยาวรอบรูปของรูปสเ่ี หลยี่ มมมุ ฉาก หา
พ้นื ท่ขี องรูปส่เี หลี่ยมมุมฉาก นำไปใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยวธิ ที ่หี ลากหลาย

94

9. อธบิ ายแบบจำลอง (model) ทีเ่ ปน็ ทรงกลม ทรงกระบอก ปริซึม กรวย และพีระมดิ นำไปใช้ ในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ได้ นำไปใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
10. หาความยาวรอบรปู ของรปู สี่เหลี่ยมมมุ ฉาก หาพ้นื ท่ีของรูปส่ีเหลีย่ มมุมฉาก มมุ านะ และกระตือรือร้น
พรอ้ มท้งั แลกเปลีย่ นแนวคิดร่วมกบั ผู้อนื่
11. อา่ นแผนภูมแิ ท่งและแผนภูมแิ ทง่ เปรยี บเทียบ เขยี นแผนภมู แิ ท่งและแผนภูมิแทง่ เปรียบเทยี บ ตัดสนิ ใจ
อยา่ งร้เู ทา่ ทัน
12. รว่ มกนั วางแผนตัง้ คำถามหรือข้อสงสัยจากประเดน็ ปญั หาท่ีสนใจ มุมานะ กระตอื รอื ร้น และสร้างสรรค์

 ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้รายชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

1. มคี วามเข้าใจเกีย่ วกบั เศษส่วน และทศนยิ ม บอก อ่าน และเขยี นเศษสว่ น ทศนิยม และรอ้ ยละแสดงปรมิ าณ
ของส่งิ ตา่ ง ๆ ในชวี ิตจรงิ เขยี นแสดงเศษสว่ น ทศนยิ มและรอ้ ยละที่กำหนดด้วยวธิ ีหรือเครอ่ื งมือท่หี ลากหลาย
บอกคา่ ประมาณของจำนวนนบั ทศนิยมและนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตจรงิ
2. อธิบาย และเขยี นความสมั พนั ธร์ ะหว่างเศษส่วนและทศนยิ ม ใหเ้ หตผุ ล
3. สร้างข้อคาดการณ์ความสมั พนั ธข์ องแบบรูป นำไปใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย
4. อธบิ าย และหาผลลัพธ์การบวกและการลบทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง การคูณ และการหารทศนิยม
นำไปใช้ ใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างหลากหลายในชวี ติ จริง ใสใจและพยายามหาสาเหตุของ ปรากฏการณตาง ๆ หรอื
แกปญหา
5. แกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารเศษสว่ น แกโ้ จทย์ปัญหาการคณู และการหาร
ทศนยิ ม แกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ยี วกับรอ้ ยละ
6. แก้ปัญหาเกย่ี วกบั เวลา
7. อธิบายเก่ียวกับเสน้ ขนานและสญั ลกั ษณแ์ สดงการขนาน สามารถสรา้ งเสน้ ขนาน นำไปใช้ ในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ได้
8. สรปุ ชนดิ และสมบัติของรูปสี่เหลยี่ ม สร้างรปู ส่เี หลย่ี ม บอกลักษณะและสว่ นต่าง ๆ ของปรซิ มึ ความายาว
รอบรูปของรูปสี่เหล่ียม หาพ้ืนทข่ี องรปู สี่เหลีย่ มด้านขนานและรปู ส่ีเหล่ียมขนมเปียกปูน นำไปใช้ ใน
สถานการณต์ ่าง ๆ ดว้ ยวธิ ีทีห่ ลากหลาย
9. อธิบายลกั ษณะและส่วนต่าง ๆ ของปริซึม หาปริมาตรของทรงสี่เหล่ียมมมุ ฉากและความจุของภาชนะทรง
สี่เหลี่ยมมมุ ฉาก นำไปใช้ ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้
10. หาความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหลีย่ ม หาพน้ื ที่ของรปู ส่ีเหลี่ยมด้านขนานและรปู ส่ีเหลี่ยมขนมเปียกปนู หา
ปริมาตรของทรงส่ีเหลีย่ มมุมฉากและความจุของภาชนะทรงส่ีเหล่ียมมมุ ฉาก มมุ านะ และกระตือรอื ร้นพรอ้ ม
ท้ังแลกเปลยี่ นแนวคิดรว่ มกับผู้อื่น
11. นำเสนอขอ้ มูลกราฟเส้น ตัดสินใจอยา่ งรเู้ ท่าทนั ฟงเสยี ง อานเรือ่ ง และดภู าพท่ีเก่ียวของ กับสถานการณที่
ใกลตัว แลวสามารถจบั ประเด็นสำคัญ หรอื วตั ถปุ ระสงคของผูสงสารแบบงาย ๆ ได
12. ร่วมกันวางแผนตั้งคำถามจากประเดน็ ปัญหา สง่ิ แวดลอ้ มในโรงเรียนหรอื ชมุ ชน มมุ านะ กระตอื รือรน้ และ
สรา้ งสรรค์

95

 ผลลัพธ์การเรียนรู้รายชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6

1. มคี วามเข้าใจเก่ียวกับอตั ราส่วนและร้อยละแสดงปริมาณของส่ิงต่าง ๆ ในชวี ิตจริง และแสดงอัตราส่วนและ
ร้อยละที่กำหนดด้วยวิธีหรือเครื่องมือที่หลากหลาย พร้อมท้ังอธิบายสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตจริงท่ีเก่ียวกับ
อัตราสว่ น อ่านและเขยี นอัตราส่วนแสดงปริมาณของส่ิงตา่ ง ๆ 2 ปริมาณในชีวติ จริง
2. อธบิ าย และเขยี นการเรยี งลำดับเศษสว่ นและจำนวนคละ ให้เหตุผล ในการเปรียบเทียบ
3. การแกป้ ัญหาเก่ยี วกับแบบรูป นำไปใช้ ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้อยา่ งหลากหลาย
4. อธิบาย และหาผลลัพธ์การบวก และการลบเศษส่วน จำนวนคละ อธิบาย และหาผลลัพธ์การหารทศนิยม
นำไปใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างหลากหลายในชีวติ จริง ใสใจและพยายามหาสาเหตุของ ปรากฏการณ
ตาง ๆ หรือ แกปญหา
5. แกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกบั ทศนิยม
6. เปรยี บเทียบและหาผลต่างของระยะเวลา
7. สร้างเส้นขนานตามเง่ือนไขท่ีกำหนด นำไปใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
8. หามมุ ภายในของรูปหลายเหล่ยี ม หาความยาวรอบรูปและพื้นทีข่ องรูปหลายเหลี่ยมหาความยาวของ
เสน้ รอบวงของวงกลมหาพ้ืนท่ีของวงกลม นำไปใช้ ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ดว้ ยวิธที ี่หลากหลาย
9. สร้างข้อสรุปของทรงกลม ทรงกระบอก กรวย และพีระมิด หาปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่
ประกอบดว้ ยทรงส่เี หล่ยี มมุมฉาก นำไปใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
10. หาปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ี่ประกอบด้วยทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก แกโ้ จทย์ปัญหาเก่ียวกับปรมิ าตร
ของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก มุมานะ และกระตือรือร้นพร้อมทั้งแลกเปลี่ยน
แนวคิดร่วมกับผูอ้ น่ื
11. อ่านแผนภูมิรูปวงกลม นำเสนอข้อมูลแผนภูมิรูปวงกลมแสดงข้อมูลเป็นร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ ตัดสินใจ
อย่างรเู้ ทา่ ทัน
12. นำเสนอขอ้ มูลดว้ ยรูปแบบท่ีเหมาะสม มมุ านะ กระตือรอื ร้น และสรา้ งสรรค์

96

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

 สาระสำคญั ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้

ความสำคญั ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษ
ด้วยภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่มีการใช้อย่างแพร่หลายมากท่ีสุดภาษาหนึ่งและ มีความสำคัญ
เป็นอย่างยิ่งในการติดต่อส่ือสารระหว่างประเทศ นอกจากน้ียังเป็นทักษะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21
เปน็ เครื่องมอื สำคัญในการติดต่อสือ่ สารในชีวิตประจำวัน การแสดงออก การจดั การตนเอง การแสวงหาความรู้
เช่ือมโยงกับวิชาอ่ืน ๆ การศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ อันจะนำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแขง่ ขนั ของประเทศ
ลกั ษณะเฉพาะ/ ธรรมชาติของกลมุ่ สาระการเรียนรู้
เป็นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ที่เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ในด้านต่าง ๆ และเป็นเคร่ืองมือสำหรับ
การสื่อสารสร้างความเข้าใจในความแตกต่างในด้านเช้ือชาติ ศาสนาและวฒั นธรรม นอกจากนี้ ภาษาอังกฤษ
ยงั สามารถช่วยกระตุ้นจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน รวมท้ังเป็นเคร่ืองมือสรา้ งความเข้าใจอันดี
กับผู้อ่ืน โดยเฉพาะเม่ือทำงานร่วมกัน อันนำไปสู่สัมพันธภาพท่ีดีระหว่างกัน ผู้เรียนภาษาอังกฤษจะได้รับ
การพัฒนาทกั ษะการฟัง พดู อ่าน และเขียนคำศพั ท์ ประโยคงา่ ย ๆ เพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจเรื่องราว พร้อม ๆ กับ
แลกเปลี่ยนความรู้ แสดงความคิดเห็น และความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม โดยผู้เรียนควรได้รับแรงเสริม
และกำลังใจจากครูให้มีความกล้า รูส้ ึกสนุก มีความเพลิดเพลินในการเรียนรู้ภาษา เกิดความคุ้นเคย และความม่ันใจ
ในการฝึกสนทนา โตต้ อบ และเพิ่มโอกาสใหน้ ักเรยี นไดใ้ ชภ้ าษาองั กฤษท้ังในและนอกชั้นเรียน
จุดเนน้ การพฒั นา (ช่วงชนั้ ที่ 2)
ในชว่ งชัน้ ท่ี 2 ภาษาองั กฤษมุ่งเนน้ การติดตอ่ สื่อสารในแง่มมุ / มิตติ ่าง ๆ ไดแ้ ก่
1) สามารถสนทนา สอบถาม โต้ตอบกับบุคคลอ่ืน เกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน หรือสิ่งที่สนใจ ด้วยวลี
ประโยคพ้ืนฐานและบทสนทนาสัน้ ๆ ได้
๒) เข้าใจและสามารถโต้ตอบกับผู้พูด/ คู่สนทนา โดยใช้สำนวนท่ีพบบ่อยในชีวิตประจำวันได้อย่าง
ถกู ต้องและเหมาะสมกบั ช่วงวยั
๓) สามารถบรรยายข้อมูล และลักษณะเบ้ืองต้นเกี่ยวกับบุคคล ส่ิงของ และสถานท่ีต่าง ๆ รอบตัว
โดยใชว้ ลี ประโยค คำกรยิ าพื้นฐานและคำคุณศพั ท์ท่ีเหมาะสมกับชว่ งวยั
๔) สามารถเขยี นคำ วลี หรอื ประโยค จากรปู ภาพ สญั ลกั ษณ์ หรอื จนิ ตนาการของตนเองได้
๕) สามารถบอกใจความสำคัญจากการอ่านและการฟังวลีประโยคบทสนทนา หรือบทความสั้น ๆ
ทีเ่ กย่ี วข้องกบั ชีวิตประจำวนั

* หมายเหตุ ได้ใช้สมรรถนะตามกรอบอ้างอิง FRELE-TH เป็นพื้นฐาน เพ่ือความชัดเจน เป็นประโยชน์ต่อการจัด
การเรียนการสอน ช่วยให้ครูวิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น สอดคล้องกับระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษตามกรอบ CEFR
และ FRELE-TH

97

 ความสัมพันธร์ ะหว่างสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะ

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั

1. ฟงั พดู เพอ่ื การสือ่ สาร

1.1 ฟงั และพดู คำศัพทพ์ นื้ ฐาน วลี ประโยค ขอ้ ความทเ่ี กีย่ วข้องกบั 1. การจดั การตนเอง

ชีวติ ประจำวนั โดยเนน้ การออกเสยี งภาษาองั กฤษท่ถี ูกต้อง 3. การสื่อสาร

1.2 ฟงั พดู เร่อื งราวเก่ียวกับตนเอง ครอบครวั บคุ คล โรงเรียน 4. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทมี

และส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั โดยใชค้ ำ และวลีที่สน้ั และงา่ ย ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 5. การเปน็ พลเมืองที่เขม้ แข็ง

และมนั่ ใจ

1.3 สนทนา โต้ตอบและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อมูล ส่ือความหมาย

ความรสู้ ึก อารมณ์ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมน่ั ใจ

2. อ่านเพอ่ื ความเข้าใจ

2.1 อ่านและตอบคำถามเก่ียวกับข้อมูลต่างๆ จากบทสนทนา นิทาน 1. การจัดการตนเอง

เร่อื งราว และบทความสั้น ๆ ท่เี หมาะสมกับชว่ งวยั ได้ 2. การคิดขนั้ สูง

2.2 อา่ นเพ่ือบอกใจความสำคัญ บอกรายละเอยี ด จากบทสนทนา นทิ าน 3. การสื่อสาร

เรื่องราว และบทความสนั้ ๆ ท่เี หมาะสมกบั ช่วงวยั ได้ 6. การอยรู่ ่วมกบั ระบบธรรมชาติ

และวิทยาการอย่างย่งั ยนื

3. เขียนเพอ่ื แสดงความคดิ เหน็ และสะท้อนความรสู้ ึก

3.1 เขียนเพื่อแสดงความต้องการ ขอความชว่ ยเหลอื แสดงความรูส้ กึ 1. การจัดการตนเอง

ความคดิ เห็นของตนเองเกยี่ วกบั เรื่องใกล้ตัวและกจิ กรรมตา่ ง ๆ 2. การคิดขัน้ สูง

ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม 3. การสอ่ื สาร

3.2 เขยี นให้ขอ้ มลู เก่ียวกบั ตนเอง สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว ข่าว เหตกุ ารณ์ 5. การเปน็ พลเมืองทเี่ ข้มแขง็

ปจั จบุ ัน และประเดน็ ตา่ ง ๆ ที่สนใจ ได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม

4. ใชภ้ าษาเพอื่ การเรียนรู้ และทำงานรว่ มกับผอู้ นื่

4.1 ส่ือสารความตอ้ งการของตนเอง และแลกเปลยี่ นความคิดเห็น 1. การจัดการตนเอง

อย่างมเี หตผุ ลในการปฏบิ ัติกจิ กรรมรว่ มกนั กับผ้อู ่ืน ได้อย่าง 2. การคดิ ขั้นสูง

เหมาะสม 3. การส่ือสาร

4.2 ใชภ้ าษาเพอื่ สืบคน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกับสง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั สถานการณ์ ข่าว 4. การรวมพลังทำงานเป็นทีม
5. การเปน็ พลเมอื งท่ีเข้มแข็ง
เหตุการณ์หรอื ประเด็นทอี่ ยใู่ นความสนใจของสงั คม
6. การอยูร่ ว่ มกบั ระบบธรรมชาติ
จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ และแลกเปลี่ยนความรูร้ ่วมกบั ผู้อืน่
4.3 สร้างชิ้นงานเกี่ยวกับภาษาอย่างสร้างสรรค์จากการฟัง ดูหรืออ่าน และวทิ ยาการอย่างยงั่ ยืน

ข้อมูล เหตุการณ์และสถานการณ์รอบตัว และสามารถนำเสนอ

ในรูปแบบ และวธิ ีการทห่ี ลากหลาย ได้อยา่ งเหมาะสม

4.4 ใชภ้ าษาเพ่อื การสอ่ื สาร สรา้ งความสัมพนั ธ์ แลกเปลี่ยน ยอมรับ

และเขา้ ใจวฒั นธรรม วิถชี ีวิตที่หลากหลาย

98

 ผลลัพธก์ ารเรยี นรเู้ มอ่ื จบช่วงช้ันท่ี 2

1. ใช้คำศัพท์พื้นฐาน วลี ประโยค ข้อความท่ีเก่ียวข้องกับชีวิตประจำวัน ตนเอง ครอบครัว บุคคล
โรงเรียน และสิง่ ต่าง ๆ รอบตวั ได้อย่างมน่ั ใจและถกู ต้อง

๒. ฟัง พูด สนทนาโต้ตอบ แลกเปล่ียนความคิดเห็น ข้อมูล รวมท้ังการสื่อความหมาย ความรู้สึก อารมณ์
ต่อสถานการณใ์ นชีวิตประจำวนั ได้อยา่ งเหมาะสมและถูกต้อง

๓. อ่านและตอบคำถามเกี่ยวกับขอ้ มูลตา่ ง ๆ ท่ีเหมาะสมกับชว่ งวยั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
๔. อ่านเพ่อื บอกใจความสำคญั และรายละเอยี ดทีเ่ หมาะสมกับช่วงวยั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
๕. เขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกของตนเอง เก่ียวกับเร่ืองใกล้ตัวและกิจกรรมตา่ ง ๆ ได้อย่าง

ถกู ตอ้ งเหมาะสม
๖. เขียนให้ขอ้ มลู เกี่ยวกับตนเอง เหตกุ ารณป์ ัจจบุ ัน และประเด็นตา่ งๆ ทสี่ นใจ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
๗. สนทนาและโต้ตอบข้อมูลเก่ียวกับของตนเอง และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ในการปฏิบัติ

กจิ กรรมรว่ มกนั กบั ผู้อ่นื ได้อยา่ งเหมาะสม
๘. ใชภ้ าษาเพอื่ สืบคน้ ข้อมลู จากแหล่งความรตู้ ่าง ๆ และแลกเปล่ียนความร้ใู นการทำงานรว่ มกับผ้อู ื่น
9. แสวงหาความรู้และสรา้ งผลงานทางภาษาอย่างสร้างสรรค์ผ่านการนำเสนอในรูปแบบที่หลากหลาย

จากการฟัง ดูหรอื อา่ นข้อมลู เกี่ยวกบั เหตุการณแ์ ละสถานการณ์รอบตัวไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
10. ใช้ภาษาเพ่ือสร้างความสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนยอมรับ และเข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้อย่าง

เหมาะสม

 ผลลัพธก์ ารเรียนรู้รายช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4

1. ใช้คำศัพท์พื้นฐาน วลปี ระโยค ข้อความที่เก่ียวข้องกับชีวิตประจำ วันตนเอง ครอบครัว และส่ิงต่าง ๆ รอบตัว
เชน่ ช่วงเวลา กล่าวคำทักทาย และถามความเป็นอยู่ทั่วไป การตอบคำถามในกรณีทีร่ ู้สึกสบายดแี ละไม่สบายได้
อย่างมน่ั ใจและถูกต้อง
2. ฟัง พูด สนทนาโต้ตอบ แลกเปลีย่ นขอ้ มูลเกยี่ วกบั บทสนทาในชีวิตประจำวัน เช่นการทกั ทาย การถามทาง
การซอื้ ของเพือ่ ความรสู้ ึก อารมณ์ ได้อย่างเหมาะสมและถกู ต้อง
3. อ่านและตอบคำถามข้อมูลต่าง ๆเช่น ป้ายเตือน ป้องบอกทาง ป้ายคำสั่ง คำแนะนำ ในห้องเรียนเหมาะสม
กบั ชว่ งวัยได้อยา่ งถูกต้อง
4. อ่านเพ่ือบอกใจความสำคัญ และรายละเอียดเก่ียวกับการอ่านป้ายต่างๆ การอ่านสัญลักษณ์ต่างๆ อ่าน
วิเคราะห์ความหมายของป้าย อ่านวิเคราะห์ความหมายของสัญลักษณ์ การตีความหมายของสญั ลักษณ์อืน่ ๆท่ี
เหมาะสมกับชว่ งวัยไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
5. เขียนเพ่ือแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกของตนเองเก่ียวกับเร่ืองใกล้ตัวและกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การ
อธิบายส่ิงของรอบตัว ห้องเรียนไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม
6. เขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เหตุการณ์ปัจจุบัน และประเด็นต่างๆ ท่ีสนใจ เช่น วันสำคัญต่างๆ วันเกิด
ข่าวสารบา้ นเมืองรอบๆตัว จากแหลง่ เรยี นรู้ในหอ้ งเรียน ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
7. สนทนาและโต้ตอบ แลกเปล่ียนความคิดเห็นข้อมลู เกี่ยวกบั ของตนเอง เช่น การแนะนำตัว แนะนำครอบครัว
เพ่อื น สิ่งทีช่ อบ/ไม่ชอบ กิจกรรมยามวา่ ง เร่ืองทีถ่ นดั หรือสนใจได้อยา่ งเหมาะสม

99

8. ใช้ แลกเปลี่ยนภาษาเพื่อสืบค้นข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ เช่น ห้องเรียน ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต
ห้องสมุดชุมชน เก่ียวกับประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม ความรู้สึกทางบวก ทางลบ ประโยคให้กำลังใจ
ประโยคชมเชย ประโยคยกย่อง ในทำงานรว่ มกบั ผูอ้ น่ื
9. แสวงหา สรา้ ง นำเสนอผลงานทางภาษา ขอ้ มูลเกี่ยวกบั เหตุการณ์และสถานการณ์รอบตัว เชน่ ขา่ วสารจาก
วิทยุ โทรทัศน์ อินเตอรเ์ น็ต ยทู ูป แหล่งเรยี นร้ใู นหอ้ งเรยี น ได้อย่างถูกต้อง
10. ใช้ แลกเปลี่ยนยอมรับภาษาเพ่ือสร้างความสัมพันธ์เช่น เทศกาล วัฒนธรรมประเพณี ของไทย ของ
ตา่ งชาตไิ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม

 ผลลพั ธ์การเรียนรู้รายชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5

1. ใช้คำศัพท์พ้นื ฐาน วลีประโยค ข้อความท่ีเกยี่ วข้องกับชวี ิตประจำ วันตนเอง ครอบครวั บุคคล โรงเรียน
และส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว
2. ฟงั พดู สนทนาโต้ตอบ แลกเปล่ยี นข้อมูลเก่ียวกับบทสนทาในชวี ิตประจำวัน เช่นการทักทาย การถามทาง
การซอื้ ของ การจองทพ่ี กั เพ่อื ความรสู้ กึ อารมณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและถูกตอ้ ง
3. อา่ นและตอบคำถามข้อมูลต่าง ๆเช่น ป้ายเตือน ปอ้ งบอกทาง ป้ายคำส่ัง คำแนะนำ ในห้องเรียน โรงเรียน
เหมาะสมกับช่วงวยั ได้อยา่ งถูกต้อง
4. อา่ นเพ่ือบอกใจความสำคัญ และรายละเอยี ดเกี่ยวกบั การอ่านป้ายตา่ งๆ การอา่ นสญั ลักษณ์ อ่านวเิ คราะห์
ความหมายของป้าย อ่านวเิ คราะหค์ วามหมายของสัญลักษณ์การตีความหมายของสัญลักษณอ์ นื่ ๆที่เหมาะสม
5. เขยี นเพอื่ แสดงความคดิ เหน็ และความรสู้ ึกของตนเองเกย่ี วกบั เร่อื งใกล้ตัวและกจิ กรรมต่าง ๆ เชน่ การ
อธบิ ายสง่ิ ของ อธิบายลกั ษณะภายนอกของคน รอบตวั หอ้ งเรียน โรงเรียนไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม
6. เขยี นให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับตนเอง เหตกุ ารณ์ปจั จุบัน และประเด็นต่างๆ ที่สนใจ เชน่ วนั สำคัญต่างๆ วันเกดิ
ข่าวสารบ้านเมืองรอบๆตวั จากแหล่งเรียนรู้ในห้องเรยี น โรงเรยี นได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
7. สนทนาและโต้ตอบ แลกเปล่ียนความคิดเห็นข้อมลู เก่ยี วกบั ของตนเอง เชน่ การแนะนำตวั แนะนำครอบครัว
เพอ่ื น โรงเรียน สงิ่ ที่ชอบ/ไมช่ อบ กิจกรรมยามว่าง เร่อื งท่ีถนดั หรอื สนใจไดอ้ ย่างเหมาะสม
8. ใช้ แลกเปลีย่ นภาษาเพ่อื สืบค้นข้อมูลจากแหล่งความรตู้ า่ ง ๆเช่น ห้องเรียน หอ้ งสมุด อินเตอร์เน็ต ห้องสมุด
ชุมชน เก่ียวกับประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม ความรู้สึกทางบวก ทางลบ ประโยคให้กำลงั ใจ ประโยค
ชมเชย ประโยคยกย่อง ในทำงานรว่ มกับผอู้ นื่
9. แสวงหา สรา้ ง นำเสนอผลงานทางภาษา ขอ้ มูลเก่ยี วกบั เหตกุ ารณ์และสถานการณ์รอบตัว เชน่ ขา่ วสารจาก
วทิ ยุ โทรทัศน์ อินเตอรเ์ นต็ ยูทูป แหล่งเรียนรู้ในห้องเรียน โรงเรยี นได้อยา่ งถกู ต้อง
10. ใช้ แลกเปลยี่ นยอมรบั ภาษาเพอ่ื สรา้ งความสัมพนั ธเ์ ชน่ เทศกาล วฒั นธรรมประเพณี ของไทย ของ
ตา่ งชาติ ท้องถ่นิ ตนเอง ได้อย่างเหมาะสม

100

 ผลลพั ธ์การเรยี นรู้รายช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6

1. ใช้คำศัพทพ์ นื้ ฐาน วลปี ระโยค ข้อความท่เี กยี่ วข้องกับชวี ิตประจำ วนั ตนเอง ครอบครัว บคุ คล โรงเรยี น
และส่ิงต่าง ๆ รอบตวั
2. ฟัง พดู สนทนาโตต้ อบ แลกเปลย่ี น ข้อมูลเก่ียวกับบทสนทาในชวี ิตประจำวัน เช่นการทกั ทาย การถามทาง
การซือ้ ของ การจองทพ่ี ัก การส่งั อาหารและเคร่ืองดมื่ เพื่อความร้สู ึก อารมณไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสม
3. อ่านและตอบคำถามข้อมูลต่าง ๆเช่น ป้ายเตือน ป้องบอกทาง ป้ายคำสั่ง คำแนะนำ ในห้องเรียน โรงเรียน
เหมาะสมกับช่วงวัยได้อยา่ งถูกต้อง
4. อ่านเพื่อบอกใจความสำคัญ และรายละเอียดเกี่ยวกับการอ่านป้ายต่างๆ การอ่านสัญลักษณ์ต่างๆ อ่าน
วิเคราะห์ความหมายของป้ายอ่านวิเคราะห์ความหมายของสัญลักษณ์การตีความหมายของสัญลักษณ์อ่ืนๆท่ี
เหมาะสมกับชว่ งวยั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
5. เขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกของตนเองเก่ียวกับเร่ืองใกล้ตัวและกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การ
อธิบายสิ่งของ อธิบายลักษณะภายนอกของคน ลักษณะนิสัยของบุคคลรอบตัว ห้องเรียน โรงเรียน ชุมชุนได้
อย่างถูกต้อง เหมาะสม
6. เขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เหตุการณ์ปัจจุบัน และประเด็นต่างๆ ท่ีสนใจเช่น วันสำคัญต่างๆ วันเกิด
ข่าวสารบา้ นเมอื งรอบๆตวั จากแหลง่ เรียนรู้ในห้องเรยี น โรงเรยี น ชุมชนไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
7. สนทนาและโตต้ อบ แลกเปล่ยี นความคิดเห็นขอ้ มลู เก่ียวกบั ของตนเอง เชน่ การแนะนำตัว แนะนำครอบครัว
เพอ่ื น โรงเรียน ส่งิ ท่ีชอบ/ไมช่ อบ กจิ กรรมยามวา่ ง เรื่องที่ถนดั หรอื สนใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
8. ใช้ แลกเปล่ียนภาษาเพื่อสืบคน้ ขอ้ มูลจากแหล่งความรตู้ ่าง ๆเช่น ห้องเรียน ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต ห้องสมุด
ชุมชน เกี่ยวกับประเด็นท่ีอยู่ในความสนใจของสังคม ความรู้สึกทางบวก ทางลบ ประโยคให้กำลังใจ ประโยค
ชมเชย ประโยคยกยอ่ ง ในทำงานรว่ มกบั ผ้อู ่นื
9. แสวงหา สร้าง นำเสนอผลงานทางภาษา ข้อมลู เก่ียวกบั เหตกุ ารณ์และสถานการณ์รอบตัว เชน่ ขา่ วสารจาก
วทิ ยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต ยทู ูป แหล่งเรียนรใู้ นหอ้ งเรียน โรงเรียน ชุมชนไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
10. ใช้ แลกเปลี่ยนยอมรับภาษาเพ่ือสร้างความสัมพันธ์เช่น เทศกาล วัฒนธรรมประเพณี ของไทย ของ
ตา่ งชาติ ทอ้ งถ่ินตนเอง ทอ้ งถนิ่ อ่ืนได้อย่างเหมาะสม

101

กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

 สาระสำคัญของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ความสำคญั ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
พฒั นาการการเรยี นรู้ด้านสนุ ทรียศาสตร์ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศลิ ป์)
เด็กประถมศึกษาในช่วงช้ันที่ ๒ เป็นช่วงวัยท่ีสามารถคิดอย่างมีเหตุผลได้ แต่จะเป็นการคิด

ในเชิงรูปธรรม เด็กมีความสนใจเรยี นรู้จากของจริง พัฒนาการด้านสุนทรียะอยู่ในข้ันความสนใจสื่อที่เป็นจริง
การพัฒนาประสบการณส์ ุนทรียะให้กับเด็กในชว่ งชน้ั นี้มีความเก่ียวขอ้ งกับการพฒั นาสมองทั้งสองซกี

สมองซีกซ้ายรับรู้ภาษา ตรรกะ คำนวณ คณิตศาสตร์ เป็นสมองท่ีทำหน้าที่ด้านการคิดวิเคราะห์
การคิดเชิงเหตุผล สมองซีกขวารับรู้ด้านจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์และการคิดแบบองค์รวม การจัด
การเรียนรู้อย่างมีดุลยภาพจากสมองท้ังสองซีก จะส่งเสริมพัฒนาการด้านสุนทรียะของเด็กและส่งเสริม
ความสามารถในการคดิ ขน้ั สูงการเรยี นรู้ไปพรอ้ มกนั ไดอ้ ยา่ งเตม็ ศักยภาพ

การส่งเสริมพัฒนาการด้านสุนทรียศาสตร์ ควรส่งเสริมให้เด็กได้รับการพัฒนาการทำงานของสมอง
ผ่านกระบวนการรับรู้จากประสาทสัมผัสท้ังห้าและใจ เพื่อให้เกิดการซึมซับประสบการณ์สุนทรียะ
โดยกระบวนการดังกล่าว ผ่านการสังเกตธรรมชาติ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
ท่ีสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของเด็ก ด้วยการลงมือปฏิบัติการจริงด้วยตนเองผ่านกิจกรรมศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี
นาฏศิลป์) ท่ีมีความท้าทาย ก่อให้เกิดการเรียนรู้เชิงรุก และให้ความสำคัญกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ
จะช่วยส่งเสริมสมรรถนะด้านการเข้าใจตนเอง การจดั การตนเอง มีวินัยในการทำงาน และการทำงานร่วมกับ
ผอู้ ่นื และทักษะการสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

การจัดการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านสุนทรียศาสตร์จะเน้นการเรียนรู้ท้ังจากประสบการณ์ตรง
และประสบการณ์ทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างย่ิงการสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
ได้ชมงาน ได้ฟัง ได้ดู งานศิลปะชนิ้ เอกของศิลปินต่าง ๆ รวมท้ังศิลปินท้องถิ่น โดยการได้สัมผัสวัตถุ หรือการ
ชมการแสดงต่าง ๆ ทางศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) จากแหล่งเรยี นรูต้ ่าง ๆ ท่ีหลากหลาย หรือจัดให้มี
สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ท่ีช่วยส่งเสริมการเกิดประสบกาณ์สุนทรียะโดยการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นให้เด็ก
ได้รับประสบการณ์ใหม่ๆ กระตุ้นการเรียนรู้ให้เกิดการคิดแก้ปัญหา หรือประดิษฐ์คิดค้น วัสดุ วิธีการ
ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะท่ีเด็กกระทำด้วยตนเองได้ และมีความสามารถสื่อสารกับผู้อื่น ทำให้เกิด
การเรียนรู้เชิงรุก จะก่อให้เกิดความซึมซับในการเรียนรู้ เกิดความซาบซ้ึงในศิลปะ ตะหนักถึงความสำคัญ
และเห็นคุณค่าของศิลปะ จิตสำนึกสาธารณะและส่งเสริมสมรรถนะด้านการเป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม
การทำงานเปน็ ทีม ความเปน็ พลเมอื งและการอย่รู ว่ มกับธรรมชาตแิ ละวทิ ยาการอย่างยงั่ ยนื

การส่ งเสริมพั ฒ น าการด้ าน สุ น ท รียะ นี้ เก่ี ยวข้ องกั บทฤษฎี พ หุ ปั ญ ญ าที่ ให้ ความสำ คั ญ กั บการจั ด
การเรียนรู้แบบบูรณาการ อาจจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการบูรณาการระหว่างศาสตร์ทางศิลปะ (ทัศนศิลป์
ดนตรี นาฏศิลป์) การบูรณาการข้ามศาสตร์ หรือการบูรณาการศิลปะแต่ละแขนงกับบริบททางเศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน และสภาพแวดล้อมทางการเรยี นรู้ของเดก็ เป็นการส่งเสริมการพัฒนาปัญญา
ดา้ นต่าง ๆ ท่ีหลากหลายตามความถนัดและความสนใจของเด็ก การส่งเสริมพัฒนาการด้านสุนทรียะควบคไู่ ปกับ
การสง่ เสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ และสังคม

ลกั ษณะเฉพาะ/ ธรรมชาตขิ องกลุม่ สาระการเรยี นรู้
นักเรียนในช่วงชั้นที่ ๒ เป็นวัยที่มีพัฒนาการทางด้านร่างการที่เจริญ เติบโตอย่างรวดเร็ว
มีความสามารถในการใช้กล้ามเน้ือมัดเล็กให้ประสานงานกันได้อย่างมีความสมดุลและใช้ในการทำงานได้ดี

102

เป็นช่วงวยั ที่เด็กให้ความสำคัญกบั กลุ่มเพ่อื น อาจมกี ารแยกกลุม่ ชาย-หญิง เพราะเด็ก ชาย-หญิง มีความสนใจ
ต่างกัน การจัดกิจกรรมเพื่อสร้างประสบการณ์ทางการเรียนรจู้ ึงควรเนน้ การทำงานร่วมกัน และให้ความสำคัญ
กับความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมถึงสไตล์ของการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน เด็กวัยนี้ชอบเรียนรู้ในส่ิงที่ท้าทาย
แปลกใหม่และเรียนรู้ในเร่ืองที่ตน และกลุ่มเพ่ือนให้ความสนใจ มีความสามารถในการสังเกตรายละเอียดมากขึ้น
มีความสนใจในการสร้างสรรค์ศิลปะท่ีสอดคล้องกับความเป็นจริงตามธรรมชาติ สภาพแวดล้อมและ
วถิ ีชีวติ ประจำวันรอบตวั หรอื ประสบการณจ์ รงิ ในชวี ิตผสมผสานกบั จนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

จุดเน้นการพฒั นา
ด้านท่ี ๑ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาด้านเจตคติ และการสร้างประสบการณ์สุนทรียะ ได้แก่
ความรู้สึกนึกคิด ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจ คุณธรรม ค่านิยม การช่ืนชมและความซาบซ้ึงในศิลปะ
จากกิจกรรมการเรยี นรู้ทีเ่ นน้ การสร้างประสบการณ์สุนทรยี ะท้งั ทางตรงและทางอ้อมจากการได้สมั ผสั ธรรมชาติ
สภาพแวดล้อมและผลงานศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) พร้อมท้ังฝึกฝนกระบวนการทางศิลปะ
ซึ่งเริ่มต้นด้วยการใช้ศิลปะเพ่ือพัฒนาจิตใจเพื่อการสะท้อนย้อนมองถึงสภาวะจิต และกาย เพ่ือสร้างความ
พร้อมและพัฒนาความสามารถในการจัดการตนเองอย่างมีสุขภาวะ และการใช้กิจกรรมสร้างแรงบันดาลใจให้
เกิดความมุ่งม่ันในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ นักเรียนไม่เพียงมีความรู้ และทักษะทางด้านศิลปะเท่าน้ัน
แต่ควรได้รับการพัฒนาถึงระดับที่เกิดความตระหนักรู้เชิงคุณค่า และมีทัศนคติเชิงบวก ร่วมกันรักษางาน
วัฒนธรรมทางศิลปะของไทย ของชุมชนให้คงดำรงอยู่อย่างมีบทบาทต่อไปในสังคม ควรฝึกให้นักเรียน
กล้าแสดงออกทางศิลปะอย่างสร้างสรรค์ ด้วยรูปแบบและกลวิธีทางศิลปะที่หลากหลาย ฝึกการรับฟัง
ความคิดเห็นท่ีมีผลต่อการพัฒนางานศิลปะของตนเอง เพื่อสื่อสารและลดช่องว่างระหว่างสิ่งท่ีตนเองเห็นกับ
ผลงานศลิ ปะทีส่ ร้างข้นึ รวมถึงสง่ิ ทผ่ี ูอ้ ืน่ เห็นและรบั รู้
ด้านท่ี ๒ การบูรณาการความรู้และทักษะทางศิลปะ ทั้งการบูรณาการระหว่างศาสตร์ทางศิลปะ
(ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) การบูรณาการศิลปะกับศาสตร์อื่น ๆ การบูรณาการศิลปะแต่ละแขนงกับบริบท
ทางสังคม วัฒนธรรม ธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม ภูมิปัญญาชุมชนท้องถิ่นและการบูรณาการระหว่าง
ศิลปะไทยกับศิลปะสากล เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เกิดจากการผสมผสานทางความคิดใหม่
กระบวนการสร้างสรรค์ใหม่ก่อให้เกิดผลงานศิลปะรูปแบบใหม่ หรือเป็นการสร้างสรรค์ที่ตระหนักถึง
ความสำคัญของดุลยภาพในการอนุรักษ์และการพัฒนารูปแบบศิลปะของไทยในกระแสสากล โดยคำนึงถึง
รากฐานหรือสาระสำคญั ของศิลปะและวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ เปน็ สำคญั รวมถงึ การสร้างความตระหนัก
ถงึ ความสำคัญของการมีจิตสำนึกการมสี ว่ นร่วมและจิตสำนกึ สาธารณะรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
การจัดกิจกรรมเน้นการรับรู้จากสิ่งที่เป็นจริง หรือประสบการณ์ใหม่ ๆ ท่ีมีความท้าทายการคิด
แก้ปัญหาและการสร้างสรรค์ด้วยวัสดุ วิธีการท่ีหลากหลายด้วยการลงมือทำจริงของนักเรียนเอง หรือ
การทำงานร่วมกับผู้อ่ืน สอดคล้องกับการพัฒนาการของเด็กวัยนี้ที่ชอบความท้าทาย เป็นวัยท่ีมุ่งสร้าง
ความสัมพันธ์ทางสังคมกับกลุ่มที่มีความสนใจคล้าย ๆ กัน การจัดกิจกรรมบูรณาการจึงส่งเสริมสมรรถนะของ
ผ้เู รียนท้ังในด้านการจัดการตนเอง การคิดขั้นสูง การส่ือสาร การรวมพลังทำงานเป็นทีม การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
และการอยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาตแิ ละวทิ ยาการอยา่ งยั่งยนื
การนำไปใช้ในชีวติ จริง
ระดบั ตนเอง การนำสนุ ทรยี ภาพไปใชใ้ นชีวิต คอื เปน็ ผูม้ สี ายตามองเหน็ คุณค่า ความงามของสรรพส่ิง
รอบตัว เกิดความคิดเชิงบวกและแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานศิลปะและสุนทรียภาพในชีวิตและ
สิ่งแวดล้อมรอบตัว ทำกิจกรรมทุกอย่างในชีวิตและทำงานอย่างมีศิลปะ สามารถแสดงความคิดเห็น
ในการวเิ คราะหผ์ ลงานทต่ี นฝกึ ฝน ผลงานของเพ่อื น สรา้ งสมั พนั ธ์กบั ศลิ ปนิ เปดิ กวา้ งสู่งานของผ้อู ่ืน

103

ระดับชุมชนและสังคม รู้จักการใช้งานศิลปะเป็นส่วนประกอบสร้าง แรงบันดาลใจ แรงศรัทธา
เสริมเอกภาพของกลุ่มคน ชุมชน สังคม โดยมีศิลปะเป็นเครื่องจรรโลงจิตใจ และน้อมนำไปสู่การสร้างงาน
ศิลปะสาธารณะกศุ ล ศลิ ปะเพื่อชุมชน ศิลปะในวัฒนธรรมประเพณี ในวาระหรอื เทศกาลท่ีสำคัญตา่ ง ๆ และใช้
เป็นส่อื นำเสนอการแก้ไขปัญหาของสังคม

การบูรณาการกับกลมุ่ สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
บูรณาการระหว่างทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ อย่างสอดคล้องและกลมกลืน และบูรณาการกับ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ต่าง ๆ ดงั นี้

ภาษาไทย/ ภาษาอังกฤษ ภาษาและดนตรี นาฏศลิ ป์ เปน็ สื่อประกอบท่ีเก้อื กูลกนั การฝึกทักษะ
ทางภาษาของเด็กในวัยช่วงช้ันท่ี ๒ ผ่านการแสดงออกด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร อาจเป็นส่วนหนึ่งของ
งานแห่งจินตนาการ จากการกระทำที่แสดงโดยภาพวาด บทละคร ลำดับเรื่องในภาพยนตร์ บทเพลงบรรเลง
ที่คัดย่อมา ท่าเต้น-การฝึกให้เล่าเร่ือง (เป็นกลุ่มหรือใช้บันทึกดิจิทัล) สร้างการกระทำหรือสถานการณ์ใหม่
ในรูปแบบท่ีออกแบบท่าเต้นการพูด การอภิปราย การแสดงบทบาทสมมติ ฝึกฝนการออกเสียงที่ชัดเจน
มจี ังหวะ มีลีลา มีท่วงทำนอง เป็นการเรียนที่มีความรื่นรมย์ ล่ืนไหล มีความสุข และสามารถถ่ายทอดอารมณ์
ความรู้สึก ไดต้ รงกับความหมายและความเป็นจรงิ มากขน้ึ

สังคมศึกษา เป็นส่ือในการถ่ายทอดเรื่องราวความสัมพันธ์ ความผูกพันของคนในสังคม มรดก
ภูมิปัญญาของชาติในระดับพ้ืนถ่ิน ระดับชาติ และระดับ นานาชาติ ประวัติศาสตร์ศิลปะผสมผสาน
การแสดงออกทางศิลปะทง้ั หมด ในอดตี และปจั จบุ นั ทั้งระดบั ปัญญาชนผ้รู ู้และประชาชนระดับกว้างและชุมชน
เป็นเส้นทางบ่มเพาะวฒั นธรรมทางศิลปะให้แก่นักเรียน โดยเป็นการผสมผสานระหว่างได้สัมผัสผลงานศิลปะ
และการไดร้ บั องค์ความรูโ้ ดยไมห่ ยุดอยู่ทข่ี อบเขตตามจารตี ของวิจติ รศลิ ป์ ดนตรี ขบั ร้อง การละคร การเต้นรำ
วรรณกรรมและภาพยนตร์ เพื่อการสืบสานมรดกภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ท่ีเรียนรู้ตามความนิยมหรือแบบ
ประเพณีด้ังเดิม ให้อุดมด้วยการฝึกฝนทางศิลปะทุกแขนง ถ่ายทอดเป็นเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์และ
ถ่ายทอดจินตนาการออกมาด้วยงานศิลปะเพื่อทำความเข้าใจความเปล่ียนแปลงของสังคม โลกและระบบ
ธรรมชาติ

คณิตศาสตร์ จากพ้ืนฐานท่ีได้จากช่วงชั้นที่ ๑ ในเร่ือง เส้น รูปร่าง รูปทรง ปริมาณหรือขนาด
ความหนาบาง พ้ืนที่ พ้ืนผิว แผนภูมิ และสีอ่อนแก่ การจำแนก แยกแยะ จัดกลุ่ม จัดองค์ประกอบศิลปะ
ด้วยเส้นและรูปร่างรูปทรงเรขาคณิต และการประกอบลายศิลปะไทย อย่างสมมาตร สมดุลในลายแม่บท
ท้ังแบบสมบูรณ์และแบบแตกลายหรือขยายอย่างมี Pattern การจัดองค์ประกอบศิลป์ ด้วยจังหวะของรูปและ
ที่ว่าง (Solid and Void) ทั้งบนหน้ากระดาษ หรือการแสดงบนเวที ช่วงช้ันท่ี ๒ ขยายทักษะและแนวคิด
(พน้ื ที่ มุมมอง สดั ส่วน การวัด ฯลฯ) ซงึ่ สามารถเช่ือมโยงกับสง่ิ ท่พี ัฒนาข้ึนในวิชาคณติ ศาสตร์

วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ การสำรวจและสงั เกตธรรมชาติเปน็ กระบวนการรว่ ม
ทงั้ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และสนุ ทรยี ศาสตร์ ท่ีช่วยใหเ้ ดก็ รจู้ กั และเข้าใจสรรพสงิ่ ในธรรมชาตดิ ้วยการสัมผสั และ
มปี ระสบการณ์ตรง สามารถเห็นรายละเอียดและระบุ ต้งั คำถามเพื่อการสืบค้นทมี่ าของปรากฏการณต์ ่าง ๆ
รถู้ ึงทมี่ าของวสั ดสุ ำคญั ที่ใช้สรา้ งชิน้ งานศลิ ปะ การสรา้ งแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์และผลการทดลอง
กระบวนการแปรรปู วสั ดุธรรมชาตทิ ีน่ ำมาสรา้ งสรรคง์ านศิลปะ การคน้ พบความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความร้สู กึ
เก่ียวกับสีและคุณภาพทางกายภาพของวัสดุของสี (เม็ดสี สาร สารยึดเกาะ สารทท่ี ำใหแ้ ห้งเร็ว (siccative) ฯลฯ)
ผลกระทบทเี่ กิดจากการใช้ (การทำแบบใส ๆ การเคลือบฝีแปรงแบบหนา การเคลือบทำใหแ้ ข็ง ระยะใช้วธิ ฉี ีดพน่ …)
รองรบั ผสมกับส่ืออ่นื ๆ ทำความเขา้ ใจเก่ียวกับประสาทสมั ผัสมิติของสี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ความสมั พันธ์
ระหว่างปริมาณ (รปู แบบ พื้นผวิ ขอบเขตสภาพแวดลอ้ ม) และคุณภาพ (เฉดสีความเขม้ ข้น เฉดสี แสง ฯลฯ)
สแี ละเสียงเปน็ วทิ ยาศาสตร์ ท่ีผ่านการคำนวณมาต้ังแตอ่ ดีต จนกลายเปน็ วิทยาศาสตรธ์ รรมชาติ เป็นหลักการ

104
ใหย้ ดึ ถอื ซึ่งวทิ ยาศาสตร์และศลิ ปะไดผ้ สมกันอยา่ งกลมกลนื งานด้านดนตรีและนาฏศลิ ป์ถูกนำไปใช้
ในกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ จิตวทิ ยา กอ่ ใหเ้ กิดสรรพวชิ าใหมใ่ นปัจจุบัน

105

 ความสมั พนั ธ์ระหว่างสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะ

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก

๑. สัมผสั ซึมซบั สนุ ทรยี ภาพและสร้างสรรค์ผลงานศลิ ปะทุกแขนง

๑.๑ รู้จกั ช่นื ชมสุนทรยี ภาพ (Art Appreciation) จากธรรมชาติ ๑. การจดั การตนเอง

สภาพแวดลอ้ มใกลต้ ัว วฒั นธรรม วถิ ีชีวติ ประจำวนั รวมถึง ๒. การคิดขั้นสงู

ผลงานศลิ ปะอนั เกย่ี วเนือ่ งกบั คณุ ค่าในชีวติ และการสร้างสรรค์ ๓. การสอ่ื สาร

ผลงานศิลปะจากการรับรูท้ างการมองเห็น การสัมผัส การรับชม ๕. การเปน็ พลเมอื งทเี่ ขม้ แข็ง

การได้ฟังและการบรู ณาการข้ามประสาทสัมผสั ๖. การอยรู่ ่วมกับธรรมชาติ

๑.๒ ใช้ศลิ ปะ เพ่อื การพฒั นาจิตใจผา่ นการทำงานอย่างมีสมาธิ สังเกต และวิทยาการอย่างยั่งยนื

เห็น เขา้ ใจและรับร้สู ุนทรียภาพ ผา่ นความสัมพนั ธข์ องพหปุ ระสาท

สัมผัส (กาย - ใจ - มอื - ตา - หู ) กบั ธรรมชาตแิ ละวัสดุอุปกรณ์

ให้เหมาะสมกับวยั

๒. สร้างและนำเสนองานศลิ ปะ จากจินตนาการ ความคิด สรา้ งสรรค์ โดยเขา้ ใจธรรมชาติ และเปรียบเทยี บ

ความเหมือน และความแตกตา่ งระหวา่ ง ศลิ ปะ ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรม

ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาไทย

๒.๑ รบั รู้ และรูจ้ ักการใช้องค์ประกอบทางทัศนศิลป์ เชน่ รูปรา่ ง รูปทรง ๑. การจดั การตนเอง

พ้นื ผิว สี แสงเงา และมที กั ษะพื้นฐานในการใช้วสั ดุอปุ กรณ์ ถ่ายทอด ๒. การคิดขน้ั สงู

ใชค้ วามคดิ และจินตนาการแสดงออกทางศิลปะ โดยเข้าใจธรรมชาติ ๓. การสื่อสาร

เปรียบเทยี บและเชื่อมโยงความสมั พันธ์ของ ศลิ ปะ ประวตั ศิ าสตร์ ๔. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทมี

๒.๒ เรยี นรู้และแกป้ ัญหาจากการปฏบิ ัตจิ ริง ทดลองและสงั เกตผลทีเ่ กิด ๕. การเป็นพลเมืองที่เข้มแขง็

จากการใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือ ทกั ษะทางศิลปะให้เหมาะสม ๖. การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ

ตามคุณลกั ษณะในการสรา้ งสรรค์ผลงาน และนำเสนองานศลิ ปะ และวทิ ยาการอย่างยงั่ ยืน

ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามบรบิ ทของผู้เรยี นแต่ละคน

๒.๓ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ท่เี ปน็ อตั ลกั ษณ์และความรูส้ ึกของตนเอง

ถ่ายทอดความคิด ความรสู้ ึก จนิ ตนาการ ธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม

ทเ่ี ชอ่ื มโยงกับตนเองและผู้อนื่ โดยการลองผิดลองถกู ด้วยวิธีการ

ทหี่ ลากหลายจนค้นพบและประยกุ ตใ์ ช้เทคนคิ วิธีการใหม่

ดว้ ยกระบวนการกลุ่ม

106

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก

๓. ดนตรีวิจกั ขณ์ (Music Appreciation) รอ้ ง เลน่ เต้น และเคลื่อนไหวตามจังหวะและเสียงดนตรี

๓.๑ อ่านและเขียนเครอ่ื งหมายสญั ลักษณ์ตวั โน้ตเบื้องต้นของดนตรไี ทย ๑. การจัดการตนเอง

และดนตรีสากล ๒. การคดิ ขน้ั สงู

๓.๒ จำแนกแนวเพลงต่าง ๆ จากการฟัง และเปรียบเทยี บประเภทของ ๓. การส่อื สาร

เครอ่ื งดนตรไี ทย ดนตรพี น้ื บ้าน และดนตรีสากล จากภาพและเสียง ๔. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทมี

๓.๓ ขับร้อง และบรรเลงเพลงไทยเดิม ไทยสากล เพลงลูกทงุ่ หรือ ๕. การเปน็ พลเมืองที่เข้มแข็ง

เพลงสากลในแนวดนตรตี ่าง ๆ ถกู ตอ้ งตามจังหวะ ทำนองของเพลง ๖. การอย่รู ว่ มกบั ธรรมชาติ

ตรงตามระดบั เสยี ง และสื่ออารมณ์ของบทเพลง และวทิ ยาการอยา่ งยั่งยนื

๓.๔ ขบั ร้อง และบรรเลงรวมวงดนตรไี ทย วงดนตรีพื้นบ้าน หรือวงดนตรี

สากล และนำเคร่ืองดนตรีประเภทต่าง ๆ มารว่ มบรรเลงผสมผสาน

เป็นแนวเพลงร่วมสมยั และเผยแพร่ผ่านสอื่ เทคโนโลยีต่าง ๆ

๓.๕ แสดงออกถงึ ความรู้สึกเก่ยี วกบั ดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ จากการฟัง

การขับร้อง และการบรรเลงดนตรีดว้ ยเครอื่ งดนตรีไทยพ้ืนบา้ น เคร่ือง

ดนตรีไทย หรอื เครือ่ งดนตรสี ากล และนำมาประยุกต์ใช้

ในกิจกรรม วนั สำคญั เทศกาลต่าง ๆ

๔. สรา้ งสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ อยา่ งมแี บบแผน

๔.๑ สืบค้น อธบิ าย และเปรยี บเทยี บ ประวัติความเป็นมาของการละเลน่ ของ ๑. การจัดการตนเอง

ไทย นาฏศลิ ป์ไทย และนาฏศลิ ป์ประเทศเพอ่ื นบา้ น ๒. การคิดขั้นสงู

๔.๒ เปรียบเทียบ ใช้ภาษาท่าและนาฏยศพั ท์ ในการสอื่ ความหมาย ๓. การสอื่ สาร

การแสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลปป์ ระเทศเพ่ือนบา้ น ได้อยา่ งถกู ต้อง ๔. การรวมพลังทำงานเป็นทีม

๔.๓ แสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏศลิ ปพ์ ืน้ บ้าน หรือนาฏศิลป์ร่วมสมยั ๕. การเปน็ พลเมอื งท่ีเข้มแข็ง

ในรูปแบบต่าง ๆ ท้งั เดีย่ วและกลุ่ม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน ๖. การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ

ไดอ้ ย่างเหมาะสม และวทิ ยาการอยา่ งยั่งยนื

๔.๔ ถ่ายทอดอารมณ์ และความรู้สกึ ผ่านการแสดง ระบำ รำ ฟ้อน

ละครสน้ั หรอื กจิ กรรมตา่ ง ๆ ที่สอดคลอ้ งกบั ประเพณี วฒั นธรรม

ท้องถ่ิน อยา่ งสรา้ งสรรค์

107

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั

๕. ศลิ ปะวจิ ักขณ์ วิเคราะห์ วิพากษ์ และเชอื่ มโยงผลงานศิลปะ (ทัศนศลิ ป์ ดนตรี นาฏศิลป)์ กบั วัฒนธรรม ใน

ชวี ิตประจำวนั และในทอ้ งถ่ิน

๕.๑ เขา้ ใจและอธิบายความสำคัญของงานศลิ ปะ ท่มี าของงานศลิ ปะ ๑. การจดั การตนเอง

ในทอ้ งถน่ิ การใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ วธิ กี ารสรา้ งงานศลิ ปะในทอ้ งถนิ่ ๒. การคดิ ขนั้ สูง

และเชื่อมโยงมุมมองทัศนคตขิ องตนเองกับวัฒนธรรมทางศลิ ปะ ๓. การส่ือสาร

๕.๒ รบั รู้ และแสดงออกถึงอารมณ์ ความรู้สกึ ความประทับใจ ๔. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม

เก่ยี วกบั ศิลปะ ของตนเองและผอู้ ืน่ ผ่อนคลายบำบดั และมีความสุข ๕. การเป็นพลเมอื งที่เขม้ แขง็

ในการทำงานศลิ ปะ ๖. การอยู่รว่ มกบั ธรรมชาติ

๕.๓ แสดงความเหน็ ต่อผลงานศิลปะของตนเอง งานของผูอ้ น่ื และวทิ ยาการอยา่ งยง่ั ยนื

หรอื งานท่ีทำร่วมกบั เพอ่ื น อย่างสรา้ งสรรค์ วจิ ารณอ์ ยา่ งสภุ าพ

มีเหตุผล เปิดใจรับฟังความเห็นของผอู้ นื่ เพื่อนำมาปรับปรงุ ผลงาน

ของตนให้สมบรู ณ์

๕.๔ เห็นคุณคา่ งานศิลปะทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม นำเสนอผลงานศลิ ปะ

(ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) โดยใชเ้ ทคโนโลยรี ูปแบบตา่ ง ๆ

108

 ผลลัพธก์ ารเรียนรเู้ มอ่ื จบชว่ งช้นั ที่ ๒
๑. แสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับความงามจากการสมั ผสั รับรู้ธรรมชาติ สภาพแวดลอ้ มและผลงานศิลปะ อธิบาย

ถึงแรงบันดาลใจและความช่ืนชมของตนเองเกี่ยวกับผลงานศิลปะ (ทัศน ศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์)
มีสมาธแิ ละมคี วามต้ังใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
๒. สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ที่ตนเองชื่นชอบ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก จินตนาการ สะท้อนถึงธรรมชาติ
ส่ิงแวดล้อม เร่ืองราวใกล้ตัว ในชีวิตประจำวันท่ีเชื่อมโยงกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและท้องถิ่น
ด้วยการเช่ือมโยงส่วนประกอบทางทัศนศิลป์ จัดองค์ประกอบทางศิลปะเป็นผลงานทัศนศิลป์
ได้อย่างหลากหลาย และประยุกต์ใช้เทคนิควิธีการใหม่ด้วยกระบวนการกลุ่ม และเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์
ใหส้ อดคล้องกับเรอ่ื งราวประวัตศิ าสตรศ์ ลิ ป์และภูมิปญั ญาท้องถิน่
๓. ขบั รอ้ งและบรรเลงได้ตามจังหวะ ทำนองเพลงและสื่ออารมณ์ของบทเพลงได้อย่างถูกต้อง ใช้เคร่ืองหมาย
สัญลักษณ์ตัวโน้ตในการขับร้องและบรรเลงเพลง จำแนกและเปรียบเทียบความเหมือนและแตกต่าง
ของแนวเพลงและเคร่อื งดนตรีไทย ดนตรีพน้ื บา้ น ดนตรีสากลจากภาพและเสยี ง
๔. ขับร้อง และบรรเลงรวมวงดนตรีพ้ืนบ้าน วงดนตรีไทย วงดนตรีสากลประเภทต่าง ๆ ผสมผสาน
เป็นแนวเพลงร่วมสมัย ด้วยความมั่นใจ ถูกต้องตามทำนอง จังหวะ และมีความไพเราะ เผยแพร่ผ่านสื่อ
เทคโนโลยีต่าง ๆ รับฟัง แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเสียงดนตรีของตนเองและผู้อื่น ด้วยความสุภาพและ
สร้างสรรค์ ชื่นชม และนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นกจิ กรรม วนั สำคญั เทศกาลตา่ ง ๆ
๕. สืบค้น และเปรียบเทียบ ประวัติความเป็นมา ความเหมือนและความแตกต่างของนาฏศิลป์ไทย
และนาฏศิลป์ประเทศเพ่ือนบ้าน จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยี ใช้ภาษาท่า นาฏยศัพท์
ในการส่ือความหมาย แสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน หรือนาฏศิลป์ร่วมสมัยใน รูปแบบต่าง ๆ
ทั้งเด่ียวและกลุ่ม อย่างม่ันใจและงดงาม สะท้อนอารมณ์ของตนเอง และสร้างสรรค์การเคล่ือนไหว
ในรปู แบบการแสดงต่าง ๆ ท่ีสอดคลอ้ งกับประเพณี วฒั นธรรมท้องถิน่ อย่างสร้างสรรค์ เหมาะสมกับวยั
๖. แสดงออกถึงการรับรู้และชื่นชมความงามด้วยหลักการทางองค์ประกอบศิลป์ แสดงอารมณ์ ความคิด
ความรู้สึก ความประทับใจ และนำเสนอผลงานศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) ด้วยความมั่นใจ
วิเคราะห์ วิจารณ์หรือแสดงความคิดเห็น เก่ียวกับงานศิลปะ ทั้งของตนเองของผู้อื่น อย่างสุภาพ รับฟัง
ปรับปรงุ ผลงานของตนให้สมบรู ณ์
๗. เช่ือมโยงผลงานศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) กับวัฒนธรรม ชีวิตประจำวันเป็นสื่อแสดงความงาม
ได้อย่างอิสระ รวมทั้งการร่วมสร้างงานศิลปะ โดยประยุกต์ใช้เพ่ือแก้ปัญหาส่ิงแวดล้อมใกล้ตัว ชุมชน
ทอ้ งถน่ิ

109

 ผลลัพธก์ ารเรียนรู้รายชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
1. แสดงความคดิ เหน็ สมั ผัส รบั รู้ อธบิ าย สรา้ งสรรค์ ผลงานศิลปะ เช่นทัศนศลิ ป์ ๒ มิติ ๓ มิติ เช่น งาน
สอ่ื ผสม งานวาดภาพระบายสี โดยการสรา้ งแรงบนั ดาลใจ ชื่นชม และต้งั ใจ
2. สร้างสรรค์ ถา่ ยทอด จินตนาการ เชอื่ มโยง ประยกุ ต์ใช้ผลงานทัศนศิลป์ส่งิ แวดล้อม ส่วนประกอบ
องคป์ ระกอบวิธกี าร กระบวนการกลุ่มเรอ่ื งราวประวัติศาสตรศ์ ิลป์ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ เชน่ บทบาทของงาน
ทศั นศิลป์ทีส่ ะทอ้ นชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเชอ่ื ความศรัทธา ในศาสนา ของไทยดว้ ยความช่นื ชอบ
3. ขับรอ้ ง บรรเลง ใช้ จำแนกเปรียบเทียบเครอ่ื งหมาย สัญลักษณต์ ัวโนต้ เคร่ืองดนตรไี ทย ดนตรพี ้นื บ้าน
ดนตรสี ากล เชน่ การเคลื่อนท่ขี ้นึ ลง ของทำนองเพลง องค์ประกอบของดนตรี ศัพท์สงั คตี ในบทเพลง ประโยค
และอารมณ์ของบทเพลงทฟ่ี ัง ร้องผา่ นการสื่ออารมณ์
4. ขบั ร้อง บรรเลง เผยแพร่ รับฟัง แสดงความคิดเหน็ สรา้ งสรรค์ ประยุกต์ใช้ ผสมผสานดนตรพี ื้นบ้านดนตรี
ไทย ดนตรสี ากล เทคโนโลยีตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันระหวา่ งดนตรีกับวิถชี ีวติ ประเพณี วัฒนธรรมไทย และ
วัฒนธรรมตา่ ง ๆ เร่อื งราวดนตรใี นประวตั ศิ าสตร์ดว้ ยความมน่ั ใจ
5. ประวัติความเปน็ มา ความเหมือนและความแตกต่างของนาฏศลิ ปไ์ ทยแหล่งข้อมูลตา่ ง ๆ รูปแบบการแสดง
ตา่ ง ๆ เช่น องค์ประกอบนาฏศลิ ป์ ภาษาทา่ นาฏยศพั ท์พนื้ ฐาน การเคล่อื นไหว การแสดงนาฏศลิ ป์ การละคร
งา่ ย ๆด้วยความ มั่นใจ เหมาะสมกบั วยั
6. นำเสนอ แสดงออก รับรู้ วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคดิ เห็น รับฟงั ปรบั ปรุง องคป์ ระกอบศลิ ป์ ผลงาน
งานศิลปะ เช่น แผนภาพ แผนผัง ภาพประกอบเรื่องราวเกี่ยวกบั เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ความแตกต่างระหว่างงาน
ทัศนศลิ ปท์ ี่สร้างสรรค์ด้วยวัสดอุ ปุ กรณ์และวิธกี ารทแี่ ตกตา่ งกนั ดว้ ยความชื่นชม ประทับใจ
7. เชือ่ มโยง สร้างงาน ประยกุ ตใ์ ช้แก้ปัญหาผลงานศลิ ปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป)์ กับวัฒนธรรม
สงิ่ แวดลอ้ มใกล้ตัว ชุมชน ท้องถ่นิ เชน่ ความสัมพันธแ์ ละประโยชนข์ องนาฏศิลป์ การละครได้ อย่างอิสระ

 ผลลัพธ์การเรยี นรู้รายช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
1. แสดงความคดิ เห็น สมั ผัส รับรู้ อธิบาย สรา้ งสรรค์ ผลงานศิลปะ เช่นทัศนศิลป์ ๒ มติ ิ ๓ มติ ิ เชน่ งาน
สือ่ ผสม งานวาดภาพระบายสี งานป้ันโดยการสรา้ งแรงแรงบนั ดาลใจ ชื่นชม และตง้ั ใจ
2. สรา้ งสรรค์ ถา่ ยทอด จินตนาการ เช่อื มโยง ประยุกต์ใชผ้ ลงานทัศนศิลป์ส่งิ แวดลอ้ มสว่ นประกอบ
องค์ประกอบวธิ ีการ กระบวนการกล่มุ เรอื่ งราวประวัติศาสตรศ์ ิลป์ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ เช่น บทบาทของงาน
ทศั นศิลป์ทส่ี ะทอ้ นชวี ิตและสังคม อิทธพิ ลของความเช่อื ความศรัทธา ในศาสนา ของไทยของตา่ งชาติ ชนื่ ชอบ
3. ขบั รอ้ ง บรรเลง ใช้ จำแนกเปรยี บเทียบเครื่องหมาย สัญลักษณ์ตวั โนต้ เคร่ืองดนตรไี ทย ดนตรพี นื้ บา้ น
ดนตรสี ากล เชน่ การเคล่อื นท่ีขนึ้ ลง ของทำนองเพลง องค์ประกอบของดนตรี ศพั ทส์ งั คตี ในบทเพลง ประโยค
และอารมณ์ของบทเพลงที่ฟัง รอ้ ง และบรรเลงเครอื่ งดนตรี ดน้ สดอยา่ งงา่ ย โนต้ ไทยและสากลในรูปแบบตา่ ง
ผ่านการส่ืออารมณ์

110

4. ขบั ร้อง บรรเลง เผยแพร่ รับฟัง แสดงความคิดเหน็ สรา้ งสรรค์ ประยกุ ต์ใช้ ผสมผสานดนตรีพ้ืนบ้านดนตรี
ไทย ดนตรีสากล เทคโนโลยตี ่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกนั ระหว่างดนตรกี ับวิถีชวี ิต ประเพณี วัฒนธรรมไทย และ
วัฒนธรรมตา่ ง ๆ เรื่องราวดนตรีในประวตั ิศาสตร์ อทิ ธิพลของวฒั นธรรมต่อดนตรดี ว้ ยความม่นั ใจ
5. ประวตั ิความเปน็ มา ความเหมอื นและความแตกต่างของนาฏศิลปไ์ ทยแหลง่ ข้อมูลต่าง ๆ รูปแบบการแสดง
ตา่ ง ๆ เชน่ องค์ประกอบนาฏศิลป์ ภาษาท่า นาฏยศพั ทพ์ น้ื ฐาน การเคลือ่ นไหว การแสดงนาฏศลิ ป์ การละคร
งา่ ย ๆ ลลี าหรอื อารมณ์ และเครือ่ งแตง่ กายหรอื อุปกรณป์ ระกอบการแสดงง่าย ๆด้วยความ มน่ั ใจ เหมาะสมกบั
วยั
6. นำเสนอ แสดงออก รบั รู้ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความคิดเห็น รับฟงั ปรับปรุงองค์ประกอบศิลป์ ผลงาน
งานศลิ ปะ เช่น แผนภาพ แผนผงั ภาพประกอบเรือ่ งราวเกยี่ วกบั เหตุการณ์ต่าง ๆ ความแตกต่างระหวา่ งงาน
ทัศนศิลปท์ ี่สร้างสรรคด์ ว้ ยวสั ดุอปุ กรณ์และวิธีการทแี่ ตกต่างกัน ปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยความ
ชน่ื ชม ประทับใจ
7. เชอ่ื มโยง สร้างงาน ประยกุ ต์ใช้ แก้ปญั หา ผลงานศลิ ปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป)์ กบั วฒั นธรรม
สิ่งแวดลอ้ มใกล้ตวั ชมุ ชน ท้องถนิ่ เช่น ความสัมพันธแ์ ละประโยชน์ของนาฏศลิ ป์ การละครได้ อย่างอสิ ระ

 ผลลพั ธ์การเรียนรู้รายชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6

1. แสดงความคิดเหน็ สมั ผัส รับรู้ อธิบาย สร้างสรรค์ ผลงานศิลปะ เช่นทัศนศลิ ป์ ๒ มิติ ๓ มิติ เช่น งาน
ส่ือผสม งานวาดภาพระบายสี งานปัน้ งานพมิ พภ์ าพโดยการสร้างแรงแรงบนั ดาลใจ ชื่นชม และต้ังใจ
2.สรา้ งสรรค์ ถ่ายทอด จนิ ตนาการ เช่ือมโยง ประยุกตใ์ ช้ผลงานทัศนศลิ ป์สง่ิ แวดลอ้ มสว่ นประกอบ
องค์ประกอบวธิ ีการ กระบวนการกลมุ่ เรอ่ื งราวประวตั ศิ าสตรศ์ ิลปภ์ ูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เช่น บทบาทของงาน
ทศั นศิลปท์ ี่สะทอ้ นชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเช่ือ ความศรทั ธา ในศาสนา ของไทยของต่างชาติ และ
วัฒนธรรมท่ีมผี ลตอ่ การสรา้ งงานทัศนศิลป์ในท้องถ่นิ ชน่ื ชอบ
3.ขบั รอ้ ง บรรเลง ใช้ จำแนกเปรียบเทียบเคร่ืองหมาย สญั ลกั ษณ์ตวั โน้ต เคร่อื งดนตรีไทย ดนตรีพ้ืนบา้ น
ดนตรสี ากล เช่น การเคลื่อนทีข่ ึ้น ลง ของทำนองเพลง องคป์ ระกอบของดนตรี ศัพทส์ ังคีตในบทเพลง ประโยค
และอารมณข์ องบทเพลงที่ฟงั รอ้ ง และบรรเลงเครือ่ งดนตรี ด้นสดอยา่ งงา่ ย โนต้ ไทยและสากลในรูปแบบต่าง
ๆ รลู้ กั ษณะของผู้ที่จะเลน่ ดนตรไี ด้ดี องค์ประกอบดนตรี ความรู้สึกของบทเพลงทีฟ่ ัง ดนตรปี ระกอบกจิ กรรม
ทางนาฏศิลป์ผา่ นการสอื่ อารมณ์
4. ขับร้อง บรรเลง เผยแพร่ รบั ฟงั แสดงความคดิ เห็น สรา้ งสรรค์ ประยกุ ตใ์ ช้ ผสมผสานดนตรีพื้นบ้านดนตรี
ไทย ดนตรีสากล เทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกนั ระหวา่ งดนตรีกบั วถิ ีชีวติ ประเพณี วฒั นธรรมไทย และ
วฒั นธรรมตา่ ง ๆ เร่ืองราวดนตรใี นประวัตศิ าสตร์ อทิ ธิพลของวฒั นธรรมต่อดนตรี รู้คณุ คา่ ดนตรีที่มาจาก
วฒั นธรรมต่างกนั การอนรุ ักษด์ ้วยความมั่นใจ
5. ประวตั ิความเป็นมา ความเหมอื นและความแตกตา่ งของนาฏศิลปไ์ ทยแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ รปู แบบการแสดง
ตา่ ง ๆ เช่น องค์ประกอบนาฏศิลป์ ภาษาท่า นาฏยศัพท์พื้นฐาน การเคลือ่ นไหว การแสดงนาฏศลิ ป์ การละคร
ง่าย ๆ ลลี าหรืออารมณ์ และสามารถออกแบบเคร่ืองแต่งกายหรอื อุปกรณ์ประกอบการแสดงง่าย ๆ

111

ความสมั พันธ์ระหวา่ งนาฏศลิ ป์และการละครกับส่ิงทีป่ ระสบในชวี ติ ประจำวนั การชมการแสดง ความรสู้ กึ ท่มี ี
ตอ่ งานนาฏศลิ ป์ๆด้วยความ มั่นใจ เหมาะสมกบั วัย
6. วิเคราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความคิดเหน็ รับฟัง ปรบั ปรุงองค์ประกอบศิลป์ ผลงานงานศิลปะ เช่น แผนภาพ
แผนผงั ภาพประกอบเรื่องราวเกย่ี วกบั เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลปท์ ส่ี รา้ งสรรคด์ ว้ ย
วสั ดุอุปกรณ์และวิธีการที่แตกต่างกนั ปญั หาในการจัดองค์ประกอบศลิ ป์ หลักการลด และเพ่ิมในงานป้นั การ
7. สื่อความหมายในงานทัศนศลิ ป์ของตนเอง วธิ ีการปรับปรุงงานใหด้ ขี ้ึนด้วยความชื่นชม ประทับใจ
เช่ือมโยง สร้างงาน ประยุกตใ์ ชแ้ ก้ปญั หาผลงานศิลปะ (ทัศนศลิ ป์ ดนตรี นาฏศิลป)์ กับวัฒนธรรมสงิ่ แวดล้อม
ใกลต้ วั ชมุ ชน ท้องถนิ่ เชน่ ความสมั พนั ธแ์ ละประโยชนข์ องนาฏศิลป์ การละครได้ อย่างอสิ ระ

112

กลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

 สาระสำคญั ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้

ความสำคญั ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชว่ ยให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทงั้ กายและจิตท่ีดีซง่ึ มคี วามสำคัญ
เพราะเกย่ี วโยงกับทุกมติ ิของชีวิต ทุกคนควรได้เรียนรู้เรื่องสุขภาพ เพ่ือจะได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง
มีเจตคติ คุณธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นนิสัย ทำให้ผู้เรียนเกิด
สมรรถนะในการใช้ชีวิต ส่งผลให้สังคมโดยรวมมีคุณภาพ
ลกั ษณะเฉพาะ/ ธรรมชาตขิ องกลมุ่ สาระการเรียนรู้
กล่มุ สาระการเรยี นรู้นี้ประกอบดว้ ย สุขศึกษาและพลศึกษา ดงั น้ี
สุขศึกษา มุ่งเน้นการจัดโอกาสการเรียนรู้ให้เกิดการปฏิบัติทาง จนเป็นนิสัย มีความรับผิดชอบต่อ
ตนเองและผู้อื่น อันจะนำไปสู่การปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน เพ่ือการมี
สุขภาพกายและจิตทด่ี ี
พลศึกษา มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเคล่ือนไหวท่ีต้องควบคุมร่างกายและจิตใจในการทำกิจกรรม
ทางกาย การออกกำลงั กาย การเล่นเกม และกฬี า ชว่ ยให้รา่ งกายเจริญเตบิ โตสมวัย มีสุขภาพดี มรี ะเบียบ วินัย
อดทน สร้างสรรค์ความสามคั คี มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน
จดุ เน้นการพฒั นา
การพัฒนาผู้เรียนในช่วงช้ันท่ี 2 นี้ มีเป้าหมายสำคัญ เพ่ือให้ผู้เรียนสร้างเสริมสุขภาพและ
ความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น มีการเคล่ือนไหวร่างกายและกิจกรรมกีฬา ตามกฎ กติกาและข้อตกลง
อย่างสนุกสนานและปลอดภัยท้ังต่อตนเองและผู้อื่น สามารถจัดการอารมณ์และความรู้สึกของตนเอง สร้างและ
รักษาสัมพันธภาพท่ีดีกบั ผ้อู นื่ ได้

เป้าหมายสำคัญดังกล่าว ประกอบด้วยสมรรถนะเฉพาะ 3 สมรรถนะซึ่งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยง
กับสมรรถนะหลักทั้ง 6 สมรรถนะ และบูรณาการกันเป็นผลลัพธ์การเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 2 จำนวน 8 ข้อ สำหรับ
นำไปกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ต้องคำนึงถึงการบูรณาการสมรรถนะหลัก
และสมรรถนะเฉพาะด้วย โดยจัดกิจกรรม ประสบการณ์ หรือสถานการณ์จากเรื่องราวใกล้ตัวไปสู่ไกลตัว
จากงา่ ยไปยาก ตามพฒั นาการของผู้เรยี น ฝกึ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง

สำหรบั ช่วงช้ันท่ี 2 จากผลลัพธ์การเรยี นรดู้ ังกล่าว อาจจัดประสบการณ์การเรยี นรเู้ ปน็ 3 กลุ่ม ดงั น้ี
การสร้างเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ืน เป็นการจัดประสบการณ์

ให้ผู้เรียนได้ดูแลรักษาร่างกาย และสุขภาพของตนเองให้ทำงานตามปกติ สามารถดูแลสุขภาพทางเพศ
ตามชว่ งวยั ได้ ป้องกนั ตนเองให้ปลอดภัยจากการคุกคามทางเพศและไม่แสดงพฤตกิ รรมคุกคามทางเพศผกู้ ับอ่ืน
ท้ังกายและวาจา หลีกเลี่ยงและปฏิเสธอย่างรู้ทัน ในสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัยและไม่เหมาะสม
รวมทั้งหลีกเล่ียงบุคคล สถานการณ์ สถานท่ี สภาพแวดล้อม ที่จะนำไปสู่การเกี่ยวข้องกับบุหร่ี สุรา สารเสพติด
การติดเกมและการพนัน ตลอดจนชักชวนให้ผู้อ่ืนหลีกเลี่ยงส่ิงท่ีเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อ่ืน โดยรู้ทันส่ือ
และระวังอันตรายจากบุคคลท่ีรู้จักผ่านทางออนไลน์ซึ่งอาจนำไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ การข่มเหงรังแก
และการใช้ความรุนแรงทางออนไลน์ ตลอดจนสามารถป้องกันและหลีกเล่ียงโรคและอุบัติเหตุท่ีพบบ่อย
ในชีวติ ประจำวันได้ บอกปัญหาสุขภาพของตนเอง ใชย้ าตามคำแนะนำของแพทย์ ให้การปฐมพยาบาลไดอ้ ย่าง

113

ถูกต้องและเหมาะสม และแสดงพฤติกรรมที่รับผิดชอบต่อสุขภาพของตนเองและส่วนรวม โดยรับรู้และ
แลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร ดา้ นการดแู ล รักษาสุขภาพรา่ งกาย การป้องกันโรค การใช้ยาและการปฐมพยาบาล
เพอ่ื การดูแลสุขภาพท่ีดี

การเคลื่อนไหวร่างกายและกิจกรรมกีฬาตามกฎ กติกาและข้อตกลง อย่างสนุกสนานและ
ปลอดภัยทั้งต่อตนเองและผู้อื่น เป็นการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้เคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสาน
และมีกิจกรรมทางกายด้วยตนเองและร่วมกับผู้อื่น ทั้งแบบอยู่กับท่ี แบบเคลื่อนท่ี และแบบใช้อุปกรณ์ประกอบ
ผ่านการฝึกทักษะการเคล่ือนไหวเรื่องการรับแรง การใช้แรง ความสมดุลของร่างกายอย่างมีสติ สม่ำเสมอ
และคำนึงถึงความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น โดยเห็นคุณค่าของการพัฒนาสมรรถภาพทางกายอย่างต่อเน่ือง
รวมทั้งสามารถออกกำลังกาย เล่นเกม เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและทีมที่ตนเองชอบ
อย่างมีความสามารถ โดยเห็นประโยชน์ท่ีเกิดกับตนเองและผู้อื่นจากการปฏิบัติเป็นประจำ เป็นทั้งผู้เล่นและ
ผู้ดำเนินการได้อย่างเหมาะสมตามวัย ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลในการ เล่นเกมและกีฬา
มีความสามัคคี มีน้ำใจนักกีฬา ปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อตกลง วิเคราะห์ทักษะการเล่น จุดแข็ง กลวิธี
การเล่นของทีมเพอ่ื ปรบั ปรงุ ทีมให้ประสบความสำเร็จ

การควบคุมอารมณ์และความรู้สึกของตนเอง สร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อ่ืน
เป็นการจัดประสบการณ์ให้ผเู้ รียนรู้จักมีสติ รู้เท่าทนั อารมณ์ และความรสู้ ึกท่ีเกิดข้ึน นำไปสู่การควบคมุ ตนเอง
ให้แสดงอารมณ์และความรู้สึกในสถานการณ์ต่าง ๆ และการบรรเทาความเครียดอย่างเหมาะสมและเข้าใจ
ผลดีและผลเสียที่เกิดข้ึนต่อตนเองและผู้อื่น ตลอดจนสร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัว เพื่อนและ
บุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวัน แก้ไขความขัดแย้งโดยไม่ใช้ความรุนแรง ยอมรับความแตกต่าง
ระหวา่ งของบุคคล

การนำไปใช้ในชีวิตจรงิ
การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ให้บรรลเุ ป้าหมาย จนเกิดสมรรถนะ ควรออกแบบกิจกรรมทเ่ี ออ้ื ต่อการนำไปใช้
ในชีวิตจริง จัดการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และเรียนรู้จากการปฏิบัติท่ีหลากหลายรูปแบบ เช่น
ออกแบบการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้เปรียบเทียบการเจริญ เติบโตและพั ฒนาก ารของร่างกายและจิตใจตนเอง
กับเกณฑ์มาตรฐาน สามารถบอกเหตุและผลของการรับประทานอาหาร การเคลื่อนไหวร่างกาย การออกกำลังกาย
การเล่นกีฬา การพักผ่อนและการนอนหลับท่ีส่งผลต่อการมีสุขภาพดีและการเจริญเติบโต การวางแผนดูแล
สุขภาพของตนเองและผู้อื่น อภิปรายสะท้อนความรู้สึกของตนเองเมื่อถูกสัมผัสร่างกาย เล่าเรื่องสถานการณ์หรือ
เหตุการณ์แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อให้ปลอดภัยจากการคุกคามทางเพศ ฝึกทักษะการปฏิเสธและทักษะ
การส่ือสารให้ผู้อน่ื หลีกเลี่ยงสารเสพติด การติดเกมและการพนัน วางแผนการปฏิบัตติ นเพื่อปอ้ งกัน หลกี เลี่ยง
และรักษาสุขภาพ สามารถปฐมพยาบาลตนเองได้เม่ือเกิดอุบัติเหตุ และปฐมพยาบาลเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
อย่างปลอดภัย จัดสถานการณ์ ให้นักเรียนได้ตัดสินใจใช้ยาสามัญประจำบ้านที่ถูกต้องตามอาการ
และการเจ็บป่วย จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานและมีกิจกรรมทางกายด้วยตนเองและ
รว่ มกับผู้อ่ืน สามารถออกกำลังกาย เล่นเกม เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคล คู่ และทีม ท่ีตนเองชอบ
อย่างมีความสามารถ จัดสถานการณ์ท่ีท้าทายให้นักเรียนได้ทำงานหรือใช้ชีวิตร่วมกันกับเพื่อน มีโอกาส
ให้ทำงานกับเพ่ือนร่วมห้อง เพื่อนในระดับชั้น นักเรียนระดับชั้นอ่ืน ๆ เป็นสถานการณ์ ที่เน้นให้นักเรียน
ได้ทำความรู้จักกับบุคคลที่ไม่คุ้นเคย เพื่อฝึกการสร้างสัมพันธภาพ โดยจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้
ของผู้เรียน ประสานความร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมกับสมาชิกในครอบครัว ชุมชน รวมถึงการติดตาม
ความกา้ วหนา้ หรือพัฒนาการของผเู้ รียนอย่างต่อเน่อื ง

114

การบรู ณาการกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สามารถจัดการเรียนรู้บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ
ดังตวั อย่าง ต่อไปน้ี

ภาษาไทย/ ภาษาอังกฤษ จัดสถานการณ์โดยใช้คำศัพท์และเรื่องราวการเลน่ เกม การละเล่นพื้นเมือง
การออกกำลังกาย และเล่นกฬี าเพื่อพัฒนาความสามารถในการอา่ น การตั้งคำถามเพ่ือสืบค้นขอ้ มูล การบันทึก
และสรุปข้อมูล ตลอดจนการใชภ้ าษาเพือ่ การนำเสนอเรื่องราวจากกิจกรรม

คณิตศาสตร์ นับจำนวนที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ การอ่านข้อมูลจากสถิติอย่างง่ายเพื่อทำความเข้าใจ
เรื่องราวรอบตัวท่ีเก่ียวกับการดูแลสุขภาพ การคำนวณผ่านการเล่นเกม การเล่นกีฬา การเคล่ือนไหวร่างกาย
ตามรูปแบบและทศิ ทางต่าง ๆ

ศิลปะ ใช้จินตนาการในการสร้างสรรค์งานศิลปะท่ีสื่อความหมายของเร่ืองราว สะท้อนความคิด
และความรสู้ กึ ในหัวขอ้ ทน่ี ำเสนอ

สงั คมศึกษา จัดกิจกรรมบูรณาการในประเด็นเก่ยี วกับการอยู่ร่วมกนั ในสังคม สามารถปฏิบัติตน
ตามข้อตกลง ระเบียบ กฎกติกา มารยาท หลักเกณฑ์ของสังคม ได้อย่างมีความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือ
ในการทำงานเปน็ ทีมผ่านการเลน่ การออกกำลงั กาย และการเลน่ กฬี าร่วมกนั

วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ จัดกิจกรรมบูรณาการในประเด็นเกี่ยวกับสถานการณ์จริง
ในชวี ิตประจำวัน เช่น การรักษาทรัพยากรธรรมชาติ การจดั ส่ิงแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ปลอดภยั จากมลพิษ
ทางดนิ น้ำ อากาศ

115

 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะ

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั

๑. การสรา้ งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของตนเองและผอู้ นื่

1.1 ความสามารถในการดูแลรกั ษารา่ งกาย และสขุ ภาพของตนเอง ๑. การจดั การตนเอง

ให้ทำงานตามปกติ ๒. การคิดขั้นสงู

1.2 ความสามารถในการป้องกนั ตนเองจากอบุ ัตเิ หตุ และการใช้ ๓. การสอื่ สาร
สารเสพติด ๕. การเปน็ พลเมืองท่ีเขม้ แข็ง
๖. การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
1.3 ความสามารถในการดูแลสขุ ภาพทางเพศทีเ่ หมาะสมกบั วยั
1.4 ความสามารถในการใชแ้ ละรเู้ ทา่ ทันสอ่ื เทคโนโลยอี ย่างถกู ต้องปลอดภยั และวิทยาการอยา่ งยั่งยืน

1.5 ความสามารถในการปฐมพยาบาลตนเองและผู้อื่นให้ปลอดภยั จาก

การเจ็บปว่ ย

2. การเคลื่อนไหวร่างกายและกิจกรรมกีฬาตามกฎ กติกาและข้อตกลง อย่างสนุกสนานและปลอดภัย

ท้งั ต่อตนเองและผู้อนื่

2.1 ความสามารถในการเคล่ือนไหวรา่ งกายแบบผสมผสาน ๑. การจดั การตนเอง
๒. การคิดขน้ั สงู
2.2 ความสามารถในการทำกจิ กรรมทางกายในชีวติ ประจำวนั ๓. การสอื่ สาร
2.3 ความสามารถในการพัฒนาสมรรถภาพทางกาย ๔. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม
2.4 ความสามารถในการออกกำลังกาย เล่นเกม และกฬี า อยา่ งสรา้ งสรรค์ ๕. การเป็นพลเมอื งท่เี ขม้ แข็ง
๖. การอยูร่ ว่ มกบั ธรรมชาติ
สนุกสนาน และปลอดภัย
และวิทยาการอยา่ งย่ังยนื

3. การจดั การอารมณแ์ ละความรู้สกึ ของตนเอง กบั ผอู้ ืน่ สร้างและรักษาสมั พนั ธภาพที่ดกี ับผอู้ ืน่

3.1 ความสามารถในการควบคุมอารมณ์ และความร้สู กึ ของตนเอง ๑. การจดั การตนเอง

3.2 ความสามารถในการปรับอารมณ์ และความรู้สึก ใหเ้ กิดความสมดลุ ๒. การคิดขนั้ สงู
3.3 ความสามารถในการสร้างและรกั ษาสมั พันธภาพที่ดกี ับผู้อื่น ๓. การสื่อสาร

๔. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม

๕. การเป็นพลเมืองท่เี ข้มแข็ง

116

 ผลลัพธ์การเรียนรเู้ มอ่ื จบช่วงช้นั ที่ ๒

๑. ดูแลรักษาร่างกายและสุขภาพของตนเองให้ทำงานตามปกติ โดยวิเคราะห์เหตุและผลของการรับประทาน
อาหาร การขับถ่าย การเคล่ือนไหวร่างกาย การออกกำลงั กาย การเล่นกีฬา การพกั ผ่อนและการนอนหลับ
ทสี่ ่งผลต่อการมีสุขภาพดีและการเจริญเติบโต รบั รู้และแลกเปล่ียนขอ้ มูลข่าวสารด้านการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ
ข้อมูลบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร ยา และผลิตภณั ฑ์สุขภาพ สือ่ โฆษณา ในการตัดสินใจเลือกซื้อและเลือกใช้
อย่างมเี หตุผล

๒. ดูแลสุขภาพทางเพศตามช่วงวัย ป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการคุกคามทางเพศและไม่แสดงพฤติกรรม
คุกคามทางเพศผู้อื่น ท้ังกายและวาจา ด้วยความเข้าใจในผลเสียหรืออันตรายท่ีเกิดจากพฤติกรรมเส่ียง
อันอาจนำไปสู่ปัญหาทางเพศและผลกระทบอ่ืน ๆ ท่ีตามมา รู้ทันสื่อ และระวังอันตรายจากบุคคลที่รู้จัก
ผ่านทางออนไลน์ซ่ึงอาจนำไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ การข่มเหงรังแก และการใช้ความรุนแรง
ทางออนไลน์ โดยหาทางออกได้อย่างเหมาะสม ปรึกษาและขอความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ท่ีไว้ใจหรือ
หน่วยงานทีร่ ับผดิ ชอบ หลีกเลี่ยงและปฏเิ สธอยา่ งร้ทู ันสถานการณท์ ไ่ี มป่ ลอดภัยและไม่เหมาะสม

3. หลีกเลี่ยงบุคคล สถานการณ์ สถานที่ สภาพแวดล้อม ท่ีจะนำไปสู่การเก่ียวข้องกับบุหร่ี สุรา สารเสพติด
การติดเกมและการพนัน โดยเข้าใจผลเสียท่ีมีต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตลอดจน
ชักชวนใหผ้ ้อู ่ืนหลกี เล่ยี งสง่ิ ทเ่ี ป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อ่ืน

4. ป้องกันและหลีกเลี่ยงโรคและอุบัติเหตุท่ีพบบ่อยในชีวิตประจำวัน แจ้งผู้ใหญ่เพ่ือขอความช่วยเหลือ
บอกปัญหาสุขภาพของตนเอง ใช้ยาตามคำแนะนำของแพทย์ ให้การปฐมพยาบาลได้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสม และแสดงพฤติกรรมท่ีรับผิดชอบต่อสุขภาพของตนเองและส่วนรวมโดย รับรู้และแลกเปล่ียน
ขอ้ มูลข่าวสาร ด้านการปอ้ งกันโรค การใช้ยาและการปฐมพยาบาล เพือ่ การดแู ลสุขภาพทดี่ ี

5. เคล่ือนไหวร่างกายแบบผสมผสานและมีกิจกรรมทางกายด้วยตนเองและร่วมกับผู้อ่ืน ทั้งแบบอยู่กับที่
แบบเคลื่อนท่ี และแบบใช้อุปกรณ์ประกอบ ผ่านการฝึกทักษะการเคล่ือนไหวเร่ืองการรับแรง การใช้แรง
ความสมดุลของร่างกายอย่างมีสติ สม่ำเสมอ และคำนึงถึงความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ืน
โดยเหน็ คณุ คา่ ของการพฒั นาสมรรถภาพทางกายอย่างต่อเน่ือง

6. ออกกำลังกาย เล่นเกม เลน่ กฬี าไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและทมี ทตี่ นเองชอบและมคี วามสามารถ
โดยเห็นประโยชน์ทเ่ี กิดกับตนเองและผู้อ่นื จากการปฏบิ ตั ิเป็นประจำ เปน็ ท้ังผู้เลน่ และผู้ดำเนนิ การไดอ้ ย่าง
เหมาะสมตามวยั ยอมรับความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลในการเลน่ เกมและกีฬา มีความสามัคคี มีน้ำใจ
นกั กฬี า ปฏบิ ตั ติ ามกฎ กตกิ าและข้อตกลง วิเคราะห์ทักษะการเลน่ จดุ แขง็ กลวธิ ีการเล่นของทีมเพ่อื
ปรบั ปรงุ ทมี ให้ประสบความสำเร็จ

7. มีสติ รู้เท่าทันอารมณ์ และความรู้สึกท่ีเกดิ ขน้ึ โดยรู้ขีดจำกัดด้านอารมณ์และความร้สู กึ ของตนเอง รสู้ าเหตุ
ของความเครยี ด นำไปส่กู ารควบคุมตนเองให้แสดงอารมณ์และความรู้สกึ ในสถานการณต์ ่าง ๆ และการบรรเทา
ความเครยี ดอย่างเหมาะสมและเขา้ ใจผลดแี ละผลเสียทเี่ กดิ ขึ้นต่อตนเองและผู้อนื่

8. สร้างและรักษาสัมพันธภาพท่ีดีกับครอบครัว เพื่อนและบุคคลท่ีเก่ียวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวัน
แก้ไขความขัดแยง้ โดยไม่ใช้ความรุนแรง ยอมรบั ความแตกตา่ งระหว่างของบุคคล

117

 ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้รายชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4

1 ดูแลรักษารา่ งกายวิเคราะหเ์ คลอ่ื นไหวร่างกาย เล่นกฬี ารับรูแ้ ลกเปลยี่ น ตดั สินใจ เลอื กซือ้ เลือกใช้ ขอ้ มูล
ข่าวสารขอ้ มูลบนฉลาก ผลิตภัณฑอ์ าหาร ยาสุขภาพ สอ่ื โฆษณา เช่นการปฏบิ ัติตนตามหลกั สุขบญั ญัตแิ ห่งชาติ
การบรโิ ภคอาหารและยา การจำแนกอาหาร 5 หมู่ อย่างมเี หตุผล
2 ดแู ล ป้องกันตนเองเข้าใจรู้ทันสื่อ รูจ้ ักปรึกษา ขอความช่วยเหลือหลกี เลีย่ ง ปฏเิ สธเกย่ี วกบั ปลอดภยั จาก
การคุกคามทางเพศปญั หาทางเพศ ผลกระทบการล่วง ละเมดิ ทางเพศ การขม่ เหงรงั แก และการใช้ความรนุ แรง
ทางออนไลน์ เชน่ วธิ ีสรา้ งสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพือ่ นวธิ ีหลีกเล่ยี งพฤติกรรมทนี่ ำไปสูก่ ารล่วง
ละเมิดทางเพศ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
3 หลีกเลี่ยงเข้าใจสถานการณ์ สถานท่ี สภาพแวดล้อม บุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนนั เชน่ ผลเสยี ของการสบู
บุหรี่ และการด่มื สุรา ทมี่ ีต่อสขุ ภาพและการป้องกัน ปจั จัยที่มีอทิ ธิพลตอ่ การใช้สารเสพตดิ ผลกระทบของการ
ใช้ยา และสารเสพติด ท่มี ีผลเสียท่ีมีต่อรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา
4 รบั รเู้ กี่ยวกบั ปัญหา สุขภาพการปฐมพยาบาลข้อมลู ขา่ วสาร การป้องกัน โรค การใช้ยา เช่น คำแนะนำเมื่อมี
อาการเจบ็ ปว่ ย ลกั ษณะของการมสี ขุ ภาพดี ของใช้และของเล่นท่ีมีผลเสียตอ่ สุขภาพ อาการและวธิ ปี อ้ งกันการ
เจบ็ ปว่ ย การบาดเจ็บท่ีอาจเกดิ ขน้ึ กับพฤตกิ รรมทร่ี บั ผิดชอบ
5 สืบค้น จับประเดน็ ลำดับเหตุการณ์นำเสนอ วิธีการ ทำกิจกรรม การกระทำ ปฏิบัติ แสดงประวัตคิ วาม
เปน็ มา วิถชี วี ติ และบุคคลพัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์และความต่อเน่ืองจากอดตี ถึงปัจจุบนั ของจังหวดั
ภมู ิภาคทตี่ นอาศยั อยู่หลกั ฐาน วัฒนธรรมของผ้คู นในแตล่ ะท้องถิ่นสถาบนั หลัก และสัญลักษณ์ของชาตไิ ทย
เช่น ประวตั ิความเป็นมา วิถีชวี ิต บุคคลในจังหวดั ภมู ิภาคทีต่ นอาศัยอยู่ ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญทาง
ประวัติศาสตร์ชาติไทยที่เกย่ี วขอ้ งกับท้องถิน่ อย่างเหน็ คุณค่าและภาคภูมใิ จในความเป็นท้องถิ่นและความเปน็
ไทย ด้วยความตระหนกั
6 ออกกำลังกาย เล่นเกม เล่นกฬี าไทยปฏิบัติ ยอมรับปฏิบัตติ ามกฎ กติกาและขอ้ ตกลง วิเคราะหท์ ักษะการ
เล่นเกี่ยวกบั กีฬาไทย กฬี าสากลประเภทบุคคลและทีม ผ้เู ล่น ผ้ดู ำเนนิ การ ความแตกตา่ งกลวธิ กี ารเล่น ตาม
กฎ กติกา ข้อตกลง เช่น กฬี าไทย กีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อยา่ งละ ๑ ชนดิ กลไกในการ
เล่นกฬี าด้วยความชืน่ ชอบ มีความสามคั คี มนี ำ้ ใจนกั กฬี าเหมาะสม ตามวัย
7 มีสติ รู้เท่าทนั อารมณ์ รูส้ าเหตุ ควบคุม บรรเทา เข้าใจ เก่ียวกับผลดีและผลเสียทเี่ กดิ ข้ึนตอ่ ตนเองและผู้อ่นื
ขดี จำกัดดา้ นอารมณแ์ ละความรู้สกึ เชน่ ปัจจัยที่มีผลต่ออารมณ์ ความรู้สึก ผลกระทบท่เี กิดขึ้นจากความเครียด
การควบคมุ ตนเอง สาเหตุของความเครียด วธิ แี ก้ปัญหา ความเครียดโดยให้แสดงอารมณแ์ ละความรู้สกึ
8 สรา้ ง แกไ้ ขความขดั แย้งไมใ่ ช้ความรนุ แรง ยอมรับเกย่ี วกับครอบครัว เพอื่ นและบคุ คลที่เก่ยี วขอ้ งกับการใช้
ชีวติ ประจำวนั เช่นสมาชกิ ในครอบครวั และความรักความผกู พนั ของสมาชิกทมี่ ตี ่อกัน บทบาทหนา้ ทข่ี องตนเอง
และสมาชิกในครอบครวั ความสำคญั ของเพื่อน ความสำคญั และความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง
ดว้ ยการรักษาสัมพันธภาพที่ดี

118

 ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้รายชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5

1 ดูแลรกั ษาร่างกายวเิ คราะหเ์ คล่ือนไหวรา่ งกาย เล่นกฬี ารับรู้ แลกเปลย่ี น ตัดสินใจ เลือกซื้อ เลอื กใช้ ข้อมูล
ข่าวสารข้อมูลบนฉลาก ผลิตภณั ฑ์อาหาร ยาสุขภาพ ส่ือโฆษณา เชน่ การปฏิบตั ิตนตามหลกั สุขบัญญตั แิ ห่งชาติ
การบรโิ ภคอาหารและยา การจำแนกอาหาร 5 หมู่ การอา่ นฉลากยาหรืออปุ กรณ์เครอ่ื งใช้ อย่างมเี หตผุ ล
2 การล่วง ละเมิดทางเพศ การข่มเหงรงั แก และการใชค้ วามรุนแรงทางออนไลน์ เชน่ วิธสี ร้างสมั พันธภาพใน
ครอบครวั และกลมุ่ เพื่อนวธิ ีหลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมท่ีนำไปส่กู ารล่วงละเมดิ ทางเพศ ยกตวั อย่างวธิ ีการปฏเิ สธการ
กระทำทเ่ี ป็นอันตรายและไมเ่ หมาะสมในเร่ืองเพศ การเปลี่ยนแปลงทางเพศ
3 หลกี เลีย่ งเข้าใจสถานการณ์ สถานที่ สภาพแวดล้อม บหุ ร่ี สรุ า สารเสพติด การพนัน เชน่ ผลเสยี ของการสูบ
บุหร่ี และการดื่มสรุ า ท่มี ีต่อสุขภาพและการป้องกนั ปจั จัยที่มีอิทธพิ ลตอ่ การใช้สารเสพติด ผลกระทบของการ
ใชย้ า และสารเสพติด ทมี่ ีผลต่อร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา ความปลอดภัยจากการใชย้ า
และหลีกเล่ยี งสารเสพติด
4 รบั รู้เกีย่ วกับปัญหา สขุ ภาพการปฐมพยาบาลข้อมูลข่าวสาร การป้องกัน โรค การใชย้ าเชน่ คำแนะนำเมอ่ื มี
อาการเจ็บปว่ ย ลกั ษณะของการมีสุขภาพดี ของใช้และของเลน่ ท่มี ีผลเสียต่อสุขภาพ อาการและวิธปี อ้ งกันการ
เจ็บป่วย การบาดเจ็บท่ีอาจเกิดขึน้ สภาวะอารมณ์ ความรสู้ ึกที่มผี ลต่อสุขภาพ ปฏิบัตติ นในการปอ้ งกนั โรคท่ี
พบบอ่ ยในชวี ิตประจำวันกบั พฤติกรรมที่รบั ผดิ ชอบ
5 สบื ค้น จบั ประเด็นลำดับเหตกุ ารณน์ ำเสนอ วิธีการ ทำกจิ กรรม การกระทำ ปฏิบัติ แสดงประวตั ิความ
เปน็ มา วถิ ชี วี ติ และบคุ คลพฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์และความต่อเน่อื งจากอดีตถงึ ปัจจบุ นั ของจังหวดั
ภูมิภาคท่ีตนอาศัยอยู่หลกั ฐาน วฒั นธรรมของผ้คู นในแตล่ ะทอ้ งถิ่นสถาบนั หลัก และสัญลกั ษณ์ของชาติไทย
เช่น ประวตั ิความเป็นมา วถิ ชี วี ิต บุคคลในจังหวัด ภูมิภาคท่ีตนอาศัยอยู่ ประวตั ิและผลงานของบุคคลสำคญั ทาง
ประวตั ิศาสตรช์ าติไทยที่เก่ยี วข้องกับท้องถนิ่ บทบาทหน้าท่ีความเปน้ สมาชิกในชุมชน ความแตกต่างทาง
วฒั นธรรม ข่าวและเหตกุ ารณ์ณทื ี่เกิดขนึ้ ในโลกจริงและโลก
6 ออกกำลงั กาย เลน่ เกม เล่นกีฬาไทยปฏบิ ัติ ยอมรับปฏบิ ตั ติ ามกฎ กตกิ าและขอ้ ตกลง วิเคราะห์ทักษะการ
เลน่ เกยี่ วกับกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคลและทีม ผเู้ ลน่ ผ้ดู ำเนินการ ความแตกต่างกลวธิ ีการเลน่ ตาม
กฎ กติกา ขอ้ ตกลง เช่น กฬี าไทย กฬี าสากลประเภทบคุ คลและประเภททีมไดอ้ ยา่ งละ ๑ ชนดิ กลไกในการ
เล่นกีฬา ประโยชน์และหลกั การออกกำลังกายเพือ่ สุขภาพ ดว้ ยความชืน่ ชอบ มคี วามสามัคคี มนี ้ำ ใจนกั กีฬา
เหมาะสม ตามวัย
7 มีสติ รู้เท่าทนั อารมณ์ ร้สู าเหตุ ควบคมุ บรรเทา เข้าใจ เกีย่ วกับผลดแี ละผลเสยี ที่เกดิ ขนึ้ ตอ่ ตนเองและผู้อนื่
ขีดจำกดั ดา้ นอารมณ์และความรสู้ ึกเช่น ปัจจัยท่ีมีผลต่ออารมณ์ ความรู้สกึ ผลกระทบท่ีเกิดข้นึ จากความเครียด
การควบคุมตนเอง สาเหตขุ องความเครียด วธิ แี ก้ปัญหาความเครยี ด สถานการณ์ที่มีผลต่อออารมณ์และจิตใจ
โดยใหแ้ สดงอารมณ์และความรู้สกึ
8 สร้าง แก้ไขความขัดแย้งไม่ใช้ความรนุ แรง ยอมรับเก่ยี วกับครอบครัว เพ่อื นและบุคคลท่ีเกยี่ วข้องกับการใช้
ชีวติ ประจำวนั เชน่ สมาชิกในครอบครัวและความรกั ความผูกพนั ของสมาชิกทมี่ ีต่อกนั บทบาทหนา้ ทีข่ องตนเอง
และสมาชิกในครอบครวั ความสำคญั ของเพื่อน ความสำคญั และความแตกต่างของครอบครัวท่ีมีต่อตนเอง
วิธสี ร้างสัมพันธภาพในครอบครวั และกลุ่มเพื่อนคุณลักษณะของความเปน็ เพอ่ื นและสมาชิกที่ดขี องครอบครวั
ดว้ ยการรกั ษาสัมพันธภาพที่ดี โดยบอกระดบั ความรนุ แรง ของอารมณ

119

 ผลลพั ธ์การเรยี นรู้รายช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6

1 ดแู ลรกั ษาร่างกายวเิ คราะหเ์ คลื่อนไหวรา่ งกาย เล่นกีฬารับรู้ แลกเปลี่ยน ตดั สนิ ใจ เลือกซ้อื เลอื กใช้ ขอ้ มูล
ขา่ วสารข้อมูลบนฉลาก ผลิตภณั ฑ์อาหาร ยาสุขภาพ สื่อโฆษณา เช่นการปฏิบัติตนตามหลกั สุขบญั ญตั แิ หง่ ชาติ
การบรโิ ภคอาหารและยา การจำแนกอาหาร 5 หมู่ การอ่านฉลากยาหรืออปุ กรณ์เครอื่ งใช้ การเลือกซ้ือของทม่ี ี
ประโยชน์ ผลดี ผลเสียของการออกกำลงั กาย อย่างมเี หตผุ ล
2 ดแู ล ปอ้ งกันตนเองเขา้ ใจรู้ทนั สื่อ รู้จักปรึกษา ขอความช่วยเหลอื หลกี เล่ียง ปฏเิ สธเก่ยี วกับปลอดภัยจาก
การคกุ คามทางเพศปญั หาทางเพศ ผลกระทบการลว่ ง ละเมิดทางเพศ การขม่ เหงรังแก และการใช้ความรุนแรง
ทางออนไลน์ เชน่ วิธีสรา้ งสัมพันธภาพในครอบครวั และกลุม่ เพือ่ นวธิ หี ลกี เลย่ี งพฤติกรรมที่นำไปสู่การล่วง
ละเมิดทางเพศ ยกตวั อย่างวิธีการปฏเิ สธการกระทำที่เปน็ อันตรายและไม่เหมาะสมในเรือ่ งเพศ การ
เปลีย่ นแปลงทางเพศ พฤติกรรมเสย่ี งที่อาจนำไปสู่การมเี พศสมั พันธ์ การติดเช้อื เอดส์ และการต้งั ครรภก์ อ่ นวยั
อนั ควร
3 หลีกเล่ียงเขา้ ใจสถานการณ์ สถานท่ี สภาพแวดล้อม บุหรี่ สรุ า สารเสพตดิ การพนนั เชน่ ผลเสียของการสูบ
บุหร่ี และการดมื่ สรุ า ทม่ี ีตอ่ สขุ ภาพและการป้องกนั ปัจจัยทีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ การใช้สารเสพตดิ ผลกระทบของการ
ใช้ยา และสารเสพติด ทีม่ ีผลตอ่ รา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา ความปลอดภัยจากการใชย้ า
และหลกี เลี่ยงสารเสพติด สาเหตุของการติดสารเสพติด และชกั ชวนให้ผูอ้ น่ื หลีกเลีย่ งสารเสพติดทม่ี ีผลเสยี ทีม่ ีตอ่
ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา
4 ป้องกัน หลีกเลยี่ งขอความช่วยเหลือคำแนะนำแสดง รับร้เู กีย่ วกบั ปัญหา สุขภาพการปฐมพยาบาลข้อมูล
ข่าวสาร การปอ้ งกนั โรค การใช้ยาเช่น คำแนะนำเมอ่ื มอี าการเจ็บป่วย ลกั ษณะของการมสี ขุ ภาพดี ของใช้และ
ของเล่นท่มี ผี ลเสียตอ่ สุขภาพ อาการและวิธปี อ้ งกันการเจ็บปว่ ย การบาดเจ็บท่อี าจเกิดขน้ึ สภาวะอารมณ์
ความรสู้ กึ ท่มี ีผลต่อสขุ ภาพ ปฏบิ ตั ติ นในการป้องกันโรคทพี่ บบ่อยในชวี ิตประจำวนั การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา
ส่ิงแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพกบั พฤติกรรมท่รี ับผดิ ชอบ
5 สบื คน้ จับประเดน็ ลำดับเหตุการณน์ ำเสนอ วธิ ีการ ทำกิจกรรม การกระทำ ปฏบิ ตั ิ แสดงประวัตคิ วาม
เป็นมา วิถีชวี ิตและบุคคลพฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์และความต่อเน่อื งจากอดีตถึงปัจจบุ นั ของจงั หวัด
ภมู ิภาคท่ีตนอาศัยอยหู่ ลักฐาน วัฒนธรรมของผู้คนในแต่ละทอ้ งถ่ินสถาบนั หลัก และสญั ลักษณ์ของชาติไทย
เช่น ประวัติความเป็นมา วถิ ชี วี ิต บุคคลในจังหวัด ภูมภิ าคทตี่ นอาศัยอยู่ ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญทาง
ประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยที่เก่ียวข้องกับท้องถน่ิ บทบาทหน้าที่ความเปน้ สมาชิกในชุมชน ความแตกต่างทาง
วัฒนธรรม ข่าวและเหตกุ ารณืที่เกิดข้ึนในโลกจรงิ และโลกเสมือน มรดกทางภมู ปิ ัญญา วนั สำคญั ที่เก่ยี วกับชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตริย์ สถาบนั หลัก และสญั ลกั ษณ์ของชาติไทย อยา่ งเหน็ คณุ คา่ และภาคภูมิใจในความ
เป็นท้องถ่ินและความเปน็ ไทย ดว้ ยความตระหนัก
6 ออกกำลงั กาย เล่นเกม เล่นกฬี าไทยปฏิบัติ ยอมรบั ปฏบิ ัติตามกฎ กติกาและขอ้ ตกลง วิเคราะห์ทักษะการ
เลน่ เก่ียวกับกีฬาไทย กฬี าสากลประเภทบุคคลและทีม ผู้เลน่ ผูด้ ำเนนิ การ ความแตกต่างกลวธิ ีการเลน่ ตาม
กฎ กติกา ข้อตกลง เช่น กีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบคุ คลและประเภททมี ไดอ้ ยา่ งละ ๑ ชนดิ กลไกในการ
เล่นกีฬา ประโยชน์และหลกั การออกกำลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ สมรรถภาพทางกาย การสร้างเสริมบุคลิกภาพ กฎ
กติกา ตามชนิดกฬี าทีเ่ ลน่
7 มสี ติ รู้เท่าทันอารมณ์ รู้สาเหตุ ควบคมุ บรรเทา เขา้ ใจ เกยี่ วกับผลดแี ละผลเสยี ที่เกดิ ข้นึ ต่อตนเองและผู้อื่น
ขดี จำกัดดา้ นอารมณแ์ ละความรู้สึกเชน่ ปัจจัยทีม่ ีผลต่ออารมณ์ ความรู้สึก ผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นจากความเครียด
การควบคมุ ตนเอง สาเหตุของความเครยี ด วธิ แี ก้ปัญหาความเครยี ด สถานการณ์ทมี่ ีผลต่อออารมณ์และจิตใจ

120

กจิ กรรมคลายความเครยี ด สอ่ื เทคโนโลยที ่มี ีผลต่อตนเองท้ังทางบวกและทางลบโดยให้แสดงอารมณ์และ
ความรูส้ ึก
8 สร้าง แก้ไขความขดั แยง้ ไมใ่ ช้ความรุนแรง ยอมรบั เก่ียวกับครอบครวั เพอ่ื นและบุคคลท่เี ก่ยี วข้องกบั การใช้
ชีวิตประจำวัน เชน่ สมาชิกในครอบครัวและความรกั ความผกู พนั ของสมาชิกท่ีมีต่อกนั บทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง และ
สมาชิกในครอบครวั ความสำคัญของเพอ่ื น ความสำคัญ และความแตกต่างของครอบครัวท่ีมตี ่อตนเอง วธิ ีสร้าง
สัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพือ่ นคณุ ลักษณะของความเปน็ เพื่อนและสมาชิกท่ีดีของครอบครวั ความสำคญั
ของการมีครอบครัวท่อี บอุ่นตามวฒั นธรรมไทย พฤตกิ รรมทีพ่ ึงประสงค์ และไมพ่ งึ ประสงคใ์ นการแก้ไขปญั หาความ
ขดั แยง้ ในครอบครัวและกลุ่มเพื่อนด้วยการรกั ษาสมั พันธภาพทีด่ ี

121

กลุม่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา

 สาระสำคญั ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้

ความสำคญั ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
สังคมศึกษาเป็นศาสตร์บูรณาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ประกอบด้วยวิชาสำคัญคือ
ประวัตศิ าสตร์ ศลี ธรรม หนา้ ท่ีพลเมือง เศรษฐศาสตร์ และภูมศิ าสตร์ สงั คมศึกษามเี ป้าหมายสำคัญท่ีมุ่งพัฒนา
ผู้เรียนให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ พลเมืองท่ีมีลักษณะหลายระดับ ประกอบด้วยการเป็นพลเมืองของท้องถิ่น
พลเมืองไทย พลเมืองอาเซยี น พลเมอื งโลก และพลเมืองดิจทิ ัล มุ่งพฒั นาคุณภาพผู้เรียนใหม้ ีมุมมองหลากหลาย
และมีมโนทัศน์สำคัญสำหรับใช้ทำความเข้าใจโลกและชีวิตที่กว้างขวาง เป็นผู้มีความสามารถที่จะเรียนรู้
เพ่ิมพูนประสบการณ์ พฒั นาตนเอง และใชศ้ ักยภาพของตนอย่างร้เู ท่าทันการเปลย่ี นแปลง สามารถปรบั เปลย่ี น
เรยี นรู้ ตลอดจนรว่ มมอื กันเพอื่ สรา้ งการเปลยี่ นแปลงให้แกช่ ุมชนและสังคม
กลุม่ สาระการเรียนรู้นี้ มีสมรรถนะเฉพาะ ๗ สมรรถนะ ได้แก่
1. ประยุกต์ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหรือศาสนาอ่ืนที่ตนนับถือในชีวิตประจำวันอย่างมี
สตปิ ญั ญา สามารถชว่ ยเหลือผอู้ ื่นและอย่รู ว่ มกันอย่างสนั ตสิ ขุ
2. กำกับตนเองและตัดสินใจใช้จ่ายและใช้ทรัพยากรในฐานะผู้บรโิ ภคอย่างมีเป้าหมาย รับผิดชอบ
และรู้เท่าทนั เพ่ือนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและพอเพียงระดับโรงเรียน
และชมุ ชน
3. ใช้วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ดว้ ยการตรวจสอบและตัดสินขอ้ มลู หลกั ฐานโดยไม่ใช้อคติ เลือกใชแ้ ละ
แปลความหมายข้อมูลหลักฐาน ลำดับเหตุการณ์ ความต่อเนือ่ ง และความเปล่ียนแปลงของสังคม เพ่ือนำเสนอ
เร่ืองราว ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมของชุมชนท้องถ่ินไทยและสถาบันหลักของชาติ และสร้างสรรค์ต่อยอด
องคค์ วามรูใ้ นการพฒั นาทอ้ งถน่ิ และสังคมไทยอย่างภาคภมู ใิ จและเคารพในความแตกตา่ งหลากหลาย
4. ติดตาม คาดการณ์แนวโน้มการเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดล้อม ดำเนินชีวิตตามแนวทางของ
การพัฒนาท่ียั่งยืนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมในจังหวัด และภูมิภาคที่ตนอาศัยอยู่
ด้วยความเขา้ ใจในปรากฏการณ์การเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดล้อม และปฏิบตั ิสมั พนั ธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั สิ่งแวดลอ้ ม
โดยใชภ้ ูมสิ ารสนเทศทีเ่ กยี่ วข้อง
5. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าท่ี วิถีวัฒนธรรมของชุมชน กติกาทางสังคมอย่างรับผิดชอบ ปกป้อง
สิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น หาทางออกร่วมกันกับผู้เกี่ยวข้อง โดยใช้กระบวนการตามวิถีประชาธิปไตย
เข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะประโยชนข์ องโรงเรยี นและชุมชนด้วยความสมคั รใจ
6. รู้เท่าทันและจัดการอารมณ์ เวลา ความต้องการในการใช้ส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัลอย่าง
เหมาะสม ประเมินความน่าเชื่อถือและผลกระทบจากการใช้ส่ือสารสนเทศ สร้างและเผยแพรข่ ้อมูลสารสนเทศ
อย่างมีมารยาท เหน็ อกเหน็ ใจ ใหเ้ กียรติผ้อู ื่นและรับผดิ ชอบ เพ่อื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน
7. ติดตามและตรวจสอบข้อมูลข่าวสาร ระบุปัญหาและการเปล่ียนแปลงในโรงเรียนและชุมชน
กำหนดเป้าหมาย จัดลำดับสาเหตุ รวบรวมข้อมูล วางแผนวิธีการทำงานร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง ตัดสินใจลงข้อสรุป
และสะทอ้ นการแกป้ ญั หา
สมรรถนะเฉพาะท้ัง ๗ สมรรถนะดังกล่าว มีความสัมพนั ธเ์ ชือ่ มโยงกับสมรรถนะหลักทงั้ ๖ สมรรถนะ
และบูรณาการกนั เปน็ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ช่วงชัน้ ๑๐ ข้อ ซ่งึ เป็นเป้าหมายของช่วงชั้นนี้

122

ผลลัพธ์การเรียนรู้ช่วงช้ันท่ี ๒ ท้ัง ๑๐ ข้อ ดังกล่าว นำไปกำหนดเป็นผลลัพธ์การเรียนรู้ช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี ๔ – ๖ โดยต้องคำนึงถึงการบูรณาการสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะด้วย เพื่อให้เม่ือผู้เรียนบรรลุ
ผลลัพธก์ ารเรียนร้ชู นั้ ปแี ล้ว จะนำไปสูก่ ารบรรลุผลลัพธก์ ารเรียนรชู้ ่วงชน้ั ตามทีห่ ลักสูตรกำหนดไว้

ลกั ษณะเฉพาะ/ ธรรมชาตขิ องกลุ่มสาระการเรยี นรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้น้ี ว่าด้วยการศึกษาอย่างเป็นระบบเพื่อทำความเข้าใจตนเองและสังคม โดยการ
ปฏิบัติตนตามหลกั ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาอ่ืนท่ีตนนบั ถือด้วยสำนึกที่ดี ทไี่ ด้รบั การปลูกฝัง การพฒั นา
ระบบความคิด พิจารณา ไตร่ตรองก่อนตัดสินใจทำส่ิงใด ๆ ทำให้เป็นผู้มีจิตใจดีท่ีส่งผลต่อการคิดดี พูดดี และ
ทำแต่สิ่งที่ดี อันเป็นประโยชน์และสร้างสันติสุขท้ังต่อตนเอง ผู้อื่น และส่วนรวม หาคำตอบเก่ียวกับเรื่องราว
ท่ีเกิดขนึ้ ในอดีต ทำใหเ้ ข้าใจสงั คมในอดีตได้ใกลเ้ คียงกับความเป็นจรงิ มากที่สดุ เพือ่ นำมาเสริมสร้างความเขา้ ใจ
ในสังคมปัจจุบันท่ีมีรากประวัติศาสตร์ซ่ึงเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสถาบันหลัก อันได้แก่ ชาติ ศาสนา และ
พระมหากษตั รยิ ์ โดยเฉพาะความภาคภูมิใจในครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ อันส่งผลต่อ
พฤติกรรมในการใช้ชีวิตและอยู่รว่ มกับผอู้ ื่นได้อย่างเหมาะสม การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และสิทธิเสรีภาพ
ในการอยู่รว่ มกัน รวมไปถึงความรับผิดชอบต่อตนเองในการใช้จ่าย และการใช้ทรพั ยากรโดยคำนึงถึงผลกระทบ
ตอ่ ตนเองและสิง่ แวดล้อม อันจะนำไปสกู่ ารเปน็ สมาชิกทด่ี ีของประเทศชาติ
การออกแบบกรอบคิดหลักของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา สอดรับกับกรอบคิดของกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ การดำเนินการเรียนรู้ให้ไปถึงสมรรถนะท้ัง ๖ ประการ ได้นั้น ต้องอาศัยการปฏิบัติทั้งกายภาวนา ศีล
ภาวนา จิตภาวนา ปัญญาภาวนา ซึ่งสามารถท่ีจะถ่ายทอดศีลธรรมไปสู่ชีวิตตามทฤษฎีและหลักการในการ
เรียนรูต้ า่ ง ๆ
การปฏิรูปการเรียนรู้สังคมศึกษา เป็นการศึกษาถึงคุณค่าของความเป็นมนุษย์และการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมในฐานะเป็นพลเมืองของชาติภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ
ของโลกซ่ึงรว่ มสรา้ งประวัติศาสตร์ ใหเ้ กิดความมัน่ คงทางสงั คมโดยมศี ีลธรรมตามท่ีปรากฏในพระพุทธศาสนา
และศาสนาอื่นเป็นฐาน (ตามมาตรา ๖๗ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มสาระ
การเรียนรู้นี้ ช่วยใหผ้ เู้ รียนใชช้ ีวิตท้ังในฐานะปัจเจกบคุ คล และการอยู่ร่วมกนั ในสังคม เปน็ พลเมืองดี
สำหรบั ช่วงชนั้ ที่ ๒ ไดจ้ ดั ผลลพั ธ์การเรยี นร้ชู ่วงชัน้ เปน็ ๔ หัวข้อ ดงั นี้
ศาสนธรรมนำทางชีวิต เป็นการบูรณาการให้นักเรียนได้ประยุกต์ใช้หลักธรรมของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาอ่ืนที่ตนนับถือ มีสติ สมาธิในการศึกษาและทำกิจวัตรประจำวัน ใช้สติปัญญาในการช่วยเหลือ
เก้อื กลู และแก้ปัญหาในชีวติ ของตนเอง
การวางแผนการเงินและการใช้ทรัพยากร เป็นการบูรณาการให้นักเรียนได้วางแผนการใช้จ่ายของ
ตนเองและครอบครัว ลดค่าใช้จ่าย รู้เท่าทันโฆษณา ตดั สินใจเลือกใชท้ รัพยากรในชวี ิตประจำวัน วางแผนและ
กำหนดการใช้ทรัพยากรของครอบครัวและโรงเรยี นอย่างคำนึงถงึ หลักพอเพียง และความยั่งยืน
ประเทศไทยและเพ่ือนบ้าน เป็นการบูรณาการให้นักเรียนใช้ค้นหา เชื่อมโยงหลักฐาน ตีความ
และนำเสนอผลการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวในอดีตของครอบครัว ชุมชนของตนเองและชุมชนอื่นที่มีบริบท
แตกต่างกันไป ศึกษาการเกิดขึ้นของรัฐโบราณ ศึกษาประวัติศาสตร์สังคม ผู้คน และดินแดนต่าง ๆ
ท้ังในประเทศและประเทศเพ่ือนบ้าน นำไปสู่การปฏิบัติตนท่ีแสดงถึงความภาคภูมิใจในครอบครัว โรงเรียน
ชุมชน และประเทศชาติ

123

รู้เท่าทันส่ือ เท่าทันตนเอง เท่าทันสังคม เป็นการบูรณาการให้ผู้เรียนตระหนักและเท่าทันความคิด
ของตนเอง ท่ีได้รับอิทธิพลจากสื่อและค่านิยมของสังคม เท่าทันส่ือโฆษณา มีวิจารณญาณในการเลือก
สรา้ งและสง่ ต่อสื่อสารสนเทศ ใช้สื่อสงั คมออนไลนเ์ พื่อนำเสนอความคดิ หรือผลปฏิบตั ิที่เป็นตวั อย่างได้

การนำไปใช้ในชวี ติ จริง
จา ก ก าร ฝึ ก ฝ น ให้ ผู้ เรีย น ไ ด้ ใช้ ศ าส น ธร ร ม เป็ น แ น วท าง ใน ก าร ป ฏิ บั ติ ต น ให้ ส าม าร ถ ดู แ ล ต น เอ ง
ในชวี ิตประจำวันอยา่ งเปน็ ปกติสุข
จากการพัฒนาคุณสมบัติการเป็น “นักประวัติศาสตร์ท่ีดี กล่าวคือ รู้จักสังเกต ไต่ถาม จดจำและนำ
สิ่งที่ศึกษาจดจำมาได้ มาวิเคราะห์หาเหตุผลท่ีถูกต้องต่อไป” (หนังสือสายธารประวัติวิทยา, สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) ฝึกฝนใช้กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของครอบครัว โรงเรียน
ชุมชน ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน ท้องถ่ินและสถาบันหลักของชาติ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์ ทำให้ผู้เรียนมีสมรรถนะในการส่ือสารด้วยภาษา เพ่ือค้นหาข้อเท็จจริงจากแหล่งข้อมูล
ท่ีน่าเชื่อถือ อาศัยการคิดขั้นสูงเพื่อวิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซ่ึงผู้เรียนสามารถ
นำไปใช้ในการทำความเขา้ ใจและคน้ หาขอ้ มูลเรื่องราวต่าง ๆ ท่ตี นเองอยากหาคำตอบ
จากการฝึกฝนให้ผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติสุข ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
ทางความคดิ ความเช่อื และการปฏบิ ัติของบุคคล เข้าใจการอยู่ร่วมกนั ตามกฎ กตกิ า และข้อตกลง ตระหนักถึง
ความสัมพันธ์ระหวา่ งตนเองกบั สงิ่ แวดล้อมที่ตอ้ งรว่ มกนั ดแู ลรักษา นำไปสู่การทำตนให้เป็นประโยชน์ ร่วมรับรู้
และแก้ปัญหาโดยไมส่ รา้ งความเดือดรอ้ นให้กบั ตนเองและผู้อืน่ และไม่ส่งผลเสียตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม
จากการฝึกฝนเร่ืองการออม การวางแผนและใช้เงิน รวมท้ังใช้ทรัพยากรอย่างมีสติ ตระหนักถึง
ผลที่เกิดข้ึนจากการใช้เงินและใช้ทรัพยากรของตนเอง ช่วยลดปัญหาทางการเงินและการใช้ทรัพยากรอย่างไม่รู้
คณุ ค่า ทจี่ ะเกิดขนึ้ ในอนาคต ท้งั ในระดับตนเอง และครอบครวั
การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ

ภาษาไทย/ ภาษาต่างประเทศ สามารถจัดสถานการณ์จากการฟัง การอ่านวรรณกรรม
สำหรับเด็ก นิทาน ตำนาน เรื่องราวเก่ียวกับบุคคลสำคัญในอดีตที่หลากหลาย ซึ่งมีราก ฐานมาจาก
พระพุทธศาสนาและศาสนาอ่ืน วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ รวมถึงประเพณีที่ดีงาม โดยใช้คำศัพท์และเรือ่ งราว
เกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมาและวิถีชีวิตในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน พัฒนาความสามารถในการอ่าน
การตั้งคำถามเพื่อสืบค้นขอ้ มูล การบันทึกและสรุปข้อมูล ตลอดจนการใช้ภาษาเพ่ือการนำเสนอเร่ืองราวท่ีตน
สนใจได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม

คณิตศาสตร์ สามารถใช้ทักษะการอ่านและแปลข้อมูลจากสถิติอย่างง่ายเพื่อทำความเข้าใจ
เร่ืองราวรอบตัว สามารถบูรณาการร่วมกันในเรื่องการคำนวณเงินเพ่ือวางแผนการใช้จ่ายและใช้ทรัพยากร
ให้คุ้มค่า และบูรณาการในเร่ืองการอ่านปฏิทินและการคำนวณเวลาเพ่ือเช่ือมโยงการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ทางวฒั นธรรมประเพณใี นรอบปีและการทำความเขา้ ใจประวัตคิ วามเปน็ มาของครอบครวั โรงเรียนและชุมชน

ศลิ ปะ สามารถใช้จินตนาการในการสร้างสรรค์งานศิลปะที่ส่อื เร่ืองราวทมี่ ีความหมายและมีคุณค่า
ต่อความคิด ความสนใจ และความรู้สึกจากสถานการณ์และเหตุการณ์ต่าง ๆ รอบตัว เพื่อให้การส่ือสาร
มีความชัดเจน และนา่ สนใจมากข้ึน

สุขศึกษาและพลศึกษา สามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมศีลธรรม เพ่ือเสริมสร้างสมรรถภาพจิต
ในการอยู่ร่วมกันกับผู้อ่ืน สามารถจัดการอารมณ์และความรู้สึกอย่างรู้เท่าทัน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรัก
ความสามัคคีรู้จักให้อภัย ร่วมสร้างบรรยากาศแห่งความเข้าใจและการพึ่งพาซึ่งกันและกันในการร่วม กัน
แกป้ ญั หาความขัดแยง้ ในฐานะทเี่ ป็นสมาชิกของครอบครวั โรงเรยี นและชมุ ชน

124

วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ สามารถจัดกิจกรรมบูรณาการในประเด็นเกี่ยวกับทรัพยากร

และสิ่งแวดล้อม รับรู้และเข้าใจระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์กับธรรมชาติในห่วงโซ่ที่เกื้อกูลกัน เพื่อการปฏิบัติตน
ใหเ้ หมาะสม อนรุ ักษ์ธรรมชาติ และพรอ้ มรับมือกบั ภัยพิบัติ
 ความสัมพันธร์ ะหว่างสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะ

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั

๑. ประยุกต์ใชห้ ลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาอน่ื ท่ีตนนับถอื ในชีวิตประจำวนั อย่างมีสติปญั ญา

สามารถช่วยเหลอื ผ้อู ื่นและอย่รู ่วมกนั อยา่ งสันตสิ ขุ

๑.๑ มสี ติ สมาธิ ในการศกึ ษาและทำกิจวตั รประจำวัน จดั การอารมณ์ ๑. การจัดการตนเอง

และความรูส้ กึ ของตนเองโดยการพฒั นากาย วาจา ใจ ตามแนวทาง ๒. การคิดขนั้ สูง

ของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาอืน่ ท่ตี นนบั ถอื ๓. การส่อื สาร

๑.๒ ปฏบิ ตั ิตามหลกั กุศลกรรมบถ ๑๐ หรอื หลกั ปฏิบตั ิตามคำสอน ๔. การรวมพลังทำงานเป็นทมี

ในศาสนาอน่ื ท่ีตนนับถอื ๕. การเป็นพลเมืองทีเ่ ข้มแขง็

๑.๓ ใชป้ ญั ญาในการชว่ ยเหลือเกอื้ กูลและแกป้ ัญหาในชีวิตของตนเอง ๖. การอยู่รว่ มกับธรรมชาติ

หม่คู ณะ และสังคมอยา่ งมโี ยนิโสมนสิการ ตลอดถึงส่งิ แวดล้อมรอบตวั และวทิ ยาการอยา่ งย่ังยนื

เพ่ืออย่รู ว่ มกนั อย่างสันติสขุ

๑.๔ อ่อนน้อมถ่อมตน มีมุทติ ารู้จกั ชนื่ ชมยนิ ดีในความสำเรจ็ ของผู้อ่นื

ใชห้ ลกั สนั ตวิ ิธีในการส่ือสาร การทำงานและอยรู่ ่วมกับผอู้ นื่

ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลเมอื งโลก บนพื้นฐานของหลกั ธรรม

ในพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาอน่ื ที่ตนนับถือ

๑.๕ สง่ เสริมและอนรุ กั ษ์ธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ มและใช้เทคโนโลยี ให้เกิด

ประโยชน์และมีคณุ คา่ ต่อการเรยี นร้แู ละการดำเนินชีวติ อยา่ งพอเพยี ง

๒. กำกบั ตนเองและตัดสนิ ใจใช้จา่ ย และใช้ทรพั ยากรในฐานะผบู้ รโิ ภคอย่างมีเปา้ หมาย รบั ผดิ ชอบ

และรเู้ ท่าทนั เพอ่ื นำไปสกู่ ารมีส่วนรว่ มในการจัดการทรัพยากรอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและพอเพียง ระดบั

โรงเรยี นและชุมชน

๒.๑ วางแผนการใช้จา่ ยของตนเองและครอบครัวอยา่ งเหมาะสมและมวี นิ ัย ๑. การจัดการตนเอง

ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว ตดั สนิ ใจบรโิ ภคอย่างร้ทู นั โฆษณา ติดตาม ๒. การคิดขน้ั สงู

และตรวจสอบข้อมูลข่าวสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการบริโภค ๓. การสอ่ื สาร

ในชวี ิตประจำวนั และกฎหมายคมุ้ ครองสิทธผิ ้บู ริโภค วางแผน ๔. การรวมพลงั ทำงานเป็นทมี

การออมเงินของตนเองอย่างมีเปา้ หมาย ๕. การเปน็ พลเมอื งท่ีเข้มแข็ง

๒.๒ จดั ลำดบั ความสำคัญเพื่อตัดสินใจเลอื กใชท้ รัพยากรในชวี ิตประจำวนั

หาทางออกรว่ มกันกับผู้เก่ยี วข้องในการจัดการทรัพยากรของครอบครวั

และโรงเรียน อย่างประหยัด ค้มุ ค่า และพอเพียง ด้วยความตระหนักถงึ

ผลกระทบของการใช้ทรพั ยากรที่มตี ่อตนเอง และสว่ นรวม

125

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก

๓. ใชว้ ธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ดว้ ยการตรวจสอบและตดั สินขอ้ มูลหลกั ฐานโดยไม่ใชอ้ คติ เลอื กใช้และแปล

ความหมายขอ้ มูลหลักฐาน ลำดับเหตุการณ์ ความตอ่ เนอื่ ง และความเปลี่ยนแปลงของสงั คม เพอื่

นำเสนอเรื่องราว ภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่นไทยและสถาบนั หลักของชาติ

และสรา้ งสรรค์ต่อยอดองคค์ วามรใู้ นการพัฒนาท้องถ่นิ และสังคมไทยอยา่ งภาคภูมิใจและเคารพ

ในความแตกต่างหลากหลาย

๓.๑ สบื คน้ คำตอบของเรอ่ื งราว ประวัติความเปน็ มา วถิ ีชีวิตและบคุ คล ๒. การคิดขัน้ สูง

จับประเดน็ สำคัญ ลำดับเหตกุ ารณท์ ีแ่ สดงพัฒนาการทางประวตั ศิ าสตร์ ๓. การสื่อสาร

และความต่อเนอื่ งจากอดตี ถงึ ปัจจบุ นั ของจังหวดั ภูมภิ าคทตี่ นอาศยั อยู่ ๕. การเปน็ พลเมืองที่เขม้ แขง็

และประเทศ พัฒนาการสถาบันพระมหากษตั รยิ ์กับชาตไิ ทย

นำเสนอเรอื่ งราวที่สบื คน้ โดยแสดงข้อมลู และแหล่งหลกั ฐานทเี่ กีย่ วข้อง

ดว้ ยวิธกี ารท่ีหลากหลาย อย่างเห็นคุณค่าและภาคภูมิใจ และทำกิจกรรมใน

ชีวติ ประจำวันทแี่ สดงถงึ ความตระหนักของผลการกระทำในอดตี

ทมี่ ีตอ่ ปัจจุบัน และผลของการกระทำในปัจจุบันท่ีมผี ลต่ออนาคต

๓.๒ วิเคราะหค์ วามคลา้ ยคลงึ และความแตกต่างของวฒั นธรรมไทย

ในภูมภิ าคตา่ ง ๆ และประเทศเพ่อื นบา้ น เคารพความแตกต่าง

หลากหลายทางวฒั นธรรมของผู้คนในแตล่ ะทอ้ งถ่ินของไทย

และประเทศเพอื่ นบา้ น

๔. ติดตาม คาดการณ์แนวโน้มการเปลยี่ นแปลงของสิ่งแวดล้อม ดำเนินชวี ติ ตามแนวทางของ

การพัฒนาท่ียงั่ ยืน มีสว่ นร่วมในการบริหารจดั การทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อมในจงั หวดั และภมู ภิ าค

ทต่ี นอาศัยอยู่ ดว้ ยความเขา้ ใจในปรากฏการณก์ ารเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม และปฏบิ ตั สิ ัมพันธ์

ระหวา่ งมนุษย์กับส่งิ แวดล้อม โดยใชภ้ มู ิสารสนเทศที่เก่ียวข้อง

๔.๑ ตงั้ คำถาม สบื คน้ วเิ คราะห์และสรุปขอ้ มูลวถิ ีการดำเนินชวี ิตของคน ๑. การจัดการตนเอง

ในจงั หวดั ภมู ิภาคที่ตนอาศัยอยู่ และประเทศไทย ท่เี ป็นผลมาจาก ๒. การคิดขัน้ สูง

อิทธิพลของส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพ ดว้ ยการใช้แผนท่ี รปู ถา่ ย ภาพถ่าย ๓. การสือ่ สาร

ทางอากาศและภาพจากดาวเทียม ดว้ ยความเข้าใจอิทธิพลของ ๔. การรวมพลังทำงานเปน็ ทมี

สิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพทมี่ ีผลต่อการดำเนินชีวิต ๕. การเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง
๔.๒ ตดิ ตาม คาดการณ์แนวโน้มการเปล่ียนแปลงของสง่ิ แวดลอ้ ม ๖. การอยูร่ ่วมกับธรรมชาติ

และภยั พิบัติ มสี ว่ นร่วมในการปอ้ งกัน แก้ปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม และวิทยาการอย่างย่ังยืน
และรับมอื กับภัยพิบัติในชมุ ชนโดยกำหนดแนวทางและบอกเหตผุ ล

ทเ่ี ลือกแนวทางนัน้ ดว้ ยความเข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งสิ่งแวดลอ้ มกบั

การดำเนินชีวติ ของคนในจงั หวดั ภูมิภาคท่ีตนอาศัยอยู่

และประเทศไทย

126

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก

๕. ปฏิบตั ติ นตามบทบาทหน้าท่ี วถิ ีวฒั นธรรมของชุมชน กติกาทางสังคมอยา่ งรับผิดชอบ ปกป้องสิทธิเสรภี าพ

ของตนเองและผู้อื่น หาทางออกรว่ มกันกับผู้เกยี่ วข้อง โดยใชก้ ระบวนการตามวถิ ีประชาธปิ ไตย เข้าร่วม

กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ของโรงเรียนและชุมชนดว้ ยความสมัครใจ

๕.๑ ปฏบิ ตั ติ นอย่างเหมาะสมตามบทบาทหน้าท่ี ระเบียบ กฎ กตกิ า และ ๑. การจดั การตนเอง

วถิ ีวัฒนธรรมของชุมชนและทอ้ งถ่ินดว้ ยความรับผิดชอบต่อสงั คม ๒. การคิดข้ันสูง

ชื่นชมการทำความดขี องบคุ คลในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน ร่วมกนั ๓. การส่อื สาร

หาทางออกกบั ผ้เู กีย่ วขอ้ งในการแก้ปัญหาหรือความขัดแย้ง ๔. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม

ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยใชก้ ระบวนการประชาธปิ ไตย ศรัทธา ๕. การเป็นพลเมืองทเ่ี ข้มแข็ง
และปฏบิ ัตติ ามหลักการเปน็ พลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ พระประมุข วเิ คราะหก์ ารเปล่ยี นแปลง

ที่เกิดขึ้น แสวงหาแนวทางแกป้ ัญหารว่ มกันและยอมรบั

ผลจากการตัดสนิ ใจร่วมกัน

๕.๒ ติดตามข่าวสารและตรวจสอบขอ้ มูลเก่ยี วกบั ข่าวสาร เหตกุ ารณ์

สถานการณ์ที่เกดิ ขนึ้ ในสงั คม เพอื่ รบั มอื ปอ้ งกนั และแก้ปัญหา

ในการดำเนนิ ชีวติ

๕.๓ ปกป้องสิทธิเสรีภาพของตนเองและผ้อู นื่ เคารพในความหลากหลายของ

บคุ คล ไมก่ ลัน่ แกล้งเพอื่ นทางร่างกาย วาจา และความสมั พันธ์

ทางสังคม (Social bullying)

๕.๔ ให้เกยี รติ เห็นอกเห็นใจผู้อื่น (Empathy) ช่วยเหลือผอู้ ื่นในสถานการณ์

ต่าง ๆ ไม่ด่วนตัดสนิ ผอู้ ื่นโดยใชอ้ คติ แบง่ ปันส่ิงของตา่ ง ๆ ของตนให้กบั

ผู้อน่ื ตามความเหมาะสม

๕.๕ ปฏบิ ัติตนได้อย่างถกู ต้องที่แสดงถงึ การเคารพสถาบันหลกั และ

สัญลกั ษณ์ของชาตไิ ทย และเข้าร่วมกจิ กรรมเปน็ อาสาสมคั ร

ดว้ ยความรสู้ กึ วา่ เปน็ สมาชิกของชมุ ชน ตามกำลังของตน

๖. รู้เทา่ ทันและจัดการอารมณ์ เวลา ความต้องการใช้ส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัลอย่างเหมาะสม ประเมิน

ความน่าเชื่อถือและผลกระทบจากการใชส้ อ่ื สารสนเทศ สรา้ งและเผยแพรข่ ้อมูลสารสนเทศอยา่ งมี

มารยาท เห็นอกเห็นใจ ใหเ้ กียรตผิ อู้ ืน่ และรบั ผดิ ชอบ เพื่อให้เกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและชมุ ชน

๖.๑ รเู้ ทา่ ทันสือ่ สารสนเทศ และดิจิทัล ท่มี ตี ่อการหลอ่ หลอมค่านยิ ม ๑. การจดั การตนเอง

ให้แก่สังคม และสง่ ผลตอ่ การปฏิบัติตนของตนเอง ๒. การคดิ ขนั้ สูง

๖.๒ รับร้แู ละจดั การอารมณ์ ความรสู้ ึกของตนเองในการใชส้ อ่ื สารเทศและ ๓. การสื่อสาร

ดิจิทัล ๕. การเปน็ พลเมอื งท่เี ข้มแขง็

๖.๓ ประเมนิ ความน่าเชอื่ ถอื คาดการณ์ผลกระทบท่ีตามมาจากการใชส้ ่อื

สารสนเทศ และเลือกแนวทางปฏบิ ัตไิ ด้อย่างเหมาะสม

127

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก

๗. ติดตามและตรวจสอบข้อมลู ขา่ วสาร ระบุปัญหาและการเปลี่ยนแปลงในโรงเรยี นและชุมชน

กำหนดเป้าหมาย จัดลำดับสาเหตุ รวบรวมข้อมูล วางแผนวิธกี ารทำงานรว่ มกับผู้เกี่ยวข้อง ตดั สินใจลง

ข้อสรุป และสะทอ้ นการแก้ปัญหา

๗.๑ ตดิ ตามและตรวจสอบข้อมูลขา่ วสารทัง้ แหลง่ ขอ้ มลู เจา้ ของแหลง่ ข่าว ๒. การคดิ ขน้ั สูง

เพอื่ ประเมนิ ความน่าเชื่อถือ สาระสำคัญ และคัดสรรสารสนเทศ ๓. การส่ือสาร

ไปใช้ประโยชน์กบั ชีวิตของตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน ๔. การรวมพลังทำงานเป็นทมี

๗.๓ จัดกระทำข้อมูลสารสนเทศ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและการเปลี่ยนแปลง ๕. การเป็นพลเมืองทเี่ ขม้ แข็ง

เพื่อออกแบบและวางแผนปฏิบัติการ ดำเนินการตามแผน แล้วสะท้อน

ผลการทำงาน

 ผลลพั ธ์การเรียนรู้เมอ่ื จบชว่ งช้นั ที่ ๒

1. มสี ติ สมาธิ ในการศึกษาและทำกิจวตั รประจำวนั จดั การอารมณแ์ ละความรู้สึกของตนเองโดยการพฒั นากาย
วาจา ใจ ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ และปฏิบัตติ ามหลักกุศลกรรมบถ ๑๐ หรอื หลกั ปฏิบตั ิตามคำ
สอนในศาสนาอื่นทีต่ นนับถือ

2. สามารถใช้ปัญญาในการช่วยเหลือเกื้อกูลและแก้ปัญหาในชีวิตของตนเอง หมู่คณะ และสังคม ตลอดถึง
สิ่งแวดล้อมรอบตัวเพ่ืออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ใช้หลักสันติวิธีในการสื่อสาร
การทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก บนพ้ืนฐานของหลักธรรม
ทางพระพุทธศาสนาและศาสนาท่ีตนนับถือ รวมท้ังส่งเสริมและอนุรักษ์ธรรมชาติส่ิงแวดล้อมและใช้
เทคโนโลยีใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละมีคณุ คา่ ตอ่ การเรยี นรูแ้ ละการดำเนนิ ชวี ิตอยา่ งพอเพียง

3. วางแผนการใช้จ่ายของตนเองและครอบครัวอย่างเหมาะสมและมีวินัย ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว
ตัดสินใจบริโภคอย่างรู้ทันโฆษณา ส่ือและสารสนเทศของสินค้าและบริการ ติดตามและตรวจสอบข้อมูล
ขา่ วสารท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการบรโิ ภคในชีวิตประจำวนั และกฎหมายคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค วางแผนการออมเงิน
ของตนเองอยา่ งมีเปา้ หมาย

4. จัดลำดับความสำคัญเพ่ือตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรในชีวิตประจำวัน หาทางออกร่วมกันกับผู้เกี่ยวข้อง
ในการตัดสินใจกำหนดเป้าหมายและการปฏิบัติเพ่ือการจัดการทรัพยากรของครอบครั วและโรงเรียน
อยา่ งประหยัด คมุ้ ค่า และพอเพียง ด้วยความตระหนักถึงผลกระทบของการใช้ทรัพยากรที่มีต่อตนเอง และ
สว่ นรวม

5. สืบค้นคำตอบของเรื่องราว ประวัติความเป็นมา วิถีชีวิตและบุคคล จับประเด็นสำคัญ ลำดับเหตุการณ์
ที่แสดงพัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์และความต่อเน่ืองจากอดีตถึงปัจจุบันของจังหวดั ภูมิภาคท่ีตนอาศัยอยู่
และประเทศ นำเสนอเร่ืองราวที่สืบค้นโดยแสดงข้อมูลและแหล่งหลักฐานท่ีเกี่ยวข้องด้วยวิธีการ
ท่ีหลากหลาย และทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันอย่างเห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในความเป็นท้องถิ่นและ
ความเป็นไทย แสดงถึงความตระหนักของผลการกระทำในอดตี ท่มี ีตอ่ ปจั จุบัน ผลของการกระทำในปัจจุบัน
ที่มีผลตอ่ อนาคต และการเคารพความแตกต่างหลากหลายทางวฒั นธรรมของผู้คนในแต่ละท้องถ่ินของไทย
ตลอดจนปฏบิ ตั ติ นไดอ้ ยา่ งถกู ต้องแสดงถงึ การเคารพสถาบันหลัก และสัญลักษณ์ของชาติไทย

6. วิเคราะห์ความคลา้ ยคลึงของวัฒนธรรมไทยกับประเทศเพ่ือนบ้านจากการอ่านเร่ือง ดูภาพ หรอื แลกเปลี่ยน
ประสบการณ์กับบุคคล และสื่อสารในโลกจริงและโลกเสมือนอย่างเคารพความแตกต่างหลากหลาย
ทางวฒั นธรรมในประเทศเพอื่ นบา้ น

128

7. ต้ังคำถาม สืบค้น วิเคราะห์และสรุปข้อมูลวิถีการดำเนินชีวิตท่ีเป็นผลมาจากอิทธิพลของส่ิงแวดล้อม
ทางกายภาพ ติดตาม คาดการณ์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติในจังหวัด ภูมิภาค
ท่ีตนอาศัยอยู่ และประเทศไทย ด้วยการใช้แผนท่ี รูปถ่าย ภาพถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม
เข้าร่วมกิจกรรม ร่วมเป็นอาสาสมัครในการป้องกัน แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม และรับมือกับภัยพิบัติในชุมชน
โดยร่วมกันกำหนดแนวทาง วางแผนขั้นตอนการทำงาน บอกเหตุผลท่ีเลือกแนวทางนั้น และอธิบายผลดี
และผลเสียที่เกิดขึ้นต่อตนเองและผู้อ่ืน ท่ีแสดงถึงความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงแวดล้อมกับการ
ดำเนนิ ชีวิต

8. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมตามบทบาทหน้าที่ ระเบียบ กฎ กติกา และวิถีวัฒนธรรมของชุมชนและท้องถ่ิน
ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม ช่ืนชมการทำความดีของบุคคลในครอบครัว โรงเรยี นและชุมชน ปกปอ้ งสิทธิ
เสรีภาพของตนเองและผู้อื่น เคารพในความหลากหลายของบุคคล ไม่กล่ันแกล้งเพ่ือนทางร่างกาย วาจา
และความสัมพันธ์ทางสังคม (Social bullying) ให้เกียรติ เห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน (Empathy) ช่วยเหลือผู้อื่น
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ไม่ด่วนตัดสินผู้อ่ืนโดยใช้อคติ แบ่งปันส่ิงของต่าง ๆ ของตนให้กับผู้อ่ืนตามความเหมาะสม
โดยไม่สร้างความเดือดร้อนตอ่ ตนเอง ผูอ้ ่นื และส่วนรวม

9. ติดตามข่าวสารและตรวจสอบข้อมูลเก่ียวกับข่าวสาร เหตุการณ์ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคม เพื่อรับมือ
ป้องกันและแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และร่วมกันหาทางออกกับผู้เกย่ี วข้องในการแก้ปัญหาหรือความขัดแย้ง
ในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กระบวนการตามวิถีประชาธิปไตย วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นและยอมรับ
ผลจากการตัดสินใจร่วมกัน รวมท้ังเข้าร่วมกิจกรรมเป็นอาสาสมัครด้วยความรู้สึกว่าเป็นสมาชิกของชุมชน
ตามกำลังของตน

10. รู้เท่าทันและจัดการอารมณ์ เวลา ความต้องการในการใช้ส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัลอย่างเหมาะสม
ประเมนิ ความนา่ เชื่อถอื และผลกระทบจากการใช้สอ่ื สารสนเทศ สรา้ งและเผยแพร่ขอ้ มูลสารสนเทศอย่างมี
มารยาท เห็นอกเหน็ ใจ ให้เกียรตผิ อู้ ่นื และรับผดิ ชอบ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อตนเองและชมุ ชน

 ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้รายชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4

1. มสี ตสิ มาธิ ปฏิบัติ ทำกจิ วตั รประจำวนั ตามหลักกุศลกรรมบถ ๑๐ หลักปฏิบัติตามคำสอนในศาสนา เชน่
หลกั ธรรมสำคญั ของ โดยสังเขป ลกั ษณะสำคญั ของศาสนพธิ ี พิธกี รรมของศาสนา ในศาสนสถาน ศาสนพธิ ี
พธิ ีกรรม กจิ กรรมวนั สำาคัญทางศาสนาโดยการพฒั นากาย วาจา ใจ

2. ใช้ปญั ญาช่วยเหลอื แกป้ ญั หา สื่อสาร สง่ เสรมิ และอนุรกั ษส์ ่ิงแวดล้อมรอบตวั พลเมอื งไทยและพลเมืองโลก
หลักธรรมทางพทุ ธศาสนาและ ศาสนาทตี่ นนบั ถอื ธรรมชาติสิง่ แวดลอ้ ม เทคโนโลยี เช่น วฒั นธรรมทแี่ ตกต่าง
กนั ระหวา่ งกลมุ่ คนในสงั คมไทย สงั คมโลก และอย่รู ว่ มกันอยา่ งสันติสขุ ดว้ ยความอ่อนน้อมถ่อมตน
3 วางแผน ใชจ้ ่ายบรโิ ภคอย่างรทู้ นั ชว่ ยลด ตรวจสอบข้อมูล โฆษณา ส่อื และสารสนเทศของสนิ คา้ และบรกิ าร
ขา่ วสารทีเ่ กีย่ วขอ้ ง การบริโภคในชีวิตประจำวัน กฎหมายคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค การออมเงนิ เชน่ รายรับ
รายจ่าย ของตนเอง ครอบครวั อย่างเหมาะสมและมวี ินัย
4 ติดตามขอ้ มูลขา่ วสารและ ปัญหาทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับตวั เอง ครอบครัว เพื่อนรว่ มช้ันเรยี น และโรงเรยี น มีส่วน
ร่วม ในกจิ กรรมส่วนรวมตา่ ง ๆ ในระดับชั้นเรียนหรือโรงเรยี น ทเ่ี หมาะสมตามวยั จัดลำดบั เลือกใช้ ตัดสินใจ
กำหนดปฏบิ ัติ จดั การ จัดลำดบั เลือกใช้ ตดั สินใจ กำหนดความสำคญั ทรพั ยากรในชีวิตประจำวนั ทรัพยากร
ของครอบครัวและโรงเรียนผลกระทบของการใช้ทรัพยากรทมี่ ีตอ่ ตนเอง และสว่ นรวม เช่น การนำทรัพยากรที่
มอี ยู่มาใช้ประโยชน์ ดว้ ยความตระหนัก

129

5. สบื คน้ จับประเดน็ สำคญั ลำดบั เหตกุ ารณ์แสดง นำเสนอ วธิ กี าร ทำกิจกรรม ปฏบิ ัติเก่ียวกบั เรอ่ื งราว
ประวัตคิ วามเป็นมา วิถชี ีวติ และบุคคลทางประวัตศิ าสตรแ์ ละความต่อเนือ่ งจากอดีตถงึ ปัจจุบนั ของจังหวัดสตูล
ภมู ิภาคใต้ที่ตนอาศยั อยู่ และประเทศ กจิ กรรม ในชวี ติ ประจำวันด้วยการ เหน็ คุณค่า ภาคภูมใิ จ และ
ตระหนกั รวททงั้ รับผดิ ชอบและปฏบิ ัติตน อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าท่ีตนเองในฐานะสมาชกิ ของ
ครอบครวั ชน้ั เรยี น และโรงเรียน เคารพตอ่ สถาบนั หลักของชาติ
6 วเิ คราะห์ อ่านเรือ่ ง ดูภาพ แลกเปลย่ี นส่อื สาร เกยี่ วกบั ความคลา้ ยคลึงวฒั นธรรมไทยประเทศเพ่อื นบา้ น
ความแตกตา่ งหลากหลาย ทางวฒั นธรรมในประเทศเพือ่ นบ้าน เชน่ ใชแ้ ผนทแี่ สดงทีต่ ัง้ และอาณาเขตของ ประ
เทษไทยกบั ประเทศเพื่อนบา้ นอยา่ งเคารพความแตกตา่ งหลากหลาย อย่างเคารพความแตกตา่ งหลากหลาย
และตระหนักถึงความแตกตา่ งระหวา่ งตนเอง กับบุคคลใกล้ตัวทีส่ ง่ ผลตอ่ การส่ือสาร
7. ตัง้ คำถาม สบื ค้น วิเคราะห์ สรปุ ติดตาม คาดการณร์ ว่ ม วางแผนทำงาน อธิบายเข้าใจ ดำเนนิ เปลีย่ นแปลง
ใช้ ปอ้ งกัน แกป้ ญั หา รับมือ เก่ยี วกับผลมาจากอิทธพิ ลสิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพ สง่ิ แวดลอ้ มและภัยพิบัติใน
จังหวดั ภมู ภิ าคทต่ี นอาศยั อยู่ และ ประเทศไทย แผนท่ี รูปถ่าย ภาพถา่ ยทางอากาศและภาพจากดาวเทยี ม
ภยั พิบตั ิผลดีและผลเสยี ท่เี กดิ ขนึ้ ตอ่ ตนเองและ ผู้อืน่ เช่น แผนท่ี รูปถ่าย ภาพถ่ายทางอากาศ และภาพดาเทยี ม
ศกึ ษาส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพในจงั หวัด ภมู ิภาคท่ีตนเองอาศัยอยู่ และเทศไทยอยา่ งมีเหตุผลโดยใสใ่ จและดแู ล
สงิ่ แวดลอ้ มใน บริเวณบ้าน โรงเรียน หรอื ชมุ ชนของตนเอง ใช้ทรัพยากรธรรมชาติรอบ ตวั อยา่ งประหยดั และรู้
คุณค่า
8. ปฏิบัติ ไมก่ ลนั่ แกล้ง ปกปอ้ งสิทธเิ สรภี าพ ช่วยเหลือเกี่ยวกับบทบาทหนา้ ที่ ระเบียบ กฎ กตกิ า วิถี
วฒั นธรรม ชุมชน ท้องถ่ิน เช่น กติกาในการเรียนหนงั สอื รใชส้ ถานที่สาธารณะ การใช้เวลาวา่ ง บทบาทสมมติที่
ไกล้เคียงสถานการณืจริงและศกึ ษานอกสถานท่ี ตามวถิ ีวัฒนธรรมและท้องถิ่น ด้วยความรับผิดชอบต่อสงั คม ช่นื
ชม ทำความดปี กปอ้ งสิทธเิ สรีภาพ เคารพ ให้เกยี รติและเห็นอกเห็นใจผ้อู น่ื และแสดงออกถงึ การควบคุม
อารมณแ์ ละความรู้สึก พื้นฐานทีเ่ กดิ ขน้ึ
9. ตดิ ตาม ตรวจสอบ รับมอื ปอ้ งกันแกป้ ญั หา ดำเนินชวี ติ วเิ คราะห์ ตัดสินใจ เขา้ รว่ มกจิ กรรมเก่ยี วกบั
บทบาทหน้าของสมาชิกในกลุ่มตามความถนดั ของแต่ละคน แบง่ งานตามความสามารถ ข้อตกลงร่วมกนั ในการ
จดั กิจกรรมตา่ งๆ ข้อมูลข่าวสาร เหตุการณ์ สถานการณทื ี่เกิดข้ึนในสังคม ด้วยความรสู้ ึกตระหนกั และตดิ ตาม
ขอ้ มูลข่าวสารและ ปัญหาทเี่ กี่ยวข้องกับตัวเอง ครอบครัว เพอื่ นร่วมช้นั เรียน และโรงเรยี น มสี ่วนรวม ใน
กจิ กรรมสว่ นรวมต่าง ๆ ในระดบั ชั้นเรียนหรือโรงเรียน ทเ่ี หมาะสมตามวัย
10 รเู้ ท่าทัน จัดการ ใช้ส่ือ ประเมิน สร้าง เผยแพร่เกยี่ วกับสารสนเทศ ดจิ ิทัล ผลกระทบ ประโยชน์ เชน่
ข้อมูลชว่ งเลาการใช้ส่ือสารสนเทศดิจทิ ัลอย่างตอ่ เน่ือง ลักษณะของการใช้สื่อ ด้วยอารมณ์ ความต้องการ ทม่ี ี
มารยาท เห็นอกเหน็ ใจ และใหเ้ กยี รติพรอ้ มทงั้ ติดตามข้อมลู ข่าวสารและ ปัญหาท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั ตัวเอง
ครอบครวั เพอ่ื นร่วมชั้นเรยี น และโรงเรียน มสี ว่ นรว่ ม ในกิจกรรมสว่ นรวมต่าง ๆ ในระดบั ชน้ั เรยี นหรอื
โรงเรยี น ทเี่ หมาะสมตามวัย

 ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้รายชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5

1. สตสิ มาธิ ปฏบิ ัติ ทำกจิ วัตรประจำวนั ตามหลักกุศลกรรมบถ ๑๐ หลักปฏบิ ัติตามคำสอนในศาสนา เช่น
หลักธรรมสำคัญของ โดยสงั เขป ลกั ษณะสำคัญของศาสนพธิ ี พิธกี รรมของศาสนา ในศาสนสถาน ศาสนพธิ ี
พิธีกรรม กจิ กรรมวนั สำาคญั ทางศาสนาความสำคัญและเคารพพระรัตนตรยั ไตรสกิ ขา หลักธรรมโอวาท 3 ใน
พระพทุ ธศาสนาโดยการพฒั นากาย วาจา ใจ

130

2.ใช้ปญั ญาชว่ ยเหลือ แกป้ ัญหา ส่อื สาร ส่งเสริมและอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ มรอบตัวพลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก
หลกั ธรรมทางพทุ ธศาสนาและ ศาสนาทีต่ นนบั ถือ ธรรมชาตสิ ิง่ แวดล้อม เทคโนโลยี เชน่ วัฒนธรรมทแ่ี ตกตา่ ง
กนั ระหวา่ งกลมุ่ คนในสงั คมไทย สงั คมโลก วัฒนธรรมตามกาลเวลา การรกั ษาวัฒนธรรมอนั ดงี ามและอยู่
ร่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข ด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตนและเลือกใช้เทคโนโลยี เพ่ือแก้ปญั หา ในชวี ิตประจำวนั และ
ใชอ้ ย่าง ค้มุ คา่ ด้วยการนำกลบั มาใช้ซำ้ (reuse) หรอื ลดการใช้ (reduce)
3.วางแผน ใช้จ่ายบรโิ ภคอย่างรู้ทันชว่ ยลด ตรวจสอบข้อมูล โฆษณา สื่อและสารสนเทศของสนิ ค้าและบรกิ าร
ขา่ วสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง การบริโภคในชวี ติ ประจำวนั กฎหมายคุ้มครองสิทธิผู้บรโิ ภค การออมเงนิ เชน่ รายรับ
รายจ่าย ของตนเอง ครอบครัว ความสำคญั ของกฎหมายคุ้มครองตนเอง กฎหมายของครอบครวั อย่างเหมาะสม
และมวี นิ ัย
4. จดั ลำดับ เลือกใช้ ตัดสินใจ กำหนด ปฏบิ ัติ จัดการ จัดลำดับ เลือกใช้ ตดั สินใจ กำหนดความสำคัญ
ทรัพยากรในชีวติ ประจำวันทรัพยากรของครอบครัวและโรงเรียนผลกระทบของการใชท้ รัพยากรที่มตี อ่ ตนเอง
และสว่ นรวม เช่น การนำทรพั ยากรท่มี ีอยู่มาใช้ประโยชน์ การนำกลับมาใช้ใหม่ ดว้ ยความตระหนัก

5. สืบคน้ จบั ประเดน็ ลำดับเหตกุ ารณ์ นำเสนอ วธิ ีการ ทำกิจกรรม ปฏิบตั ิเก่ียวกับ เรื่องราว ประวัติความ
เป็นมา วิถชี วี ิตและบคุ คลทางประวัติศาสตร์และความต่อเน่อื งจากอดตี ถงึ ปัจจุบันของจังหวัดสตลู ภูมิภาคใต้ที่
ตนอาศัยอยู่ และประเทศ กจิ กรรม ในชวี ิตประจำวัน ความเปน็ ทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย ความหลากหลาย
ทางวฒั นธรรมของผูค้ นในแตล่ ะทอ้ งถ่นิ ของไทยดว้ ยการ เห็นคณุ ค่า ภาคภมู ิใจ และตระหนกั

6.วิเคราะห์ อา่ นเร่ือง ดูภาพ แลกเปลีย่ นส่ือสาร เก่ียวกบั ความคลา้ ยคลึงวฒั นธรรมไทยประเทศเพ่อื นบา้ น
ความแตกต่างหลากหลาย ทางวัฒนธรรมในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ใชแ้ ผนทแ่ี สดงทีต่ ง้ั และอาณาเขตของ ประ
เทษไทยกบั ประเทศเพ่อื นบา้ น ลักษณะทางวฒั นธรรม ความคล้ายคลึงของไทยและประเทศเพ่อื นบ้าน อยา่ ง
เคารพความแตกต่างหลากหลาย

7.ตัง้ คำถาม สืบค้น วเิ คราะห์ สรุปตดิ ตาม คาดการณ์ร่วม วางแผนทำงาน อธิบายเขา้ ใจ ดำเนนิ เปลี่ยนแปลง
ใช้ ปอ้ งกนั แก้ปญั หา รับมอื เกย่ี วกับผลมาจากอิทธพิ ลสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สงิ่ แวดลอ้ มและภัยพิบตั ใิ น
จงั หวัด ภมู ภิ าคท่ีตนอาศัยอยู่ และ ประเทศไทย แผนที่ รปู ถ่าย ภาพถา่ ยทางอากาศและภาพจากดาวเทยี ม
ภัยพิบัตผิ ลดีและผลเสยี ทเ่ี กิดขึน้ ต่อตนเองและ ผู้อ่นื เช่น แผนท่ี รูปถ่าย ภาพถ่ายทางอากาศ และภาพดาเทยี ม
ศกึ ษาส่งิ แวดล้อมทางกายภาพในจังหวัด ภมู ิภาคที่ตนเองอาศยั อยู่ และเทศไทย ภูมิประเทศ ภมู ิอากาศและ
ทรพั ยากรธรรมชาติทสี่ ่งผลต่อการต้งั ถนิ่ ฐาน การดำเนนิ ชวี ติ อย่างมีเหตผุ ล

8.ปฏิบตั ิ ไม่กลน่ั แกลง้ ปกป้องสิทธเิ สรภี าพ ชว่ ยเหลอื เกยี่ วกับบทบาทหนา้ ที่ ระเบียบ กฎ กติกา วิถีวัฒนธรรม
ชุมชน ท้องถนิ่ เช่น กติกาในการเรียนหนังสอื รใช้สถานที่สาธารณะ การใช้เวลาว่าง บทบาทสมมตทิ ่ีไกล้เคียง
สถานการณืจรงิ และศึกษานอกสถานท่ี ตามวิถวี ฒั นธรรมและทอ้ งถน่ิ การทำความดีของบุคคลในครอบครวั
โรงเรียนและชมุ ชนด้วยความรับผิดชอบต่อสงั คม ชื่นชม ทำความดีปกป้องสิทธิเสรีภาพ เคารพ ใหเ้ กยี รตแิ ละ
เห็นอกเห็นใจผอู้ ืน่

9.ติดตาม ตรวจสอบ รับมือ ป้องกันแกป้ ญั หา ดำเนนิ ชีวติ วเิ คราะห์ ตัดสินใจ เข้ารว่ มกจิ กรรมเก่ียวกับ
บทบาทหนา้ ของสมาชกิ ในกลุ่มตามความถนดั ของแต่ละคน แบ่งงานตามความสามารถ ข้อตกลงรว่ มกันในการ
จัดกิจกรรมต่างๆ ขอ้ มูลข่าวสาร เหตุการณ์ สถานการณืท่ีเกิดขนึ้ ในสังคม ประโยชนจ์ ากการติดตามขา่ วสาร
ปญั หาในโรงเรยี นและชุมชนด้วยความรสู้ ึกตระหนกั

131

10.รเู้ ท่าทนั จัดการ ใช้สื่อ ประเมนิ สรา้ ง เผยแพร่เกยี่ วกับสารสนเทศ ดจิ ิทลั ผลกระทบ ประโยชน์เชน่ ข้อมูล
ชว่ งเลาการใช้สื่อสารสนเทศดจิ ิทัลอย่างต่อเนอื่ ง ลักษณะของการใชส้ ื่อ ส่ือสารสนเทศ ส่ือสังคมออนไลน์ ขา่ ว
โฆษณา และสารสนเทศ เทคนิคหรือกลวิธี ในการประกอบส่ือ ด้วยอารมณ์ ความต้องการ ท่ีมมี ารยาท เห็นอก
เห็น ใจ และให้เกียรติ

 ผลลัพธ์การเรียนรู้รายชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

1. มีสตสิ มาธิ ปฏบิ ัติ ทำกิจวตั รประจำวนั ตามหลักกศุ ลกรรมบถ ๑๐ หลกั ปฏบิ ัติตามคำสอนในศาสนาเช่น
หลกั ธรรมสำคญั ของ โดยสังเขป ลกั ษณะสำคัญของศาสนพธิ ี พิธีกรรมของศาสนา ในศาสนสถาน ศาสนพิธี
พธิ ีกรรม กิจกรรมวนั สำาคัญทางศาสนา ความสำคัญและเคารพพระรตั นตรัย ไตรสกิ ขา หลกั ธรรมโอวาท 3 ใน
พระพุทธศาสนา พทุ ธประวัติตัง้ แต่ปลงอายุสังขาร จนถึงสงั เวชนียสถาน ประวตั ิสาวก ชาดก/เรอื่ งเล่าและศา
สนกิ ชนตัวอยา่ งตามท่กี ำหนดโดยการพฒั นากาย วาจา ใจ โดยแสดงออกถึงความสามารถ ในการจัดการ
สถานการณ์ ทเี่ ป็นสาเหตขุ องความเครยี ด
2. ใชป้ ัญญาชว่ ยเหลือ แกป้ ญั หา สอ่ื สาร ส่งเสรมิ และอนุรกั ษ์สิง่ แวดล้อมรอบตัวพลเมืองไทยและพลเมอื งโลก
หลกั ธรรมทางพุทธศาสนาและ ศาสนาทต่ี นนับถอื ธรรมชาติสิง่ แวดลอ้ ม เทคโนโลยี เชน่ วัฒนธรรมทแ่ี ตกตา่ ง
กันระหวา่ งกลมุ่ คนในสงั คมไทย สงั คมโลก วฒั นธรรมตามกาลเวลา การรักษาวฒั นธรรมอันดงี าม ข้อมูล
ข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ ในชวี ติ ประจำวัน และอยู่รว่ มกนั อยา่ งสันติสขุ ด้วยความอ่อนน้อมถอ่ มตน
3. วางแผน ใช้จ่ายบรโิ ภคอย่างรู้ทันชว่ ยลด ตรวจสอบขอ้ มูล โฆษณา สือ่ และสารสนเทศของสนิ คา้ และบริการ
ขา่ วสารที่เก่ยี วข้อง การบรโิ ภคในชวี ิตประจำวนั กฎหมายคุม้ ครองสิทธิผู้บรโิ ภค การออมเงนิ เช่น รายรับ
รายจ่าย ของตนเอง ครอบครัว ครอบครัว ความสำคญั ของกฎหมายคุ้มครองตนเอง กฎหมายของครอบครวั
กฎหมายของชุมชนอย่างเหมาะสมและมีวินัย
4. จัดลำดับ เลอื กใช้ ตัดสินใจ กำหนด ปฏิบัติ จัดการ จดั ลำดับ เลือกใช้ ตัดสินใจ กำหนด
ความสำคัญ ทรัพยากรในชีวิตประจำวันทรัพยากรของครอบครัวและโรงเรียนผลกระทบของการใชท้ รัพยากรท่ี
มีตอ่ ตนเอง และสว่ นรวม เชน่ การนำทรพั ยากรที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์ การนำกลับมาใช้ใหม่ การอนุรกั ษ์
ส่ิงแวดล้อม ดว้ ยความตระหนัก
5. สืบค้น จบั ประเดน็ ลำดบั เหตุการณ์ นำเสนอ วิธกี าร ทำกจิ กรรม ปฏิบัติเกี่ยวกบั เรือ่ งราว ประวัติ
ความเปน็ มา วิถีชีวติ และบุคคลทางประวตั ิศาสตร์และความตอ่ เนือ่ งจากอดตี ถงึ ปจั จุบนั ของจงั หวัดสตลู
ภูมิภาคใต้ทต่ี นอาศัยอยู่ และประเทศ กจิ กรรม ในชีวติ ประจำวนั ความเปน็ ท้องถ่ินและความเปน็ ไทย ความ
หลากหลายทางวฒั นธรรมของผคู้ นในแตล่ ะทอ้ งถิ่นของไทย การเคารพสถาบนั หลกั และสัญลักษณ์ของชาติ
ไทย
6. วเิ คราะห์ อ่านเร่ือง ดภู าพ แลกเปลย่ี นส่ือสาร เก่ยี วกับความคล้ายคลงึ วัฒนธรรมไทยประเทศเพอ่ื นบา้ น
ความแตกต่างหลากหลาย ทางวัฒนธรรมในประเทศเพ่ือนบ้าน เช่น ใชแ้ ผนทแี่ สดงท่ีตงั้ และอาณาเขตของ ประ
เทษไทยกบั ประเทศเพ่อื นบา้ น ลักษณะทางวฒั นธรรม ความคล้ายคลงึ ของไทยและประเทศเพอ่ื นบา้ น

7. ตั้งคำถาม สืบค้น วิเคราะห์ สรุปติดตาม คาดการณ์ร่วม วางแผนทำงาน อธิบายเข้าใจ ดำเนินเปล่ียนแปลง ใช้
ป้องกัน แก้ปัญหา รับมือ เกี่ยวกับผลมาจากอิทธิพลสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ส่ิงแวดล้อมและภัยพิบัติในจังหวัด
ภูมิภาคทต่ี นอาศัยอยู่ และ ประเทศไทย แผนที่ รูปถ่าย ภาพถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม ภัยพิบัตผิ ลดี

132

และผลเสียที่เกิดข้ึนต่อตนเองและ ผู้อน่ื เช่นแผนท่ี รูปถา่ ย ภาพถา่ ยทางอากาศ และภาพดาเทียมศึกษาสงิ่ แวดลอ้ ม
ทางกายภาพในจังหวัด ภูมิภาคท่ีตนเองอาศัยอยู่ และเทศไทย ภูมิประเทศ ภูมิอากาศและทรัพยากรธรรมชาติที่
สง่ ผลต่อการตงั้ ถนิ่ ฐาน การดำเนินชีวิต กิจกรรมด้านสิ่งแวดลอ้ ม แหล่งข้อมลู ต่างๆ การป้องกันภัยพบิ ัตทิ ่ีมโี อกาส
เกิดข้นึ ในพืน้ ที่ของตนเองอย่างมเี หตผุ ล

8. ปฏิบัติ ไม่กล่ันแกล้ง ปกป้องสิทธิเสรีภาพ ช่วยเหลือเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ี ระเบียบ กฎ กติกา วิถี
วัฒนธรรม ชุมชน ท้องถ่ิน เช่น กติกาในการเรียนหนังสือ รใช้สถานท่ีสาธารณะ การใช้เวลาว่าง บทบาทสมมติที่
ไกล้เคียงสถานการณืจริงและศึกษานอกสถานท่ี ตามวิถีวัฒนธรรมและท้องถิ่น การทำความดีของบุคคลใน
ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน ข่าวและเหตุการณืท่ีละเมิดสิทธิเด็กในสังคมไทย แนวโน้มท่ีจะตกเป็นเหยื่อ การ
อยู่ร่วมกันอย่างสันติกับเพอ่ื นและบุคคลอนื่ ในสังคมด้วยความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม ช่ืนชม ทำความดีปกป้องสิทธิ
เสรีภาพ เคารพ ให้เกียรติและเห็นอกเห็นใจผอู้ ื่นและบอกวิธกี ารควบคุม/จัดการ อารมณ์ และความรสู้ ึก บอก
กลวิธีในการควบคุม หรือบรรเทาความเครียด บรรยายขอบเขตของอารมณ์ และสถานการณ์ที่เป็น สาเหตุของ
อารมณ์และ ความเครยี ด
9. ติดตาม ตรวจสอบ รับมือ ป้องกันแก้ปัญหา ดำเนินชีวิต วิเคราะห์ ตัดสินใจ เข้าร่วมกิจกรรมเก่ียวกับ
บทบาทหน้าของสมาชิกในกลุ่มตามความถนัดของแต่ละคน แบ่งงานตามความสามารถ ข้อตกลงร่วมกันในการ
จัดกิจกรรมต่างๆ ข้อมูลข่าวสาร เหตุการณ์ สถานการณืท่ีเกิดข้ึนในสังคม ประโยชน์จากการติดตามข่าวสาร
ปัญหาในโรงเรียนและชุมชน ผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต สาเหตุของปัญหา กิจกรรมประชาธิปไตย กิจกรรม
สาธารณะประโยชน์ดว้ ยความรสู้ ึกตระหนัก
10 รูเ้ ท่าทัน จัดการ ใช้สอ่ื ประเมนิ สร้าง เผยแพร่เกี่ยวกับสารสนเทศ ดิจิทัล ผลกระทบ ประโยชน์เช่น ข้อมูล
ช่วงเลาการใช้ส่ือสารสนเทศดิจิทัลอย่างต่อเน่ือง ลักษณะของการใช้ส่ือ ส่ือสารสนเทศ ส่ือสังคมออนไลน์ ข่าว
โฆษณา และสารสนเทศ เทคนิคหรือกลวิธี ในการประกอบส่ือ วัตถุประสงค์ของส่ือ การรณรงค์การเชญิ ชวนด้วย
อารมณ์ ความต้องการ ท่ีมีมารยาท เห็นอกเห็น ใจ และใหเ้ กยี รติ

133

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การจัดการในครัวเรือนและการประกอบการ

 สาระสำคัญของกลุ่มสาระการเรยี นรู้

ความสำคญั ของกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารจัดการในครัวเรอื นและการประกอบการ
การจดั การในครัวเรือนและการประกอบการเป็นสมรรถนะทต่ี ้องได้รับการสร้างเสริมและลงมือปฏิบัติ
อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการทำกิจกรรมและการดำเนินชีวิตได้อย่างปลอดภัย เป็นระบบ
มปี ระสิทธิภาพด้วยความมั่นใจ
กลุ่มสาระการเรียนรู้น้ีมีสรรมถนะเฉพาะ ๔ ด้าน ประกอบด้วย ๑) ดูแลบ้านและความเป็นอยู่
ของสมาชิกในบ้าน รวมถึงแบ่งเบาภาระผู้ปกครอง ด้วยความรับผิดชอบและกระตือรือร้น โดยคำนึงถึง
ความปลอดภัยและการอยู่ร่วมกนั ด้วยดเี ป็นหลัก ๒) ทำงานอย่างเป็นระบบ รวมท้ังสรา้ งงานท่ีแปลกใหม่หรือ
ต่อยอดจากของเดิมด้วยตนเองหรอื ร่วมกับสมาชิกในครอบครัว เพื่อนและผู้อ่ืน เหมาะสมกับการเปล่ียนแปลง
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยความรับผิดชอบ ขยัน อดทน มุ่งม่ัน ซื่อสัตย์ ประณีต และมีทักษะทางสังคม
ในการทำงาน 3) ค้นหาแนวทางและโอกาสในการจัดจำหน่าย หรือสร้างรายได้ตามความสนใจของตนเองและ
มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต โดยประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะพื้นฐาน การเป็นผู้ประกอบการที่ดี
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การพัฒนาสินค้าและบริการ และ๔) ทำงานโดยใช้ทรพั ยากร พลังงาน
และเทคโนโลยีอย่างรู้คุณค่า พอเพียง เหมาะสมกับสถานะทางเศรษฐกิจ ใหเ้ กิดประโยชน์และคำนึงถึงผลเสีย
ต่อตนเองและส่วนรวม สมรรถนะเฉพาะท้ัง ๔ สมรรถนะดังกล่าว มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับสมรรถนะหลัก
ทงั้ ๖ สมรรถนะ และบรู ณาการกันเป็นผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ชว่ งชัน้ ๓ ขอ้ ซ่ึงเปน็ เปา้ หมายการเรยี นรู้ของชว่ งชน้ั น้ี
ผลลัพธ์การเรียนรู้ช่วงช้ันที่ ๒ ท้ัง ๓ ข้อ เป็นผลลัพธ์การเรียนรู้ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ ท่ีต้อง
คำนึงถึงการบรู ณาการสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะด้วย เพื่อใหเ้ ม่ือผูเ้ รียนบรรลุผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ชั้นปี
นำไปส่กู ารบรรลผุ ลลพั ธ์การเรยี นรชู้ ่วงชั้นตามทห่ี ลกั สูตรกำหนดไว้
ลกั ษณะเฉพาะ/ ธรรมชาติของกล่มุ สาระการเรียนรู้
การเรียนรู้การจัดการในครวั เรือนและการประกอบการในชว่ งช้ันท่ี ๒ เป็นการเรียนรู้ที่มีความชัดเจน
มากย่ิงข้ึน ต่อเนื่องเช่ือมโยงจากการเรียนรู้การจัดการในครัวเรือนและการประกอบการในช่วงชั้นท่ี ๑ ที่บูรณาการ
ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้และกจิ กรรมตา่ ง ๆ
ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาให้เกิดสมรรถนะเฉพาะของการจัดการในครัวเรือนและการประกอบการ
จากการเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติ การลงมือทำด้วยตนเองและการสะท้อนผลการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ
เพื่อเพิ่มเติมความรู้ทำความเข้าใจ วิเคราะห์ และประเมินตนเอง รวมท้ังผลงานอย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ
ไปพร้อมกับการพัฒนาสมรรถนะการทำงานบ้าน การทำงาน และการประกอบการอย่างมีประสิทธิภาพ
และมที ักษะทางสงั คม
จุดเนน้ การพัฒนา
การสอนจัดการในครัวเรือนและการประกอบการในช่วงชั้นที่ ๒ เป็นการพัฒนาสมรรถนะผ่านการเรียนรู้
หลักการ ข้ันตอน การฝึกปฏิบัติ การลงมือทำทั้งการทำงานบ้าน การทำงาน และการประกอบการ เพ่ือให้
ผู้เรยี นเกิดสมรรถนะการจดั การในครัวเรอื นและการประกอบการ
การจัดการเรียนรู้ในช่วงชั้นท่ี ๒ ได้ใหค้ วามสำคัญกับการเรยี นรู้ท่ีเพิ่มเติมและเข้มขน้ มากยงิ่ ข้ึนตอ่ เนอื่ ง
จากการจัดการเรียนรู้ในช่วงชั้นท่ี ๑ โดยในช่วงชั้นนี้ ผู้เรียนมีความพร้อมในการเรียนรู้และพัฒนาด้านต่าง ๆ
รวมท้ังผู้เรียนยังสามารถบอกความสนใจของตนเองได้ ครูจึงควรจัดการเรียนรู้ในรูปแบบท่ีหลากหลาย

134

สอดคล้องกบั พัฒนาการตามช่วงวยั ที่สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนท้ังในสว่ นขององคค์ วามรูแ้ ละทกั ษะตามหลักสตู ร
และตามความสนใจ เน้นการลงมือทำ ส่งเสริมให้เกิดความคดิ สร้างสรรค์และการตอ่ ยอด

การนำไปใช้ในชีวติ จรงิ
ความรู้ ความเข้าใจ และการมีทักษะการจัดการในครัวเรือนและผู้ประกอบการในช่วงช้ันนี้
เป็นประโยชนก์ ับผเู้ รียน ครอบครวั และผอู้ ื่น โดยผเู้ รียนสามารถนำไปใช้และประยุกต์ใช้ในการดูแลทำงานบ้าน
การทำงาน และการประกอบการ ได้อย่างถูกต้อง สามารถเช่ือมโยงกับบริบท สถานการณ์และการนำไปใช้
ในชีวิตจริง โดยผู้เรียนจำเป็นต้องเรียนรู้ และพัฒนาหรือฝึกปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง เกิดความคล่องแคล่ว มั่นใจ
ในการทำงาน ต่อยอดสร้างส่ิงตา่ ง ๆตามความสนใจและเกิดประโยชน์
การบรู ณาการกับกลมุ่ สาระการเรยี นร้ตู ่าง ๆ
การเรียนรู้การจัดการในครัวเรือนและการประกอบการในช่วงช้ันท่ี ๒ นี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้
ผ่านการรับ แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ท้ังจากการเรียนรู้ ลงมือปฏิบัติในและนอกห้องเรียน เพื่อให้
สามารถทำงานบ้าน ทำงานต่าง ๆ และการประกอบการได้ถูกต้อง เหมาะสม ซึ่งการเรียนรู้การจัดการ
ในครัวเรือนและการประกอบการ นอกจากจัดให้สอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียนและบริบทความพร้อม
ต่าง ๆ แลว้ ยังต้องมกี ารบรู ณาการรว่ มกับกิจกรรมแนะแนวและกลุม่ สาระการเรียนรู้อื่น ๆ เชน่

กิจกรรมแนะแนว การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จักอาชีพท่ีหลากหลาย ทั้งอาชีพในท้องถิ่น
อาชีพต่าง ๆ และอาชีพท่ีสนใจ การสำรวจความสนใจในอาชีพในรูปแบบต่างๆ เช่น การพูดคุยสนทนา
การแลกเปล่ียน การทำแบบวดั แววความสนใจในอาชีพ และสรา้ งเสริมลกั ษณะนิสยั ทีเ่ ก่ียวข้องกับการทำงาน

คณิตศาสตร์ การประยุกต์ใช้ความรู้เร่ือง การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย กำไร ขาดทุน ร้อยละ
การชง่ั ตวง วัดสารในชีวติ ประจำวัน

ภาษาไทย ใช้ภาษาในการสื่อสารเพ่ือนำเสนอสินค้าอย่างหลากหลาย ท้ังการพูดและการเขียน
การตดิ ตอ่ ประสานงานเพ่ือดำเนนิ กิจกรรมที่เกยี่ วข้อง เชน่ การขออนุญาตใช้พนื้ ทขี่ าย การติดตอ่ ขอยมื วสั ดุ

ภาษาอังกฤษ คำศัพท์ ข้อความบนฉลากแนะนำผลิตภัณฑ์หรือวิธีการใช้อุปกรณ์ การสื่อสาร
ในการทำงานและชีวิตประจำวัน

สุขศึกษาและพ ลศึกษา การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ การดูแลตนเอง
และผู้อื่นเมื่อเจ็บป่วยอย่างปลอดภัย รวมท้ังการปฐมพยาบาลที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานบ้าน การทำงาน
และการประกอบการ

สังคมศึกษา นำความรู้เร่ืองสินค้าและบริการ การทำบัญชีครัวเรือนการเลือกซ้ือสินค้า
อยา่ งรเู้ ทา่ ทันโฆษณา และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเชอื่ มโยงมาประยกุ ตใ์ ช้

วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ/ เทคโนโลยีดิจิทัล นำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มาใชใ้ นการทำงานและการผลติ สินค้าและบริการตามความสนใจ

ศิลปะ ประยุกต์ใช้ความรู้ทางศิลปะ ในการดูแลรักษาจัดบ้านให้สะอาดเป็นระเบียบให้น่าอยู่
ออกแบบสินคา้ และบริการใหน้ า่ สนใจ

135

 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะ

สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั

1. ดูแลบา้ นและความเปน็ อย่ขู องสมาชกิ ในบ้านรวมถงึ แบ่งเบาภาระ ๑. การจดั การตนเอง

ผปู้ กครอง ดว้ ยความรับผิดชอบและกระตอื รือรน้ โดยคำนงึ ถงึ ๒. การคิดขนั้ สงู

ความปลอดภัยและการอยรู่ ่วมกันด้วยดีเปน็ หลัก ๓. การส่ือสาร

๔. การรวมพลังทำงานเปน็ ทีม

๕. การเปน็ พลเมอื งทีเ่ ข้มแขง็

๖. การอย่รู ว่ มกบั ธรรมชาติ

และวิทยาการอยา่ งย่ังยืน

2. ทำงานอยา่ งเป็นระบบ รวมท้ังสร้างงานทีแ่ ปลกใหม่หรือตอ่ ยอด ๑. การจัดการตนเอง

จากของเดมิ ดว้ ยตนเองหรอื รว่ มกบั สมาชิกในครอบครวั เพอื่ นและผ้อู ่ืน ๒. การคิดขั้นสงู

เหมาะสมกบั การเปล่ียนแปลงในสถานการณต์ ่าง ๆ ดว้ ยความรบั ผิดชอบ ๓. การสอ่ื สาร

ขยัน อดทน ม่งุ มน่ั ซอ่ื สัตย์ ประณีต และมีทักษะทางสงั คมในการทำงาน ๔. การรวมพลงั ทำงานเป็นทีม

๕. การเปน็ พลเมืองท่ีเขม้ แข็ง

๖. การอยรู่ ว่ มกับธรรมชาติ

และวทิ ยาการอย่างยั่งยืน

3. ค้นหาแนวทางและโอกาสในการจัดจำหน่าย หรือสรา้ งรายได้ ๑. การจัดการตนเอง

ตามความสนใจของตนเองและมีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ การประกอบอาชีพสุจรติ โดย ๒. การคดิ ขน้ั สงู

ประยุกตใ์ ช้ความรแู้ ละทักษะพื้นฐานการเป็นผู้ประกอบการทดี่ ี ๓. การสอ่ื สาร

ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การพัฒนาสินค้าและบรกิ าร ๔. การรวมพลังทำงานเป็นทีม

๕. การเปน็ พลเมอื งที่เขม้ แขง็

๖. การอย่รู ่วมกับธรรมชาติ

และวทิ ยาการอยา่ งยั่งยืน

4. ทำงานโดยใช้ทรัพยากร พลังงานและเทคโนโลยีอย่างรู้คุณค่า พอเพียง ๑. การจดั การตนเอง

เหมาะสมกับสถานะทางเศรษฐกิจ ให้เกิดประโยชน์และคำนึงถึงผลเสียต่อ ๒. การคดิ ขน้ั สงู

ตนเองและส่วนรวม ๔. การรวมพลงั ทำงานเป็นทีม

๕. การเป็นพลเมอื งท่ีเข้มแข็ง

๖. การอยู่รว่ มกับธรรมชาติ

และวทิ ยาการอยา่ งยงั่ ยืน

136

 ผลลพั ธ์การเรยี นรู้เมอ่ื จบช่วงชัน้ ท่ี ๒

๑. ดูแลบ้านและความเป็นอยู่ของสมาชิกในบ้านรวมถึงแบ่งเบาภาระผู้ปกครอง ด้วยความรับผิดชอบ
กระตือรือร้นและมุ่งม่ันในการทำงาน นำไปสู่การวางแผนและลงมือทำงานอย่างเป็นระบบโดยคำนึงถึง
เหตแุ ละผลของวิธีทำงานแบบตา่ ง ๆ ใช้ทรัพยากร พลังงานและเทคโนโลยี อย่างรคู้ ณุ คา่ พอเพียง เหมาะสม
กับสถานะทางเศรษฐกิจ ให้เกิดประโยชน์และคำนึงถึงผลเสียต่อตนเองและส่วนรวมโดยคำนึงถึง
ความปลอดภัยและการ อยรู่ ว่ มกันดว้ ยดเี ป็นหลกั

2. ทำงานอย่างเป็นระบบ รวมทั้งสร้างงานท่ีแปลกใหม่หรือต่อยอดจากของเดิมด้วยตนเอง หรือร่วมกับ
เพือ่ นและผูอ้ ่ืนตามหน้าทแ่ี ละบทบาทที่สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
โดยกำหนดเป้าหมายท่ีเป็นไปได้ ประยุกต์ใช้ความรู้ในการวางแผนการทำงานท่ีคำนึงถึงความปลอดภัย
เป็นหลัก ลงมือทำตามแผนโดยใช้ทรัพยากร พลังงานและเทคโนโลยีอย่างรู้คุณค่าและพอเพียง ตรวจสอบ
แก้ไขและปรับปรุงการทำงานให้บรรลุเป้าหมายท่ีวางไว้ด้วยความรับผิดชอบ ขยัน อดทน มุ่งม่ัน ซื่อสัตย์
ประณีต กล้าแสดงความคิดเห็น ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เข้าใจและยอมรับความสามารถ
ของสมาชกิ ทมี ทแ่ี ตกต่างกนั ร่วมกนั แก้ไขความขดั แยง้ มที กั ษะทางสงั คม ในการทำงาน

3. ค้นหาแนวทางและโอกาสในการจัดจำหน่าย สร้างรายได้ตามความสนใจของตนเอง และมีเจตคติที่ดี
ต่อการประกอบอาชีพสุจริต โดยประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะพื้นฐานของการเป็นผู้ประกอบการที่ดี
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการวางแผนการผลิต การพัฒนาสินค้าและบริการอย่างเป็นระบบ
ดว้ ยตนเอง หรอื ร่วมกบั ครอบครัวและผู้อืน่

 ผลลพั ธ์การเรยี นรู้รายชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4

1. ดูแล แบง่ เบาภาระ กระตือรอื รน้ มุ่งมัน่ วางแผน ลงมือ คำนงึ วธิ ที ำงาน รู้คุณค่า เก่ียวกับสมาชกิ ในบา้ น
ระบบ ทรพั ยากร พลงั งานและเทคโนโลยี สถานะทางเศรษฐกจิ ประโยชน์ เชน่ บทบาทหน้าท่ีความรบั ผิดชอบ
อุปกรณ์ ทรัพยากรท่ีเลือกใช้ภายในและนอกบา้ น การจัดหมวดหมู่ ประโยชน์/โทษ อย่างเหมาะสม
2. สร้าง ประยกุ ตใ์ ช้ วางแผน แกไ้ ขและปรับปรงุ เข้าใจ ยอมรบั เกย่ี วกับหนา้ ท่ีและบทบาท สถานการณ์
ทรัพยากร พลังงานและเทคโนโลยี เชน่ กิจกรรมทตี่ ้องใช้กระบวนการทำงานอยา่ งเป็นระบบ ข้ันตอนการ
ทำงาน ทักษะพ้ืนฐานในการทำงาน อย่างรู้คุณคา่ รับผดิ ชอบ ขยนั อดทน มุ่งมนั่ ซอ่ื สตั ย์ ประณีต กลา้ แสดง
ความคดิ เห็น
3. คน้ หา จัดจำหนา่ ย สรา้ งรายได้ ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้อทักษะพน้ื ฐาน วางแผนการผลติ พฒั นาสนิ ค้า บรกิ าร
เกี่ยวกับอาชพี สจุ รติ ผู้ประกอบการ หลกั ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ระบบ เช่น เรียนรูเ้ รื่ออาชพี ต่างๆจาก
สถานที่จริงหรือแหลง่ เรยี นรู้ ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับสถานการป์ ัจจุบัน ความสนใจของตวั เองทีน่ ำปสู่การสร้าง
รายไดด้ ว้ ยการมีเจตคติท่ีดี

 ผลลพั ธ์การเรยี นรู้รายชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5

1. ดแู ล แบ่งเบาภาระ กระตอื รือร้น มุ่งม่ัน วางแผน ลงมือ คำนึง วธิ ที ำงาน รูค้ ุณคา่ เก่ียวกับสมาชกิ ในบา้ น
ระบบทรัพยากร พลงั งานและเทคโนโลยี สถานะทาง เศรษฐกิจ ประโยชน์ เชน่ บทบาทหน้าท่ีความรบั ผิดชอบ
อุปกรณ์ ทรัพยากรที่เลอื กใช้ภายในและนอกบ้าน การจัดหมวดหมู่ การจัดหมวดหมู่ ประโยชน/์ โทษ การใช้
พลังงาน ค่าใช้จ่าย การทำความสะอาด ความปลอดภยั ในบ้าน อย่างเหมาะสม

137

2. สรา้ ง ประยุกต์ใช้ วางแผน แก้ไขและปรับปรุง เข้าใจ ยอมรับ เก่ยี วกับหน้าท่ีและบทบาท สถานการณ์
ทรัพยากร พลังงานและเทคโนโลยี เช่น กิจกรรมท่ตี ้องใชก้ ระบวนการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ ขนั้ ตอนการ
ทำงาน ทักษะพื้นฐานในการทำงาน ทรัพยากร พลงั งาน เทคโนโลยที ี่ใช้อย่างรคู้ ุณค่า รับผดิ ชอบ ขยัน อดทน
มงุ่ มัน่ ซ่อื สัตย์ ประณีต กล้าแสดงความคิดเหน็
3. คน้ หา จัดจำหน่าย สร้างรายได้ ประยกุ ต์ใช้ความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน วางแผนการผลิต พัฒนาสินคา้ บริการ
เก่ยี วกับอาชพี สุจริตผู้ประกอบการ หลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง ระบบ เช่น เรียนรเู้ รื่ออาชีพต่างๆจาก
สถานท่ีจรงิ หรือแหล่งเรียนรู้ ข้อมูลเบ้ืองตน้ เก่ียวกับสถานการ์ปัจจบุ นั ความสนใจของตัวเองทีน่ ำปสู่การสร้าง
รายได้ ทักษะเบอื้ งตน้ ในการผลติ สนิ ค้าและบรกิ าร จุดเดน่ จุดด้อย วิธีการที่หลากหลายดว้ ยการมีเจตคตทิ ี่ดี
 ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้รายชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6

1. ดูแล แบง่ เบาภาระ กระตือรือร้น มงุ่ ม่ัน วางแผน ลงมอื คำนงึ วิธีทำงาน รคู้ ณุ คา่ เกี่ยวกับสมาชกิ ในบา้ น
ระบบทรพั ยากร พลงั งานและเทคโนโลยี สถานะทาง เศรษฐกิจ ประโยชน์ เชน่ บทบาทหน้าที่ความรบั ผิดชอ
อุปกรณ์ ทรพั ยากรท่ีเลือกใช้ภายในและนอกบ้าน การจัดหมวดหมู่ การจัดหมวดหมู่ ประโยชน์/โทษ การใช้
พลังงาน ค่าใชจ้ ่าย การทำความสะอาด ความปลอดภัยในบ้าน กิจกรรมท่ีทำร่วมกนั บริบทและกาละเทศะอย่าง
เหมาะสม
2. สร้าง ประยุกต์ใช้ วางแผน แก้ไขและปรบั ปรุง เขา้ ใจ ยอมรบั เกยี่ วกับหน้าทแ่ี ละบทบาท สถานการณ์
ทรพั ยากร พลังงานและเทคโนโลยี เชน่ กิจกรรมทตี่ ้องใชก้ ระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ขั้นตอนการ
ทำงาน ทกั ษะพ้ืนฐานในการทำงาน ทรัพยากร พลงั งาน เทคโนโลยที ่ีใช้ ผลการทำงาน ข้อดี ข้อจำกัด
ประโยชน์ แนวทางการทำงานเป็นทีม หน้าทที ี่รับผดิ ชอบตามที่ได้รับมอบหมายอย่างรคู้ ุณค่า รับผิดชอบ ขยนั
อดทน มุ่งมนั่ ซ่อื สัตย์ ประณีต กล้าแสดงความคิดเหน็ พร้อมทงั้ เคารพระบบธรรมชาตแิ ละเห็น ตวั เองเปน็ ส่วน
หนึง่ ของระบบ โดยใช้ทรพั ยากรธรรมชาติตาม ความจำเปน็ และไมเ่ ปน็ ส่วนหนง่ึ ทีท่ ำให้เกิดความเสียหายหรอื
การ เปลีย่ นแปลงที่สง่ ผลกระทบตอ่ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3. ค้นหา จดั จำหน่าย สรา้ งรายได้ ประยุกตใ์ ช้ความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน วางแผนการผลิต พฒั นาสินคา้ บริการ
เกี่ยวกับอาชพี สุจรติ ผปู้ ระกอบการ หลกั ปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระบบ เชน่ เรียนรู้เรือ่ อาชพี ตา่ งๆจาก
สถานที่จริงหรือแหลง่ เรียนรู้ ข้อมูลเบอ้ื งต้นเกี่ยวกับสถานการ์ปัจจุบนั ความสนใจของตัวเองทน่ี ำปสู่การสร้าง
รายได้ ทกั ษะเบอ้ื งต้นในการผลิตสินค้าและบรกิ าร จุดเดน่ จุดด้อย วิธีการท่ีหลากหลาย การโนม้ น้าวใจลูกค้า
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บัญชีคำนวณตน้ ทุนท่มี ีค่าใชจ้ ่าย การทำเกษตรกรรมดว้ ยการมเี จตคตทิ ่ดี ีและ
บอกความเปลยี่ นแปลงที่เกดิ ขึ้นทีส่ ่งผลตอ่ การดำเนนิ ชีวิต

138

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ

 สาระสำคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้

ความสำคญั ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาตเิ ป็นสาระท่ีเน้นการสืบเสาะ (inquiry) เพื่อเขา้ ใจ
ระบบธรรมชาติ การจดั ประสบการณ์เรยี นร้ใู นชว่ งชน้ั ที่ 2 ยังตอ้ งเนน้ ใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นรู้จากสิง่ ที่ใกล้ตวั ที่สนใจ
และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น ได้สืบเสาะค้นหาคำตอบเพ่ือเข้าใจปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ผา่ นการสงั เกต การทดลองรว่ มกับการวิเคราะห์แบบจำลองหรอื ขอ้ มูลตา่ ง ๆ รวมถงึ ไดแ้ ก้ปัญหาท่สี นใจ โดยใช้
ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เคร่ืองมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์อย่างง่าย และใช้คณิตศาสตร์
ร่วมกับเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือเข้าถึง จัดการ และนำเสนอข้อมูลอย่างเหมาะสม ผู้เรียนควรได้รับการปลูกฝัง
ให้สร้างเจตคติท่ีดีต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าใจและสามารถปรับพฤติกรรมของตนเองเพื่ออยู่ร่วมกับ
ธรรมชาติ รกั ษาสิง่ แวดล้อม และตระหนักถึงการใชแ้ ละรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ งเหมาะสม
เป้าหมายสำคัญของการจัดประสบการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ
ช่วงช้นั ที่ 2
1. ใช้กระบวนการสืบเสาะ (Inquiry process) ในการต้ังคำถาม ค้นหาหลักฐาน รวบรวมและ
วเิ คราะหข์ อ้ มลู ต่าง ๆ เพ่อื ทำความเขา้ ใจแนวคิดสำคญั ทางวิทยาศาสตรท์ ่ีจำเป็นตอ่ การดำรงชีวติ
2. ใช้และเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างรู้เท่าทัน และปลอดภัย รวมท้ังใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์
ในการสืบเสาะ จัดการและนำเสนอขอ้ มลู ไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. มีจินตนาการ จิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยดี จิ ิทลั อย่างสรา้ งสรรค์
4. ตระหนักถึงความสัมพันธข์ องวทิ ยาศาสตร์กับระบบธรรมชาติ ผลของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
วทิ ยาการตา่ ง ๆ ที่มตี ่อมวลมนษุ ย์และสิง่ แวดลอ้ มในระบบธรรมชาติ
ลักษณะเฉพาะ/ ธรรมชาตขิ องกล่มุ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ (Science) เป็นความรู้ท่ีเกิดจากสติปัญญาและความพยายามของมนุษย์ในการศึกษา
เพ่ือทำความเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นโดยธรรมชาติท้ังบนโลกและในเอกภพ วิทยาศาสตร์จึงให้ความสำคัญ
กับ การสืบเสาะหาคำตอบเพื่อทำความเข้าใจธรรมชาติ การสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์เปน็ กระบวนการทตี่ ้องใช้
ความรู้ จินตนาการ เครื่องมือต่าง ๆ เช่น คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี เพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูล จัดรูปแบบของ
ข้อมูล ใช้สมรรถนะด้านภาษา เพื่อทำความเข้าใจข้อมูล สื่อสารความคิด และนำเสนอข้อมูล ดังน้ัน ความรู้
กระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร์ มีความสำคัญกับการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิต และการอยู่ร่วมกัน
กับธรรมชาติอยา่ งสมดลุ
กระบวนการสืบเสาะ (Inquiry Process) เป็นกระบวนการที่นำไปสู่การเรียนรู้และอธิบาย
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เชิงวิทยาศาสตร์ ระหว่างการสืบเสาะผู้เรียนจะต้องใช้การให้เหตุผลเชิงตรรกะ (Logic)
หลักฐานเชิงประจักษ์ (Empirical Evidence) จินตนาการ และการคิดสร้างสรรค์ เป็นการทำงานอย่างเป็น
ระบบ รอบคอบ มีอิสระและไม่เป็นลำดับข้ันที่ตายตัว ในช่วงชั้นที่ 2 ควรจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ
ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ ดังนี้
• ปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนโลกหรือในเอกภพที่เกิดขึ้นอย่างเป็นแบบรูป (Pattern) สามารถเข้าใจได้
ด้วยสตปิ ญั ญา วิธีการศกึ ษาทีเ่ ป็นระบบ มนุษย์สามารถเรยี นรู้และทำความเข้าใจได้

139

• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์มีความไม่แน่นอน สามารถเปล่ียนแปลงได้ หากพบหลักฐาน (Evidence)
ใหมท่ ่ีนำไปสกู่ ารสร้างคำอธิบาย หรือองคค์ วามรู้ใหม่ทางวิทยาศาสตร์

• ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีความคงทนและเช่ือถือได้ เพราะการสร้างการอธิบายทางวิทยาศาสตร์
ต้องผ่านวธิ กี ารต่าง ๆ อยา่ งต่อเนื่อง ซำ้ แล้วซำ้ เล่าเป็นระยะเวลาหนง่ึ จนมนั่ ใจในคำอธิบายนัน้

• วิทยาศาสตร์เชื่อถอื หลักฐานเชิงประจกั ษ์ที่ไดจ้ ากการสงั เกต ทดลอง หรอื วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์
จดุ เน้นการพฒั นา
การจัดประสบการณเ์ รียนร้เู พอื่ พัฒนาสมรรถนะของผู้เรยี น ในชว่ งช้นั ท่ี 2 ผู้เรยี นควรไดเ้ รียนร้แู นวคิด
สำคัญทางวิทยาศาสตรผ์ ่านการจัดประสบการณ์เรียนรู้ในรปู แบบบูรณาการกับสถานการณ์หรือปรากฏการณ์
ในชีวิตจริงท่อี ยรู่ อบตวั ผู้เรยี น โดยอาจจดั การเรยี นรู้ผ่านธมี ตอ่ ไปนี้

ทรัพยากรธรรมชาติ

ปรากฏการณ์ สง่ิ แวดล้อม
ธรรมชาติและ
ภยั อันตราย วิทยาศาสตร์
และระบบธรรมชาติ

สุขภาพและโรคภัย ความกา้ วหน้า
ของวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

จดุ เน้นการพัฒนาผ่านแตล่ ะหัวข้อ มีดังน้ี

• สุขภาพและโรคภัย
ผู้เรียนได้เรียนรู้แนวคิดสำคัญทางวิทยาศาสตร์เก่ียวกับการเปล่ียนแปลงทางเคมีและสารละลาย

ระบบย่อยอาหาร การเกดิ เสียง การเคลอื่ นท่ขี องเสียง เสียงสูง เสียงต่ำ เสยี งดัง เสยี งค่อย และมลพิษทางเสียง
เพื่อให้เกิดความตระหนักในการการดูแลสุขภาพกายและจิตของตนเอง และการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
จากมลพิษทางเสยี ง

• ทรพั ยากรธรรมชาติ
ผู้เรียนได้เรียนรู้แนวคิดสำคัญทางวิทยาศาสตร์เก่ียวกับสถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร

กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง น้ำค้างแข็ง ฝน หิมะ และลูกเห็บ การหมุนเวียนของน้ำในวัฏจักรน้ำ
ปริมาณน้ำจืดที่มนุษย์นำมาใช้ได้เทียบกับปริมาณน้ำท้ังหมดบนโลก การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการใช้น้ำ
การแก้ไขปญั หาแหลง่ นำ้ หรอื แนวทางการอนุรกั ษ์นำ้ ในชมุ ชนเพอื่ ใหช้ ุมชนมีน้ำใช้อยา่ งไมข่ าดแคลน

140

• ส่งิ แวดลอ้ ม
ผเู้ รียนได้เรียนรู้แนวคิดสำคัญทางวิทยาศาสตร์เก่ียวกับสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมตอ่ การดำรงชีวิต

ของพืชและสัตว์ สิ่งที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืชและสัตว์ วัฏจักรชีวิตของพืชดอกและสัตว์ ผลของ
การเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดลอ้ มที่มีต่อพืชและสัตว์ และการดูแลและปกป้องสภาพแวดล้อมให้ความเหมาะสมกับ
การดำรงชวี ิตของพชื และสตั ว์

• ปรากฏการณ์ธรรมชาตแิ ละภัยอันตราย
ผเู้ รียนไดเ้ รียนร้แู นวคิดสำคญั ทางวทิ ยาศาสตรเ์ กีย่ วกบั แสงและการมองเหน็ การเปลีย่ นแปลงรูปรา่ ง

ดวงจันทร์บนท้องฟา้ เงา อุปราคา ระบบสุริยะ การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ประโยชน์และผลกระทบของ
ปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อสิ่งมชี วี ติ และสิง่ แวดล้อม แหล่งทมี่ าหรือกิจกรรมท่ีก่อใหเ้ กิดแก๊สเรือนกระจก และ
แน วทางในการลดกิจกรรมที่ก่อใ ห้เกิดแก๊สเรือนกระ จกเพ่ือเป็น ส่วน หนึ่งท่ีช่วยลดผลกระทบที่ จะเกิดข้ึน
ตอ่ สิง่ มชี วี ิตและสิง่ แวดล้อม

• ความก้าวหนา้ ของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรูแ้ นวคิดสำคัญทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเปลย่ี นพลังงานในกจิ กรรมตา่ ง ๆ การต่อ

วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย การต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรม การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน การเขียน
แผนภาพวงจรไฟฟ้า แรงเสียดทาน แรงโน้มถ่วง มวล และน้ำหนกั สมบตั ิการนำไฟฟ้า สมบตั ิการนำความร้อน
และสมบตั ดิ ้านความแข็งของวสั ดุ

ขอบเขตเนื้อหาและกลวิธีสอนเพอื่ พัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นตามชว่ งวัย
ผูเ้ รียนในช่วงชัน้ 2 (อายุ 10 - 12 ปี) สามารถพัฒนาการคิดเชิงเหตุผลกบั สถานการณ์ที่เป็นรูปธรรม
และเริ่มคิดเชิงเหตุผลกับสถานการณ์ท่ีเป็นนามธรรมได้บ้าง สามารถวางแผน จดจำ และนำกลยุทธ์ต่าง ๆ
มาใช้จัดระบบการสืบเสาะได้ มีความสามารถในการประยุกต์กลยุทธ์การจำท่ีหลากหลายและละเอียดละออ
เป็นระบบมากข้ึน เข้าใจความหมายของคำศัพท์ท่ีเป็นคำที่มีความหมายเดียวกัน และความสัมพันธ์เป็นกลุ่ม
ความหมายเดยี วกนั มากขน้ึ มกี ารใช้โครงสรา้ งทางไวยากรณท์ ซี่ บั ซอ้ นมากข้ึน ใชก้ ลยุทธ์ในการสนทนามากขึน้
การจัดการเรียนรู้สำหรับช่วงช้ันนี้จึงควรให้ผู้เรียนเรียนรู้และฝึกใช้คำศัพท์ท่ีหลากหลาย แต่มี
ความหมายเดยี วกนั ร่วมกบั การใชไ้ วยากรณท์ ่ีซับซ้อนมากขึ้นในการอธิบายหรอื สือ่ สารความเห็นหรอื สิ่งท่คี ้นพบ
รวมถึงฝึกใช้กลวิธีการส่ือสารเพอื่ โนม้ นา้ วหรือโต้แย้งแนวคิดของผู้อน่ื ทั้งในรูปแบบการพูดและการเขียน จะเป็น
ประโยชน์ต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้สอนจึงมีบทบาทสำคัญพัฒนาคลังคำศัพท์และไวยากรณ์ที่เหมาะสม
ตามวัย และฝึกความสามารถในการฟังอย่างมีความหมาย เรียนรู้คำศัพท์เชิงวิทยาศาสตร์และคำศัพท์ใหม่ ๆ
อย่างต่อเนื่อง รู้จักจับสาระสำคัญจากการอ่านหรือการฟัง และแสดงความคิดเห็นต่อส่ิงท่ีอ่านอย่างมี
จนิ ตนาการ ตลอดช่วงชนั้ ผู้เรยี นควรฝึกสอ่ื สารและให้เหตผุ ลอยา่ งมตี รรกะ
โดยธรรมชาติ ผู้เรียนในช่วงชน้ั นยี้ ังมีความกระตือรอื ร้น ชา่ งสังเกต ชอบตั้งคำถาม สามารถคิดอย่างมี
เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ และคิดเชิงวิพากษ์ได้มากข้ึน ผู้เรียนจึงควรเรียนรู้อย่างกระตือรือร้นในการฝึก
การตั้งคำถามที่นำสู่การสังเกตหรือการทดลอง ลงมือสังเกตด้วยประสาทสัมผัสร่วมกับการใช้อุปกรณ์และ
เครื่องมอื ทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื เครือ่ งมอื ดิจิทลั อย่างงา่ ย และใช้เทคโนโลยีร่วมในการออกแบบการบนั ทกึ ข้อมูล
การเก็บรวบรวมหลักฐาน การจัดการและการนำเสนอข้อมลู อย่างมเี หตุผล สามารถแสดงความเหน็ หรือโต้แย้ง
ด้วยหลักฐานหรือข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์ นอกจากน้ี ผู้เรียนในช่วงช้ันนี้เป็นช่วงวัยที่ต้องการการยอมรับ
จากเพ่ือน ดังนัน้ ผู้สอนจึงควรฝึกฝนกระบวนการทำงานร่วมกนั ทำงานเป็นทีม การรูจ้ กั รับฟงั เคารพความเห็น
ท่ีแตกตา่ ง และยอมรบั ความแตกตา่ งหลากหลายของคนในทมี


Click to View FlipBook Version