41
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะ
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก
1. ฟงั พูดเพ่อื การสอื่ สาร
1.1 ฟงั และพูดคำศัพท์ง่าย ๆ สะกดคำ บอกความหมายของคำ วลี 1. การจัดการตนเอง
ท่เี กีย่ วข้องใกลต้ วั ในชีวิตประจำวันโดยเน้นการออกเสยี งภาษาองั กฤษ 2. การคิดข้ันสงู
อยา่ งถูกต้อง 3. การสื่อสาร
1.2 ฟงั พดู เรื่องราวเกีย่ วกับตนเอง ครอบครวั บคุ คล หรอื ส่ิงตา่ ง ๆ ๕. การเป็นพลเมอื งท่เี ข้มแข็ง
รอบตวั ใชข้ ้อมลู สว่ นตวั เบ้อื งต้นเก่ียวกบั ตนเอง โดยใชค้ ำและวลี ๖. การอยรู่ ่วมกบั ระบบธรรมชาติ
ทส่ี ้ันและง่าย หรอื ใชป้ ระโยคพน้ื ฐานได้อยา่ งเหมาะสมและมนั่ ใจ และวทิ ยาการอยา่ งยงั่ ยนื
1.3 ใชค้ ำศัพท์ วลีสั้น ๆ และสำนวนที่ใช้ในชีวิตประจำวันเพอื่ สือ่ สารและ
บรรยายข้อมลู ส่วนบคุ คล กิจวตั รประจำวันไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
และเหมาะสม
2. อ่านเพอ่ื ความเขา้ ใจ
2.1 อา่ นประโยคอย่างง่ายเก่ียวกับตนเอง บคุ คล เหตุการณ์ 1. การจดั การตนเอง
ในสถานการณ์ ใกล้ตวั จากส่ือที่หลากหลายแล้วปฏิบัตติ าม 2. การคิดขั้นสูง
ได้อย่างเหมาะสม 3. การสื่อสาร
2.2 อ่านบทความสัน้ ๆ ง่ายๆ เพื่อเรียนรู้ เข้าใจ และบอกความร้สู ึกของ ๖. การอยรู่ ว่ มกับระบบธรรมชาติ
ตนเองเกยี่ วกบั เนอ้ื หาท่ีสนใจจากสอื่ และแหลง่ เรียนรู้ทห่ี ลากหลาย และวิทยาการอยา่ งยั่งยนื
3. เขยี นเพือ่ แสดงความคดิ และสะท้อนความรสู้ ึก
3.1 เขยี นประโยคอยา่ งงา่ ยเพ่อื นำเสนอขอ้ มลู แสดงความคดิ ความรสู้ กึ 1. การจดั การตนเอง
เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว บคุ คล และสิ่งต่าง ๆ รอบตัวไดอ้ ยา่ ง 2. การคิดขัน้ สูง
ถูกต้องและเหมาะสม 3. การสอ่ื สาร
3.2 เขยี นคำศัพท์ วลี และประโยคสั้น ๆ ที่ตนเองสนใจ จากส่ือ และ 5. การเปน็ พลเมืองทีเ่ ขม้ แขง็
แหล่งเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย 6. การอย่รู ว่ มกับระบบธรรมชาติ
และวทิ ยาการอยา่ งยง่ั ยืน
4. ใช้ภาษาเพอ่ื การเรียนรู้ และทำงานรว่ มกับผู้อน่ื
4.1 สนทนา สื่อสารความต้องการของตนเอง และแลกเปล่ยี นความคิด 1. การจัดการตนเอง
โดยใชว้ ลี ประโยคง่ายๆ รว่ มกับผูอ้ ื่น ในสถานการณ์ทีห่ ลากหลายใน 2. การคดิ ขน้ั สูง
ชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ งเหมาะสม 3. การส่อื สาร
4. การรวมพลงั ทำงานเป็นทมี
4.2 สร้างชิ้นงานเก่ยี วกับภาษาอยา่ งสรา้ งสรรค์ให้เหมาะกบั บคุ คล 5. การเปน็ พลเมอื งทีเ่ ข้มแข็ง
เหตกุ ารณแ์ ละสิง่ ต่าง ๆ รอบตวั
6. การอยู่ร่วมกบั ระบบธรรมชาติ
และวิทยาการอยา่ งยั่งยนื
42
ผลลพั ธก์ ารเรียนร้เู มอ่ื จบช่วงช้ันท่ี 1
1. ฟัง พูดคำศัพท์ บอกความหมายวลี ภาษาอังกฤษอย่างง่ายเก่ียวกับตนเอง ครอบครัวและโรงเรียน
โดยออกเสยี งภาษาอังกฤษได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
2. ฟัง พูด โต้ตอบ บอกความต้องการของตนเอง แลกเปลี่ยนและนำเสนอข้อมูลด้วยคำส้ัน ๆ และง่าย ๆ
เกี่ยวกับเรื่องราวของตนเอง ครอบครัว เพ่ือน เหตุการณ์ในสถานการณ์ใกล้ตัวในชีวิตประจำวันและ
ปฏบิ ตั ิตามได้อย่างเหมาะสมและมน่ั ใจ
3. ฟัง พูดเกี่ยวกับเนื้อหาท่ีสนใจ จากส่ือวีดิทัศน์ นิทาน เรื่องส้ัน โฆษณา โดยเลือกใช้คำหรือประโยค
อย่างงา่ ย เพื่อแสดงความคิดเห็นทมี่ ตี อ่ เหตกุ ารณ์ หรอื เรอ่ื งราวนนั้ ๆ อยา่ งเหมาะสม
4. อ่านประโยคคำสง่ั คำแนะนำอยา่ งงา่ ย และนำไปปฏิบัตติ ามได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
5. อ่านนิทาน เร่ืองส้ัน การ์ตูน ได้อย่างถูกต้อง และบอกความรู้สึกของตนเองจากเรื่องท่ีอ่าน
ไดอ้ ย่างเหมาะสม
6. เขียนประโยคอย่างง่ายเกี่ยวกับตนเอง บุคคล และสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
กบั บุคคลตามกาลเทศะ
7. ใช้ทักษะการเขียนคำ วลี หรือประโยคอย่างง่าย เพื่อแสดงความคิดหรือสะท้อนความรู้สึก
ไดอ้ ย่างเหมาะสม
8. ใช้วลี ประโยคอย่างง่ายในการสนทนา สื่อสารความต้องการของตนเอง และแลกเปลี่ยนความคิด
ในการทำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ อยา่ งเหมาะสม
เลือกใช้ส่ือ เพ่ือสร้างสรรค์ผลงานทางภาษาที่สะท้อนการเรียนรู้ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง
อยา่ งเหมาะสม
9. เลือกใช้ส่ือ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางภาษาที่สะท้อนการเรียนรู้ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง
อย่างเหมาะสม
ผลลัพธก์ ารเรียนรู้รายชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1
1. ฟัง พูด บอก ออกเสียงรู้จักคำศัพท์และ ความหมายหรือวลีภาษาอังกฤษเอย่างง่ายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว
และโรงเรยี นได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวยั
2. ฟัง พูด บอกความต้องการของตนเอง โดยการคน้ คว้าข้อมูลด้วยคำส้นั ๆ และง่าย ๆ เกี่ยวกับตัวเลข เรื่องราว
ของตนเอง สมาชกิ ในครอบครัว เพอื่ น และเหตุการณ์ในสถานการณ์ใกล้ตวั ในชีวิตประจำวนั ได้อย่างเหมาะสม
3. ฟัง พูดเกีย่ วกับเน้ือหาที่สนใจจากศึกษาค้นคว้าความรู้จาก นิทาน เหตุการณ์และเร่ืองราวต่างๆ ของ โรงเรียน
ชุมชน ท้องถน่ิ เชน่ ประวตั ิความเป็นมาและ ท่ตี ง้ั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมน่ั ใจ
4. อ่านประโยคคำส่ัง คำแนะนำอย่างง่ายเกี่ยวกับการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น บทสนทนา ในห้องเรียนโรงเรียน
และนำไปปฏิบตั ิตามไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
5. อ่านนิทาน การ์ตูนเกยี่ วกับแหล่งเรยี นรู้ในห้องเรียน โรงเรียน ชมุ ชนและท้องถ่ินพรอ้ มบอกความรู้สกึ ไดอ้ ย่าง
ถูกตอ้ งและเหมาะสม
6. เขียนประโยคอย่างง่ายเกี่ยวกับตนเอง บุคคลรอบข้าง เช่น เพื่อน หรือส่ิงต่าง ๆ รอบตัวได้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสมกับบุคคลตามกาลเทศะ
43
7. ใช้ทักษะการเขียนคำ วลี หรือประโยคเกี่ยวกับการทักทาย การกล่าวลา การเป็นอยู่ในชีวติ ประจำวนั ที่เกิดข้ึน
ของตนเอง โรงเรยี นและแสดงความคิดหรือสะท้อนความร้สู ึกได้อย่างเหมาะสม
8. สนทนา ส่ือสาร ใช้วลี ประโยคอย่างง่ายเกี่ยวกับอาชีพ ของบุคคลใกล้ตัว เช่น สมาชิกในครอบครอบครัว
พร้อมทัง้ แลกเปล่ียนความคิดร่วมกับผู้อื่นอย่างเหมาะสม
9. เลือกใช้ส่ือภาษาท่ีสะท้อนการเรียนรู้เก่ียวกับการแนะนำตนเอง แนะนำผู้อื่น ส่ิงท่ีชอบ/ไม่ชอบ ด้วยการ
สรา้ งสรรค์ผลงานตามความถนดั และความสนใจของตนเองอย่างเหมาะสม
ผลลัพธก์ ารเรียนรู้รายชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2
1. ฟัง พูด บอก ออกเสียง รู้จักคำศัพท์และความหมายหรือวลีภาษาอังกฤษอย่างง่ายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว
ห้องเรียนและโรงเรียนได้อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสมกับวัย
2. ฟัง พูด บอกความต้องการของตนเอง แลกเปลี่ยนโดยการค้นคว้าข้อมูลด้วยคำสั้น ๆ และง่าย ๆ เกี่ยวกับ
ตวั เลข วันเดือน เรือ่ งราวของตนเอง สมาชิกในครอบครัว เพื่อน โรงเรียน และเหตุการณ์ในสถานการณ์ใกล้ตัวใน
ชีวิตประจำวนั ไดอ้ ย่างเหมาะ
3. ฟัง พูดเก่ียวกับเนื้อหาที่สนใจ เลือกใช้คำทีไ่ ดจ้ ากการคน้ คว้าความรูจ้ ากส่อื วดี ิทัศน์ นิทาน เร่ืองสั้น เหตุการณ์
และเรือ่ งราวตา่ งๆของ โรงเรียน ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ เช่น ประวติ ิความเปน็ มา ทต่ี ้งั แหล่งเรียนรู้ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
4. อ่านรู้จักประโยคคำส่ัง คำแนะนำอย่างง่ายเกี่ยวกับการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น บทสนทนา ป้ายเตือนต่างๆ
รวมถึงวัฒนธรรม ในห้องเรยี น โรงเรยี น และนำไปปฏิบตั ิตามได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
5. อ่าน นิทาน เร่ืองสั้น การ์ตูนเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ในห้องเรียน โรงเรียน ชุมชนและท้องถ่ินพร้อมบอก
ความรู้สึกได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม
6. เขียนประโยคอย่างง่ายเก่ียวกับตนเอง บุคคลรอบข้าง เช่น เพ่ือน ครู งานอดิเรก ส่ิงที่ชอบในชุมชน หรือส่ิง
ต่าง ๆ รอบตวั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสมกับบุคคลตามกาลเทศะ
7. ใช้ทักษะการเขียนคำ วลี หรือประโยคเก่ียวกับการทักทาย การกล่าวลา การเปน็ อยู่ในชีวติ ประจำวนั ท่ีเกิดขึ้น
ของตนเอง โรงเรยี นและชุมชนและแสดงความคิดหรอื สะทอ้ นความรสู้ ึกได้อย่างเหมาะสม
8. สนทนา สื่อสาร ใช้วลี ประโยคอย่างง่ายเกี่ยวกับอาชีพ สถานที่ ของบุคคลใกล้ตัว เช่น สมาชิกในครอบ
ครอบครัว บุคคลสำคัญในชมุ ชน แลกเปล่ยี นความคดิ ร่วมกับผู้อ่นื อยา่ งเหมาะสม
9. เลือกใช้ส่ือภาษาที่สะท้อนการเรียนรู้เกี่ยวกับการแนะนำตนเอง แนะนำผู้อ่ืน ส่ิงท่ีชอบ/ไม่ชอบ ในชุมชนและ
ท้องถิน่ ดว้ ยการสร้างสรรค์ผลงานตามความถนัดและความสนใจของตนเองอย่างเหมาะสม
44
ผลลัพธ์การเรยี นรู้รายชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3
1. ฟัง พูด บอก ออกเสียง รู้จักคำศัพท์และ ความหมายหรือวลีภาษาอังกฤษอย่างง่ายเก่ียวกับตนเอง ครอบครัว
ห้องเรียนโรงเรียน ชุมชน และสิ่งแวดล้อมรอบตัวได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัยรวมทั้งฟังเสียง อ่านเร่ือง
และดภู าพท่ีเก่ียวข้อง กับสถานการณ์ใกล้ตัวท่ีมรี ายละเอียด มากขึ้น แล้วตอบคำถามอย่างตรงไปตรงมา ท้ังใน
สว่ นของขอ้ มูล และความรสู้ กึ ทีไ่ ด้
2. ฟัง พูด โต้ตอบ บอกความต้องการของตนเอง แลกเปลี่ยนและนำเสนอข้อมูลโดยการค้นคว้าข้อมูลด้วยคำส้ัน
ๆ และง่าย ๆ เกี่ยวกับตัวเลข วันเดือน สัตว์ เวลา เรื่องราวของตนเอง สมาชิกในครอบครัว เพื่อน โรงเรียน
ชมุ ชน และเหตุการณ์ในสถานการณ์ใกล้ตัวในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
3. ฟัง พูดเกย่ี วกับเนือ้ หาท่สี นใจ เลือกใช้คำ แสดงความคิดเห็น ศึกษาค้นคว้าความรู้จากส่อื วีดิทศั น์ นิทาน เร่ือง
สั้น โฆษณา เหตุการณ์และเรื่องราวต่างๆของ โรงเรียน ชุมชน ท้องถ่ิน เช่น ประวิติความเป็นมา ท่ีต้ัง แหล่ง
เรียนรู้ ทรพั ยากรณ์อาหารและเครื่องดื่ม ได้อยา่ งเหมาะสม
4. อ่านรู้จักประโยคคำสั่ง คำแนะนำอย่างง่ายเกี่ยวกับการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น บทสนทนา ป้ายเตือนต่างๆ
รวมถงึ วฒั นธรรม ในห้องเรียน โรงเรียน ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ และนำไปปฏิบตั ิตามได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
5. อ่าน นิทาน เร่ืองสั้น การ์ตูน เกี่ยวกับกีฬา แหล่งเรียนรู้ในห้องเรียน โรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น รวมถึง
วฒั นธรรมประเพณีพรอ้ มบอกความร้สู ึกได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
6. เขียนประโยคอย่างง่ายเกี่ยวกับตนเอง บุคคลรอบข้าง เช่น เพ่ือน ครู งานอดิเรก ส่ิงท่ีชอบในชุมชน หรือสิ่ง
ต่าง ๆ รอบตวั ได้อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสมกับบุคคล ตามกาลเทศะ
7.ใช้ทกั ษะการเขียนคำ วลี หรือประโยคเก่ียวกับการทักทาย การกล่าวลา การถามความเป็นอยู่ในชีวติ ประจำวัน
ทเ่ี กิดขน้ึ และ สภาพอากาศ ของตนเอง โรงเรียนและชุมชน
8. สนทนา ส่ือสาร ใช้วลี ประโยคอย่างง่ายเก่ียวกับอาชีพ สถานที่ ของบุคคลใกล้ตัว เช่น สมาชิกในครอบ
ครอบครัว บุคคลสำคัญในชุมชน รวมถึงวัฒนธรรมประเพณีที่ทำร่วมกันของคนในท้องถิ่น แลกเปล่ียนความคิด
ร่วมกบั ผู้อ่ืนอยา่ งเหมาะสม
9. เลือกใช้สื่อภาษาท่ีสะท้อนการเรียนรู้เก่ียวกับการแนะนำตนเอง แนะนำผู้อ่ืน การกระทำที่ดีและไม่ดีของ
ตนเอง ในชมุ ชนและท้องถิน่ ด้วยการสร้างสรรค์ผลงานตามความถนัดและความสนใจของตนเองอยา่ งเหมาะสม
45
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
สาระสำคญั ของกลุม่ สาระการเรียนรู้
ความสำคญั ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
พฒั นาการการเรยี นรดู้ า้ นสุนทรยี ศาสตร์ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศลิ ป์)
เด็กประถมต้น (ช่วงช้ันที่ ๑) เป็นวัยที่สมองกำลังพัฒนาอย่างรวดเร็ว ขยายความจุอย่างมาก
จึงเป็นหน้าต่างแห่งโอกาสทองในการพัฒนาสมองที่สำคัญ ๔ ด้าน ได้แก่ ๑) พัฒนาสมองส่วนเช่ือมต่อ
(Corpus Callosum) เพ่ือสร้างสมดุลระหว่างสมองซีกซ้ายและซีกขวา ซ่ึงมีผลต่อพัฒนาการท้ัง Psychomotor
ความเข้าใจเชิงโครงสร้าง เชิงระบบ รวมถึงการทำงานเซลล์กระจกเงา (Mirror Neurons) ใน Premotor Cortex
ซ่ึงเป็นเซลล์ท่ีตอบสนองต่อพฤติกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ท่ีเรียนรู้จากการสังเกตและเลียนแบบผู้อ่ืน
๒) พัฒนาการทำงานของสมองส่วนหน้าให้เกิดโครงข่ายของเซลล์ประสาทในชุดท่ีรับรู้ความละเอียดประณีต
ซับซ้อน การตัดสินใจ การคิดวิจารณญาณ การสะท้อนคิดอย่างลึกซึ้ง (Executive Function) ๓) การพัฒนา
ของสมองส่วนหน้าท่ีไปช่วยกำกับการทำงานของสมองส่วน Limbic System และ Amygdala ท่ีเกี่ยวข้องกับ
อารมณ์และความทรงจำ และ ๔) การพัฒนาสมองส่วน Cerebellum ที่ทำงานเกยี่ วข้องกับการเคล่ือนไหวของ
ร่างกาย มีจังหวะ ท่วงที ลีลา และการทำงานของร่างกายทุกส่วนกับขอบเขตและมิติของพื้นท่ี ซึ่งต้องอาศัย
ศิลปะทั้งทัศนศิลป์และดนตรีเป็นฐานปฏิบัติเรียนรู้ และสามารถกระตุ้นพัฒนาการของสมองทั้ง ๔ หน้าท่ี
ดังกล่าวไดโ้ ดยตรง
การทำงานของสมองท้ัง ๔ ส่วนนี้ สามารถจะกระตุ้นให้เกิดประสิทธิภาพด้วยการเรียนรู้ฝึกฝน
ดา้ นศลิ ปะ ท้ังทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ ผา่ นท้ังกระบวนการการรับรู้สมั ผัสสุนทรียภาพ และกระบวนการ
สร้างงานศิลปะ รวมท้ังการใช้ศิลปะเพื่อการพัฒนาจิตใจ (Contemplative Arts) มองเห็นความสัมพันธ์
ของความรู้สึกท่ีมีผลต่อการทำงานและการพัฒนาด้านจิตใจ ถ้าหากพลาดการใช้โอกาสแห่งการเชื่อมโยงของ
เซลลส์ มองชดุ เหลา่ น้ี เซลล์สมองจะตัดวงจรนอ้ี อกโดยอัตโนมตั ิ และยากทจี่ ะสรา้ งขึ้นใหมใ่ นวัยท่ีโตขึ้น
ลักษณะเฉพาะ/ ธรรมชาติของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ธรรมชาติการเรียนรู้ของนักเรียนในช่วงช้ันที่ ๑ น้ี เป็นวัยที่กระตือรือร้นในการเล่น กล้าทดลอง
หาประสบการณ์ตรงด้วยตนเองอย่างไม่กลัวถูกผิด พร้อมที่จะสร้างสรรค์ผลงานจากความฝัน ความทรงจำ
ความรู้สกึ ตา่ ง ๆ เช่น การประดิษฐ์ การถ่ายทอดจนิ ตนาการ นกั เรียนควรไดท้ ดลองเล่น เช่น เล่นกับผลกระทบ
ของสี วัสดุ สิ่งที่ใช้ในการสร้างสรรค์งาน เล่นกับเสียงที่มีค วามแตกต่าง และการละเล่นแบบต่าง ๆ
ท่ีมีทั้งบทร้อง ด้วยลีลาและท่าทางที่หลากหลาย นักเรียนจะค่อย ๆ เห็นและยอมรับความหลากหลายของ
งานศิลปะทกุ แขนง ทีเ่ ป็นการแสดงออกของอารมณ์ความร้สู กึ ท้ังของตนเองและหมคู่ ณะ
นักเรียนในช่วงช้ันนี้ ชอบที่จะอ่านโลกและให้ความหมายกับส่ิงต่าง ๆ รอบตัว ชอบมีเพ่ือนเล่นและ
เล่นเป็นกลุ่ม ร่วมกันสร้างเรื่องราวโดยนำความรู้สึกและความเข้าใจ ผนวกกับจินตนาการ ออกมาเป็นงาน
สร้างสรรค์ผลงานศิลปะทุกแขนง นักเรียนจะเร่ิมตระหนักถึงความสัมพันธ์ของการนำความรู้สึกนึกคิดน้ัน
มาบอกเลา่ ใหม่ ทแ่ี สดงถึงประสบการณข์ องนักเรยี น หรือประสบการณท์ ี่นกั เรียนได้มรี ่วมกับผู้อนื่
46
จดุ เนน้ การพฒั นา
ด้านท่ี ๑ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาด้านเจตคติ (Affective Domain) ได้แก่ ความรู้สึกนึกคิด
ความซาบซ้ึง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจ คุณธรรม และค่านิยม ควรได้รับการส่งเสริมให้สามารถซึมซับ
รับรู้คุณค่า ความงาม ความประณีต สุนทรียภาพ ในธรรมชาติและส่ิงรอบตัว พร้อมทั้งฝึกฝนกระบวนการ
ทางศลิ ปะ ซง่ึ เริ่มต้นดว้ ยการใช้ศิลปะเพื่อการพฒั นาจิตใจ (Contemplative Arts) เพื่อการสะท้อนย้อนมองถึง
สภาวะจิตและกาย และสามารถจัดการตนเองให้เป็นปกติพร้อมที่จะสร้างผลงานศิลปะท้ังในด้านทัศนศิลป์
ดนตรี และนาฏศิลป์ นักเรียนไม่เพียงมีความรู้ทางด้านศิลปะหรือมีทักษะในการสร้างงานศิลปะเท่านั้น
แต่ควรจะได้พัฒนาถึงระดับท่ีเกิดความตระหนักรู้เชิงคุณค่า และมีทัศนคติเชิงบวก ควรฝึกให้นักเรียน
กล้าสร้างสรรค์งานและนำเสนอในรูปแบบท่ีหลากหลาย และฝึกการรับฟังความคิดเห็นท่ีมีผลต่อการพัฒนา
งานศิลปะท้ังของตนเองและของผู้อ่ืนเพื่อสื่อสารและลดช่องว่างระหว่างสิ่งที่ตนเองเห็นกับผลงานท่ีสร้างขึ้น
รวมถงึ ส่งิ ท่ีผู้อื่นเหน็ และรบั รู้
ด้านที่ ๒ การผสานศิลปะสากลกับศิลปะและวัฒนธรรมไทย เป็นกระบวนการพัฒนาความเป็น
พลเมืองที่ม่ันคงด้วยการมีรากฐาน ภูมิปัญญา ด้านศิลปวัฒนธรรมไทย อย่างทัดเทียมกับสากล ด้วยความ
ภาคภูมิใจ สำหรับเดก็ วัยนีจ้ ะไม่เพยี งมีผลในการกล่อมเกลาทางด้านสุนทรียภาพ แต่ไปถึงสุนทรียภาพท่แี ฝงอยู่
ในภูมิธรรม ภูมิปัญญาไทย สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กในวัยนี้ที่กำลังสร้างความสัมพันธ์ของตนเองและ
ผอู้ น่ื รวมท้ังสิ่งแวดลอ้ มทางสังคมอย่างแนบแน่น
การนำไปใช้ในชีวิตจรงิ
ระดับตนเอง การนำสุนทรียภาพไปใช้ในชีวิต คือ เป็นผู้มีสายตามองเห็นคุณค่า ความงามของ
สรรพสิ่งรอบตัว เกิดความคิดเชิงบวกและแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานศิลปะและสุนทรียภาพในชีวิต
และสิ่งแวดล้อมรอบตวั ทำกิจกรรมทุกอย่างในชีวิตและทำงานอย่างมีศลิ ปะ
ระดับชุมชนและสังคม รู้จักการใช้งานศิลปะเป็นส่วนประกอบสร้าง แรงบันดาลใจ แรงศรัทธา
เสริมเอกภาพของกลุ่มคน ชุมชน สังคม โดยมีศิลปะเป็นเครื่องจรรโลงจิตใจ และน้อมนำไปสู่การสร้างงาน
ศิลปะสาธารณะกศุ ล ศิลปะเพอ่ื ชมุ ชน ศิลปะในวฒั นธรรมประเพณี ในวาระ หรือเทศกาลที่สำคัญต่าง ๆ
การบูรณาการกบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ
บูรณาการระหว่างทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ อย่างสอดคล้องและกลมกลืน และบูรณาการกับ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ดงั น้ี
ภาษาไทย/ ภาษาองั กฤษ วรรณกรรม ภาษา และดนตรี นาฏศลิ ป์ เป็นส่ือประกอบทีเ่ ก้ือกูลกัน
เป็นการฝึกทักษะทางภาษาของเด็กในวัยช่วงชั้นท่ี ๑ เป็นอย่างดี ได้ออกเสียงที่ชัดเจน มีจังหวะ มีลีลา
มีท่วงทำนอง ทำให้การเรียนรู้คำกลอน บทร้องเล่น เป็นการเรียนที่มีความรื่นรมย์ ลื่นไหล มีความสุข และ
สามารถถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ได้ตรงกับความหมาย เกิดปฏิภาณไหวพริบในการใช้ภาษา และเป็นท่ีมา
ของคลังคำที่หลากหลาย เด็กในวัยนี้สามารถใช้การวาดภาพเป็นส่ือถ่ายทอดแทนภาษาเขียนเพ่ือให้ตนเอง
เกดิ ความเขา้ ใจความหมาย หรือบนั ทึกเรื่องราวทเ่ี ป็นความร้สู กึ นกึ คดิ ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน เพอื่ ทดแทนชดุ ภาษา
ทไ่ี มเ่ พียงพอ และสามารถส่ือกบั ผอู้ ื่นใหเ้ ข้าใจความคิดและความหมายเหลา่ น้นั
47
สังคมศึกษา เป็นส่ือในการถ่ายทอดเรื่องราวความสัมพันธ์ ความผูกพันของครอบครัว โรงเรยี น
และชุมชนโดยรอบ นำเสนอองค์ประกอบของพื้นที่โดยการใช้แผนผัง แผนที่ การกำหนดสถานท่ีสำคัญตา่ ง ๆ
ทิศทาง ขอบเขตในระดับต่าง ๆ ถ่ายทอดเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ผ่านการดูงานจิตรกรรม อ่านตำนาน
และบันทึกเป็นภาพวาด ทำความเข้าใจเหตุการณ์ท่ีไกลตัว (Space and Time) เพื่อทำความเข้าใจ
ความเปล่ยี นแปลงของโลกและระบบธรรมชาติก่อนทจี่ ะมีมนษุ ย์เกิดข้ึน
คณิตศาสตร์ ในเรื่องเส้น รูปร่าง รูปทรงขนาด ความหนาบาง พื้นท่ี พ้ืนผิว และสีอ่อนแก่
การจำแนก แยกแยะ จดั กลุ่ม จดั องคป์ ระกอบศิลปะด้วยเส้นและรปู ร่าง รปู ทรงเรขาคณติ ทง้ั แบบสมบูรณแ์ ละ
แบบแตกลาย หรือขยายอย่างมี Pattern การจัดองค์ประกอบศิลป์ ด้วยจังหวะของรูปและที่ว่าง (Solid and Void)
ทงั้ บนหนา้ กระดาษ หรอื การแสดงบนเวที ตลอดจนคา่ ความยาวของเสียง การเกิดระดบั เสียงในดนตรี
วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ การสำรวจและสังเกตธรรมชาติเป็นกระบวนการร่วม
ทั้งด้าน วิทยาศาสตร์และสุนทรียศาสตร์ ท่ีช่วยให้เด็กรู้จักและเข้าใจสรรพสิ่งในธรรมชาติด้วยการสัมผัส
และมีประสบการณ์ตรง สามารถเห็นรายละเอียดและระบุ ตั้งคำถามเพ่ือการสืบค้นที่มาของปรากฏการณ์ต่าง ๆ
และกระบวนการแปรรูปวัสดุธรรมชาติเพื่อนำมาสร้างงานศิลปะ เช่น สีเพื่อการวาดภาพ ดินสำหรับงานป้ัน
ท้ังนี้ เด็กจะได้เรียนรู้ถึงวิธีการสกัดสีด้วยวิธีง่าย ๆ จากการบด ค้ัน ดอกไม้ เปลือกไม้ ใบไม้ ฝน ดิน หิน และ
การทดลองเพ่ิมคุณสมบัติของสีด้วยน้ำมะนาว น้ำข้ีเถ้า หรือการเตรียมดินป้ัน ด้วยกระบวนการคัดแยก
ย่อย กรอง ละลาย กระบวนการเล่นนี้ นอกจากเด็กจะได้รู้ถึงท่ีมาของวัสดุสำคัญท่ีใช้สร้างช้ินงานศิลปะแล้ว
ยังไดค้ วามเขา้ ใจพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตรไ์ ปพร้อมกนั
ความสมั พันธ์ระหว่างสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก
สมรรถนะเฉพาะ ๑. การจดั การตนเอง
๑. สมั ผัส ซึมซบั สุนทรยี ภาพและสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะ ๒. การคดิ ข้ันสูง
๑.๑ รู้จกั ชน่ื ชมสุนทรียภาพ (Art Appreciation) จากธรรมชาติ ๔. การรวมพลังทำงานเปน็ ทีม
๖. การอยรู่ ่วมกบั ธรรมชาติ
สภาพแวดลอ้ มใกลต้ ัว วัฒนธรรม วิถีชวี ิตประจำวัน รวมถงึ ผลงาน
ศิลปะอนั เกี่ยวเนอ่ื งกบั คณุ คา่ ในชวี ิตและการสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะ และวิทยาการอย่างย่งั ยนื
จากการรบั รูท้ างการมองเหน็ การสัมผัส การรับชม การได้ฟงั และ
การบูรณาการข้ามประสาทสัมผัส
๑.๒ ใช้ศิลปะ เพอื่ การพฒั นาจติ ใจผา่ นการทำงานอย่างมีสมาธิ สังเกต
เหน็ เข้าใจและรับร้สู นุ ทรยี ภาพ ผ่านความสัมพันธข์ องพหุประสาท
สมั ผสั (กาย – ใจ – มือ – ตา – หู ) กบั ธรรมชาติ
48
๒. การสรา้ งงานทศั นศิลป์ ๑. การจัดการตนเอง
๒.๑ รบั รู้ สังเกต ใช้ภาษาทางทัศนศลิ ปอ์ ย่างเขา้ ใจความหมายและเข้าใจ ๒. การคดิ ขัน้ สูง
๓. การส่ือสาร
ความสมั พันธ์ขององค์ประกอบทางทศั นศิลป์ เชน่ เส้น รูปร่าง และ ๕. การเปน็ พลเมอื งท่ีเขม้ แข็ง
รูปทรง ความกลมกลนื ความสมดุล ความเป็นเอกภาพ สามารถ ๖. การอยรู่ ่วมกับธรรมชาติ
สอ่ื ความหมายทางรูปแบบและเรอ่ื งราวตามจินตนาการและความคิด
สร้างสรรคไ์ ด้ และวิทยาการอย่างย่งั ยืน
๒.๒ ทดลองและสงั เกตผลที่เกิดจากการใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ของตนเอง และ
นำไปประยุกต์ใชใ้ นการสรา้ งสรรค์ และการนำเสนองานศิลปะ
๒.๓ สรา้ งสรรค์งานทศั นศิลป์ท่ตี นเองช่นื ชอบ หรือร่วมสรา้ งสรรคก์ ับผู้อื่น
ถา่ ยทอดจินตนาการจากธรรมชาติ สภาพแวดล้อม เรือ่ งราวใกล้ตวั
ท่ีเช่อื มโยงกับวิถชี ีวิตประจำวนั ครอบครัว โรงเรียน ชมุ ชน และ
จากประสบการณ์ โดยการลองผดิ ลองถกู ด้วยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย
จนค้นพบส่ิงใหม่
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั
๓. ร้อง เล่น เต้น และเคล่ือนไหวตามเสียงดนตรี
๓.๑ สนกุ กับการร้องเพลง หรอื บรรเลงดนตรที ี่เหมาะกบั ชว่ งวยั เรยี นรู้ ๒. การคดิ ข้ันสงู
อารมณข์ องบทเพลงทฟี่ ัง ๓. การสอ่ื สาร
๓.๒ ฟัง อธิบาย เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตา่ งของเสยี งทมี่ า ๔. การรวมพลงั ทำงานเป็นทมี
จากธรรมชาติและเครื่องดนตรีตา่ ง ๆ รูปแบบการเกดิ เสียง ๖. การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
และอธิบายบทเพลงด้วยองค์ประกอบดนตรี และวิทยาการอย่างยั่งยืน
๓.๓ ใช้รปู ภาพ สัญลักษณแ์ ทนเสียง หรือโนต้ เพลง
๓.๔ ขับร้อง เคาะจังหวะ และบรรเลงดนตรีอยา่ งถูกต้อง ดว้ ยความมั่นใจ
๓.๕ มีส่วนรว่ มในการแสดงดนตรไี ทย สากล หรือของท้องถิ่น ในรูปแบบ
เดีย่ ว หรือกลมุ่ ด้วยความมนั่ ใจ และเหมาะสมกบั วยั รวมท้งั การเป็นผู้
ดู ผชู้ มและผ้แู สดงทเ่ี ข้าใจบทบาทหนา้ ที่ของตน
๔. สร้างสรรคก์ ารเคลื่อนไหวในรูปแบบตา่ ง ๆ อยา่ งอิสระ
49
๔.๑ สนกุ กบั การเคลื่อนไหวร่างกาย เลียนแบบธรรมชาติ คน สัตว์ สิ่งของ ใน ๑. การจัดการตนเอง
ลักษณะตา่ ง ๆ อย่างอิสระ สรา้ งสรรค์และมีสุนทรียภาพ ๒. การคดิ ข้นั สงู
๔.๒ ใช้ภาษาทา่ สอ่ื ความหมายแทนคำพูด และแสดงการเคล่อื นไหวรา่ งกายที่ ๓. การสอื่ สาร
สะทอ้ นอารมณข์ องตนเอง
๔.๓ แสดงท่าทางประกอบการละเล่นพื้นบ้าน นาฏศลิ ปไ์ ทย หรอื นาฏศลิ ป์
ประเทศเพ่อื นบ้าน ที่เหมาะสมกบั วัย
๔.๔ สนกุ กบั การละเล่นพนื้ บ้าน และเลา่ ถงึ การแสดงนาฏศลิ ป์ในทอ้ งถิ่น
ท่ตี นเองชนื่ ชอบ
๕. ศิลปะวจิ กั ขณ์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ และเชอ่ื มโยงผลงานศิลปะ (ทศั นศิลป์ ดนตรี นาฏศลิ ป์) กับวัฒนธรรม
ในชวี ิตประจำวันและในท้องถ่ิน
๕.๑ รบั รู้ ชื่นชมความงามของผลงานศิลปะทมี่ คี ุณคา่ ทางสุนทรยี ะ ๑. การจดั การตนเอง
แสดงออกถึงอารมณ์ ความร้สู ึก ความประทับใจ และความคดิ เห็น ๒. การคิดขนั้ สงู
ทีส่ ะท้อนประสบการณ์สุนทรยี ะที่สมั พนั ธ์กบั ผลงานศิลปะ ๓. การสื่อสาร
๕.๒ แสดงความเห็นต่อผลงานศิลปะของตนเอง งานของผู้อน่ื หรืองานที่ทำ ๔. การรวมพลงั ทำงานเป็นทีม
ร่วมกับเพื่อน อยา่ งสรา้ งสรรค์ สภุ าพ มเี หตุผล เปิดใจรับฟงั ความเห็น ๕. การเป็นพลเมืองที่เข้มแขง็
ของผ้อู นื่ และนำมาปรบั ปรงุ ผลงานของตนให้สมบูรณ์ ๖. การอยรู่ ่วมกบั ธรรมชาติ
๕.๓ เหน็ คุณค่าของประวตั ิศาสตร์ศิลป์ สบื สาน ประยุกตง์ านศิลปะ และวทิ ยาการอยา่ งย่ังยืน
และวัฒนธรรมในทอ้ งถนิ่ เพื่อนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน วนั สำคัญ หรือ
เทศกาลต่าง ๆ
ผลลัพธ์การเรียนร้เู มอ่ื จบช่วงชนั้ ท่ี ๑
๑. สัมผัสถึงสุนทรียภาพ รับรู้ความงาม ความไพเราะ เกิดความประทับใจ อธิบายความคิด ความรู้สึกของตน
ช่ืนชม มีแรงบันดาลใจในการถ่ายทอด และบูรณาการเชื่อมโยงธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ด้วยงานศิลปะ
(ทศั นศิลป์ ดนตรี และนาฏศลิ ป)์
๒. สรา้ งสรรคผ์ ลงานทศั นศิลป์ท่ตี นเองช่นื ชอบ ถ่ายทอด ความคดิ ความรูส้ กึ จินตนาการ สะท้อนถึงธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม เร่ืองราวใกล้ตัว ในชีวิตประจำวันท่ีเช่ือมโยงกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และท้องถิ่น
เปน็ องคป์ ระกอบทางทัศนศลิ ป์ เช่น เส้น รูปร่าง รปู ทรง วสั ดุ อุปกรณ์ และสี ดว้ ยรปู แบบท่ีหลากหลาย
๓. ร้องเพลง หรือบรรเลงดนตรีสอดคล้องกับอารมณ์ของบทเพลงท่ีฟัง ใช้รูปภาพ สัญลักษณ์แทนเสียง
หรือโน้ตเพลง ในการเคาะจังหวะ ขับร้อง หรือบรรเลงเพลงอย่างถูกต้อง อธิบายองค์ประกอบทางดนตรี
เปรยี บเทียบความเหมอื นและความแตกต่างของเสยี งทีม่ าจากธรรมชาติและเคร่อื งดนตรีต่าง ๆ และรูปแบบ
การเกิดเสยี งแบบตา่ ง ๆ
๔. มีส่วนร่วมในการแสดงดนตรีไทย สากล หรือของท้องถิ่น ในรูปแบบเดี่ยวหรือกลุ่ม ด้วยความมั่นใจ
เหมาะสมกบั วัย รวมทั้งการเปน็ ผู้ดู ผู้ชมทีเ่ ขา้ ใจบทบาทหน้าท่ีของตน
50
๕. สนุกกับการเคลื่อนไหวร่างกาย เพ่ือแสดงท่าทางเลียนแบบในลักษณะต่าง ๆ อย่างอิสระ สร้างสรรค์
และมีสุนทรียภาพ ใช้ภาษาท่าในการส่ือความหมายแทนคำพูด ท่ีสะท้อนอารมณ์ของตนเอง ในรูปแบบ
การละเล่นพ้ืนบ้าน นาฏศิลป์ไทย หรือนาฏศิลป์ประเทศเพ่ือนบ้าน ท่ีเหมาะสมกับวัย และเล่าถงึ นาฏศิลป์
ในทอ้ งถิ่นท่ตี นเองชนื่ ชอบ
๖. รับรู้ ชน่ื ชมความงาม ความไพเราะ แสดงออกทางอารมณ์ ความคดิ ความรู้สึก ความประทับใจ และ
นำเสนอผลงานศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) ดว้ ยความมั่นใจ แสดงความเห็นต่อผลงานศลิ ปะของ
ตนเอง งานของผู้อ่ืน หรอื งานทีท่ ำร่วมกบั เพอื่ น อย่างสร้างสรรค์ สุภาพ มีเหตุผล เปิดใจรับฟงั ความเหน็
ของผูอ้ ่ืนและนำมาปรับปรงุ ผลงานของตนใหส้ มบูรณ์
๗. เช่ือมโยง ผลงานศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) กับวัฒนธรรม ชีวิตประจำวัน เป็นส่ือแสดงความงาม
ได้อย่างอิสระ ร่วมสร้างสรรค์ ประยุกต์งานศิลปะ และวัฒนธรรมในท้องถ่ิน เพ่ือนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน
วันสำคัญ หรือเทศกาลตา่ ง ๆ
ผลลัพธก์ ารเรียนรู้รายชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑
1. สัมผัส รบั รู้ มแี รงบันดาลใจ เกยี่ วกับความงามของสุนทรยี ภาพ สีสัน รูปร่าง รูปทรง พ้ืนผิว และศิลปะใน
ดา้ น ทศั นศิลปไ์ ด้ถูกต้องและเหมาะสมตามวยั
2. สรา้ งสรรค์ผลงาน ถา่ ยทอดจนิ ตนาการ และเชื่อมโยงงานทศั นศิลป์ทเ่ี ก่ียวกับเรอื่ งราวใกลต้ วั ใน
ชวี ิตประจำวนั องคป์ ระกอบทางทศั นศิลป์ เช่น เส้น และรูปรา่ งสะท้อนถงึ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมดว้ ย ความรสู้ กึ
3. อธบิ ายเปรยี บเทียบเก่ยี วกับอารมณ์ของบทเพลงทีฟ่ ัง องค์ประกอบทางดนตรี เครอ่ื งดนตรตี ่างๆที่พบเจอ
ในโรงเรียน รอ้ งเพลง ขบั ร้อง บรรเลงดนตรที ่ีใช้เคาะจังหวะอยา่ งถูกตอ้ ง
4. เข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าทข่ี องตนที่ได้รับมสี ่วนร่วมในการแสดงดนตรไี ทย สากล รปู แบบเด่ยี วหรอื กลุ่มใน
โรงเรยี นด้วยความมัน่ ใจรวมทง้ั เป็นผดู้ ู ผู้ชมทด่ี แี ละเหมาะสมกับวัย
5. สนกุ กบั การแสดงท่าทางการเคล่อื นไหวรา่ งกาย สร้างสรรค์ท่าทางเลียนแบบในลักษณะต่าง ๆใช้ภาษาทา่ ใน
การสอ่ื ความหมายแทนคำพดู ช่นื ชอบการละเลน่ พืน้ บ้าน ได้เหมาะสมกบั วัย
6. รับรู้ ชื่นชม แสดงออกนำเสนอ สรา้ งสรรค์ ความงาม ความไพเราะเก่ยี วกบั ผลงานศลิ ปะในดา้ น
(ทศั นศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) จากแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนด้วยความรู้สึกม่ันใจ และประทบั ใจ
7. เชื่อมโยง สรา้ งสรรค์นำไปประยกุ ต์ใช้ ผลงานศิลปะวัฒนธรรมในชีวิตประจำวนั ในโรงเรยี น ในด้าน
(ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศลิ ป์)รวมถึง ศิลปะวนั สำคัญ หรอื เทศกาลต่าง ๆได้ อย่างอิสระ
ผลลพั ธ์การเรยี นรู้รายชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 2
1. สัมผัส รบั รู้ มแี รงบนั ดาลใจเกิดความประทบั ใจ เกีย่ วกบั ความงามของสุนทรียภาพ สีสัน รปู ร่าง รปู ทรง
พนื้ ผิว ความอิสระในการถา่ ยทอดผ่านภาพวาดของงานศลิ ปะในดา้ น ทศั นศลิ ปไ์ ดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสมตามวยั
2. สรา้ งสรรค์ ถา่ ยทอดจินตนาการและ เชอื่ มโยงงานทัศนศลิ ป์ท่ีเกีย่ วกบั เร่อื งราวใกลต้ วั ในชีวิตประจำวัน
องค์ประกอบทางทศั นศลิ ป์ เช่น เสน้ และรูปร่างสะท้อนถงึ ธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ มด้วย ความรู้สึก
51
3. อธบิ าย เปรยี บเทยี บเกย่ี วกับอารมณ์ของบทเพลงทฟี่ งั องค์ประกอบทางดนตรี เคร่อื งดนตรีตา่ งๆที่พบเจอ
ในโรงเรียน รอ้ งเพลง ขับรอ้ ง บรรเลงดนตรีที่ใช้ เคาะจังหวะอยา่ งถกู ต้อง
4. เขา้ ใจเกยี่ วกบั บทบาทหนา้ ที่ของตนทไ่ี ด้รับมสี ่วนร่วมในการแสดงดนตรีไทย สากล รปู แบบเดี่ยวหรอื กลุม่ ใน
โรงเรยี นและชมุ ชนดว้ ยความม่นั ใจรวมทั้งเป็นผดู้ ู ผชู้ มที่ดีและเหมาะสมกับวยั
5. สนกุ กับการแสดงทา่ ทางการเคลื่อนไหวรา่ งกาย สรา้ งสรรคท์ ่าทางเลียนแบบในลักษณะต่าง ๆใช้ภาษาท่าใน
การสื่อความหมายแทนคำพดู ชืน่ ชอบการละเล่นพ้นื บ้านนาฏศิลป์ไทย หรือนาฏศลิ ป์ประเทศเพอื่ นบา้ นได้
เหมาะสมกับวัย
6. รับรู้ ชนื่ ชม แสดงออกนำเสนอ แสดงออก สรา้ งสรรค์ ความงาม ความไพเราะเก่ยี วกับผลงานศิลปะในดา้ น
(ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) จากแหลง่ เรยี นรู้ในโรงเรยี น และชมุ ชนด้วยความรสู้ ึกม่นั ใจ และประทับใจ
7. เช่อื มโยง สรา้ งสรรค์นำไปใช้ ประยกุ ต์ ผลงานศลิ ปะวฒั นธรรมในชีวิตประจำวัน ในโรงเรียน ชมุ ชน ในด้าน
(ทศั นศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์)รวมถงึ ศิลปะวนั สำคัญ หรือเทศกาลตา่ ง ๆได้ อย่างอิสระ
ผลลพั ธ์การเรยี นรู้รายชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3
1. สมั ผัส รับรู้ มีแรงบนั ดาลใจเกิดความประทบั ใจ อธบิ าย ชืน่ ชมถ่ายทอด และเชอ่ื มโยงความงามของ
สนุ ทรยี ภาพ สสี ัน รูปรา่ ง รูปทรง พ้นื ผวิ ความอิสระในการถ่ายทอดผ่านภาพวาด งานป้นั และคุณสมบัตขิ องดิน
หรือวัสดุอืน่ ๆของงานศิลปะบริเวณรอบร้ัวโรงเรยี น ในด้าน ทศั นศิลปไ์ ดถ้ ูกต้องและเหมาะสมตามวัย
2. สร้างสรรคผ์ ลงาน ถ่ายทอดจินตนาการและ เชื่อมโยงงานทัศนศลิ ปท์ เี่ กย่ี วกบั เรอื่ งราวใกล้ตัว ใน
ชวี ติ ประจำวันองคป์ ระกอบทางทัศนศิลป์ เช่น เส้น และรูปร่างสะทอ้ นถงึ ธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ มด้วย ความรู้สึก
3. อธบิ ายเปรียบเทยี บเกย่ี วกบั อารมณ์ของบทเพลงท่ีฟงั องค์ประกอบทางดนตรี เครื่องดนตรีตา่ งๆที่พบเจอ
ในโรงเรยี น รอ้ งเพลง ขบั รอ้ ง บรรเลงดนตรีท่ีใช้ เคาะจงั หวะอย่างถูกตอ้ ง
4. เขา้ ใจเกี่ยวกับบทบาทหนา้ ทขี่ องตนทไ่ี ด้รบั มีส่วนร่วมในการแสดงดนตรไี ทย สากล รปู แบบเด่ียวหรือกลุม่ ใน
โรงเรียนชมุ ชน และทอ้ งถนิ่ ด้วยความมนั่ ใจรวมทงั้ เป็นผดู้ ู ผูช้ มทด่ี แี ละเหมาะสมกับวัย
5. สนกุ กบั การแสดงทา่ ทางการเคลอื่ นไหวร่างกาย สร้างสรรค์ ท่าทางเลยี นแบบในลกั ษณะตา่ ง ๆใช้ภาษาท่าใน
การส่ือความหมายแทนคำพดู ชน่ื ชอบ การละเลน่ พ้นื บา้ นนาฏศิลป์ไทย หรอื นาฏศลิ ป์ประเทศเพ่อื นบา้ น
นาฏศิลป์ในทอ้ งถ่ินได้เหมาะสมกับวยั
6. รับรู้ ชน่ื ชม แสดงออกนำเสนอ แสดงออก สรา้ งสรรค์ ความงาม ความไพเราะเกี่ยวกับผลงานศิลปะในด้าน
(ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศลิ ป์) จากแหลง่ เรียนรู้ในโรงเรยี น ชุมชนและทอ้ งถน่ิ ดว้ ยความรู้สกึ มน่ั ใจ และประทบั ใจ
7. เชือ่ มโยง สรา้ งสรรค์นำไปใช้ ประยุกต์ ผลงานศลิ ปะวฒั นธรรมในชวี ิตประจำวนั ในโรงเรียน ชุมชน และ
ท้องถ่นิ ในดา้ น (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศลิ ป)์ รวมถึง ศิลปะวนั สำคญั หรอื เทศกาลต่าง ๆได้ อยา่ งอิสระ
52
กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศึกษา
สาระสำคญั ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ความสำคญั ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
กล่มุ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชว่ ยให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทั้งกายและจิตท่ีดีซ่ึงมคี วามสำคัญ
เพราะเก่ยี วโยงกับทกุ มิติของชีวิต ทุกคนควรได้เรียนรู้เรื่องสุขภาพ เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง
มีเจตคติ คุณธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นนิสัย ทำให้ผู้เรียนเกิด
สมรรถนะในการใช้ชีวิต ส่งผลให้สังคมโดยรวมมีคุณภาพ
ลกั ษณะเฉพาะ/ ธรรมชาติของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
กลุม่ สาระการเรียนรู้น้ปี ระกอบด้วย สุขศึกษาและพลศึกษา ดงั นี้
สขุ ศกึ ษา มงุ่ เน้นการจัดโอกาสการเรียนรู้ให้เกิดการปฏิบัติทางสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตจนเป็นนิสัย
มคี วามรับผดิ ชอบต่อตนเองและผูอ้ ่ืน อันจะนำไปสู่การปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมสุขภาพของบคุ คล ครอบครวั และ
ชมุ ชน เพอ่ื การมีสุขภาพกายและจิตทดี่ ี
พลศึกษา มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวท่ีต้องควบคุมร่างกายและจิตใจในการทำกิจกรรม
ทางกาย การออกกำลังกาย การเล่นเกม และกีฬา ชว่ ยให้รา่ งกายเจริญเตบิ โตสมวยั มีสขุ ภาพดี มีระเบียบ วินัย
อดทน สร้างสรรค์ความสามัคคี มีความรบั ผิดชอบต่อตนเองและผูอ้ ่นื
จุดเน้นการพัฒนา
การพั ฒ นาผู้เรียนในช่วงช้ันท่ี 1 นี้ มีเป้าหมายสำคัญ เพ่ือให้ผู้เรียน มีสุขภาพ กายที่ดี
และการเจริญเติบโตท่ีเหมาะสม มีกิจกรรมทางกายอย่างสนุกสนานและปลอดภัย มีสุขภาพจิตที่ดี มีทักษะ
ในการดำเนินชวี ิต และใชข้ ้อมลู สารสนเทศเสรมิ สร้างสุขภาพทดี่ ี
เป้าหมายสำคัญดังกล่าว ประกอบด้วยสมรรถนะเฉพาะ ๓ สมรรถนะ ซึ่งมีความสัมพันธ์
เช่ือมโยงกับสมรรถนะหลักทั้ง 6 สมรรถนะ และบรู ณาการกนั เป็นผลลพั ธ์การเรียนรู้ช่วงชน้ั ที่ 1 จำนวน 8 ข้อ
สำหรับนำไปกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ต้องคำนึงถึงการบูรณาการสมรรถนะหลัก
และสมรรถนะเฉพาะด้วย โดยจัดกิจกรรม ประสบการณ์ หรือสถานการณ์จากเร่ืองราวใกล้ตัวไปสู่ไกลตัว
จากง่ายไปยาก ตามพฒั นาการของผูเ้ รียน ฝึกปฏิบัตอิ ย่างตอ่ เน่ือง
สำหรับชว่ งชน้ั ท่ี ๑ จากผลลพั ธ์การเรยี นรูด้ งั กลา่ ว อาจจัดประสบการณ์การเรยี นรู้เป็น 3 กลมุ่ ดงั นี้
การมีสุขภาพกายท่ีดีและการเจริญเติบโตท่ีเหมาะสม เป็นการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน
สร้างนิสัยการดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ ดูแลและป้องกันตนเอง
ให้ปลอดภัยจากอาการเจ็บป่วย หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่เป็นอันตราย และรู้จักขอความช่วยเหลือจากบุคคล
ทไ่ี ว้วางใจ รวมทั้งการใชข้ ้อมลู ดา้ นสุขภาพใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาสุขภาพ
การมีกิจกรรมทางกายอย่างสนุกสนานและปลอดภัย เป็นการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน
มีกิจกรรมทางกายด้วยการเคลื่อนไหวร่างกายท้ังแบบอยู่กับท่ี เคลื่อนท่ี และแบบมีอุปกรณ์ เล่นเกม การละเล่น
พื้นเมือง ออกกำลังกาย และเล่นกีฬาท้ังประเภทเด่ียว ประเภทคู่ และประเภททีม เป็นประจำสม่ำเสมอ
ด้วยความสนกุ สนาน และปลอดภัย และรักษาส่ิงแวดล้อม โดยจัดพ้ืนทปี่ ลอดภัยในการทำกิจกรรมทง้ั ก่อนและ
หลงั ทำกจิ กรรม
53
การมีสุขภาพจิตท่ีดีและมีทักษะในการดำเนินชีวิต เป็นการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน
เห็นคุณค่าของตนเอง ร้จู ักและจัดการอารมณ์ ความคิด และพฤติกรรมของตนเองอย่างเหมาะสม มีความเหน็ อก
เหน็ ใจผอู้ น่ื สร้างสมั พันธภาพทดี่ กี ับผู้อื่น และมสี ว่ นรว่ มในการชว่ ยเหลือสงั คม
การนำไปใช้ในชวี ิตจริง
การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย จนเกดิ สมรรถนะ ควรออกแบบกิจกรรมท่เี อ้อื ตอ่ การนำไปใช้
ในชีวิตจริง จัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และเรียนรู้จากการปฏิบัติท่ีหลากหลายรูปแบบ
เช่น ออกแบบการเรยี นรทู้ ่ีให้ผู้เรยี นตดั สินใจเลือกรับประทานอาหารเหมาะสมกับวัย ป้องกันตนเองจากอุบตั ิเหตุ
ต่าง ๆ ทั้งท่ีบ้าน โรงเรียนและระหว่างการเดินทางได้ จัดสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกปฏิบัติการ
เอาตัวรอดจากเหตุการณ์ที่ไม่น่าไว้วางใจ ป้องกันตนเองจากอุบัติเหตุ และสร้างสัมพันธภาพกับคนรอบข้าง
จัดพ้ืนที่ให้ผู้เรียนได้แสดงความสามารถตามศักยภาพ ฝึกให้รู้จักอารมณ์ ความคิด และพฤติกรรมของตนเอง
และสามารถจัดการได้ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างวัน จัดกิจกรรม เกม หรือกีฬา ร่วมกับเพ่ือนในห้อง
ต่างห้อง หรือต่างโรงเรียน ฯลฯ โดยจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ประสานความร่วมมือ
ในการทำกจิ กรรมร่วมกับครอบครวั ชุมชน ตดิ ตามความกา้ วหน้า หรอื พัฒนาการของผู้เรยี นอย่างต่อเนือ่ ง
การบูรณาการกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สามารถจัดการเรียนรู้บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ๆ
ดงั ตัวอย่าง ตอ่ ไปน้ี
ภาษ าไทย/ ภาษ าอังกฤษ จัดสถานการณ์ โดยใช้คำศัพ ท์และเร่ืองราวการ เล่น เกม
การละเล่นพ้ืนเมือง การออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่าน การตั้งคำถาม
เพื่อสืบคน้ ขอ้ มลู การบนั ทึก และสรุปขอ้ มลู ตลอดจนการใช้ภาษาเพ่อื การนำเสนอเรอ่ื งราวจากกิจกรรม
คณิตศาสตร์ นับจำนวนที่เก่ียวข้องกับสุขภาพ การอ่านข้อมูลจากสถิติอย่างง่ายเพ่ือทำความเข้าใจ
เร่ืองราวรอบตัวที่เก่ียวกับการดูแลสุขภาพ การคำนวณผ่านการเล่นเกม การเล่นกีฬา การเคล่ือนไหวร่างกาย
ตามรูปแบบและทิศทางต่าง ๆ
ศิลปะ ใช้จินตนาการในการสร้างสรรค์งานศลิ ปะท่ีสื่อความหมายของเร่ืองราว สะท้อนความคิด
และความรสู้ กึ ในหวั ข้อทนี่ ำเสนอ
สังคมศึกษา จัดกิจกรรมบูรณาการในประเด็นเก่ียวกับการอยู่ร่วมกันในสังคม สามารถ
ปฏิบัติตนตามข้อตกลง ระเบียบ กฎกติกา มารยาท หลักเกณฑ์ของสังคม ได้อย่างมีความรับผิดชอบ
ให้ความร่วมมือในการทำงานเป็นทีมผา่ นการเลน่ การออกกำลังกาย และการเล่นกฬี ารว่ มกัน
วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ จัดกิจกรรมบูรณาการในประเด็นเก่ียวกับสถานการณ์จริง
ในชีวิตประจำวัน เช่น การรักษาทรัพยากรธรรมชาติ การจัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยจาก
มลพิษทางดนิ น้ำ อากาศ
54
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะ
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั
1. การมีสุขภาพกายท่ีดแี ละการเจริญเตบิ โตที่เหมาะสม
1.1 ความสามารถในปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ 1. การจัดการตนเอง
1.2 ความสามารถในการดแู ลสุขภาพตนเองในได้สมวัย 2. การคิดขัน้ สูง
1.3 ความสามารถในการดูแลตนเองใหป้ ลอดภยั และหลีกเลีย่ งสถานการณ์ 3. การสอื่ สาร
5. การเปน็ พลเมอื งที่เขม้ แข็ง
และสภาพแวดล้อมท่ีเส่ียงและเปน็ อันตรายตอ่ สุขภาพ
6. การอยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาติ
1.4 ความสามารถในการใชข้ อ้ มูลข่าวสารเพื่อสรา้ งเสริมสขุ ภาพ
และวิทยาการอยา่ งยั่งยืน
2. การมกี ิจกรรมทางกายอยา่ งสนุกสนานและปลอดภยั
2.1 ความสามารถในการเคลื่อนไหวอวัยวะทกุ ส่วนไดอ้ ย่างสัมพนั ธ์กัน 1. การจดั การตนเอง
2.2 ความสามารถในการเคลอ่ื นไหวหลากหลายรูปแบบ อยา่ งปลอดภยั 2. การคิดข้นั สูง
2.3 ความสามารถในการทำกิจกรรมทางกาย เล่นเกม เล่นการละเล่น 3. การสื่อสาร
พ้ืนเมือง ออกกำลังกาย และเล่นกีฬา อย่างปลอดภัย และมีน้ำใจ 4. การรวมพลังทำงานเปน็ ทมี
นกั กีฬา 5. การเป็นพลเมืองทเ่ี ขม้ แข็ง
6. การอยูร่ ่วมกับธรรมชาติ
2.4 ความสามารถในสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกาย
และวิทยาการอย่างยงั่ ยืน
3. การมสี ุขภาพจติ ที่ดีและมที ักษะในการดำเนินชีวติ
3.1 ความสามารถในการรับรแู้ ละเข้าใจอารมณ์ ความรู้สึกของตนเอง และ 1. การจดั การตนเอง
ผู้อืน่ 2. การคดิ ขัน้ สูง
3.2 ความสามารถในการสอ่ื สารอารมณ์ ความรสู้ กึ ของตนเองได้อย่าง 3. การส่ือสาร
4. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทมี
เหมาะสม 5. การเป็นพลเมืองทเี่ ข้มแขง็
3.3 ความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพท่ีดี กับผอู้ ่ืน
3.4 ความสามารถในการแก้ปัญหาและปรับตัวได้อย่างเหมาะสมตาม
สถานการณ์
55
ผลลัพธ์การเรยี นร้เู มอื่ จบชว่ งชน้ั ท่ี 1
1. ปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ ดูแลสุขอนามัยทางเพศ ทำกิจวัตรประจำวัน กิน นอน พักผ่อน
เลน่ และกจิ กรรมนนั ทนาการท่สี ร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกาย อารมณ์ และสังคมอย่างสมดุลและเหมาะสม
ตามวัย ด้วยความเข้าใจ ถึงผลดีต่อสุขภาพกายและจิต ดู ฟัง อ่าน และแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านสุขภาพ
ที่เหมาะสมกบั วยั เพ่ือนำมาใชใ้ นชีวิตประจำวนั อย่างปลอดภัย และเสรมิ สรา้ งนสิ ัยเกี่ยวกับการดแู ลสุขภาพ
2. รับรู้และหลีกเล่ียงการนำตนเองไปอยู่ในสถานการณ์และสภาพแวดลอ้ มท่ีเสี่ยงและเป็นอันตรายตอ่ สุขภาพ
ปฏิบัติตนตามคำแนะนำ และขอความช่วยเหลือจากบุคคลที่ไว้วางใจอย่างเหมาะสม เม่ือมีอาการเจ็บป่วย
บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ เหตรุ า้ ย หรืออยใู่ นสถานการณท์ ีเ่ ปน็ อันตรายตอ่ ตนเอง
๓. สังเกตสิ่งแวดล้อมและข้อมูลข่าวสารรอบตัว ระมัดระวัง ดูแลและป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ
อาการเจ็บปว่ ยหรอื โรคภยั ตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสมตามวัย และสขุ ภาพรายบคุ คล
4. มีสมรรถภาพทางกาย มีกิจกรรมทางกาย เคลอื่ นไหวอวยั วะทุกส่วนได้สัมพันธ์กัน มที ักษะการเคล่ือนไหว
พื้นฐานไดอ้ ย่างถูกต้อง และหลากหลายรปู แบบท้งั มีอุปกรณแ์ ละไมม่ อี ปุ กรณ์ ด้วยความแรง ระยะทาง หรือ
มีความแม่นยำในบริบททีเ่ หมาะสมอยา่ งมีสติ โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ่นื
5. เล่นเกม เล่นการละเล่นพื้นเมือง ออกกำลังกาย และเล่นกีฬา อย่างสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย
ด้วยความสนุกสนาน มีน้ำใจนักกีฬา รับรู้และปฏิบัติตามกฎกติกา มารยาท ข้อตกลงร่วมกันและรักษา
สิ่งแวดลอ้ ม โดยจดั พน้ื ท่ีปลอดภัยในการทำกิจกรรมทั้งก่อนและหลังทำกจิ กรรม
6. สำรวจตนเอง และบอกความคิดความต้องการ ความรู้สกึ ความสามารถ จุดเด่น จุดด้อย และขอ้ จำกัดของ
ตนเองในการทำกิจกรรมในชีวติ ประจำวันท้ังส่วนตวั และร่วมกับผอู้ ่ืน ตลอดจนแลกเปลี่ยนความคิด ข้อมูล
เพือ่ ปรับปรงุ และพัฒนาตนเอง ใหเ้ กดิ ความมนั่ ใจและความภาคภูมใิ จ
7. สังเกตอารมณ์ พฤติกรรม ความรู้สึกของตนเองและบุคคลรอบข้าง แสดงออกด้วยพฤติกรรมที่เหมาะสม
ตามสถานการณ์อย่างมีเหตุผล รับรู้และหลีกเล่ียงภาวะหรือสถานการณ์ท่ีก่อให้เกิดความขัดแย้ง
หรือความไม่สบายใจ หาทางออกในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ที่ไม่เป็นการทำร้ายหรือใช้ความรุนแรง
ขอความช่วยเหลือ คำปรึกษา คำแนะนำ จากพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู หรอื ผู้ใหญ่ทไี่ ว้วางใจ
8. มีส่วนร่วมในกิจกรรมของครอบครวั และกล่มุ เพ่ือนอย่างมคี วามสขุ และมีการสอ่ื สารใหเ้ กิดสัมพันธภาพที่ดี
กับคนอ่นื
ผลลัพธ์การเรียนรู้รายชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
1. ปฏบิ ัตติ นหลักสขุ บัญญัตแิ ห่งชาติเกีย่ วกบั การดูแล สุขอนามัยทางเพศ ทัง้ ภายในและภายนอก รวมถงึ ข้อมูล
ดา้ นสุขภาพและนสิ ัยเก่ียวกับการดแู ลสขุ ภาพได้ถูกต้อง สมดลุ และเหมาะสมตามวยั
2. พดู เพอื่ สื่อสารขอ้ เท็จจริง ความคดิ เห็น เกีย่ วกับความสัมพนั ธ์ของสมาชิกในครอบครัว เคารพความแตกต่าง
และความหลากหลาย ไดถ้ ูกต้องเหมาะสมและเป็นกลาง
3. สงั เกต ระมัดระวัง ดแู ลและป้องกนั ตัวเองจาก ข้อมูลข่าวสารท่ีได้รับรอบตวั เกยี่ วกับ อุบัติเหตุ ต่าง ๆที่เกดิ
จากภัยใกล้ตัว จากโรงเรียนได้ เหมาะสมตามวยั
4. ทักษะ มีสติในการเข้ารว่ มกจิ กรรมสรา้ งเสรมิ สมรรถนะทางกาย ความปลอดภัยในการ เคล่อื นไหวอวัยวะทกุ
ส่วน ในโรงเรียนโดยคำนึงถงึ ความปลอดภัย
5. รับรู้ ปฏบิ ัติตามกฎกติกา ข้อตกลง เกม การละเล่นพื้นเมอื ง กิจกรรม เกมกฬี า เช่นโยนบอล โยนห่วง
หรอื กีฬาอืน่ ๆในท้องถนิ่ โดยมีนำ้ ใจนักกีฬา
56
6. สำรวจ บอกแลกเปลยี่ น พฒั นาตนเอง ปรบั ปรงุ จากขอ้ มูลที่ได้เกยี่ วกบั การเจริญเติบโตของร่างกายในด้าน
รปู รา่ ง นำ้ หนกั ส่วนสูง ตามเกณฑ์ท่กี ำหนด รวมถงึ กิจกรรมทท่ี ำในชีวติ ประจำวนั ดว้ ยความม่นั ใจและความ
ภาคภูมิใจ
7. สังเกตรบั รู้แสดงออกแก้ปัญหาจากคำปรกึ ษา คำแนะนำจากพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครู หรือผใู้ หญท่ ่ไี ว้วางใจ
เกี่ยวกับการปรับเปลย่ี นท่ีเปลี่ยนแปลงไปตามวัยด้วยพฤตกิ รรมท่ีเหมาะสม สรา้ งสรรค์
8. สอ่ื สารและมีส่วนรว่ มกิจกรรมของครอบครวั การดำเนินชวี ติ ของสมาชิกในครอบครัว โรงเรียน การสรา้ ง
สัมพนั ธภาพกับครอบครัว และเพ่อื นอยา่ งมีความสขุ
ผลลัพธ์การเรยี นรู้รายชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2
1. ปฏบิ ตั ิตน ดูแลกิจวัตรประจำวนั หลกั สขุ บญั ญตั ิแห่งชาตเิ กย่ี วกับการดแู ล สุขอนามัยทางเพศ ทงั้ ภายใน
และภายนอก รวมถึงข้อมูลดา้ นสขุ ภาพ ในชวี ิตประจำวัน เช่น การกนิ การพักผอ่ นและนิสยั เกีย่ วกับการดแู ล
สขุ ภาพได้ถกู ต้อง สมดุล และเหมาะสมตามวัยพูด
2. เพ่อื ส่อื สารขอ้ เท็จจริง ความคิดเห็น เก่ียวกับความสัมพนั ธข์ องสมาชิกในครอบครัว เคารพความแตกต่าง
และความหลากหลายไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมและเป็นกลาง
3. สงั เกต ระมัดระวัง ดูแลและปอ้ งกนั ตัวเองจาก ข้อมลู ขา่ วสารท่ไี ดร้ บั รอบตวั เกยี่ วกบั อุบัตเิ หตุ ต่าง ๆที่เกิด
จากภัยใกล้ตัว จากโรงเรยี น และชมุ ชนได้ เหมาะสมตามวัย
4. ทักษะ มสี ตใิ นการเข้ารว่ มกิจกรรมสร้างเสรมิ สมรรถนะทางกาย ความปลอดภัยในการ เคลอ่ื นไหวอวัยวะ
ทกุ สว่ นในรปู แบบทั้งที่มอี ุปกรณ์และไมม่ อี ุปกรณ์ด้วยความ ในโรงเรียนโดยคำนงึ ถึงความปลอดภยั
5. รบั รู้ ปฏิบัติตามกฎกตกิ า ขอ้ ตกลง เกม การละเลน่ พืน้ เมอื ง กิจกรรม เกมกีฬา เช่นโยนบอล โยนห่วง
หรือกีฬาอ่ืนๆในท้องถน่ิ โดยมีน้ำใจนกั กีฬา
6. สำรวจ บอกแลกเปลยี่ น พฒั นาตนเอง ปรับปรงุ จากข้อมลู เก่ยี วกับการเจริญเติบโตของรา่ งกายในดา้ น
รปู ร่าง นำ้ หนกั สว่ นสงู ตามเกณฑท์ ่ีกำหนด ปจั จัยสำคญั ทีม่ ีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของร่างกาย รวมถงึ กิจกรรม
ทท่ี ำในชีวิตประจำวันด้วยความม่นั ใจและความภาคภมู ใิ จ
7. สังเกตรับรู้แสดงออกแก้ปัญหาจากคำปรกึ ษา คำแนะนำจากพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครู หรือผ้ใู หญ่ที่ไวว้ างใจ
เกี่ยวกับการปรับเปล่ียนพฤติกรรม ควบคุมอารมณ์ ที่เปล่ียนแปลงไปตามวยั ด้วยพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสม
สร้างสรรค์
8. สื่อสาร และมสี ว่ นรว่ มมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมของครอบครวั การดำเนินชีวติ ของสมาชกิ ในครอบครวั
โรงเรียน ชมุ ชน การสร้างสัมพนั ธภาพกบั ครอบครัว และเพื่อนอย่างมคี วามสขุ
57
ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้รายชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3
1. เขา้ ใจหลักสุขบัญญตั แิ ห่งชาติเกีย่ วกบั การดูแล สุขอนามัยทางเพศ ท้งั ภายในและภายนอก รวมถงึ ข้อมูลดา้ น
สขุ ภาพ ในชวี ิตประจำวนั เช่น การกนิ การพักผ่อนนิสัยเกี่ยวกับการดูแลสขุ ภาพ และปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมให้
เหมาะสมตามวัยผ่านการ ฟงั ดู หรืออ่านจากสือ่ วีดที ศั นต์ า่ งๆได้ถกู ตอ้ ง สมดุล และเหมาะสมตามวยั
2. พูดเพอ่ื สื่อสารขอ้ เท็จจริง ความคดิ เห็น เกยี่ วกับความสมั พันธ์ของสมาชิกในครอบครัว เคารพความแตกต่าง
และความหลากหลายได้ถกู ต้องเหมาะสมและเปน็ กลาง
3. สังเกต ระมดั ระวงั ดูแลและป้องกันตวั เองจาก ขอ้ มลู ขา่ วสารทไ่ี ด้รับรอบตวั เกยี่ วกบั อุบัตเิ หตุ ตา่ ง ๆทเ่ี กิด
จากภยั ใกล้ตัว จากโรงเรยี น ชมุ ชนและท้องถน่ิ ได้ เหมาะสมตามวัย
4. ทักษะ มีสติในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมสร้างเสรมิ สมรรถนะทางกาย ความปลอดภยั ในการ เคล่อื นไหวอวัยวะทกุ
ส่วนในรปู แบบทง้ั ที่มอี ปุ กรณ์และไมม่ อี ปุ กรณด์ ว้ ยความแรง หรอื ระยะทาง ในโรงเรียนโดยคำนงึ ถงึ ความ
ปลอดภยั
5. รับรู้ ปฏิบตั ติ ามกฎกตกิ า ขอ้ ตกลง เกม การละเล่นพ้ืนเมือง กจิ กรรม เกมกีฬา เช่นโยนบอล โยนหว่ ง
หรอื กีฬาอื่นๆในท้องถิ่นโดยมีนำ้ ใจนักกีฬา
6. สำรวจ บอกแลกเปลี่ยน พัฒนาตนเอง ปรับปรุงจากขอ้ มูลเกยี่ วกบั การเจริญเตบิ โตของรา่ งกายในดา้ น
รูปรา่ ง น้ำหนัก ส่วนสงู ตามเกณฑ์ทก่ี ำหนด ปัจจัยสำคัญท่มี ีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย การเลือก
อาหารทมี่ ีประโยชน์ ปริมาณอาหารที่เหมาะสมต่อสขุ ภาพ รวมถงึ กจิ กรรมทที่ ำในชวี ิตประจำวนั ดว้ ยความ
มนั่ ใจและความภาคภูมิใจ
7. สังเกตรับรู้แสดงออกแกป้ ัญหาจากคำปรกึ ษา คำแนะนำจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู หรือผู้ใหญ่ทไ่ี ว้วางใจ
เกี่ยวกับการปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม ควบคุมอารมณ์ ความรู้สกึ ท่ีเปลี่ยนแปลงไปตามวัยด้วยพฤตกิ รรมเหมาะสม
สร้างสรรค์
8. สื่อสารและมสี ว่ นรว่ มมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมของครอบครัว การดำเนินชวี ติ ของสมาชกิ ในครอบครัว โรงเรยี น
ชมุ ชน และท้องถ่นิ การสร้างสัมพนั ธภาพกบั ครอบครวั และเพ่ือนอย่างมีความสุข
58
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา
สาระสำคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้
ความสำคัญของกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา
สังคมศึกษาเป็นศาสตร์บูรณาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ประกอบด้วยวิชาสำคัญคือ
ประวตั ศิ าสตร์ ศลี ธรรม หนา้ ท่ีพลเมอื ง เศรษฐศาสตร์ และภูมศิ าสตร์ สงั คมศกึ ษามีเปา้ หมายสำคัญท่ีมงุ่ พัฒนา
ผูเ้ รียนให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ พลเมืองที่มีลักษณะหลายระดับ ประกอบด้วยการเป็นพลเมืองของท้องถ่ิน
พลเมอื งไทย พลเมืองอาเซียน พลเมืองโลก และพลเมืองดิจิทลั มุง่ พฒั นาคุณภาพผู้เรยี นใหม้ ีมุมมองหลากหลาย
และมีมโนทัศน์สำคัญสำหรับใช้ทำความเข้าใจโลกและชีวิตที่กว้างขวาง เป็นผู้มีความสามารถท่ีจะเรียนรู้
เพ่มิ พูนประสบการณ์ พัฒนาตนเอง และใช้ศกั ยภาพของตนอย่างรู้เทา่ ทนั การเปลี่ยนแปลง สามารถปรบั เปลยี่ น
เรียนรู้ ตลอดจนรว่ มมอื กันเพ่อื สรา้ งการเปลีย่ นแปลงให้แกช่ ุมชนและสงั คม
กลุ่มสาระการเรียนรู้น้ี มีสมรรถนะเฉพาะ ๖ ประการ ได้แก่
๑. ปฏิบัติตนสอดรับกับหลักศีลธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาอื่นที่ตนนับถือ สามารถจัดการ
อารมณ์อยา่ งมีสติสัมปชัญญะ อดทนและแกไ้ ขปญั หาทีเ่ กดิ ขน้ึ ในชวี ติ ประจำวนั
๒. วางแผนการใช้ทรัพยากรและการใช้จ่ายในชีวิตประจำวันอย่างประหยัด คุ้มค่า และพอเพียง
ในระดบั ตนเองและครอบครวั
๓. ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ด้วยการรวบรวมและตรวจสอบข้อมูลและหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล เพ่ือเข้าใจการเปล่ียนแปลง สาเหตุและผลสืบเน่ืองของเหตุการณ์ในอดีต
ท่ีมีต่อตนเอง ครอบครัว โรงเรียน เห็นคุณค่าของสถาบันหลักของชาติ และท้องถิ่นที่ตนอาศัยอยู่ เพื่อสร้าง
สำนึกร่วมในการพฒั นาชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ และอยู่ร่วมกันอย่างสนั ติท่ามกลางความแตกตา่ งหลากหลาย
๔. ติดตามการเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดล้อมอยู่รอบตัวและชุมชน ตัดสินใจดำเนินกิจกรรม
ในชีวิตประจำวันอย่างรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม มีส่วนร่วมในการป้องกัน รับมือ แก้ปัญหา ส่ิงแวดล้อม
ในช้ันเรียน โรงเรียนและชุมชน ด้วยความเข้าใจในปรากฏการณ์การเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดล้อม และ
ความสมั พนั ธ์ทีส่ มดุลระหวา่ งมนุษย์กบั ส่งิ แวดล้อม
๕. รับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ ปกป้องสิทธิเสรีภาพของตนเอง เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น
มีสว่ นรว่ มในการตดั สินใจและแกไ้ ขปัญหารว่ มกนั ในชั้นเรียน และโรงเรียน โดยสนั ติวิธี
๖. เลือกและจัดการเวลาในการใช้ส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัลอย่างรู้เท่าทัน ไม่ให้เกิดผลเสียต่อ
ตนเองและผู้อ่ืน ตัดสินใจที่จะเช่ือหรือไม่เช่ือ ปฏิบัติตามหรือไม่ปฏิบัติตาม โดยเข้าใจวัตถุประสงค์ ประโยชน์
และโทษของสื่อ สารสนเทศ ดิจิทัล สร้างและส่งต่อข้อมูลสารสนเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและ
ครอบครัว
สมรรถนะเฉพาะท้ัง ๖ สมรรถนะดังกลา่ ว มคี วามสัมพนั ธ์เชื่อมโยงกบั สมรรถนะหลกั ทัง้ ๖ สมรรถนะ
และบรู ณาการกนั เปน็ ผลลพั ธ์การเรียนรชู้ ่วงชั้น ๑๒ ขอ้ ซึง่ เปน็ เปา้ หมายของช่วงชัน้ น้ี
ผลลัพธ์การเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ๑ ท้ัง ๑๒ ข้อ ดังกล่าว นำไปกำหนดเป็นผลลัพธ์การเรียนรู้ช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี ๑ - ๓ โดยต้องคำนึงถึงการบูรณาการสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะด้วย เพื่อให้เมื่อผู้เรียนบรรลุ
ผลลพั ธก์ ารเรยี นร้ชู ้ันปแี ลว้ จะนำไปส่กู ารบรรลผุ ลลพั ธก์ ารเรยี นรูช้ ่วงช้ันตามท่ีหลักสูตรกำหนดไว
ลกั ษณะเฉพาะ/ ธรรมชาตขิ องกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้นี้ ว่าด้วยการศึกษาอย่างเป็นระบบเพื่อทำความเข้าใจตนเองและสังคม โดยการ
ปฏิบัติตนตามหลกั ของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาอ่นื ที่ตนนับถอื ดว้ ยสำนึกที่ดี ท่ีได้รบั การปลูกฝัง การพัฒนา
59
ระบบความคิด พิจารณา ไตร่ตรองกอ่ นตัดสินใจทำสงิ่ ใด ๆ ทำให้เป็นผู้มีจิตใจดีท่ีส่งผลต่อการคิดดี พูดดี และ
ทำแต่สิ่งที่ดี อันเป็นประโยชน์และสร้างสันติสุขท้ังต่อตนเอง ผู้อ่ืน และส่วนรวม หาคำตอบเก่ียวกับเรื่องราว
ท่เี กดิ ขึน้ ในอดีต ทำให้เข้าใจสังคมในอดตี ได้ใกล้เคยี งกับความเปน็ จรงิ มากทส่ี ุด เพ่อื นำมาเสริมสร้างความเขา้ ใจ
ในสังคมปัจจุบันที่มีรากประวัติศาสตร์ซ่ึงเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
ประวัติศาสตร์ของกลุ่มคนที่มีความหลากหลาย ที่มีลักษณะผสมผสานและก่อรูปเป็นวัฒนธรรมและสังคม
มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องเป็นพลวัต โดยเฉพาะความภาคภูมิใจในครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคม
และประเทศชาติ อันส่งผลต่อพฤติกรรมในการใช้ชีวิตและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างเหมาะสม การปฏิบัติตน
ตามบทบาทหน้าที่ และสิทธิเสรีภาพในการอยู่ร่วมกัน รวมไปถึงความรับผิดชอบต่อตนเองในการใช้จ่าย และ
การใช้ทรัพยากรโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อตนเองและสิ่งแวดล้อม อันจะนำไปสู่การเป็นสมาชิกที่ดีของ
ประเทศชาติ
จดุ เน้นการพัฒนา
การออกแบบกรอบคิดหลักของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ด้านศีลธรรมจัดให้สอดรับกับ
กรอบคิดของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ การดำเนินการเรียนรู้ให้ไปถึงสมรรถนะท้ัง ๖ ประการ ได้นั้น ต้องอาศัย
การปฏิบัติท้ังกายภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา ปัญญาภาวนา ซึ่งสามารถท่ีจะถ่ายทอดศีลธรรมไปสู่ชีวิต
ตามทฤษฎแี ละหลักการในการเรยี นรตู้ ่าง ๆ
การปฏิรูปการเรียนรู้สังคมศึกษา เป็นการศึกษาถึงคุณค่าของความเป็นมนุษย์และการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมในฐานะเป็นพลเมืองของชาติภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ
ของโลกซึ่งร่วมสร้างประวัตศิ าสตร์ ให้เกิดความม่ันคงทางสงั คมโดยมศี ีลธรรมตามท่ีปรากฏในพระพุทธศาสนา
และศาสนาอ่ืนเป็นฐาน (ตามมาตรา ๖๗ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มสาระ
การเรยี นรู้นี้ ช่วยให้ผู้เรียนใชช้ วี ติ ท้ังในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสงั คม เป็นพลเมืองดี
สำหรับช่วงชัน้ ท่ี ๑ ได้จัดผลลัพธก์ ารเรียนรู้ชว่ งช้นั เป็น ๖ หัวขอ้ ดังนี้
ศาสนธรรมนำทางชีวิต เพ่ือพัฒนาตน ครอบครัว และชุมชน เป็นการบูรณาการให้นักเรียน
ได้ประยุกต์ใช้หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาอื่นท่ีตนนับถือ เพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรม
ลกั ษณะนิสัย จิตใจ และปัญญา อันจะนำไปสู่การสร้างประโยชน์และความสงบสุขในครอบครัว โรงเรยี น และ
ชุมชน
การวางแผนการเงินและการใช้ทรัพยากร เป็นการบูรณาการให้นักเรียนได้วางแผนร่วมกับคน
ในครอบครัว เพ่ือน และครู เรียนรู้และพัฒนาตนเป็นคนท่ีใช้จ่ายเงินและใช้ทรัพยากรอย่างมีการวางแผน
และประหยัด เพ่ือลดค่าใช้จ่ายของตนเอง ครอบครัวและโรงเรียน เห็นความสำคัญของการประหยัด
และออม สามารถประยุกต์ใช้แนวยคิดของการพัฒนาท่ียั่งยืนและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
ในการดำเนินชวี ิต
เหตุการณ์ในอดีตของครอบครัว โรงเรียน และชุมชน รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับ
สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นการบูรณาการให้นักเรียนใช้ค้นหาเร่ืองราวความเป็นมาของครอบครัว และ
โรงเรียนอย่างเป็นระบบ ผ่านการทำกิจกรรมร่วมกันกับเพ่ือนและผู้เก่ียวข้อง จนสามารถทำความเข้าใจ
เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ นำเสนอโดยมีหลกั ฐานและแหล่งข้อมลู ที่ชัดเจนมาสนบั สนุน นำไปสู่การปฏิบัติตนที่แสดงถึง
ความภาคภูมิใจในครอบครัว โรงเรยี น ชุมชน และประเทศชาติ
ชีวิตในบ้าน โรงเรียน และชุมชน เป็นการบูรณาการให้นักเรียนฝึกการใช้ชีวิตจากสังคมใกล้ตัว
ไปสู่สังคมที่ไกลตัว และสังคมในโลกเสมือน ที่คำนึงถึงบทบาท สิทธิ หน้าท่ีและเสรีภาพ เปน็ สมาชกิ ของสังคม
60
ควบคุมอารมณ์และความรู้สึกและปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนที่มีความแตกต่าง และทำประโยชน์ต่อ
สว่ นรวม อยู่รว่ มกันอยา่ งสันติ โดยไมส่ ร้างควาอมเดือดร้อนต่อตนเอง ผู้อื่น ส่วนรวม และสำรวจขอ้ มูลโดยใช้
แผนที่ แผนผงั รปู ถ่าย เพ่ือจดั ระเบียบและดูแลรกั ษาส่งิ แวดลอ้ ม
วัฒนธรรมท้องถิ่นและความเป็นไทย เป็นการบูรณาการให้นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
ที่มีการผสมผสาน เลือกรับและปรับใชใ้ ห้เหมาะสมกับยคุ สมัย เห็นคุณคา่ ของวัฒนธรรมของชุมชนและท้องถ่ิน
โดยคำนึงถึงประโยชนส์ ่วนรวมมากอ่ นประโยชน์สว่ นตน เคารพสถาบนั หลักและสัญลกั ษณ์ของชาติไทย
รู้เท่าทันสื่อ เท่าทันตนเอง เป็นการบูรณาการให้ผู้เรียนตระหนักและเท่าทันความคิดของตนเอง
ท่ีได้รับอิทธิพลจากสื่อและค่านิยมของสังคม เท่าทันสื่อโฆษณา มีวิจารณญาณในการเลือก สร้างและส่งต่อ
สอ่ื สารสนเทศ
การนำไปใช้ในชวี ติ จรงิ
จากการฝึกฝนให้ผู้เรียนได้ใช้ศาสนธรรมเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้สามารถดูแลตนเอง
ในชีวิตประจำวันอยา่ งเป็นปกตสิ ุข
จากการพัฒนาคุณสมบัติการเป็น “นักประวัติศาสตร์ท่ีดี กล่าวคือ รู้จักสังเกต ไต่ถาม จดจำและนำ
สิ่งที่ศึกษาจดจำมาได้ มาวิเคราะห์หาเหตุผลที่ถูกต้องต่อไป” (หนังสือสายธารประวัติวิทยา, สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) ฝึกฝนใช้กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของครอบครัว โรงเรียน
ชุมชน ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน ท้องถิ่น เข้าใจพัฒนาการของสถาบันหลักของชาติ อันได้แก่ สถาบันชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีสมรรถนะในการส่ือสารด้วยภาษา เพ่ือค้นหาข้อเท็จจริงจากแหล่งข้อมูล
ท่ีน่าเช่ือถือ อาศัยการคิดข้ันสูงเพ่ือวิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง ซ่ึงผู้เรียนสามารถ
นำไปใช้ในการทำความเข้าใจและคน้ หาขอ้ มูลเรือ่ งราวตา่ ง ๆ ทีต่ นเองอยากหาคำตอบ
จากการฝึกฝนให้ผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสันติสุข ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
ทางความคดิ ความเชอื่ และการปฏบิ ัตขิ องบุคคล เข้าใจการอยู่ร่วมกันตามกฎ กตกิ า และข้อตกลง ตระหนักถึง
ความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสง่ิ แวดล้อมท่ีต้องรว่ มกันดแู ลรักษา นำไปสูก่ ารทำตนให้เป็นประโยชน์ ร่วมรับรู้
และแกป้ ญั หาโดยไม่สร้างความเดอื ดรอ้ นให้กบั ตนเองและผอู้ น่ื และไม่สง่ ผลเสยี ต่อสิ่งแวดล้อม
จากการฝึกฝนเรอ่ื งการออม การวางแผนและใช้เงิน รวมทั้งใช้ทรัพยากรอย่างมีสติ ตระหนักถึงผลที่เกิดขึ้น
จากการใช้เงินและใช้ทรัพยากรของตนเอง ช่วยลดปัญหาทางการเงินและการใช้ทรัพยากรอย่างไม่รู้คุณค่า ที่จะ
เกิดข้ึนในอนาคตทงั้ ในระดบั ตนเอง และครอบครวั มีจิตสำนึกและปฏิบัติตามตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
และพัฒนาทย่ี ัง่ ยืน
การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
ภาษาไทย/ ภาษาต่างประเทศ สามารถจัดสถานการณ์จากการฟัง การอ่านวรรณกรรม
สำหรับเด็ก นิทาน ตำนาน เรื่องราวเก่ียวกับบุคคลสำคัญในอดีตที่หลากหลาย ซึ่งมีรากฐานมาจาก
พระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ รวมถึงประเพณีท่ีดีงาม โดยใช้คำศัพท์และเร่ืองราว
เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาและวิถีชีวิตในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน พัฒนาความสามารถในการอ่าน
การตั้งคำถามเพื่อสืบค้นข้อมูล การบันทึกและสรุปข้อมูล ตลอดจนการใช้ภาษาเพื่อการนำเสนอเร่ืองราว
ทีต่ นสนใจได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม
คณิตศาสตร์ สามารถใช้ทักษะการอ่านและแปลข้อมูลจากสถิติอย่างง่ายเพื่อทำความเข้าใจ
เรื่องราวรอบตัว สามารถบูรณาการร่วมกันในเรื่องการคำนวณเงินเพื่อวางแผนการใช้จ่ายและใช้ทรัพยากร
ให้คุ้มค่า และบูรณาการในเร่ืองการอ่านปฏิทินและการคำนวณเวลาเพ่ือเชื่อมโยงการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ทางวัฒนธรรมประเพณีในรอบปีและการทำความเขา้ ใจประวัติความเป็นมาของครอบครวั โรงเรียนและชุมชน
61
ศลิ ปะ สามารถใช้จินตนาการในการสร้างสรรคง์ านศิลปะท่ีสื่อเรือ่ งราวทม่ี คี วามหมายและมคี ุณค่า
ต่อความคิด ความสนใจ และความรู้สึกจากสถานการณ์และเหตุการณ์ต่าง ๆ รอบตัว เพ่ือให้การสื่อสาร
มคี วามชัดเจน และนา่ สนใจมากขนึ้
สุขศึกษาและพลศึกษา สามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมศีลธรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพจิต
ในการอยู่ร่วมกันกับผู้อ่ืน สามารถจัดการอารมณ์และความรู้สึกอย่างรู้เท่าทัน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรัก
ความสามัคคี รู้จักให้อภัย ร่วมสร้างบรรยากาศแห่งความเข้าใจและการพึ่งพาซึ่งกันและกันในการร่วมกัน
แกป้ ัญหาความขัดแยง้ ในฐานะทเ่ี ปน็ สมาชกิ ของครอบครวั โรงเรียนและชมุ ชน
วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ สามารถจัดกิจกรรมบูรณาการในประเด็นเก่ียวกับทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม รบั รู้และเขา้ ใจระบบความสมั พันธ์ของมนษุ ย์กับธรรมชาตใิ นห่วงโซ่ทเ่ี กอื้ กูลกัน เพอื่ การปฏบิ ัติ
ตนใหเ้ หมาะสม อนรุ กั ษธ์ รรมชาติ และพร้อมรบั มอื กับภยั พิบัติ
62
ความสมั พันธ์ระหว่างสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะ
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั
๑. ปฏิบตั ิตนสอดรบั กบั หลกั ศลี ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาอนื่ ทต่ี นนบั ถือ สามารถจัดการอารมณอ์ ย่างมี
สติสมั ปชัญญะ อดทนและแกไ้ ขปัญหาทเ่ี กิดข้นึ ในชวี ิตประจำวัน
๑.๑ ศรทั ธา เคารพ และตระหนักร้ถู งึ พระคุณของพระรตั นตรัยหรือศาสดาใน ๑. การจัดการตนเอง
ศาสนาอ่นื ที่ตนนับถอื ๒. การคดิ ข้นั สูง
๑.๒ ฝกึ ตนตามกรอบของเบญจศีล เบญจธรรม หรือหลกั คำสอนของศาสนา ๓. การส่ือสาร
ทตี่ นนบั ถือ ๔. การรวมพลังทำงานเป็นทีม
๑.๓ ดำเนนิ ชวี ิตในสังคมยุคปกติใหม่อย่างมีสติ สมาธิและปัญญาทกี่ อ่ ให้เกิดการ ๕. การเปน็ พลเมืองท่เี ขม้ แขง็
คิดข้ันสูง ๖. การอย่รู ่วมกับธรรมชาติ
๑.๔ ส่อื สารด้วยทา่ ทีที่สุภาพ มีสติ เคารพพอ่ แม่ ครู หรอื ผใู้ หญ่ เคารพความ และวิทยาการอย่างยงั่ ยนื
แตกตา่ งระหวา่ งกัน เพ่ืออยู่ร่วมกนั อยา่ งสันตสิ ขุ ในครอบครวั โรงเรียน
ชมุ ชน ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทย
๑.๕ อยู่รว่ มและใช้สอยทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ มอย่างร้คู ณุ ค่า
เพ่ือให้เกดิ ความสมดุลอย่างย่ังยนื และใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างรเู้ ทา่ ทัน
และพอเพียง
๒. วางแผนการใชท้ รพั ยากรและการใช้จ่ายในชีวิตประจำวันอย่างประหยดั คุม้ ค่า และพอเพยี ง ในระดับตนเอง
และครอบครวั
๒.๑ วางแผนการใช้จา่ ยและออมเงนิ ของตนเองอย่างเหมาะสมและมวี นิ ัย ๑. การจัดการตนเอง
และชว่ ยลดค่าใชจ้ ่ายในครอบครวั ๒. การคดิ ขน้ั สงู
๒.๒ ใช้ทรพั ยากรในชีวติ ประจำวันอย่างประหยดั ค้มุ คา่ และพอเพยี ง ๔. การรวมพลังทำงานเป็นทมี
เพือ่ ลดค่าใช้จ่าย ใช้ของสว่ นรวมอยา่ งระมัดระวัง ดว้ ยความตระหนักถึง ๕. การเปน็ พลเมอื งท่เี ขม้ แขง็
ผลกระทบของการใช้ทรพั ยากรท่ีมีตอ่ ตนเอง ครอบครัว และ
โรงเรยี น
63
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั
๓. ใชว้ ธิ ีการทางประวัติศาสตร์ด้วยการรวบรวมและตรวจสอบขอ้ มูลและหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์
อยา่ งมเี หตุผล เพื่อบอกผลกระทบของเหตกุ ารณ์ท่ีมตี ่อตนเอง ครอบครวั โรงเรียน เห็นคณุ คา่ ของท้องถนิ่
ทีต่ นอาศัยอยแู่ ละสถาบันหลักของชาติ เพ่ือสรา้ งสำนกึ ร่วมในการพฒั นาชุมชน ท้องถิ่น
และอยูร่ ว่ มกันอยา่ งสนั ตทิ ่ามกลางความแตกต่างหลากหลาย
๓.๑ สอบถาม ค้นหาคำตอบของเรือ่ งราวของตนเอง บุคคลในครอบครัว ๒. การคิดขนั้ สงู
โรงเรยี นและชุมชน ความสัมพันธข์ องสถาบนั หลักของชาตกิ ับชุมชน ๓. การส่ือสาร
และท้องถ่นิ ประวตั ิความเปน็ มาและวถิ ีชวี ติ ลำดับ เวลาและเหตุการณ์ ๕. การเปน็ พลเมืองทีเ่ ขม้ แขง็
สำคญั ท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของครอบครัว โรงเรียน และชุมชน
จากอดตี ถงึ ปัจจุบัน โดยแสดงหลกั ฐานและแหล่งข้อมลู
ที่เก่ียวขอ้ ง อย่างเหน็ คุณค่าและภาคภูมิใจ และทำกจิ กรรม
ในชวี ติ ประจำวันทแ่ี สดงถึงความตระหนกั ของผลการกระทำในอดีต
ทีม่ ีต่อปัจจบุ ันและผลของการกระทำในปัจจุบันท่ีมผี ลต่ออนาคต
๓.๒ ปฏิบัตแิ ละรว่ มกิจกรรมตามประเพณีและวฒั นธรรมของชมุ ชน
อย่างเหน็ คุณค่าและคำนึงถงึ ผลทอ่ี าจเกิดขึ้นต่อตนเอง
ผอู้ นื่ และสง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชน
๔. ตดิ ตามการเปล่ียนแปลงของสิง่ แวดล้อมอยู่รอบตวั และชมุ ชนตัดสินใจดำเนินกจิ กรรมในชีวติ ประจำวนั
อยา่ งรับผิดชอบตอ่ สิง่ แวดล้อม มสี ่วนรว่ มในการป้องกนั รับมือ แกป้ ัญหา ส่ิงแวดลอ้ มในช้นั เรียน โรงเรยี น
และชุมชน ดว้ ยความเขา้ ใจในปรากฏการณก์ ารเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอ้ ม และความสัมพนั ธ์ท่ีสมดุล
ระหวา่ งมนุษยก์ บั ส่งิ แวดล้อม
๔.๑ ใชแ้ ผนผัง แผนทแ่ี ละรูปถ่ายในการระบุวา่ ตนเองอยู่ ณ พนื้ ท่ใี ด ๒. การคิดขัน้ สูง
ในโรงเรยี น ชุมชน ค้นหาสถานทีบ่ นแผนที่ และอธิบายลกั ษณะ ๔. การรวมพลงั ทำงานเป็นทมี
สิ่งแวดล้อมตา่ ง ๆ ในบา้ น หอ้ งเรียน โรงเรียน และลักษณะ ทาง ๕. การเปน็ พลเมอื งท่ีเขม้ แข็ง
กายภาพในชมุ ชน ๖. การอย่รู ว่ มกับธรรมชาติ
๔.๒ มสี ว่ นร่วมในการจัดระเบยี บและดูแลรกั ษาสิ่งแวดลอ้ มท่ีบ้าน หอ้ งเรียน และวิทยาการอย่างยั่งยนื
โรงเรยี น ด้วยความเขา้ ใจในความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ แวดลอ้ มกบั ชีวิต
ความเป็นอยขู่ องตนเองและสว่ นรวม
64
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก
๕. รับผิดชอบต่อบทบาทหนา้ ท่ี ปกปอ้ งสิทธิเสรีภาพของตนเอง เคารพสิทธเิ สรีภาพของผูอ้ นื่ มีส่วนรว่ ม
ในการตดั สนิ ใจและแก้ไขปัญหาร่วมกันในช้นั เรยี น และโรงเรียน โดยสนั ติวธิ ี
๕.๑ ปฏิบัตติ นตามบทบาทหน้าที่ท่ีมตี อ่ ครอบครวั โรงเรียน และชมุ ชน ๑. การจดั การตนเอง
ใชแ้ ละยอมรบั ขอ้ ตกลง กฎ กติกาที่สรา้ งขนึ้ ร่วมกนั ๔. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทมี
๕.๒ แลกเปลยี่ นความคดิ เห็นอย่างมเี หตผุ ล ร่วมตัดสนิ ใจในการแกป้ ัญหา ๕. การเป็นพลเมืองที่เขม้ แข็ง
หรอื ความขดั แยง้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ และทำกิจกรรมรว่ มกนั
อยา่ งมีมารยาท ในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน เต็มใจเสียสละ
ประโยชน์ส่วนตนเพ่อื ส่วนรวมด้วยความรูส้ ึกวา่ เป็นสมาชิก
ของครอบครัวชนั้ เรียน และโรงเรียน
๕.๓ รกั ษาสิทธพิ น้ื ฐานของตน ไมล่ ะเมิดสิทธิของผ้อู ื่น ปฏิเสธเพ่อื ไม่ใหต้ น
ถูกรังแก หรอื ละเมดิ สิทธิเสรภี าพ ทั้งรา่ งกายจติ ใจ ทรพั ย์สินและ
แจ้งผู้ใหญ่ที่เกย่ี วข้อง
๕.๔ แสดงพฤตกิ รรมทั้งทางกายและวาจาในการยอมรบั ความคิด
ความเช่อื และการปฏบิ ัติของบุคคลอนื่ ทแ่ี ตกตา่ งกันโดยปราศจากอคติ
และการเหมารวม รวมท้งั ไม่กลนั่ แกล้งเพื่อน (Bullying)
๕.๕ ปฏิบตั ิตนไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งที่แสดงถงึ การเคารพสถาบันหลักและสัญลักษณ์
ของชาติ และร่วมกิจกรรม ที่ทำประโยชนเ์ พอ่ื สว่ นรวม ตาม
กำลงั ของตน
๖. เลอื กและจัดการเวลาในการใช้ส่ือ สารสนเทศ และดิจทิ ลั อย่างรู้เท่าทนั ไมใ่ หเ้ กิดผลเสยี ตอ่ ตนเองและ
ผ้อู น่ื ตดั สนิ ใจท่ีจะเช่อื หรอื ไมเ่ ชือ่ ปฏบิ ตั ติ ามหรือไม่ปฏิบตั ติ าม โดยเขา้ ใจวตั ถปุ ระสงค์ ประโยชน์ และโทษ
ของส่ือ สารสนเทศ ดจิ ทิ ัล สร้างและส่งต่อขอ้ มูลสารสนเทศ เพอื่ ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเองและครอบครวั
๖.๑ เลือกใช้ และจัดการเวลาในการใช้สอื่ สารสนเทศ และดจิ ิทลั ๑. การจดั การตนเอง
อย่างรูเ้ ทา่ ทนั ๒. การคดิ ขนั้ สูง
๖.๒ ใชว้ ิจารณญาณและความร้ดู ้านสอื่ สารสนเทศและดจิ ิทัล ประกอบ ๓. การส่ือสาร
การคิดและตัดสินใจในการกระทำตา่ ง ๆ ในชีวิตประจำวัน
๖.๓ สร้างและส่งตอ่ ขอ้ มลู สารสนเทศอยา่ งใคร่ครวญ รบั ผิดชอบต่อผล
ท่ีจะเกดิ ข้นึ รวมทงั้ ใช้ให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและครอบครวั
ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้เมอื่ จบช่วงช้นั ท่ี ๑
1. มีศรัทธา เคารพ และตระหนักรู้ในพระคุณของพระรัตนตรัยหรือศาสดาในศาสนาอื่นท่ีตนนับถือ
หมั่นฝึกตนตามหลักเบญจศีล เบญจธรรม หรือหลักคำสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ สามารถจัดการตนเอง
และดำเนินชีวติ ในสังคมยคุ ปกติใหม่อยา่ งมสี ติ สมาธิและปญั ญาท่กี อ่ ใหเ้ กิดการคดิ ขัน้ สงู
2. สามารถส่ือสารด้วยท่าทีที่สุภาพ มีสติ เคารพพ่อแม่ ครู หรือผู้ใหญ่ เคารพในความแตกต่างระหว่างกัน
อยู่ร่วมกันอย่างเป็นมิตรในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ในฐานะเป็นพลเมืองไทย ใช้สอยธรรมชาติ
สิง่ แวดลอ้ มอย่างรู้คุณค่าเพ่อื ใหเ้ กิดความสมดลุ อยา่ งย่ังยนื และใชเ้ ทคโนโลยใี นชวี ติ ประจำวนั อย่างร้เู ทา่ ทัน
และพอเพยี ง
65
3. รว่ มกับสมาชิกในครอบครัวในการระบสุ าเหตุและวิธกี ารแก้ไขปัญหา เพื่อนำไปสู่การแยกแยะความต้องการ
และความจำเป็น วางแผนการใช้จ่าย และออมเงินอย่างเหมาะสมและมีวินัย เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ
ด้วยกนั ในการลดคา่ ใชจ้ ่าย
4. ระมัดระวังในการใช้ของส่วนรวมและทรัพยากรในการทำงาน การทำกิจกรรม การทำกิจวัตรประจำวัน
อย่างประหยัด คุ้มค่า และพอเพียง ด้วยความตระหนักถึงผลของการใช้ทรัพยากรที่มีต่อตนเอง ครอบครัว
และโรงเรียน
5. นำเสนอเรื่องราวของตนเอง บุคคล วัตถุ และสถานที่ท่ีเกี่ยวข้องกับครอบครัว โรงเรียน และชุมชน
ความสัมพันธ์ของสถาบันหลักของชาติกับชุมชนและท้องถ่ิน ประวัติความเป็นมา และวิถีชีวิต ลำดับเวลา
และเหตุการณ์สำคัญ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงจากอดีตถึงปัจจุบัน และอธิบายผลของการเปล่ียนแปลง
ที่มีต่อวิถีชีวิตของตนและคนในชุมชน โดยแสดงหลักฐาน และแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องด้วยภาพและภาษา
ของตนเองที่เข้าใจง่าย ชัดเจน จากการสอบถาม ค้นหาคำตอบอย่างเป็นขั้นตอน และทำกิจกรรม
ในชีวิตประจำวันท่ีแสดงถึงความตระหนักของผลการกระทำในอดีตที่มีต่อปัจจุบันและผลของการกระทำ
ในปจั จบุ นั ทมี่ ีผลต่ออนาคต ด้วยความร้สู ึกถึงการเป็นสว่ นหนง่ึ ของครอบครวั โรงเรียน และชมุ ชน
6. สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับตำแหน่ง ระยะและทิศทางของสิ่งต่างๆและสถานที่ โดยประยุกต์ใช้แผนท่ี แผนผัง
รูปถ่าย เพ่ือการวางแผนการทำงาน การใช้ชีวติ และการร่วมจัดระเบียบและดูแลรกั ษาส่ิงแวดล้อมท่ีบ้าน
ห้องเรียน โรงเรียน และชุมชน ด้วยความตระหนักในเหตุและผลของการกระทำของตน เองและ
คนในชมุ ชนท่มี ตี อ่ ส่ิงแวดลอ้ ม ซ่งึ ส่งผลกระทบต่อชีวติ ความเป็นอยู่
7. ทำกิจกรรมและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีมารยาท ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ ยอมรับข้อตกลง กฎ กติกา
ท่ีสร้างร่วมกัน แลกเปล่ียนความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ร่วมตัดสินใจในการแก้ปัญหาหรือความขัดแย้ง
ในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยเต็มใจเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อส่วนรวมด้วยความรู้สึกว่าเป็นสมาชิกของ
ครอบครวั ช้นั เรยี น และโรงเรียน
8. ปฏิบัติตนบนพ้ืนฐานสิทธิของตน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ปฏิเสธเพื่อไม่ให้ตนถูกรังแกหรือละเมิดสิทธิ
เสรีภาพ ทั้งร่างกาย จิตใจ ทรัพย์สินและแจ้งผู้ใหญ่ท่ีเกี่ยวข้อง แสดงพฤติกรรมเชิงบวกทั้งทางกายและ
วาจาเม่ือร่วมกิจกรรมหรือทำงานกับผู้อ่ืน ท่ีแสดงถึงการยอมรับความคิด ความเช่ือและการปฏิบัติของ
บุคคลอ่ืนท่ีแตกต่างกันโดยปราศจากอคติ และการเหมารวม รวมทั้งไม่กล่ันแกล้งเพื่อน (Bullying) ควบคุม
อารมณแ์ ละความร้สู กึ ของตน ไม่ทำให้ผูอ้ ื่นเดอื ดรอ้ น
9. เขา้ รว่ มกจิ กรรมตามประเพณีและวัฒนธรรมของชมุ ชนอย่างเห็นคุณคา่ และไม่ก่อให้เกดิ ผลเสียต่อตนเอง
ผอู้ ่นื และสง่ิ แวดลอ้ มในชุมชน
10.ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องท่ีแสดงถึงการเคารพสถาบันหลักและสัญลักษณ์ของชาติไทย และร่วมกิจกรรม
ทท่ี ำประโยชนเ์ พอื่ สว่ นรวมตามกำลังของตนภายใตก้ ารดูแลและคำแนะนำ
11.เลือกและจัดการเวลาในการใช้สื่อ สารสนเทศ และดิจิทัลอย่างรู้เท่าทัน โดยรับผิดชอบต่อผลท่ีเกิดขึ้น
ตอ่ ตนเองและผู้อืน่
12.ตัดสินใจท่ีจะเชื่อหรือปฏิบัติ โดยเข้าใจวัตถุประสงค์ ประโยชน์ และโทษของสื่อ สารสนเทศ ดิจิทัล
สรา้ งและส่งตอ่ ข้อมลู สารสนเทศ เกิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและครอบครัว
66
ผลลัพธก์ ารเรียนรู้รายชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1
๑. ฝกึ ตน จัดการตนเอง ดำเนนิ ชวี ติ มีสติ สมาธิและปญั ญา ศรทั ธา เคารพ การคดิ จากการเห็นความสำคัญ
ของพระพุทธศาสนา ศาสดาในศาสนาอื่นท่ี หลกั เบญจศีล เบญจธรรม หลักคำสอน จากแหล่งเรียนรูใ้ นชุมชน
ด้วยความตระหนักและช่วยเหลือกิจกรรมสว่ นรวม ของช้นั เรียน
๒. ส่อื สาร มสี ติ ใช้สอยอย่างพอเพยี ง รู้เทา่ ทัน เทคโนโลยที ่ีสำคญั ในชวี ิตประจำวนั และ มีสว่ นร่วมในการดแู ล
สิง่ แวดลอ้ มในบริเวณบ้านของตนเองในฐานะเปน็ พลเมืองไทยดว้ ยความเคารพและเห็นคุณค่า
๓. มสี ว่ นร่วม ระบุ แยกแยะ วางแผน การใชจ้ ่าย การออมเงินจากรายรบั รายจ่าย การออมเงนิ ของตวั เอง
สาเหตุ วิธกี ารแก้ไขปญั หาทีเ่ กดิ จากความตอ้ งการอย่างเหมาะสมด้วยความมวี นิ ัยและความรับผิดชอบและระบุ
ปญั หาอย่างงา่ ยอธิบายลกั ษณะของปญั หาออกแบบวิธีแกป้ ญั หาและลงมอื แกป้ ัญหาด้วยตนเองจทำใหป้ ัญหา
ไดร้ ับการแกไ้ ขภายใต้คำการดูแลของผู้ใหญ่
๔. ระมดั ระวงั ผลของการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรอย่างพอเพียง มีส่วนรว่ มในการทำกิจวตั รประจำวันของ
ตนเองและ ครอบครัวอย่าง ประหยัดดว้ ยความตระหนักและรับรู้ส่งิ รอบตัวและการเปล่ยี นแปลงของสิง่ รอบตวั
โดยบอกความสมั พันธ์ของส่ิงรอบตัวท่เี ชือ่ มโยงกบั ตนเอง
๕. นำเสนอ อธบิ ายเขา้ ใจ สอบถาม ทำกจิ กรรมแสดงหลักฐานเก่ยี วกับเร่อื งราวของตนเอง บุคคล วัตถุ และ
สถานทีท่ ่ีเกยี่ วขอ้ งกับครอบครัว โรงเรยี น ชมุ ชน ประวัตคิ วามเป็นมา ภาษาท่ใี ช้ด้วยความรูส้ ึกตระหนักและมี
สว่ นรว่ มในการดแู ลส่ิงแวดล้อมในบรเิ วณบ้านของตนเอง
๖. สำรวจ ประยุกตใ์ ชว้ างแผนการทำงาน ร่วมกัน ดูแล รักษาข้อมูลเกีย่ วกบั ตำแหน่ง ระยะและทศิ ทางของสงิ่
ตา่ งๆและสถานที่ ระเบยี บ แบบแผนในการทำงานของห้องเรยี น ดว้ ยความตระหนักและใชส้ ่งิ ของใน
ชีวิตประจำวนั อย่างประหยดั ไม่เหลือทิ้ง
๗. ทำกจิ กรรม ปฏิบตั ติ นแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นแกป้ ัญหาหรือความขัดแยง้ เกีย่ วกบั บทบาทหนา้ ท่ี ข้อตกลง
กฎ กตกิ า สถานการณ์ตา่ ง ๆ เกีย่ วกับประโยชน์ โทษ ของการเปลี่ยนแปลงในการรวมกลุ่มเพื่อส่วนรวมในการ
เป็นสมาชกิ ของครอบครัว ยอมรบั ดว้ ยความความรู้สึกเตม็ ใจและเสียสละและรับผิดชอบและปฏิบตั ิตน ตาม
คำแนะนำอยา่ งเหมาะสม
๘. แสดงพฤติกรรมเชงิ บวกทัง้ ทางกาย วาจา และปฏิบัตติ นตามพน้ื ฐานสิทธิ หน้าท่ี ของตน สิทธิพืน้ ฐาน
เสรภี าพ ทรพั ย์สนิ ในหอ้ งเรียนด้วยความปราศจากอคติ และการเหมารวม รวมทั้งควบคมุ อารมณ์และ
ความรสู้ ึกและเข้าใจผลกระทบท่จี ะเกดิ ขึน้ ตอ่ เนือ่ งจากการกระทำ ของตนทมี่ ตี ่อผู้อ่นื
๙. กจิ กรรมตามประเพณแี ละวฒั นธรรมของโรงเรียน เชน่ กิจกรรมเขา้ แถว สวดมนต์ไหวพ้ ระอยา่ งเหน็ คณุ ค่า
และรบั ผดิ ชอบและปฏบิ ัติตน ตามคำแนะนำอยา่ งเหมาะสม
๑๐. ปฏิบัติตนร่วมกจิ กรรมเก่ยี วกับสถาบันหลักและสญั ลักษณข์ องชาติไทย เช่น ธงไตรรงค์ สถาบนั พระมหา
กษตั รย์โดยแสดงออกถึงความเคารพและ รับผิดชอบและปฏบิ ตั ิตน ตามคำแนะนำอย่างเหมาะสม
๑๑. เลอื กจัดการ ใช้ส่อื สารสนเทศ และดจิ ิทลั เช่น การรู้เท่าทันส่ือแนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภยั และมีจริยธรรมการรกั ษาขอ้ มูลส่วนตัวโดยรบั ผดิ ชอบต่อผลที่เกดิ ขนึ้ ตอ่ ตนเองและผูอ้ ืน่ และรจู้ กั
ประเภทของสอื่ ใกล้ตัว
๑๒. ตดั สินใจปฏิบตั ิเข้าใจสรา้ งและส่งตอ่ ความรู้วัตถุประสงค์ ประโยชน์ และโทษเกี่ยวกบั
สื่อ ดจิ ิทัล ขอ้ มลู สารสนเทศ เชน่ อนั ตรายของการใช้สอ่ื ที่ผดิ วธิ ี ที่เกดิ ข้ึน ต่อตนเองและครอบครัวอยา่ งเกดิ
ประโยชน์และรู้จักประเภทของส่อื ใกล้ตวั
67
ผลลัพธก์ ารเรียนรู้รายชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2
๑. ฝึกตน จัดการตนเอง ดำเนนิ ชวี ติ มสี ติ สมาธแิ ละปัญญา ศรัทธา เคารพ การคิด จากการเห็นความสำคัญ
ของพระพุทธศาสนาพระรตั นตรัย พุทธประวัติ พทุ ธ ศาสดาในศาสนาอืน่ ที่ หลักเบญจศีล เบญจธรรม หลักคำ
สอน จากแหล่งเรียนรใู้ นชุมชนด้วยความตระหนกั และเขา้ รว่ มกิจกรรมเพ่ือส่วนรวม ทโี่ รงเรยี นจัดข้ึน หรือครู
มอบหมายหรอื กำหนด ให้เขา้ ร่วม
๒. ส่อื สาร มสี ติ ใช้สอยอยา่ งพอเพยี ง รูเ้ ท่าทนั เทคโนโลยีท่ีสำคญั ในชวี ิตประจำวนั ความแตกต่างของ
ส่งิ แวดลอ้ มในครอบครัว โรงเรียนมแี ละส่วนรว่ มในการดแู ลสง่ิ แวดลอ้ มในบริเวณโรงเรียนหรอื ชมุ ชนของตนเอง
ในฐานะเป็นพลเมืองไทยดว้ ยความเคารพและเห็นคณุ ค่า
๓. มีส่วนร่วม ระบุ แยกแยะ วางแผน การใช้จ่าย การออมเงนิ จากรายรบั รายจ่าย การออมเงิน ของตวั เอง
สมาชกิ ในครอบครัว สาเหตุ วธิ ีการแกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดจากความตอ้ งการอย่างเหมาะสมดว้ ยความมี วินัยและ
ความรบั ผดิ ชอบและระบปุ ัญหาอย่างงา่ ยหาสาเหตุของปัญหาและวธิ ีการแกไ้ ขปญั หาออกแบบวธิ แี กป้ ญั หา
และลงมือแกป้ ญั หาดว้ ยตนเองจนปญั หาไดร้ บั การแก้ไขภายใต้การแนะนำของผ้ใู หญ่
๔. ระมดั ระวงั ผลของการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรอยา่ งพอเพยี งการทำงาน มสี ว่ นร่วมในการการทำ
กิจกรรม การประกอบอาชีพ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การบรกิ าร การทำกจิ วัตรประจำวันของตนเอง
ครอบครวั คนในชมุ ชนอย่าง ประหยดั ด้วยความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแลสงิ่ แวดล้อมในบรเิ วณ
โรงเรยี นหรือชุมชนของตนเอง
๕. นำเสนอ อธิบายเขา้ ใจ สอบถาม ทำแสดงหลักฐานกจิ กรรมเกย่ี วกับเรื่องราวของตนเอง บุคคล วตั ถุ และ
สถานทีท่ ่ีเกีย่ วข้องกับครอบครัว โรงเรยี น และชมุ ชนสถาบันหลักของชาตกิ บั ชุมชนและท้องถิ่น ประวัตคิ วาม
เปน็ มา และวิถชี ีวิต และภาษาที่ใช้ด้วยความรู้สึกตระหนกั และมสี ว่ นรว่ มในการดูแลสง่ิ แวดลอ้ มในบริเวณ
โรงเรยี นหรอื ชมุ ชนของตนเอง
๖. สำรวจ ประยุกต์ใชว้ างแผนการทำงาน รว่ มกัน ดูแล รักษาขอ้ มูลเกยี่ วกบั ตำแหนง่ ระยะและทศิ ทางของสิง่
ตา่ งๆและสถานที่ แผนท่ี แผนผัง รูปถา่ ย สงิ่ แวดล้อมทีส่ ง่ ผล ระเบียบ แบบแผนในการทำงานของห้องเรยี น
โรงเรียนดว้ ยความตระหนัก และใช้สิง่ ของในชีวติ ประจำอยา่ งใส่ใจและรคู้ ุณค่า
๗. ทำกิจกรรม ปฏิบัตติ นแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นแกป้ ัญหาหรือความขัดแยง้ เกีย่ วกบั บทบาทหน้าท่ี ข้อตกลง
กฎ กติกา สถานการณต์ ่าง ๆ เกยี่ วกับประโยชน์ โทษ ของการเปล่ยี นแปลงในการรวมกลุ่มเพ่ือส่วนรวมในการ
เป็นสมาชกิ ของครอบครัว หอ้ งเรียน โรงเรียนยอมรบั ดว้ ยความความรสู้ ึกเตม็ ใจและเสยี สละและรบั ผดิ ชอบและ
ปฏบิ ตั ิตน อยา่ งเหมาะสมตามบทบาทหนา้ ทต่ี นเองในฐานะสมาชกิ ของครอบครัว ชัน้ เรยี น และโรงเรียน
๘. แสดงพฤตกิ รรมเชงิ บวกทัง้ ทางกาย วาจา และปฏบิ ัติตนตามพืน้ ฐานสทิ ธิ หนา้ ท่ี ของตน สิทธิพ้ืนฐาน
เสรภี าพ ทรพั ยส์ ิน ความหมาย ความสำคญั หลกั การของสทิ ธิมนุษยชน ปญั หาการละเมิด ในหอ้ งเรียน
โรงเรียน ชุมชนด้วยความปราศจากอคติ และการเหมารวม รวมทัง้ ควบคุม อารมณ์และความรู้สกึ และร้จู กั และ
ปกป้องสิทธิเสรีภาพของตนเอง รู้จกั ปฏิเสธ เคารพสทิ ธิเสรภี าพของผูอ้ ื่น ช่วยเหลือผู้อนื่ เมอ่ื ไดร้ บั การรอ้ งขอ
๙. กิจกรรมตามประเพณีและวัฒนธรรมของโรงเรียน กิจกรรมเขา้ แถว สวดมนตไ์ หว้พระ และของชุมชนอย่าง
เหน็ คณุ ค่าและรับผิดชอบและปฏบิ ัตติ น อย่างเหมาะสมตามบทบาทหนา้ ทตี่ นเองในฐานะสมาชกิ ของครอบครวั
ชัน้ เรยี น และโรงเรียน
68
๑๐.ปฏิบตั ติ นร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับสถาบันหลกั และสญั ลักษณ์ของชาตไิ ทย เช่น ธงไตรรงค์ สถาบันพระมหา
กษัตรย์ ความหมายและความสำคัญประโยชน์สว่ นรวมโดยแสดงออกถึงความเคารพและรบั ผิดชอบและปฏบิ ัติ
ตน อยา่ งเหมาะสมตามบทบาทหนา้ ท่ีตนเองในฐานะสมาชิกของครอบครวั ชั้นเรียน
๑๑. เลือกจัดการ ใช้สื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เช่น การรู้เท่าทันส่ือแนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภยั และมีจรยิ ธรรมการรักษาข้อมูลส่วนตัวการรับมอื การคกุ คามทางออนไลน์โดยรบั ผดิ ชอบต่อผลท่ีเกดิ ขึ้น
ต่อตนเองและผอู้ ืน่ และรูจ้ กั ประเภทของส่ือทห่ี ลากหลายขึ้น
๑๒. ตัดสนิ ใจปฏิบัติเข้าใจสรา้ งและสง่ ตอ่ ความรู้วัตถปุ ระสงค์ ประโยชน์ และโทษเกย่ี วกบั ส่ือ ดิจิทลั ขอ้ มูล
สารสนเทศ เชน่ อนั ตรายของการใชส้ ่อื ที่ผดิ วธิ ี การถูกละเมิดสทิ ธิ ทเ่ี กิดขน้ึ ต่อตนเองและครอบครัวอยา่ งเกิด
ประโยชนแ์ ละรู้จกั ประเภทของสื่อท่หี ลากหลายข้ึน
ผลลัพธ์การเรยี นรู้รายชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3
๑. ฝึกตน จัดการตนเอง ดำเนนิ ชวี ติ มสี ติ สมาธิและปัญญา เคารพ ศรัทธา การคดิ จากการเห็นความสำคญั
ของพระพทุ ธศาสนาพระรตั นตรัย พทุ ธประวตั ิ พทุ ธสาวก ชาดก พระไตรปิฎก โอวาท 3 ศาสดาในศาสนาอืน่ ท่ี
หลักเบญจศีล เบญจธรรม หลักคำสอน จากแหลง่ เรียนร้ใู นชมุ ชนดว้ ยความตระหนกั และตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสาร
และปัญหาทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ตัวเอง ครอบครัว เพ่อื นรว่ มชนั้ เรียนและโรงเรียน มสี ว่ นร่วม ในกจิ กรรมสว่ นรวม
ต่าง ๆ
๒. ส่อื สาร มีสติ ใช้สอยอยา่ งพอเพยี ง ร้เู ท่าทนั เทคโนโลยีท่ีสำคญั ในชีวิตประจำวัน ความแตกต่างของ
สง่ิ แวดลอ้ มในครอบครัว โรงเรยี นและใส่ใจและดูแลส่งิ แวดล้อมในบริเวณบ้าน โรงเรยี น หรือชมุ ชนของตนเอง
ในฐานะเป็นพลเมืองไทยด้วยความเคารพและเหน็ คุณค่า
๓. มีสว่ นร่วม ระบุ แยกแยะ วางแผน การใช้จา่ ย การออมเงนิ จากรายรบั รายจา่ ย การออมเงิน ของตัวเอง
สมาชิกในครอบครวั สหกรณโ์ รงเรยี น สาเหตุ วธิ ีการแกไ้ ขปัญหาทีเ่ กิดจากความตอ้ งการอยา่ งเหมาะสมดว้ ย
ความมีวินัยและความรับผิดชอบ และระบปุ ญั หาอย่างง่ายหาสาเหตุของปัญหาและวิธกี ารแกไ้ ขปัญหาออกแบบ
วธิ ีแก้ปญั หาท่ีมคี วามเป็นไปได้จรงิ ในทางปฏบิ ตั ิและลงมอื แกป้ ัญหาด้วยตนเองจนปัญหาไดร้ บั การแก้ไขภายใต้
การติดตามของผู้ใหญ่
๔. ระมัดระวังผลของการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรอย่างพอเพียงการทำงาน การทำกจิ กรรม การประกอบ
อาชพี เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม มีสว่ นรว่ มในการการบรกิ าร การทำกจิ วัตรประจำวนั ของตนเอง ครอบครวั
คนในชุมชน สภาพภมู ปิ ระเทศ สภาพภมู อิ ากาศของท้องถนิ่ ตัวเองอยา่ ง ประจำวันประหยัดด้วยความตระหนัก
และใสใ่ จและดแู ลสง่ิ แวดลอ้ มในบรเิ วณบ้าน โรงเรียน หรือชมุ ชนของตนเองใชท้ รพั ยากรธรรมชาตริ อบตัวอย่าง
ประหยดั และร้คู ณุ ค่า
๕. นำเสนอ อธบิ ายเขา้ ใจ สอบถาม ทำแสดงหลักฐานกจิ กรรมเกีย่ วกับเรอ่ื งราวของตนเอง บคุ คล วัตถุ และ
สถานท่ีท่ีเกย่ี วข้องกบั ครอบครัว โรงเรยี น และชุมชนสถาบันหลกั ของชาตกิ บั ชมุ ชนและท้องถิน่ ประวัติความ
เปน็ มา และวถิ ชี วี ติ เหตุการณ์สำคัญการเปลีย่ นแปลง ท่ีมตี อ่ วถิ ีชีวิตหลักฐาน และแหล่งขอ้ มลู ภาพและภาษา
ใช้ในครอบครัว โรงเรยี น และชุมชนดว้ ยความร้สู กึ ตระหนกั และใส่ใจและดูแลสิ่งแวดล้อมในบรเิ วณบ้าน
โรงเรยี น หรอื ชุมชนของตนเอง
๖. สำรวจ ประยุกต์ใชว้ างแผนการทำงาน รว่ มกัน ดูแล รกั ษาขอ้ มูลเกี่ยวกับตำแหนง่ ระยะและทิศทางของส่ิง
ตา่ งๆและสถานท่ี แผนที่ แผนผัง รปู ถ่าย ส่ิงแวดล้อมทีส่ ่งผลกระทบตอ่ การเปน็ อยู่ ระเบียบ แบบแผนในการ
69
ทำงานของหอ้ งเรียน โรงเรยี น และชุมชนดว้ ยความตระหนักและใชท้ รัพยากรธรรมชาตริ อบตัวอย่างประหยัด
และรคู้ ุณค่า
๗. ทำกิจกรรม ปฏิบตั ติ นแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นแกป้ ญั หาหรอื ความขัดแยง้ เกยี่ วกับ บทบาทหนา้ ท่ี
ขอ้ ตกลง กฎ กตกิ า สถานการณ์ตา่ ง ๆ เกย่ี วกบั ประโยชน์ โทษ ของการเปลย่ี นแปลงในการรวมกลุ่มเพ่ือ
สว่ นรวมในการเปน็ สมาชิกของครอบครัว หอ้ งเรียน โรงเรียน ชุมชนยอมรับดว้ ยความความรู้สึกเตม็ ใจและ
เสียสละและรับผิดชอบและปฏิบัติตน อย่างเหมาะสมตามบทบาทหนา้ ทตี่ นเองในฐานะสมาชกิ ของครอบครัว
ช้ันเรียน และโรงเรยี น เคารพตอ่ สถาบนั หลกั ของชาติ
๘. แสดงพฤตกิ รรมเชิงบวกท้งั ทางกาย วาจา และปฏบิ ัติตนตามพ้ืนฐานสทิ ธิ หน้าที่ ของตน สิทธิพืน้ ฐาน
เสรภี าพ ทรัพย์สิน ความหมาย ความสำคัญ หลกั การของสทิ ธิมนษุ ยชน ปัญหาการละเมดิ วฒั นธรรม ประเพณี
ในหอ้ งเรียน โรงเรียน ชุมชน และทอ้ งถนิ่ ดว้ ยความปราศจากอคติ และการเหมารวม รวมทงั้ ควบคุม อารมณ์
และความรู้สึก และมีอสิ ระท่ีจะคิดและแสดงออก ทรี่ บั ผิดชอบและไม่ทำให้ ผอู้ น่ื เดอื ดรอ้ น ช่วยเหลือผอู้ นื่ เม่อื
ได้รบั การรอ้ งขอ หรอื เมอ่ื เหน็ วา่ ตอ้ งการ ความชว่ ยเหลอื ใชข้ องสว่ นรวมอย่างระมดั ระวงั
๙.กิจกรรมตามประเพณีและวัฒนธรรมของโรงเรียน กจิ กรรมเขา้ แถว สวดมนต์ไหว้พระ ของชมุ ชน ท้องถนิ่
ส่ิงแวดล้อมในโรงเรยี น ชุมชน ทอ้ งถิน่ อย่างเหน็ คุณค่าและรับผดิ ชอบและปฏิบัติตน อย่างเหมาะสมตาม
บทบาทหนา้ ที่ตนเองในฐานะสมาชกิ ของครอบครัว ชัน้ เรียน และโรงเรยี น เคารพต่อสถาบนั หลักของชาติ
๑๐. ปฏบิ ัติตนรว่ มกิจกรรมเกี่ยวกับสถาบนั หลักและสัญลกั ษณ์ของชาติไทย เชน่ ธงไตรรงค์ สถาบันพระมหา
กษัตรย์ ความหมายและความสำคญั ประโยชน์สว่ นรวมดแู ลและใหค้ ำแนะนำโดยแสดงออกถึงความเคารพและ
รบั ผดิ ชอบและปฏิบัติตน อย่างเหมาะสมตามบทบาทหนา้ ทต่ี นเองในฐานะสมาชิกของครอบครวั ช้ันเรียน และ
โรงเรียน เคารพตอ่ สถาบันหลักของชาติ
๑๑. เลือกจัดการ ใช้สอื่ สารสนเทศ และดจิ ิทลั เช่น การรู้เท่าทันสื่อแนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภยั และมีจรยิ ธรรมการรกั ษาขอ้ มูลสว่ นตัวการรับมือการคกุ คามทางออนไลน์ลิขสิทธิ์และความเปน็ เจ้าของ
ผลงานกฎหมายเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์และการกระทำความผิดทางคอมพวิ เตอรโ์ ดยรับผิดชอบต่อผลทเี่ กดิ ขนึ้ ตอ่
ตนเองและผูอ้ ่ืนและรู้วิธีการเข้าถงึ ส่อื ทหี่ ลากหลาย
๑๒. ตัดสินใจปฏบิ ตั ิเขา้ ใจสร้างและสง่ ตอ่ ความรู้วตั ถปุ ระสงค์ ประโยชน์ และโทษเก่ียวกับส่ือ ดจิ ิทัล ขอ้ มลู
สารสนเทศ เช่นอนั ตรายของการใช้ส่ือที่ผิดวธิ ี การถกู ละเมิดสิทธิ หลักของเทคโนโลยี 4R ทเี่ กิดขึน้ ตอ่ ตนเอง
และครอบครวั อยา่ งเกิดประโยชน์และรู้วิธกี ารเขา้ ถงึ ส่ือท่ีหลากหลาย
70
กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละระบบธรรมชาติ
สาระสำคัญของกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ความสำคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาตเิ ปน็ สาระที่เนน้ การสืบเสาะ (inquiry) เพื่อเข้าใจ
ระบบธรรมชาติ การจัดประสบการณ์เรียนรู้ในช่วงช้ันน้ีเร่ิมจากการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากส่ิงที่ใกล้ตัวท่ีสนใจ
และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น เน้นให้ผู้เรียนสืบเสาะและแก้ปัญหา โดยใช้ความรู้และกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐาน ใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื เข้าถึงแหล่งข้อมูลอย่างปลอดภัย สร้างเจตคติท่ีดตี อ่ วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ปรบั ตวั และอยู่ร่วมกับธรรมชาติ รกั ษาสิง่ แวดล้อม และตระหนกั ถงึ การใช้ทรัพยากร
เป้าหมายสำคัญของการจัดประสบการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ
ช่วงช้ันท่ี 1
1. เข้าใจแนวคิดและความรู้พ้ืนฐานในวิทยาศาสตร์ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต สามารถใช้และเข้าถึง
เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม รเู้ ท่าทนั และปลอดภยั
2. เป็นผู้ท่ีมีจนิ ตนาการ จิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์
3. ตระหนักถึงความสัมพนั ธ์ของวิทยาศาสตร์กับระบบธรรมชาติ ผลของวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
วิทยาการตา่ ง ๆ ท่ีมีตอ่ มวลมนุษย์และสิง่ แวดล้อมในระบบธรรมชาติ
ลกั ษณะเฉพาะ/ ธรรมชาติของกลมุ่ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ (Science) เป็นความรู้ท่ีเกิดจากสติปัญญาและความพยายามของมนุษย์ในการศึกษา
เพื่อทำความเข้าใจส่งิ ต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขึ้นโดยธรรมชาติทั้งบนโลกและในเอกภพ วิทยาศาสตร์จึงให้ความสำคัญกับ
การสืบเสาะหาคำตอบเพื่อทำความเข้าใจธรรมชาติ การสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการที่ต้องใช้ความรู้
จินตนาการ เครื่องมือต่าง ๆ เช่น คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี เพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูล จัดรูปแบบของข้อมูล
ใชส้ มรรถนะด้านภาษา เพ่ือทำความเขา้ ใจข้อมูล สื่อสารความคิด และนำเสนอขอ้ มูล ดังนั้น ความรู้ กระบวนการ
และจติ วิทยาศาสตร์ มคี วามสำคญั กับการนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิต และการอยรู่ ่วมกันกบั ธรรมชาตอิ ย่างสมดุล
กระบวนการสบื เสาะ (Inquiry Process) เป็นกระบวนการท่ีนำไปสกู่ ารเรียนรู้และอธิบายปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ
เชิงวิทยาศาสตร์ ระหว่างการสืบเสาะผู้เรียนจะต้องใช้การให้เหตุผลเชิงตรรกะ (Logic) หลักฐานเชิงประจักษ์
(Empirical Evidence) จินตนาการ และการคิดสร้างสรรค์ เป็นการทำงานอย่างเป็นระบบ รอบคอบ มีอิสระ
และไม่เปน็ ลำดับขนั้ ทีต่ ายตัวมีธรรมชาติในการเรียนรู้ ดงั น้ี
• ปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนโลกหรือในเอกภพท่ีเกิดข้ึนอย่างเป็นแบบรูป (Pattern) สามารถเข้าใจได้
ดว้ ยสติปญั ญา วิธีการศึกษาทีเ่ ป็นระบบ มนุษย์สามารถเรยี นรู้และทำความเขา้ ใจได้
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์มคี วามไม่แน่นอน สามารถเปลย่ี นแปลงได้ หากพบหลักฐาน (Evidence) ใหม่
ที่นำไปสู่การสร้างคำอธิบาย หรือองคค์ วามรู้ใหม่ทางวทิ ยาศาสตร์
• ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีความคงทน และเช่ือถือได้ เพราะการสร้างการอธิบายทางวิทยาศาสตร์
ต้องผ่านวิธีการตา่ ง ๆ อย่างตอ่ เนื่อง ซำ้ แล้วซำ้ เล่าเป็นระยะเวลาหนง่ึ จนม่นั ใจในคำอธิบายนน้ั
• วิทยาศาสตร์เชอื่ ถือหลักฐานเชิงประจักษ์ทไี่ ด้จากการสงั เกต ทดลอง หรือวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์
71
เทคโนโลยี (Technology) เปน็ สิ่งทม่ี นุษย์สร้างหรือพัฒนาขึน้ ซ่ึงอาจเป็นได้ท้งั ชิ้นงานหรือวิธกี ารเพอื่ ใช้
แก้ปญั หา สนองความต้องการ หรอื เพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ เทคโนโลยีจงึ เกิดจากการผสาน
ทักษะ เทคนิค วิธีการ และความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน กระบวนการทางเทคโนโลยีให้ความสำคัญกับ
การแกป้ ัญหาอย่างเป็นข้ันตอน และเป็นระบบ รวมถึงการระบเุ หตุผลของคำตอบ นอกจากนี้ เรายังสามารถใช้
เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ได้อย่างหลากหลาย เช่น ใช้สร้างช้ินงาน เทคโนโลยีอ่ืนหรือนวัตกรรม ใช้เข้าถึง
แหลง่ ข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ใชร้ ่วมกับวทิ ยาการแขนงตา่ ง ๆ
จุดเน้นการพัฒนา
การจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน ในช่วงชั้นที่ 1 ผู้เรียนควรได้รับ
ประสบการณ์เรียนรู้ผ่านการบูรณาการผลลัพ ธ์การเรียนรู้โดยอาจบูรณาการข้าม กลุ่มสาระการเรียน รู้หรือ
ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การบรู ณาการภายในกล่มุ สาระการเรยี นรู้อาจบูรณาการผ่านธีมต่าง ๆ ดังนี้
ทรพั ยากรธรร
มชาติ
ปรากฏการ วิทยาศาสตร์ สง่ิ แวดล้
ณ์ อม
ธรรมชาติ
และ และระบบ
ภยั อันตราย ธรรมชาติ
เทคโนโลยี ความกา้ วหนา้
ใน ของ
ชวี ิตประจำวัน วิทยาศาสตร์
จดุ เน้นการพัฒนาผ่านแต่ละหวั ขอ้ มดี ังนี้ และเทคโนโลยี
• ทรพั ยากรธรรมชาติ
ผู้เรียนควรได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เก่ียวกับลักษณะ สมบัติและความสำคัญของดิน
และน้ำ รวมถึงประโยชน์ของดินและน้ำต่อมนุษย์ จึงต้องดูแลเพื่อให้มีใช้ได้อย่างย่ังยืน สมดุล ไม่กระทบ
ส่ิงแวดล้อม ผู้เรียนควรประพฤติตนโดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้คุ้มค่า ลดการใช้เมื่อไม่จำเป็น และอาจ
บูรณาการร่วมกับวิทยาการคำนวณในด้านฝึกการแก้ปัญหาอย่างเป็นลำดับขั้นตอนและเขียนโปรแกรมคำส่ัง
ดว้ ยบัตรภาพหรอื บัตรคำ
• สงิ่ แวดล้อม
ผูเ้ รียนควรได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เก่ยี วกับสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการดำรงชวี ิต
ของพืชและสัตว์ สงิ่ ท่ีจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืชและสัตว์ วฏั จกั รชีวิตของพชื ดอกและสัตว์ ผลของการเปลี่ยนแปลง
สิง่ แวดล้อมที่มตี ่อพืชและสตั ว์ และการดูแลและปกป้องสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการดำรงชวี ิตของพชื และสัตว์
และอาจบูรณาการร่วมกับวิทยาการคำนวณในด้านฝึกการแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ลำดับขั้นตอนและเขียนโปรแกรม
คำสง่ั ด้วยบัตรภาพหรือบัตรคำ
• ปรากฏการณ์ธรรมชาติและภยั อนั ตราย
ผู้เรียนควรได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์กลางวัน กลางคืน การขึ้นและตก
ของดวงอาทิตย์ และการกำหนดทิศ ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวเกิดจากการท่ีโลกหมุนรอบตัวเอง ได้เรียนรู้
72
เก่ียวกับการเกิดลม ผลของลมต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม รวมถึงการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากวาตภัยและ
อทุ กภัย และอาจบูรณาการร่วมกับวทิ ยาการคำนวณในด้านฝึกการแก้ปัญหาอย่างเป็นลำดบั ข้ันตอนและเขียน
โปรแกรมคำสง่ั ด้วยบตั รภาพหรือบัตรคำ
• ความกา้ วหน้าของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ผู้เรียนควรได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับการฝึกฝนการนำความรู้มาแก้ปัญหาหรือ
พฒั นาชน้ิ งานด้วย โดยประยกุ ตใ์ ช้ความร้ใู นเร่ืองแรง ผลของแรงท่ีมตี ่อวัตถตุ ่าง ๆ แรงแม่เหล็ก หรือสมบัตขิ อง
วัสดุ ในแกป้ ัญหาหรือการสร้างช้ินงานอย่างง่าย
• เทคโนโลยีในชีวติ ประจำวัน
ผู้เรียนควรได้รับการจัดประสบการณ์เกี่ยวกับการแกป้ ัญหาอย่างเป็นขั้นตอน มคี วามมุ่งมั่นและเห็นว่า
การแก้ปัญหาเป็นเร่ืองที่สนุกและท้าทาย รวมท้ังใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ ส่ือสารได้อย่าง
เหมาะสมและปลอดภัย สร้างนวัตกรรมท่ีเหมาะสมกับวัย สร้างชิ้นงานหรือเครื่องมืออย่างง่ายในการเล่น
การทำงาน การแกป้ ญั หา หรอื การใชช้ วี ติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
ขอบเขตเนอื้ หาและกลวิธีสอนเพ่ือพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รยี นตามช่วงวัย
ผู้เรียนในช่วงชั้น 1 (อายุ 7 - 9 ปี) สามารถพัฒนาการคิดเชิงเหตุผลกับสถานการณ์ท่ีเป็นรูปธรรมและ
ใกลต้ ัว โดยมผี ู้สอนเป็นผู้แนะนำชว่ ยเหลือในการวางแผนและจดั ระบบการสบื เสาะตามข้ันตอนหรอื วิธกี าร
การฝึกใหผ้ ู้เรียนชั้น ป.1 และ ป.2 จดจำคำศพั ท์ ความหมายของคำศัพท์ สรา้ งคลงั คำศัพท์เหมาะสม
ตามวัย จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์ ผู้สอนจึงมีบทบาทสำคัญพฒั นาคลังคำศพั ทท์ เี่ หมาะสม
ตามวัย ด้วยการนำอ่านบทความส้ัน ๆ เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และวิทยาการต่าง ๆ เพื่อฝึกการฟังอย่างมี
ความหมาย รู้จักและสะสมคำศัพท์ที่หลากหลายตลอดช่วงช้ัน (ป.1 - 3) ควรฝึกผู้เรียนให้ส่ือสารด้วยการใช้
ภาษาในการพูด และเขียนคำหรือข้อความสั้น ๆ เพื่อสรา้ งคำอธิบาย แสดงความเหน็ ลงข้อสรปุ
โดยธรรมชาติ ผู้เรียนในชว่ งชั้นนี้มีความกระตือรือร้น ช่างสังเกต ชอบตั้งคำถาม ชอบทำกิจกรรมร่วมกับ
เพื่อน ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ แต่ยังคงต้องพัฒนากล้ามเน้ือต่าง ๆ ต่อเนื่องจากช่วงช้ันอนุบาล ดังน้ัน ผู้เรียนจึง
ควรเรียนรู้อย่างกระตือรือร้นในการฝึกการสังเกตด้วยประสาทสัมผัสท่ีเหมาะสมกับกิจกรรม รวมถึงฝึกการ
หยิบจับ และใช้อุปกรณ์อย่างง่ายร่วมกับการสังเกตด้วยประสาทสัมผัส ช่วง ป.2 และ ป.3 สามารถเรียนรู้ท่ีจะ
สรา้ งคำถามที่นำไปสู่การสืบเสาะ (Testable Question) และใชเ้ ทคโนโลยีในการสืบค้น จัดกระทำข้อมูล นำเสนอ
ข้อมูล หรือสรา้ งนวตั กรรมที่เหมาะสมกับวัย เช่น ของเล่น ของใช้ โดยประยุกตใ์ ช้ความรูแ้ ละวิธีการของตนเอง
โดยอาศัยการช่วยเหลือหรือแนะนำ ดังน้ัน ผู้สอนจึงควรเลือกใช้กลวิธีสอนท่ีเน้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
และมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะ และเจตคติของผู้เรียนอย่างเป็นองค์รวม และประเมินเพื่อพัฒนา
การเรียนรูข้ องผเู้ รียนอยา่ งต่อเน่อื งและใหผ้ ลสะทอ้ นกลบั เชงิ สร้างสรรคก์ บั นักเรียนอยา่ งสมำ่ เสมอ
การนำไปใชใ้ นชวี ติ จริง
จากการฝึกฝนให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติโดยการรวบรวมข้อมูลที่สังเกต หรือทดลองได้จะทำให้ผู้เรียน
พฒั นาสมรรถนะในด้านการสืบเสาะ การตีความหมายข้อมูลเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติรอบตัว ซึ่งผู้เรียนต้องใช้
สมรรถนะการคดิ ข้ันสงู ในการวิเคราะห์หลักฐานต่าง ๆ เพือ่ ทำความเข้าใจปรากฏการณ์ธรรมชาติและระบบธรรมชาติ
ฝึกการทำงานและการมีส่วนร่วมในทีม การรับรู้และจัดการอารมณ์ของตนเองให้สามารถแก้ปัญหาให้ลุล่วง
สามารถสอื่ สารในการใชภ้ าษาเชิงวิทยาศาสตร์ไดอ้ ย่างเหมาะสมในการแสดงความเหน็ อธิบาย และลงข้อสรุป
จากการฝึกฝนให้ผู้เรียนได้อ่านและทำความเข้าใจข้อมูลท่ีนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ ทำให้ผู้เรียนได้พัฒนา
สมรรถนะเฉพาะในด้านการใช้และเข้าใจภาษาเชิงวิทยาศาสตร์ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถอ่านและแปล
ความหมายขอ้ มลู ท่พี บในชีวิตประจำวัน และไดฝ้ กึ ฝนการนำคณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนรู้
จากการฝกึ ฝนให้ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในการสืบเสาะ สร้างชิ้นงาน และแก้ปญั หา ชว่ ยให้
ผ้เู รยี นเรียนรทู้ ี่จะรับฟังและยอมรับความคิดเห็นทแ่ี ตกตา่ งจากตนเอง เช่ือม่นั ในความคิดเห็นทีม่ ีหลักฐานท่ีนา่ เชอื่ ถือ
73
สนุกกับการแก้ปัญหา ได้พัฒนาสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม ตระหนักถึงประโยชน์ของการรวมพลัง
ร่วมแรงร่วมใจในการทำงานอย่างมุ่งมั่น ไม่ย่อท้อ เป็นพลเมืองท่ีเคารพกฎ กติกา สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ท่ามกลางความแตกต่างหลากหลาย
การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ
ภาษาไทย/ ภาษาอังกฤษ สามารถจัดสถานการณ์ให้นักเรียนรู้จักคำศัพท์ต่าง ๆ พัฒนาเป็น
คลังคำศัพท์เฉพาะตนเพ่ือช่วยให้สามารถใช้ภาษาของตนเองด้วยการพูดหรือเขียนเพ่ือนำมาใช้ในการบันทึกผล
การสบื เสาะ สอ่ื สารความคดิ และนำเสนอเร่ืองราว
สังคมศึกษา สามารถจัดสถานการณ์การเรียนรู้ในเรื่องทรัพยากร ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ทิศกับ
การใช้แผนผังหรือแผนท่ี สามารถเช่ือมโยงเรื่องราวในประวัติศาสตร์ ทั้งด้านภูมิปัญญา และกระบวนการ
แก้ปัญหาของบุคคลในอดีตมาเช่ือมโยงกับองคค์ วามรู้และการแกป้ ญั หาทางวทิ ยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ นำความรู้ทางคณิตศาสตร์มาใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ และจัดกระทำข้อมูล
ในรูปตารางทางเดยี ว หรอื แผนภูมิรูปภาพ
ศิลปะ นำศิลปะมาเป็นการดำเนินเรื่องราวในการสืบเสาะหาความรู้ หรือประยุกต์ใช้ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์ ในการทำความเข้าใจหรือการทำงานทางศิลปะและภูมิปัญญาในชุมชน นอกจากน้ี
ยงั ใชส้ มรรถนะทางศลิ ปะมารว่ มสร้างสรรค์ชิ้นงานจากการแก้ปัญหาให้มคี วามสวยงามและนา่ สนใจมากขึ้น
บูรณาการเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันกับทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เน้นฝึกทักษะพ้ืนฐาน
การแก้ปัญหาในการจัดลำดับขั้นตอนการทำงานหรือการทำกิจกรรม โดยอภิปรายและเปรียบเทียบ
ความแตกต่างของผลลัพธ์ในการทำงานจากขัน้ ตอนการแก้ปัญหา เพอ่ื ใหไ้ ด้ขนั้ ตอนที่เหมาะสมหรือได้แนวทาง
ท่ีหลากหลาย นอกจากน้ีให้นักเรียนฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างชิ้นงานหรือเข้าถึงแหล่งเรียนรู้
ท่สี นใจเพ่ือค้นหาความรู้ และส่งเสรมิ ทักษะพืน้ ฐานในการเป็นผ้พู ัฒนานวัตกรรมโดยการสร้างของเล่น ของใช้
ตามความสนใจ ซึ่งโรงเรียนสามารถจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งนี้ตัวอย่าง
ของการบูรณาการวิทยาศาสตรร์ ่วมกับวิทยาการคำนวณแสดงไว้ในธมี ทรพั ยากร สง่ิ แวดล้อม และปรากฏการณ์
ธรรมชาตแิ ละภัยอันตราย
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก
สมรรถนะเฉพาะ 3. การส่อื สาร
1. อธิบายปรากฏการณอ์ ยา่ งเปน็ วิทยาศาสตร์ 6. การอยรู่ ่วมกบั ธรรมชาติ
1.1 สร้างคำอธิบายปรากฏการณ์ทคี่ นุ้ เคย ไมซ่ บั ซ้อน โดยใช้หลกั ฐาน
และวทิ ยาการอยา่ งยงั่ ยืน
ทส่ี ังเกต หรือทดลองได้
1.2 เลอื กคำอธบิ ายทางวทิ ยาศาสตร์ที่สอดคล้องกบั หลกั ฐานทีม่ ี 2. การคิดขนั้ สูง
2. ประเมินและออกแบบการสืบเสาะเชิงวทิ ยาศาสตร์ 4. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม
6. การอยู่ร่วมกบั ธรรมชาติ
2.1 สังเกต ต้งั คำถาม ตงั้ สมมติฐานและพยากรณผ์ ล ทดสอบสมมติฐาน
และการพยากรณ์ ลงขอ้ สรปุ เกี่ยวกบั ปรากฏการณท์ ค่ี นุ้ เคย และวิทยาการอยา่ งยั่งยืน
ไม่ซบั ซอ้ น
2.2 รวบรวมหลักฐานโดยการสงั เกตหรอื การทดลองอย่างงา่ ย
ท่ปี ระกอบด้วยตัวแปรต้น 1 ตัวแปร และตวั แปรตาม 1 ตัวแปร
2.3 มุง่ มน่ั ในการเกบ็ รวบรวมหลกั ฐานเพ่อื ใช้อธิบายปรากฏการณ์
74
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั
3. ตีความหมายข้อมูลและหลกั ฐานทางวทิ ยาศาสตร์
3.1 แปลความหมายชุดข้อมูล หรือแบบรปู ซ้ำทีไ่ ม่ซบั ซ้อน และมีจำนวน 2. การคดิ ข้ันสูง
ชดุ ขอ้ มูลไมม่ าก
4. การรวมพลงั ทำงานเป็นทีม
3.2 เปลี่ยนรปู แบบการจัดกระทำชุดข้อมูลงา่ ย ๆ จากรูปแบบหนึ่ง 6. การอยู่รว่ มกบั ธรรมชาติ
เปน็ รูปแบบหนงึ่ เช่น รปู ภาพ แผนภูมิรปู ภาพ แผนภมู ิแท่ง
ตารางทางเดียว ข้อความ และวทิ ยาการอย่างยั่งยนื
3.3 ใชช้ ุดข้อมูลทจี่ ัดกระทำแล้วมาประกอบขอ้ สรปุ
4. แกป้ ัญหา สรา้ งนวตั กรรม และการอย่รู ่วมกัน
4.1 ใชค้ วามรู้ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการปฏิบัติตน ประยุกตใ์ ชใ้ น 1. การจัดการตนเอง
ชีวติ ประจำวนั และอยู่รว่ มกันกบั ธรรมชาติได้อย่างเหมาะสม 2. การคดิ ขั้นสงู
4.2 แกป้ ัญหา แสดงวธิ กี าร หรือขน้ั ตอนการแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบโดย 3. การสื่อสาร
ระบุเหตุผล หรือขอ้ สรุปของคำตอบ 4. การรวมพลังทำงานเป็นทมี
4.3 มคี วามมงุ่ มั่นในการแก้ปัญหา เหน็ การแกป้ ัญหาเปน็ เรือ่ งทท่ี า้ ทาย 6. การอยรู่ ่วมกับธรรมชาติ
และวทิ ยาการอย่างยัง่ ยืน
และสนุกกบั การแก้ปัญหา
5. ใช้และเขา้ ใจภาษาเชิงวิทยาศาสตร์
5.1 ฟังเขา้ ใจ ใช้ภาษาทั้งพูดและเขียนเพือ่ สอ่ื สาร หรอื บอกวิธีการหรอื เหตผุ ล 3. การส่ือสาร
6. การอยรู่ ่วมกบั ธรรมชาติ
5.2 อ่านและทำความเขา้ ใจเอกสารที่มภี าพ แผนภูมิรปู ภาพ หรอื
ตารางทางเดยี ว และวทิ ยาการอย่างย่ังยืน
5.3 อธบิ าย ให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ สรุปผลการทำกิจกรรมดว้ ยภาษาพูด
ภาษาสญั ลกั ษณ์ ภาษากาย ภาษาภาพ ได้อย่างเหมาะสม
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก
6. ใชเ้ ครือ่ งมือในการเรียนรู้ 1. การจดั การตนเอง
2. การคิดขนั้ สงู
6.1 เลอื กและใชเ้ ครอ่ื งมือพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 3. การสอ่ื สาร
และเทคโนโลยีในการเรยี นรู้หรือแกป้ ัญหา 4. การรวมพลงั ทำงานเป็นทีม
5. การเป็นพลเมืองทเ่ี ข้มแข็ง
6.2 เขา้ ถงึ แหลง่ ขอ้ มูล สื่อสารบนอนิ เทอร์เน็ต และใช้เทคโนโลยี 6. การอยู่ร่วมกบั ธรรมชาติ
อย่างเหมาะสม รู้เท่าทัน และปลอดภัย
และวิทยาการอย่างยั่งยนื
75
ผลลพั ธ์การเรียนรเู้ มอื่ จบชว่ งช้ันท่ี 1
1. วิเคราะห์ขอ้ มลู เก่ยี วกับพฤติกรรมการใช้ดินและน้ำของตนเองและครอบครวั ท่ีส่งผลทั้งในแง่บวกและแง่
ลบกับตนเองและผู้อื่น บอกแนวการปฏิบัติตนในการใช้ประโยชน์จากดนิ และน้ำในการทำกจิ วัตรต่าง ๆ
ได้อยา่ งเหมาะสมและมีเหตุผล โดยประยุกตใ์ ช้ความรูเ้ ก่ียวกับลักษณะ สมบตั ิ และประโยชนข์ องดินและ
นำ้ จากการสังเกตและใช้เครือ่ งมืออย่างง่าย เลือกใช้สื่อในการนำเสนอการดูแลรักษาดินและน้ำให้เข้าใจ
งา่ ยและเหมาะสม
2. ฟงั อา่ น บันทึกรายละเอยี ดอย่างตรงไปตรงมาเก่ยี วกับทรัพยากรธรรมชาตทิ น่ี ำมาใช้ทำเทคโนโลยี ตา่ ง
ๆ วิเคราะห์พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ของตนเองท่ีส่งผลต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี
เหตุผล แสดงความตระหนักโดยมีส่วนร่วมในการตดั สินใจหาแนวทางและเขียนลำดับข้ันตอนในการลด
การใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพื่อลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และลงมือปฏิบัติตาม
แนวทางตามท่เี สนอไว้
3. ตัดสนิ ใจร่วมกันและปฏิบตั ิตามบทบาทหนา้ ท่ที ี่ได้รบั มอบหมายในการออกแบบการบนั ทึกข้อมูล เลอื กใช้
เครื่องมืออย่างง่ายและลงข้อสรุปเกี่ยวกับส่ิงที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของพืชและ
สตั ว์ และวัฏจักรชีวติ ของพืชดอกและสัตวใ์ นท้องถ่ิน และแสดงความคดิ เห็นอย่างมเี หตผุ ลเก่ียวกับความ
เหมาะสมของสภาพแวดล้อมกับการดำรงชีวิตของพืชและสัตว์จากหลักฐานที่รวบรวมได้ เลือกรูปแบบ
การนำเสนอท่ีเหมาะสมกับข้อมูลหรือให้น่าสนใจและนำเสนอด้วยภาษาที่เหมาะสมกับวัย รวมทั้ง
ตระหนักถึงส่ิงที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืชและสัตว์โดยบอกแนวทางการดูแลพืชและสัตว์ให้
เจรญิ เตบิ โตและดำรงชวี ิตอยู่ในสภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสม
4. ร่วมกันค้นหาสง่ิ เจอื ปนท่ีพบในอากาศ น้ำ และดนิ จากการสงั เกตและใช้เครอ่ื งมืออย่างง่าย และร่วมกัน
แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลเพื่อระบุสาเหตุท่ีทำให้อากาศ น้ำ และดิน เกิดการปนเปื้อนและ
ผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นต่อตนเอง ส่ิงมีชีวิต และส่ิงแวดล้อมจากหลักฐานที่รวบรวมได้ รับผิดชอบตาม
หน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายในการรวบรวมข้อมูลเพื่อหาวิธีการลดขยะและสิ่งเจือปน แสดงความตระหนัก
โดยนำเสนอแนวทางการลดปัญหาขยะและสง่ิ เจือปนทพี่ บในดนิ น้ำ และอากาศที่ส่งผลกระทบตอ่ ตนเอง
สิ่งมีชีวติ และสงิ่ แวดล้อม
5. ตั้งคำถามและสร้างคำอธิบายการเกิดปรากฏการณ์กลางวัน กลางคืน การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์
และการกำหนดทิศ โดยร่วมกันแลกเปล่ียนความคิดเห็น และเช่ือมโยงสิ่งท่ีได้จากการสังเกตจาก
แบบจำลอง วิเคราะห์ขอ้ มลู และลงข้อสรุป ประยุกต์ใช้ความรู้เรือ่ งการกำหนดทิศในการกำหนดตำแหน่ง
หรอื ทิศทางของสถานท่ีต่าง ๆ
6. รับผิดชอบตามหน้าที่ทไี่ ดร้ ับมอบหมายในการรวบรวมหลักฐานต่าง ๆ เพอ่ื นำไปส่กู ารสร้างคำอธบิ ายการ
เกิดลม นำเสนอเกย่ี วกับผลของลมต่อส่งิ มชี ีวิตและส่ิงแวดล้อมจากข้อมูลทรี่ วบรวมได้ โดยมีการเลอื กสื่อ
ท่ใี ช้ในการสอ่ื สารให้เหมาะสมกับบคุ คล
7. วางแผนการปฏิบัติตนที่เป็นไปได้จริงเพ่ือให้มีความปลอดภัยจากวาตภัยและอุทกภัย โดยอาศัยความรู้
เก่ยี วกับลักษณะของภัยธรรมชาติ
8. ส่ือสารความเข้าใจเกี่ยวกับแรง ผลของแรงที่มีต่อวัตถุต่าง ๆ และแรงแม่เหล็กที่สังเกตได้จากการทำ
กจิ กรรมหรอื พบในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชวี ิตประจำวันผ่านสื่อและภาษาท่ีเหมาะสม เข้าใจงา่ ย เลือกใช้
วัสดุให้เหมาะกบั วัตถุประสงค์การใชง้ านโดยพิจารณาจากสมบตั ิของวัสดอุ ยา่ งมีเหตุผล และมสี ่วนรว่ มใน
การทำงานกับผู้อื่นและรับผิดชอบตามหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายในการประยุกต์ใช้ความรู้เร่ืองแรงและ
สมบัติของวสั ดุเพือ่ แก้ปญั หาหรอื สรา้ งของเลน่ ของใชอ้ ย่างงา่ ย
76
9. แก้ปัญหาอย่างง่ายหรือทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันอย่างมีข้ันตอน แสดง วิธีการหาคำตอบหรือ
วธิ แี กป้ ัญหา ระบุเหตุผลท่นี ำไปสคู่ ำตอบ มีความม่งุ ม่นั ในการแก้ปญั หาให้สำเร็จ
10. ใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั หรือแหล่งเรยี นรูใ้ นการสบื ค้นขอ้ มลู สรปุ ความเข้าใจจากขอ้ มูล และตดิ ต่อส่อื สารใน
ชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างเหมาะสมและปลอดภัย
๑1. สร้างของเล่นหรือของใช้เพื่อแก้ปัญหาตามความสนใจโดยร่วมกันทำงานเป็นทีม เลือกและใช้ส่ิงของ
เคร่ืองใช้ในชวี ิตประจำวันตามหนา้ ที่ใช้สอยได้อยา่ งปลอดภยั
ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้รายชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1
1. สงั เกต ต้ังคำถามสว่ นประกอบของดนิ ในท้องถนิ่ จำแนกชนิดของดินและอธิบายการใช้ประโยชน์จากดนิ ใน
ทอ้ งถิ่นวิเคราะหพ์ ฤติกรรมการใช้ดนิ ของตนเองและครอบครัวร่วมกันอภิปรายและนำเสนอการดูแลรักษาดิน
และการปฏบิ ตั ิตนในการใช้ประโยชน์จากดินในท้องถนิ่ ในการทำกจิ วตั รตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งงา่ ยเหมาะสมและมี
เหตุผล
2. ต้ังคำถาม ฟงั การอ่านจากครเู พอ่ื รับรู้เกย่ี วกบั การใช้ประโยชน์ของดินและนำ้ จาก ชวี ติ ประจำวันของตนเอง
หรอื จากกจิ กรรมหรือสงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั หรอื ทพี่ บในชมุ ชน รว่ มกนั อภิปรายและ นำเสนอประโยชน์ดินและนำ้
โดยใชค้ ำพูดของตัวเอง หรือวาดภาพ
3. เลือกใช้เคร่อื งมอื อยา่ งง่ายและลงขอ้ สรุปเกย่ี วกบั สิง่ ทีจ่ ำเปน็ ต่อการเจรญิ เตบิ โตและการดำรงชวี ติ ของพชื
และสตั ว์และวฏั จักรชีวติ ของพืชดอกและสตั วใ์ นท้องถ่ิน
4. สงั เกตร่วมกนั ค้นหาสิง่ เจอื ปนทพี่ บในอากาศ น้ำ และดนิ และใช้เคร่อื งมืออย่างงา่ ย และร่วมกนั แสดงความ
คิดเหน็ อยา่ งมีเหตุผลเพ่ือระบุสาเหตุที่ทำใหอ้ ากาศ นำ้ และดิน เกดิ การปนเปือ้ นและ ผลกระทบท่ีอาจเกดิ ขน้ึ
ตอ่ ตนเอง สง่ิ มีชีวติ และส่งิ แวดลอ้ มจากหลกั ฐานท่ีรวบรวมได้
5. สังเกต ตง้ั คำถามเกีย่ วกับปรากฏการณ์กลางวนั - กลางคืน การขึ้น -ตกของดวงอาทิตย์และรวบรวมข้อมลู
เกยี่ วกับการเกดิ กลางวัน-กลางคืน และการข้ึนและตกของดวง อาทติ ยแ์ ละการกำหนดทิศโดยมีความมุ่งม่ันใน
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและมจี ติ วิทยาศาสตร์และมที ักษะกระบวนการกลุ่มในการทำงาน
6. สังเกต ต้ังคำถาม เกี่ยวกับกจิ กรรมทเ่ี กย่ี วข้องกบั การเกิดลมและ ผลกระทบทม่ี ตี อ่ สิ่งมชี วี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม
ใช้ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการปฏิบตั ิตน ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั และอยู่รว่ มกันกบั
ธรรมชาติได้อยา่ งเหมาะสม
7. อธบิ ายลักษณะและผลกระทบ จากวาตภยั และอทุ กภยั จาก ข้อมูลทส่ี งั เกตและรวบรวมได้
8. สังเกตการทำของเล่นของใช้ในห้องเรียนทดลองการเกิดแรงดึงแรงผลัก และการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่
ของวัตถุในลักษณะต่างๆ เชน่ การบีบ บิด ทุบ ดัด ดงึ รว่ มกนั ทำงานเปน็ ทีมอย่างมเี หตผุ ล และมสี ว่ นรว่ มใน การ
ทำงานกับผู้อนื่ และรับผิดชอบตามหนา้ ทท่ี ไ่ี ดร้ บั มอบหมายในการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้
9. แก้ปัญหาอยา่ งงา่ ยในชวี ิตประจำวันอยา่ งมีท่ีนำไปสคู่ ำตอบ มคี วามมงุ่ ม่ันในการแกป้ ญั หาใหส้ ำเรจ็ ได้จาก
กจิ กรรมที่ทำได้อย่างถูกตอ้ ง
10. แกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ยในชีวติ ประจำวันอยา่ งมที ี่นำไปสคู่ ำตอบ มคี วามมุ่งม่นั ในการแก้ปัญหาให้สำเรจ็ ไดจ้ าก
กิจกรรมท่ีทำได้อยา่ งถูกตอ้ ง
11. สร้างของเลน่ หรอื ของใช้เพ่อื แก้ปัญหาตามความสนใจโดยร่วมกันทำงานเปน็ ทีม เลือกและใช้ สงิ่ ของ
เครอื่ งใช้ในชวี ติ ประจำวันตามหนา้ ทีใ่ ช้สอยไดอ้ ยา่ งปลอดภัย
77
ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้รายชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2
1. สังเกต ต้งั คำถามสว่ นประกอบของดนิ ในทอ้ งถิ่นจำแนกชนดิ ของดินและอธบิ ายการใชป้ ระโยชนจ์ ากดนิ ใน
ทอ้ งถน่ิ วิเคราะหพ์ ฤติกรรมการใช้ดินของตนเองและครอบครวั ร่วมกนั อภิปรายและนำเสนอการดแู ลรักษาดนิ
และการปฏิบัตติ นในการใช้ประโยชน์จากดินในท้องถน่ิ ในการทำกจิ วตั รต่าง ๆ ไดอ้ ย่างงา่ ยเหมาะสมและมี
เหตุผล
2. ต้งั คำถาม การสงั เกตโดยใชป้ ระสาทสมั ผัสท่ีเหมาะสมร่วมกับการใชอ้ ุปกรณ์อยา่ งงา่ ย เช่น แวน่ ขยาย เพื่อ
สืบเสาะ ค้นหาสว่ นประกอบของดนิ ลักษณะและสมบตั ขิ องดิน ฝกึ การจำแนก โดยให้ จำแนกและระบชุ นิด
ของดินในชมุ ชนและการใชป้ ระโยชน์ดินในชุมชน สบื เสาะเกี่ยวกับลกั ษณะและสมบัติ ของนำ้ ทนี่ ำมาใชใ้ นการ
อุปโภคและบริโภค แสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั แนวการปฏบิ ตั ติ นในการใช้ ประโยชน์จากดนิ และนำ้ ไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสม ร่วมกันนำเสนอการดแู ลรกั ษาดนิ และนำ้ โดยเลอื กใช้สอื่ ในการ นำเสนอให้เหมาะสม
3. เลอื กใช้เครอ่ื งมืออย่างง่ายและลงข้อสรปุ เก่ียวกบั ส่ิงท่ีจำเปน็ ต่อการเจรญิ เติบโตและการดำรงชวี ติ ของพืช
และสตั ว์และวฏั จกั รชวี ิตของพืชดอกและสัตว์ในท้องถิน่ และแสดงความคิดเหน็ อยา่ งมีเหตผุ ลเก่ียวกับ ความ
เหมาะสมของสภาพแวดลอ้ มกบั การดำรงชีวติ ของพืชและสัตว์จากหลกั ฐานทรี่ วบรวมได้ เลอื ก รูปแบบการ
นำเสนอท่เี หมาะสมกบั ข้อมูลหรือใหน้ า่ สนใจและนำเสนอดว้ ยภาษาท่เี หมาะสมกบั วัย รวมท้งั
ตระหนกั ถึงสงิ่ ทีจ่ ำเป็นต่อการดำรงชีวติ ของพืชและสัตวโ์ ดยการ
4. สังเกตร่วมกนั ค้นหาสง่ิ เจือปนทีพ่ บในอากาศ นำ้ และดิน และใช้เคร่อื งมืออยา่ งง่าย และร่วมกัน แสดง
ความคิดเห็นอย่างมีเหตผุ ลเพอ่ื ระบุสาเหตุท่ีทำให้อากาศ นำ้ และดนิ เกิดการปนเปอ้ื นและ ผลกระทบท่อี าจ
เกิดขน้ึ ตอ่ ตนเอง ส่งิ มีชีวติ และส่ิงแวดล้อมจากหลกั ฐานทรี่ วบรวมได้รบั ผิดชอบตาม หนา้ ท่ที ีไ่ ด้รบั มอบหมายใน
การรวบรวมข้อมลู เพอื่ หาวิธกี ารลดขยะและส่งิ เจือปน
5. สรา้ งคำอธบิ ายสาเหตกุ ารเกดิ กลางวนั กลางคืน โดยวิเคราะห์ ข้อมูลและใชห้ ลักฐานท่รี วบรวม ไดจ้ าก
แบบจำลอง ตงั้ คำถามและรวบรวมขอ้ มูล เกีย่ วกับการข้ึนและตกของดวง อาทิตย์และการกำหนดทิศ
สรา้ งคำอธิบายสาเหตุการเกดิ ปรากฏการณก์ ารข้ึนและตก ของดวงอาทติ ยแ์ ละการ กำหนดทิศ โดยวิเคราะห์
และ ใชห้ ลกั ฐานท่รี วบรวมไดจ้ าก แบบจำลองโดยมคี วามม่งุ มนั่ ในการเก็บรวบรวมข้อมลู และมจี ติ วทิ ยาศาสตร์
และมที กั ษะกระบวนการกลุ่มในการทำงาน
6. สงั เกต ตัง้ คำถามบอกกิจกรรมท่พี บในชีวิตประจำวนั ที่เปน็ การใช้ประโยชนจ์ ากลม รบั ร้ลู ักษณะและ
ผลกระทบของลมท่พี ดั แรงและภัยอนั ตรายทีเ่ กิดจากน้ำท่วมจากสื่อ ต่าง ๆ เชน่ สถานการณ์จำลอง ภาพข่าว
เหตกุ ารณ์คลปิ วดิ โี อ และบอกการปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภัยจากลมที่ พดั แรงและภยั อนั ตรายจากน้ำทว่ ม และนำ
อธบิ ายลกั ษณะและผลกระทบ จากวาตภยั และอุทกภัย จาก ขอ้ มูลที่สังเกตและรวบรวมได้
7. ระบคุ วามสามารถของตนเอง และเพือ่ นได้บรรยายกิจกรรม/งาน ท่ีตนเองและเพอ่ื น อาจตอ้ งการความ
ชว่ ยเหลือ เพื่อทำให้สำเร็จ
8. สังเกตการทำงานของแรงแมเ่ หล็กท่มี ีตอ่ ของเล่นของใช้ส่ือสารความเข้าใจเก่ียวกับแรงและผลของแรงทีม่ ีผล
ต่อวัตถตุ ่างๆร่วมกนั อภิปรายการทำงานของแรงแมเ่ หล็ก แรงกระทำระหว่างแรงแม่เหล็ก สมบัติของแมเ่ หลก็
อย่างมเี หตุผล และมสี ่วนรว่ มใน การทำงานกบั ผู้อื่นและรบั ผิดชอบตามหน้าท่ีที่ไดร้ ับมอบหมายในการ
ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้
9. แก้ปญั หาอย่างง่ายหรอื ทำกจิ กรรมในชีวติ ประจำวนั อยา่ งมีขนั้ ตอน แสดงวธิ ีการหาคำตอบหรอื วิธี
แก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง จากกิจกรรมท่ีทำ
78
10. ใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลหรอื แหลง่ เรียนรูใ้ นการสบื ค้นขอ้ มลู โดย สรปุ ความเข้าใจจากขอ้ มลู และ ติดตอ่ สอื่ สาร
ในชวี ิตประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสมและปลอดภยั สรปุ
11. สรา้ งของเล่น หรอื ของใช้เพอื่ แกป้ ญั หาตามความสนใจโดยรว่ มกันทำงานเปน็ ทมี เลือกและใช้ ส่ิงของ
เครือ่ งใช้ในชวี ิตประจำวันตามหน้าท่ีใช้สอยไดอ้ ยา่ งปลอดภัยโดย
ผลลัพธก์ ารเรียนรู้รายช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3
1. สงั เกต ตัง้ คำถามสมบัติทางกายภาพของน้ำในท้องถนิ่ สำรวจและอธบิ ายสมบัตทิ างกายภาพของน้ำจาก
แหลง่ น้ำในทอ้ งถน่ิ และนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์วิเคราะหพ์ ฤติกรรมการใชน้ ้ำจากแหลง่ นำ้ ในทอ้ งถ่นิ
รว่ มกนั อภปิ รายและนำเสนอการดแู ลรักษานำ้ การปฏบิ ตั ิตนในการใช้ประโยชน์จากน้ำในการทำกจิ วัตรต่าง ๆ
ได้อยา่ งงา่ ยอย่างเหมาะสม
2. การสงั เกต การรับสารท่ีเปน็ ขอ้ มูลจากการฟังจากครู หรือผู้ปกครอง สบื ค้น อา่ นขอ้ มูลบน อนิ เทอร์เนต็ จาก
เวบ็ ไซตท์ ี่นา่ เชื่อถือเก่ยี วกับทรพั ยากรธรรมชาติท่ีนำมาใช้ทำวสั ดุใกลต้ ัว วเิ คราะหพ์ ฤติกรรม การใช้เทคโนโลยี
ต่าง ๆ ของตนเองต่อการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างมีเหตุผล แสดงความตระหนักโดยมี สว่ นร่วมในการ
ตัดสนิ ใจหาแนวทางในการลดการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ และทรัพยากรธรรมชาติโดยเขียนลำดบั ข้ันตอน เชน่
เขียนโคด้ อยา่ งงา่ ยด้วยการใช้บัตรคำสัง่ และปฏิบัตติ นตามแนวทางที่รว่ มตัดสนิ ใจ
3. เลอื กใช้เครื่องมืออยา่ งงา่ ยและลงขอ้ สรปุ เกย่ี วกับส่งิ ที่จำเป็นต่อการเจริญเตบิ โตและการดำรงชีวิตของพชื
และสตั วแ์ ละวฏั จักรชวี ิตของพืชดอกและสตั ว์ในท้องถิ่น และแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมเี หตุผลเกยี่ วกับ ความ
เหมาะสมของสภาพแวดลอ้ มกับการดำรงชวี ิตของพืชและสตั ว์จากหลักฐานทีร่ วบรวมได้ เลอื ก รูปแบบการ
นำเสนอทเี่ หมาะสมกับขอ้ มูลหรือใหน้ า่ สนใจและนำเสนอดว้ ยภาษาทเ่ี หมาะสมกบั วยั รวมท้งั ตระหนักถงึ สิง่ ที่
จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืชและสตั วโ์ ดยบอกแนวทางการดูแลพชื และสัตว์ให้ เจริญเตบิ เติบโตและดำรงชวี ิต
อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม โดยการ
4. สังเกตร่วมกันค้นหาสิง่ เจือปนที่พบในอากาศ น้ำ และดิน จากการสงั เกตและใช้เคร่อื งมืออยา่ งงา่ ย และ
รว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ อยา่ งมเี หตุผลเพ่อื ระบุสาเหตุที่ทำให้อากาศ นำ้ และดนิ เกดิ การปนเปอ้ื นและ
ผลกระทบทีอ่ าจเกดิ ข้ึนต่อตนเอง ส่ิงมชี ีวติ และสิ่งแวดลอ้ มจากหลกั ฐานทรี่ วบรวมได้รับผิดชอบตาม หนา้ ทที่ ี่
ได้รบั มอบหมายในการรวบรวมขอ้ มลู เพ่อื หาวธิ ีการลดขยะและสิ่งเจือปน แสดงความตระหนกั โดยนำเสนอแนว
ทางการลดปัญหาขยะและสง่ิ เจือปนท่ีพบในดิน น้ำ และอากาศทส่ี ่งผลกระทบต่อตนเอง สิ่งมีชีวิต และ
สง่ิ แวดล้อม
5. สรา้ งคำอธิบายสาเหตุการเกิด กลางวนั กลางคืน โดยวิเคราะห์ ขอ้ มูลและใช้หลกั ฐานทร่ี วบรวม ไดจ้ าก
แบบจำลองร่วมกนั ระดมความคิดเกย่ี วกบั เกิดปรากฏการณน์ ้ีโดยวเิ คราะห์ ข้อมลู ลักษณะของโลก การหมุน
รอบตวั เองของโลก รว่ มกนั วเิ คราะห์ข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นถึงแบบจำลอง อธิบายสาเหตุการเกดิ
กลางวัน กลางคืน โดยใชแ้ ผนภาพหรือ อุปกรณอ์ ย่างงา่ ยอย่างกระตือรอื ร้นโดยความมงุ่ มัน่ ในการเกบ็ รวบรวม
ข้อมูลและมีจิตวทิ ยาศาสตร์และมที กั ษะกระบวนการกลมุ่ ในการทำงาน
6. สงั เกต ตง้ั คำถามอธิบายการเกิดลมจากหลักฐานท่ี ไดจ้ ากแบบจำลอง หรือจากสอื่ ตา่ ง ๆ โดยมีความ
รบั ผดิ ชอบตาม หนา้ ทที่ ่ีไดร้ บั มอบหมายในการ รวบรวมหลักฐานตา่ ง ๆ นำเสนอเกย่ี วกับผลของลมต่อ
ส่ิงมชี ีวติ และสิง่ แวดลอ้ ม โดย เลอื กส่อื ท่ใี ช้ในการส่อื สารให้ เหมาะสมกับบุคคล
7. แสดงความคดิ เห็นอย่างมีเหตผุ ลในการวางแผนการปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภัยจากวาตภัยและอุทกภัย
79
8. สอ่ื สารความเข้าใจเกีย่ วกับแรงผลของแรงทม่ี ีตอ่ วตั ถุตา่ งๆทดลองเปรียบเทยี บสมบัตกิ ารดดู ซับบ้ำของวสั ดุ
ชนดิ ต่างๆในชีวติ ประจำวนั การเลอื กใช้วัสดุในชวี ิตประจำวนั อยา่ งมีเหตผุ ล และมีสว่ นร่วมใน การทำงานกบั
ผู้อนื่ และรับผดิ ชอบตามหน้าท่ีทีไ่ ด้รบั มอบหมายในการประยุกต์ใชค้ วามรู้
9. แกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ยหรือทำกิจกรรมในชวี ติ ประจำวนั อยา่ งมีขนั้ ตอน แสดงวธิ ีการหาคำตอบหรือวธิ ี
แกป้ ญั หา ระบุเหตผุ ลทนี่ ำไปสู่คำตอบ ได้อยา่ งถกู ตอ้ งจากกิจกรรมทที่ ำ
10. ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั หรือแหลง่ เรียนรู้ในการสบื ค้นขอ้ มลู สรุปความเขา้ ใจจากขอ้ มูล
11. สรา้ งของเล่น หรือของใชเ้ พือ่ แก้ปัญหาตามความสนใจโดยรว่ มกันทำงานเปน็ ทีม เลือกและใช้ สิ่งของ
เครอื่ งใช้ในชวี ิตประจำวันตามหนา้ ทใ่ี ช้สอยได้อยา่ งปลอดภยั โดย
80
8.2 ช่วงช้ันที่ 2 (ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6)
กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
สาระสำคญั ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ความสำคญั ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือสำหรับการสื่อสารที่สำคัญของคนไทย ทำให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน
ท้ังระดับบุคคลและระดับสังคม เป็นเคร่ืองมือสำหรับการคิด การรู้คิดด้วยภาษาไทยจะช่วยให้การเรียนรู้
และการแสวงหาความรู้ในศาสตร์อ่ืน ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ภาษาไทยเป็นสำนึกร่วม เป็นมรดก
ทางวัฒนธรรม และเป็นเอกลักษณ์ของชาติ ตลอดจนเป็นเครื่องมือสำหรับการสร้างสรรค์และการเข้าถึง
สนุ ทรียภาพ ดังน้ัน การใช้ภาษาไทยจงึ เป็นสมรรถนะทต่ี ้องศึกษาและฝึกฝนจนเกดิ ความชำนาญ
กลุ่มสาระการเรียนรู้นี้มีสมรรถนะเฉพาะ 4 สมรรถนะ ได้แก่ 1) การฟัง การดู และการพูด
เพื่อพัฒนาการคิด2) การอ่านเพื่อพัฒนาการคิด 3) การเขียนเพื่อพัฒนาการคิด และ 4) การเข้าใจธรรมชาติ
ของภาษาและการใชภ้ าษาไทย
สมรรถนะเฉพาะทั้ง 4 สมรรถนะดังกล่าว มคี วามสัมพันธ์เชอ่ื มโยงกับสมรรถนะหลักท้ัง 6 สมรรถนะ
และบูรณาการกนั เปน็ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ช่วงช้ัน 12 ข้อ ซึ่งเป็นเปา้ หมายของชว่ งชั้นนี้
ผลลัพธก์ ารเรยี นร้ชู ่วงชั้นที่ 2 ท้ัง 12 ข้อ นำไปกำหนดเป็นผลลัพธ์การเรียนรชู้ ั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6
โดยต้องคำนึงถึงการบูรณาการสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะด้วย เพื่อให้เม่ือผู้เรียนบรรลุผลลัพธ์
การเรยี นรูช้ ัน้ ปแี ล้ว จะนำไปสู่การบรรลุผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ชว่ งชนั้ ตามที่หลักสตู รกำหนดไว้
ลักษณะเฉพาะ/ ธรรมชาติของกล่มุ สาระการเรยี นรู้
การเรยี นรู้ภาษาไทยในช่วงชั้นที่ 2 เป็นการเรียนรู้การใช้ภาษาท่ีนักเรียนตอ้ งไดร้ บั การพัฒนาใหส้ ูงขึ้น
จากการเรยี นรู้ในชว่ งช้นั ที่ 1
นักเรียนจะได้รับการพัฒนาสมรรถนะการฟังจากการฟังและการดูสื่อต่าง ๆ เพื่อทำความเข้าใจ
วเิ คราะห์ และประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือจากการฟังหรือการดูอย่างมเี หตุผล ไปพรอ้ ม ๆ กับการพัฒนาสมรรถนะการพูด
ท้ังการพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น ประสบการณ์อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องเหมาะสมกับบุคคล โอกาส
และกาลเทศะ รวมทงั้ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู
นอกจากน้ี นักเรียนยังต้องได้รับการพัฒนาสมรรถนะการอ่าน เพ่ือให้สามารถอ่านบทอ่านประเภทต่าง ๆ
ได้อย่างคล่องแคล่ว สามารถเข้าใจเน้ือหาสาระ แยกแยะขอ้ เทจ็ จริงและข้อคิดเห็น จับใจความสำคัญของเร่ือง
รวมทั้งนำความรู้ความคิดจากเร่ืองไปใช้ในชีวิตจริง และยังต้องได้รับการพัฒนาสมรรถนะการเขี ยน
เพ่ือให้สามารถเขียนส่ือสารได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้คำและประโยคได้อย่างถูกหลักการใช้ภาษา
ในการส่อื ความหมาย เพือ่ สื่อสารและเรียนรอู้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ และมีมารยาทในการอา่ นและการเขียน
จดุ เนน้ การพฒั นา
การสอนภาษาไทยในช่วงชั้นที่ 2 เป็นการพัฒนาสมรรถนะการใช้ภาษาของนักเรียน ผ่านการเรียนรู้
หลักภาษาไทยและโครงสร้างภาษาไทยจากส่ือต่าง ๆ เพ่ือให้นักเรียนเกิดสมรรถนะการใช้ภาษาเพื่ อส่ือสาร
ในบริบทตา่ ง ๆ และเกดิ สมรรถนะการใช้ภาษาในฐานะเครอ่ื งมือการเรยี นรู้
การจัดการเรียนรูใ้ นช่วงชั้นที่ 2 ยังคงให้ความสำคัญกับเป็นการเรียนรู้อยา่ งมีความหมายเช่นเดียวกับ
การจัดการเรียนรู้ในช่วงชั้นท่ี 1 โดยในช่วงชั้นนี้ นักเรียนจะมีการปรับตัวและพร้อมท่ีจะเรียนรู้ได้มากข้ึน
81
ครจู ึงควรจดั การเรียนรทู้ ี่สอดคล้องและส่งเสรมิ ความสามารถในการรบั รู้และการเรียนรูต้ ามศักยภาพของนักเรยี น
ท้ังการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และการส่งเสริมความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ตลอดจนความซาบซ้ึงในคุณค่า
และความงามของภาษาไทย โดยออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายและสอดคล้อง
กับพัฒนาการของนกั เรยี นแต่ละคน
การนำไปใชใ้ นชีวิตจรงิ
การเข้าใจธรรมชาติของภาษาและการใช้ภาษาไทยในช่วงชั้นนี้ มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อให้นักเรียน
ได้ฝึกการฟัง การดู การพูด การอ่าน และการเขียน ผ่านการเรียนรู้หลักการใช้ภาษาและโครงสรา้ งภาษาไทย
จากส่ือต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนเกิดสมรรถนะการใช้ภาษาทีส่ ูงขึ้นเพอื่ ส่อื สารในบรบิ ทต่าง ๆ และเกิดสมรรถนะ
การใช้ภาษาในฐานะเครื่องมือการเรียนรู้ การสอนอ่านเขียนจึงนอกจากเพ่ือให้นักเรียนสามารถอ่านเขียน
ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจนแล้ว ยังเพิ่มความคล่องแคล่วในการอ่านและการเขียนมากย่ิงขึ้น จากน้ันจะเป็นการพัฒนา
การเรียนรู้เก่ียวกับการเข้าใจความหมายของเร่ือง การจับใจความสำคัญ การคิดวิเคราะห์ และการนำไปใช้
ในชีวิตจริง อย่างเหมาะสมกับบรบิ ทและสถานการณ์
การใช้ภาษาไทยเพ่ือให้สามารถสื่อสารได้ทั้งการเรียนในชั้นเรียนและทุกเวลาที่ต้องมีการปฏิสัมพันธ์
สอ่ื สารกับผู้อื่น นักเรียนจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาหรือฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การส่ือสารเป็นไปอย่างมี
ประสิทธภิ าพ
การบูรณาการกบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
การเรียนรู้ภาษาไทยในช่วงชั้นท่ี 2 น้ี นักเรียนจะได้เรียนรู้ผ่านการรับสารต่าง ๆ ทั้งจากการฟัง ดู
และการอ่าน เพ่ือให้สามารถส่งสาร คือ การเขียนและการพูดได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
ดว้ ยเหตนุ ้ี การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนนอกจากจำเป็นต้องเชื่อมโยงบนฐานของสถานการณ์
และบรบิ ทต่าง ๆ แล้ว ยงั ต้องมกี ารบรู ณาการรว่ มกบั วิชาอื่น ๆ เชน่
คณิตศาสตร์ อ่านและเขียนแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ ฟัง ดู และอ่านโจทย์คณิตศาสตร์
ตีความ แก้ปัญหา พูดนำเสนอ แสดงวิธีคิด เขียนคำท่ีสื่อความหมายถึงการบวก การลบ การคูณ การหาร ใช้ภาษา
และสญั ลกั ษณท์ างคณิตศาสตรใ์ นการส่อื สาร การส่ือความหมาย และการนำเสนอได้อย่างอยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
ภาษาองั กฤษ เรียนรู้ ฟัง ดู และพูดคำศัพท์ เรอื่ งราวต่าง ๆ ทัง้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
ศิลปะ วาดภาพประกอบเรื่องราวท่ีได้ฟังหรือดู พูดหรือเขียนส่ือสารความคิด ความรู้สึก หรือ
เร่อื งราวจากผลงานทางทศั นศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์
สุขศึกษาและพลศึกษา อธิบายหรือนำเสนอความสำคัญหรือการปฏิบัติตนจากส่ิงท่ีได้เรียนรู้
จากสอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ วิธีการดแู ลสขุ ภาพ เพศศึกษา การออกกำลังกายและกีฬา
สังคมศึกษา ใช้แผนที่ ภาพถ่าย อธิบายลักษณะสำคัญของชุมชน และประเทศ การจัดทำแผน
การใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดความคุ้มค่าและเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม เรียนรู้และวิเคราะห์เรื่องราว
จากบทอ่านท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวกับวันสำคัญประเพณีและวัฒนธรรม ชุมชน ท้องถ่ิน สภาพแวดล้อม ศาสนา
พิธีกรรม ประวัติของท้องถ่ิน นิทานในท้องถ่ิน เพลงพื้นบ้าน อ่านข้อมูลจากแผ่นพับสำหรับโฆษณาหรือ
ปา้ ยโฆษณาสินคา้ หรือแพลตฟอร์มดิจทิ ลั เชน่ สภาพอากาศ แผนที่การเดินทาง
วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ สื่อสารความรู้ความคิดท่ีเกิดขึ้นจากกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตร์ การนำเสนอผลงานจากการสำรวจหรือศึกษาส่ิงตา่ ง ๆ ท้ังการพูดหรือการเขยี นอธิบายใหผ้ อู้ ่ืน
เข้าใจโดยมกี ารอา้ งองิ ที่ถูกตอ้ ง
82
ความสมั พนั ธ์ระหว่างสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะ
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลกั
1. การฟงั การดู และการพูดเพอ่ื พัฒนาการคดิ
1.1 ฟังและ/ หรือดูส่ือตา่ ง ๆ ที่เก่ียวกบั สถานการณ์ในชวี ิตประจำวนั ชมุ ชน ๑. การจดั การตนเอง
และสงั คม แลว้ พดู สรปุ ตัง้ คำถาม วิเคราะห์ รวมทง้ั แสดงความรู้ 2. การคิดขนั้ สูง
ความรูส้ ึก และความคดิ เหน็ อย่างมเี หตผุ ล 3. การส่ือสาร
1.2 ฟงั และ/ หรอื ดูสื่อต่าง ๆ อย่างต้งั ใจแลว้ พูดเล่าเรื่อง พูดนำเสนอ 4. การรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม
รายละเอียด สาระสำคญั และข้อคดิ รวมทงั้ แสดงความคิดเห็นและ 5. การเปน็ พลเมืองทีเ่ ข้มแข็ง
ความรสู้ กึ อยา่ งสรา้ งสรรค์
1.3 ฟงั และ/ หรอื ดูส่ือต่าง ๆ วิเคราะหค์ วามนา่ เชื่อถือ พูดแสดง
ความคิดเห็นอย่างมเี หตุผล เพื่อให้สามารถเลือกฟังและดูส่อื
ดว้ ยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1.4 พูดโนม้ น้าว พูดปฏิเสธ และพูดโตต้ อบอยา่ งถกู ต้อง สภุ าพ
ถูกกาลเทศะ และมัน่ ใจ ทง้ั ในโลกจริงหรือโลกเสมือนจริง
ด้วยความเขา้ ใจ และเคารพในความแตกต่างเพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์
แกต่ นเองและผ้อู น่ื
1.5 พูดแสดงความคิดเหน็ และความรู้สึกเก่ียวกบั การพดู ของตนและผู้อื่น
ได้อย่างเป็นกลาง ใหเ้ กยี รติ และเคารพในความแตกตา่ ง
2. การอ่านเพอ่ื พัฒนาการคิด
2.1 อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง เพ่ือถา่ ยทอดความหมาย ๑. การจดั การตนเอง
2. การคดิ ข้นั สูง
และ/ หรืออารมณค์ วามรสู้ กึ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และไพเราะ
3. การสื่อสาร
2.2 อา่ นสญั ลกั ษณ์ แผนผัง แผนที่ แผนภมู ิ ตาราง กราฟ 5. การเป็นพลเมอื งที่เข้มแขง็
และอินโฟกราฟกิ จากส่อื ตา่ ง ๆ วิเคราะหค์ วามหมายของข้อมูล ๖. การอยรู่ ว่ มกับธรรมชาติ
แล้วนำไปปรบั ใชใ้ ห้เป็นประโยชนต์ อ่ ตนเองและผู้อ่ืน
และวทิ ยาการอยา่ งย่งั ยนื
2.3 อา่ นเรื่องจากสอื่ ตา่ ง ๆ แล้วต้งั คำถาม ตอบคำถาม จับใจความสำคญั
สรปุ ความรู้และข้อคิด วิเคราะห์ข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเห็น ตีความ
ความหมายโดยตรงและโดยนยั ประเมินค่า รวมทั้งนำไปประยกุ ตใ์ ช้
ในชวี ิตจริง
2.4 อา่ นวรรณคดีและวรรณกรรม แล้ววิเคราะห์ ตีความ ประเมินคา่
และแสดงความคดิ เหน็ เพ่ือนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริง
2.5 อา่ นบทอ่านตามความสนใจจากส่ือต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ และนำเสนอ
เร่อื งท่อี า่ นได้อย่างสรา้ งสรรค์
83
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก
3. การเขียนเพอ่ื พฒั นาการคดิ
3.1 เขยี นส่อื สารในสถานการณต์ ่าง ๆ โดยใชค้ ำได้ถกู ตอ้ ง ชัดเจน ๑. การจดั การตนเอง
และเหมาะสม ดว้ ยลายมือที่สวยงามและเป็นระเบียบ 2. การคดิ ขัน้ สูง
3.2 เขยี นจดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ ยอ่ ความ เขียนบนั ทึก 3. การสื่อสาร
และเขยี นสรุปความจากการศกึ ษาคน้ ควา้ ไดถ้ ูกต้องตามรปู แบบ 5. การเปน็ พลเมืองทเ่ี ขม้ แขง็
โดยไม่ละเมดิ สิทธิ์ของผอู้ ่ืน ๖. การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
3.3 เขียนแสดงความรสู้ กึ และความคิดเหน็ ดว้ ยตวั อักษรหรอื สัญลักษณ์ และวิทยาการอย่างยง่ั ยืน
ผ่านสอ่ื ตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสมกบั บุคคล โอกาส และกาลเทศะ
โดยไมล่ ะเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น
3.4 เขยี นโครงเรอื่ งและแผนภาพความคิด แลว้ นำไปใช้ในการเขยี นเร่ืองตาม
จินตนาการ และเขยี นเรียงความอย่างถูกต้องเหมาะสม
3.5 เขยี นแสดงความคิดเห็นและความรู้สกึ เกี่ยวกับงานเขียนของตนเอง
และผอู้ ืน่ อยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละเป็นกลาง
4. การเข้าใจธรรมชาติของภาษาและการใช้ภาษาไทย
4.1 ใช้ภาษาพูดและภาษาเขียนในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งโลกจรงิ และ 2. การคดิ ขน้ั สูง
โลกเสมือนจรงิ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และกาลเทศะ 3. การสอ่ื สาร
4.2 ใชภ้ าษาไทยมาตรฐานได้ถกู ต้อง เหมาะสมกบั บุคคล โอกาสและ 5. การเปน็ พลเมืองที่เขม้ แข็ง
กาลเทศะ เรียนรู้ภาษาถน่ิ เพอ่ื ใหเ้ กิดความเข้าใจในความหลากหลาย
ตลอดจนเห็นคุณค่าของภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่
4.3 เขา้ ใจความหมายและการใช้คำ สำนวน คำราชาศัพท์ คำยมื ท่มี าจาก
ภาษาตา่ งประเทศทีถ่ กู ต้อง เพ่ือนำไปใช้ในการรบั รู้ขอ้ มูลอยา่ งเขา้ ใจ
และใช้ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสมกับบุคคล โอกาส และกาลเทศะ
4.4 ใช้ประโยคถกู ต้องตามหลกั ภาษา เพอื่ นำไปใช้ในการสือ่ สารได้ถูกต้อง
เหมาะสม
4.5 แตง่ บทร้อยกรองได้ถกู ต้องและมวี รรณศลิ ป์ เพื่อนำไปประกอบการพูด
การนำเสนอ หรือการเขียนใหม้ คี วามนา่ สนใจ
ผลลพั ธ์การเรียนรเู้ มอ่ื จบช่วงชน้ั ท่ี 2
1. ฟงั และ/ หรอื ดสู ่ือต่าง ๆ แล้วสามารถวิเคราะห์ความน่าเชอ่ื ถอื พูดสอ่ื สารในรปู แบบต่าง ๆ พดู แสดงการคดิ
วิเคราะห์ ความรู้ ความรู้สึก และความคดิ เห็นอยา่ งมีเหตผุ ลและสรา้ งสรรค์ รวมทัง้ สามารถเลือกฟงั และดู
ส่อื ท่เี หมาะสมแก่ตนเอง
2. พูดโน้มนา้ ว พดู ปฏิเสธ และพูดโต้ตอบดว้ ยความม่นั ใจอย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม รวมท้ังพูดแสดงความคดิ เหน็
และความรู้สกึ เกยี่ วกับการพดู ของตนและผ้อู น่ื อย่างเปน็ กลางและสรา้ งสรรค์
84
3. อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสม และไพเราะ
4. อา่ นวเิ คราะห์ความหมายของขอ้ มลู จากสอ่ื ต่าง ๆ ได้ถกู ตอ้ ง และนำไปปรบั ใช้ให้เกิดประโยชน์
5. อา่ นเรอ่ื งจากสอื่ ต่าง ๆ รวมทง้ั วรรณคดแี ละวรรณกรรม แล้วสามารถตัง้ คำถาม ตอบคำถาม จบั ใจความ
สรุปความ วิเคราะห์ ตีความ ประเมนิ คา่ แสดงความคิดเหน็ และนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจรงิ ตลอดจนมี
นิสัยรักการอ่าน
6. เขียนสื่อสารในสถานการณต์ ่าง ๆ ด้วยลายมือท่ีเป็นไปตามมาตรฐานโครงสรา้ งตัวอักษรไทย โดยใช้คำได้ถกู ต้อง
และเหมาะสม
7. เขยี นสื่อสารในรูปแบบตา่ ง ๆ ไดถ้ กู ต้องตามมาตรฐาน รวมทั้งเขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น
ด้วยตวั อกั ษรหรอื สญั ลักษณ์ผา่ นส่อื ต่าง ๆ ไดเ้ หมาะสมกับบุคคล โอกาส และกาลเทศะ ตลอดจนเขียน
ประเมนิ งานเขยี นของทง้ั ตนเองและผอู้ ื่นอยา่ งเปน็ กลางและสร้างสรรค์
8. เขียนโครงเรื่องและแผนภาพความคิด แลว้ นำไปเขียนเร่อื งตามจินตนาการและเรยี งความได้ถูกต้องและเหมาะสม
9. ใชภ้ าษาพดู และภาษาเขยี นในสถานการณต์ ่าง ๆ รวมท้งั ภาษาไทยมาตรฐานได้ถูกตอ้ ง เหมาะสมกับบคุ คล
โอกาส และกาลเทศะ ตลอดจนเข้าใจความหลากหลายของผ้อู ่นื โดยเรียนรู้ผา่ นภาษาถ่ิน
10. ใชค้ ำ คำยมื คำราชาศัพท์ และสำนวนไดถ้ ูกต้อง เหมาะสมกบั บุคคล โอกาส และกาลเทศะ รวมท้ังใช้
ประโยคส่อื สารไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักภาษา
11. แต่งบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้องและมีวรรณศิลป์ ตลอดจนนำไปใช้ประกอบการพูด การนำเสนอ หรือการเขียน
ใหน้ า่ สนใจย่งิ ขนึ้
12. มเี จตคตทิ ี่ดีตอ่ การใช้ภาษาไทยอย่างถูกตอ้ ง
ผลลัพธก์ ารเรียนรู้รายชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
1. ฟงั และดูเรื่องสน้ั เรื่องเล่า หรอื ประสบการณเ์ ก่ียวขอ้ งกบั สถานการณ์ใกลต้ วั แล้วพดู เพอ่ื แสดงถึงความรู้
เก่ียวกบั เรือ่ งเหล่านัน้ อย่างมีมารยาท เหมาะสมด้วยความม่ันใจ
2. จำแนกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ จากเรื่องท่ีฟงั และดูสือ่ ต่างๆ ในชวี ติ ประจำวัน สามารถจับใจความจำแนก
ข้อเท็จจรงิ และขอ้ คดิ เหน็ และพูดแสดงความรู้ความคิดเปน็ กลางและสร้างสรรคใ์ นเรือ่ งทฟ่ี งั และดู ด้วยความ
ม่ันใจและถกู ตอ้ งเหมาะสมกบั บคุ คล และกาลเทศะ
3. อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองและอธบิ ายบอกความหมายของคำ ประโยคและสำนวน ทัง้ นี้
สามารถอา่ นเร่อื งสนั้ ๆตามเวลาที่กำหนด แยกขอ้ เท็จจรงิ และขอ้ คิดเห็น คาดคะแนนเร่อื งทอ่ี ่านโดยระบุ
เหตุผลประกอบ สรปุ ความรู้และขอ้ คิดจากเร่ืองที่อ่านเพื่อนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันและร้วู ิธีการเข้าถึงส่อื ท่ี
หลากหลาย
4. อา่ นเรอ่ื งสั้นๆสรุปความเข้าใจของตนและตอบคำถามจากเรือ่ งทอ่ี า่ นวเิ คราะหต์ คี วามเพื่อประเมินความ
เหมาะสมของขอ้ มูล สามารถแยกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คิดเห็นอย่างมีเหตุผลเกย่ี วกบั เรอ่ื งท่อี า่ น โดยระบหุ ลกั ฐาน
สนับสนุนความคิดได้อยา่ งน้อยหน่งึ แหลง่ ขอ้ มูลคาดคะเนเหตุการณ์จากเร่อื งทอ่ี ่านโดยระบเุ หตุผลประกอบ
สรุปความร้แู ละข้อคดิ จากเรือ่ งที่อา่ นเพือ่ นำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน
85
5. อา่ นเรือ่ งสัน้ ตามเวลาทก่ี ำหนดและตอบคำถามจากเร่อื งทีอ่ ่านสามารถคาดคะเนเร่ืองท่ีอ่านโดยระบเุ หตผุ ล
ประกอบ สรปุ ความรูแ้ ละข้อคดิ จากเรอ่ื งที่อา่ นเพ่อื นำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน อา่ นหนงั สอื ท่มี คี ุณค่าตามความ
สนใจอยา่ งสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอา่ น มนี ิสยั รักการอ่าน
6. คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่งึ บรรทัดตามรปู แบบการเขยี นตัวอกั ษรไทยได้อย่างถกู ตอ้ งและ
เหมาะสม และสามารถเขียนส่อื สาร เชน่ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบดิ ามารดา เขียนบนั ทึกและเขยี นรายงาน
จากการศกึ ษาค้นควา้ เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ เขียนถกู ต้องตามรูปแบบการเขยี น
7. เขยี นสื่อสารบอกเลา่ จินตนาการหรือความคดิ ของตนเองทแี่ ปลกใหม่ไปจากสง่ิ รอบตัวของตนเองและบริบท
โดยการใช้คำไดถ้ ูกต้องและเหมาะสม เขียนยอ่ ความจากเรอ่ื งสัน้ เขียนจดหมายถงึ เพอ่ื นและบิดามารดา เขียน
บนั ทึกและเขียนรายงานจากการศกึ ษาคน้ ควา้ เขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ โดยมีการพฒั นาผลงานที่เปน็
ชนิ้ งานทุกประเภทให้ถกู ตอ้ งตามรูปแบบการเขยี นและมีมารยาทในการเขยี นและสามารถนำไปใช้จรงิ ใน
ชีวติ ประจำวนั
8.เขยี นแผนภาพ โครงเร่อื ง และแผนภาพความคิดไปพฒั นางานเขียน เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบดิ ามารดา
เขียนเร่อื งตามจินตนาการ งานเขียนทกุ ประเภทจำเป็นจะต้อง เขยี นให้ถูกต้อง เหมาะสม มมี ารยาทในการ
เขียนแสดงความคิด ในเรื่องต่าง ๆ และสามารถนำไปใชจริงในชีวิตประจำวนั
9.ใชพ้ จนานกุ รมคน้ หาความหมายของคำและบอกความหมายของสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสภุ าษติ นำไป
เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถนิ่ ไดถ้ กู ต้อง และเหมาะสม
10.สะกดคำและบอกความหมายของคำในบรบิ ทตา่ งๆ นำคำมาแตง่ ประโยคและสามารถระบชุ นดิ และหน้าท่ี
ของคำในประโยคได้ นอกจากนยี้ ังใชพ้ จนานกุ รมค้นหาความหมายของคำ และสำนวนท่เี ป็นคำพังเพยและ
สภุ าษิต นำความรทู้ ี่ไดม้ าเปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถน่ิ มเี จตคตทิ ี่ดตี อ่ การใช้ภาษาอย่างถูกต้อง
และเหมาะสมกบั บุคคล และกาลเทศะ
11.สะกดคำและบอกความหมายของคำในบรบิ ทต่างๆได้ถูกต้องและสามารถนำคำมาแตง่ บทรอ้ ยกรองและคำ
ขวัญได้ดว้ ยความคิดสร้างสรรค์ มีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ การใชภ้ าษาอย่างถูกตอ้ ง
12. ระบขุ ้อคดิ จากนิทานพ้ืนบ้านหรือนทิ านคตธิ รรมและสามารถอธบิ ายข้อคดิ จากการอา่ นเพื่อนำไปใช้ในชีวติ
จรงิ นอกจากนี้สามารถขับร้องเพลงพื้นบ้าน ท่องจำบทอาขยานตามท่กี ำหนด และบทร้อยกรองท่มี คี ุณค่าตาม
ความสนใจและมเี จตคติท่ีดีตอ่ การใชภ้ าษาไทยอย่างถกู ต้อง
ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้รายช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5
1. ฟงั และดบู ทโฆษณา ข่าว และเหตุการณ์ประจำวนั วิเคราะห์ความน่าเชอ่ื ถอื แล้วการพูดเพ่อื แสดงความรสู้ ึก
ความคดิ เห็นอยา่ งมีเหตุผลและสร้างสรรค์อย่างมมี ารยาท เหมาะสมดว้ ยความมั่นใจ
2. จับใจความ และพดู แสดงความรู้ความคิดในเรอ่ื งท่ฟี ังและดู จากส่ือต่างๆ เช่น เรอื่ งเลา่ บทความ ขา่ วและ
เหตกุ ารณป์ ระจำวนั โฆษณา สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์และสามารถวเิ คราะหค์ วามน่าเชื่อถือของสอ่ื ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง มี
ความมนั่ ใจในการพดู พูดไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์และเป็นกลาง คำนงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
86
3.อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ ถูกตอ้ ง และไพเราะ สามารถถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก อกี
ทง้ั อธิบายความหมายของคำ ประโยคและขอ้ ความท่ีเป็นการบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมาย
โดยนยั จากเรือ่ งทอ่ี า่ นอยา่ งหลากหลายให้ผูฟ้ งั เข้าใจชัดเจนอ่านหนังสอื ทมี่ คี ุณค่าตามความสนใจอย่าง
สมำ่ เสมอและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเรอ่ื งทอี่ ่าน มีมารยาทในการอ่านสอ่ื สารแบบงา่ ย ๆ
4.อ่านจับใจความจากสื่อตา่ ง ๆ ท่ีหลากหลาย อ่านงานเขียนเชงิ อธบิ าย คำส่ัง ข้อแนะนำและขอ้ ปฏิบัติ อย่าง
มมี ารยาทในการอ่าน วเิ คราะหต์ ีความเพือ่ ประเมนิ ความเหมาะสมของข้อมลู แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คดิ เห็น
วิเคราะห์แสดงความคดิ เหน็ อย่างมีเหตุผลเกย่ี วกับเร่อื งท่ีอา่ น เพอื่ นำไปใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ
5.อา่ นจบั ใจความจากสื่อต่าง ๆวเิ คราะห์ และแยกแยะขอ้ เท็จจรงิ และขอ้ คิดเห็น ท้ังน้ผี ูเ้ รียนตอ้ งอา่ นงานเขยี น
เชงิ อธิบาย คำส่งั ข้อแนะนำและข้อปฏิบัติตามให้ถูกต้อง และนำไปใชใ้ ห้เหมาะสมและผู้เรียนมมี ารยาทในการ
อา่ นและมนี สิ ัยรกั การอา่ น
6.คัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครง่ึ บรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตวั อักษรไทยไดถ้ กู ต้องและเหมาะสม มี
มารยาทในการเขียน และสามารถเขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ เขียนสอ่ื สาร เชน่ คำอวยพร คำแนะนำและ
คำอธิบายแสดงขนั้ ตอนเขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติเขียนแสดงความรู้สึกและความคดิ เห็น รวมไปถึง
กรอกแบบรายการตา่ ง ๆได้
7.เขยี นสอื่ สารโดยการใชค้ ำไดถ้ กู ตอ้ ง ชัดเจนและเหมาะสม มีการเขยี นเรียงตามขนั้ ตอนเชน่ การย่อความจาก
ส่ือตา่ ง ๆ เชน่ นทิ าน ความเรยี งประเภทต่าง ๆ ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำ
ปราศรัย การเขียนจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติการกรอกแบบรายการตา่ ง ๆการเขียนเรื่องตามจินตนาการ
โดยมีการพัฒนาผลงานที่เปน็ ชนิ้ งานทกุ ประเภทให้ถูกต้องตามรูปแบบการเขียนและมมี ารยาทในการเขียนและ
สามารถนำไปใช้จรงิ ในชวี ิตประจำวันโดยตอบสนองความตอ้ งการจำเปน็ หรอื สภาพปญั หาในบริบท
8.เขียนแผนภาพ โครงเรอ่ื ง และแผนภาพความคิดไปพัฒนางานเขยี นการเขยี นจดหมายถึงผ้ปู กครองและญาติ
เขียนแสดงความรูส้ กึ และความคิดเหน็ เขยี นเรือ่ งตามจนิ ตนาการ กม็ รี ูปแบบในการเขียนเช่นเดียวกัน
เพราะฉะนั้นงานเขียนทุกประเภทจำเปน็ จะตอ้ งเขียนให้ถูกต้องเหมาะสม แสดงความคิดในเรือ่ งตาง ๆ
บอกเลาความคดิ จนิ ตนาการหรอื ความคิดของตนเองทแี่ ปลกใหมไปจากสิ่งรอบตวั ของตนเองและบรบิ ทและ
ตอยอดความคิดของตนเองใหแตกตางไปจากเดมิ
9. เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถ่นิ และนำไปใช้คำไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
และสามารถรวบรวมและบอกความหมายของคำภาษาต่างประเทศท่ใี ช้ในภาษาไทย
10.วิเคราะหช์ นิดและหน้าทข่ี องคำ ในประโยค บอกความหมายคำทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ เปรียบเทยี บ
ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถนิ่ การใช้คำราชาศัพท์ การใช้สำนวนสภุ าษิต การใช้คำให้ถูกต้องเหมาะสมกบั
กาลเทศะ
11.เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น และนำคำมาแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพยย์ านี ๑๑ ใหม้ ี
ความไพเราะ ถกู ตอ้ ง และมีความน่าสนใจ มีการใช้ความคิดท่ีสรา้ งสรรคใ์ นบทประพันธ์ ผเู้ รยี นมเี จตคตทิ ี่ดีตอ่
การใช้ภาษาอย่างถูกตอ้ ง
12.สรปุ เรอ่ื งจากวรรณคดหี รือวรรณกรรมท่ีอ่านและระบุความรูข้ ้อคิดอธิบายคณุ ค่าของวรรณคดแี ละ
87
วรรณกรรมจากการอา่ นนำไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ อยางมสี ติ สามารถท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อย
กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจมีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องเหมาะสม
ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้รายช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
1. ฟงั และดูสารคดีและบันเทิงคดีวเิ คราะหค์ วามน่าเชอื่ ถือ แลว้ การพูดเพ่อื แสดงความรู้สึกความคดิ เหน็ อยา่ งมี
เหตุผลและสรา้ งสรรค์อย่างมมี ารยาท เหมาะสมด้วยความมั่นใจ
2.วเิ คราะห์ความนา่ เช่ือถอื จากการฟงั และดูส่อื โฆษณาพดู โนม้ น้าวในสถานการณ์ต่างๆ เช่น การเลือกตง้ั
กรรมการนักเรยี นการรณรงคด์ ้านต่างๆการโต้วาทีวิเคราะหค์ วามนา่ เช่ือถอื และพูดโน้มน้าวให้ผอู้ ื่นคลอ้ ยตาม มี
ความม่ันใจในการพูดและพดู ไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม เปน็ ผ้ฟู งั ที่ดี รับฟงั ความคิดเห็นของผอู้ ื่นมีใจเป็นกลางและ
สรา้ งสรรค์
3.อา่ นออกเสียงและบอกความหมายของบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเปน็ ทำนองเสนาะได้ ถูกต้องเหมาะสม
ไพเราะ และสามารถถา่ ยทอด อารมณ์ ความรู้สกึ จากการอ่านหนังสอื ตามความสนใจ เลือกใชหนังสืออยาง
ระมัดระวงั เพ่ือไมใหเกิดผลกระทบ ตอตนเอง อย่างมมี ารยาทในการอ่าน
4.อา่ นเรอ่ื งส้ันๆอย่างหลากหลายโดยจับเวลา อ่านงานเขยี นเชิงอธบิ าย คำสั่ง ข้อแนะนำและขอ้ ปฏิบัติ
อ่านข้อมลู จากแผนผัง แผนท่ี แผนภูมแิ ละกราฟอยา่ งมีมารยาทในการอ่านและนำไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อ
ตนเองและผ้อู น่ื
5.อ่านเรือ่ งสั้น ๆอย่างหลากหลายโดยจับเวลาแล้วถามเกีย่ วกบั เรอ่ื งทอี่ า่ นสามารถแยกข้อเทจ็ จรงิ และ
ข้อคิดเหน็ ได้ และสามารถอธบิ ายความรแู้ ละความคดิ จากเรอ่ื งทอี่ า่ นนำไปตดั สนิ ใจแก้ปญั หาในการดำเนนิ ชวี ติ
นอกจากนตี้ อ้ งเรียนรู้การอา่ นงานเขยี นเชงิ อธิบาย คำสั่ง ขอ้ แนะนำและข้อปฏิบตั ติ าม อธิบายความหมายของ
ขอ้ มลู จากแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิและกราฟอา่ นหนังสอื ตามความสนใจและอธิบายคุณค่าทไ่ี ด้รบั อย่างมเี หตุผล
มมี ารยาทในการอา่ นและมนี ิสยั รักการอา่ น
6.คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย นำไปสูก่ ารเขียน เขยี น
เรียงความ การเขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการและสรา้ งสรรค์เขียนจดหมายส่วนตวั จดหมายขอโทษ จดหมายแสดง
ความขอบคุณ จดหมายแสดงความเห็นใจจดหมายแสดงความยินดี และการกรอกแบบรายการต่างๆต้องเขยี น
ใหถ้ กู ตอ้ งตามรปู แบบการเขยี น มมี ารยาทในการเขยี น
7. เขยี นส่ือสารโดยการใช้คำไดถ้ กู ต้องตามรูปแบบ ชัดเจนและเหมาะสม เชน่ เขียนเรียงความ ย่อความจากสื่อ
ต่าง ๆ เขียนจดหมายสว่ นตวั เขียนกรอกแบบรายการเขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มมี ารยาทใน
การเขยี นสามารถแสดงความคิดในเร่ืองต่าง ๆ บอกเลา่ ความคิดจินตนาการหรือความคดิ ของตนเองทแี่ ปลกใหม่
ไปจากสงิ่ รอบตวั ของตนเองและบริบท และต่อยอดความคิดของตนเองใหแ้ ตกตา่ งไปจากเดิมพฒั นาผลงานที่
เปน็ ชิ้นงาน
8.เขียนแผนภาพ โครงเรือ่ ง และแผนภาพความคิดไปพัฒนางานเขยี น การเขียนเรียงความ
88
เขียนจดหมายสว่ นตัว จดหมายขอโทษจดหมายแสดงความขอบคณุ จดหมายแสดงความเหน็ ใจ จดหมายแสดง
ความยนิ ดี เขียนเรือ่ งตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์ เขียนใหถ้ กู ตอ้ งและเหมาะสมตามรูปแบบมีมารยาทในการ
เขยี นสามารถแสดงความคดิ ในเรือ่ งตา่ ง ๆ บอกเล่าความคิดจินตนาการหรอื ความคดิ ของตนเองที่แปลกใหม่ไป
จากสงิ่ รอบตวั ของตนเองและบรบิ ท และตอ่ ยอดความคิดของตนเองใหแ้ ตกต่างไปจากเดมิ และพฒั นาผลงานที่
เป็นช้นิ งานหรอื วธิ กี ารทม่ี ีการคดิ แจกแจงรายละเอียดโดยการผสมผสานจากหลายความคิดและดัดแปลงจาก
ความคดิ เดมิ สง่ิ ทีม่ ีอยู่ หรือนำสงิ่ อืน่ มาทดแทนสิง่ ทข่ี าด ได้อย่างหลากหลายและรวดเรว็ ในเวลาทกี่ ำหนด และ
สามารถนำไปใช้จริงในชีวิตประจำวนั โดยตอบสนองความตอ้ งการจำเป็นหรอื สภาพปัญหาในบรบิ ท
9.ใชค้ ำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลรวบรวมและบอกความหมายของคำภาษาตา่ งประเทศท่ีใชใ้ น
ภาษาไทย สามารถวเิ คราะหแ์ ละเปรียบเทียบสำนวนท่ีเป็นคำพังเพย และสุภาษิตไดถ้ ูกต้อง เหมาะสม
10.รวบรวมคำและบอกความหมายของคำจากภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย ระบลุ กั ษณะของประโยค
วิเคราะหช์ นดิ และหนา้ ที่ของคำ ในประโยค และนำคำไปใชใ้ ห้เหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคลเคารพในความ
แตกตา่ ง และมเี จตคติทีด่ ีตอ่ การใช้ภาษาอย่างถกู ต้องและ เหมาะสม
11.มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถแต่งบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสุภาพ ไดน้ า่ สนใจ และถกู ต้องตามฉันท
ลักษณ์ เขา้ ใจและเห็นคุณคา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม และสามารถทอ่ งจำบทอ่านขยานตามท่กี ำหนดได้ มีเจต
คติท่ีดีต่อการใช้ภาษาอย่างถกู ตอ้ งแสดงความคดิ ในเรื่องต่าง ๆ ได้อยา่ งหลากหลายและรวดเรว็ ในเวลาที่
กำหนด และสามารถนำไปประยุกต์ใชจ้ ริงในชีวติ ประจำวนั ได้
12.เลา่ นิทานพนื้ บ้านท้องถ่ินตนเองและนทิ านพ้ืนบ้านของทอ้ งถนิ่ อื่นอธิบายคุณคา่ ของวรรณคดี และวรรณกรรม
ท่อี า่ นและนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จริงและแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมทอ่ี ่านได้สามารถทอ่ งจำ
บทอาขยานตามทก่ี ำหนด และบทร้อยกรองท่มี ีคุณค่าตามความสนใจ มีเจตคตทิ ี่ดตี ่อการใช้ภาษาไทยอย่างถกู ต้อง
เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และกาลเทศะ
89
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
สาระสำคญั ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ความสำคัญของกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาความคิดของนักเรียนในช่วงช้ันท่ี ๒ ช่วยให้นักเรียน
คดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และตดั สินใจแก้ปัญหาได้อยา่ งเหมาะสม มีวจิ ารณญาณบนหลกั เหตุผลอยา่ งรอบด้าน
รู้เท่ากันการเปล่ียนแปลงทางสังคม ส่ิงแวดล้อม และเทคโนโลยี การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ทางคณิตศาสตร์ให้กบั นกั เรยี นจะสง่ ผลให้นักเรยี นมีความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมเี หตุผล
เปน็ ระบบ มแี บบแผน ส่อื สาร นำเสนอ เลือกใช้เครื่องมือหรอื เทคโนโลยตี ่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้
คณติ ศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตรอ์ ่นื ๆ เพ่อื ให้มีความเขา้ ใจ
เก่ียวกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ รอบตัว สามารถแก้ปัญหาในชีวิตจริง อยู่ร่วมกับธรรมชาติและผู้อ่ืนในสังคม
ได้อย่างมีความสขุ
ลกั ษณะเฉพาะ/ ธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์เป็นศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับการคำนวณ การคิด การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริง สำหรับนักเรียนช่วงช้ันท่ี 2 จะได้เรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างเป็นระบบเกี่ยวกับจำนวน
การดำเนินการของจำนวน การวัด รูปเรขาคณิต แบบรูปและความสัมพันธ์ และสถิติ ใช้การให้เหตุผล
ที่สมเหตสุ มผลเพอ่ื สรา้ งขอ้ คาดการณ์และข้อสรุปที่นำไปสูท่ ฤษฎี กฎ สตู ร และนำไปใช้
คณิตศาสตร์มีความถูกต้องเท่ียงตรง คงเส้นคงวา มีระเบียบแบบแผน เป็นเหตุเป็นผล เพ่ือให้ได้
ข้อสรุปและนำไปใช้ประโยชน์ คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็นภาษาสากลท่ีทุกคนเข้าใจตรงกันในการสื่อสาร
สือ่ ความหมายและถา่ ยทอดความรรู้ ะหว่างศาสตร์ต่าง ๆ
จดุ เนน้ การพฒั นา
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้นี้ สำหรับนกั เรยี นในช่วงชั้นท่ี 2 มีจุดเน้นในการพัฒนาดังน้ี
จำนวนและการดำเนินการเน้นต่อยอดกระบวนการคิดจากชว่ งชั้นที่ 1 มาสกู่ ารเรียนรู้จำนวนนับและ
การดำเนินการของจำนวนนับที่มากกว่า 100,000 ผ่านกิจกรรมแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์จากสถานการณ์
ต่าง ๆ ในชีวิตจริงจนเกิดการคิดที่ยืดหยุ่นและรอบคอบ จากนั้นขยายแนวคิดทั้งด้านความรู้และทักษะต่าง ๆ
ไปใช้ในการเรียนรู้เก่ียวกับเศษส่วนและทศนิยม การบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน ทศนิยม
เช่ือมโยงกับสถานการณ์ที่เก่ียวกับการวัดและเรขาคณิต แล้วนำไปประยุกต์ใช้ในเร่ืองอัตราส่วนและร้อยละ
บูรณาการกับสถานการณต์ า่ ง ๆ ในชีวิตจรงิ แกป้ ัญหาด้วยแนวคิดทห่ี ลากหลายหรือแตกต่างอยา่ งมมุ านะ
แบบรูปและความสัมพันธ์เน้นเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของจำนวนและสิ่งต่าง ๆ ท่ีอยู่ในลักษณะของ
แบบรูปโดยสังเกต คน้ หาความสัมพันธ์ สร้างขอ้ คาดการณ์และข้อสรุปเพ่ือนำไปสู่การสรา้ งแบบรปู สร้างสรรค์
ผลงาน หรอื แกป้ ัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยแนวคดิ ทห่ี ลากหลายหรือแตกตา่ ง
รูปเรขาคณติ สองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติเน้นการสรา้ งข้อคาดการณ์และข้อสรุปต่าง ๆ ด้วยตนเอง
โดยสำรวจ สังเกต วัด หรือสร้างแบบจำลอง เพ่ืออธิบายลักษณะและบอกส่วนต่าง ๆ สร้างข้อคาดการณ์
ใหเ้ หตุผล เสนอข้อโต้แย้ง โดยมีขอ้ เท็จจรงิ ทางคณิตศาสตร์รองรบั จนนำไปสู่ขอ้ สรุปเก่ียวกบั สมบัตติ า่ ง ๆ และ
แนวคิดหรือวิธีการหาความยาวรอบรูป พ้ืนที่ ปริมาตรและความจุ นำไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ
ดว้ ยแนวคิดท่ีหลากหลายหรือแตกตา่ ง
90
เวลาและระยะเวลาในช่วงช้ันนี้เป็นการต่อยอดการเรียนรู้จากช่วงชั้นท่ี 1 เน้นการเชื่อมโยงกับ
สถานการณ์ในชีวิตจริง ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรียน หรือชุมชน ที่มีการแสดงเวลาเป็นชั่วโมง
นาที และวนิ าที
ข้อมูลและ การน ำเสน อข้อ มูล เน้ น การ ใช้กระ บ วน การท าง สถิติเพื่ อห าคำตอบจากปัญ หา ที่สน ใจ
ในโรงเรียนหรือชุมชน โดยเก็บรวบรวมข้อมูล นำเสนอข้อมูลโดยใช้เคร่ืองมือพื้นฐานหรอื ซอฟต์แวร์ วเิ คราะห์
ขอ้ มูล แปลความหมายขอ้ มูล รวมทั้งใช้ข้อมูลจากส่ือตา่ ง ๆ อย่างรเู้ ท่าทัน เพ่ืออธบิ ายสถานการณ์ คาดการณ์
หรอื ตัดสินใจ
การนำไปใช้ในชวี ติ จริง
ในชว่ งช้ันท่ี 2 เมื่อนักเรยี นไดเ้ รียนรู้คณิตศาสตร์ผ่านการสะท้อนความคดิ (reflect) จากประสบการณ์
ในการแก้ปัญหา จะทำให้นักเรียนมองเห็นปัญหาในชีวิตจริงด้วยมุมมองของตนเองและผู้อื่น คิดวิเคราะห์
คิดอย่างเป็นระบบ เพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลและเหมาะสมกับสถานการณ์
มีแนวคิดท่ีหลากหลายและยืดหยุ่นในการแก้ปัญหา ต่อยอดแนวคิดและกระบวนการเรียนรู้เพ่ือสร้างแนวคิด
ใหม่หรือแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นในชีวิตจริง รวมถึงค้นหาข้อมูลเพ่ือหาคำตอบของปัญหาท่ีสนใจหรือสร้างสรรค์
สงิ่ ใหม่ ๆ นอกจากน้ีนักเรียนสามารถสื่อสาร ส่อื ความหมาย และนำเสนอแนวคิดต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนแนวคิด
ของตนเอง หรือโต้แย้งแนวคดิ ของผอู้ น่ื อยา่ งสมเหตุสมผลซ่งึ นำไปสกู่ ารอยูร่ ว่ มกันในสังคมอยา่ งมีความสุข
การบรู ณาการกับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ
ภาษาไทย/ ภาษาต่างประเทศ สามารถส่ือสารด้วยภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศ
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ผ่านการอ่าน ฟัง เขียน พูด โดยใช้คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์ เช่น อ่านและเขียนแสดง
จำนวนของสิ่งตา่ ง ๆ จำนวนเงิน เวลา ตารางหรือแผนภูมิแสดงข้อมูลในบทความ รายงาน ข่าว ป้ายประกาศ
หรือป้ายโฆษณา ฟงั ประกาศหรือโฆษณาจากสื่อตา่ ง ๆ นำเสนอผลงานอยา่ งเป็นลำดบั ขัน้ ตอน
ศิลปะ สามารถสร้างสรรค์งานศิลปะตามจินตนาการ โดยใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ เช่น
ออกแบบและประดิษฐ์ลวดลายต่าง ๆ ของเล่นของใช้ หรอื แบบจำลองของสงิ่ ตา่ ง ๆ โดยใช้ความรูเ้ ร่ืองส่วนของ
เส้นตรง เส้นตั้งฉาก เส้นขนาน การวัด รูปเรขาคณิต มาตราส่วน ออกแบบจังหวะหรือทำนองเพลง ออกแบบ
ท่าการแสดง โดยใช้ความรู้เรื่องแบบรูป รวมทั้งสามารถสื่อสาร ส่ือความหมาย และนำเสนอแนวคิดหรือ
เรือ่ งราวของตนเองผา่ นงานศลิ ปะ
สุขศึกษาและพลศึกษา สามารถนำความรู้ทางคณิตศาสตรไ์ ปใชใ้ นกิจกรรมตา่ ง ๆ เช่น ออกแบบ
ท่ากายบรหิ ารหรอื ทา่ เต้นประกอบเพลงโดยใชค้ วามรู้เรอื่ งแบบรูป กำหนดตารางการแข่งขนั บอกวนั และเวลา
ในการแข่งขัน บอกระยะเวลาวิ่งหรือว่ายน้ำ อ่านกราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเด็กไทย
อา่ นอุณหภมู ิรา่ งกายจากเครอ่ื งวัดอณุ หภมู ิ การอา่ นฉลากโภชนาการ
สังคมศึกษา สามารถนำความรู้ทางคณติ ศาสตร์ไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ เช่น จดั ทำแผนภาพลำดับ
เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ตามระยะเวลาหรือช่วงเวลา บอกพื้นท่ีของจังหวดั ตนเองหรือประเทศจากแผนที่
ที่มีมาตราส่วน วางแผนการใช้จ่ายของตนเองและครอบครัว รวมถึงใช้กระบวนการทางสถิติในการแก้ปัญหา
สง่ิ แวดล้อมในชุมชน เชน่ การลดปรมิ าณขยะมลู ฝอย การลดการใช้พลาสติก
วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ สามารถนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปใช้เป็นเคร่ืองมือ
ในการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เช่น วัดและบันทึกความยาว น้ำหนัก อุณหภูมิ ปริมาตรที่วัดได้
เปน็ ทศนิยม วดั และบันทึกระยะเวลาเปน็ นาที วนิ าที ออกแบบตารางบันทึกข้อมูล ออกแบบและนำเสนอข้อมูล
ที่รวบรวมได้ด้วยตาราง แผนภูมิแท่ง แผนภูมิรูปวงกลม และกราฟเส้น อ่านและแปลความหมายข้อมูล
เพอ่ื ลงขอ้ สรุป อธิบายเหตุการณ์ ปรากฎการณ์ คาดการณ์ ตดั สนิ ใจ