The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนา

ศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนา

ศกึ ษาเฉพาะเร่อื งในพฒั นาการแหง่ พระพทุ ธศาสนา

(Selected Topics in Development of Buddhism)

ISBN : 978-616-300-351-5

เรยี บเรียง : พระมหามิตร ฐิตปญโฺ ญ, รศ.ดร.

อาจารยป์ ระจาหลักสตู รสาขาวชิ าพระพุทธศาสนา

ผทู้ รงคณุ วฒุ ิตรวจสอบ : พระโสภณพฒั นบัณฑิต, รศ.ดร.

: ศ.ดร.ประยงค์ แสนบุราณ

: รองศาสตราจารย์ อุดม บัวศรี

: ผศ.ดร.สาคร พรหมโคตร

ศิลปกรรมและรปู เล่ม : พระมหามิตร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

พิมพค์ รงั้ ที่ ๑ : พ.ศ. ๒๕๕๘ จานวน ๓๐๐ เล่ม

พมิ พค์ รั้งท่ี ๒ : พ.ศ. ๒๕๖๐ จานวน ๕๐๐ เล่ม

ปที ่พี ิมพ์ : ๒๕๖๒

ครงั้ ทพ่ี มิ พ์ :๓

จานวน : ๓๐๐ เลม่

ราคา : ๒๒๐ บาท

พมิ พ์ท่ี : เอม่ี ก๊อปป้ี เซน็ เตอร์

เลขท่ี ๘๘/๒๗ ถนนเหล่านาดี ตาบลในเมอื ง

อาเภอเมืองขอนแกน่ จังหวดั ขอนแกน่ ๔๐๐๐๐

โทร. ๐๔๓-๓๐๖-๘๔๕, ๐๘๕-๐๑๐๑-๓๙๕

Email: [email protected]

[email protected]

จดั ทาโดย : มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น

เลขที่ ๓๐ หมู่ ๑ ตาบลโคกสี อาเภอเมืองขอนแก่น

จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐๐

โทร. ๐๔๓-๓๒๘๖๘๙-๙๑ โทรสาร ๐๔๓-๓๒๘๖๙๒

หนงั สือเล่มนส้ี งวนลิขสทิ ธิต์ าม ลขิ สทิ ธ์ิ พรบ. ๒๕๕๘ ห้ามผใู้ ดพมิ พซ์ ้า ลอกเลยี น ส่วนใดส่วนหนึ่งของ
หนังสือเลม่ นไี้ มว่ า่ ในรูปแบบใดๆ นอกจากได้รบั อนญุ าตเปน็ ลายลักษณ์อกั ษรเท่านนั้

คำนิยม

กระบวนการเปล่ียนแปลงวิวัฒนาการของโลกท่ีเกิดข้ึนอย่างไม่หยุดย้ังอยู่
ตลอดเวลา ทาให้คนเราต้องศึกษาค้นคว้าถึงการเปล่ียนแปลงในเรื่องน้ัน ๆ อยู่ทุกวินาที
การศึกษาการพัฒนาการเฉพาะเรื่องท่ีปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเพื่อให้เห็นถึง
ความเคลอื่ นไหวและการเปล่ียนแปลงในเชงิ พัฒนาการแลว้ นามาวิเคราะห์ถึงเหตุปัจจัยแห่ง
พัฒนาการ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาการของพระพุทธศาสนาเถรวาทหรือพระพุทธศาสนา
มหายานก็ตามล้วนแล้วแต่มีเหตุปัจจัยในการพัฒนาการ การพัฒนาการเฉพาะเรื่องแห่ง
พระพุทธศาสนาจึงเป็นเรื่องท่ีสมควรอย่างยิ่งท่ีจะนามาศึกษาเพื่อให้บุคคลรุ่นใหม่ได้รู้และ
เข้าใจในการพัฒนาการของแต่ละเร่ืองที่ปรากฏในคัมภีร์ทางพุทธศาสนาได้ถูกต้องและเป็น
การสรา้ งแรงบนั ดาลใจให้คนรนุ่ ใหม่ใหใ้ ฝก่ ารศึกษาค้นคว้าต่อไป

หนังสือ เร่ือง “การศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนา” เล่มนี้
ท่ี พระมหามิตร ฐิตปญฺโญ, รศ.ดร. ได้ศึกษาเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วเขียนออกมาเป็นตารา
วิชาการซ่ึงมีเนื้อหารสาระเก่ียวกับการพัฒนาเฉพาะในพระพุทธศาสนาอธิบายให้เห็นถึง
ความเช่ือมโยงระหว่างพัฒนาการท่ัวไปกับพัฒนาในพระพุทธศาสนา เน้ือหาสาระของ
หนังสอื เลม่ นี้ มอี งคค์ วามรู้ในการท่ีจะสร้างแรงบันดาลใจให้กับคนรุ่นใหม่ที่ต้องจะศึกษาถึง
การพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนากับกระการบวนเปลี่ยนแปลงของโลกได้เป็นอย่างดี
พร้อมท้ังจะเป็นหลักฐานในการศึกษาค้นคว้าให้กับผู้ใคร่ต่อการศึกษาถึงพัฒนาการเฉพาะ
เรื่องในพระพุทธศาสนาดว้ ย

จึงขอแสดงความชน่ื ชมและอนุโมทนาในความมีวิริยะอุตสาหะของท่าน พระมหา
มติ ร ฐิตปญฺโญ, รศ.ดร.ท่ีได้พากเพียรศึกษาค้นคว้าแล้วนามาเขียนถึงการพัฒนาการเฉพาะ
เร่ืองในพระพุทธศาสนาและขออานาจคุณงามความดีพร้อมท้ังบุญกุศลบารมีแห่งธรรมดล
บันดาลให้ท่านจงมีความเจริญ งอกงามไพบูรณ์ในพระบวรพุทธศาสนายิ่งข้ึนไปตลอดกาล
เทอญ

พระโสภณพฒั นบัณฑิต, รศ.ดร.
รองอธกิ ารบดี วทิ ยาเขตขอนแก่น

คำนำ

หนังสือเล่มน้ีผู้เขียนได้พยายามจับประเด็นสาคัญในคาสอนของพระพุทธศาสนา
ในแต่ละเรื่องแล้วนามาเล่าต่อแก่ผู้ที่มีความสนใจในการศึกษาการพัฒนาการแต่ละเรื่องที่
ปรากฏในคมั ภีรท์ างพระพุทธศาสนาเพื่อให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวและการเปล่ียนแปลงใน
เชิงพัฒนาการและวิเคราะห์ถึงเหตุปัจจัยแห่งพัฒนาการ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาการของ
พระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายานก็ตามล้วนแล้วแต่มีเหตุปัจจัยพัฒนาการ ด้วยเหตุน้ี
การพัฒนาการเฉพาะเร่ืองแห่งพระพุทธศาสนาจึงเป็นเรื่องที่สมควรอย่างย่ิงท่ีจะนามา
ศึกษาเพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นถึงพัฒนาการของแต่ละเรื่องท่ีปรากฏในคัมภีร์ทางพุทธศาสนา
ต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน พระพุทธศาสนามีประวัติและหลักคาสอนท่ีมีความชัดเจน ประวัติ
และหลักคาสอนเหล่าน้ันไม่ใช่เร่ืองของความคิดเห็น แต่เป็นเรื่องจริง ส่ิงเหล่านี้สามารถ
ศึกษาค้นคว้าจากคาสอนท่ีปรากฏในพระไตรปิฏก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องข้อถกเถียงและการ
ตคี วามศลี ในพระพุทธศาสนา แนวคิดจิตประภสั สรในพทุ ธศาสนาเถรวาทและมหายาน การ
บรรลุธรรมของพระอรหันต์กับพระโพธิสัตว์ ดนตรีในพระพุทธศาสนาเถรวาทและเรื่อง
โสเภณีท่ีปรากฏในพระพุทธศาสนาเป็นต้น ล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องท่ีมีร่องรอยในพัฒนาการ
ของแต่ละเรอ่ื งอย่างชัดเจน

ด้วยเหตุน้ีผู้เขียนจึงได้ทาการศึกษาค้นคว้าเฉพาะเรื่องในพัฒนาการที่ปรากฏใน
คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเพื่อให้เป็นบรรทัดฐานในการศึกษาเก่ียวกับปรากฏการณ์ใน
คมั ภีรท์ างพระพุทธศาสนาใหถ้ อ่ งแท้แกช่ นรนุ่ หลงั หวงั เปน็ อย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มน้ีจะทาให้
ผู้อ่านได้เข้าใจถึงปรากฏการณ์ เร่ืองราว และเห็นคุณค่าของพัฒนาการเฉพาะเรื่องใน
พระพทุ ธศาสนาไม่มากก็น้อย คุณงามความดีใดถ้าเกิดข้ึนจากหนังสือเล่ม ผู้เขียนขอยกคุณ
งามความดีนัน้ แกบ่ ุรพาจารย์ผปู้ ระสิทธปิ์ ระสาทความรเู้ หลา่ นน้ั ดว้ ยความเคารพย่ิง

พระมหามิตร ฐติ ปญโฺ ญ, รศ.ดร.
อาจารยป์ ระจามหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

สารบญั หนา

เรอ่ื ง ก

คาํ นิยม ค
คํานํา ๑
สารบัญ ๑
บทท่ี ๑ การศกึ ษาเฉพาะเรอื่ งในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา ๑

บทนาํ ๑๓
๑.๑ บรบิ ททางสังคมศาสนาในสมยั พุทธกาล ๒๓
๑.๒ พระพทุ ธศาสนากบั สถานการณปจ จบุ ัน ๒๓
๑.๓ พระพทุ ธศาสนากับวิทยาการสมยั ใหม ๒๓
บทที่ ๒ ความรูเร่ืองพระไตรปฏ ก ๒๕
บทนาํ ๒๕
๒.๑ โครงสรา งพระไตรปฎก ๒๗
๒.๒ ความเปนมาของพระไตรปฎ ก ๒๗
๒๘
๒.๒.๑ พระอานนทกบั พระไตรปฎก ๒๙
๒.๒.๒ พระอบุ าลกี บั พระไตรปฎก ๒๙
๒.๒.๓ พระโสณกุฏิกัณณะกับพระไตรปฎก ๓๐
๒.๒.๔ พระมหากสั สปกับพระไตรปฎ ก ๓๐
๒.๒.๕ พระพุทธเจา ทรงแนะนาํ ใหรอยกรองพระธรรมวินยั ๓๑
๒.๒.๖ พระสารีบตุ รแนะนําใหร อยกรองพระธรรมวนิ ัย ๓๒
๒.๒.๗ พระจนุ ทะเถระผปู รารถนาดี ๓๒
๒.๓ การทาํ สังคายนาเปนเหตุใหเ กิดพระไตรปฎ ก ๓๓
๒.๔ การสวดปาฏิโมกขตางจากการสงั คายนาอยางไร ๓๔
๒.๕ ปญหาเรอ่ื งการนบั ครงั้ ในการทําสงั คายนา ๓๕
๒.๕.๑ การนบั คร้งั สงั คายนาท่รี ูกันทั่วไป ๓๕

๒.๕.๑.๑ สงั คายนาคร้งั ท่ี ๑
๒.๕.๑.๒ สังคายนาครง้ั ที่ ๒
๒.๕.๑.๓ สังคายนาครง้ั ท่ี ๓
๒.๕.๑.๔ การทาํ สังคายนาครั้งท่ี ๔

ง สารบญั
Content
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
๓๖
๒.๕.๒ การสังคายนาของลังกา ๓๗
๒.๕.๓ การนับสงั คายนาของพมา ๓๘
๒.๕.๔ การนบั สังคายนาของไทย ๔๐
๒.๕.๕ การสงั คายนาของฝายมหายาน ๔๒
๒.๕.๖ การสงั คายนาของนิกายสัพพตั ถิกวาท ๔๓
๒.๖ สงั คายนานอกประวตั ิศาสตร ๔๓
๒.๗ ลําดบั อาจารยผทู รงจาํ พระไตรปฎก ๔๔
๒.๘ การชาํ ระและจารึกกับการพิมพพระไตรปฎ กในประเทศไทย ๔๕
๒.๘.๑ สมยั ที่ ๑ พระเจาตโิ ลกราช เมืองเชยี งใหม ๔๕
๒.๘.๒ สมยั ท่ี ๒ รชั กาลที่ ๑ กรงุ เทพฯ ๔๗
๒.๘.๓ สมยั ที่ ๓ ในรัชกาลที่ ๕ กรงุ เทพฯ ๔๘
๒.๘.๔ สมยั ที่ ๔ รชั กาลที่ ๗ กรงุ เทพฯ ๔๙
๒.๙ ลกั ษณะการจดั หมวดหมูของแตล ะปฎ ก ๔๙
๒.๙.๑ วินยั ปฎก ๕๐
๒.๙.๒ สตุ ตนั ตปฎก ๕๒
๕๒
๒.๙.๒.๑ ขอสงั เกตทา ยสุตตันตปฎก ๕๓
๒.๙.๓ อภธิ มั มปฎก ๕๕
๒.๑๐ ลาํ ดบั ชั้นคัมภีรทางพระพุทธศาสนา ๕๕
บทท่ี ๓ ขอถกเถียงและการตีความเร่อื งศีลในพระพุทธศาสนา ๕๗
บทนํา ๕๗
๓.๑ ประเดน็ ขอถกเถียงและการตีความศลี ในพระพทุ ธศาสนา ๕๘
๓.๑.๑ ความหมายของศีลในทางพระพุทธศาสนา ๕๙
๖๙
๓.๑.๑.๑ ประเภทของศีลในพระพทุ ธศาสนา ๗๐
๓.๑.๑.๑.๑ ปาฏโิ มกขสังวรศีล ๗๓
๓.๑.๑.๑.๒ อนิ ทรียสงั วรศลี ๘๕
๓.๑.๑.๑.๓ อาชีวปารสิ ุทธศิ ีล ๙๐
๓.๑.๑.๑.๔ ปจจัยสนั นสิ ิตศีล ๙๖
๑๐๑
๓.๒ ขอถกเถียงและการตคี วามศลี ของนครโกสมั พี
๓.๓ ขอถกเถียงและการตีความศลี ๑๕๐ ขอ
๓.๔ การตีความศลี ศีล ๕
๓.๕ การตีความแนวทางการปฏิบัติของเบญจศลี

ศกึ ษาเฉพาะเรอื่ งในพฒั นาการแหง พระพทุ ธศาสนา จ
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๓.๖ วิธปี ฏบิ ัตริ ักษาศีล ๕ ๑๐๘
๓.๗ ผลลพั ธข องการรักษาศีล ๑๐๙
๓.๘ ประเด็นขอถกเถยี งและการตคี วามศลี ๕ ในพระพุทธศาสนา ๑๑๑
๓.๙ วิเคราะหการตีความศีล ๕ ของพุทธศาสนิกชน ๑๑๘
บทท่ี ๔ แนวคิดจิตประภสั สรในพระพทุ ธศาสนาเถรวาทและมหายาน ๑๒๓
บทนํา ๑๒๓
๔.๑ ความหมายของจติ ประภัสสร ๑๒๔
๔.๒ จิตประภัสสรในพระไตรปฎ ก ๑๒๘
๔.๓ จิตประภัสสรในอรรถกถา ๑๓๒
๔.๔ ความหมายของจิตเดิมแท ๑๓๙
๔.๔.๑ ความหมายของคาํ วา “จิต” ๑๓๙
๔.๔.๒ ความหมายของคําวา “เดมิ แท” ๑๔๐
๔.๕ จิตเดิมแทในพระสูตรมหายาน ๑๔๑
๔.๕.๑ จติ เดมิ แทในลังการวตารสตู ร ๑๔๑
๔.๕.๒ กระบวนการทํางานของจติ ท้งั ๓ ประการ ๑๔๙
๔.๕.๓ จติ เดิมแทใ นพระสูตรอ่นื ๆ ๑๕๓
๔.๖ สรุปจิตประภสั สรและจิตเดมิ แท ๑๕๕
บทที่ ๕ การบรรลุธรรมของพระอรหนั ตก ับพระโพธสิ ัตว ๑๕๙
บทนํา ๑๕๙
๕.๑ พระอรหันตใ นคัมภีรพระพุทธศาสนา ๑๖๐
๕.๑.๑ ความหมายของพระอรหันตใ นคัมภีรพระพุทธศาสนา ๑๖๐
๕.๒ ประเภทของพระอรหันตในคมั ภรี พระพุทธศาสนา ๑๖๒
๕.๓ วถิ แี หง ความเปน อรหันต ๑๖๖
๕.๔ หลกั ธรรมทีส่ นบั สนนุ ในการบรรลุเปน อรหนั ต ๑๗๐
๕.๕ หลกั ธรรมในการปฏิบตั ิเพ่อื ความเปน อรหนั ต ๑๗๗
๕.๖ แนวทางการปฏบิ ัตเิ พ่ือความเปน อรหนั ต ๑๘๐
๕.๗ พระโพธสิ ตั วใ นคัมภีรพ ระพุทธศาสนา ๑๘๑
๕.๘ ประเภทของพระโพธสิ ตั วใ นคัมภรี พระพุทธศาสนาเถรวาท ๑๘๓
๕.๙ ประเภทของพระโพธิสตั วในคัมภีรพ ระพทุ ธศาสนามหายาน ๑๘๓
๕.๑๐ การบําเพ็ญบารมีของพระโพธสิ ตั วในคัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท ๑๘๕
๕.๑๑ การบาํ เพ็ญบารมีของพระโพธสิ ตั วใ นคัมภรี พระพุทธศาสนามหายาน๑๘๗

ฉ สารบญั
Content
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๕.๑๒ องคธรรมทีส่ งเสรมิ การบําเพ็ญบารมีของพระโพธสิ ัตวในคัมภรี  ๑๙๐
พระพทุ ธศาสนา
๕.๑๓ สรุป ๑๙๖
บทท่ี ๖ ดนตรใี นพระพุทธศาสนาเถรวาท ๑๙๙
บทนํา ๑๙๙
๖.๑ ความเปน มาของดนตรี ๑๙๙
๖.๒ ดนตรีท่ปี รากฏในพระวนิ ัยปฏก ๒๐๑
๖.๓ ดนตรีปรากฏในพระสุตตันตปฏก ๒๐๒
๖.๔ ดนตรีท่ปี รากฏในพระอภธิ รรมปฏ ก ๒๑๐
๖.๕ ดนตรีที่ปรากฏในอรรถกถา ๒๑๒
๖.๖ ประเภทของดนตรี ๒๑๓
๖.๖.๑ คีต ๒๑๓
๖.๖.๒ วาทิตฺ ๒๑๓
๖.๗ ประโยชนข องดนตรี ๒๑๕
๖.๘ การใชดนตรใี นพระพทุ ธศาสนาเถรวาท ๒๑๗
๖.๘.๑ การใชด นตรเี พอ่ื การบูชา ๒๑๙
๖.๘.๒ การใชดนตรีเพอื่ การเปรียบเทยี บแบบอุปมาอุปไมย ๒๒๑
๖.๘.๓ การใชดนตรีเพอื่ การสอนธรรม ๒๒๒
๖.๙ การใชด นตรีในพระพุทธศาสนาของสังคมไทย ๒๒๔
บทที่ ๗ พระพุทธศาสนากบั โสเภณี ๒๒๗
บทนํา ๒๒๗
๗.๑ ความหมายของโสเภณี (Prostitution) ๒๒๘
๗.๒ ความเปนมาของโสเภณี ๒๓๒
๗.๒.๑ กาํ เนิดโสเภณี ๒๓๒
๗.๒.๒ โสเภณีในสังคมอินเดยี สมยั พุทธกาล ๒๓๓
๗.๒.๓ นางโสเภณีท่ีปรากฏในคมั ภีรท างพระพุทธศาสนาฝายเถรวาท ๒๓๕
๗.๓ รปู แบบบทบาทของโสเภณีในสงั คมอินเดียในสมัยพุทธกาล ๒๔๓
๗.๓.๑ รูปแบบของโสเภณี ในสงั คมอินเดียสมัยพุทธกาล ๒๔๓
๗.๓.๒ ฐานะและบทบาทของโสเภณีในสงั คมอินเดยี สมยั พุทธกาล ๒๔๓
๗.๔ ประเภทของโสเภณี ๒๔๔
๗.๕ ลกั ษณะของบุคคลทท่ี าํ อาชพี โสเภณีปจ จุบนั ๒๔๕

ศกึ ษาเฉพาะเรือ่ งในพัฒนาการแหง พระพทุ ธศาสนา ช
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
๗.๖ ภารกจิ ของหญิงโสเภณี
๗.๗ พระพทุ ธศาสนากับโสเภณี ๒๔๕
๒๔๗
๗.๗.๑ โสเภณกี บั รัฐ ๒๔๗
๗.๗.๒ โสเภณบี วชเปนภกิ ษณุ ี ๒๔๘
๗.๘ วถิ กี ารเกดิ ของโสเภณี ๒๔๘
๗.๘.๑ ชีวติ โสเภณี ๒๔๘
๗.๘.๒ สงั คมกับโสเภณี ๒๔๘
๗.๙ ผลกระทบของการมีโสเภณี ๒๕๐
๗.๙.๑ ผลเสยี ๒๕๐
๗.๙.๒ ผลดี ๒๕๐
บรรณานุกรม ๒๕๑

ซ สารบญั
Content
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

บทที่ ๑
การศึกษาเฉพาะเรือ่ งในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา

Selected Topics in Development of Buddhism
บทนาํ

การศึกษาพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนาในดานตางๆ โดยใหเห็นความ
เคล่ือนไหวเปลี่ยนแปลงในเชิงพัฒนาการและวิเคราะหถึงเหตุปจจัยแหงพัฒนาการ เชน
พัฒนาการของพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายานเปนตน การศึกษาเฉพาะเรื่องใน
พัฒนาการแหงพระพุทธศาสนาจึงเปนเรื่องท่ีสมควรอยางย่ิงท่ีจะตองศึกษาเพื่อใหเห็นถึง
พัฒนาจากอดีตถึงปจจุบัน พระพุทธศาสนามีประวัติและหลักคําสอนท่ีมีความชัดเจน
แนนอน และไมใชเ รอ่ื งของความคิดเห็น แตเปนเรื่องจริง จะเห็นจากคําสอนท่ีพระพุทธเจา
สอนมิใหเชื่ออะไรอยางงมงายไรเหตุผล ใหใชปญญากํากับความเช่ืออยูเสมอ นอกจากน้ัน
ยังสอนใหรูจักพิสูจนความจริง ดวยการทอลอง การปฏิบัติ และการพิจารณาอยางถ่ีถวน
ดังน้ัน เพ่ือใหผูอานมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการพัฒนาเฉพาะเรื่องในพระพุทธศาสนา
ผูเขียนจึงไดรวบรวม เรียบเรียงบางเร่ืองที่เห็นวานาจะเปนประโยชนแกทานผูอานหรือผูท่ี
กาํ ลงั ศึกษาจึงไดกําหนดหัวเร่ืองท่ีเห็นวาเปนประเด็นทางสังคมท่ีกําลังใหความสนใจ ดังจะ
มรี ายละเอยี ดในแตละบทที่จะไดกลา วตอ ไป

๑.๑ บริบททางสงั คมศาสนาในสมยั พุทธกาล

อินเดียเปนประเทศที่เกาแกท่ีสุดประเทศหนึ่งของโลก เคียงคูกับจีน อียิปต มี
อารยธรรมที่เกาแกมากมาย ผืนดินแหงน้ีเปรียบเสมือนหัวใจของโลกเพราะที่น่ีมีศาสนา
เกิดข้ึนหลายศาสนา ผลิตกระแสหลอเล้ียงจิตใจประชากรหลายสวนของโลก ศาสนาที่เกิด
ในแผนดินสวนนี้ คือ ศาสนาพราหมณ หรือฮินดูพุทธศาสนา ศาสนาเชน ศาสนาซิกซ
รวมทงั้ ลัทธทิ เ่ี กิดใหมเ ชน บาไฮ และไสบาบา เมื่อรวมผูนับถือศาสนาที่เกิดในอินเดีย มีมาก
ถึง ๑,๕๐๐ ลานคนท่ัวโลก คําวา “อินเดีย” (India) เปนคําใหม ในยุคกอนพุทธกาลถูก
เรยี กวา ชมพทู วีป และภารตประเทศในภาษาสันสกฤต

ดินแดนอินเดียโบราณ ในทางศาสนามักจะเรียกกันวา “ชมพูทวีป” ในทาง
ภมู ศิ าสตรมักเรียกวา“เอเชียใต” หรือ “อนุทวีปอินเดีย” สวนชาวอินเดียเอง เรียกดินแดน
ของเขาเองวา “ภารตวรรษ”(Bharatavarsa) ซ่งึ มีความหมายวา ถิ่นทอ่ี ยูของชาวภารตะ

๒ บทที่ ๑ การศึกษาเฉพาะเร่อื งในพฒั นาการแหงพระพทุ ธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ชื่อ “อินเดีย” มาจากคําภาษาสันสกฤตวา “สินธุ” (Sindhu) ซึ่งเปนช่ือแมนํ้า
สายสําคัญทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียโบราณ ตอมาชาวเปอรเซียท่ีเขามา
รุกรานดินแดนแถบนี้ไดเปลี่ยนตัวพยัญชนะ S เปน H เรียกช่ือดินแดนแถบน้ีวา Hindu
หรือ Hidu ตอมาพวกกรีกที่เขามาในสมัยหลังไดตัดตัว H ออกแลวแผลงเปน Indos ซึ่ง
เพี้ยนไปเปน Indus และ India ตามลําดับ ในสมัยตนช่ือน้ีใชเรียกเฉพาะดินแดนในบริเวณ
ลุมนาํ้ สนิ ธุ ตอ มาจงึ ไดใชเรียกดินแดนทีเ่ ปนประเทศอนิ เดยี ท้ังหมด๑

อารยธรรมอินเดียนั้น ตองทําความเขาใจเปนลําดับแรกวา มิไดจํากัดเฉพาะเปน
อารยธรรมทีป่ รากฏอยใู นขอบเขตของ “ประเทศอินเดีย” ในปจจุบันเทานั้น ทั้งนี้เน่ืองจาก
ประเทศอนิ เดียในปจ จุบัน คอื ประเทศที่ไดต้ังข้ึนหลังจากการไดรับเอกราชจากอังกฤษในป
ค.ศ. ๑๙๔๗ โดยเปนสวนหนึ่งของดินแดนที่รูจักกันในนามอินเดียมาตั้งแตสมัยโบราณ
ดังนั้นความหมายของดินแดนท่ีเรียกวา “อินเดีย” และ “อารยธรรมอินเดีย” ซ่ึงดําเนินมา
เปนเวลายาวนานนัน้ จงึ มีขอบเขตกวา งขวางกวาประเทศอินเดียในปจ จบุ นั โดยอาจเรียกได
วา ครอบคลมุ อาณาเขตของเอเชยี ใตโดยรวม ซึง่ ในปจ จบุ ันประกอบดวยหลายประเทศ สวน
ในอดีตดินแดนเหลานั้นก็มิไดรวมเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน ในทางตรงขามจะมีการแบงแยก
เปนอาณาจักรหรือแวนแควนตางๆ ที่เปนอิสระตอกัน มีภาษา เช้ือชาติ วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณี และศาสนาที่แตกตา งกันไป๒

ประเทศอินเดียประกอบข้ึนดวยอาณาบริเวณที่กวางใหญไพศาล มีเน้ือท่ีท้ังหมด
เทากับทวีปยุโรปไมนับรวมรัสเซีย โดยเหตุน้ี ลักษณะภูมิประเทศและดินฟาอากาศจึง
แตกตา งกันอยางมากมาย บริเวณภูเขาสูงทางตอนเหนือ รวมทั้งเทือกเขาหิมาลัย ซ่ึงมียอด
เขาสูงสุดในโลก ยาวขนานไปกับพรมแดนดานเหนือเปนระยะทางถึง ๑,๖๐๐ ไมล มียอด
เขาปกคลุมดวยหิมะตลอดท้ังป ในขณะท่ีทางดานตะวันตกเฉียงเหนือมีทะเลทรายธาร
(Thar) อันรอนระอุและแหงแลง นอกจากนั้นยังมีบริเวณที่ราบลุมแมนํ้าอันอุดมสมบูรณ
เชน ลุมนา้ํ คงคา และลมุ นํา้ สนิ ธุ

อินเดียเปนอีกดินแดนหนึ่งในสมัยโบราณที่สภาพทางภูมิศาสตรมีอิทธิพลอยาง
มากตอ ความเปน ไปทางประวัติศาสตร อินเดียมีแมน้ําสายลึกๆ มีเทือกเขาท่ีปกคลุมดวยปา
ทึบ เต็มไปดวยสัตวรายและโรคภัยไขเจ็บ มีทะเลทรายรอนระอุ ส่ิงเหลานี้เปนปจจัยทาง

๑ ธิติมา พิทักษไพรวัน, ประวัติศาสตรยุคโบราณ, (กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช,
๒๕๒๒), หนา ๖๘ – ๖๙.

๒ ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, อารยธรรม
(กรุงเทพมหานคร : ภาควชิ าประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๕), หนา
๓๑.

ศกึ ษาเฉพาะเรื่องในพฒั นาการแหงพระพุทธศาสนา ๓
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ธรรมชาติสําคัญท่ีทําใหอินเดียแบงออกเปนแวน แควนใหญนอย ขาดการติดตอซ่ึงกันและ
กัน เจริญขึ้นมาเปนหนวยทางการเมืองและสังคมท่ีมีลักษณะโดดเด่ียว ขาดความสัมพันธ
ยง่ั ยนื ถาวรระหวา งกนั

ดานความสัมพันธกับภายนอก เทือกเขาหิมาลัยซ่ึงยาวเหยียดไปตลอดแนว
พรมแดนดานเหนือของอินเดีย กับชายฝงทะเลยาวเหยียดเปนปราการธรรมชาติที่กันอินเดีย
ออกจากสวนอื่น ๆ ของทวีปเอเชีย และชวยใหอินเดียไดมีโอกาสสรางสมอารยธรรมท่ีมี
ลักษณะเฉพาะตน อยางไรก็ตาม เครื่องกีดขวางทางธรรมชาติ เชน ภูเขาและทะเล มิไดกัน
อนิ เดยี ใหป ลอดภยั จากการรกุ รานภายนอก ปรากฏวาตั้งแตสมัยโบราณ อินเดียไดรับภัยจากผู
รุกรานอยูเสมอ ผรู ุกรานเหลา นไี้ ดอ าศัยชองเขาทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือเปนชองทางเขา สู
อินเดยี เชน ชองเขาไคเบอร (Kyber) และชอ งเขาโบลนั (Bolan)๓

อยางไรก็ตาม แมวาแตละอาณาจักรจะมีประวัติศาสตรความเปนมาของตนซึ่งมี
ระยะเวลาการกําเนิด รุงเรืองและเสื่อมสลายหมุนเวียนกันไป แตการท่ียังคงมีการศึกษา
อารยธรรมในบรเิ วณน้รี วมกันในฐานะเปนอารยธรรม อินเดียโดยรวมเน่ืองจากภายใตความ
หลากหลายนี้ ยังมีลกั ษณะรวมสําคัญทางอารยธรรมอยูบางประการ คือ เปนอารยธรรมที่มี
พ้ืนฐานมาจากการวางรากฐานของอารยันซ่ึงเปนคนสวนใหญในบริเวณน้ี โดยมีศาสนาพ
ราหมรณ-ฮินดูเปนหลักสําคัญที่กําหนดความคิด ความเชื่อ วิถีชีวิตและการสรางสรรคทาง
ศิลปะ ถึงแมวาจะมีคนกลุมอื่นหรือมีศาสนาอื่นรวมอยูดวย แตก็นับวาเปนอารยธรรมของ
อารยนั และศาสนาพราหมณ-ฮินดู คืออารยธรรมกระแสหลกั ของบริเวณน้ี๔

๑. อารยธรรมกอ นสมัยพทุ ธกาล
เหตุที่ผูเขียนตองเริ่มการอธิบายสังคมอินเดียสมัยพุทธกาลจากอารยธรรมยุค
โบราณกอนสมัยพุทธกาลก็เพ่ือใหผูอานไดเขาใจสภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ
ความเช่อื ของคนอินเดียในสมัยพุทธกาลไดอยางถองแทและจะทําใหเขาใจพระพุทธศาสนา
ท่ีบังเกิดขึ้นในสังคมอินเดียสมัยนั้นในฐานะท่ีเปน “ปรากฏการณทางสังคม” (Social
Phenomenon) ที่มีการเกิดข้ึนและมีพัฒนาการสัมพันธอยูกับสภาพสังคมในยุคนั้น อารย
ธรรมอินเดียยุคโบราณสามารถแบงไดเปน ๒ ยุค คือ อารยธรรมสมัยสินธุ และอารยธรรม
สมยั อารยนั

๑.๑ อารยธรรมสมัยสินธุ เปนอารยธรรมเกาแกที่สุดเทาที่ปจจุบันมีการ
คน พบในบรเิ วณอนุทวปี อนิ เดีย วธิ กี ารศึกษาคนควาเกี่ยวกับอารยธรรมสมัยสินธุต้ังแตอดีต
คือต้ังแตคริสตศตวรรษที่ ๒๐ ไดอาศัยการศึกษาทางโบราณคดีเปนสําคัญ เน่ืองจากใน

๓ ธติ มิ า พิทกั ษไ พรวนั , ประวตั ศิ าสตรยุคโบราณ, หนา ๖๙.
๔ ภาควชิ าประวตั ศิ าสตร คณะอักษรศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั , อารยธรรม, หนา ๓๑.

๔ บทที่ ๑ การศกึ ษาเฉพาะเรอื่ งในพฒั นาการแหงพระพุทธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ระยะนน้ั ยังเปนชวงที่อังกฤษปกครองอินเดียในฐานะอาณานิคมอยู ดังนั้นนักโบราณคดีท่ีมี
บทบาทสําคัญจึงเปนนักโบราณคดีอังกฤษ ช่ือ “เซอรจอหน มารแชล” (Sir John
Marshell) เช่ือกันวาอารยธรรมสมัยสินธุเปนอารยธรรมของคนพื้นเมืองเดิมกอนการ
รุกรานของพวกอารยันจากภายนอก มีความเจริญอยูระหวาง ๒,๕๐๐ – ๑,๕๐๐ ปกอน
คริสตกาล โดยมีระยะเวลาใกลเคียงกับอารยธรรมอียิปตและเมโสโปเตเมีย อยางไรก็ตาม
เนื่องดวยการศึกษาอารยธรรมสมัยสินธุมีขอจํากัดประการสําคัญคือ ยังไมสามารถอาน
ตัวอักษรที่คนพบได จึงทําใหองคความรูตางๆ เกี่ยวกับอารยธรรมสมัยนี้มีอยูอยางจํากัด
ตองอาศยั การตีความและสันนิษฐานประกอบเปน อยางมาก๕

๑.๑.๑ ที่ต้ังอารยธรรม สมัยสินธุไดชื่อตามแหลงที่มีการขุดคนความเจริญ
ครง้ั แรกบรเิ วณลุมแมน ํ้าสินธุ สว นใหญของเขตความเจรญิ ของอารยธรรมนจ้ี ึงอยูในประเทศ
ปากีสถานในปจจุบัน เมืองสําคัญที่ไดมีการขุดคนในรุนแรกๆ คือ ฮารัปปา (Harappa) ซ่ึง
อยูในแควนปญจาบ (Panjab) และโมเฮนโจดาโร (Mohenjo-Daro) ซึ่งอยูในแควนซินด
(Sind)๖ ตอ มาไดพ บรองรอยความเจริญในรุนราวคราวเดียวกันทางตะวันตกเฉียงเหนือของ
อินเดยี ดว ย เชน เมอื งกลิบงั คัน (Kalibangan) ในรัฐราชสถาน และเมืองโลธัล (Lothal) ใน
รฐั คชุ ราตของอนิ เดยี ๗ ดว ยเหตนุ ีท้ ําใหใ นเวลาตอมาไดมีขอเสนอวาขอบเขตความเจริญของ
อารยธรรมสมัย สินธุกวางขวางกวาเฉพาะแคลุมน้ําสินธุดังที่เคยเช่ือกันมาแตตน ดังน้ันใน
ท่ีนี้จึงไดเรียกอารยธรรมอันเกาแกท่ีสุดในอารยธรรมอินเดียน้ี วา “อารยธรรมสมัยสินธุ”
แทน “อารยธรรมลุม น้ําสนิ ธุ” เพอ่ื ใหความสาํ คญั แก “อาย”ุ ของอารยธรรมในรุนราวคราว
เดยี วกนั มากกวา “ทต่ี ง้ั ”๘

๑.๑.๒ ความเจริญของอารยธรรมสมัยสินธุ ในหัวขอนี้จะศึกษาถึงความรู
เกี่ยวกับอารยธรรมสมัยสินธุซึ่งมีความสืบ เนื่องมาจากการขุดคนทางโบราณคดีต้ังแตตน
คริสตศตวรรษที่ ๒๐ โดยการวางรากฐานของนักโบราณคดีชาวอังกฤษ โดยมีประเด็นที่
นาสนใจดงั น้ี

(๑) ความเปนอารยธรรมเมืองและมีการวางผังเมือง จากการขุดคน
เมืองสําคัญท้ังโมเฮนโจดาโร ฮารัปปาและเมืองอ่ืนๆ ตางก็พบลักษณะความเจริญในระดับ
อารยธรรมเมือง มีการวางผังเมืองที่เปนระบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งฮารัปปาและโมเฮนโจดา
โร พบกวามีการตัดถนนเปนตาราง ถนนสายสําคัญวัดความกวางไดถึง ๓๓ ฟุต มีอาคาร

๕ เรือ่ งเดยี วกนั , หนา ๓๓.
๖ เรือ่ งเดียวกนั , หนาเดยี วกัน.
๗ ธิตมิ า พิทกั ษไ พรวนั , ประวตั ศิ าสตรยคุ โบราณ, หนา ๗๑.
๘ ภาควิชาประวตั ศิ าสตร คณะอกั ษรศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย, อารยธรรม, หนา ๓๓.

ศกึ ษาเฉพาะเรื่องในพฒั นาการแหงพระพุทธศาสนา ๕
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

บานเรือนอยู ๒ ฟาก โดยอาคารเหลาน้ีมีขนาดเล็กใหญแตกตางกันไปซ่ึงนาจะข้ึนอยูกับ
ฐานะของผู เปน เจาของ รมิ ถนนมีทางระบายน้าํ เชื่อมตอออกมาจากอาคารบานเรือน มีสระ
นาํ้ ขนาดใหญกอ ดว ยอิฐขนาด ๓๙ r ๒๓ ฟตุ และซากสงิ่ กอสรา งซ่งึ สนั นษิ ฐานวา เปนยุงขาว
ใหญโต๙

(๒) พธิ ีกรรมและความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจา สมัยสินธุเช่ือวามีความคิด
เกี่ยวกับการบูชาเทพเจาและการทาํ พิธกี รรมตา งๆ ซึ่งนาจะมีอิทธิพลตอเนื่องมาสูอารยันใน
เวลาตอมาดวย หลักฐานที่แสดงถึงความเชื่อและการทําพิธีกรรมนี้มีหลายประการที่สําคัญ
คือ การพบดวงตราท่มี ลี ักษณะเปนชาย ๓ หนา ๓ ตา น่ังขัดสมาธิบนบัลลังก รายรอบดวย
สัตวตางๆ ซ่ึงสันนิษฐานวาเปนตนกําเนิดของเทพเจาองคสําคัญของฮินดูในเวลาตอมา คือ
พระศิวะในปางท่ีเรียกวา ปศุบดี ผูเปนเทพเจาแหงสัตวทั้งหลายและเปนเทพเจาแหงความ
อุดมสมบูรณ ย่ิงไปกวานั้นยังเชื่อวานาจะมีการโยงความคดิ ความเชื่อในทางพิธีกรรมเขา กับ
การปกครองดวย เพราะมีการพบประติมากรรมรปู ชายมีเคราใบหนาสงบน่ิงและหมผาเฉียง
บา ประตมิ ากรรมในลักษณะที่คลายคลึงกันน้ีไดพบในอารยธรรมเมโสโปเตเมียซ่ึง สามารถ
อานตัวอักษรไดแลวดวย โดยมีความหมายถึงผูปกครองที่เปนกษัตริยนักบวช เมื่อเปนท่ี
ยอมรับวาเมโสโปเตเมียและอินเดียในสมัยสินธุน้ีมีการติดตอกัน ดังนั้นการพบ
ประติมากรรมในลักษณะน้ีท่ีอารยธรรมสมัยสินธุก็นาจะมีความหมาย ทํานองเดียวกัน ใน
สวนของโบราณสถานน้ันท่ีสําคัญคือ ในบริเวณซากเมืองโมเฮนโจดาโรเขาใจวามีสวนท่ี
เปนศาสนสถานอยูด ว ย โดยมีลักษณะเหมือนสระน้ําขนาดใหญซึ่งนาจะเปนที่ชําระรางกาย
ใหบริสุทธ์ิ กอนทําพิธีกรรม เพราะความเช่ือเชนน้ียังคงพบไดในอารยธรรมอินเดียในสมัย
ตอมาอันอาจจะ เนื่องจากไดร บั อทิ ธิพลสบื เนอื่ งจากสมัยน้กี เ็ ปน ได๑๐

(๓) การเปนอารยธรรมของพวกดราวิเดียน พิจารณาจากหลักฐานท่ี
คนพบในสมัยสินธุพบวามีความแตกตางจากอารยธรรมสมัย อารยันอยางเห็นไดเชน เชน
การคนพบประติมากรรมรูปคนซ่ึงมีหนาตาแตกตางจากพวกอารยัน พวกอารยันสมัยพระ
เวทดําเนินชีวิตความเปนอยูตามแบบสังคมชนบท สวนลักษณะอารยธรรมสมัยสินธุเจริญ
ขึ้นตามแบบสังคมเมืองใหญ ลักษณะเครื่องมือเครื่องใช อาวุธก็ผิดกัน พวกอารยันในสมัย
พระเวทรูจักการใชเหล็กอยางแพรหลาย นําเหล็กมาประดิษฐเปนเกราะและโล ซ่ึงไมเคย
ปรากฏในอารยธรรมสมัยสินธุ พวกอารยันใชมาเปนพาหนะอยางกวางขวาง แตไมปรากฏ

๙ ธติ ิมา พิทักษไพรวัน, ประวัติศาสตรยุคโบราณ, หนา ๗๐: ภาควิชาประวัติศาสตร คณะ
อกั ษรศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั , อารยธรรม, หนา ๓๔.

๑๐ ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, อารยธรรม, หนา
๓๔ – ๓๕.

๖ บทที่ ๑ การศึกษาเฉพาะเรื่องในพฒั นาการแหงพระพุทธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ในอารยธรรมสมัยสินธุ นอกจากนี้อารยธรรมสมัยสินธุก็มีความเกาแกมากกวาอารยธรรม
อารยัน จึงสรุปกนั วา ผูสรางอารยธรรมสมัยสินธุนี้เปนคนพื้นเมืองด้ังเดิมกอนท่ี พวกอารยัน
จะเขา มารุกราน คนเหลาน้ีคือ พวกดราวิเดียน ซึ่งสันนิษฐานวาเปนชนเผานิโกรเผาหนึ่ง มี
รปู รางเต้ยี ผวิ ดาํ จมูกแบนกวาง ริมฝป ากหนา มีความแตกตา งจากพวกอารยันอยางชัดเจน
เม่ือพวกอารยันเขาไปในอินเดียไดรุกรานพวกดราวิเดียนจากทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
และขับไลพวกดราวิเดียนถอยรนไปทางทิศตะวันออกแถบลุมน้ําคงคา บางกลุมไดปะปน
สายโลหติ กบั พวกดราวเิ ดียนเกดิ เปน ชนกลมุ ใหมเรยี กวา พวกฮนิ ดู๑๑

อยางไรก็ตาม ผลจากการศึกษาของนักวิชาการชาวอินเดียตั้งแตทศวรรษที่
๑๙๘๐ เปนตนมา ไดมีขอเสนอใหม ๆ หลายประเด็น เชน ขอบเขตความเจริญนาจะ
กวางขวางกวา ลมุ นํา้ สนิ ธุ (ดังกลา วแลว) ระยะเวลาความเจริญนาจะเกาแกไปถึง ๕,๐๐๐ ป
กอนคริสตกาล และประเด็นสําคัญซ่ึงเปนที่นาสนใจและถกเถียงกันมากคือ ผูสรางอารย
ธรรมอาจจะเปนดราวิเดียนก็ได หรืออารยันก็ได ทั้งนี้โดยมีการใชหลักฐานใหม ๆ เพ่ิมเติม
นอกเหนือจากหลักฐานทางโบราณคดี เชน การศึกษาเทียบเคียงลักษณะตัวอักษรในสมัย
ตาง ๆ การตีความจากขอความในคัมภีรพระเวท ซ่ึงนักวิชาการตางชาติอาจจะไมสามารถ
เขาใจไดอยางลึกซ้ึง เปนตน ประเด็นเรื่องผูสรางอารยธรรมสินธุน้ีมีความสําคัญตอ
ประวัติศาสตรและ อารยธรรมอินเดียมาก เพราะถาเช่ือวาเปนพวกอารยันแลว จะทําให
ทฤษฎีทวี่ าอารยนั คอื ผรู ุกรานจากภายนอกตองเปลี่ยนแปลงไปดวย อยางไรก็ตาม ขอเสนอ
เหลา นยี้ ังไมไ ดเปน ขอสรปุ ดงั นน้ั ในท่ีนีจ้ งึ ยังคงอธบิ ายตามแนวคิดของนักวิชาการตะวันตก
เปน สาํ คัญ๑๒

๑.๒ อารยธรรมอารยัน ในขณะที่ยังไมไดขอสรุปซ่ึงเปนที่ยอมรับกัน
โดยท่ัวไปวาอารยันคือกลุมคน พ้ืนเมืองดั้งเดิมกลุมหนึ่งในอินเดียตั้งแตสมัยสินธุนั้น ในท่ีน้ี
จึงอธิบายสมัยอารยันในฐานท่ีเปนสมัยของการรุกรานจากภายนอกและกอใหเกิดความ
เปล่ียนแปลงทางอารยธรรมครงั้ ที่สําคัญอันเปนพน้ื ฐานของอารยธรรม อนิ เดยี ในเวลาตอมา

๑.๒.๑ ภูมิหลังของอารยัน ภูมิหลังของอารยันคือ ราว ๒,๐๐๐ ปกอน
คริสตกาลมีชนชาติท่ีพูดภาษาอินโด-ยุโรเปยน (Indo-European) อยูบริเวณรอบๆ
ทะเลสาปแคสเปยน ตอมาชนบางกลุมในกลุมน้ีไดอพยพกระจัดกระจายไปในหลายๆ
บริเวณ กลุมหน่ึงไปทางทิศตะวันตกและกระจายไปเปนพลเมืองของประเทศตางๆ ในทวีป
ยุโรปปจ จุบนั เรยี กวา “ยโู รเปย น-อารยัน” (European-Aryan) พวกที่สองไปทางตะวันตก

๑๑ ธิตมิ า พทิ กั ษไพรวนั , ประวตั ิศาสตรย คุ โบราณ, หนา ๗๑ – ๗๓: ภาควิชาประวตั ิศาสตร
คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั , อารยธรรม, หนา ๓๔.

๑๒ ภาควิชาประวตั ศิ าสตร คณะอักษรศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย, อารยธรรม, หนา ๓๔.

ศึกษาเฉพาะเร่อื งในพฒั นาการแหง พระพุทธศาสนา ๗
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

เฉียงใตผานหุบเขาออกซัส (Oxus vallry) เขาไปในอัฟกานิสถานปจจุบัน หลังจากตั้งหลัก
แหลงอยูระยะหนึ่ง พวกน้ีก็ขยับขยายไปทางทิศตะวันตกเขาไปยังเปอรเซีย พวกน้ีเรียกวา
“เปอรเซียน” (Persian) หรือ “อิเรเนียน” (Iranian) ซ่ึงมาจากคําวา “อารฺยาณามฺ”
แปลวา ดินแดนของชาวอารยะ พวกท่ีสามไปทางตะวันออกผานชองเขาไคเบอรเขาไปใน
อินเดีย เรียกวา “อินโด-อารยัน” (Indo-Aryan) ซ่ึงเขามารุกรานอินเดียเมื่อประมาณ
๑,๕๐๐ ปก อนคริสตก าล๑๓

ชาวอินโดอารยันเปนพวกกึง่ เรรอน ผิวขาว รูปรางสูงใหญ ดํารงชีพดวยการเลี้ยง
สัตว เปนสังคมเผานักรบ มีความสามารถในการใชมาและรถเทียมมาท่ีเคลื่อนท่ีไดรวดเร็ว
การเขามาในอินเดียของอารยันน้ันเร่ิมเมื่อประมาณ ๑,๕๐๐ ปกอนคริสตกาล และเชื่อวา
ไมไดเปนการรุกรานเขามาในคราวเดียวหรือโดยคนกลุมเดียว แตเปนการรุกรานในเวลา
หลายศตวรรษและเปนคนหลายกลุมซึ่งอาจจะผาน ประสบการณและผานเสนทางการ
อพยพที่แตกตางกนั ดังนัน้ ถึงแมวาจะเปนคนเช้ือสายอารยันดวยกัน แตคนเหลาน้ีก็มีความ
แตกตา งกันในดา นภาษาและวฒั นธรรม ลกั ษณะความหลากหลายดงั กลาวน้ีจึงยังคงปรากฏ
อยูในอินเดยี เวลาตอมา๑๔

ชาวอารยันเปนพวกกึ่งเรรอนเลี้ยงสัตว ดํารงชีวิตอยูกับการเลี้ยงปศุสัตว แมวัว
เปน สมบตั ิหรอื ทรัพยสนิ ท่ีมีคา มาก และอาจเปน ดวยเหตุนเี้ องทที่ าํ ใหแ มว วั เปนสัตวท่ีเคารพ
บูชา มีการหามบริโภคเน้ือวัวยกเวนในบางโอกาสซ่ึงถือเปนเทศกาลพิเศษ คุณคาในทาง
เศรษฐกิจของวัวทําใหคาควรเคารพดูสูงขึ้นและนาจะเปนตนเคาของ ทัศนะของคนฮินดูท่ี
ถือวาวัวเปนสัตวศักดิ์สิทธิ์ นอกจากน้ีพวกอารยันใชมาสําหรับข่ี และในการรบพุงใชมา
เทียมรถรบ เมอื่ เขามาในอินเดีย สัตวปาพวกแรกท่ีพวกอินโดอารยันรูจักคือ สิงโต เสือและ
ชางตามลําดับ ชางเปนสัตวประหลาดในสายตาของพวกอินโดอารยันจึงเรียกชางวา มฤค
หัสดิน ซ่ึงแปลวาสัตวปาที่มีมือ อันหมายถึงงวงชาง งูเปนสัตวราย แตแฝงไวดวยพลังและ
อํานาจ ความหมายนี้อาจมาจากการท่ีพวกอินโดอารยันไดเกิดขัดแยงกับชนเผานาคาซ่ึง
นับถืองู๑๕

๑.๒.๒ การขยายตัวและต้ังถ่ินฐานของอารยัน พวกอารยันไดเริ่มเขามา
อินเดียทางดานตะวันตกเฉียงเหนือซ่ึงเสนทางน้ีตอ ไปจะเปนเสนทางสําคัญท่ีอินเดียจะถูก

๑๓ ธิติมา พิทักษไพรวัน, ประวัติศาสตรยุคโบราณ, หนา ๗๔: กรมการศาสนา กระทรวง
วฒั นธรรม, ศาสนาสรา งสันติ (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.),
๒๕๔๙), หนา ๑๓๔.

๑๔ ภาควิชาประวัตศิ าสตร คณะอกั ษรศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั , อารยธรรม, หนา ๓๕.
๑๕ ธติ มิ า พทิ ักษไพรวัน, ประวัติศาสตรย คุ โบราณ, หนา ๗๔.

๘ บทท่ี ๑ การศึกษาเฉพาะเรอ่ื งในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

รุกรานจากภายนอกอีกหลายระยะตอมา จากนั้นอารยันก็ไดขยายตัวจากทางตะวันตกเขา
ไปทางตะวนั ออก โดยมีการรบพุงระหวา งอารยนั ดวยกนั เองดวย เพอ่ื แยงชิงดินแดนอันอุดม
สมบูรณ การขยายตัวของอารยันในระยะแรกน้ีจะขยายเขาไปสูบริเวณลุมแมน้ําคงคาและ
ตอ ไปทางตะวันออกถงึ แถบเบงกอลเปน สําคญั ๑๖

เมื่อตั้งรกรากในอินเดียแลว พวกอินโดอารยันก็เร่ิมประกอบอาชีพตาง ๆ กัน
ออกไป มกี ารเปลีย่ นแปลงจากปศุสัตวม าเปน กสิกรรม ท้ังน้ีเมอื่ พวกอารยันรูจักการใชเหล็ก
แลว เคร่อื งมือเคร่อื งใชก็ดีกวาเกา การหักรางถางพงก็สะดวกงายดายขึ้น เก้ือกูลตอการอยู
เปน ทเ่ี ปน ทางและทํามาหากินดว ยการทําไรไ ถนา ในชนั้ ตน ถอื กนั วา ท่ีดินเปนสมบัติรวมของ
ในหมู แตเมื่อสภาพหมูเร่ิมหมดไปมีการแบงท่ีดินใหแกครอบครัว กลายเปนสมบัติสวนตัว
จึงเกิดปญหาตามมา เชน สิทธิในการครอบครอง การวิวาทกันในสิทธิดังกลาว ตลอดจน
การรบั ชว งมรดกทด่ี นิ เปนตน เมื่อสังคมกลายมาเปนสังคมเกษตรกรรมแลว อาชีพอ่ืน ๆ ก็
ตามมา ทีส่ ําคัญ เชน อาชีพชางไมประกอบรถมา (chariot) ชางทําคันไถ ชางโลหะ ชางปน
หมอ ชางเครื่องหนัง จากน้นั ไดเกดิ การคา เมื่อมีการหักรางถางพงในดินแดนทางตะวันออก
เขตลุมนํ้าคงคาแลว ก็ไดอาศัยแมน้ําคงคาเปนเสนทางคมนาคมเพื่อการคา มีชุมนุมชนใหม
ๆ เกิดขึ้นบนฝงแมนํ้ากลายเปนตลาดการคา พวกเจาของท่ีดินท่ีมีเงินก็มักจะจางคนอื่น
ทํางานในที่ดินของตนแลวตัวเอง หันมาจับอาชีพการคา เพราะมีเวลาวางและมีเงินทุน จึง
เกิดเปนชุมชนคาขายข้ึน การคาในชั้นตนเปนเรื่องเฉพาะในทองถ่ิน การแลกเปล่ียนสินคา
(barter) ปฏิบัติกันท่ัว ๆ ไป ยกเวนในกรณีที่เปนการคารายใหญจะใชแมวัวเปนหนวยใน
การบอกราคา๑๗

จึงเห็นไดว า อารยธรรมยุคโบราณของอินเดียมีจุดเริ่มตนจากอารยธรรมสมัยสินธุ
ซ่ึงเชื่อกัน วาเปนของชนเผาดราวิเดียน ตอมาชนเผาดราวิเดียนไดถูกชนเผาอารยันกลุม
หนึง่ เขา รุกรานจนบางสวนถอย รนไปอยปู ลายแดน อีกสวนหน่ึงถูกจับลงเปนทาสรับใช ตน
เคา ของคตคิ วามเช่ือตางๆ ของสังคมอินเดียไมวาจะเปนศาสนาพราหมณและระบบวรรณะ
ลว นถอื กาํ เนดิ ขน้ึ ใน ยุคพระเวทของอารยธรรมอารยันท่ีพวกอารยันเขามายึดครองดินแดน
แถบน้ี

๑๖ ภาควชิ าประวตั ิศาสตร คณะอกั ษรศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย, อารยธรรม, หนา ๓๕.
๑๗ ธิตมิ า พทิ ักษไ พรวนั , ประวัติศาสตรยุคโบราณ, หนา ๗๔ – ๗๕.

ศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๙
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๑.๒ พระพทุ ธศาสนากับสถานการณป จจุบัน

สถานการณปจจุบัน คือ ความเปล่ียนแปลง ความเคลื่อนไหว (movement)
ขอ งเ ห ตุก าร ณ ( Event) ค ว า มเ ห็ น (opinion) คว าม คิ ด (thought) เกี่ ยว กั บ
พระพุทธศาสนา หรอื สถานบนั ทางพระพทุ ธศาสนา อนั ดาํ เนินไป หรือท่ีเปนอยใู นปจจุบัน

ในการศึกษา ใชวิธีการตามเสาะแสวงหาขบวนการของชาวพุทธท่ัวโลกที่
เคลอื่ นไหว ดําเนนิ การเพอ่ื เปาประสงคอยางใดอยางหน่ึง ติดตามเหตุการณตาง ๆ ของโลก
เชน กระแสโลกา ภวิ ัตน เพ่อื การวิเคราะหเหตุการณตาง ๆ ตามหลักวิชาและนําพุทธธรรม
ไปปรับใชใหเหมาะสมกับเหตุการณนั้น ๆ ศึกษาวิเคราะหความเห็น และความคิด ของ
มนุษยชาติที่มีตอศาสนธรรม และศาสนบุคคลของพระพุทธศาสนา รวมทั้งศึกษา
แนวความคิดและอุดมการณ (ideology) ท่ีขัดแยงและสอดคลองกับพระพุทธศาสนา เพ่ือ
การปรบั แกสว นทีบ่ กพรอ ง

ในดานบทบาท (roles) คือ สวนที่ผูแสดง ไดแก พระพุทธศาสนาหรือองคกร
พุทธจะตองแสดงก็ดี ภารกิจหรือหนาที่ของบุคลากรในศาสนาจะตองทําก็ดี จะตอง
พิจารณาวา ผูมีหนาที่ไดแสดงบทบาทเหมาะสมเพียงใดไมวาในสวนของบทบาทแท
(proper roles) หรือบทบาทตามจารีตประเพณี (customary roles)

บทบาทแท คือ บทบาทตามพระธรรมวินัย หรือ บทบาทตามพระราชบัญญัติ
ปกครองสงฆ สถานบันสงฆไดทําหนาที่สมบูรณหรือไมพุทธบริษัทไดดําเนินบทบาทตาม
พทุ ธประสงคหรือไม

บทบาทตามประเพณี คือ บทบาทท่ีผูคนคาดหวังใหสถานบันสงฆรวมทั้งพุทธ
บริษัทไดแสดง ในภาวการณบางอยาง เชน ในยามท่ีสังคมวิกฤตดวยปญหา เศรษฐกิจ
ปญหาการเมอื ง และสงั คม

บทบาทแท : สถาบนั สงฆ เกิดจากเจตนารมณ ของบคุ คลทีต่ อ งการฝกตนเพื่อพน
ทกุ ขจ นเกดิ สนั ตสิ ุขในตนเอง และนําสันติสุขน้ันมอบใหแกโลก โดยมองเห็นตรงกันวา ชีวิต
ที่เก่ียวของโลกียวิสัย เปนทางคับแคบ ไมปลอดโปรง ติดอยูในเครื่องผูกมัด คือ วัตถุ (กาม
คุณ) ไดแก รปู เสียง กลิ่น รส โผฏฐพั พะ จมผดุ อยใู นส่งิ ทั้ง ๕ นี้เทานั้น ชีวิตครองเรือนไมมี
อิสระ ขาดความคลอ งตวั ดงั นน้ั บทบาทแทของชาวพุทธ โดยเฉพาะผเู ปน บรรพชติ คือ

(๑) แสวงหาสิ่งท่ีประเสริฐ ดังพระพุทธองคตรัสวา “การแสวงหาไมประเสริฐ
คือ แสวงหาส่ิงที่มีความเกิด ความแก ความตาย ความเศราโศก ความเศราหมองเปน
ธรรมดา สว นการแสวงหาอันประเสรฐิ คือ แสวงหานิพพาน”๑๘

๑๘ ม.มู (ไทย) ๑๒/๓๑๔-๓๑๓/๓๑๔-๓๑๖ อางใน สนิท ศรีสําแดง, พระพุทธศาสนา:
กระบวนทศั นใ หม, (กรุงเทพมหานคร: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๔), หนา ๒.

๑๐ บทท่ี ๑ การศึกษาเฉพาะเร่ืองในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

แมการเรียน การศึกษาธรรม ก็มีเปาหมายอยูท่ีการดับทุกข ดังตรัสวา “ผูเรียน
ธรรม แตไ มพจิ ารณาความหมาย (เจตนารมณ) ของธรรมเหลานั้นดวยปญญา ธรรมของ
คนเหลานนั้ กไ็ มทนตอการวิเคราะห (เพง) คนเหลานั้นเรียนธรรมเพ่ือยกโทษ (ขม) ผูอื่น
เพอ่ื เปล้ืองวาทะ (โตเถียง) ผูอื่น จึงไมไดรับประโยชนของการเรียนธรรม ธรรมที่เรียนก็
ไมเ ปน ไปเพ่ือประโยชนแ ตเ ปน ไปเพอื่ ความทุกข เปรียบเหมือนคนจับงูพิษไมถูกวิธี ยอม
ถูกงพู ษิ กดั เอาได. ..เราแสดงธรรมอุปมา ดว ยแพ เพื่อใหใชขาม (นิตถรณะ) ไมใชเพื่อให
ยึดติด คนใชแพขามฝงแมน้ํา เมื่อถึงฝงแลว ไมจําเปนตองแบกแพไปดวย เม่ือรูธรรมท่ี
เราแสดงเปรียบดว ยแพแลวกพ็ ึงละพึงวางแมธ รรมไม จําเปน ตองกลาวถึง อธรรม”๑๙

การฝก สมาธิ จนจิตสงบ สามารถโนมจิตไปเพื่อญาณอภิญญา เชน ไดหูทิพย ตา
ทิพย ก็ไมใช เปาหมายโดยตรงของพระพุทธศาสนา ดังที่พระพุทธองคตรัสวา “ภิกษุ
ท้ังหลาย มิไดประพฤติพรหมจรรย ในสํานักของเรา เพื่อเจริญสมาธิ ใหไดหูทิพย ตาทิพย
เทาน้ัน แตมีธรรมที่สูงกวาซึ่งควรทําใหปรากฏ ไดแก เจโตวิมุติ (หลุดพนจากกิเลสดวย
สมาธ)ิ ปญ ญาวมิ ุติ (หลดุ พนดวยปญ ญา)๒๐
บทบาทโดยตรงของชาวพุทธ ประการแรก คือ การแสวงหาสิ่งที่ประเสริฐ (อริยปริเยสนา)
คอื การออกจากทกุ ข และการทําพระนิพพานใหแจมชัด๒๑

(๒) เม่ือเปาหมายของพระพุทธศาสนา คือการแสวงหาส่ิงที่ประเสริฐ พุทธ
ศาสนาจึงไมส งเสรมิ การติด อามิส และ ทฤษฎี
พระพทุ ธองคทรงแบง คนออกเปน สี่กลมุ บนรากฐาน คือ อามสิ ทิฏฐิ และปญญา

๑. พวกติดโลกามิสไมพนเงื้อมมือมารเปรียบเหมือนเนื้อท่ีเห็นแกเหย่ือลอ
ของนายพราน (นักธรุ กจิ )

๒. บางพวกไมติดตอนแรก แตกลับติดในตอนหลัง (เพราะทนตอความ
อยากไมได) หนีเหย่ือในตอนแรก แตตอนหลังวิ่งหาเหยื่อก็ไปไมรอด เปนพวกอุดมการณ
แตต อนหลังสลัดทง้ิ อุดมการณ มอี ุดมกนิ อุดมโกง (พวกอดุ มการณ)

๓. บางพวกไมต ิดอามสิ แตติดทฤษฎีผิด ๆ เหมือนเน้ือไมติดเหยื่อแตติดกับ
ดัก ถูกนายพรานลอมจับ เชน พวกวิพากษโจมตีความมั่นคง และการทุจริต เปนพวก
ประพฤติตนปอน ๆ แตยึดติดลทั ธิผิด ๆ (นักวิชาการ)

๑๙ ม,มู. (ไทย) ๑๒/๒๗๘/๒๖๘

๒๐ ท.ี สี.(ไทย) ๙/๓๗๒/๑๕๖

๒๑ สพฺพทุกขนิสสฺ รณนิพพานสจฉฺ กิ ริ ิยา

ศกึ ษาเฉพาะเร่อื งในพัฒนาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๑๑
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๔. บางพวกไมติดทั้งเหยื่อ และทั้งกับดัก เปนพวกฉลาด มีปญญา คือ อริย
สาวกของพระองค๒๒ (พวกบรรลคุ วามจริง)

(๓) บทบาทของชาวพุทธ นอกจากการพนทุกขของตนแลว ยงั ชวยใหผ ูอืน่ พน ดวย
ผปู ฏบิ ตั ิธรรมคือ ผูแสวงหาแสงสวา ง เหมอื นคนที่พนจากความมดื มองเหน็ แสงสวาง และ
เหน็ วา ความสวางน้ีก็ดี ก็ควรจะชวยใหค นทไี่ มไดเหน็ เปน บทบาทของปญญากบั กรุณา
การทาํ ดีไมใชการแบง ปน เพอ่ื ใหเ ราดกี วา เหมือนการแขงขันของนักธุรกจิ หรอื นักการเมือง
แตทําดเี พ่อื ชวยผูอ น่ื ใหด ีดว ย โดยคดิ วา ทกุ คนเปนเพื่อนรว มเกิดรวมแก รวมตายดว ยกัน

ผูทําบทบาทของตนสําเร็จสมบูรณ บริบูรณแลว พระพุทธองคทรงใหแตละคน
ออกไปทําประโยชนผูอื่น ดังพุทธวัจนะที่ทรงประกาศตอพระอรหันต ๖๐ องควา “ภิกษุ
ท้ังหลาย เธอจงจาริกไป เพ่ือประโยชนของชนเปนอันมาก เพื่อความสุขของชนเปนอัน
มาก เพอื่ อนเุ คราะหชาวโลก”๒๓ การออกไปมีเปา หมาย คือ การฝกมนุษย ซ่ึงเปนงานหนัก
มนษุ ยแ ตล ะคนถูกความโลภ ความโกรธ ความหลง ท่ีเรียกวา กิเลส หรอื มาร ปกครองหัวใจ
อยูไมรูก ภ่ี พกีช่ าตแิ ลว กเิ ลสมันกระปร้ีกระเปรา ทํางานอยูตลอดเวลา มนุษยจึงเปนสัตวฝก
ยาก นายเปสสะ บุตรนายควาญชางสรรเสริญพระผูมีพระภาคเจาวา “เปนที่นาอัศจรรย
พระผูมีพระภาคเจา ทรงสามารถฝก มนุษย ผูมลี ักษณะ (๑) เปนปาชัฏ (๒) เปนกากขยะ
(๓) เปน ผูชอบโออ วด๒๔ มนุษยส ว นมากชอบสรา งภาพหนาไหวหลังหลอก ปากพูดอยาง
ใจคดิ อยาง ซึง่ ไมมีลักษณะอยา งนี้ในสัตวเ ดรจั ฉาน”

ดวยบทบาท คือ การชวยใหพนทุกขในปจจุบัน ศาสนาพุทธจึงมุงไปที่การ
แกปญหาชีวิต พระพุทธเจาจึงสอนเฉพาะท่ีจําเปน “ใบไมกํามือเดียว” ไมทรงสอนปญหา
เก่ียวกับอภิปรัชญา ดังตรัสวา “ผูใดกลาววาจักไมประพฤติพรหมจรรย ถาเราไมตอบ
ปญ หาเรื่อง โลกเที่ยง โลกไมเท่ยี ง สัตวตายแลวมีหรือไมมี เราก็ไมตอบปญหานั้น และผู
น้ันก็จะตายเปลาเพราะ (การตอบ) ไมเปนไปเพอ่ื การตรสั รเู พอื่ นิพพาน๒๕

ศาสนาพุทธเปนรูปบริษัท มีพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาเปนผูถือหุน
เมื่อใดผูถือหุนไมทําหนาที่ ไมทํากิจกรรมของตน บริษัทก็ลมหายไปจากโลก กิจกรรมหลัก
ของพุทธบริษทั (ตวั ศาสนาพุทธ เปนบรษิ ทั ไมใชภ ิกษเุ ปน ตน) คอื การสง มนุษยใ หพ นทกุ ข
บทบาทแทของชาวพุทธจึงไมใชการศึกษาแตคัมภีร แตเนนการใชปญญาประพฤติตาม
ทฤษฎี และ ราคะ โทสะ โมหะ รูชอบ มีจติ หลุดพนดงั พุทธองคตรัสวา

๒๒ ม.มู (ไทย) ๑๒/๓๐๗/๑๐๔-๓๐๘
๒๓ ว.ิ ม (ไทย) ๔/๓๒/: จรถ ภกิ ฺขเว จาริกํ จรมานา พาหชุ นทติ าย พาหชุ นสขุ าย โลกานกุ มฺปาย
๒๔ ม.ม. (ไทย) ๑๓/๑๔๙/๑๔๗
๒๕ ม.ม. (ไทย) ๑๓/๓/๓

๑๒ บทที่ ๑ การศึกษาเฉพาะเร่อื งในพฒั นาการแหงพระพุทธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

“บุคคลผูประมาท เรียนพุทธพจนจนจบสามปฎก กลาวสอนไดอยางพิสดาร แต
ไมป ฏิบัตติ าม (ที่สอน) ยอมไมม ีสวนปนผลจากสมณธรรม เปรียบเหมือนนายโคบาลเฝานับ
จํานวนโคของผูอ่ืน สวนผูเรียนพุทธพจน กลาว (สอน) ไดไมกี่คํา แตประพฤติสอดคลอง
ตามหลกั การ และราคะ โทสะ โมหะได รูถูกตอง มีจิตหลุดพน (จากกิเลส) ไมยึดมั่นถือม่ัน
ท้งั โลกนแ้ี ละโลกหนา เขายอมเปนผูไดรับผลจากสมณธรรม”๒๖

บทบาทโดยทางประเพณี คือ บทบาทที่คนทั่วไป ผูซึมซับพระพุทธศาสนาไม
ลกึ ซง้ึ เปนคนท่ยี งั ตองการปลกุ ปลอบชว ยเหลอื ใหกาํ ลงั ใจ เขายังออนแอเกินไปที่จะอยูโดย
ตนของตนโดยปราศจากการประคับประคองของกลั ยาณมิตร

มนุษยแตละคน ประกอบดวยธรรมชาติสามอยาง คือ รางกาย (Body) อารมณ
(Emotion) และจติ (Mind)

รปู รางกาย เปน โครงสรางหน่งึ ของชวี ิต เกดิ จากวัตถุหลอเล้ียงยังตองอาศัยปจจัย
ส่ี คือ อาหาร เครื่องนุงหม ท่ีอยูอาศัย ยารักษาโรค คนเปนจํานวนมาก ขาดแคลนอาหาร
ไมม ีเครือ่ งนุงหม ไมมที อ่ี าศยั และปราศจากยารักษาโรค เปนผูมีสุขภาพอนามัยไมดี ถูกโรค
คุกคามท้ังโรครายแรงและไมรายแรง เขาอยูในสิ่งแวดลอมเลวราย ทั้งส่ิงแวดลอม
ธรรมชาติ และมนุษยด ว ยกันเอง และคนไมน อ ยเปน คนพิการ ชว ยตวั เองไมได หลายคนเกิด
มาถูกทอดท้งิ หรือไมก็ถกู ทอดทิ้งยามชรา

อารมณ นอกจากความผันแปรปรวน ความไมมั่นคงทางอารมณอันเกิดจากการ
ปรงุ แตง ของสังขารฝายอกศุ ล เชน ความกาํ หนัด ความขดั เคือง ความหลงผิดแลว ภาวะบีบ
รัดทางกายภาพ เชน ความยากจน ทําใหอารมณของพวกเขาออนไหว ออนแอ ขาดความ
ม่ันใจตอตัวเอง ตองการที่พ่ึงภายนอก คนพวกน้ียังตองการสิ่งเหนือธรรมชาติ ตองการสิ่ง
ศักด์ิสิทธ์ิไมวาจะเปนเทพเจา ศาลเจา เวทมนต คาถาอาคม ผีสางนางไม คนทรง เสนหยา
แฝด นํา้ พระพุทธมนต

ขอมูล (Information) ท่ีเขาไดรับทางประสาทท้ังหก มีอํานาจชักจูงใหพวกเขา
คลอยตาม คําสอน คําบอกเลาซ้ํา ๆ ซาก ๆ ผานทางบุคคล หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน
สถาบันการศึกษา การโฆษณาของนักการเมือง ความเลวรายของนักปกครอง ของอาชญา
กร ของการจราจร ฯลฯ ลวนเปนปจจัยใหคนมีอารมณเสีย หงุดหงิดงาย รักงาย โกรธงาย
โมโหงาย เห็นแกตัว เปนโรคทางอารมณ คือ ความเครียด และโรคอิงความเครียด เชน

๒๖ ธมฺมปทฎฐกถา ๕/๑๔๖/๑๔๗: พหุมฺป เจ สํหิตํ ภาสมาโน น ตกฺกโร โหติ นโร ปมตฺโต โคโปว
คาโว คณยํ ปเรสํ น ภควา สามฺญสฺส โหติ อปฺปมฺป เจ สหิตํ ภาสมาโน ธมฺมสฺส โหติ อนุธมฺมจารี ราคฺจ
โทสฺจ ปหาย โมหํ สมมฺ ปปฺ ชาโน สวุ มิ ตุ ฺตจติ โต อนุปาทยิ าโน อธิ วา หุรํ วา ส ภควา สามญฺ สสฺ โหตตี ิ

ศกึ ษาเฉพาะเรือ่ งในพัฒนาการแหง พระพทุ ธศาสนา ๑๓
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

มะเร็ง ความดัน ชีวิตเต็มไปดวยอารมณฝายต่ํา เพราะสภาพเอ้ือกิเลสเหมือนแหลงสกปรก
และเชือ้ โรค

จิต ภาวะประภัสสรเรืองรอง ถูกคลุกเคลา กลุมรุม จากอารมณฝายตํ่าหมด
สภาพ ยากแกการพัฒนา กลายเปนจิตโกรธ จิตโลภ จิตหลง ไมเปนตัวของตัวเอง แตเปน
ตวั ของกิเลส ขาดความปลอดโปรง ยากทจ่ี ะมองสิ่งตาง ๆ ตรงตามเปนจริง เวลาเกิดปญหา
สติเตลิด ปญญาเกิดไมทันทําช่ัวแลวจึงคิดได จิตตัวรู ถูกกักขังอยูในหองมืด อันสรางโดย
นักการศาสนา นักการเมืองลัทธิปรัชญา โรงเรียน และแมแตมหาวิทยาลัย ปญญาที่แท
(วปิ สสนา) ถูกความฟงุ ซา นกลบไว ถูกนิวรณกลบเกลื่อนไวทําใหหลงเห็นของเทียมเปนของ
แท เห็นส่ิงไรสาระวาเปนสาระ ความพินาศยอยยบั กต็ ามมา ดังที่ตรสั ไววา
“ผูเขาใจ ส่ิงไมมีแกนสารวามีแกนสาร (สารัตถะ) เห็นส่ิงมีแกนสารวาไมมีแกนสาร
(อสารัตถะ) ผูดําเนินไปตามความดําริผิด ยอมไมพบสิ่งเปนแกนสาร ผูรูสิ่งมีแกนสารวา มี
แกนสาร และส่ิงไมมีแกนสารวา ไมมีแกนสารดําเนินไปตามความดําริถูก ยอมพบส่ิงเปน
สาระ”๒๗

ในโลกทป่ี ระชาชนมคี วามขาดแคลนและพรองดวยทางดานรางกาย ดานอารมณ
และดานจิตใจ พวกเขาคาดหวังอะไรจากศาสนา ขบวนการชาวพุทธควรจะแสดงบทบาท
อะไร จงึ จะสอนตามความคาดหวังของประชาชน

๑.๓ พระพทุ ธศาสนากับวทิ ยาการสมัยใหม

พระพุทธศาสนาจําเปนตองอาศัยวิทยาการสมัยใหมมาเปนฐานในการอธิบาย
และเปนสื่อในการนําเสนอใหพระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงวิถีชีวิตมากยิ่งขึ้น ดังท่ี
ไอนสไตนย้ําวา ““วิทยาศาสตรท่ีไมมีศาสนายอมพิกลพิการ สวนศาสนาที่ไมมี
วิทยาศาสตร”๒๘ วิทยาการสมัยใหมมีจุดเนนสําคัญในการแสวงหาความจริง อีกท้ังเปน
เคร่อื งมือทีท่ าํ ใหม นษุ ยฉ ลาดทีจ่ ะเอาตวั เองใหรอด ดังนั้น วิทยาการสมัยใหมนอกเหนือจาก
การแสวงหาความจริงแลว ยังนําไปสูการใชความรูเพื่อแสวงหาโลกธรรม และนําความรูไป
เปนเครื่องมือในการบูรณาการกับอาชีพของตัวเอง ในขณะท่ีพระพุทธศาสนามีจุดเดนท่ี
เนนใหผูเรียนมีความรูวาอะไรควร หรือไมควร โดยมีจุดเนนเพื่อสรางฉลาดดานจิตใจเพื่อ

๒๗ ธมฺมปทฏฐกถา ๑/๑๐๔: อสาเร สารมติโน สาเร จ อสารมติโน เตสารํ นาธิคจฺฉนฺติ มิจฉา
สงกปฺป โคจรา สารจฺ สารโต ญตวฺ า อสารจฺ อสารโต เต สาธํ อธิคจฺฉนฺติ สมมฺ าสงฺกปปฺ โคจรา

๒๘ “Science without religion is lame, religion without science is blind” อางใน
พระธรรมโกศาจารย, วธิ บี รู ณาการพระพุทธศาสนากับศาสตรสมัยใหม, อางแลว , น. ๔๘.

๑๔ บทท่ี ๑ การศกึ ษาเฉพาะเร่ืองในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

พัฒนาชวี ติ ตวั เอง บุคคลอื่น และสิ่งอืน่ ในสังคมรู ต่นื และเบิกบานมากยิ่งข้ึน ฐานคิดสําคัญ
ของศาสนาคือ ศีลธรรม

วิทยาการสมัยใหมมุงความจริง พระพุทธศาสนามุงศีลธรรม สัจธรรมที่มนุษย
แสวงหามี ๓ อยาง คือ ความจริง(Truth) ความดี (Goodness) ความงาม (Beauty) และ
ความสุข (Happiness) วิทยาการสมัยใหมในประเด็นท่ีเกี่ยวของวิทยาศาสตรนั้น เปน
ศาสตรมุงแสวงหาความความจริง และพิสูจนความจริง ในขณะท่ีพระพุทธศาสนาเปน
ศาสตรท่ีมุงเนนในการแสวงหาความดี ความงาม และความสุขใหแกมนุษยในเชิงปจเจก
และสังคมโดยรวม ในขณะเดียวกันหากมอง “ความจริง” ในมิติของวิทยาศาสตร และ
พระพุทธศาสนานั้น มีจุดรวมที่สําคัญประการหนึ่งคือ “ความจริงตามกฎเกณฑของ
ธรรมชาติ” พระพุทธศาสนามีจุดยืนทช่ี ัดเจนวา ไมว าพระพุทธเจาจะถอื กําเนิดหรือไมก็ตาม
ความจริงตามธรรมชาติน้ันเปนสิ่งที่ปรากฏและมีอยูแลว พระองคเปนเพียงผูเขาถึง
กฎเกณฑธ รรมชาติ และนาํ กฎเกณฑด งั กลา วมานาํ เสนอแกมนษุ ยชาติ๒๙

เมื่อกลา วถึงพระพทุ ธศาสนากับวทิ ยาการสมัยใหมแลว ยังจําเปนตองกลาวถึงจุด
มงุ หมายของพระพทุ ธศาสนาที่นาสนใจในมิติดงั ตอไปน้ี

พระพุทธศาสนามุงศึกษาโลกภายใน พระพุทธเจาทรงศึกษาวิทยาการ หรือ
ศาสตรตางๆ ท้ัง ๑๘ ศาสตร แตพบความจริงวา ศาสตรเหลานั้นเปนการเรียนรู เพื่อให
เขาใจโลกภายนอกไดชัดเจนมากยิ่งข้ึน อีกท้ังพระองคไดทรงใชศาสตรเหลานั้นเปน
เครอ่ื งมอื ในการดาํ เนินชีวิตท่สี มั พันธก ับโลกภายนอก ถึงกระนั้น การเรยี นรศู าสตรภายนอก
เปนประดุจคําถามปลายเปด ท่ีไมสามารถแสวงหาจุดบรรจบ และสนองตอบตอความอยู
รอด และความสวา งไสวทางจติ ใจและปญญา จึงทําใหพระองคตระหนักรูวา การท่ีจะทําให
ชีวิตคน พบจุดจบอยา งแทจ ริงนนั้ คอื การศกึ ษาเพ่ือใหเขา ใจโลกอยา งทองแท

วิธีการศึกษามีมากมายหลายวิธี เชน วิธีการศึกษาตามแนวประวัติศาสตร วิธี
การศกึ ษาแบบวิเคราะห วธิ ีการแบบสงั เคราะห วิธีการศึกษาแบบคิดสังเคราะหกอนแลวจึง
คอยวิเคราะห วิธีการศึกษาแบบถอดร้ืนสราง วิธีการศึกษาแบบต้ังคําถามใหคิด วิธี
การศึกษาแบบเนนใหเห็นบวนและลบเพื่อเลือกเอาอยาง แตไมเอาเย่ียง และวิธีการศึกษา
แบบเนนใหเห็นคุณคาทางปฏิบัติเพื่อนําไปปรับประยุกตใชในชีวิตจริง นับวาเปนสิ่งจําเปน
อยางย่ิงยวดในการศกึ ษาเรยี นรู และจาํ เปนตองเนนเปนพิเศษดวยโดยตัวอาจารยผูสอนเอง

๒๙ พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส, รศ.ดร., “ พระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม: ตัวแบบ
วิธวี ทิ ยาวา ดวยพุทธบรู ณาการและพทุ ธสหวิทยาการ”, (กรุงเทพมหาคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย ([email protected] ปรับปรุงคร้ังลาสุดวันพฤหัสบดี ท่ี ๙ กุมภาพันธ พ.ศ.
๒๕๕๕)

ศกึ ษาเฉพาะเรือ่ งในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา ๑๕
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

เหตุวาพวกมันจะทําใหผูศึกษาไมเพียงแตจําได แตยังจะทําใหผูศึกษาน้ันๆ คิดนอกกรอบ
เปน ทําใหเห็นคุณคาทางปฏิบัติในแบบมองเห็นเย่ียง-อยางไดและสามารถนําไปปรับ
ประยุกตใชในชีวิตและสังคมไดดวย วิธีการศึกษาท่ีกลาวมาแลวเหลาน้ัน มีรายละเอียดที่ท่ี
จะอธบิ ายพอใหเปน แนวทางศกึ ษาดงั น้ี๓๐

๑. วธิ ีการศึกษาตามแนวประวตั ศิ าสตร
ประวตั ิศาสตร (history) เปนวชิ าท่ศี ึกษาและวิเคราะหเหตุการณท่ีเกิดข้ึนแลวใน
อดีตนานวัน นานเดือน นานปที่ผานมา วิธีการศึกษาตามแนวประวัติศาสตรท่ีมีความมุง
หมายจะศึกษาและวิเคราะหเหตุการณในอดีตอยางน้ี จึงจะทําใหผูศึกษาไดรับรูบทเรียน
จากอดีต อันจะชวยทําใหเขาใจปจจุบัน เพ่ือจะไดเลิกละส่ิงท่ีไมดีและพัฒนาส่ิงท่ีดีงาม ท้ัง
ยังอาจทํานาอนาคตไดดวย ย่ิงไปกวาน้ัน การรูประวัติศาสตรยังทําใหผูศึกษาสามารถลวงรู
ถึงความเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการแหงประวัติศาสตรของสังคมและบุคคล ตั้งแตอดีตมา
ในแบบมีรากเหลา ไดวา เขา เธอ หรือมันเปนมาอยา งไรจึงเปน อยางนี้?
ดังน้ัน วิธีการศึกษาตามแนวประวัติศาสตร (historical approach) ที่สามารถ
นาํ มาใชก บั การศกึ ษาไดก็คือการทําใหผูศึกษามุงสนใจคนควาแบบเจาะลึกในเรื่องท่ีเปนภูมิ
หลังอันเปนอดีตของบุคคลหรือเหตุการณนั้นๆ เพื่อใหรูความเปนมาและเปนไปของทานใน
เร่ืองนั้นๆ สรรพส่ิงท่ีเกิดข้ึนในสังคมยอมมีรากเหงา บุคคลหรือเหตุการณน้ันๆ ก็ยอมมี
รากเหงาทีเ่ ปน ภูมิหลงั หรอื ทนุ ทางสงั คม หนุนหลังทานอยูแน ดังนั้น การจะเขาใจปจจุบัน
ไดดีจึงจําเปนตองยอนหลังกลับไปมองภูมิหลังหรือทุนทางสังคมท่ีเปนรากเหลา (back to
the root) ของบคุ คลหรอื เหตกุ ารณนนั้ ๆ จงึ จะเขาใจความเปน มาไดอยางถูกตอ ง
๒. วิธกี ารศกึ ษาแบบวเิ คราะห
วิเคราะห (analysis) คือการจําแนกแยกแยะองคประกอบของส่ิงที่จะพิจารณา
ออกเปนสวนๆ เพ่ือคนหาวา สิ่งน้ันมาจากอะไร มีองคประกอบอะไรบาง ประกอบขึ้นมา
เปนอยางที่เปนไดอยางไร และมีความเช่ือมโยงกันอยางไร การวิเคราะหมีจุดมุงหมายหลัก
เพ่ือตรวจสอบ ตีความ ทําความเขาใจ หาความสัมพันธกันเชิงเหตุผลและสืบคนความจริง
เพื่อนําไปสูขอสรุปตัดสินเรื่องท่ีวิเคราะหน้ันๆ ถือเปนความสามารถหรือทักษะท่ีมีสูงกวา
ความเขาใจและการนําเอาไปปรับใชของบุคคลผูฝกคิด ซ่ึงการคิดแบบวิเคราะหอยางน้ี
เปรียบเสมือนการเห็น ผละลัพธของบางส่ิงบางอยางแลว ไมดวนสรุปทันท่ี แตพยายามจะ
หาขอเท็จจริงท่ีถูกปดซอนอยู ที่ไมอาจมองเห็นดวยตาไดเสียกอน โดยวิธีทําการวิเคราะห

๓๐ อภญิ วัฒน โพธิ์สาน, ชีวิตปละผลงานนักปราชญพุทธ, (มหาสารคาม: ภิชาติการพิมพ,
๒๕๕๗), หนา ๑๑-๒๑.

๑๖ บทท่ี ๑ การศกึ ษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

กอนท่ีจะสรุปหรือตัดสินชี้ขาดบางสิ่ง บางอยางลงไปแบบยีนยันหรือปฏิเสธ คนที่มี
ความสามารถดานการวิเคราะหไดด ี ยอ มเขาใจตอส่ิงใดสิง่ หนึง่ ไดอ ยางแทจริง

วิธีการศึกษาแบบวิเคราะห (analytical approach) ท่ีสามารถนํามาใชกับ
การศึกษาเฉพาะเร่ืองในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนาได ก็คือการทําใหผูศึกษาใสใจตอ
การแยกแยะประเด็นตางๆ ออกเปนเรื่องๆ ในประวัติและเหตุการณท่ีจะศึกษาน้ันๆเพื่อทํา
ใหมองเห็นประเด็นตามรูปศัพทหรืออักษรแลวจึงคอยใหมองเจาะลึกเขาไปในประเด็น
เพื่อใหมองเห็นเน้ือหาสาระความจริงที่ซอนอยูภายในเรื่องหรือประเด็นน้ันๆ โดยผูศึกษา
อาจใชคําถามนํากอนวา ทานเปนใคร ทานทําไร ทานอยางไร ทานทําที่ไหนและทานทํา
เมอื่ ไร ขณะกาํ ลังศกึ ษาอยูเพือ่ ใหต นไดมองเห็นประเดน็ ศึกษาขัด แลวจึงตามติดดวยคําถาม
เจาะลึกเชิงปรัชญาในใจ ในเม่ือไดมองเห็นเร่ืองราวหรือประเด็นศึกษาน้ันแลววา ทําไมจึง
เปนอยางนี้หรืออยางนั้น? เพื่อคนหาเหตุของการมีหรือการเปนอยางนั้นหรืออยางนี้ โดย
อาศัยการตีความและขอมูลหลักฐานมาชวยสนับสนุนเพื่ออธิบายความใหกระจายจางแจง
ประหนึง่ การใชม อื ดันรมทีห่ บุ อยใู หกางออก

๓. วิธกี ารศึกษาแบบสงั เคราะห
สังเคราะห (synthesis) คือความสามารถในการคิดยอยอ ประมวลหรือรวบรวม
สว นประกอบยอ ยๆ หรือสวนใหญของเนื้อหาทีจ่ ะพิจารณานั้นๆ เขาดวยกัน เพื่อหลอมรวม
ใหเปนเร่ืองราวอันหน่ึงอันเดียวกัน ซ่ึงการคิดแบบสังเคราะหนี้จะมีลักษณะเปน
กระบวนการหลอมรวมเน้ือหาสาระของเร่ืองราวตางๆ เขาดวยกัน เพื่อสรางรูปแบบหรือ
โครงสรา งใหมท ี่ยงั ไมช ดั เจนมากอนเปนกระบวนการที่ตองใชความคิดเชิงสรางสรรคภายใน
ขอบเขตของเร่ืองหรอื ประเดน็ ตามทีก่ ําหนดให
๔. วิธีการศึกษาแบบคิดสังเคราะหก อนแลวจึงคอ ยวิเคราะห
การคิดสังเคราะห (synthetical thinking) คือ การคิดมองเนื้อหาแยกยอยๆ ให
เห็นแบบองครวมของสิ่งที่กําลังพิจารณาอยูน้ันวา มันมีภาพรวมหรือแนวคิดรวบยอดเปน
อยางไร คือมองเห็น ผลที่ปรากฏอยูใหไดเสียกอน จากนั้นจึงใชการวิเคราะห (analysis)
คือการคิดแยกยอยเปนประเด็นๆ ยอนกลับจากผลไปหาเหตุ เพ่ือหาองคประกอบแยกสวน
ของสิ่งท่กี ําลังพจิ ารณาอยูนั้น เอามาเปนหลกั ในการคดิ มองอีกที วิธีการอยางนี้เปนวิธีการท่ี
นํามาใชกันมากโดยนักคิดท่ีมีชื่อเสียงของโลก เชน อัลเบิรต ไอนสไตน และริชารด ไฟน
แมน เปนตน ท้ังน้ีก็เพราะวาการศึกษาแบบแยกยอย (วิเคราะห) จะเกิดข้ึนไดก็ตอเม่ือมี
เทคนิคการเรียนรูแบบองครวมมากกอน ริชารด ไฟนแมน นิยมใชวิธีการเรียนรูแบบ สืบ
ยอนกลับจากผลมาหาเหตุ โดยทานจะอธิบายใหเห็นถึงประเด็นใหญภาพองครวมของ
ปรากฏการณใ หแกน ักศกึ ษาไดฟง เสยี กอน เพ่ือกระตุนใหเกิดความอยากรูอยากเห็น กอนที่

ศกึ ษาเฉพาะเร่ืองในพัฒนาการแหง พระพทุ ธศาสนา ๑๗
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

จะเจาะลวงลักแยกแยะเขาไปยังประเด็นที่ตองการจะสอนใหลูกศิษยเขาใจ ปจจุบัน
ประเทศท่ีระบบการศึกษาที่พัฒนาแลวไดหันเปลี่ยนมาเปนการเรียนการสอนแบบสืบ
ยอนกลับจากผลมาหาเหตุ (problem-based learning) โดยมาก เพราะจะทําใหผูศึกษา
พัฒนากระบวนการคดิ วิเคราะหไดเกงมากข้นึ กวา มองจากเหตไุ ปหาผล

พระพุทธเจาและนักคิดในพุทธศาสนานิกายเชน นิยมใชวิธีการนี้สอนใหลุกศิษย
คดิ มองประเดน็ ตา งๆโดยพระพทุ ธเจา ทรงสอนใหผูฟงธรรมเห็นประเด็นจากคําตอบหรือผล
ในแบบสังเคราะหเสยี กอ น แลว จึงวิเคราะหเหตุ เชน ในหลักอริยสจั ๔ พระองคจะทรงสอน
ใหผูฟงธรรมจากพระองคเขาใจถึง ทุกขหรือหรือปญหา ซ่ึงเปนเห็นผลกอน กอนที่จะทรง
สอน สมุทัย ซ่ึงเปนเหตุแหงทุกขหรือปญหา จากนั้นที่จะทรงสอน มรรค ซ่ึงเปนมรรควิธี
ของการดับหรือแกทุกขหรือปญหา อาจารยเซนเองก็นิยมใชวิธีคิดแบบสืบยอนกลับนี้
เชน กันกบั ลูกศษิ ยในการทําใหเ กิดปญญา โดยวิธีสังเกตจากธรรมชาติภายนอกกอนแลว จึง
ยอนมาวิเคราะหภายใน จากน้ันจึงมีการตั้งปริศนาธรรมตางๆ ซ่ึงเรียกวา โกอาน ถามจาก
ธรรมขาติรอบตัว ท่ีดูเหมือนจะแสนธรรมดา วิธีการอยางน้ีของอาจารยเซน มีผลทําใหลูก
ศิษยสามารถบรรลุธรรมไดโดยฉับพลัน (ชาโตริ) จากการคิดใครครวญจากผลกอนแลวจึง
ยอ นมาสบื สาวหาเหตุ

๕. วธิ ีการศึกษาแบถอดร้ือสราง
การถอดรอื้ สราง(deconstruction) คือวธิ กี ารอานเน้ือหาหรือตัวบท (text) เพ่อื
จะคน หาจนพบเจอความหมายอื่นๆ ที่เนอื้ หาหรือตวั บทที่กลา วน้นั กดทบั ปดซอนเอาไว จึง
ไมป รากฏออกมาใหเ ห็นได เปนการหาความหมายอน่ื ๆ (polysemy) ที่ยงั มคี วามคลมุ เครือ
อยขู องคาํ หรือวลที ี่พูด ที่มคี วามหมายมากกวา สองแงขนึ้ ไป เม่ือใชใ นบริบทท่ีตา งกนั้ เชน
คาํ วา “ขัน” ในภาษาไทย
หากใชเ ปน คาํ นาม หมายถึงภาชนะตักนํา้
หากใชเปนคาํ วิเศษณ หมายถึงอาการนาหวั เราะขบขนั
หากใชเ ปนคาํ กริ ิยา หมายถึงการทําใหตึงหรอื ทําใหแ นน
หากใชเปน คาํ กิรยิ าของสตั ว หมายถงึ อาการสง เสียงรองขันของไก
วธิ ีการถอดรือ้ สรา งจะแสวงหารายละเอยี ดวา เนื้อหาท่ีพูดออกมานั้นไดบดบังปด
ซอนเง่ือนไขอะไรบางอยางที่เปนพื้นฐานแทจริงของเนื้อหาหรือตัวบทเองนั้นเอาไวโดยไม
รตู วั บาง โดยเงอ่ื นไขท่วี าเหลาแยง กบั ตรรกะที่เน้ือหาหรือตัวบทน้ันเสนอออกมา ดวยเหตุน้ี
การวิเคราะหห าจุดที่ระบบกดทับปด ซอ นเอาไวใ หไดพบเจอกอนแลวจึงดังออกมาใหเห็น จึง
เปนการถอดรื้อสรางเน้ือหาน้ันๆ เพื่อเผยใหเห็นความยอนแยงในโครงสนรางเดิม ดังนั้น
การถอดรอ้ื สราง กค็ ือการรือ้ ใหเหน็ ความหมายใหมท ่ีถูกกดทับปดซอ นเอาไวนั่นเอง แนวคิด

๑๘ บทที่ ๑ การศึกษาเฉพาะเรอ่ื งในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

เปน การส่อื ถึงการถอดร้ือรูปแบบตา งๆ ท่ยี ึดถอื กันอยเู ดิมเพ่ือสรา งสรรคใหมกับของเดิมโดย
ไมยึดติดกับของเดิม โดยมีความหมายส่ือนัยได ๒ นัยในลักษณะเปนลบและเปนบวก
กลาวคือ นัยหนึ่งมีสาระสําคัญอยูที่การทําลาย (เชิงลบ) เพราะคนหาความหมายมา
สรางใหมแ ทนของเกา โดยมีวธิ กี ารทางปรัชญาอยู ๓ ขน้ั ตอนสําคัญ คอื

๑) ลดทอดเน้ือหาหรือตัวบททีเ่ สนอออกมา
๒) สรางความหมายใหมตามการคนพบจากท่ีถูกกดทับปดซอนไวในเนื้อหา
หรือตัวบทท่ีเสนอออกมานัน้
๓) ทําลายเนื้อหาหรือตัวบทท่ีถูกนําเสนอออกมาแลวนั้นโดยเผยใหเห็น
ความยอนแยง ในโครงสรา งเดิม
วิธีการศึกษาแบบถอดรื้อสราง (deconstructional approach) ที่สามารถจะ
นํามาใชกับการศึกษา ประวัติและสถานการณที่ปรากฏในคัมภีรพระพุทธศาสนาได ก็คือ
การอานเนื้อหาหรือตัวบทของประวัติบุคคลและสถานการณน้ันๆ ในประเด็นตางๆ กอน
แลว จึงวเิ คราะหห าสง่ิ ทีถ่ กู ตอ งของเนือ้ หาหรือตวั บทน้ัน อันจะทําใหพ บเจอวา
๑) สง่ิ ที่พบเห็นดวยสายตาอาจมิใชสง่ิ ท่ีจริง แตสิ่งที่แทจริงอาจแฝงอยูในส่ิง
ท่ีไดพ บเหน็ แลว นน้ั ก็เปน ไปได
๒) สาระของเน้ือหาหรือตัวบทของประเด็นศึกษามีทั้งความหมายโดยตรง
และความหมายโดยออ ม
๖. วิธีการศกึ ษาแบบต้งั คาํ ถามใหค ดิ
การตั้งปญหาขึ้นถามเพื่อสอบถามหรือใหคิด ไมวาจะเปนโดยตัวอาจารยเองตั้ง
ปญหาขึ้นสอบถามลุกศิษย หรือตัวลุกศิษยเองตั้งปญหาขึ้นสอบถามอาจารยถือวาเปน
วิธีการท่ีสําคัญประการหนึ่งใน หัวใจนักปราชญ คือ สุ, จิ, ปุ, ลิ, หรือ ฟง คิด ถาม เขียน
หลังจากที่ไดฟงการบรรยายหรอสนทนาพูดคุยกันและผานกระบวนการคิดทบทวนมาแลว
แตยังมีขอชวนใหสงสัยหรือตองการตอยอดความคิด กอนท่ีตนจะขีดเขียนจดบันทึกเอาไว
กนั หลงลืม
ในการเรยี นการสอน พุทธศาสนาไดแบงระดบั ความรเู อาไว ๓ แบบ คือ
๑) สุตมยปญญา เปนความรูระดับแรกท่ีไดจากการเห็น การฟง การอาน
เปนความรปู ระเภทความจําได ระลักได แบบทอ งจาํ เอาไว
๒) จิตามยปญญา เปนความรูระดับที่ ๒ ทไี่ ดจากการคิด วิเคราะหไตรตรอง
อยา งมีเหตุมีผล เปนความรปู ระเภคื วามเขา ใจมีจนิ ตนาการ คิดสรางสรรคเปนประโยชนตอ
ตนและคนอื่น ความรรู ะดบั นพ้ี บไดม ากในหมูนักวิชาการ นักปรัชญา ปญญาชน นักบริหาร
และนักวิทยาศาสตรเ ปนตน

ศึกษาเฉพาะเร่อื งในพฒั นาการแหง พระพุทธศาสนา ๑๙
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๓) ภาวนามยปญญา เปนความรูระดับสูงที่เกิดจากจิตมีกําลังสติสูงมาก จน
เขาถึงความจริงแทของชีวิตและโลก ความรูระดับน้ีเปนระดับความรูท่ีทําใหหยั่งรูสรรพสิง
ไดอ ยา งแทจ ริง

ในความรูหรือปญญาท้งั ๓ แบบน้ี หากพูดถึงผูที่ยังตองเก่ียวของกับชีวิตทางโลก
จินตามยปญญาถอื วาสาํ คัญกวา สตุ มยปญ ญา ดังท่ปี ระโยคคําพูดอันเปนอมตะของอัลเบิรต
ไอนสไตน ที่ซึ่งปฏิบัติวงการศึกษาของโลก พูดยืนยันวา “imagination is more
important than knowledge” (การคดิ จนิ ตนาการสําคญั กวา ความรู) คําพดู นีย้ อมเปนคํา
กลา วท่แี สดงวา ไอนส ไตนมิไดใหความสําคัญกับวิธีการเรียนรูแบบสุตมยปญญามากนักเลย
เพราะความรูจากการสอนแบบนี้ อยากรเู มอ่ื ใด กห็ ยิบหนังสือในเรอ่ื งทเ่ี กยี่ วของออกมาเปด
อานเอาความรูได แตก็มีใชวาความรูจะไมสําคัญในชีวิตเหตุวาการคิดจินตนาการใดๆ โดย
ขาดพื้นฐานของความรูแลว จะกอนเกิดเปนอันตรายอยางยิ่งได การคิดจินตนาการจึง
จําเปนตองมีพื้นฐานของความรูแลว จะกอเกิดเปนอันตรายอยางยิ่งได การคิดจินตนาการ
จึงจําเปนตองมีพ้ืนฐานความรูประกอบดวยจะยิ่งดี ดังน้ัน การเรียนการสอนดวยวิธีการ
ทองจํา แบบกลาววาไดเปนนกแกวนกขุนทอง จึงควรยกเลิกเสีย แตควรหันมาให
ความสาํ คญั กบั การเรียนการสอนแบบใหคิดจินตนาการแทนใหมาก ดังท่ีไอนสไตนพูดไววา
“ควรคิดจนิ ตนาการหาคาํ ตอบใหได กอนที่จะลงมอื พสิ จู น (ความจริง)”

ไอนสไตน ซง่ึ นับเปนนักวทิ ยาศาสตรอ จั ฉรยิ ะระดบั แนวหนาของโลก เปนคนชาง
ถามเพ่ือคิดหาความรูตั้งแตวัยเด็กจนโตใหญ ทานจึงเปนนักวิทยาศาสตรท่ีเกงและมีความ
สมารถในการคิดวิเคราะหมาก หากปรารถนาจะใหลูกศิษยเปนคนเกงดานการคิดอยาง
ไอนสไตน อาจารยผ สู อนจึงตองรูจ กั ตัง้ คําถามใหลูกศิษยคิด หากวาลูกศิษยท่ีเรียนนั้นไมคิด
ตั้งปญหาข้ึนถามเอง “(เหตุวา) ศิลปะอันสูงสุดของความเปนครู (อาจารย) ก็คือการชวย
ปลุกเราผูเรียนใหตระหนักวา อยาคิดวาการศึกษาเปนหนาท่ี แตจงถือวา น้ีเปนโอกาสท่ี
ดีกวาคนอื่นท่ียะเรียนรู” และควรจําใสใจไวเสมอวา หนาที่ของครูอาจารย ก็คือ การสราง
ความอยากรอู ยากเห็นใหเกิดข้ึนในตัวผูศึกษา ไมใชใหความรูเพียงอยางเดียว แตองสอนให
ผูศ กึ ษาคิดจินตนาการเปนดว ย

นอกการศึกษาโดยวิธีการการตั้งปญหาใหผูศึกษาคิดแลว วิธีการสินและวิธี
แสวงหาความรูท่ีนาํ มาใชส อน กม็ คี วามสําคญั ตอ การเรยี นการสอนไมนอย เราทําอยางไรจึง
จะทาํ ใหผูศึกษาบงั เกิดมี “สิ่งท่ียังหลงเหลืออยูแมภายหลังจากลืมทุกส่ิงทุกอยางท่ีเคยเรียน
มาในโรงเรียน วิทยาลัย หรือมหาวิทยาลับแลวได” และสิ่งที่วานี้ก็ไมนาจะมีอะไรสูวิธีการ
สอนท่ีจะใหเ รยี นรู ซึ่งมีความสําคัญมากกวาการสอนความรูใหอยางเดียวไดเลย นั่นก็คือวา

๒๐ บทที่ ๑ การศกึ ษาเฉพาะเร่อื งในพฒั นาการแหง พระพทุ ธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

จงสอนวธิ ีการจับปลาใหล ูกศษิ ยเพื่อใหจับปลากินเองเปน แตไมควรสอนแบบเอาปลาใหลูก
ศิษยกินไปวนั ๆ

๗. วิธีการศึกษาแบบเนนใหมองเห็นบวกและลบเพื่อเลือกเอาอยางแตไมเอา
เย่ียง

ชีวติ ของคนเรายอมมีทั้งแงเปนบวกคือ จุดเดน และแงเปนลบ คือ จุดดวย ในตัว
บุคคล ไมมีคนใดเลยในโลกน้ี จะมีชีวิตเปนบวกหรือเปนลบโดยสมบูรณแบบ เพียงแตวาดี
หรือไมดีน้ีใครจะมีอยูในตนมากเทาน้ันเอง ดังนั้นการศึกษาประวัติบุคคล สถานการณจึง
จําเปน ตองศึกษาเรยี นรูท ้งั ๒ ดา นใหร อบดา น เพอื่ ใหมองเหน็ ภาพชวี ติ ของบุคคลน้ันๆ และ
บริบทของสถานการณไดตามความเปนจริง ซึ่งจะมีท้ังสําเร็จและลมเหลวหรือดีและไมดีอยู
ในตน และเมื่อไดมองเห็นภาพความเปนจริงของประวัติบุคคล และสถานการณท้ัง ๒ ดาน
อยางนี้วา “ดีตรงไหน ไมดีตรงไหน” ไดแลว ยอมจะทําใหผูศึกษาสามารถทําการอาน
วิเคราะหประวัตบิ ุคคล สถานการณไ ดดวยดี จนมองเหน็ แบบอยาง หรือเย่ียงอยาง ของการ
ปฏิบัติเพ่ือยอนกลับมาดูตัวตนผูศึกษาในแงพัฒนาหรือปรับแกได เหมือนที่คนโบราณ
สังเกตเห็นนิสัยของนกอีกาท่ีขยันต่ืนแตเชาตรูเพ่ือโผบินออกหากิน ซึ่งจัดเปนนิสัยที่ดีของ
ของอีกา แตกระนั้นอีกาก็มีนิสัยเสียที่ชอบบินโฉบลงลักขโมยส่ิงของคนอ่ืนเอาไปกิน ดังนั้น
เมอ่ื อานนสิ ัยของอีกาออกจากการสงั เกตศกึ ษาแลวนั้นจึงไดมีคํากลาวเตือนใหเลือก “เย่ียง-
อยาง” ของอีกาเอาไวใหไดคิดวา “จงเอาอยางกา (ที่ขยันออกหากินแตเชา) แตอยาเอา
เยี่ยงกา (ทชี่ อบลักขโมยสิ่งของเขากิน)”

การสอนแบบเนนใหมองเห็นบวกและลบเพ่ือเลือกเอาอยาง แตไมเอาเย่ียงอยาง
น้ีมาใชสอนได เพื่อฝกลูกศิษยใหมองเห็นภาคความสําเร็จของการศึกษาเฉพาะเรื่องใน
พัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา การศึกษาเรียนรูจากบุคคลสําคัญและเหตุการณท่ีปรากฏ
ในพระพทุ ธศาสนาแลว จะทาํ ใหเ หน็ ภาพไดช ดั เจน ท่เี ปนแบบอยางทางการปฏิบัติตนไดงาย
ข้ึน และยังจะสามารถตอยอดจากความจากบุคคลสําคัญและเหตุการณท่ีปรากฏใน
พระพุทธศาสนาไดดวย สวนการมองเห็นสวนไมดีบางแงผูศึกษาสามารถนําเอามาเปน
บทเรียนในการสอนและนําเอามาเปนบทเรียนสอนใจตนเอง หลีกเวนไมปฏิบัติตาม
เย่ียงอยาง

๘. วิธีการศึกษาแบบเนนใหเห็นคุณคาทางปฏิบัติเพ่ือนําเอาไปปรับ
ประยุกตใชจ ริง

คุณคาทางปฏิบัติ (practical value) หมายถึงส่ิงท่ีคุณประโยชนทางการปฏิบัติ
ดานจริยธรรมของบุคคล ในเม่ือไดศึกษาบุคคลสําคัญและเหตุการณท่ีปรากฏใน
พระพุทธศาสนา คือ อานแลวมองเห็นวา บุคคลสําคัญและเหตุการณท่ีปรากฏใน

ศึกษาเฉพาะเรอ่ื งในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา ๒๑
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

พระพทุ ธศาสนาไดก ระทาํ อะไรหรอื เหตปุ จจัยที่ทาํ ใหเ กิดปรากฏการณอะไรท่ีเปนประโยชน
แกสังคมสวนรวมเอาไวบาง ซึ่งจะถือวาเปนทิฏฐานนุคติในการสอนใจตนและเปนบทเรียน
ในการเอาอยา งในการทําความดแี ละเปน เย่ียงอยา งในการหลกี เวน จากความชั่ว-ผิดพลาดไม
คิดปฏิบัติตามทานได จากน้ันจึงคิดนําเอาไปประยุกตใช (application) คือ มีมี
ความสามารถในการนําเอาความรู (knowledge) ความเขาใจหรือความคิดรวบยอด
(comprehension) ในเร่ืองไดๆ ที่รูและเขาใจตามท่ีไดมองเห็นคุณคาทางปฏิบัติแลวนั้นๆ
ไปปรับประยุกตใชในชีวิตและสังคมไดจริง โดยการใชความรูตางๆ โดยเฉพาะวิธีการ
ความคดิ รวบยอดในเรื่องคุณคา ทางปฏบิ ตั ิดา นจรยิ ธรรม เอามาผสมผสานกับความสามารถ
ในการแปลความหมาย การสรุป หรือการขยายความส่ิงนั้นๆ ของตนเพ่ือใหเปนประโยชน
ตอ ชวี ติ และสงั คมอยา งแทจริง

วิธีการศึกษาแบบเนนใหเห็นคุณคาทางการปฏิบัติเพ่ือนําเอาไปปรับปรุง
ประยกุ ตใ ชจริง (practical seeing approach for application) นี้ท่ีสามารจะนํามาใชกับ
การศึกษา “ศกึ ษาเฉพาะเร่อื งในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา” ได ก็คือการเนนศึกษาให
รซู ้งึ ถงึ คุณคาทางของเร่ืองนัน้ ๆ

สวนวธิ ีการศึกษาท่ีพระองคท รงคนพบคือ “ไตรสกิ ขา” กลาวคือ ศีล สมาธิ และ
ปญญา การศึกษา หรือ “สิกขา” ตามกรอบพระพุทธศาสนาเปนการตระหนักรูและเห็น
ความทุกข สาเหตุแหงทุกข การดับทุกข และหนทางแหงการดับทุกขดวยจิตใจของตัวเอง
ฉะนัน้ ปรญิ ญาทีพ่ ระองคไดร ับมใิ ชป รญิ ญาตามที่ชาวโลกยดึ ถือ หากแตเปนการปริญญาคือ
ความรูรอบตามกรอบของอริยสัจ ๔ และมีโยนิโสมนสิการเปนอาภรณประดับสติปญญา
ของผเู รียน

พระพุทธศาสนาหยบิ ย่ืนความสงบ วิทยาการสมัยใหมพัฒนาศักยภาพของมนุษย
ใหมีความฉลาดในการแสวงหาความอยูรอดทางรางกาย แตไมสามารถทําใหมนุษยเกิด
ความสขุ สงบทางจติ ใจ กลาวคือ มุงเนนพัฒนาทักษะใหเกิดความชํานาญ และเชี่ยวชาญใน
การแสวงหาส่ิงเสพเพื่อสนองตอบตอความอยากรูอยากเห็น และอยากมีอยากเปนของตัว
มนษุ ยเอง แตพระพทุ ธศาสนาจะทําใหมนุษยเขาใจความรูสึก และความตองการของตัวเอง
วา ไมสามารถแสวงหาหาส่ิงตางๆ มาปรนเปรอเพื่อสนองตอบตอความอยากของตัวเองได
ซารตนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสไดอธิบายวา “มนุษยเปนความปรารถนาท่ีไรความสําราญ”
(Man is a useful passion) เหตุท่ีเปนเชนนี้เพราะ “มนุษยคือความขาดหาย ความ
บกพรอง หรือชองวาง” ซ่ึงสอดรับกับหลักการทางพระพุทธศาสนาท่ีเนนวา “แมน้ําเสมอ
ดวยตัณหายอมไมมี” การเขาใจธรรมชาติของจิตใจในลักษณะเชนนี้ จะทําใหมนุษย
แสวงหาหาวัตถุ และส่ิงเสพในฐานะเปนสิ่งจําเปน (Necessity) มายิ่งข้ึน มากกวาการใช

๒๒ บทท่ี ๑ การศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแหง พระพทุ ธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

กายของตัวเองไปมุงเนนแสวงหาคณุ คา เทยี มจากสิ่งเสพตางๆ ที่เขามาย่ัวยวนและหลอกลอ
จิตใจของมนษุ ย

การรูแจงโลกของพระองคเปนการรูแจงโลกทั้งภายในและภายนอก โดยเร่ิมตน
พระองคทรงเรียนรูและเขาใจทั้ง ๑๘ ศาสตร และหลังจากนั้น พระองคทรงเรียนรูและ
เขาใจ “พุทธศาสตร” การเรียนรูและเขาใจท้ังวิทยาการ หรือศาสตรทั้ง ๒ ประเด็นนั้น
สงผลใหพระองคไดทรงไดรับการเรียกขานวา “โลกวิทู” อันเปนรูเรียนรูแจงโลกทั้ง ๓ คือ
(๑) โอกาสโลก โลกอันกําหนดดวยโอกาส โลกอันมีในอวกาศ หรือจักรวาล (๒) สัตวโลก
โลกคือหมูสัตว และ (๓) สังขารโลก โลกคือสังขาร อันไดแกสภาวธรรมท้ังปวงที่มีการ
ปรุงแตงตามเหตุปจจัย และหากจะนําโลกทั้ง ๓ นี้ไปเปรียบเทียบกับวิทยาการหรือศาสตร
ที่เปนหลักท้ัง ๓ น้ัน จะพบวา โอกาสโลกเปรียบไดกับวิทยาศาสตรที่เนนศึกษาธรรมชาติ
โลก และจักรวาล สัตวโลกเปรียบไดกับสังคมศาสตรท่ีเก่ียวของและสัมพันธกับมนุษยซึ่ง
จะตองพ่ึงพาอาศัยและอยูรวมกันในฐานะเปนสัตวสังคม (Social Animal) สังขารโลก
เปรยี บไดก บั มนษุ ยศาสตรที่เนนคุณคาภายในท่ีสัมพันธกับการตัดสินคุณคาท่ีวาดวยความดี
ความงาม และความสุข ดวยเหตุน้ีผูเขียนจะไดทําการศึกษาเฉพาะเร่ืองในพัฒนาการแหง
พระพทุ ธศาสนา เชน ความรูหรือพัฒนาการพระไตรปฏก ขอถกเถียงและการตีความศีลใน
พระพุทธศาสนา แนวคิดเรื่องจิตประภัสสรในพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน การ
บรรลุธรรมของพระโพธ์สิ ัตว ดนตรใี นพระพทุ ธศาสนาและพระพุทธศาสนากับโสเภณี อยาง
เปน ระบบเพอื่ จะนําเสนอในบทตอ ไป

บทที่ ๒
ความรูเรอื่ งพระไตรปฎก

Knowledge of the scriptures
บทนาํ

ศาสนาทุกศาสนา มีคมั ภรี หรือตาํ ราทางศาสนาเปนหลกั ในการส่ังสอน แมเดิมจะ
มิไดข ีดเขียนเปน ลายลักษณอักษร แตเม่อื มนุษยรจู ักใชตัวหนังสอื ก็ไดมีการเขียน การจารึก
คําสอนในศาสนาน้ัน ๆ ไว เมื่อโลกเจริญข้ึนถึงกับมีการพิมพหนังสือเปนเลม ๆ ได คัมภีร
ศาสนาเหลา นัน้ กม็ ีผพู ิมพเปนเลม ขึน้ โดยลําดบั

พระไตรปฎก หรือท่ีเรียกในภาษาบาลีวา ติปฎกหรือเตปฎกน้ัน เปนคัมภีรหรือ
ตําราทางพระพุทธศาสนาเชนเดียวกับไตรเวท เปนคัมภีรของศาสนาพราหมณ ไบเบ้ิลของ
ศาสนาครสิ ต อัลกรุ อานของศาสนาอิสลาม

กลาวโดยรูปศัพท คําวา “พระไตรปฎก” แปลวา ๓ คัมภีร เม่ือแยกเปนคํา ๆ วา
พระ+ไตร+ปฎก คําวา พระ เปนคําแสดงความเคารพหรือยกยอง คําวา ไตร แปลวา ๓ คํา
วา ปฎก แปลได ๒ อยาง คือแปลวา คัมภีรหรือตําราอยางหนึ่ง แปลวา กระจาดหรือ
ตะกราอยา งหนง่ึ ทแ่ี ปลวา กระจาดหรือตะกรา หมายความวา เปนท่ีรวบรวมคําสั่งสอนของ
พระพทุ ธเจาไวเปนหมวดหมู ไมใ หกระจดั กระจาย คลา ยกระจาดหรือตะกราอันเปนภาชนะ
ใสข องฉะนน้ั ๑

๒.๑ โครงสรางพระไตรปฎก

เม่ือทราบแลววา คําวา พระไตรปฎก แปลวา ๓ คัมภีร หรือ ๓ ปฎก จึงควร
ทราบตอ ไปวา ๓ ปฎก น้ันมีอะไรบา ง และแตละปฎกน้ัน มีความหมายหรือใจความอยางไร
ปฎก ๓ นั้นแบงออกดังนี้

๑. วินยั ปฎ ก วา ดว ยวนิ ัยหรอื ศีลของภิกษุ ภกิ ษุณี
๒. สตุ ตันตปฎ ก วาดว ยพระธรรมเทศนาท่วั ๆ ไป
๓. อภธิ มั มปฎ ก วา ดว ยธรรมะลวน ๆ หรอื ธรรมะท่ีสาํ คัญ๒

๑ สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปฏกฉบับประชาชน, (กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราช
วิทยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๑.

๒ เรื่องเดียวกนั .

๒๔ บทที่ ๒ ความรูเรอ่ื งพระไตรปฎ ก
Knowledge of the scriptures
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

เพื่อความเขาใจชดั ไดทาํ เปน แผนทพ่ี ิมพก ํากบั ไวใ นหนังสอื เลมนแ้ี ลว ใหเห็นสวน
ตางๆ และความหมายของสวนนั้นๆในพระไตรปฎกโดยชดั เจน

ในท่ีนี้จะยังไมกลาวถึงรายละเอียดวา วินัยปฏก สุตตันตปฏก และอภิธรรมปฏก
แบงสวนออกไปเปนอะไรอีก เพราะตองการใหทานผูอานไดทราบขอความอื่นๆ เกี่ยวกับ
พระไตรปฏก เชน ประวัติความเปน มา เปน ตน แลวจึงจะกลา วถึงสว นตา งๆ ของแตละปฏก
ในภายหลัง

โครงสรางพระไตรปฎ ก

ระดับ พระวนิ ยั ปฎก ระดับ พระสตุ ตันตปฎก ระดบั พระอภิธรรมปฎ ก
เลม (๑-๘) เลม (เลม ๙-๓๓) เลม (๓๔-๔๕)
๑-๒ ม= มหาวิภังค ศีล ๙ - ที= ทีฆนิกาย ๓๔ สั ง =ธั ม ม สั ง ค ณี
และขอหามของ ๑๑ พระสูตรขนาดยาว รวมกลุมธรรมะเปน
ภกิ ษุ (๓๔ สูตร) ขอสนั้ ๆ
๓ ภิ= ภิกขุณีวิภังค ๑ ๒ - ม= มัชฌิมนิกาย ๓๕ วิ= วิภังค แยกกลุม
ศี ล แล ะ ข อห า ม ๑๔ พระสูตรขนาดกลาง ธรรมเพ่ือใหชดั เจน
ของภิกษณุ ี (๑๕๒ สตู ร)
๔-๕ ม= มหาวรรค ๑ ๕ - สัง= สังยุตตนิกาย ๓๖ ธา =ธาตุกถา เรื่อง
พุ ท ธ ป ร ะ วั ติ ๑๙ พระสูตรประมวล ธ า ตุ ก า ร บั ญ ญั ติ
ช ว ง แ ร ก ๆ แ ล ะ เปนเร่ืองๆ (๗,๗๖๒ บุคคล
พธิ ีกรรมตา งๆ สตู ร)
๖-๗ จู= จูฬวรรค ๒ ๐ - อัง= อังคุตตรนิกาย ๓๖ ปุ = ปุคคลปญญัติ
สังฆกรรม,ความ ๒๔ พระสูตรเปนขอๆ เ รื่ อ ง ก า ร บั ญ ญั ติ
เ ป น ม า ภิ ก ษุ ณี , (๙,๙๕๗ สูตร) บุคคล
สังฆายนา
๘ ป= ปริวาร เบ็ต ๒ ๕ - ขุ = ขุ ททกนิ กา ย ๓๗ ก = กถาวัตถุ ถาม-
เตล็ดพระวินยั ๓๓ พระสูตรเบ็ตเตล็ด, ตอบหลักธรรม ๒๑๙
ภาษติ สาวก,ชาดก ขอ
๓๘- ย = ย ม ก ว า ด ว ย
๓๙ ธรรมะเปน คูๆ
๔๐- ป= ปฏฐาน ธรรมะ
๔๕ ท่ีเปนปจจัยเกื้อกูล
กัน ๒๔ อยาง

ศกึ ษาเฉพาะเร่ืองในพัฒนาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๒๕
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๒.๒ ความเปน มาของพระไตรปฎก

การกลาวถึงความเปนมาแหงพระไตรปฏก จําเปนตองกลาวถึงเหตุการณต้ังแต
ยังมิไดจดจารึกเปนลายลักษณอักษร รวมท้ังหลักฐานเร่ืองการทองจํา และขอความที่
กระจัดกระจายยังมิไดจัดเปนหมวดหมู จนถึงมีการสังคายนา คือจัดระเบียบหมวดหมู การ
จารกึ เปนตวั หนังสอื การพมิ พเปนเลม

ในเบื้องแรกเห็นควรกลาวถึงพระสาวก ๔ รูป ผูมีสวนเก่ียวของกับประวัติความ
เปน มาแหงพระไตรปฎ ก คือ

๑. พระอานนท ผูเปนพระอนุชา (ลูกผูพ่ีผูนอง) และเปนผูอุปฐากรับใชใกลชิด
ของพระพุทธเจา ในฐานะทท่ี รงจําพระพทุ ธวจนะไวไดม าก

๒. พระอุบาลี ผเู ช่ยี วชาญทางวินยั ในฐานะท่ีทรงจาํ วินัยปฎ ก
๓. พระโสณกุฏิกัณณะ ผูเคยทองจําบางสวนแหงพระสุตตันตปฎก และกลาว
ขอความนั้นปากเปลาในที่เฉพาะพระพักตรของพระพุทธเจา ไดรับสรรเสริญวาทรงจําไดดี
มาก ทั้งสาํ เนยี งท่ีกลา วขอความออกมาก็ชัดเจนแจมใส เปนตัวอยางแหงการทองจําในสมัย
ท่ยี งั ไมมกี ารจารกึ พระไตรปฎกเปน ตัวหนังสอื
๔. พระมหากัสสปะ ในฐานะเปนผูริเร่ิมใหมีการสังคายนา จัดระเบียบพระพุทธ
วจนะใหเ ปน หมวดหมู ในขอ นีย้ อมเก่ยี วโยงไปถงึ พระพุทธเจา พระสาริบุตร และพระจุนทะ
นองชายพระสารบิ ตุ ร ซ่ึงเคยเสนอใหเห็นความสําคัญของการทําสังคายนา๓ คือจัดระเบียบ
คําสอนใหเปนหมวดหมูดงั จะกลาวตอ ไป
๒.๒.๑ พระอานนทกบั พระไตรปฎ ก
เม่ือพระพุทธเจาเสดจ็ ออกบรรพชา และไดต รสั รูแ ลว แสดงธรรมโปรดเจาลัทธิกับ
ท้ังพระราชาและมหาชนในแวนแควนตาง ๆ ในปลายปแรกท่ีตรัสรูน้ันเอง พระพุทธบิดาก็
ทรงสง ทูตไปเชิญเสด็จพระศาสดาใหไปแสดงธรรมโปรด ณ กรุงกบิลพัสดุ เม่ือพระพุทธเจา
เสด็จไปถึงกรุงกบิลพัสดุแสดงธรรมโปรดพระพุทธบิดาและพระประยูรญาติแลว พระ
ประยูรญาติตางพากันเลอื่ มใสใหโอรสของตนออกบวชในสํานักของพระพทุ ธเจา เปนอันมาก
พระอานนทเปน โอรสของเจาชายสุกโกทนศกายะ ผูเปนพระอนุชาของพระเจาสุ
ทโธทนะพระพุทธบิดา เมื่อนับโดยเชื้อสายจึงนับเปนพระอนุชาหรือลูกผูนองของ
พระพุทธเจา ทานออกบวชพรอมกับราชกุมารอ่ืน ๆ อีก คือ ๑. อนุรุทธะ ๒. ภัคคุ ๓. กิ
มพลิ ะ ๔. ภทั ทยิ ะ รวมเปน ๕ ทานในฝายศากยวงศ เมื่อรวมกับเทวทัตซ่ึงเปนราชกุมารใน
โกลิยวงศ ๑ กับอุบาลี ซ่ึงเปนพนักงานภูษามาลา มีหนาท่ีเปนชางกัลบกอีก ๑ จึงรวมเปน
๗ ทานดวยกัน ใน ๗ ทานนี้เมื่ออกบวชแลวก็มีช่ือเสียงมากอยู ๔ ทาน คือ พระอานนท

๓ อา งแลว.

๒๖ บทที่ ๒ ความรูเร่ืองพระไตรปฎ ก
Knowledge of the scriptures
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

เปนพุทธอุปฏฐาก ทรงจําพระพุทธวจนะไดมาก พระอนุรุทธ ชํานาญในทิพยจักษุ พระอุ
บาลี ทรงจําและชํานิชํานาญในทางพระวินยั กับพระเทวทัต มีชือ่ เสยี งในทางกอเร่ืองยุงยาก
ในสงั ฆมณฑล จะขอปกครองคณะสงฆแทนพระพทุ ธเจา

กลาวเฉพาะพระอานนท เปนผูท่ีสงฆเลือกใหทําหนาท่ีเปนพุทธอุปฏฐาก คือ
ผูรับใชใกลชิดพระพุทธเจา กอนที่จะรับหนาท่ีน้ี ทานไดขอพรหรือนัยหนึ่งเง่ือนไข ๘
ประการจากพระพุทธเจา เปน เงอื่ นไขฝายปฏิเสธ ๔ ขอ เง่ือนไขฝา ยขอรอง ๔ ขอ คือ

เงือ่ นไขฝา ยปฏิเสธ
๑. ถาพระผูมพี ระภาคจักไมป ระทานจีวรอนั ประณตี ที่ไดแลวแกขา พระองค
๒. ถา พระผมู ีพระภาคจักไมประทานบิณฑบาต (คืออาหาร) อันประณีตท่ีไดแลว
แกข า พระองค
๓. ถาพระผูมพี ระภาคจักไมโ ปรดใหข าพระองคอยูในท่ีประทับของพระองค
๔. ถาพระผมู ีพระภาคจักไมท รงพาขาพระองคไปในท่ีนมิ นต
เง่อื นไขฝา ยขอรอ ง
๕. ถา พระองคจดั เสดจ็ ไปสทู ่ีนมิ นต ท่ขี า พระองครับไว
๖. ถาขาพระองคจักนําบริษัทซ่ึงมาเฝาพระองคแตท่ีไกล ใหเขาเฝาไดในขณะท่ี
มาแลว
๗. ถาความสงสัยของขาพระองคเกิดข้ึนเมื่อใด ขอใหไดเขาเฝาทูลถามเมื่อน้ัน
และ
๘. ถา พระองคทรงแสดงขอความอันใดในท่ีลับหลังขาพระองค คร้ันเสด็จมาแลว
จักตรสั บอกขอความอันนน้ั แกข า พระองค๔
พระพุทธเจาตรัสถามวา ท่ีขอเง่ือนไขฝายปฏิเสธนั้นเพื่ออะไร พระอานนทกราบ
ทูลวา เพื่อปองกันผูกลาวหาวาทานอุปฏฐากพระพุทธเจาเพราะเห็นแกลาภสักการะ สวน
เงื่อนไขฝายขอรอง ๔ ขอนั้น เม่ือพระพุทธเจาตรัสถาม ทานก็กราบทูลวา ๓ ขอตน เพ่ือ
ปองกันผูกลาวหาวา พระอานนทจะอุปฏฐากพระพุทธเจาทําไมในเมื่อพระพุทธเจาไมทรง
อนุเคราะหแมดวยเร่ืองเพียงเทานี้ สวนเง่ือนไขขอสุดทายก็เพื่อวาถามีใครถามทานในที่ลับ
หลังพระพุทธเจาวา คาถาน้ี สูตรน้ี ชาดกนี้ พระผูมีพระภาคทรงแสดงในที่ไหน ถาพระ
อานนทตอบไมได ก็จะมีผูกลาววา พระอานนทตามเสด็จพระศาสดาไปดุจเงาตามตัว แม
เร่ืองเพียงเทาน้ีก็ไมรู เมื่อพระอานนทกราบทูลชี้แจงดังน้ันแลว พระศาสดาก็ทรงตกลง
ประทานพรหรือเงือ่ นไขท้ังแปดขอ

๔ เร่ืองเดยี วกนั , หนา, ๒-๓.

ศึกษาเฉพาะเรอ่ื งในพฒั นาการแหงพระพุทธศาสนา ๒๗
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

เฉพาะพรขอท่ี ๘ เปนอุปการะแกการที่จะรวบรวมพระพุทธวจนะเปนหมวดหมู
อยางยิ่ง เพราะเมื่อพระพุทธเจาปรินิพพานแลว พระอานนทไดรับหนาที่ตอบคําถาม
เกี่ยวกับพระธรรม (พระอุบาลี วินัย) เพื่อจัดระเบียบคําสอนใหเปนหมวดหมูในคราว
สงั คายนาครง้ั ที่ ๑ ซ่ึงกระทําภายหลังพุทธปรนิ พิ พาน ๓ เดือน

ในสมัยท่ีวิชาหนังสือยังไมเจริญพอที่จะใชบันทึกเร่ืองราวไดด่ังในปจจุบัน อันเปน
สมัยที่ไมมีการจด มนุษยก็ตองอาศัยความจําเปนเครื่องมือสําคัญในการบันทึกเรื่องราวน้ัน ๆ
ไว แลวบอกเลา ตอ ๆ กันมา การทรงจําและบอกกันดวยปากตอ ๆ กันมานี้ เรียกในภาษาบาลี
วา มุขปาฐะ

พระอานนทเปนผูไดรับการยกยองจากพระบรมศาสดาวามีความทรงจําดี สดับ
ตรับฟงมาก นับวาทานไดมีสวนสําคัญในการรวบรวมคําสั่งสอนของพระพุทธเจา แลว
จดั เปน หมวดหมูตาง ๆ สืบมาจนทุกวันน้ี

๒.๒.๒ พระอบุ าลีกับพระไตรปฎ ก
เร่ืองของพระอุบาลี ผูเคยเปนพนักงานภูษามาลาอยูในราชสํานักแหงกรุง
กบิลพัสดุก็นาสนใจอยูไมนอย ทานออกบวชพรอมกับพระอานนทและราชกุมารอื่น ๆ
ดงั กลาวแลวขา งตน และในฐานทีท่ านเปนคนรับใชมาเดิมก็ควรจะเปนผูบวชคนสุดทาย แต
เจา ชายเหลา น้ันตกลงกนั วาควรใหอุบาลีบวชกอน ตนจะไดกราบไหวอุบาลีตามพรรษาอายุ
เปนการแกทฏิ ฐมิ านะตั้งแตเ รม่ิ แรกในการออกบวช แตทา นก็มีความสามารถสมกับเกียรติท่ี
ไดรับจากราชกุมารเหลาน้ัน คือเมื่อบวชแลวทานมีความสนใจกําหนดจดจําทางพระวินัย
เปน พิเศษ มเี ร่ืองเลา ในพระวนิ ยั ปฎก (เลมที่ ๗) วาพระพุทธเจาทรงแสดงเรื่องวินัยแกภิกษุ
ทั้งหลาย แลวทรงสรรเสริญวินัย กับสรรเสริญทานพระอุบาลีเปนอันมาก ภิกษุทั้งหลายจึง
พากันไปเรียนวินัยจากพระอุบาลี นอกจากนั้น ในวินัยปฎก (เลมท่ี ๙) มีพระพุทธภาษิต
โตตอบกับพระอุบาลีในขอปญหาทางพระวินัยมากมาย เปนการเฉลยขอถามของพระเถระ
เรียกชื่อหมวดนี้วา อุปาลิปญจกะ มีหัวขอสําคัญถึง ๑๔ เร่ือง ในการทําสังคายนาครั้งที่ ๑
ทา นพระอุบาลีไดรับมอบหมายใหเปนผูตอบคําถามเกี่ยวกับวินัยปฎก จึงนับวาทานเปนผูมี
สวนเกี่ยวของโดยตรงในการชวยรวบรวมขอพระวินัยตาง ๆ ท้ังของภิกษุและภิกษุณีใหเปน
หมวดหมหู ลักฐานมาจนทกุ วันนี้
๒.๒.๓ พระโสณกุฏกิ ณั ณะกบั พระไตรปฎก
ความจริงทานผูนี้ไมไดเกี่ยวของโดยตรงกับพระไตรปฎก แตประวัติของทานมี
สวนเปนหลักฐานในการทองจําพระไตรปฎก อันชวยใหเกิดความเขาใจดีในเร่ืองความ
เปนมาแหงพระไตรปฎก จึงไดนําเร่ืองของทานมากลาวไวในที่นี้ดวย เรื่องของทานผูน้ี
ปรากฏในพระสุตตันตปฎกเลม ๒๕ มีใจความวา เดิมทานเปนอุบาสก เปนผูรับใชใกลชิด

๒๘ บทที่ ๒ ความรเู รอื่ งพระไตรปฎ ก
Knowledge of the scriptures
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ของพระมหากัจจายนเถระ พํานักอยูใกลภูเขาอันทอดเช่ือมเขาไปในนคร ช่ือ กุรุรฆระ ใน
แควนอวันตี ทา นเลอื่ มใสในพระมหากจั จายนเถระและเลื่อมใสที่จะบรรพชาอุปสมบท พระ
เถระกลาววาเปน การยากท่จี ะประพฤติพรหมจรรย ทานจึงแนะนําใหเปนคฤหัสถ ประพฤติ
ตนแบบอนาคาริกะ คอื ผูไมครองเรือนไปกอน แตอุบาสกโสณกุฏิกัณณะรบเราบอย ๆ ทาน
จึงบรรพชาให ตอมาอีก ๓ ป จึงรวบรวมพระไดครบ ๑๐ รูป จัดการอุปสมบทให
หมายความวาพระโสณะตอ งบรรพชาเปนสามเณรอยู ๓ ป จึงไดอ ุปสมบทเปนภิกษุ

ตอมาทานลาพระมหากัจจายนเถระเดินทางไปเฝาพระผูมีพระภาค ณ เชตวนา
ราม กรุงสาวัตถี เมอ่ื ไปถงึ และพระพุทธเจา ตรสั ถาม ทราบความวา เดินทางไกลมาจากอวัน
ตีทักขิณบถ คืออินเดียภาคใต จึงตรัสส่ังพระอานนทใหจัดที่พักให พระอานนทพิจารณาวา
พระองคคงปรารถนาจะสอบถามอะไรกับภิกษุรูปน้ีเปนแนแท จึงจัดที่พักใหในวิหาร
เดยี วกันกบั พระพทุ ธเจา

ในคืนวนั นน้ั พระผมู พี ระภาคประทับน่งั อยกู ลางแจงจนดึกจึงเสดจ็ เขาสูวิหาร แม
พระโสณกุฏกัณณะก็น่ังอยูกลางแจงจนดึกจึงเขาสูวิหาร ครั้นเวลาใกลรุง พระพุทธเจาจึง
ตรสั เชิญใหพระโสณะกลาวธรรม ซึ่งทานไดกลาวสูตรถึง ๑๖ สูตร อันปรากฏใหอัฏฐกวัคค
(สุตตนิบาต พระสุตตันติปฎก เลมท่ี ๒๕) จนจบ เมื่อจบแลว พระผูมีพระภาคทรง
อนุโมทนาสรรเสริญความทรงจํา และทวงทํานองในการกลาว วาไพเราะสละสลวย แลว
ตรัสถามเร่ืองสวนตวั อยา งอน่ื อกี เชน วามพี รรษาเทาไร ออกบวชดว ยมีเหตผุ ลอยา งไร

เร่ืองนี้เปนตัวอยางอันดีในเรื่องความเปนมาแหงพระไตรปฎก วาไดมีการทองจํา
กันต้ังแตครั้งพระพุทธเจายังทรงพระชนมอยู ใครสามารถหรือพอใจจะทองจําสวนไหน ก็
ทอ งจาํ สว นนน้ั ถึงกับมีครอู าจารยก ันเปน สาย ๆ เชน สายวนิ ยั ดังจะกลา วขางหนา

๒.๒.๔ พระมหากัสสปกับพระไตรปฎก
พระมหากัสสปะ เปนผูบวชเม่ือสูงอายุ ทานพยายามปฏิบัติตนในทางเครงครัด
แมจะลําบากบางก็แสดงความพอใจวาจะไดเปนตัวอยางแกภิกษุรุนหลัง พระศาสดาทรง
สรรเสริญทานวาเปนตัวอยางในการเขาสูสกุลชักกายและใจหาง ประพฤติตนเปนคนใหม
ไมคะนองกายวาจาใจในตระกูล นอกจากนั้นยังทรงสรรเสริญในเร่ืองความสามารถในการ
เขาฌานสมาบัติ
ทานเปนพระผูใ หญ แมไมใ ครส ่ังสอนใครมาก แตก็ส่ังสอนคนในทางปฏิบัติคือทํา
ตัวเปนแบบอยาง เม่ือพระศาสดาปรินิพพานแลว ทานไดเปนหัวหนาชักชวนพระสงฆใหทํา
สังคายนาคือรอยกรอง หรือจัดระเบียบพระธรรมวินัย นับวาทานเปนผูมีสวนสําคัญย่ิงใน
การทําใหเกิดพระไตรปฎก อน่ึง ในการทําสังคายนาครั้งที่ ๑ ซ่ึงทานชักชวนใหทําขึ้นนั้น
ทานเองเปนผูถามท้ังพระวินัยและพระธรรม ทานพระอุบาลีเปนผูตอบเกี่ยวกับพระวินัย

ศกึ ษาเฉพาะเร่ืองในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา ๒๙
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ทานพระอานนทเปนผูตอบเกี่ยวกับพระธรรม ซึ่งจะกลาวรายละเอียดในตอนที่วาดวย
สงั คายนา๕

ไดกลาวไวแลววา ในการปรารภนามของพระเถระ ๔ รูป ประกอบความรูเรื่อง
ความเปนมาแหงพระไตรปฎกคือ พระอานนท พระอุบาลี พระโสณกุฏิกัณณะ และพระ
มหากัสสปะน้ัน ทําใหความเกี่ยวโยงไปถึงพระพุทธเจา พระสารีบุตร และพระจุนทะ
(นองชายพระสารบี ุตร) คอื

๒.๒.๕ พระพทุ ธเจา ทรงแนะนาํ ใหรอ ยกรองพระธรรมวินยั
สมัยเมื่อนิครนถนาฏบุตร ผูเปนอาจารยเจาลัทธิสําคัญคนหน่ึงสิ้นชีพ สาวกเกิด
แตกกัน พระจุนทเถระผูเปนนองชายพระสารีบุตร เกรงเหตุการณเชนน้ันจะเกิดแก
พระพุทธศาสนา จึงเขาไปหาพระอานนทเลาความใหฟง พระอานนทจึงชวนไปเฝา
พระพุทธเจา เม่อื กราบทลู แลวพระองคไ ดตรสั ตอบดว ยขอ ความเปนอันมาก แตมีอยูขอหน่ึง
ท่ีสําคัญยิ่ง (ปาสาทิกสูตร พระสุตตันตปฎก เลมท่ี ๑๑ หนา ๑๒๘ ถึงหนา ๑๕๖) คือ ใน
หนา ๑๓๙ พระผูมีพระภาคตรัสบอกพระจุนทะ แนะใหรวบรวมธรรมภาษิตของพระองค
และทําสังคายนา คือจัดระเบียบท้ังโดยอรรถและพยัญชนะเพ่ือใหพรหมจรรยตั้งม่ันย่ังยืน
สืบไป
พระพุทธภาษิตท่ีแนะนําใหรวบรวมพุทธวจนะรอยกรองจัดระเบียบหมวดหมูนี้
ถอื ไดวา เปนเร่มิ ตนแหง การแนะนํา เพอื่ ใหเ กิดพระไตรปฎ กด่งั ท่เี ปนอยูทุกวันน้ี
๒.๒.๖ พระสารีบตุ รแนะนําใหร อยกรองพระธรรมวินยั
ในสมัยเดียวกันน้ัน และปรารภเร่ืองเดียวกัน คือเร่ืองสาวกของนิครนถนาฏบุตร
แตกกัน ภายหลังที่อาจารยส้ินชีวิต คํ่าวันหน่ึง เม่ือพระผูมีพระภาคทรงแสดงธรรมจบแลว
เหน็ วาภกิ ษทุ ั้งหลายยังใครจ ะฟงตอไปอีก จึงมอบหมายใหพระสาริบุตรแสดงธรรมแทน ซึ่ง
ทา นไดแนะนาํ ใหรวบรวมรอยกรองพระธรรมวินยั โดยแสดงตวั อยา งการจัดหมวดหมูธรรมะ
เปนขอ ๆ ตั้งแตขอ ๑ ถึงขอ ๑๐ วามีธรรมอะไรบางอยูในหมวด ๑ หมวด ๒ หมวด ๓ จนถึง
หมวด ๑๐ ซึ่งพระผูมีพระภาคไดทรงรับรองวาขอคิดและธรรมะที่แสดงน้ีถูกตอง (สังคีติสูตร
พระสุตตันตปฎก เลมที่ ๑๑ หนา ๒๒๒ ถึงหนา ๒๘๗) หลักฐานในพระไตรปฎกตอนน้ีมิได
แสดงวา พระสาริบุตรเสนอข้ึนกอน หรือพระพุทธเจาตรัสแกพระจุนทะกอน แตรวมความแลว
ก็ตองถือวา ท้ังพระพุทธเจาและพระสาริบุตรไดเห็นความสําคัญของการรวบรวมพระพุทธ
วจนะรอยกรองใหเปนหมวดเปน หมูมาแลว ตง้ั แตยังไมทาํ สงั คายนาคร้ังที่ ๑

๕ เรอ่ื งเดียวกนั , หนา ๕.

๓๐ บทที่ ๒ ความรูเร่ืองพระไตรปฎ ก
Knowledge of the scriptures
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๒.๒.๗ พระจนุ ทะเถระผูปรารถนาดี
เมื่อกลาวถึงเรื่องความเปนมาแหงพระไตรปฎก และกลาวถึงการท่ีพระพุทธเจา
ทรงแนะใหทําสังคายนาก็ดี ถาไมกลาวถึงพระจุนทะเถระ ก็ดูเหมือนจะมองไมเห็นความ
ริเร่ิม เอาใจใส และความปรารถนาดีของทาน ในเมื่อรูเห็นเหตุการณที่สาวกของนิครนถ
นาฏบุตรแตกกนั เพราะจากขอความทป่ี รากฏในพระไตรปฎก ทานไดเขาพบพระอานนทถึง
๒ คร้ัง คร้ังแรกพระอานนทชวนเขาเฝาพระพุทธเจาดวยกัน พระพุทธเจาก็ตรัสแนะใหทํา
สังคายนาดังกลาวแลวขางตน คร้ังหลังเม่ือสาวกนิครนถนาฏบุตรแตกกันยิ่งข้ึน ทานก็เขา
หาพระอานนทอีก ขอใหกราบทูลพระพุทธเจาเพื่อปองกันมิใหเหตุการณทํานองน้ันเกิดข้ึน
ในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจาจงึ แสดงธรรมแกพระอานนท โดยแสดงโพธิปตขิยธรรมอัน
เปนหลักของพระพุทธศาสนา แลวทรงแสดงมูลเหตุแหงการทะเลาะวิวาท ๖ ประการ
อธิกรณ ๔ ประการ วธิ รี ะงบั อธิกรณ ๗ ประการ กับประการสุดทายไดทรงแสดงหลักธรรม
สําหรับอยูรวมกันดวยความผาสุก ๖ ประการ ท่ีเรียกวาสาราณิยธรรม อันเปนไปในทาง
สงเคราะห อนุเคราะหและมีเมตตาตอกัน มีความประพฤติและความเห็นในทางที่ดีงาม
รว มกัน เรื่องนป้ี รากฏในสามคามสูตร พระสุตตันตปฎก เลมท่ี ๑๔ หนา ๔๙ ซึ่งควรบันทึก
ไวในทนี่ ้ี เพื่อบชู าคุณ คอื ความปรารถนาดีของพระจุนทะเถระ ผูแสดงความหวงใยในความ
ตัง้ มั่นยงั่ ยนื แหง พระพุทธศาสนา

๒.๓ การทําสังคายนาเปน เหตุใหเ กดิ พระไตรปฎก

แมในตอนตน จะไดระบุนามของพระเถระหลายทาน วามีสวนเก่ียวของกับ
พระไตรปฎ ก แตพ ระไตรปฎ กก็เกดิ ขนึ้ ภายหลังที่ทา นพระเถระทั้งหลายไดรวมกันรอยกรอง
จัดระเบียบพระพุทธวจนะแลว ในสมัยของพระพุทธเจาเองยังไมมีการจัดระเบียบหมวดหมู
ยังไมมีการจัดเปนวินัยปฎก สุตตันตปฎก และอภิธัมมปฎก นอกจากมีตัวอยางการจัด
ระเบียบวนิ ัยในการสวดปาฏิโมกขลําดับสิกขาบททุกกึ่งเดือน ตามพระพุทธบัญญัติและการ
จัดระเบียบธรรมในสังคีติสูตรและทสุตตรสูตรท่ีพระสารีบุตรเสนอไว กับตัวอยางที่
พระพุทธเจาทรงช้ีแจงวิธีจัดระเบียบพระธรรมแกพระจุนทะเถระและพระอานนทในปา
สาทิกสตู ร และสามคามสตู ร ดงั ไดก ลาวไวแ ลวในเบ้อื งตน

พระพุทธเจาประทานพระพุทธโอวาทไวมากหลายตางกาลเวลา ตางสถานท่ีกัน
การที่พระสาวกซ่ึงทองจํากันไวได และจัดระเบียบหมวดหมูเปนปฎกตาง ๆ ในเม่ือพระ
ศาสดานพิ พานแลว พอเทยี บไดด ังน้ี พระพทุ ธเจาเทากบั ทรงเปน เจาของสวนผลไม เชน สม
หรือองุน พระเถระผูจัดระเบียบหมวดหมูคําสอน เทากับผูท่ีจัดผลไมเหลาน้ันหอกระดาษ
บรรจุลังไม เปน ประเภท ๆ บางอยา งก็ใชผงไมกันกระเทือนใสแทนหอกระดาษ ปญหาเร่ือง

ศกึ ษาเฉพาะเร่ืองในพัฒนาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๓๑
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ของภาชนะที่ใสผลไมเชนลังหรือหอก็เกิดขึ้น คือในช้ันแรก คําส่ังสอนของพระพุทธเจานั้น
รวมเรียกวาพระธรรมพระวนิ ัย เชน ในสมัยเมื่อใกลจะปรินิพพาน พระพุทธเจาตรัสกับพระ
อานนทว า ธรรมและวินยั ท่ีเราแสดงแลว บัญญตั แิ ลว แกท านท้ังหลาย ธรรมและวินัยนั้น จะ
เปนศาสดาของทานท้งั หลายเม่ือเราลว งลบั ไป๖

จงึ เปน อันกําหนดลงเปนหลักฐานไดอยางหนึ่งวา ในสมัยของพระพุทธเจายังไมมี
คําวา พระไตรปฎ ก มแี ตคําวา ธรรมวนิ ัย คําวา พระไตรปฎก หรือ ติปฎก ในภาษาบาลีน้ัน
มาเกิดขึ้นภายหลังท่ีทําสังคายนาแลว แตจะภายหลังสังคายนาคร้ังท่ีเทาไร จะไดกลาว
ตอ ไป

อยางไรก็ตาม แมคําวา พระไตรปฎก จะเกิดขึ้นในสมัยหลังพุทธปรินิพพาน ก็ไม
ทําใหสิ่งท่ีบรรจุอยูในพระไตรปฎกนั้น คลายความสําคัญลงเลย เพราะคําวา พระไตรปฎก
เปนเพียงภาชนะ กระจาดหรือลังสําหรับใสผลไม สวนตัวผลไมหรือนัยหน่ึงพุทธวจนะ ก็มี
มาแลวในสมยั ท่ีพระพุทธเจา ทรงส่งั สอนพระศาสนา

๒.๔ การสวดปาฏโิ มกขตา งจากการสังคายนาอยางไร ?

การสวดปาฏิโมกข คือการ “วาปากเปลา” หรือการสวดขอบัญญัติทางพระวินัย
๑๕๐ ขอ ในเบ้ืองแรก และ ๒๒๗ ขอในกาลตอมาทุก ๆ กึ่งเดือนหรือ ๑๕ วัน เปน
ขอบัญญัติทางพระวินัย ที่ใหพระภิกษุทั้งหลายตองลงฟงการกลาวทบทวนขอบัญญัติทาง
พระวินัยนี้ทุก ๑๕ วัน ถาขาดโดยไมมีเหตุสมควรตองปรับอาบัติ การสวดปาฏิโมกขน้ีเปน
ตัวอยางอันหน่ึงของการบังคับใหทองจํา ซ่ึงขอบัญญัติทางพระวินัย แตไมใชทุกทานสวด
พรอมกนั คงมีผสู วดรปู เดียว รูปทเี่ หลอื คอยตัง้ ใจฟง และชว ยทกั ทวงเมื่อผดิ

สวนการสังคายนานั้น แปลตามรูปศัพทวา รอยกรอง คือประชุมสงฆจัดระเบียบ
หมวดหมพู ระพทุ ธวจนะ แลวรับทราบทั่วกันในท่ีประชุมน้ันวาตกลงกันอยางน้ี แลวก็มีการ
ทอ งจาํ นําสืบตอ ๆ มา ในช้ันเดิมการสังคายนาปรารภเหตุความม่ันคงแหงพระพุทธศาสนา
จึงจัดระเบียบหมวดหมูพระพุทธวจนะไว ในครั้งตอ ๆ มาปรากฏวามีการถือผิด
ตคี วามหมายผดิ กม็ ีการชําระวินิจฉัยขอท่ีถือผิด ตีความหมายผิดนั้น ช้ีขาดวาที่ถูกควรเปน
อยางไร แลวก็ทําการสังคายนา โดยการทบทวนระเบียบเดิมบาง เพิ่มเติมของใหมอันเปน
ทํานอง บนั ทกึ เหตกุ ารณบา ง จัดระเบยี บใหมในบางขอบาง ในชั้นหลัง ๆ เพียงการจารึกลง
ในใบลาน การสอบทานขอผิดในใบลาน ก็เรียกกันวาสังคายนา ไมจําเปนตองมีเหตุการณ
ถือผิด เขาใจผิดเกิดข้ึน แตความจริงเมื่อพิจารณารูปศัพทแลว การสังคายนาก็เทากับการ

๖ เร่อื งเดียวกัน, หนา ๖.

๓๒ บทท่ี ๒ ความรเู รือ่ งพระไตรปฎก
Knowledge of the scriptures
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

จัดระเบียบ การปดกวาดใหสะอาด ทําข้ึนครั้งหนึ่งก็มีประโยชนครั้งหน่ึง เหมือนการทํา
ความสะอาด การจัดระเบียบทีอ่ ยอู าศัย

การสังคายนาจึงตางการสวดปาฏิโมกข ในสาระสําคัญที่วาการสวดปาฏิโมกข
เปนการทบทวนความจาํ ของทป่ี ระชุมสงฆทุกกึ่งเดือน เกี่ยวกับขอปฏิบัติทางพระวินัย สวน
การสังคายนาไมมีกําหนดวาตองทําเมื่อไร โดยปกติเมื่อรูสึกวาไมมีการถือเขาใจผิด แต
เหน็ สมควรตรวจสอบชําระพระไตรปฎ ก แกต ัวอักษร หรือขอความที่วิปลาสคลาดเคลื่อน ก็
ถอื กนั วาเปน การสงั คายนา ดังจะกลาวตอไป

๒.๕ ปญหาเร่อื งการนบั ครัง้ ในการทําสงั คายนา
ในปจจุบันนี้ ทางประเทศพมาถือวา ตั้งแตเร่ิมแรกมามีการทําสังคายนารวม ๖
ครง้ั โดยเฉพาะครั้งที่ ๖ พมาจัดทําเปนการใหญ ในโอกาสใกลเคียงกับงานฉลอง ๒๕ พุทธ
ศตวรรษ แลวฉลองพรอมกันทีเดียว ทั้งการสังคายนาครั้งท่ี ๖ และงานฉลอง ๒๕ พุทธ
ศตวรรษ แตตามหลักฐานของพระเถระฝายไทย ผูรจนาหนังสือเรื่องสังคีติยวงศ หรือ
ประวัตศิ าสตรก ารสงั คายนา กลา ววา สังคายนามี ๙ คร้ัง รวมท้ังครั้งที่พระบาทสมเด็จพระ
พุทธยอดฟาจฬุ าโลกทรงกระทําในรัชสมัยของพระองค คือการสอบทานแกไขพระไตรปฎก
แลว จารลงในใบลานเปน หลักฐาน
โดยเหตุท่ีความรูเร่ืองการสังคายนา ยอมเปนเรื่องสําคัญในความรูเร่ืองความ
เปนมาแหง พระไตรปฎ ก เพราะฉะน้ัน จะไดรวบรวมมติของประเทศตาง ๆ เก่ียวกับการทํา
สงั คายนา และปญ หาเรือ่ งการนบั ครั้งมารวมเปนหลกั ฐานไวในท่ีนี้ รวมเปน ๕ หัวขอ คอื
๑. การนบั คร้ังสงั คายนาท่รี กู นั ท่ัวไป ๒. การนับครัง้ สังคายนาของลังกา
๓. การนบั คร้งั สังคายนาของพมา ๔. การนบั ครั้งสงั คายนาของไทย
๕. การสงั คายนาของฝายมหายาน๗
ในการรวบรวมเรื่องน้ี ผูเขียนไดอาศัยหลักฐานจากวินัยปฎก เลมที่ ๗ พรอมทั้ง
อรรถกถา จากหนังสือมหาวงศ, สังคีติยวงศ และบทความของทาน B. Jinananda ใน
หนังสือ 2500 Years of Buddhism ซึ่งพิมพในโอกาสฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษในอินเดีย
และหนงั สืออ่ืน ๆ
๒.๕.๑ การนับคร้ังสงั คายนาท่ีรูกนั ทั่วไป
การนับครง้ั สงั คายนาทร่ี ูก ันท่ัวไปก็คือ สงั คายนาคร้ังที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๓ ซ่ึงทําใน
อินเดียอันเปนของฝายเถรวาท กับอีกคร้ังหน่ึงในอินเดียภาคเหนือ ซึ่งพระเจากนิษกะทรง
อุปถัมภ อันเปนสังคายนาผสม รวมเปน ๔ ครั้ง แตฝายเถรวาทมิไดรับรูในการสังคายนา

๗ เรือ่ งเดียวกนั , หนา ๗.

ศึกษาเฉพาะเร่อื งในพัฒนาการแหง พระพทุ ธศาสนา ๓๓
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

คร้ัง ๔ นั้น เพราะการสืบสายศาสนาแยกกันคนละทาง ตลอดจนภาษาท่ีรองรับคัมภีรทาง
ศาสนากใ็ ชต า งกัน คือของเถรวาทหรือศาสนาพุทธแบบที่ไทย พมา ลังกา เขมร ลาวนับถือ
ใชภาษาบาลี สวนของฝายมหายานหรือศาสนาพุทธแบบท่ีญ่ีปุน จีน ธิเบต ญวน และ
เกาหลีนับถือ ใชภาษาสันสกฤต ในสมัยท่ีตําราภาษาสันสกฤตสาบสูญก็มีเฉพาะคัมภีรที่
แปลเปนภาษาจนี และภาษาธิเบตเปนหลกั แลวมีผูแปลสภู าษาอืน่ ๆ เชน ญ่ีปุน อีกตอ หนง่ึ

๒.๕.๑.๑ สังคายนาครงั้ ที่ ๑
กระทําท่ีถํ้าสัตตบรรณคูหา ขางเขาเวภารบรรพต ใกลกรุงราชคฤห
ประเทศอินเดีย พระมหากัสสปเถระเปนประธานและเปนผูสอบถาม พระอุบาลีเปนผูตอบ
ขอซักถามทางวินัย พระอานนทเปนผูตอบขอซักถามทางธรรม มีพระอรหันตประชุมกัน
๕๐๐ รูป กระทําอยู ๗ เดือนจึงสําเร็จ ในการน้ีพระเจาอชาตศัตรูทรงเปนผูอุปถัมภ
สังคายนาครั้งน้ีกระทําภายหลังที่พระพุทธเจาปรินิพพานลวงแลวได ๓ เดือน ขอปรารภใน
การสังคายนา คือพระมหากัสสปปรารภถอ ยคาํ ของภกิ ษุช่ือสภุ ัททะ ผูบวชเมื่อแก เม่ือรูขาว
ปรินพิ พานของพระพทุ ธเจา ภกิ ษทุ ้งั หลายรองไหเ ศรา โศก สุภัททภิกษุก็หามภิกษุเหลาน้ันมิ
ใหเสียใจรองไห เพราะตอไปนี้จะทําอะไรไดตามใจแลว ไมตองมีใครคอยมาช้ีวา น่ีผิด น่ีถูก
น่ีควร นไี่ มควร ตอไปอกี พระมหากสั สปสลดใจในถอ ยคาํ ของสภุ ัททภิกษุ จึงนําเร่ืองเสนอที่
ประชุมสงฆ แลวเสนอชวนใหทําสังคายนารอยกรองจัดระเบียบพระธรรมวินัย ซ่ึงก็ไดรับ
ความเหน็ ชอบ
มีขอนาสังเกตวา ประวัติการทําสังคายนาคร้ังที่ ๑ และครั้งที่ ๒ มีปรากฏอยู
ในพระไตรปฎก เลมท่ี ๗ จุลลวัคค หนา ๒๗๙ ถึง ๔๒๓ อันแสดงวาประวัติเรื่องน้ีคง
เพิ่มเขา มาในวนิ ัยปฎก ในการทําสังคายนาครั้งท่ี ๓ นอกจากน้ัน ในครั้งที่ ๑ และครั้งท่ี
๒ แหง การทาํ สังคายนาน้ี ไมมคี ํากลาวถึงปฎกเลย ใชคําวา วินัยวิสัชนา (ตอบเร่ืองพระ
วินัย) และธัมมวิสัชนา (ตอบเรื่องพระธรรม) สําหรับคร้ังท่ี ๑ และใชคําวา ทสวัตถุ
ปุจฉาวิสัชนา (ถามตอบเร่ืองวัตถุ ๑๐) สําหรับครั้งที่ ๒ จึงนาจะเห็นไดวา สังคายนา
ครงั้ แรกและครัง้ ท่ี ๒ ยงั ไมไดแยกเปน ๓ ปฎก แตเรียกวาธรรมวินัยรวม ๆ ไป โดยรวม
สุตตันตปฎ กกับอภธิ มั มปฎ กอยูใ นคําวา ธรรม
แตในหนังสือช้ันอรรถกถา ซ่ึงแตงข้ึนอธิบายพระไตรปฎก ภายหลังพุทธ
ปรนิ พิ พานเกอื บพนั ป อธบิ ายเปนเชงิ วา สดุ แตจ ะจดั ประเภท จะวาพุทธวจนะมี ๑ ก็ได คือ
มีความหลุดพน เปนรสเหมือนทะเล แมจะมีนํ้ามากก็มีรสเดียว คือรสเค็ม จะวามี ๒ ก็ได
คือเปนพระธรรมกับพระวินัย จะวาเปน ๓ ก็ได คือไตรปฎก อันแยกออกเปนวินัยปฎก
สุตตนั ตปฎก และอภธิ ัมมปฎ ก จะวาเปน ๕ ก็ได โดยแบงออกเปน ๕ นิกาย หรือ ๕ หมวด
คือ ๑. ทีฆนิกาย (หมวดยาว) ๒. มัชฉิมนิกาย (หมวดปานกลาง) ๓. สังยุตตนิกาย (หมวด

๓๔ บทท่ี ๒ ความรูเร่อื งพระไตรปฎก
Knowledge of the scriptures
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ประมวลเรอ่ื งเปน พวก ๆ) ๔. อังคตุ ตรนิกาย (หมวดยิง่ ดวยองค คือจัดขอธรรมเปนหมวด ๑
หมวด ๒ เปนตน) ๕. ขุททกนิกาย (หมวดเล็กนอยหรือหมวดเบ็ดเตล็ด) การจัดอยางนี้ จัด
ตามหลักสตุ ตันตปฎ ก แลวเอาวินยั ปฎ กและอภธิ มั มปฎกมายอ รวมในขทุ ทกนิกาย คือหมวด
เบด็ เตล็ด นอกนนั้ ยังอธิบายถึงการแบงพระพุทธวจนะเปน ๙ สวน เปน ๘๔,๐๐๐ สวน ซ่ึง
ของดไวไมนาํ มากลาวในท่ีนี้

๒.๕.๑.๒ สังคายนาคร้ังที่ ๒
กระทําท่ีวาลิการาม เมืองเวสาลี แควนวัชชี ประเทศอินเดีย พระยสะ
กากัณฑบุตร เปนผูชักชวน พระเถระท่ีเปนผูใหญรวมมือในการน้ี ที่ปรากฏชื่อมี ๘ รูป คือ
๑. พระสัพพกามี ๒. พระสาฬหะ ๓. พระขุชชโสภิตะ ๔. พระวาสภคามิกะ ทั้งสี่รูปน้ี เปน
ชาวปาจีนกะ (มีสํานักอยูทางทิศตะวันออก) ๕. พระเรวตะ ๖. พระสัมภูตะ สาณวาสี ๗.
พระยสะ กากณั ฑกบตุ ร และ ๘. พระสมุ นะ ทงั้ สร่ี ปู น้ีเปนชาวเมืองปาฐาในการน้ีพระเรวตะ
เปนผถู าม พระสพั พกามีเปนผูตอบปญหาทางวินัยที่เกิดขึ้น มีพระสงฆประชุมกัน ๗๐๐ รูป
กระทําอยู ๘ เดือนจึงแลวเสร็จ สังคายนาครั้งนี้ กระทําภายหลังที่พระพุทธเจาปรินิพพาน
แลวได ๑๐๐ ป ขอปรารภในการทําสังคายนาครั้งนี้ก็คือ พระยสะ กากัณฑกบุตร ปรารภ
ขอปฏิบัติยอหยอน ๑๐ ประการทางพระวินัยของพวกภิกษุวัชชีบุตร เชน ถือวาควรเก็บ
เกลือไวในแขนง (เขาสตั ว) เพื่อเอาไวฉันไดตะวันชายเกินเท่ียงไปแลว ๒ นิ้ว ควรฉันอาหาร
ได ควรรับเงนิ ทองได เปนตน พระยสะ กากัณฑกบตุ ร จึงชกั ชวนพระเถระตา ง ๆ ใหชวยกัน
วนิ จิ ฉัย แกค วามถอื ผิดครง้ั นี้
รายละเอียดแหงการสังคายนาคร้ังนี้ ปรากฏในวินัยปฎก เลม ๗ หนา ๓๙๖
เปนตนไป แตไมไดกลาวถึงการจัดระเบียบพระไตรปฎก คงกลาวเฉพาะการชําระขอถือผิด
๑๐ ประการของภิกษุพวกวัชชีบุตร ทั้งไมไดบอกวาทําสังคายนาอยูนานเทาไร ในอรรถ
กถา๘ กลา ววา ทาํ อยู ๘ เดอื นจงึ สําเร็จ
ขาพเจาไดกลาวเปนขอสังเกตไวทายเรื่องสังคายนาคร้ังที่ ๑ แลววา
หลกั ฐานในวินัยปฎ ก ที่กลาวถงึ สงั คายนาครัง้ ที่ ๑ และคร้งั ท่ี ๒ ไมม ีกลาวถึงคําวา ไตรปฎก
เลย แตถากลาวตามหลักฐานที่ปรากฏในหนังสือสมันตัปปสาทิกา ซ่ึงแตงข้ึนอธิบายวินัย
ปฎกเมื่อพุทธปรินิพพานลวงแลวเกือบพันป ทานไดกลาวไวชัดเจน (ในหนา ๒๘,๒๙ และ
๓๓) วาการทําสังคายนาจัดประเภทพระพุทธวจนะ เปนรูปพระไตรปฎกไดมีมาแลวตั้งแต
สังคายนาคร้งั ท่ี ๑ แมครัง้ ที่ ๒ กท็ าํ ซาํ้ อกี

๘ คอื คําอธบิ ายวินยั ปฎ ก มชี ่อื วา สมันตัปปาสาทิกา

ศึกษาเฉพาะเร่อื งในพัฒนาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๓๕
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

เพราะฉะน้ัน ถาถือตามหลกั ฐานของอรรถกถา การสังคายนาจัดระเบียบ
เปนรูปพระไตรปฎ ก ก็มมี าแลวต้งั แตก ารสังคายนาคร้ังท่ี ๑ เปนตนมา

๒.๕.๑.๓ สังคายนาครั้งที่ ๓
ไดก ลา วแลว วา เรื่องสังคายนาท่ีปรากฏในวินัยปฎกมีเพียงคร้ังที่ ๑ กับครั้ง
ท่ี ๒ สวนเรือ่ งการสังคายนาครั้งท่ี ๓ มีปรากฏในชั้นอรรถกถาอนั พอเกบ็ ใจความไดด งั น้ี
สงั คายนาครัง้ ที่ ๓ กระทําที่อโศการาม กรุงปาตลบี ุตร ประเทศอินเดีย พระ
โมคคลีบุตรติสสเถระเปนหัวหนา มีพระสงฆประชุมกัน ๑,๐๐๐ รูป ทําอยู ๙ เดือนจึงแลว
เสร็จ สังคายนาครั้งน้ี กระทําภายหลังที่พระพุทธเจาปรินิพพานแลว ๒๓๔ หรือ ๒๓๕ ป๙
ขอปรารภในการทําสังคายนาครั้งนี้ คือพวกเดียรถีย หรือนักบวชศาสนาอื่นมาปลอมบวช
แลวแสดงลัทธิศาสนาและความเห็นของตนวาเปนพระพุทธศาสนา พระโมคคลีบุตรติสส
เถระ ไดขอความอุปถัมภจากพระเจาอโศกมหาราช ชําระสอบสวนกําจัดเดียรถียเหลาน้ัน
จากพระธรรมวนิ ัยไดแ ลว จงึ สังคายนาพระธรรมวนิ ยั
มีขอนาสังเกตวา ในการทําสังคายนาคร้ังน้ี พระโมคคลีบุตรไดแตงคัมภีรกถาวัตถุ
ซ่ึงเปนคัมภีรในอภิธัมมปฎกเพิ่มขึ้นดวย ตามประวัติวาบทต้ังมีอยูเดิมแลว แตไดแตงขยายให
พิสดารออกไป เรื่องกถาวัตถุเปนเรื่องคําถามคําตอบเกี่ยวกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มี
คําถาม ๕๐๐ คําตอบ ๕๐๐ และเม่ือทําสังคายนาเสร็จแลว ก็ไดสงคณะทูตไปประกาศ
พระพุทธศาสนาในประเทศตาง ๆ รวมท้ังพระมหินทเถระ ผูเปนโอรสพระเจาอโศก ไดนํา
พระพุทธศาสนาไปประดิษฐานในลังกาเปนครั้งแรก การสงสมณทูตไปทิศตาง ๆ คร้ังนั้น ถือ
หลักวาใหไปครบ ๕ รูป เพื่อจะไดใหการอุปสมบทแกผูเลื่อมใสได แตคงไมไดระบุช่ือหมดทั้ง
หา โดยมากออกนามเฉพาะทา นผเู ปน หวั หนา
๒.๕.๑.๔ การทําสังคายนาครั้งท่ี ๔
การทําสังคายนาคร้ังนผี้ สมกบั ฝายมหายาน กระทําในอินเดียภาคเหนือดวย
ความอุปถัมภของพระเจากนิษกะ ไดกลาวแลววา สังคายนาคร้ังนี้ ทางฝายเถรวาทคือฝาย
ท่ีถือพระพุทธศาสนาแบบท่ีไทย เขมร พมา ลังกานับถือ มิไดรับรองเขาอันดับเปนคร้ังที่ ๔
เพราะเปนการสังคายนาของนิกายสัพพัตถิกวาท ซ่ึงแยกออกไปจากเถรวาททําผสมกับฝาย
มหายาน และเพราะมีสายแหงการสืบตอสั่งสอนอบรมไมติดตอเก่ียวของกัน จึงไมมีบันทึก
หลักฐานเรื่องน้ีทางเถรวาท ท้ังภาษาท่ีใชสําหรับพระไตรปฏกก็ไมเหมือนกัน คือฝาย
มหายานใชภ าษาสันสกฤต (บางครั้งก็ปนปรากฤต) ฝา ยเถรวาทใชภ าษาบาลี

๙ เปนเพียงขอสนั นษิ ฐาน คือพระเจาอโศกมหาราชเสวยราชย ๒๑๘ ป หลังพุทธปรินิพพาน
ตอ มาอกี ๑๖ ป (บางฉบบั วา ๑๗ ป) จึงไดท ําสงั คายนา เมือ่ เปนเชนนจ้ี ึงตอ งนับ ๑ ต้ังแตปเ สวยราชย

๓๖ บทที่ ๒ ความรเู รอื่ งพระไตรปฎก
Knowledge of the scriptures
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

แมส ังคายนาคร้งั ที่ ๓ ในอนิ เดยี ซง่ึ กลา วมาแลว ขางตน ทางฝายจีนและทิเบตก็ไม
มีบนั ทกึ รับรองไวเ พราะเปนคนละสายเชนเดยี วกัน

แ ต เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร สั ง ค า ย น า ค รั้ ง นี้ เ ป น ที่ รู กั น ท่ั ว ไ ป ใ น ว ง ก า ร ข อ ง ผู ศึ ก ษ า
พระพุทธศาสนาจึงนับวามีความสําคัญทางประวัติศาสตรที่ควรนํามากลาวไวดวย และเมื่อ
คิดตามลาํ ดบั เวลาแลวก็นับเปนสังคายนาคร้ังท่ี ๔ ท่ีทําในอินเดีย เมื่อประมาณ ค.ศ. ๑๐๐
หรือ พ.ศ. ๖๔๓ เรื่องปท่ีทําสังคายนาน้ีหนังสือบางเลมก็กลาวตางออกไป สังคายนาคร้ังนี้
กระทํา ณ เมืองชาลันธร แตบางหลักฐานก็วาทําท่ีกาษมีระหรือแคชเมียร รายละเอียดบาง
ประการจะไดกลาวถึงตอนท่วี า ดว ยการสงั คายนาของนกิ ายสัพพตั ถิกวาท

มีขอสังเกต คือหนังสือประวัติศาสตรของอินเดียบางเลม กลาววา๑๐ ใน ค.ศ.
๖๔๓ (พ.ศ. ๑๑๗๗) พระเจาศลิ าทติ ย ไดจ ัดใหม ีสงั คายนาข้ึนในอินเดียภาคเหนือ มีกษัตริย
ประเทศราชมารวมดว ยถงึ ๒๑ พระองค ในพิธีน้ีมีพระสงฆผูคงแกเรียนและพราหมณผูทรง
ความรูมาประชุมกัน ในวันแรกตั้งพระพุทธรูปบูชาในพิธี ในวันท่ี ๒ ต้ังรูปสุริยเทพ ในวันท่ี
๓ ตัง้ รปู พระศิวะ การสังคายนาครั้งน้ีจึงมีลักษณะผสม คือท้ังพุทธ ทั้งพราหมณ ภิกษุที่เขา
ประชุมก็มีทั้งฝายเถรวาทและมหายาน แตเม่ือสอบดูประวัติของภิกษุเฮี่ยนจัง๑๑ ซ่ึงบันทึก
เหตกุ ารณต อนน้ไี วดวย กลายเปนการประชมุ เพอ่ื ใหม าโตแยง กบั ภกิ ษุเฮยี่ นจังผแู ตงตํารายก
ยองพระพุทธศาสนาฝายมหายานไป หาใชการสังคายนาอยางไรไม ท่ีบันทึกไวที่นี้ดวยก็
เพอื่ ใหห มดปญ หาประวัตสิ งั คายนาในประเทศอินเดยี

๒.๕.๒ การสงั คายนาของลังกา
ลังกาซ่ึงนับถือพระพุทธศาสนาฝายเถรวาทเชนเดียวกับไทย คงรับรองการ
สังคายนาครั้งท่ีสามครั้งแรกในอินเดีย แตไมรับรองสังคายนาคร้ังที่ ๔ ซ่ึงเปนของนิกาย
สพั พตั ถิกวาทผสมกบั ฝา ยมหายาน
หนังสือสมันตัปปสาทิกาซ่ึงแตงอธิบายวินัยปฏก กลาววาเมื่อทําสังคายนาครั้งท่ี
๓ เสร็จแลว พระมหินทเถระผูเ ปน โอรสของพระเจาอโศก พรอมดวยพระเถระอื่นๆ รวมกัน
ครบ ๕ รูป ไดเดินทางไปเผยแผพระพุทธศาสนาในลังกา ไดพบพระเจาเทวนัมปย ติสสะ
แสดงธรรมใหพระราชาเล่ือมใสและประดิษฐานพระพุทธศาสนาไดแลวก็มีการประชุมสงฆ
ใหพระอรฏิ ฐะผเู ปนศิษยข องพระมหินทเถระ สวดพระวนิ ยั เปนการสงั คายนาวนิ ยั ปฏก สวน

๑๐ Sir W.W. Hunter, Brief History of the Indian Peoples, (Oxford : Clarendon
Press, Concept Publishing Company, 2012), p. 81

๑๑ ในภาษาไทยมี หนังสือช่ือประวัติพระถังซัมจ๋ัง นางเคงเหลียน สีบุญเรือง แปลจาก
ภาษาจนี มขี อ ความตอนน้,ี หนา ๒๓๘.

ศกึ ษาเฉพาะเรอื่ งในพฒั นาการแหง พระพุทธศาสนา ๓๗
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

หนงั สืออื่นๆ เชน สังคีติยวงศ กลาววา มีการสังคายนาท้ังสามปฏกสังคายนาคร้ังน้ี กระทํา
ทถี่ ูปาราม เมอื งอนุราธปรุ ะ มพี ระมหนิ ทเถระเปน ประธาน

การสังคายนาครั้งนี้ ตอจากสังคายนาคร้ังที่ ๓ ในอินเดียไมก่ีป คือการทํา
สังคายนาครั้งท่ี ๓ กระทําใน พ.ศ. ๒๓๕ พอทําสังคายนาเสร็จแลวไมนาน (พ.ศ. ๒๓๖)
พระมหินทเถระก็เดินทางไปเผยแผพระพุทธศาสนาในลังกา และในป พ.ศ. ๒๓๘ ก็ไดทํา
สังคายนาในลงั กา เหตุท่ีอางในการทําสังคายนาคร้ังนี้ก็คือ เพ่ือใหพระศาสนาต้ังมั่น เพราะ
เหตุท่ีสังคายนาครั้งน้ีหางจากคร้ังแรกประมาณ ๓-๔ ป บางมติจึงไมยอมรับเปนสังคายนา
เชนมติของพมาดังจะกลาวขางหนา ขาพเจามีความเห็นวา สังคายนาคร้ังนี้ อาจเปน
รากฐานใหช าวลงั กาทอ งจําพระพุทธวจนะ จึงตอ งประชุมชแ้ี จงหรือแสดงรูปแหงพุทธวจนะ
ตามแนวท่ีไดจัดระเบียบไวในการสังคายนาครั้งท่ี ๓ ในอินเดีย ฉะนั้น จึงนับไดวาเปน
สังคายนาครงั้ แรกในลังกา

สังคายนาคร้ังท่ี ๒ ในลังกา กระทําเม่ือประมาณ พ.ศ. ๔๓๓๑๒ ในรัชสมัยพระ
เจาวัฏฏคามณีอภัย เรื่องที่ปรากฏเปนเหตุทําสังคายนาคร้ังนี้ คือเห็นกันวา ถาจะใชวิธี
ทองจําพระพุทธวจนะตอไป ก็อาจมีขอวิปริตผิดพลาดไดงาย เพราะปญญาการทองจําของ
กุลบุตรเส่ือมถอยลง จึงตกลงจารึกพระพุทธวจนะลงในใบลาน มีคํากลาววา ไดจารึกอรรถ
กถาลงไวดว ย สังคายนาครั้งนีท้ าํ ขนึ้ ที่อาโลกเลณสถาน ณ มตเลชนบท ซึ่งไทยเราเรียกวาม
ลัยชนบท ประเทศลังกา มีพระรักขิตมหาเถระเปนประธาน ไดกลาวแลววา บางมติไม
รบั รองการสงั คายนาของพระมหนิ ทวาเปนคร้ังที่ ๔ ตอ จากอินเดีย แตสังคายนาครั้งท่ี ๒ ใน
ลังกาน้ไี ดรบั การรบั รองเขา ลําดบั โดยทั่วไป บางมติก็จัดเขาเปนลําดับท่ี ๕ บางมติไมรับรอง
การสังคายนาของพระมหินท (ครั้งแรกในลังกา) ก็จัดเปนสังคายนาครั้งที่ ๒ ในลังกาน้ีวา
เปนครัง้ ท่ี ๔ ตอ จากอินเดยี

สังคายนาคร้ังที่ ๓ ในลังกา กระทําเมื่อไมถึง ๑๐๐ ปมาน้ีเอง คือใน พ.ศ.
๒๔๐๘๑๓ (ค.ศ. ๑๘๖๕) ที่รตั นปุระในลังกา พระเถระชื่อหิกขุทเว สิริสุมังคละ เปนหัวหนา
กระทําอยู ๕ เดือน การสังคายนาคร้ังน้ีนาจะไมมีใครรูกันมากนัก นอกจากเปนบันทึกของ
ชาวลงั กาเอง การโฆษณากค็ งไมม ากมายเหมอื นสังคายนาคร้ังท่ี ๖ ของพมา

๒.๕.๓ การนับสงั คายนาของพมา
ไดกลาวแลววา พมาไมรับรองสังคายนาคร้ังแรกในลังกา คงรับรองเฉพาะ
สังคายนาคร้ังที่ ๒ ของลังกาวา เปนครงั้ ที่ ๔ ตอ จากน้ันก็นับสังคายนาครั้งท่ี ๕ และที่ ๖ ซ่ึง
กระทําในประเทศพมา

๑๒ หลักฐานบางแหงวา พ.ศ. ๔๕๐.
๑๓ ลงั กานับเปน ๒๔๐๙.

๓๘ บทที่ ๒ ความรเู รอ่ื งพระไตรปฎก
Knowledge of the scriptures
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

สังคายนาครั้งแรกในพมา หรือพมานับวาเปนคร้ังท่ี ๕ ตอจากคร้ังจารึกลงใน
ใบลานของลังกา สังคายนาครั้งน้ี มีการจารึกพระไตรปฏกลงในแผนหินออน ๗๒๙ แผน ณ
เมืองมันดเล ดวยการอุปถัมภของพระเจามินดง ใน พ.ศ. ๒๔๑๔ (ค.ศ. ๑๘๗๑) พระมหา
เถระ ๓ รูป คือ พระชาคราภิวังสะ พระนรินทาภิธชะ และพระสุมังคลสามี ไดผลัดเปล่ียน
กันเปนประธานโดยลําดับ มีพระสงฆและพระอาจารยผูแตกฉานในพระปริยัติธรรมรวม
ประชุม ๒๔๐๐ ทาน กระทําอยู ๕ เดอื นจึงสําเร็จ

สังคายนาคร้ังที่ ๒ ในพมา หรือพมานับวาเปนคร้ังท่ี ๖ ท่ีเรียกวาฉัฏฐ
สังคายนา เร่ิมกระทําเมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ จนถึงวันท่ี ๒๔ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๔๙๙ เปนอันปดงาน ในการปดงานไดกระทํารวมกับฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ (การ
นับปของพมา เร็วกวาไทย ๑ ป จึงเทากับเริ่มพ.ศ. ๒๔๙๘ ปด พ.ศ. ๒๕๐๐ ตามท่ีพมานับ)
พมา ทาํ สงั คายนาครั้งนี้ มงุ พมิ พพ ระไตรปฏกเปนขอแรก แลวจัดพิมพอรรถกถา (คําอธิบาย
พระไตรปฎก) และคําแปลภาษาพมาโดยลําดับ มีการโฆษณาและเชิญชวนพุทธศาสนิกชน
หลายประเทศไปเขา รว มพธิ ดี ว ย โดยเฉพาะประเทศเถรวาท คือ พมา ลังกา ไทย ลาว เขมร
ทั้งหาประเทศน้ีถือวาสําคัญสําหรับการสังคายนาครั้งนี้มาก เพราะใชพระไตรปฏกภาษา
บาลีอยางเดียวกันจึงไดมีสมัยประชุม ซึ่งประมุขหรือผูแทนประมุขของท้ังหาประเทศน้ีเปน
หัวหนา เปนสมยั ของไทย สมัยลงั กา เปนตน ไดมีการกอสรางคุหาจําลองทําดวยคอนกรีตจุ
คนไดหลายพันคน มีทนี่ งั่ สาํ หรับพระสงฆ ไมนอยกวา ๒,๕๐๐ ท่ี บรเิ วณทก่ี อสรางประมาณ
๒๐๐ ไรเศษ เมื่อเสร็จแลวไดแจกจายพระไตรปฏกฉบับอักษรพมาไปในประเทศตางๆ
รวมท้ังประเทศไทยดว ย

๒.๕.๔ การนบั สงั คายนาของไทย
ตามหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมของไทยเรายอมรับรองสังคายนาคร้ังท่ี
๑-๒-๓ ในอนิ เดีย และครั้งท่ี ๑-๒ ในลังกา รวมกัน ๕ ครั้ง ถอื วาเปน ประวัติที่ควรรูเก่ียวกับ
ความเปน มาแหงพระธรรมวนิ ัย แตส มเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวิรญาณวโรรส ทรง
ถือวาสังคายนาในลังกาทั้งสองคร้ังเปนเพียงสังคายนาเฉพาะประเทศ ไมควรจัดเปน
สงั คายนาทว่ั ไป จึงทรงบนั ทกึ พระมติไวใ นทายหนังสอื พุทธประวัติ เลม ๓
แตตามหนังสือสังคีติยวงศ หรือประวัติแหงการสังคายนา ซ่ึงสมเด็จพระวันรัต
วัดพระเชตุพนรจนาเปนภาษาบาลีในรัชกาลท่ี ๑ ตั้งแตคร้ังเปนพระพิมลธรรม ไดลําดับ
ความเปนมาแหง สังคายนาไว ๙ คร้ัง ดังตอไปนี้
สังคายนาครัง้ ที่ ๑-๒-๓ ทําในประเทศอนิ เดียตรงกับทก่ี ลาวไวใ นเบื้องตน
สังคายนาครัง้ ที่ ๔-๕ ทําในลงั กา คือคร้ังท่ี ๑ ท่ี ๒ ท่ีทําในลังกา ดังไดกลาวแลว
ในประวตั ิการสงั คายนาของลงั กา

ศกึ ษาเฉพาะเรอ่ื งในพัฒนาการแหง พระพทุ ธศาสนา ๓๙
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

สังคายนาคร้ังที่ ๖ ทําในลังกาเม่ือ พ.ศ. ๙๕๖ พระพุทธโฆสะไดแปลและเรียบ
เรียงอรรถกถา คือคําอธิบายพระไตรปฎก จากภาษาลังกาเปนภาษาบาลี ในรัชสมัยของ
พระเจามหานาม เน่ืองจากการแปลอรรถกถาเปนภาษาบาลีครั้งน้ี มิใชการสังคายนา
พระไตรปฎก ทางลงั กาเองจึงไมถือวาเปนการสังคายนา ตามแบบแผนที่นิยมกันวา จะตอง
มีการชาํ ระพระไตรปฎ ก

สังคายนาคร้ังท่ี ๗ ทําในลังกาเมื่อ พ.ศ. ๑๕๘๗ พระกัสสปเถระไดเปนประธาน
มีพระเถระรวมดวยกวา ๑,๐๐๐ รูป ไดรจนาคําอธิบายอรรถกถาพระไตรปฎก เปนภาษา
บาลี กลาวคือแตงตําราอธิบายคัมภีรอรรถกถา ซึ่งพระพุทธโฆสะไดทําเปนภาษาบาลีไวใน
การสังคายนาคร้ังที่ ๖ คําอธิบายอรรถกถานี้วาตามสํานวนนักศึกษาก็คือ คัมภีรฎีกา ตัว
พระไตรปฎก เรียกวาบาลี คําอธิบายพระไตรปฎก เรียกวา อรรถกถา คําอธิบายอรรถกถา
เรียกวา ฎกี า การทําสังคายนาครั้งนี้ เนื่องจากมิใชสังคายนาพระไตรปฎก แมทางลังกาเอง
ก็ไมรับรองวา เปนสังคายนา

อยางไรก็ตาม ขอความที่กลาวไดในหนังสือสังคีติยวงศ ก็นับวาไดประโยชนใน
การรูความเปน มาแหงพระไตรปฎก อรรถกถา และฎีกา อยางดยี ิง่

สังคายนาครั้งท่ี ๘ ทําในประเทศไทย ประมาณ พ.ศ. ๒๐๒๐ พระเจาติโลกราช
แหงเชียงใหม ไดอาราธนาพระภิกษุผูทรงไตรปฎกหลายรอยรูป ใหชวยชําระอักษร
พระไตรปฎก ในวัดโพธาราม เปนเวลา ๑ ป จึงสําเร็จสังคายนา ครั้งนี้จัดเปนครั้งที่ ๑ ใน
ประเทศไทย

สงั คายนาคร้ังท่ี ๙ ทําในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๑ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธ
ยอดฟาจุฬาโลก ปฐมกษัตริยแหงบรมราชจักรีวงศ กรุงรัตนโกสินทร ไดทรงอาราธนา
พระสงฆใหชําระพระไตรปฎก ในครั้งน้ีมีพระสงฆ ๒๑๘ รูป กับราชบัณฑิตาจารยอุบาสก
๓๒ คน ชว ยกันชําระพระไตรปฎ ก แลวจัดใหมกี ารจารกึ ลงในใบลาน สังคายนาคร้ังนี้สําเร็จ
ภายใน ๕ เดอื น จัดวาเปนสงั คายนาคร้งั ท่ี ๒ ในประเทศไทย

ประวัติการสังคายนา ๙ คร้ังตามที่ปรากฏในหนังสือสังคีติยวงศ ซึ่งสมเด็จพระ
วันรัตรจนาไวนี้ ภิกษุชินานันทะ ศาสตราจารยภาษาบาลี และพุทธศาสตรแหงสถาบัน
ภาษาบาลีท่ีนาลันทาไดนําไปเลาไวเปนภาษาอังกฤษ ในหนังสือ ๒๕๐๐ ป แหง
พระพทุ ธศาสนาในอินเดยี ซ่ึงพิมพขึ้นในโอกาสฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ ในอินเดียดวย

ความรูเรื่องการชําระและการพิมพพระไตรปฎกในประเทศไทย มีความสําคัญ
สาํ หรับพุทธศาสนกิ ชนชาวไทยโดยเฉพาะ ขาพเจาจึงจะกลาวถึงเรื่องนี้คอนขางละเอียดอีก
ครง้ั หนงึ่ เมือ่ ไดกลาวถงึ เรอ่ื งอื่น ๆ เสร็จแลว

๔๐ บทที่ ๒ ความรเู ร่อื งพระไตรปฎก
Knowledge of the scriptures
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๒.๕.๕ การสังคายนาของฝายมหายาน
การที่กลาวถึงสังคายนาฝายมหายาน ซ่ึงเปนคนละสายกับฝายเถรวาทไวในที่นี้
ดวย ก็เพ่ือเปนแนวศึกษาและประดับความรู เพราะพระไตรปฎกของฝายเถรวาท
โดยเฉพาะสุตตันตปฎก ไดมีคําแปลในภาษาจีน ซ่ึงแสดงวาฝายมหายานไดมีเอกสารของ
ฝายเถรวาทอยูดวย จึงควรจะไดสอบสวนดูวา ความเปนมาแหงพระไตรปฎกน้ัน ทางฝาย
มหายานไดก ลาวถึงไวอ ยางไร
เมอ่ื กลาวตามหนงั สอื พุทธประวตั ิ และประวัติสังฆมณฑลสมัยแรกตามฉบับของธิ
เบต ซ่ึงชาวตางประเทศไดแปลไวเปนภาษาอังกฤษ๑๔ ไดกลาวถึงการสังคายนา ๒ คร้ัง คือ
คร้งั ที่ ๑ และครง้ั ที่ ๒ ในอินเดยี ดังที่รกู ันอยูท่ัวไป แตจะเลาไวในท่ีนี้ เฉพาะขอที่นาสังเกต
คอื
ในสังคายนาครั้งที่ ๑ หลักฐานฝายเถรวาท วาสังคายนาพระธรรมกับพระวินัย
พระอานนทเปนผูตอบคําถามเก่ียวกับพระธรรม จึงหมายถึงวา พระอานนทไดวิสัชนาท้ัง
สุตตันตปฎกและอภิธัมมปฎก แตในฉบับของธิเบตกลาววา พระมหากัสสปเปนผูวิสัชนา
อภิธัมมปฎก สวนพระอานนทวิสัชนาสุตตันตปฎก และพระอุบาลีวิสัชนาวินัยปฎก กับได
กลาวพิสดารออกไปอีกวา สังคายนาสุตตันตปฎกกอน พอพระอานนทเลาเรื่องปฐมเทศนา
จบ พระอัญญาโกณฑัญญะไดยนื ยันวา ถกู ตอ งแลว เปน พระสตู รทีท่ านไดสดับมาเอง แมเม่ือ
กลาวสูตรท่ี ๒ (อนัตตลักขณสูตร) จบ พระอัญญาโกณฑัญญะก็ใหคํารับรองเชนกัน
รายละเอียดอยางอ่ืนที่เห็นวาฟนเฝอ ไดงดไมนํามากลาวในที่น้ี มีขอสังเกตอีกอยางหน่ึงก็
คอื ในหนังสอื ที่อา งถึงนใี้ ชค ําวา มาติกา(มาตรฺ ิกา) แทนคาํ วา อภิธมั มปฎก
ในสังคายนาครั้งท่ี ๒ ฉบับมหายานของธิเบตไดกลาวคลายคลึงกับหลักฐานของ
ฝายเถรวาทมาก ท้ังไดลงทายวา ที่ประชุมไดลงมติ ตําหนิขอถือผิด ๑๐ ประการของภิกษุ
ชาววัชชี อันแสดงวาหลักฐานของฝายมหายานกลับรับรองเรื่องนี้ ผูแปล (คือ Rockhill) อาง
วาไดสอบสวนฉบับของจีน ซึ่งมีผูแปลเปนภาษาอังกฤษแลว ก็ไมปรากฏวากลาวถึงอะไร
นอกจากขบลงดวยการตําหนขิ อ ถือผดิ ๑๐ ประการนน้ั
ดร. นลินักษะ แหงมหาวิทยาลัยกัลกัตตา อินเดีย ไดพยายามรวบรวมหลักฐาน
ฝายมหายานเก่ียวดวยสังคายนาคร้ังที่ ๒ ไวอยางละเอียดเปน ๓ รุน คือรุนแรก รุนกลาง

๑๔ W.W. Rodckhill, The Life of the Buddha and the Early History of His
Order, (London, Trübner & co.1884.), p.124.


Click to View FlipBook Version