The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนา

ศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนา

ศกึ ษาเฉพาะเรือ่ งในพัฒนาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๑๔๑
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

เมื่อรวมคําท้ังสองเขาดวยกันคําวา “จิตเดิมแท” หมายถึง จิตที่มีความบริสุทธ์ิและเปลง
ประกายโดยธรรมชาติ ซ่ึงเปรียบเทียบไดกับดวงอาทิตยที่มีประกายแสงโดยปกติ คือพอกพูน
(อาจิต)และส่ังสม (อปุ จิ) อารมณ ๖ คอื รูป เสยี ง กลิน่ รส โผฏฐพั พะ และธรรมารมณ

๔.๕ จติ เดิมแทในพระสูตรมหายาน

๔.๕.๑ จิตเดิมแทในลงั การวตารสูตร
ในลังกาวตารสูตรกลาวถึงคําวา “จิต วลปะ วิชญัปติ มโน วิชญาน อาลยะ”๖๗
ทัง้ ๖ คําน้ีเปน คาํ ที่สามารถใชแ ทนจติ ได แตมเี พียง ๓ คํา คือ จิต มนัส วิญญาณ ที่ใชแสดง
ถึงบทบาทหนาที่ของจิตในระดับท่ีแตกตางกัน ดังขอความท่ีวา “จิตเริงระบําเหมือนนัก
ฟอน มนัสเหมือนผูกํากับการแสดงวิญญาณ ๖ เหมือนผูชมการแสดงบนเวที”๖๘ อธิบาย
ความไดวา (๑) จติ หรอื อาลยวิญญาณเปน แหลง ทม่ี าของปรากฏการณหรืออารมณท่ีเรารับรู
ทางอายตนะ เหมือนนักฟอนเปนแหลงท่ีมาของการฟอนรํา (๒) มนัส ทําหนาที่กํากับ
อารมณท่ีรับรูใหเปนไปตามที่ตนตองการ เหมือนผูกํากับการแสดงทําหนาที่กํากับการฟอน
ราํ ใหเ ปน ไปตามทต่ี นตอ งการ และ (๓) วิญญาณ ๖ ทําหนาท่ีรับอารมณอันมีแหลงที่มาจาก
อาลยวิญญาณและผานการกํากับของมนัส เหมือนผูชมการฟอนรําบนเวทีอันเกิดจากการ
แสดงของนักฟอนและผานการควบคุมของผูกํากับ และคําวา “จิต เปนอัพยากฤตอยูเปน
นติ ยม นัสสัญจรไปในสองทศิ ทาง วิญญาณรบั เอาสิง่ ทีป่ รากฏซง่ึ ไมเปนทั้งกุศลและอกุศล”๖๙
มีคําอธิบายวา (๑) จิตหรืออาลยวิญญาณ เปนจิตประเภทกลางๆ หรืออัพยากฤต ไมอาจ
ตัดสินในเชิงจรยิ ธรรมไดว า เปน จิตดีหรอื ไมดี (๒) มนสั สัญจรไปในสองทิศทางหรือทําหนาที่
สองอยาง คือ ก. กําหนดหมาย (มนฺยติ) ในอาลยวิญญาณ ข. ทําอาลยวิญญาณใหเปน
อารมณของตน อีกอยางหน่ึง หมายความวาทําหนาท่ีคิดปรุงแตงใหเกิดทวิภาวะ ซ่ึงขัดแยง
กับธรรมชาติเดิมแทของจิตที่มีภาวะเปนหนึ่งเดียวปราศจากทวิภาวะ๗๐ และ (๓) วิญญาณ
๖ ทําหนาที่รับรูอารมณที่ปรากฏทางอายตนะ ซึ่งการรับรูในข้ันน้ียังไมถือวาเปนกุศลหรือ
อกุศล ดีหรือไมดี เพราะอารมณยังไมถูกปรุงแตงดวยมนัส มีรายละเอียดเกี่ยวกับจิต
ดังตอไปน้ี

๖๗ The Lańkāvatāra Sūtra, trans. by D.T. Suzuki, (London : Routledge &
Kegan Paul Ltd., 1968), p. 260.

๖๘ The Lańkāvatāra Sūtra, trans. by D.T. Suzuki, p. 193.
๖๙ Ibid., pp. 249, 399.
๗๐ Ibid., p. 250.

๑๔๒ บทที่ ๔ แนวคิดจติ ประภสั สรในพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน

พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. The concept of Mental Propitiation in Theravada and Mahayana Buddhism

๑) จิต (อาลยวิญญาณ มูลวิญญาณ วิปากวิญญาณ สรรพพีชวิญญาณ อาทาน
วิญญาณ ปจจุบันนวิญญาณ) หมายถึง จิตท่ีเปนรากฐานท่ีอยูในภาวะธรรมชาติลวนๆ ซึ่งมี
ความบรสิ ุทธ์ิประภัสสรโดยธรรมชาติ เปนครรภแหง พระตถาคต (ตถาคตครรภ) ดังความใน
ลงั กาวตารสูตรวา “จิตเปนประภสั สรโดยธรรมชาติ เปน ตถาคตครรภ มีความงดงาม”๗๑ จิต
ชนิดนี้ ในนกิ ายโยคาจารเรยี กช่อื ไดห ลายอยา งดงั ตอ ไปน้ี

ก. อาลยวิญญาณ คําวา อาลยวิญญาณนี้ มีความหมายได ๒ นัย คือ นัยที่
๑ หมายถึงวิญญาณที่เปนแหลง เปนที่อาศัย หรือเปนเสมือนเรือนคลังสําหรับเก็บเมล็ด
พันธุตางๆ (สรฺวพีชก) เชน กิเลสละเอียดออน (อาศรยะ/อนุศัย) ผลกรรมดีกรรมช่ัว และ
วาสนา คือ ความเคยชินหรืออุปนิสัยตางๆ ท่ีช่ือวา อาลยวิญญาณนี้ เพราะอรรถวาเปน
แหลงเก็บรวบรวมสรรพพีชะน่ันเองอนึ่ง เพราะเปนที่เก็บแหงอัสมิมานะ...”๗๒ นัยท่ี ๒
หมายถึงวิญญาณทย่ี ึดม่ันถือมั่น เพราะคาํ วา “อาลย” มีรากศัพทมาจาก “อา+ลิ” หมายถึง
ยึดมั่น ยึดถือ ผูกพัน สวนในคัมภีรชั้นรองของโยคาจาร๗๓ นิยมใชอาลยวิญญาณใน
ความหมายท้ัง ๒ นัยนี้ควบคูกันไป เชน เปนวิญญาณที่ตกอยูในสังสารวัฏบาง เปนบอเกิด
แหง สังสารวัฏบาง เปนทเี่ กบ็ วิบากกรรมและกรรมชว่ั บาง

อนึ่ง คําวา “อาลย” แปลวาแหลงหรือที่อยู กับคําวา วิญญาณ ท่ีแปลวา
หนวยของการรับรู เมื่อรวมกันไดความหมายวา ความรูสํานึกท่ีเปนแหลงรวบรวมสะสม
เมล็ดพันธุแหงกรรม ท้ังน้ีอาลยวิญญาณเปนธาตุรูมีหนาที่หลักๆ อยู ๓ ประการ คือ (๑) รู
เก็บ คือสามารถเก็บรอยประทับตางๆของกรรม อุปมาเหมือนยุงฉางเก็บขาวเปลือก (๒) รู
กอ คือสรางอัตตาใหเ กิดข้ึนกบั ตัวเองเกดิ เปน อารมณตา งๆ แบบทวภิ าวะ มีผูมองกับสิ่งท่ีถูก
มอง การท่ีอาลยวิญญาณมองตัวเองและแยกตัวเองออกมาทําหนาท่ีรับรูตัวเอง ทําใหดู
เหมือนแยกตัวเองออกมาเปนวิญญาณตัวใหม จึงมีชื่อเรียกตัวใหมวา มนัส (กลิษฎมโน
วิญญาณ) และ (๓) รูปรุง คือปรุงแตงอารมณตามเหตุปจจัยอันเอ้ือใหเกิดการทํากรรมใหม
ตามรอยประทับที่มีอยู ยกตัวอยางเชน ถามีกุศลพีชะอยูมากก็ทําใหจิตใจท่ีอยากจะทําดี

๗๑ Ibid., p. 282.
๗๒ มหายานปญจขันธศาสตร อางใน เสถียร โพธินันทะ, ชุมนุมพระสูตรมหายาน
(กรงุ เทพมหานคร : สํานักพิมพบ รรณาคาร, ๒๕๑๖), หนา ๓๕๗.
๗๓ โยคาจารารยภูมิ มหายานสัมครหะ และตริมศิกา ใน Ming-Wood Liu, “The mind-
only teaching of Ching-ying Hui-Yuan: An early interpretation of Yogācāra thought in
China,”Philosophy East and West, vol. 35, no.4 (October 1985), p. 335. อางใน พระมหา
สมบูรณ วุฑฺฒิกโร(พรรณา), “จิตตมาตรของนิกายโยคาจาร : การศกึ ษาเชงิ วิเคราะหบ นฐานแนวคิดเร่ือง
จติ ในพระพุทธศาสนายคุ ตน”, หนา ๗๘.

ศึกษาเฉพาะเรอ่ื งในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา ๑๔๓
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

มากย่ิงๆ ข้ึนไป อาลยวิญญาณที่ทําหนาที่ปรุงแตงอารมณมีอยู ๖ ทาง คือ ทางจักขุ (ตา)
ทางโสตะ (ห)ู ทางฆานะ (จมูก) ทางชิวหา (ลนิ้ ) ทางกายะ (กาย) และทางมโน (ใจ) ท้ังหมด
นี้เปนวิญญาณเฉพาะทาง มีหนาที่ในการสรางโลกและความรูทั้งหลาย๗๔ ความจริงอาลย
วิญญาณน้ีไมใชแนวคิดใหมท่ีเพิ่งเกิดขึ้นในนิกายโยคาจาร มีอยูแลวในคัมภีรฝายสาวกยาน
โดยออม ดังทท่ี านอสงั คะไดอางหลกั ฐานในคัมภีรเอโกตตราคม ไววา หมูสัตวเปนผูหมกมุน
ในอาลัย (อาลยรตา) ยินดีในอาลัย (อาลยรามา) บันเทิงในอาลัย (อาลยมุทิตา) ยินดีย่ิงใน
อาลยะ (อาลยาภิรตา) เมื่อพระตถาคตแสดงธรรมที่ไมอาลัย หมูประชาเหลาน้ันก็ต้ังใจฟง
ดวยดี (ศุศฺรุสันติ) เง่ียโสตสดับ ตั้งใจใฝรู และปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมครั้นเมื่อพระ
ตถาคตอุบัตขิ ้นึ ในโลก พระธรรมอนั มหศั จรรยก็ปรากฏขึน้ ๗๕

จากขอความขางตนนี้ มีปรากฏเหมือนในพระไตรปฎกของเถรวาท ดังความวา
หมูสัตวผูยังหมกมุนในความถือตัว ยินดีในความถือตัว บันเทิงในความถือตัว เม่ือตถาคต
แสดงธรรมท่ีกําจัดความถือตัวก็ต้ังใจฟงดวยดี เง่ียโสตสดับ ตั้งใจใฝรู นี้เปนเหตุอัศจรรยไม
เคยปรากฏประการที่ ๒ ยอมปรากฏเพราะความปรากฏของตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธ
เจา๗๖

คําวา “อาลย” ในท่ีนี้มีความหมายตามนัยที่ ๒ คือหมายถึงความยึดม่ัน ผูกพัน
ซ่ึงพระอรรถกถาจารยอธิบายวา “บทวา อาลยรามา ความวา สัตวท้ังหลายยอมยึดมั่น
ผกู พนั ในกามคุณ ๕ ไดแก รปู เสียง กล่นิ รส โผฏฐพั พะ และธรรมารมณ

ทานฮุยหยวน (Hui-Yuan)* ไดนิยามคําวา “อาลย” วา “ไมเคยสูญเสีย”
(never loses) คอื จติ ไมเ คยสญู เสยี ธรรมชาติเดิมแทของมัน แมจ ะทองเที่ยวอยูในสังสารวัฏ

๗๔ ดูรายละเอียดใน สุมาลี มหณรงคชัย, พุทธศาสนามหายาน, (ฉบับปรับปรุงแกไข),
หนา ๑๒๐-๑๒๑.

๗๕ อางใน Walpola Rahula, Zen & the taming of the Bull, p. 82. อางใน พระ
มหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร (พรรณา), “จิตตมาตรของนิกายโยคาจาร : การศึกษาเชิงวิเคราะหบนฐาน
แนวคิดเรอื่ งจิตในพระพุทธศาสนายุคตน”, หนา ๗๘.

๗๖ อง.ฺ จตุกก. (ไทย) ๒๑/๑๒๘/๑๙๖.องฺ.จตกุ ก. (บาลี) ๒๑/๑๒๘.
* ทา นฮุยหยวน (Hui-Yuan) แหงวัดจ้ิงหยิง (Ching-ying Temple) มีชีวิตอยูระหวาง พ.ศ
.๑๐๖๖-๑๑๓๕ เปน พระสงฆจ นี ผูมีผลงานการแตงคัมภรี ม หายานหลายเลม ในชวงที่พระพุทธศาสนาใน
ประเทศจีนกําลังถูกกวาดลางโดยจักรพรรดิหวู (Wu) แหงราชวงศโจวเหนือ (the Nothern Chou
Dynasty) ทา นเปนพระรปู เดียวทีก่ ลา โตแยงจักรพรรดหิ วอู ยางเปด เผยและตรงไปตรงมาวา พทุ ธศาสนา
มีสิทธิ์ท่จี ะอยใู นประเทศจนี ได
* อาทานวิญญาณ โดยทว่ั ไปใชเ ปนคาํ ไวพจนข องอาลยวิญญาณ แตใ นที่นี้ทานฮุยหยวนลด
ระดบั ลงมาเปน วญิ ญาณท่ี ๗ คือใชแ ทนมนสั .

๑๔๔ บทที่ ๔ แนวคดิ จิตประภสั สรในพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน

พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. The concept of Mental Propitiation in Theravada and Mahayana Buddhism

ยาวนานเทาไรก็ตาม จิตก็ยังสามารถรักษาธรรมชาติเดิมแทของมันไวได โดยไดแบง
วญิ ญาณ ๘ ออกเปน ๒ ประเภท คือ (๑) จิตแท หมายถึงจิตท่ีเปนพื้นฐานหรือเปนแกนแท
จิตประเภทน้ีมี ๒ ดาน คือ ดานท่ีเวียนวายตายเกิดอยูในสังสารวัฏ เรียกช่ือวา อาลย
วิญญาณ และดานธรรมชาติเดิมแท มีความบริสุทธ์ิโดยธรรมชาติ มีตถาคตครรภ มี
ธรรมชาติแหงพุทธะ (พุทธธาตุ) ธรรมชาติดานน้ีไมเคยสูญเสียไปแมจะอยูในสังสารวัฏ
ยาวนานแคไหนก็ตาม เรียกช่ือวา อมลวิญญาณ หมายถึงวิญญาณที่ไรมลทิน (๒) จิตเทียม
หมายถึงวิญญาณ ๖ และอาทานวิญญาณ (มนัส*) และทานฮุยหยวน (Hui-Yuan) ยังมอง
วา“จิตกลุมหลังนี้เปนจิตเทียมหรือจิตผิดพลาด เพราะวิญญาณรับรูอารมณอยางผิดพลาด
และอาทานวญิ ญาณคิดปรงุ แตง อารมณอยางผิดพลาด”๗๗

ทา นติช นทั ฮนั ห มองวา อาลยวิญญาณมีหนาที่หลัก ๓ อยาง คือ (๑) หนาที่ใน
การเก็บรักษาพีชะแหงโลกประสบการณหรือขอมูลการรับรูของเราเอาไว โดยพีชะตางๆ ที่
ถกู เก็บฝงเอาไวใ นอาลยวญิ ญาณคือตัวแทนของทุกสิ่งทุกอยางท่ีเราไดทํา ไดมีประสบการณ
หรือไดรับรู โดยอาลยวิญญาณจะทําหนาท่ีดึงพีชะเหลานี้ทั้งหมดเขามารวมอยูดวยกัน
เหมือนแมเหล็กท่ีดึงดูดโลหะท้ังหลายเขามาหาตัวมัน (๒) หนาที่เปนพีชะในตัวมันเอง
กลา วคืออาลยวิญญาณนอกจากจะเปนแหลงที่เก็บพีชะทั้งหลายแลว ตัวมันเองยังเปนพีชะ
ไปพรอมกันดวย เรียกวาเปนทั้งที่เก็บพีชะและเปนตัวพีชะไปพรอมกัน เหมือนอาคาร
พิพิธภัณฑท่ีไมไดทําหนาที่เปนเพียงแคตึกเทานั้น หากยังทําหนาท่ีเปนงานศิลปะท่ีถูกจัด
แสดงไปพรอมกันดวย และ (๓) หนาท่ีเปนแหลงแหงความยึดถือวามีตัวตนเกิดจากการ
ทํางานที่ผิดพลาดของมนัสตออาลยวิญญาณ มนัสนั้นเกิดจากอาลยวิญญาณ หมุนวนไป
รอบๆ แลวยึดเอาบางสวนของอาลยวิญญาณวาเปนตัวตนที่เท่ียงแทถาวร สวนมากความ
ทกุ ขข องเราจะเปน ผลของการทาํ งานท่ผี ดิ พลาดของมนัสนเ้ี อง๗๘

สรุปวา อาลยวิญญาณ เปนมูลฐานของโลกและปรากฏการณ สรรพสิ่งเปน
เงาหรือพฤติภาพของอาลยวิญญาณ ซึ่งมีสภาพเปนอัพยากฤต มีหนาที่ เก็บ กอ ปรุงแตง
คําวา เก็บ คือเก็บพีชะของสรรพสิ่งไว กอ คือสรางพฤติภาพตางๆ ปรุงแตง คือสรางโลก
และความรูท ้ังหลาย

ข. อาทานวิญญาณ หมายถึงวิญญาณยึดเอาหรือถือเอา ตรงกับความหมาย
นัยที่ ๒ ของอาลยวิญญาณ ดังขอความในสัมธินิรโมจนสูตรท่ีวา “อาทานวิญญาณลึกลํ้าและ

๗๗ Ming-Wood Liu, “The mind-only teaching of Ching-ying Hui-Yuan: An
earlyinterpretation of Yogācāra thought in China”, pp. 366-367.

๗๘ Thich Naht Hanh, Transformation at the Base, (California: Parallax Press,
2001), pp. 19-20.

ศกึ ษาเฉพาะเรือ่ งในพฒั นาการแหงพระพุทธศาสนา ๑๔๕
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ละเอียดประณีตเปนที่วิวัฒนไปแหงพีชะทั้งหลายเหมือนกระแสน้ํา เราไมแสดงวิญญาณนี้แก
คนเขลา เพราะพวกเขาจะคิดวาเปนอาตมัน”๗๙ จะเห็นไดวา อาทานวิญญาณเปนจิตขั้น
พ้ืนฐานที่ละเอียดออนมาก เปนแหลงรวมของพีชะท้ังหลาย แตพระพุทธเจาตรัสวา
พระองคจะไมแสดงจิตประเภทนี้แกคนโงเขลาอาจกลาวไดวา ในยุคนั้นมีคนเขาใจผิดกัน
มากระหวางอาทานวิญญาณกับอาตมันของฮินดู เพราะทั้งสองแนวคิดมีความคลายคลึงกัน
มาก นอกจากน้ัน ทานสถิรมติไดใหคํานิยามวาอาทานวิญญาณเปนวิญญาณที่ยึดเอากาย
เปนอารมณ ดังขอความที่วา “เพราะความที่เปนผูถือเอากายนี้เปนอารมณ จึงมีนามเรียก
อีกอยางหน่งึ วา อาทานวิญญาณ เพราะเปนผูธํารงยึดในกรัชกายน้ี”๘๐ ซ่ึงคํานิยามน้ีถือวา
เนน ความหมายดานลบหรอื ดานที่เปนปญหาในสังสารวัฏ ทานติช นัท ฮันห ใหความหมาย
วา คําวา “อาทาน” หมายถึง การรักษา การถือไว การไมใหสูญหายไป นั่นคือการรักษาพี
ชะทัง้ ปวงเอาไวซ ง่ึ เปน หนา ทีพ่ ้นื ฐานของอาลยวิญญาณ๘๑

ค. มูลวิญญาณ หมายถึงวิญญาณพื้นฐานหรือรากฐาน คํานี้มีความหมาย
แบบกลางๆ ไมไดเนนมิติดานลบหรือบวก คืออาจจะเปนฐานแหงการเกิดในสังสารวัฏก็ได
หรือเปน ฐานแหงความหลดุ พนกไ็ ด ดงั ทที่ า นวสุพันธุกลาวไววา “วิญญาณท่ีหน่ึงเรียกวามูล
วิญญาณ เพราะตัวมันเองเปนวิบาก วิญญาณท่ีเหลือเรียกวาปวัตติวิญญาณ เพราะเปนไป
โดยอาศัยการรูความตางแหงผูเห็นกับสิ่งที่ถูกเห็น”๘๒ ขอความน้ีทานวสุพันธุไมไดนิยาม
ความหมายโดยตรง เพียงแตบอกสถานะของมูลวิญญาณวาเปนวิบาก แตก็ส่ือความหมาย
โดยออมวา เปนวิญญาณพ้ืนฐานที่ยังไมไดขึ้นมารับรูอารมณเหมือนปวัตติวิญญาณ
(วิญญาณ ๖ และมนัส) หรือเปนวิญญาณท่ีอยูในภาวะตามธรรมชาติลวน ๆ อีกอยางหนึ่ง
หมายถึงวิญญาณท่ีเปนฐานแหงการเกิดปวัตติวิญญาณ ในชวงหลังพุทธกาลมีการถกเถียง
กันระหวางนิกายตางๆ วาคนท่ีเขานิโรธสมาบัติมีชีวิตอยูไดอยางไร แตกตางจากคนตาย
อยางไร เพราะเปนที่ยอมรับกันวานิโรธสมาบัติเปนภาวะท่ีจิตและเจตสิกดับไป (จิตตกะ)
ฝา ยเถรวาทและสรวาสตวิ าทใหคําตอบตรงกันวา แมจิตและเจตสิกของคนเขานิโรธสมาบัติ
จะดับไปทั้งหมด แตอายุ รูป ชีวิตินทรีย และไออุน ยังคงทํางานอยู๘๓ นี้คือสิ่งที่ทําใหเขามี

๗๙ สัมธินิรโมจนสูตร อางใน D.T. Suzuki, Studies in the Lańkāvatāra Sūtra, p.
258. อางใน พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร (พรรณา), “จิตตมาตรของนิกายโยคาจาร: การศึกษาเชิง
วเิ คราะหบ นฐานแนวคิดเรื่องจิตในพระพทุ ธศาสนายคุ ตน”, หนา ๘๐.

๘๐ มหายานปญจขันธศาสตร อางใน เสถียร โพธินันทะ, ชุมนุมพระสูตรมหายาน, หนา
๓๕๗ .

๘๑ Thich Naht Hanh, Transformation at the Base, p. 21.
๘๒ ตริสวภาวนิรเทศ อา งใน Thomas E. Wood, Mind Only, p. 33.
๘๓ เสถยี ร โพธนิ นั ทะ, ประวัตศิ าสตรพระพทุ ธศาสนา, หนา ๒๗๘ ,๓๓๘.

๑๔๖ บทท่ี ๔ แนวคิดจติ ประภสั สรในพทุ ธศาสนาเถรวาทและมหายาน

พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. The concept of Mental Propitiation in Theravada and Mahayana Buddhism

ชวี ิตอยไู ดแ ละแตกตา งจากคนตาย นิกายโยคาจารไมเห็นดวยกับคําตอบน้ี โดยมองวา จิตท่ี
ดบั ไปในนิโรธสมาบัตนิ ั้นหมายเอาจติ ระดบั วญิ ญาณ ๖ เทานั้น สวนจิตระดับอาลยวิญญาณ
ยังคงเหลืออยู (สจิตตกะ) จิตระดับนี้ตางหากที่ทําใหคนเขานิโรธสมาบัติมีชีวิตอยูได ลําพัง
อายุ รปู ชวี ติ นิ ทรียและไออุน ยังไมเพยี งพอที่จะใหมชี ีวติ อยไู ด๘๔

๒) มนัส (กลิษฏมโนวญิ ญาณ) หมายถึง จิตท่ีกําลังทํางานคิดปรุงอยูภายใน
เปนจิตที่ยึดม่ันในอาลยวิญญาณแบบมีตัวตน ดังขอความในลังกาวตารสูตรที่วา “จิต
ประภัสสรโดยธรรมชาติถูกอุปกิเลสและมนัสเปนตน)ทําใหเศราหมอง (ประกอบดวยตัวตน
อันพระผูเลิศดวยวาทะแสดงไวแลว”๘๕ จากขอความนี้แสดงใหเห็นวา จิตประภัสสรกลาย
ไปเปนจิตเศราหมอง เพราะการคิดปรุงแตงของมนัสภายใตอิทธิพลของอุปกิเลส คือเครื่อง
เศราหมองซึ่งทานวสุพันธุขยายความวา “มนัสยึดเอาอาลยวิญญาณเปนอารมณ มีความ
กําหนดหมายวามีตัวตน ประกอบดวยกิเลส ๔ อยาง คือ อาตมทฤษฎี อาตมเสฺนหะ
อสั มิมานะ และอวทิ ยา”๘๖ และทานสถิรมติ ไดขยายความเพ่ิมเติมอีกวา “มโนอันวิเศษน้ัน
ไดแกวญิ ญาณทถี่ ือเอาอาลยวิญญาณเปนอารมณ วิญญาณดวงนี้มีอาตมโมหะ อาตมทฤษฎี
อาตมมานะ อาตมเสฺนหะ สัมปยุตตอยูตลอดจําเดิมแตปฏิสนธิตราบถึงจุติเปนปวัตติ
สืบเน่ืองทุกเวลายกเวนแตในพระอรหันตบุคคล ในอริยมรรค และในนิโรธสมาบัติ”๘๗ จาก
ขอความนี้จะเห็นวาอุปกิเลสท่ีเขามามีอิทธิพลตอการทํางานของมนัสทั้ง ๔ คือ (อาตม
โมหะ) ความหลงวาในตวั ตน(อาตมทฤษฎ)ี ความเชอ่ื วา มตี วั ตน (อาตมเสฺนหะ) ความรักใคร
ในตัวตน และ (อาตมมานะ) ความกําหนดหมายในตัวตน เหลานี้คือสิ่งท่ีเรียกวาอุปกิเลสซึ่ง
เกิดข้ึนมาจากกิเลสละเอียดออน (อาศรยะ/อนุศัย) ท่ีนอนเนื่องอยูในอาลยวิญญาณ และ
กิเลสเหลานี้จะเขาครอบงํามนัสใหทํางานคิดปรุงแตงแบบมีทวิภาวะหรือมีตัวฉัน-ของฉัน
(คราหยะ-คราหกะ) ดังที่นิกายโยคาจารอธิบายวา “มโน” มาจากรากศัพทวา “มน”
เหมือนกัน แตใชในความหมายตางกัน คือใชในความหมายวา “กําหนดหมาย”(มนฺยติ)๘๘
ตัวอยางคําวา “มานะ” ในคําวา “อัสมิมานะ” ก็มาจากรากศัพทวา “มน” เหมือนกัน

๘๔ Lambert Schmithausen, Ālayavijñāna, (Tokyo: The International Institute
for Buddhist Studies, 1987), p. 18. และดู Ian Charles Harris, The Continuity of
Mādhyamaka and Yogācāra in Indian Mahāyāna Buddhism, p. 166. อางใน พระมหา
สมบรู ณ วุฑฺฒกิ โร (พรรณนา), จติ ตมาตรของนกิ ายโยคาจาร: การศึกษาเชิงวิเคราะหบ นฐานแนวคดิ เรือ่ ง
จิตในพระพทุ ธศาสนายุคตน,” หนา ๘๑.

๘๕ The Lańkāvatāra Sūtra, trans. by D.T. Suzuki, p. 283.
๘๖ อภธิ รรมสมุจจยั อางใน Walpola Rahula, Zen & the Taming of the Bull, p. 81.
๘๗ มหายานปญ จขันธศาสตร อางใน เสถยี ร โพธนิ นั ทะ, ชุมนมุ พระสูตรมหายาน, หนา ๓๕๗
๘๘ D.T. Suzuki, Studies in the Lańkāvatāra Sūtra, p. 250.

ศกึ ษาเฉพาะเร่อื งในพัฒนาการแหง พระพทุ ธศาสนา ๑๔๗
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

แปลวา ความกําหนดหมายวา “ฉันเปน” ดังขอความของทานอสังคะที่วา “มนัส มีอาการ
คอื ความกาํ หนดหมาย) มนฺยนา (วา ‘ฉนั ทาํ ’) อหงั การ) ‘มานะวาฉันเปน’ (อัสมิมานะ)”๘๙
หรือขอความของทานวสุพันธุท่ีวา “มนัสยึดเอาอาลยวิญญาณเปนอารมณ มีความกําหนด
หมายวามีตวั ตน(มนฺยนาตมก...)”๙๐

คําวา “มโน” มาจากรากศัพทวา “มน” เหมือนกับฝายเถรวาท แตฝาย
มหายานใชในความหมายตางกัน คือใชในความหมายวา “กําหนดหมาย (มนฺยติ)๙๑
ตัวอยางคําวา “มานะ” ในคําวา “อัสมิมานะ” ก็มาจากรากศัพทวา “มน” เหมือนกัน
แปลวา ความกําหนดหมายวา “ฉันเปน” ดังขอความของทานอสังคะท่ีวา “มนัส มีอาการ
คือความกําหนดหมาย (มนฺยนา) วา ‘ฉันทํา’ (อหังการ)‘มานะวาฉันเปน’ (อัสมิมานะ)”๙๒
หรอื ขอ ความของทานวสพุ นั ธทุ วี่ า “มนสั เปนไฉน มนัสยึดเอาอาลยวิญญาณเปนอารมณ มี
ความกําหนดหมายวามีตัวตน (มนฺยนาตมก...)๙๓ อนึ่ง คําวา “มนัส”ของนิกายโยคาจาร
แปลวา ความกาํ หนดหมาย ทานภิกขุญาณนันทะ นิยามรากศัพท “มน” ในท่ีน้ีวา“คิด” (to
think) เม่ือสําเร็จรูปเปน “มฺญิตํ” จึงมีความหมายวา กิจกรรมการคิด หรือจินตนาการ
(thought activity or imagination)๙๔ คลายกับปเตอร ฮารวีย (Peter Harvey) ให
ความหมายคํากริยา “มฺญติ” วาหมายถึง “สรางมโนภาพ” (conceive [ideas]) ปกติคํา
น้ีจะใชหมายถึงการคิดแบบเอาตัวฉันเปนศูนยกลาง (I-centered thought) บนฐานของ
กเิ ลสมานะ เชน คดิ วา ฉันดกี วาเขาฉนั เสมอเขา หรือดอยกวาเขา๙๕

ดวยความหมายอยางน้ี จึงทําใหคําวา “จิต มโน วิญญาณ” หมายถึงการ
ทํางานของจิต ๓ ขั้น คือ ขั้นรากฐาน ข้ันใชความคิด และขั้นรับรูอารมณตามลําดับโดยไม
เอามโนไปรวมอยูในจิตข้ันรากฐาน (อาลยวิญญาณ) เหมือนอยางฝายเถรวาท เพราะฝาย

๘๙ มหายานสังครหะ อางใน William S. Waldron, The Buddhist Unconscious,
p. 120.

๙๐ วิมศติกาวิชญัปติมาตรตาสิทธิ อางใน Walpola Rahula, Zen & the Taming of
the Bull, pp. 81-82.

๙๑ D.T. Suzuki, Studies in the Lańkāvatāra Sūtra, p. 250.
๙๒ มหายานสังครหะ อางใน William S. Waldron, The Buddhist Unconscious,
p. 120.
๙๓ วิมศติกาวิชญัปติมาตรตาสิทธิ อางใน Walpola Rahula, Zen & the Taming of
the Bull,pp. 81-82.
๙๔ Bhikkhu Ñānananda, Concept and Reality, (Kandy: Buddhist Publication
Society,1997), p. 17.
๙๕ Peter Harvey, The Selfless Mind, (Curzon Press, 1995), p. 23.

๑๔๘ บทท่ี ๔ แนวคดิ จติ ประภสั สรในพทุ ธศาสนาเถรวาทและมหายาน

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. The concept of Mental Propitiation in Theravada and Mahayana Buddhism

เถรวาทเหน็ วา จิต กับ มโน (ปกติมโน) เปนจติ ขั้นรากฐานเหมือนกัน ดว ยเหตุนี้ จึงเปนท่ีมา
ของทฤษฎีวิญญาณ ๘ (จิต + มโน + วิญญาณ ๖ = วิญญาณ ๘) ฉะน้ัน นิกายโยคาจารจึง
หมายถึงจิตที่เศราหมอง (กลิษฏมนัส) หรือจิตที่กําหนดหมายภายใตการครอบงําของกิเลส
๔ อยาง คือ อาตมทฤษฎี อาตมเสนฺ หะ อสั มิมานะ และอวทิ ยา

๓) วิญญาณ (ประพฤติวิญญาณ ปญจวิญญาณ+มโนวิญญาณ) หมายถึง
จิตท่ีทํางานดวยการออกมารับรูถึงสิ่งท่ีมากระทบทางอายตนะ ไดแก ตา หู จมูก ล้ิน กาย
และใจ เรียกชื่อตามชองทางการรับรูวา จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหา
วิญญาณ กายวิญญาณ และมโนวิญญาณ การรับรูของจิตในข้ันนี้เกิดข้ึนเพราะอาศัย
องคประกอบ ๓ อยาง คือ ทวาร อารมณและวิญญาณหรือการใสใจ จิตข้ันนี้ของฝายโยคา
จารเหมอื นกบั จติ เถรวาท ประเด็นที่แตกตางกัน คือนิกายโยคาจารเห็นวา วิญญาณ ๖ เปน
ผลของกรรมในอดีต เม่ือเปนผลกรรมก็หมายความวามันถูกสราง ถูกปรุงแตง ถูกวาง
เง่ือนไขใหมีคุณสมบัติหรือความโนมเอียงบางอยาง ดังท่ีทานติช นัท ฮันห ไดอธิบายถึง
อิทธพิ ลของพีชะทม่ี ตี อ การรบั รโู ลกของมนุษยไวอยางนาสนใจวา

พีชะไมเพียงแตเปนส่ิงที่กําหนดรูปแบบจิตใจของเราเทาน้ัน หากแตยัง
ปรากฏตัวออกเปนอารมณแหงการรับรูของเราดวย เชน เปนภูเขา แมน้ํา และบุคคล เปน
ตน เวลาท่ีเราพบเจออะไรก็ตาม เราจะพยายามตีความใหมันเปนไปตามวาสนาหรือความ
เคยชินท่ีมีอยูในใจเราเชนเราไดเจอใครสักคนแลวมีความรูสึกวาไมชอบหนาเขา ปฏิกิริยา
อันน้ีไมสูญหายไปไหน มันจะถูกเก็บสะสมเปนพีชะในใจเรา ตอมาภายหลังเม่ือเราไดเจอ
เขาอีก เราก็จะเห็นเขาคนเดิมซ่ึงเปนคนที่เราไมชอบหนาอยูน่ันเอง ทั้งท่ีตัวเขาคนเดิมท่ีเรา
เคยเห็นไดเปล่ียนไปนานแลว ที่เปนเชนน้ีพีชะแหงการเห็นครั้งแรกข้ึนมามีอิทธิพลตอการ
รบั รูข องเรา๙๖

พีชะ คือธรรมชาติท่ีเปนเหตุ เปนส่ิงท่ีมีพลานุภาพมากซ่ึงแฝงอยูในอาลย
วญิ ญาณพรอมท่ีจะแสดงอานุภาพออกมาเมือ่ สภาพแวดลอมอาํ นวย พีชะเปนตัวสรางสรรพ
ส่ิง เปนปฐมเหตุแหงสรรพส่ิง มีหลากหลายไปตามสรรพส่ิง แบงออกเปน ๓ กลุม คือ (๑)
กลุมกุศล (๒) กลุมอกุศล (๓)กลุมอัพยากฤต พีชะเปนขณิกะ ขณะตนเปนอนันตรปจจัยแก
ขณะหลัง มสี ันตตติ ดิ ตอกันไปเร่อื ย๙๗

๙๖ Thich Naht Hanh, Transformation at the Base, pp. 45-46.
๙๗ พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโญ (วันจันทร), พุทธปรัชญา สาระและพัฒนาการ,
(กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม หาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔), หนา ๒๒๒.

ศกึ ษาเฉพาะเร่อื งในพฒั นาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๑๔๙
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

พอสรุปไดวา พีชะคือเชื้อหรือพลังท่ีอยูในอาลยวิญญาณ และทําหนาที่
ปฏิบัติการ ทําหนาท่ีเปนโครงท่ีหุมหอ อยูในฐานะเปนหอง เปนแหลงสะสมเก็บและมีพีชะ
กอใหเกิดพฤตภิ าพในรูปแบบตางๆ อยา งไมร จู บสิน้

๔.๕.๒ กระบวนการทาํ งานของจิตทั้ง ๓ ประการ
จิตท้ัง ๓ ประการดังกลาว มีการทํางานดังน้ี คือ อาลยวิญญาณจะมีมิติสองดาน
คอื มติ ิดา นท่ีเปนความบริสุทธิ์โดยธรรมชาติและมีตถาคตครรภ กับมิติดานที่ถูกหอหุมดวย
อาสวกิเลส เมื่ออาลยวิญญาณแปรสภาพ (วิชญานปริณามะ) ไปเปนวิญญาณ ๖ เพ่ือรับรู
อารมณทางอายตนะ การเปล่ียนแปลงน้ีเปนไปพรอมกับการถายทอดคุณสมบัติหรือความ
โนมเอียงบางอยางไปสูว ิญญาณพรอมกนั นั้นมโนภาพทีส่ ั่งสมไวในอาลยวิญญาณก็จะปรากฏ
ตัวออกมา (ประติภาส) เปนอารมณของวิญญาณดวย กลาวคือแปรสภาพไปเปนทั้งสวนท่ี
รับรู (ทรรศนภาค) และสว นทถี่ กู รับรู (นมิ ิตตภาค)๙๘ หลงั จากวิญญาณรับรูอารมณแลวก็จะ
เปล่ยี นไปเปน มโนเพอื่ เสพหรือปรงุ แตงอารมณทไี่ ดร ับรู ขณะนั้นอาสวกิเลสจะถูกกระตุนให
ฟุงขึ้นมามีอิทธิพลตอการทํางานของมโน มโนซ่ึงถูกครอบงําดวยกิเลสจึงปรุงแตงอารมณ
อยา งผดิ พลาดแบบมีตัวฉนั -ของฉันขึ้น (ทวิภาวะ) จากน้ันผลกรรมทั้งหมดไมวาจะเปนกุศล
และอกุศลอันเกิดจากการปรุงแตงของมโนจะถูกผองถายไปสะสมไวในอาลยวิญญาณ ดวย
เหตุนี้อาลยวิญญาณจึงเรียกช่ืออีกอยางหนึ่งวา “สรฺวพีชก” แปลวา วิญญาณผูเก็บพีชะทั้ง
ปวง การทํางานของจิตจะหมุนวนเปน วฏั จักรอยา งนี้ การทํางานเปนวฏั จักรของวิญญาณท้ัง
๓ ชนิดนี้ เปนไปโดยอิงอาศัยกันและกันตามเหตุปจจัย จะวาแตกตางกันก็ไมใช จะวาไม
แตกตา งกนั กไ็ มใ ช ดังในลงั กาวตารสตู รท่ที านอุปมาไววา
อุปมาเหมือนอณูดินเหนียวกับกอนดินเหนียว จะวาแตกตางกันก็ไมใช จะวาไม
แตกตางกันก็ไมใช ทองกับทองรูปพรรณก็เปนเชนเดียวกันน้ี มหามติ ถากอนดินเหนียว
แตกตางจากอณขู องมันแลวไซร ก็จะสรา งอะไรขึ้นจากมันไมได แตเพราะสรางอะไรข้ึนจาก
มันได มันจึงไมไดแตกตางกัน แตถามันเปนอยางเดียวกัน ไมแตกตางกัน ก็จะหาความ
แตกตางระหวางกอนดินเหนียวกับอณูของมันไมไดเลย มหามติ ฉันใดก็ฉันน้ัน ถาปวัตติ
วิญญาณท้ังหลายแตกตางจากอาลยวิญญาณในธรรมชาติเดิมแลวไซร อาลยวิญญาณก็จะ
เปนปฐมเหตุของวิญญาณเหลานั้นไมได ถาเปนอยางเดียวกัน ความดับไปแหงวิญญาณ
ทง้ั หลายก็จะเปนความดบั ไปแหง อาลยวิญญาณดว ย...๙๙

๙๘ Hsuan-tsang, the Doctrine of Mere-Consciousness, trans. by Wei Tat
(Hong Kong : 1973). อางใน พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร (พรรณา), “จิตตมาตรของนิกายโยคาจาร:
การศึกษาเชิงวิเคราะหบนฐานแนวคิดเรอื่ งจิตในพระพุทธศาสนายุคตน ”, หนา ๘๖.

๙๙ The Lańkāvatāra Sūtra, trans. D.T. Suzuki, pp. 33-34.

๑๕๐ บทที่ ๔ แนวคิดจิตประภสั สรในพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน

พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. The concept of Mental Propitiation in Theravada and Mahayana Buddhism

ขอความท่ียกมาขางตนนี้ แสดงถึงแนวคิดเร่ืองสันตติหรือความสืบเนื่องแหงเหตุ
ปจจัยระหวางอาลยวิญญาณกับปวัตติวิญญาณ) วิญญาณ ๖ และมนัส (เปนแนวคิดที่ยึด
หลักทางสายกลางท่ีวา “จะวาแตกตางกันก็ไมใช จะวาไมแตกตางกันก็ไมใช” เหมือนเน้ือ
ทองกับทองรูปพรรณ ถาสองสิ่งน้ี เปนอยางเดียวกัน มันก็จะคงตัวอยูอยางนั้นตลอดไป ไม
สามารถเปล่ียนแปลงไปเปนทองรูปพรรณตางๆ ได แตถามันเปนคนละอยางหรือแตกตาง
กัน มันก็จะรวมอยูดวยกันไมได คือตองแยกอยูของใครของมัน ไมเก่ียวของสัมพันธกัน
อยางไรก็ตาม ในทามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องของจิตนี้ มีธรรมชาติ
อยางหน่ึงที่ไมสูญหายไปไหน สิ่งนี้คือธรรมชาติเดิมแทของจิตไดแก ตถาคตครรภ เหมือน
ทองทีไ่ มว า จะถกู แปรสภาพไปเปนทองรูปพรรณแบบใดก็ตาม มันก็ยังคงรักษาธาตุทองของ
มนั เอาไวได

อนึ่ง มีเนื้อหาบางตอนของลังกาวตารสูตรแสดงภาพท่ีปรากฏในโลกวาเปนการ
แสดงบทบาทของวิญญาณท้ัง ๗ และโดยความเปนจริง วิญญาณทั้ง ๗ ก็แสดงบทบาท
ภายใตการกํากับของอาลยวิญญาณ และในท่ีสุดแมอาลยวิญญาณก็ไมมีรูปแบบเฉพาะ ดัง
ความวา “... กระแสแหงอาลยะ (วิชญาณ) ถูกกระแสลมคือวิสัยรบกวน ซัดสายไปมาพรอม
กบั คลนื่ วิชญาณตางๆ เหมอื นคลื่นแหง มหาสมุทรซดั สายไปมาเพราะกระแสลม กระแทกไป
มาเปนระลอกไมหยุดหยอน”๑๐๐ วิญญาณทั้ง ๗ ซึ่งเปรียบเหมือนคลื่นมหาสมุทรเกิดข้ึน
พรอมกับจิต เหมอื นสนี า้ํ เงนิ คราม สแี ดง และสีอืน่ ๆ เกิดข้นึ พรอมกับเกลือ เปลือกหอยสังข
นมสด และนาํ้ ผ้งึ กลิ่นหอมกรนุ เกิดพรอ มกับผลไมแ ละดอกไม รัศมีแหงแสงเกิดข้ึนพรอมกับ
พระอาทิตย ทง้ั หมดจะแตกตางกันก็ไมใช จะวาไมแตกตางกันก็ไมใชเนื่องจากกระบวนการ
เกิดดับแหงวิญญาณมีวิวัฒนาการท่ีสามารถอธิบายได ๓ ดาน คือ ประพฤติลักษณะ และ
กรรม ประพฤติคือการแสดงตัวของวิญญาณโดยความเกิดขึ้น (อุปปาทะ) ตั้งอยู (ฐิติ) และ
ดับไป (ภังคะ) จะปรากฏภาพอยู ๒ อยาง คือความตอเนื่องแหงกิจกรรมท่ีไมถูกขัดขวาง
(ประพันธะ) และนมิ ิตภายนอกเปน ภาพปรากฏออกมาของวิญญาณ (ลักษณะ) เมื่อพลังเคย
ชิน (วาสนา) ท่ีเปนรอยประทับใจอันเกิดจากการคิด รูสึก การกระทําดีหรือไมดี ซึ่งถูกเก็บ
ไวใ นอาลยวิญญาณถูกทาํ ลายไป กจ็ ะไมม เี ครอ่ื งหมายแหงประพันธะและลักษณะหลงเหลือ
ใหเห็น ไมเพียงแตสาเหตุที่วิญญาณท้ังหลายอิงอาศัยปฏิบัติหนาที่กันเทาน้ัน แตเมื่อส่ิงท่ี
สนับสนุนวิญญาณ หรือสิ่งที่ทําใหวิญญาณ ประกอบดวยรูปธรรมถูกกําจัด ยอมไมมีความ

๑๐๐ ดูรายละเอียดใน D.T. Suzuki, Studies in the Lańkāvatāra Sūtra, (Delhi:
Munshiram Manoharlal, 1998), pp. 169-170 อางใน พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโญ (วันจันทร),
พุทธปรชั ญา สาระและพัฒนาการ, หนา ๒๑๗.

ศกึ ษาเฉพาะเรือ่ งในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา ๑๕๑
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ตอเนื่องแหงกิจกรรมวิญญาณทั้งหลาย นี้เปนกรณีแหงความดับพรอมดวยประพันธะและ
ลกั ษณะของวิญญาณท้งั หลาย ความเกิดข้ึนและความสืบเนือ่ งก็อยูในลักษณะเดยี วกนั ๑๐๑

เมื่อกลาวในภาพรวมแลวจะเห็นวาการทํางานของจิตทั้ง ๓ เปนไปทั้งโดยตรง
และโดยออ มนนั่ เอง ดังขอ ความตอไปน้ี

จิตเริงระบําเหมือนนักฟอน มนัสเหมือนผูกํากับการแสดง วิญญาณ ๖ เหมือน
ผูชมการแสดงบนเวท๑ี ๐๒

คลื่นจํานวนมากเคล่ือนไปในมหาสมุทรฉันใด อาลยวิญญาณก็เคลื่อนไหวใหเกิด
วิญญาณตางๆ ฉันนน้ั ๑๐๓

คลื่นที่กอตัวข้ึนในมหาสมุทร ภาพที่เห็นในกระจก ในความฝน ฉันใด จิตในเน้ือ
นาของมันเองกฉ็ ันนนั้ ๑๐๔

เหมือนชางที่สรางขึ้นจากมายากลยอมปรากฏดวยอํานาจมนตรา ชางน้ันเปน
เพียงอาการปรากฏเทา นนั้ ไมม อี ยูโดยประการทง้ั ปวง๑๐๕

นอกจากน้ี ในนิกายโยคาจารยังแสดงทัศนะเก่ียวกับจิตเดิมแทวา เปนจิต
ประภสั สรหรือเปลงประกายโดยธรรมชาติ และเปนจิตบรสิ ุทธโ์ิ ดยธรรมชาติ๑๐๖ ดังขอความ
ในลังการวตารสตู รที่วา จติ ประภสั สรโดยธรรมชาติ เปน ตถาคตครรภ มคี วามงดงาม
เปนท่ยี ดึ ม่นั ของสตั วท ้ังหลาย ปราศจากเบ้ืองตนและเบือ้ งปลาย

จิตประภสั สรโดยธรรมชาติ ถูกอุปกิเลสและมนัสเปน ตน (ทําใหเ ศราหมอง)
ประกอบดว ยตวั ตน อนั พระผเู ลิศดวยวาทะแสดงไวแ ลว

จิตประภัสสรโดยธรรมชาติ แตมนัสเปนตนเปนอยางอ่ืนจากจิตน้ัน กรรมอัน
วิจิตรทั้งหลายถูกสั่งสมไวดวยมนัสเปนตนเหลานั้น ดังนั้น กิเลสท้ังหลายจึงกอใหเกิดทวิ
ภาวะ๑๐๗

๑๐๑ ดูรายละเอียดใน D.T. Suzuki, Studies in the Lańkāvatāra Sūtra, pp. 182-186.
อางในพระมหาสมจนิ ต สมมฺ าปฺโญ (วันจันทร), พุทธปรัชญา สาระและพัฒนาการ, หนา ๒๑๘-๒๑๙.

๑๐๒ The Lańkāvatāra Sūtra, trans. by D.T. Suzuki, p. 193.
๑๐๓ Ibid., p. 42.
๑๐๔ Ibid., p. 43.
๑๐๕ ตริสวภาวนิรเทศ อางใน Thomas A. Kochumuttom, A Buddhist Doctrine of
Experience, p.112. อางใน พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร (พรรณา), “จิตตมาตรของนิกายโยคาจาร:
การศกึ ษาเชงิ วเิ คราะหบนฐานแนวคดิ เร่อื งจติ ในพระพทุ ธศาสนายคุ ตน ”, หนา ๘๙.
๑๐๖ Walpola Rahula, Zen & the Taming of the Bull, p. 83.
๑๐๗ The Lańkāvatāra Sūtra, trans. D.T. Suzuki, pp. 282-283.

๑๕๒ บทที่ ๔ แนวคิดจิตประภสั สรในพทุ ธศาสนาเถรวาทและมหายาน

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. The concept of Mental Propitiation in Theravada and Mahayana Buddhism

จากขอความขา งตน น้จี ะเห็นวา นกิ ายโยคาจารมองจิตเดิมแทวา คือ จิตเน้ือแทที่
มีความเปลงประกาย มหี นอ ออนแหงความเปนตถาคต และมีความงดงามโดยธรรมชาติ แต
กลับกลายไปเปนจิตเศราหมองเพราะมนัสคิดปรุงแตงสรางกรรมอันวิจิตรพิสดารตาง ๆ
ภายใตการครอบงาํ ของอุปกิเลสจากน้ันผลแหงกรรมอันวิจิตร วาสนา อุปนิสัยความเคยชิน
ตางๆ ก็ถกู เก็บสะสมไวในจิต (อาลยวิญญาณ) และมุมมองที่วา “จิตประภัสสรเปนจิตกลาง
ๆ หรืออัพยากฤต”๑๐๘ ดังความในคัมภีรปญจวิมสติสาหัสริกาวา พระสารีบุตรถามวา “จิต
ประภัสสรโดยธรรมชาติประกอบดวยอะไรบาง” พระสุภูติตอบวา “ขาแตพระสารีบุตรผูมี
อายุ จิตประภัสสรเปนจิตที่ประกอบดวยราคะก็ไมใช ไมประกอบดวยราคะก็ไมใช
ประกอบดวยโทสะก็ไมใช ไมประกอบดวยโทสะก็ไมใช ประกอบดวยโมหะก็ไมใช ไม
ประกอบดว ยโมหะก็ไมใช...”๑๐๙

พระสุภูติแสดงทัศนะวา จิตประภัสสรเปนแหลงสั่งสมพีชะตางๆ ท้ังที่เปนกุศล
และอกุศลจนไมสามารถชี้ขาดลงไปไดวาประกอบดวยราคะ โทสะ โมหะ หรือไมได
ประกอบดวยราคะ โทสะโมหะ บอกไดเ พียงวา เปน กลาง ๆ หรือเปนอัพยากฤต พึงสังเกตวา
ทานสภุ ตู มิ องความเปน อัพยากฤตโดยเพง ไปท่พี ชี ะทป่ี ระกอบ (สยํ ุกฺตํ) อยูในจิต ไมไดเพงไป
ท่ีธรรมชาติของจิต เพราะธรรมชาติของจิตน้ันสามารถช้ีชัดไดอยูแลววาเปนประภัสสร ใน
มุมมองของมหาสังฆิกะ ประเด็นเรื่องสภาวะเดิมของจิต ฝายมหาสังฆิกะเชื่อวา จิตเดิมมี
สภาวะบริสุทธ์ิผองใส โดยอธิบายวา กิเลสเปนเพียงส่ิงท่ีเขามาหอหุมจิตอันบริสุทธ์ิไว
เหมอื นเมฆมาบังดวงอาทติ ย กเิ ลสไมใ ชจ ติ ธรรมชาติจิตนส้ี ะอาดหมดจด แตท่ีเห็นขุนหมอง
เพราะกิเลสมาเคลือบ สภาวะเดิมของจิตบริสทุ ธ์ิปลอดโปรงจากกเิ ลส๑๑๐

ทัศนะขางตนนี้ของมหาสังฆิกะ อาจถือวา เปนตนเหตุของปรัชญาจิตนิยมของ
นิกายโยคาจารก็ได นิกายโยคาจารจึงเชื่อวา กระบวนการรับรูและยอมรับในทุกๆ สิ่งนั้น
ลวนแตเกิดข้ึนมาจากจิต จิตเปนตัวสรางปรากฏการณความรูตางๆ เม่ือกระบวนการรับรู
ของจติ มีอยูจรงิ ดงั นั้น จิตยอมมีอยูจริง จิตสามารถสองสวางในตัวเองได หรือที่นิกายโยคา
จารเรียกวา “จิตหน่ึง” หรือ “จิตเดียว” (The mind only) ซ่ึงแนวคิดน้ีถือไดวา เปนตน
กําเนิดของนกิ ายเซนทเ่ี นน เรอื่ งการเขาถึงจติ ดวยเชน กนั ทําใหนกิ ายเซนเช่ือวา จิตเดิมน้ันมี

๑๐๘ Lambert Schmithausen, Ālayavijñāna, (Tokyo: The International Institute
for Buddhist Studies, 1987), p. 31.

๑๐๙ ปญจวิมสติสาหัสริกา อางใน In Charles Harris, The Continuity of
Mādhyamaka and Yogācāra in Indian Mahāyāna Buddhism, p. 155.

๑๑๐ In Charles Harris, The Continuity of Mādhyamaka and Yogācāra in
Indian Mahāyāna Buddhism, pp. 280-279.

ศึกษาเฉพาะเร่อื งในพัฒนาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๑๕๓
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ธรรมชาติท่ีบริสุทธ์ิ สะอาด สวางโดยตัวของจิตเอง แตท่ีเศราหมองเพราะถูกกิเลสครอบงํา
สรรพสิ่งภายนอกลว นแตเ ปนมายาภาพซ่ึงสะทอนออกมาจากจิตการจะเขาถึงความบริสุทธิ์
แหง จติ หรอื สัจจภาวะนน้ั จึงไมส ามารถอาศัยความคิด การกระทํา คําพูดหรือตัวหนังสือ แต
มีเพียงการบาํ เพ็ญดทู ่ีจติ ของตนเองเทา นนั้

เพราะฉะนั้น ความหมายจิตเดิมแทในพระสูตร คือ จิตเนื้อแทมีความเปลง
ประกาย มีหนอออนแหงความเปนตถาคต และมีความงดงามโดยธรรมชาติ แตกลับกลาย
ไปเปนจิตเศราหมองเพราะมนัสคิดปรุงแตงสรางกรรมอันวิจิตรพิสดารตาง ๆ ภายใตการ
ครอบงําของอปุ กิเลส จากนัน้ ผลแหงกรรมอนั วจิ ิตร วาสนา อุปนิสัยความเคยชินตางๆ ก็ถูก
เก็บสะสมไวในจิต (อาลยวิญญาณ) อีกอยางหนึ่ง จิตเดิมแท ก็คือจิตประภัสสร เพราะเปน
จิตกลาง ๆ หรืออัพยากฤต เปนแหลงส่ังสมพีชะตางๆ ท้ังที่เปนกุศลและอกุศล จนไม
สามารถชี้ขาดลงไปไดวาประกอบดวยราคะ โทสะ โมหะ หรือไมไดประกอบดวยราคะ
โทสะ โมหะ บอกไดเพียงวาเปนกลาง ๆ หรือเปนอัพยากฤต เพราะธรรมชาติของจิตนั้น
สามารถช้ชี ัดไดอยแู ลว วาเปนประภสั สร

๔.๕.๓ จิตเดิมแทใ นพระสตู รอ่นื ๆ
จติ เดมิ แทนัน้ คือ พุทธะ มอี ยูแ ลว เหมอื นกันทุกคน ซงึ่ หมายความวาจิตท่ีบริสุทธ์ิ
น้ัน จะสามารถหาพบไดภายในจิตที่ไมบริสุทธิ์ของเรานั่นเอง มหายานนิกายเซนจึงถือวา
สรรพสตั วมีธาตุแหงพุทธะ หรือธาตุรูอยูภายในจิตเหมือนกันหมด พระอรหันตกับปุถุชนไม
มคี วามแตกตางกันเลยในแงของธาตุแหงพทุ ธะ ทีต่ างกนั คือพระอรหันตสามารถขจัดกิเลสท่ี
หอหุมธาตุแหง พทุ ธะออกไปได สวนปถุ ุชนยงั ไมสามารถขจดั ออกไปได อปุ มาเหมือนคนสอง
คนมีกระจกคนละบาน กระจกของคนหนึ่งใสสะอาดสามารถสะทอนภาพไดอยางชัดเจน
เพราะไดรับการเช็ดถูอยูทุกวัน สวนกระจกของอีกคนเต็มไปดวยคราบฝุนธุลีจนไมสามารถ
สะทอนภาพอะไรได เพราะไมไดรับการเช็ดถูเลย เนื้อแทของกระจกที่คนท้ังสองมีไมได
แตกตางกันเลย ที่ตางกันคือบานหนึ่งใส อีกบานหนึ่งสกปรก ดังคํากลาวของทานเฉินซ่ิว
(Shen hsui) ท่ีวา กายของเราคือตนโพธ์ิ ใจของเราก็คือกระจกเงาอันใส เราเช็ดมันโดย
ระมัดระวังทุกๆ ชั่วโมง และไมยอมใหฝุนละอองจับ๑๑๑ แกวมณีแมจะมีความใสโดย
ธรรมชาติ หากปราศจากคนเช็ดถูก็ใสไมได เชนเดียวกัน สัตวทั้งหลายจะเห็นความเปน

๑๑๑ เวยหลาง, สูตรของเวยหลา ง, แปลโดย พุทธทาสภิกขุ, (กรุงเทพมหานคร : ร.พ .แสวง
สุทธกิ ารพิมพ, ๒๕๓๐), หนา ๑๔-๑๕.

๑๕๔ บทที่ ๔ แนวคดิ จติ ประภสั สรในพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. The concept of Mental Propitiation in Theravada and Mahayana Buddhism

พุทธะภายในตนไมได ถา ไมไดพระพุทธเจา พระโพธิสตั ว หรือกัลยาณมิตร ชวยปลุกเราโพธิ
จติ ให๑ ๑๒

การใช “กระจก กับ ฝุนธุลี” มาเปรียบเทียบธาตุแหงพุทธะภายในกับกิเลสที่เขา
มาหอ หมุ ของทานเฉินซิ่ว ประเด็นน้ีเหมือนกับแนวคิดของพระพุทธศาสนาเถรวาทด้ังเดิมท่ี
กลาวถึงจิตประภัสสรกับกิเลสที่จรมา ตางเพียงแตพระพุทธศาสนาเถรวาทดั้งเดิมไมได
กลาวถึงสรรพสัตววามีธาตุแหงพุทธะอยูภายใน แตแนวคิดทั้งสองนี้เหมือนกันในประเด็นที่
แยกใหเห็นความแตกตางระหวางเนื้อแทของจิตอันบริสุทธิ์กับกิเลสในฐานะเปนสิ่ง
แปลกปลอม๑๑๓ การอุปมาท่ีทานเฉินซ่ิวยกขึ้นมานี้ก็คลายกับอุปมาที่พระพุทธเจาทรงใช
มาแลว ดงั พุทธพจนว า

ผมู ปี ญ ญา พึงกาํ จัดมลทินของตน
ทีละนอ ย ทุกขณะ โดยลําดับ
เหมือนชา งทองกาํ จัดสนมิ ทอง ฉะนัน้ ๑๑๔

นกทีเ่ ปอ นฝนุ ยอ มสลัดละอองธุลีทแ่ี ปดเปอ นใหต กไป ฉนั ใด
ภิกษุผูมีความเพียร มีสติ ยอมสลัดละอองธุลีคือกิเลส ที่แปดเปอนใหตกไป ฉัน
นัน้ ๑๑๕
จากพุทธพจนขางตนนี้จะเห็นวา พระพุทธเจาทรงใหความสําคัญการกําจัดกิเลส
เหมือนการกําจัดสนิมของชางทองและการสลัดฝุนของนก ชางทองหวังวาจะสามารถกําจัด
สนมิ ออกไปจากทองได เพราะเขาเชอื่ วา เน้ือแทของทองกับสนิมไมใชส่ิงเดียวกัน นกท่ีเปอน
ฝุนหวังวาจะสามารถสลัดฝุนออกไปจากตัวมันได เพราะมันเช่ือวาเนื้อแทของตัวมันกับฝุน
ไมใชส่ิงเดียวกัน เชนเดียวกันผูมีปญญาหวังวาจะสามารถกําจัดกิเลสออกไปจากจิตได
เพราะเขาเชื่อวาเนื้อแทของจิตอันบริสุทธิ์กับกิเลสที่จรเขามาไมใชสิ่งเดียวกัน ถาหาก
ชางทอง นก และผูมีปญญาไมมีความเชื่ออยางน้ี แนนอนวาการกําจัดสิ่งสกปรกคงจะไม
เกิดขึ้น เชน เดียวกบั ปรัชญาปารมิตาหฤทยสูตร (จลุ ภาค) ทก่ี ลา ววา “บคุ คลผูเขา ถึงปรัชญา
ปารมิตา อันเปนธรรมของเหลา พระโพธิสัตวเจาทั้งหลาย ยอมถูกหอหุมดวยจิตเคร่ืองระลึก

๑๑๒ Paul Demieville, “Mirror of the Mind”, edited by Peter N. Gregory,
Sudden and Gradual, (Delhi : Motilal Banarsidass Publishers Private Limited, 1998), pp.
13-15.

๑๑๓ ดูคําอธิบายเพ่ิมเติมใน สมภาร พรมทา, พุทธศาสนานิกายเซน : การศึกษาเชิง
วิเคราะห( กรงุ เทพมหานคร: สํานกั พิมพแ หงจุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๑), หนา ๓๑-๓๒.

๑๑๔ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๓๙/๕๘., ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๒๓๙/๑๐๖.
๑๑๕ ส.ํ ส. (บาลี) ๑๕/๒๒๑/๒๓๘., ส.ํ ส. (ไทย) ๑๕/๒๒๑/๓๒๓.

ศึกษาเฉพาะเรอื่ งในพฒั นาการแหงพระพุทธศาสนา ๑๕๕
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

รู แตเม่ือใดท่ีเคร่ืองหอหุมคือจิตอันเปนเคร่ืองระลึกรูนี้แตกทําลายไป เมื่อนั้นเขายอมหลุด
พนจากความกลัว อยูเหนือความเปล่ยี นแปลงเกษมสุขอยูในนิรวาณเปน เบื้องสดุ ทา ย”๑๑๖

ในทศภูมิกสูตร๑๑๗ ปรากฏแนวคิดจิตเดิมแทในบริบทของการแสดง
หลักปฏิจจสมุปบาทหรือหลักเหตุปจจัยเพื่อปฏิเสธอัตตาในฐานะผูกระทําการที่เท่ียงแท
ถาวร ดังขอความตอไปนี้ พระโพธิสัตวผูอยูในภูมิท่ี ๖ (อภิมูขี) เห็นปฏิจจสมุปบาทท้ังโดย
อนโุ ลมและปฏโิ ลมวา “ขันธอันเปนท่ีตั้งแหงความทุกขเหลาน้ีวางเปลาจากผูกระทํา (กรฺตา)
เกิดมาจากหวงโซ ๑๒ประการมีอวิชชาเปนตน แลวตนไมแหงความทุกขจึงเกิดขึ้น” ดูกอน
ชนิ บตุ รทง้ั หลาย เพราะส่ิงน้มี ี ส่งิ น้จี ึงมี คอื ไตรภูมิเปนเพียงจิตเทาน้ัน ไตรภูมินี้ถูกสรางขึ้น
และฝงอยใู นจติ ไมม ตี ัวผูกระทําอ่นื นอกจากจติ ๑๑๘

จากเนือ้ หาของพระสูตรที่ยกมา เริ่มตน ดวยการกลา วถงึ พระโพธิสัตวในภูมิข้ันอภิ
มุขีพิจารณาขันธ ๕ ตามหลักปฏิจจสมุปบาทท้ังโดยลําดับจากอวิชชาไปถึงทุกข และยอน
ลําดบั จากทกุ ขไปหาอวชิ ชาจนเหน็ ความสัมพันธแหงเหตุปจจัยวา “เพราะสิ่งนี้มี สิ่งน้ีจึงมี”
แลวรูวาไตรภูมิเปนเพียงจิตเทาน้ัน ไมมีผูกระทําในฐานะเปนอัตตาที่เที่ยงแทถาวร คําวา
“ไตรภูมเิ ปน เพยี งจติ เทานนั้ ” เปน การบอกถงึ จิตเดิมแทม ีอยูจงึ มไี ตรภูมหิ รือส่งิ ท่เี ก่ยี วของ

จากการคนควาจึงพบวาจิตเดิมแทในพระสูตรอ่ืนๆ คือ จิตที่เปนธาตุแหงพุทธะ
แตถ กู กิเลสเขามาหอหุมไวเหมือนกระจกเงาอันใสถูกฝุนละอองจับ ไมสามารถเปลงแสงอัน
ใสไดอีกตอไป ตอเมื่อไดเ ชด็ ขดั ถจู ึงจะใสไดด ังเดิม

๔.๖ สรปุ จิตประภัสสรและจิตเดิมแท

จิตประภัสสรในพระพุทธศาสนาเถรวาท หมายถึง จิตท่ีมีอยูในธรรมชาติของมัน
เอง มิใชเปนสภาวะท่ีแปดเปอนสกปรก พระสูตรของพระพุทธศาสนาเถรวาท ไดกลาวถึง
จิตประภัสสารวาเปนจิตเน้ือแทท่ีมีความเปลงประกาย มีหนอออนแหงความเปนตถาคต
และมีความงดงามโดยธรรมชาติ แตถาวาจิตน้ีจะกลับกลายไปเปนจิตเศราหมองไดนี้ก็
เพราะการสรา งกรรมอันวจิ ิตรพสิ ดารตางๆ ภายใตก ารครอบงาํ ของอปุ กิเลส จากน้ันผลแหง

๑๑๖ ติช นัท ฮันห , กุญแจเซน, แปลโดย พจนา จันทรสันติ, (กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิ
โกมลคีมทอง,๒๕๒๐), หนา ๑๗๙.

๑๑๗ ทศภูมิกสูตร พระสูตรวาดวยภูมิ ๑๐ ของพระโพธิสัตว คือ (๑) ประมุทิตา (๒) วิมลา (๓)
ประภาการี (๔) อรจษิ มติ (๕) สทุ รุ ชยา (๖) อภิมขุ ี (๗) ทูรงั คมา (๘) อจลา (๙) สาธมุ ติ (๑๐) ธรรมเมฆา

๑๑๘ ดูรายละเอียดใน เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน. (กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏ
ราชวทิ ยาลยั ,๒๕๔๑), หนา ๑๓-๑๔., และอภชิ ัย โพธิป์ ระสิทธิ์ศาสตร, พระพทุ ธศาสนามหายาน, พิมพ
คร้ังที่ ๔,(กรงุ เทพมหานคร : มหามกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๑๘๖-๑๘๗.

๑๕๖ บทที่ ๔ แนวคดิ จติ ประภสั สรในพทุ ธศาสนาเถรวาทและมหายาน

พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. The concept of Mental Propitiation in Theravada and Mahayana Buddhism

กรรมอนั วิจติ รก็กลายเปน จติ ท่เี ศราหมอง ตอ จากนั้นก็จะเก็บเปนอุปนิสัยความเคยชินตางๆ
กถ็ ูกเกบ็ สะสมไวใ นจติ ในทเี่ รียกวา ภวงั คจิต

ภวังคจิตพระอรรถกถาจารยไดอธิบายวา จิตท่ีเปนองคแหงภพ ซ่ึงเกิดดับสืบตอ
กันไปตลอดเวลา ต้งั แตเ รม่ิ ตนจนจบชวี ติ ของเรา คือตลอดชีวิต พูดภาษาเปนภาษารูปธรรม
หรอื ภาษาตวั ตนวา เปนจิตยืนพ้ืน ใกลกับคําท่ีทานใชวาเปน “ปกติจิต” ภวังคจิตน้ี เปนจิต
ที่เปนวิบาก เมื่อมันเกิดดับสืบตออยูตลอดชีวิตของเรา จึงเทากับเปนผลรวมแหงกรรม
ท้ังหมดของเรา พูดเปนภาษารูปธรรมหรือภาษาตัวตนวาเปนท่ีเก็บสะสมผลกรรมของเรา
หรือทุกอยางที่เกิดข้ึนเปนไปในชีวิตของเรา หรือเปนที่ประมวลผลแหงการแกไขปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงในตัวเรา เทาท่ีทําไดและไดทํามาทั้งหมดในชีวิต๑๑๙ ท่ีเปนเชนเพราะจิต
ประภสั สรเปน จิตกลางๆ หรืออพั ยากฤต เปนแหลง สั่งสมพชี ะตางๆ ท้ังท่ีเปนกุศลและอกุศล
จนไมสามารถชขี้ าดลงไปไดว า ประกอบดว ยราคะ โทสะ โมหะ หรือไมไดประกอบดวยราคะ
โทสะ โมหะ บอกไดเพียงวาเปนกลางๆ หรือเปนอัพยากฤต เพราะธรรมชาติของจิตน้ัน
สามารถช้ชี ัดไดอ ยูแลววาเปนประภสั สร

ในฝายพระสูตรมหายานซึ่งคัมภีรหลักคือลังกาวตารสูตรน้ันจะเห็นไดวามีความ
เหมือนกันในการตีความหมายของจิตประภัสสร และจิตเดิมแทโดยเนนท่ีลักษณะของจิตเปน
หลักวาเปน จิตที่ยังใสสะอาด บริสุทธิ์ หรือจิตที่มีรัศมี มีแสงสวางจิตประภัสสรนั้น เปนจิตท่ี
ยงั มคี วามใสสะอาด อยใู นภาวะธรรมชาตขิ องมนั ลวนๆ ยังไมแปดเปอนดวยกิเลส ดังพุทธพจน
วา “ภิกษุทั้งหลาย จิตน้ีผุดผอง”๑๒๐ น้ันก็แสดงวาจิตประภัสสรเปนจิตท่ีปกติ ยังไมไดไปรับ
อารมณอะไรมาปะปน สวนในลังกาวตารสูตรวา “จิตเปนประภัสสรโดยธรรมชาติ เปนตถาคต
ครรภ มีความงดงาม”๑๒๑ จึงเห็นไดจิตเดิมแทเปนรากฐานท่ีอยูในภาวะธรรมชาติ ซ่ึงมีความ
บริสทุ ธ์ิเปน ตถาคตครรภ

พระพุทธศาสนามหายาน คือ จิตเน้ือแทมีความเปลงประกาย มีหนอออนแหง
ความเปนตถาคต และมคี วามงดงามโดยธรรมชาติ แตก ลบั กลายไปเปนจิตเศราหมองเพราะ
มนัสคิดปรุงแตงสรางกรรมอันวิจิตรพิสดารตางๆ ภายใตการครอบงําของอุปกิเลส จากน้ัน
ผลแหงกรรมอันวิจิตร วาสนา อุปนิสัยความเคยชินตางๆ ก็ถูกเก็บสะสมไวในจิต อีกอยาง
หน่ึง จิตเดิมแท ก็คือจิตประภัสสร เพราะเปนจิตกลางๆ หรืออัพยากฤต เปนแหลงสั่งสมพี
ชะตางๆ ทั้งที่เปนกุศลและอกุศล จนไมสามารถชี้ขาดลงไปไดวาประกอบดวยราคะ โทสะ

๑๑๙ พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), จาริกบุญ จารึกธรรม, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท พิมพ
สวย จาํ กดั , ๒๕๔๑), หนา ๓๒๗-๓๒๘.

๑๒๐ อง.ฺ เอกก. (ไทย) ๒๐/๔๙/๙.
๑๒๑ The Lańkāvatāra Sūtra, trans. by D.T. Suzuki, p. 282.

ศกึ ษาเฉพาะเร่อื งในพฒั นาการแหง พระพทุ ธศาสนา ๑๕๗
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

โมหะ หรือไมไดประกอบดวยราคะ โทสะ โมหะ บอกไดเพียงวาเปนกลางๆ หรือเปนอัพ
ยากฤต เพราะธรรมชาติของจิตน้ันสามารถช้ีชัดไดอยูแลววาเปนประภัสสร สวนมหายาน
นิกายเซนเนนสอนเร่ืองจิต มีเปาหมายเพ่ือตระหนักรูจิตอยางสมบูรณ การรูแจงคือการ
เปดเผยธรรมชาติภายในคือจิตน่ันเอง ฉะน้ันเปาหมายหลักของเซนคือ การทําใหบุคคล
เขาใจ ตระหนักรู และทําใหจิตของตนสมบูรณที่เรียกวา“จิตบริสุทธิ์” ซ่ึงเปนอันหน่ึงอัน
เดียวกนั กับจติ เดิมแท (อาลยวิญญาณ)

๑๕๘ บทท่ี ๔ แนวคิดจติ ประภสั สรในพทุ ธศาสนาเถรวาทและมหายาน

พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. The concept of Mental Propitiation in Theravada and Mahayana Buddhism

บทที่ ๕
การบรรลธุ รรมของพระอรหันตกบั พระโพธิสตั ว

The Enlightenment and Bodhisattvas
บทนาํ

การลุธรรมเปนจุดหมายทางพระพุทธศาสนาท่ีพระพุทธเจาทรงสอนหมูสัตว
ทั้งหลาย เปนคาํ สอนที่เปดกวางไวส ําหรบั ทุกคน การบรรลุธรรมไมใชคําสอนสําหรับใครคน
ใดคนหน่ึง แตเปนคําสอนสําหรับท่ีเปดกวางไวเพ่ือมวลมนุษยชาติตลอดกาลเวลาแหง
สังสารวัฏ บรรลุธรรมไมเคยหนีหายหรือเปลี่ยนแปลงไป เพราะตราบใดที่มนุษยยังคงคุณ
งามความดี ตราบน้ันโลกนี้ไมรางจาก “การบรรลุธรรม” มีเพียงบางชวงเวลาเทาน้ันที่การ
บรรลธุ รรมนเี้ งียบเหงา ปราศจากนักปฏิบัติที่มีจิตกลาแข็ง บางชวงเวลาก็คึกคักราวกับทั่ว
ท้งั โลกธาตุหอมหวนดวยความดี การบรรลุธรรมมีท้ังบรรลุนิพพานและโสดาบัน พุทธสาวก
ของพระพุทธเจาจึงมีท้ังมุงตรงตอนิพพานท้ังมุงตรงตอโสดาบัน หรือแมแตการบําเพ็ญที่มุง
ตอความเปนพระโพธิสัตวก็มี ดวยเหตุน้ีเราจึงเห็นแนวทางการปฏิบัติของพุทธสาวกที่มี
ความแตกตางกัน และกลายเปนการสรางนิกายข้ึนมาในปจจุบัน แตละนิกายก็จะมีจุดเดน
เปน ของตนเองไมจ ะเปน สายสาวกยาน สายปจเจกยานและกลุมพระโพธิสัตยาน ทั้งหมดนี้
มกั จะมจี ุดมงุ หมายที่ตา งกัน เชน สายสาวกยานก็มุงความหลุดพนเปนอรหันต สายปจเจก
ยานมงุ ความหลดุ พนเปน อรหันตสน้ิ กิเลสเฉพาะตน และสายโพธิสัตยานก็มุงหมายโพธิสัตว
ภูมิ เม่ือพูดในภาพรวมแลวทั้งหมดนี้ก็มีจุดหมายไปสูพระนิพพาน เพียงแตขบวนการจะมี
การเนนทแ่ี ตกตา งกัน

พระโพธิสัตวกับพระอรหันตมักจะมีการเขาใจกันคาดเคลื่อนวา ท้ังพระอรหันต
กับพระโพธิสตั วค ือ ผูบรรลพุ ระนพิ พาน เพื่อทําความเขาใจกับความหมายทั้งสองใหตรงกัน
วา พระโพธิสัตวไดแกบุคคลที่ต้ังปณิธานที่จะบรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเปน
พระพุทธเจา เพ่ือจะไดมีความสามารถเต็มท่ีในการชวยเหลือสรรพสัตว ใหพนจากหวงนํ้า
แหงความทุกข สวนพระอรหันต ไดแก บุคคลท่ีปฏิบัติตามคําสอนของพระพุทธเจา และ
สามารถกําจัดกิเลสอันเปนเหตุปจจัยท่ีทําใหเกิดใหมในสังสารวัฏไดหมดสิ้น๑ จึงเห็นวาท้ัง

๑ เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, พิมพครั้งที่ ๔, (กรุงเทพมหานคร : บรรณาคาร,
๒๕๒๒), หนา ๓๘.

๑๖๐ บทท่ี ๕ การบรรลธุ รรมของพระอรหันตก ับพระโพธสิ ตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

สองมีความแตกตางอยางสิ้นเชิง พระอรหันตคือผูพนทุกขอยางสมบูรณ ไมตองมาเกิดใน
สังสารวัฏอกี สว นพระโพธสิ ตั วยังตอ งบําเพญ็ บารมเี พอ่ื เขา กระแหงพระอรหันตต อไป

๕.๑ พระอรหนั ตใ นคัมภรี พ ระพทุ ธศาสนา

๕.๑.๑ ความหมายของพระอรหนั ตในคมั ภรี พระพุทธศาสนา
พระอรหันต หมายถงึ ชอ่ื พระอริยบุคคลชน้ั สูงสดุ ใน ๔ ช้ัน คือ พระโสดาบันพระ
สกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต๒ พระอรหันต เปนผูละสังโยชนเบ้ืองตํ่า ๕
ประการแรกได อยา งเด็ดขาด และยงั ละสังโยชนเบอื้ งสูงไดอีก ๕ ประการ เรียกวา สังโยชน
๑๐ ประการ
พระอรหันต จัดเปน “พุทธ” คือ ผูรูแจงแลว ผูต่ืนแลวจากความหลับคือวิชชา
และโมหะ หมดส้ินกิเลสและทุกขท้ังมวล มีแตความสวาง สะอาด สงบ พระอรหันตจะไม
เกิดอีกในภพภูมิใด ๆ ทั้งส้ินจะปรินิพพานในชาตินี้ อีกนัยหนึ่ง อรหัง ที่แปลโดยทั่วไปวา
พระอรหันต หมายถึง เมนิตตกนามของพระพุทธเจา และเปนบทหนึ่งในจํานวน ๕ บท
อรหงั มคี วามหมาย ๕ นัย คือ
นัยท่ี ๑ หมายความวา ผูไกลจากกเิ ลส คอื ละกเิ ลสไดห มดแลว
นัยท่ี ๒ หมายความวา ผูกําจดั อรไิ ดแ ลว คือทรงกาํ จดั อรขิ าศึกคอื กเิ ลสไดแลว
นัยท่ี ๓ หมายความวา ผูหักซี่กําของวงลอสังสารวัฏไดแลว ดวยขวานคือพระ
ญาณ
นัยท่ี ๔ หมายความวา ผคู วรแกปจ จัย ๔ และการบูชาอันวเิ ศษท้งั หลาย
นัยที่ ๕ หมายความวา ผไู มม ีท่ีลับคอื ไมม ที ่ีลับในการทาํ บาป๓
อรหัต แปลวา ความเปนพระอรหันต ความสําเร็จเปนพระอรหันต อรหัต
หมายถึง ธรรมะท่ีพระอรหันตไดบรรลุคือพระนิพพาน เรียกเต็มวา พระอรหัต หรือพระ
อรหัตผล คําวา อรหัต กับอรหันต มีความหมายตางกันคือ อรหัต เปนชื่อของคุณธรรม
สว น อรหันต เปนชื่อของบุคคลผูบรรลุอรหัต อรหันต แปลวา ผูหางไกลกิเลสแลว, ผูหักกํา
ของวงลอแหงสงั สารวฏั ไดแลว, ผคู วรแก ปจ จัย, ผูไมม ีความลบั ในเร่อื งทาํ บาป๔

๒ ราชบณั ฑิตยสถาน, พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, (กรุงเทพมหานคร
: บริษทั นานมีบุคสพ บั ลิเคช่นั จํากัด, ๒๕๔๖), หนา ๑๓๓๖.

๓ ว.ิ มหา. (ไทย) ๑/๑/๑, พระธรรมกิตติวงศ (ทองดี สุรเตโช), พจนานุกรมเพื่อการศึกษา
พทุ ธศาสน ชุด คาํ วัด, พมิ พค รงั้ ท่ี ๓, (กรุงเทพมหานคร : สาํ นักพิมพส ถาบันบันลือธรรม, ๒๕๔๘), หนา
๑๒๖๗.

๔ พระพุทธโฆสาจารย, ธัมมปทัฏฐกถา ภาค ๓, แปลโดยคณะกรรมการแผนกตํารามหา
มกุฏราช วิทยาลัย, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๘), หนา ๙๐-๙๑.

ศกึ ษาเฉพาะเรื่องในพฒั นาการแหง พระพทุ ธศาสนา ๑๖๑
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

พระอรหันต หมายถึง ผูท่ีตรัสรูธรรมละกิเลสไดท้ังหมด ไดแก พระอรหันต
สมั มาสมั พุทธเจา พระปจเจกพุทธเจา พระอรหันตสาวก

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดใหความหมายของคําวา
พระอรหนั ต หมายถึง ผสู าํ เรจ็ ธรรมวิเศษสงู สุดในพระพุทธศาสนา, ผสู ําเร็จพระนิพพาน

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต) ไดใหความหมายคําวา พระอรหันต
หมายถึง ผูสําเร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา พระอริยบุคคลชั้นสูงสุดผูไดบรรลุ
อรหันตตผล พระอรหันต ๒ประเภท คือ พระสุกขวิปส สกกับพระสมถยานิก พระอรหันต ๔
คือ ๑) พระสุกขวิปสสก ๒) พระเตวิชชะ (ผูไดวิชชา ๓) ๓) พระฉฬภิญญะ (ผูไดอภิญญา
๖) ๔) พระปฏิสัมภิทัปปตตะ (ผูบรรลุปฏิสัมภิทา ๔) พระอรหันต ๕ คือ ๑) พระปญญา
วิมุต ๒) พระอุภโตภาควิมุต ๓) พระเตวิชชะ ๔) พระฉฬภิญญะ ๕) พระปฏิสัมภิทัป
ปต ตะ๕ สว นความหมายพระอรหนั ตใ นคัมภรี พ ระพุทธศาสนามหายานนั้น หมายถึง ผูท่ีมุง
เพียรบรรลุเปนพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณดวยการบําเพ็ญบารมีตามแนวทางพระ
โพธิสัตวกอนเพื่อชวยเหลือสรรพสัตวที่ตกทุกขในสังสารวัฏไดมากมาย การบําเพ็ญอยางก็
เพื่อสรางบารมีในการตรัสรูเปนพระพุทธเจาในอนาคตเปนพระพุทธเจา๖ พระพุทธศาสนา
มหายานไดยึดหลักพระโพธิสัตวภูมิเปนแนวปฏิบัติจึงเห็นวาทุกนิกายของมหายานยอม
มุงมั่นในโพธิสัตวภูมิกอนบรรลุพุทธภูมิ บุคคลหนึ่งบุคคลใดที่จะบรรลุพุทธภูมิได ตองผาน
การบําเพ็ญจริยธรรมแหงพระโพธิสัตวมากอน เพราะฉะนั้น จึงถือวาโพธสัตวภูมิเปนเหตุ
พุทธภูมิเปนผล นิกายมหายานถือวาเปนพระโพธิสัตวมีความสําคัญกวาความเปน
พระพทุ ธเจา แตฝา ยหนิ ยาน ถือวาความเปนพระพุทธเจาสําคัญกวาความเปนพระโพธิสัตว
ฝายเถรวาทไดแ สดงเรอ่ื งราวของพระโพธิสตั ว เปน อดตี ชาตขิ องพระพทุ ธเจา กอนจะไดเปน
พระพุทธเจาในอดีตชาตินับเปนรอย ๆ ชาติ ไดประพฤติธรรมหรือบําเพ็ญประโยชน ใหแก
สัตวอ่ืน คนอื่น เชนการเปนชางก็เปนพระยาชาง ใหความเปนธรรมแกชาง เชนเร่ืองพระ
ยาฉัตทันต เกิดเปนเนื้อก็เสียสละชีวิตตนใหแกเน้ืออ่ืน ยอมตายแทน เชนเร่ืองแมเนื้อชื่อ
นโครธสาขะ เปนคนเชนพระเวสสันดรเปนตน แสดงถึงชีวิตกอนเสวยพระชาติสุดทาย คือ
เปน พระพทุ ธเจา น่ีเปน เรอ่ื งราวของพระพทุ ธเจาของเรา สวนพระสาวกอ่ืน เชนพระโมคคัล
ลานะ เปนตน ไดเปนพระอรหันต ไมไดเปนพระโพธิสัตว ท้ังนี้เพราะมิไดเปนพระพุทธเจา
กลาวโดยยอ ผูที่จะเขาถึงพุทธภูมิตองบําเพ็ญบารมี เชน บารมี ๓๐ ทัศในพระพุทธศาสนา

๕ พระธรรมปฏก (ป.อ. ปยตุ โต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลศัพท, พิมพคร้ังที่
๑๑. (กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๖), หนา ๕๑๙.

๖ พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ, พระพทุ ธศาสนามหายาน, (ขอนแกน : เอมม่ี กอปป เซ็นเตอร,
๒๕๕๖), หนา ๓๐-๓๑.

๑๖๒ บทที่ ๕ การบรรลุธรรมของพระอรหันตกบั พระโพธิสตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ใหเต็ม จึงไดเปนพระพุทธเจา สวนผูท่ีไมปรารถนาพุทธภูมิ ก็บําเพ็ญเพื่อความหลุดพน
โดยตรง คือ ทําลายกิเลส ไดแก โลภะ (ราคะ) โทสะ และโมหะ ใหหมดไปก็จะเปนพระ
อรหันต หมดกิเลส ไมตองเวียนวายตายเกิด กิเลสจะหมดไปดวยประพฤติธรรมตาง ๆ ที่
เปนเครอ่ื งทาํ ลายกิเลสน้ัน ๆ เคร่ืองทําลายกิเลส ก็คือศีล สมาธิ และปญญา ซึ่งตองคอย ๆ
ทําใหห มดไปจนสามารถทาํ ลายไดสน้ิ เชงิ เขาถึงความเปนอรหนั ต

๕.๒ ประเภทของพระอรหันตใ นคัมภรี พ ระพทุ ธศาสนา

พระอรหันตหรือพระขีณาสพ เปนพระอริยบุคคลช้ันสูงสุดในพระพุทธศาสนา
ทรงไวซ่ึง พระคุณอันประเสริฐ สมควรเปนที่สักการบูชายิ่งของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย
จําแนกออก เปน ประเภทใหญๆ ดงั นี้

๑. พระสัมมาสัมพุทธเจา หมายถึง พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ทรงเปนใหญ
กวาพระ อรหันตทุกประเภท เพราะตองสรางพระพุทธบารมีมาเปนเวลานานอยางนอย
กาํ หนดกาล ๔ อสงไขย กับอีก ๑๐๐,๐๐๐ มหากัป

๒. พระปจเจกพทุ ธเจาอรหนั ต หมายถึง พระอรหันตท ท่ี รงคณุ วเิ ศษย่งิ ใหญเปนท่ี
สองรอง จากพระสัมมาสัมพุทธเจาอรหันต เพราะตองสรางพระปจเจกพุทธบารมีมาเปน
เวลา นานอยางนอ ย กําหนดกาล ๒ อสงไขย กบั อีก ๑๐๐,๐๐๐ มหากปั

๓. พระสาวกอรหนั ต หมายถึง พระอรหันตท ่ีเปนสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจา
อรหนั ตท่ี ทรงคณุ วิเศษยง่ิ ใหญเ ปนท่ีสามรองจากพระปจเจกพุทธเจา เพราะตองสรางพระ
สาวกบารมมี าเปน เวลานานอยา งนอยกําหนดกาล ๑,๐๐๐ มหากัป๗

พระอรหันตในพระพุทธศาสนาเถรวาทอยูจบกิจในพรหมจรรยแลวสิ้นกิเลสแลว
ส้ินความสงสัยรูวาตนบรรลุพระอรหัตผลดวยตนเอง โดยมิตองมีคนบอก มีความรูใน
อรยิ มรรค อริยผล ไมฝ น ปรนิ พิ พานแลวก็ดับหมดท้ัง กายสังขาร วจีสังขาร จิตสังขาร ( อนุ
ปาทิเสสนิพพาน ) ไมเกิดอีก สวนพระอรหันตในพระพุทธศาสนามหายานยังฝนอยางคนมี
ราคะ เพราะถูกมารยั่ว ยังความไมรูในอริยมรรค อริยผลยังตองสงสัยใน อริยมรรค อริยผล
เปนตน จะรูวาตนบรรลุตองมีผูบอก ปรินิพพานแลวยังเกิดอีก แตเกิดเพื่อสําเร็จเปนพระ
สมั มาสัมพุทธเจา ในอนาคต

เมื่อกลาวถึงพระอรหันตสาวกแมจะหมดสิ้นกิเลสอาสวะเหมือนกัน แตก็มีคุณ
พิเศษแตกตางกันไป บาง องคก็มีเพียงอยางเดียว บางองคก็มีมากกวา ๑ อยางคุณสมบัติท่ี
เปน คณุ พิเศษบางสามาแบงไดอ ยา งนี้

๗ พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย, พิมพคร้ังท่ี ๓๒,
(กรุงเทพมหานคร : สาํ นักพิมพผลิธมั ม, ๒๕๕๕), หนา ๓๖๒.

ศึกษาเฉพาะเรอื่ งในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา ๑๖๓
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๕.๒.๑ ปญ ญาวมิ ตุ
ปญญาวิมุตติ หมายถึงความหลุดพนดวยปญญา ความหลุดพนท่ีบรรลุดวยการ
กาํ จดั อวิชชาได ทําให สาํ เรจ็ อรหัตตผล และทําใหเจโตวิมุตติ เปนวิมุตติที่ไมกําเริบ คือ
ไมกลับกลายได อีกตอไป ๙ กลาวคือ วิมุตติของพระอรหันตผูบําเพ็ญวิปสสนาลวน ๆ
เรียกไดวา บุคคลใด อาศัย ความเห็นแจงตามความเปนของรูปนาม โดยที่ยังไมไดเจริญ
สมถะมากอ นและยังไมไ ดฌานสมาบัติ เริ่ม ปฏิบัติวิปสสนาทีเดียว ไดสมาธิเพียงขณิกสมาธิ
คอื รทู นั ปจจบุ ันทุกขณะของรูปนาม โดยความเปน ไตรลักษณ จนบรรลุมรรค ผล นิพพาน
บุคคลน้นั เรยี กวา วิปสสนายานิกะ และเม่ือสิ้นอาสวะกิเลส สําเร็จเปนพระอรหันต มีชื่อวา
สกุ ขวิปสสกบคุ คล หรอื ปญ ญาวิมุตติบคุ คล๘
ดังน้ัน พระอรหันตเปนประเภทสุกขวิปสสกะ เรียกอีกอยางหน่ึงวา พระอรหันต
ปญญาวิมุต คือ ทานเจริญแตวิปสสนาปญญาเพียงอยางเดียวจนบรรลุอรหัต เรียกยอวา
ทานผเู จรญิ วิปส สนาลวน
ดังที่ปรากฏใน ปญญาวิมุตตสูตรวาดวยบุคคลผูเปนปญญาวิมุตท่ี ทานพระอุทา
ยถี ามวา “ผมู อี ายุ พระผูมีพระภาคตรัสเรียกบุคคลวา ‘ปญญาวิมตุ ปญ ญาวิมุต’ ผูมีอายุ ดวย
เหตุเพียงเทาไร หนอ พระผูมีพระภาคจึงตรัสเรียกบุคคลวา ปญญาวิมุต” ทานพระอานนท
ตอบวา “ผูมีอายุ ภิกษุใน พระธรรมวินัยนี้สงัดจากกาม ...บรรลุปฐมฌาน... และเธอยอมรู
ชัดปฐมฌานน้ันดวยปญญา ดวยเหตุ เพียงเทานี้พระผูมีพระภาคจึงตรัสเรียกบุคคลวา
‘ปญญาวิมุต’ โดยปริยายแลว…ภิกษุลวงเนวสัญญา นาสัญญายตนฌานโดยประการท้ังปวง
บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู อาสวะทั้งหลายของเธอหมดส้ิน แลว เพราะเห็นดวยปญญา
และเธอยอ มรูช ัดสญั ญาเวทยิตนิโรธนั้นดวยปญญา ดวยเหตุเพียงเทาน้ี พระผูมีพระภาคจึง
ตรสั เรียกบุคคลวา ‘ปญ ญาวมิ ตุ ’ โดยนิปปริยายแลว ”๙
๕.๒.๒ อุภโตภาควิมุต
อุภโตภาควิมุต คือ ผูหลุดพนทั้ง ๒ สวน หมายถึงพระอรหันตผูบําเพ็ญสมถะมา
มากจนได สมาบัติ ๘ แลวจึงใชสมถะน้ันเปนฐานบําเพ็ญวิปสสนาตอไป ชื่อวาหลุดพน ๒
สว น คือ (๑) หลุดพน จากรูปกายดวย อรูปสมาบัติ (วิกขัมภนะ) (๒) หลุดพนจากนามกาย
ดวยอริยมรรค (สมุจเฉทะ)๑๐

๘ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๐๓/๗๖.
๙ องฺนวก. (ไทย) ๒๓/๔๔/๕๓๘-๕๓๙.
๑๐ ท.ี ม.อ. (ไทย) ๑๐/๑๓๐/๑๑๓.

๑๖๔ บทที่ ๕ การบรรลธุ รรมของพระอรหนั ตกบั พระโพธสิ ตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ในประเดน็ นี้ผวู จิ ัยขอยก ขอ ความท่ีปรากฏในอุภโตภาควิมุตตสูตร วาดวยบุคคล
ผูเปน อุภโตภาควิมุต ทานพระอุทายีถามวา “ผูมีอายุ พระผูมีพระภาคตรัสเรียกบุคคลวา
‘อุภโตภาควิมตุ อุภโต ภาควมิ ตุ “ผูม ีอายุ ดวยเหตเุ พยี งเทาไรหนอ พระผูมีพระภาคจึงตรัส
เรยี กบุคคลวา ‘อภุ โตภาค วิมุต” ทานพระอานนทตอบวา “ผูมีอายุ ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้
สงัดจากกาม...บรรลุปฐมฌาน ...และอายตนะคือปฐมฌานน้ันมีอยูโดยประการใดๆ เธอ
สัมผัสอายตนะคือปฐมฌานนั้นดวย กายโดยประการนั้นๆ อยูและเธอรูชัดอายตนะคือ
ปฐมฌานน้ันดว ยปญ ญา ดวยเหตุเพยี ง เทา น้ี พระผูมีพระภาคจึงตรัสเรียกบุคคลวา‘อุภโต
ภาควิมุต’ โดยปริยายแลว…ภิกษุลวง เนวสัญญานาสัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง
บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู อาสวะทั้งหลาย ของเธอหมดส้ินแลว เพราะเห็นดวยปญญา
อายตนะคือสัญญาเวทยิตนิโรธนั้นมีอยูโดย ประการใดๆ เธอสัมผัสอายตนะคือสัญญา
เวทยิตนิโรธน้ันดวยกายโดยประการน้ันๆ อยู และ เธอรูชัดอายตนะคือสัญญาเวทยิตนิโรธ
นน้ั ดวยปญ ญา ดว ยเหตุเพียงเทาน้ี พระผูมีพระภาคจึง ตรัสเรียกบุคคลวา‘อุภโตภาควิมุต’
โดยนิปปรยิ ายแลว ”๑๑

อุภโตภาควิมุตเปนลักษณะความหลุดพนของพระอรหันต วิมุตติ แปลวา ความ
พนอยาง วิเศษ ความหลุดพนคือ การที่จิตหลุดพนจากกิเลสและอาสวะ คือ ราคะ โทสะ
โมหะ ไดโดยส้ินเชิง วิมุตติ หมายถึง พระนิพพาน ก็ได วิมุตติ มี ๒ อยาง คือ เจโตวิมุตติ
และ ปญ ญาวิมุตติ มรี ายละเอียด ดังนี้

๕.๒.๓ เจโตวิมตุ ติ
ความหลุดพนแหงจิต ความหลุดพนดวยอํานาจการฝกจิต ความหลุดพน แหงจิต
จากราคะ ดวยกําลังแหงสมาธิ คือ วิมุตติของพระอรหันตผูบําเพ็ญวิปสสนา อันมีสมถกรรม
ฐานเปนพื้นฐานมากอน เรียกไดวา บุคคลใดอาศัยความสงบคือไดเจริญสมถะมากอนจนได
บรรลุฌาน สมาบัติแลวเจริญวิปสสนาตอ บุคคลนั้นเรียกวา สมถยานิกะ และเม่ือสิ้นอาสวะ
กเิ ลสสําเรจ็ พระอรหันต มีช่อื วา “ฌานลาภีบคุ คล” หรอื บางทีเรียกวา “เจโตวิมตุ ติบุคคล”๑๒
อนงึ่ พระอรหันตท่ีหลุดพน ดว ยเจโตวมิ ุตตมิ ี ๓ ประเภทคอื
๑. เตวิชชะ หมายถึง พระอรหันตที่กําจัดอวิชชาและกิเลสทุกอยางไดและยังได
วิชชาหรือ ญาณอกี ๓ ประการ เปน ความสามารถพเิ ศษเพิม่ เติมอกี ดว ย คอื

๑) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ ญาณหรือความท่ีเปนเหตุใหระลึกชาติได
โดย ระลึกถอยหลงั ไปโดยลาํ ดับตัง้ แตช าติหนง่ึ สองชาติ สามชาติ เร่ือยไปจนนับชาติไมถวน

๑๑ องนฺ วก. (ไทย) ๒๓/๔๕/๕๓๗-๕๓๘.
๑๒ พระครสู มุหโ พธ์ิ จนทฺ สีโล, ธรรมภาคปฏบิ ตั ิ, พมิ พครัง้ ที่ ๔, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ
บริษัท สหธรรมมิก จาํ กดั , ๒๕๕๑), หนา ๒๔.

ศึกษาเฉพาะเรอื่ งในพฒั นาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๑๖๕
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

การระลึกชาติได ก็คือ การเห็นกระบวนการชีวิตท่ีผานการเกิดการตายมานับคร้ังไมถวน
เพราะฉะน้ันจึงเทา กับการ เห็นอรยิ สัจจป ระการแรกคือทุกขน ัน่ เอง

๒) จุตูปปาตญาณ ไดแก ญาณอันเปนเหตุใหเห็นมวลสัตวท่ีกําลังจุติ (ตาย)
และ อุบัติ (เกดิ ) ในกาํ เนิดตาง ๆ ดีบาง ช่ัวบาง ตามกรรมญาณชนิดน้ีบางทีก็เรียกวา ทิพพ
จกั ขุ การเห็น การเกิด การตายของสัตวก็คือเห็นทุกขน่ันเอง ตางจากญาณประการแรกแต
เพยี งวาเห็นทุกขของคน อืน่ เทา นนั้

๓) อาสวักขยญาณ ไดแก ญาณท่ีสามารถทําอาสวะใหหมดสิ้นไป กลาวคือ
เมื่อเกดิ ดวงปญ ญาข้ึนแลว แทนท่ีจะนาํ ไประลกึ ชาตกิ อ น หรือดกู ารจุติและการเกิดของสัตว
กลับนาญาณน้ัน มาศึกษาใหเห็นวานี่คืออาสวะ น่ีคือเหตุเกิดแหงอาสวะ น่ีความดับแหงอา
สวะ แลวกําจัดอาสวะนั้น เสียดวยญาณ อาสวักขยญาณในสวนที่เปนเหตุจัดเปนมัคคสัจจ
ในสวนที่เปนผลจัดเปนนิโรจสัจจ ฉะนั้นญาณทั้งสามนี้ โดยสาระสําคัญแลวก็คือการเห็น
อรยิ สัจจ ๔ น่ันเอง

๒. ฉฬภิญญะ พระอรหันตที่ดับกิเลสอาสวะท้ังปวงไดเหมือนพระอรหันต
ทั้งหลายแตยัง มีคุณสมบัติพิเศษอีก ๖ ประการ อันเปนผลแหงการ ฝกจิต อบรมจิตจนมี
กําลังแกกลา จึงเกิดวิปสสนา ญาณกําจัดกิเลส คุณสมบัติที่เปนคุณพิเศษ ๖ ประการนั้น
เรียกวา อภญิ ญา ๖ คือ

๑) อิทธิวิธี แสดงฤทธ์ิไดตาง ๆ เชน คนเดียวทําใหปรากฏเปนหลายคน
ลอ งหนดาดนิ เดินน า เหาะเหินเดนิ อากาศ เปน ตน

๒) ทิพพโสต หูทิพย คือ มีความสามารถในการฟงมนุษยและเสียงทิพยได
ทงั้ ในท่ี ใกลแ ละไกล

๓) เจโตปรยิ ญาณ คอื การกําหนดรูจติ ของคนอื่นวากําลงั คดิ อยา งเศราหมอง
หรือ ผองใสอยางไร มีความรูสึกอยา งไร เปน ตน

๔) ปพุ เพนวิ าสานุสสติ ระลกึ ชาติกอนได
๕) ทิพพจักขุ ตาทิพย ความสามารถเห็นรูปวัตถุและรูอันเปนทิพยท้ังในท่ี
ใกลและไกลได
๖) อาสวักขยญาณ ญาณเคร่ืองทําอาสวะใหหมดส้ินไป พระอรหันตผูได
อภิญญา ๖ น้ี จัดวาเปนผูวิเศษที่สามารถกระทําส่ิงท่ีมนุษยธรรมดาไมสามารถทําได ใน
สมัยพุทธกาล พระโมคคัลลานะพระอัครสาวกเบ้ืองซายไดรับยกยองจากพระพุทธเจาวา
เปน ยอดแหงพระอรหันตผ มู ฤี ทธิ์

๑๖๖ บทที่ ๕ การบรรลธุ รรมของพระอรหนั ตกับพระโพธสิ ตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๓. ปฏิสัมภิทัปปตตะ ไดแก พระอรหันตผูไดปฏิสัมภิทา คือความแตกฉานชํ่าชอง
ใน เร่ืองตาง ๆ เฉพาะอยางย่ิง ในเร่ืองพระธรรมคําสอนของพระพุทธเจาในดานภาษาศาสตร
และวิธกี าร แสดงออก ปฏิสมั ภิทามี ๔ อยาง คือ๑๓

๑) อัตถปฏิสัมภิทา ความเช่ียวชาญในความหมายของพระธรรม สามารถ
บรรยาย ความของสุภาษิตตาง ๆ ใหพิสดารอยางนาฟง และหมายถึงความสามารถรูผลของ
เหตุตาง ๆ ไดอ ยา ง ถกู ตอ ง

๒) ธัมมปฏิสมั ภิทา ความสามารถในการประมวลเร่ืองราวตาง ๆ เขาเปนหลัก
เปน สุภาษิตไดอยางเหมาะสม และความสามารถในการสาวไปยังเหตุอันถูกตองไดในเมื่อเห็น
ผลอยางใด อยา งหน่งึ

๓) นิรุติปฏิสัมภิทา ความเช่ียวชาญในทางภาษา สามารถเรียนรูภาษาตาง ๆ
ได รวดเรว็ สามารถใชถอ ยคําสํานวนในการบรรยายธรรมไดอยางเหมาะสม

๔) ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ความเช่ียวชาญในปฏิภาณ คือ การกลาวโตตอบได
อยา ง ฉบั พลันและถูกตอง๑๔

ดังนั้น พระอรหันต ๓ ประเภท คือ เตวิชชะ ฉฬภิญญะ ปฏิสัมภิทัปปตตะ เรียก
อีกอยาง หน่ึงวา พระอรหันตฌานลาภีบุคคล หรือพระอรหันตเจโตวิมุต คือทานท่ีหลุดพน
จากอํานาจกิเลสดวย การเจริญสมถกรรมฐานมากอน จนไดบรรลุฌาน ที่ทานเรียกวา
ปฏิปทาสิทธิญาณตอจากน้ันก็มา เจริญวิปสสนา จนบรรลุอรหัตตผล ที่เรียกวา มัคคสิทธิ
ญาณ คุณสมบัติ คือ วิชชา ๓ อภิญญา ๖ ปฏิสัมภิทา ๔ สวนมากจะมีพรอมกันในพระ
อรหนั ตป ระเภทน้ี คือ รปู เดียวประกอบดว ยคณุ สมบัติ ครบ ๓ อยาง

๕.๓ วิถีแหง ความเปนอรหนั ต

การบรรลุอรหัตตผลนั้นผูปฏิบัติจะดําเนินตามวิธีใดก็ได ทั้งน้ีข้ึนอยูกับวาวิธีไหน
จะสะดวก และเหมาะสมกันตนกวากัน ไมวาผูปฏิบัติจะเร่ิมตนดวยวิธีใดกอน สมถกรรม
ฐานและวิปสสนา กรรมฐาน ยอมเกื้อกลู สนับสนุนกนั จนถึงข้นั บรรลเุ ปนพระอรหันต

๑๓ องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๑๗๒/๑๘๓-๑๘๔, ขุ.ปฏิ. (ไทย) ๓๑/๑๑๐/๑๒๓, อภิ.วิ. (ไทย)
๓๕/๗๑๘/ ๓๕๙: ปฏิสัมภิทา ๔ คือ อัตถปฏิสัมภิทา ปญญาแตกฉานในเน้ือความ ธัมมปฏิสัมภิทา
ปญญาแตกฉานในหลักการ นิรุตติปฏิสัมภิทา ปญญาแตกฉานในภาษา และปฏิภาณปฏิสัมภิทา
ปญ ญาแตกฉานในความคดิ ทนั การ,

๑๔ แสง จนั ทรง าม, พุทธศาสนาวทิ ยา, พมิ พค รง้ั ท่ี ๔, (กรุงเทพมหานคร: บริษัทสรางสรรค
บุค ส จาํ กดั , ๒๕๔๔), หนา ๑๘๓-๑๘๖.

ศกึ ษาเฉพาะเรือ่ งในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา ๑๖๗
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๑. สมถกัมมัฏฐาน๑๕ เปนทางดําเนินสูพระนิพพานโดยออม มุงตองการใหเกิด
สมาธิ ตองการใหจิตสงบ แนบแนนอยูกับอารมณเดียว ไมหวั่นไหว เมื่อจิตสงบแลว (ตัว
สมถะก็คือสมาธิ)จะ สบาย มีความสุข เงียบสงบไมวอกแวก ไมเดือดรอน ไมดิ้นรน ไม
กระวนกระวาย แนบแนนอยูใน อารมณเดียว จนกระทั่งเกิดสมาธิถึงระดับที่เรียกวา ฌาน
จากนน้ั จึงเอาฌานเปน บาทเจรญิ วิปสสนา ตอไปผทู ป่ี ฏบิ ัติแนวน้ีเรียกวา สมถนายิก

๒. วปิ ส สนากรรมฐาน๑๖ เปนทางดําเนินสูพระนิพพานโดยตรง สําหรับผูท่ีไมเคย
ฝกหัด เจริญสมาธิมากอนเรียกวา วิปสสนายานิก คือ เม่ือเจริญวิปสสนา ใชปญญา
พจิ ารณาความจริง เกย่ี วกบั สิง่ ท้ังหลายอยา งถูกทางแลว จิตก็จะสงบขึ้น เกิดมีสมาธิตามมา
เอง สมาธิในตอนแรกอาจ เปนขณิกสมาธิ คือสมาธิช่ัวขณะ ซึ่งเปนสมาธิอยางนอยที่สุด
เทา ทีจ่ าํ เปนเพื่อใหวิปสสนาดําเนินตอไป ได เม่ือผูเปนวิปสสนายานิก เจริญวิปสสนาตอไป
สมาธิก็พลอยไดรับการอบรมไปดวย ถึงตอนน้ีอาจ เจริญวิปสสนาดวยอุปจารสมาธิ จนใน
ที่สุด เมื่อขณะที่บรรลุมรรคผล สมาธิก็จะแนวแนเปนอัปปนา สมาธิ อยางนอยถึงระดับ
ปฐมฌานซึง่ สอดคลอ งกบั หลักท่ีแสดงไวว า ผูบรรลุอริยภูมจิ ะตองมีท้งั สมถะ และวิปสสนา

สว นในกรณีการบําเพญ็ บารมีเพ่ือเขาสูวิถีแหงความเปนพระอรหันตสามารถแบง
ไดเปน ๒ ข้ันตอน ไดแ ก

ข้ันตอนท่ี ๑ ชวยตนเองใหพ นทุกขไดจริง เปน การบาํ เพญ็ บารมีแบบพระอรหันต
ทั่วๆ ไป คือ พยายามละเวนความช่ัวทุกชนิดอยางเด็ดขาด ขวนขวายทําความดีทุกอยางที่
ขวางหนาโดยไมเห็นแกความเหน่ือยยาก และพยายามกล้ันจิตใจใหผองใสไมวางเวน เต็ม
กําลังสติปญญาความสามารถในชาติน้ันๆ โดยอาศัยคําสอนจากนักปราชญบัณฑิต
ตลอดจนพระพุทธเจา ในยุคน้นั ๆ ขั้นตอนท่ี ๑ น้ี ถาจะแบงยอยการบําเพ็ญบารมีออกไปอีก
กไ็ ด ๒ ระยะ คือ ระยะแรก สรา งบารมีไปเงียบๆ โดยไมเอยปากบอกใครและไมชักชวนใคร
เพราะบารมียงั ออนอยู ตองใชเ วลาไปในระยะน้ีทง้ั หมดนานถงึ ๗ อสงไขยกัปและระยะหลัง
สรางบารมีไป ก็ประกาศใหชาวโลกทราบไปและบําเพ็ญตนเปนกัลยาณมิตรดวยการชักจูง
ใหผอู น่ื สรางบารมีตาม จนกระทง่ั บารมีแกกลา เตม็ ที่พอจะหมดกเิ ลสเปนพระอรหันตได (ใน
พระชาติท่เี ปนสุเมธดาบส) ซ่งึ ใชเวลานานอกี ๙ อสงไขยกัป

ขั้นตอนที่ ๒ ทุมเทชีวิตสรางบารมีเพ่ือชวยเหลือสัตวโลกโดยสวนรวม คือ
นบั ตง้ั แตท ันทที ี่สเุ มธดาบสไดรบั พยากรณจากพระสมั มาสมั พทุ ธเจาทีปงกร จนกระท่ังไดมา
เปนพระสัมมาสัมพุทธเจาผูเปนบรมครูของเรา ข้ันตอนท่ี ๒ นี้ เปนข้ันตอนที่ละเอียดออน
แสดงถึงพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญของพระองคท่ีมีตอสัตวโลก ไมมีศาสดาใดๆ จะ

๑๕ พระธรรมปฎ ก (ป.อ. ปยตุ ฺโต), พุทธธรรม, หนา ๓๐๕.
๑๖ เร่ืองเดยี วกัน, หนา ๓๐๖.

๑๖๘ บทที่ ๕ การบรรลุธรรมของพระอรหนั ตก บั พระโพธิสตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

เทยี บเทียมได เพราะตองใชเ วลาตอ ไปอีก ๔ อสงไขยแสนกัป เพื่อสัตวโลกทั้งหลายมิใชเพื่อ
พระองคเ องเลย ย่งิ กวาน้นั ยงั เปน ขั้นตอนทีต่ อ งประพฤติอยา งรอบคอบรดั กุม เรียกวา สราง
บารมี ๑๐ การสรางบารมจี งึ เปนท่ีควรนํามาศกึ ษาเพื่อเปน แนวทางในการปฏิบัติ๑๗

การสรางบารมีของพระอริยะที่เปนสาวกมีหลายรูปแบบ ระยะเวลาในการสราง
บารมีก็ไมเทาเทียมกัน เพราะทุกอยางขึ้นกับเง่ือนไขในการของสภาพแวดลอม แมวาการ
สรางบารมีของพระอริยะจะเปนการสั่งสมทศบารมี (บารมี ๑๐ ทัศ) เหมือนกันก็ตาม แตก็
ไมไ ดมากมายเทา กบั พระพุทธเจา เมื่อพิจารณาการจัดลําดับการสรางบารมีของพระสาวกก็
สามารถจาํ แนกไดด งั น้ี

๑) พระอรยิ ะปกตสิ าวก
๒) พระอรหันตผูทรงอภิญญา
๓) พระอรหนั ตผ ูท รงปฏิสมั ภิทาญาณ
๔) พระอรหนั ตผ ทู รงอภิญญาและปฏิสัมภทิ าญาณ
๕) พระอรหนั ตผ ูเปนมหาสาวก
๖) พระอริยะผูเ ปนอเสติ หรอื เปนเอกคทัคคะ
๗) พระอรหันตผเู ปน อเสติ
๘) พระอรหนั ตผ ูเปนอคั รสาวกเบอื้ งซา ยและขวา
๑) พระอริยะปกติสาวก น้ันเปนระยะเวลาการสรางบารมีไมแนนอน เชน บาง
ทานต้งั ความปรารถนาถึงซึง่ พระนิพพาน แตไมไดบําเพ็ญบารมีอยางดี ก็ยอมวนเวียนในวัฏ
สังขารเปนเวลายาวนาน หลังจากตั้งความปรารถนาไวจนจําไมได แตบางทานเม่ือตั้งความ
ปรารถนาถงึ ซ่งึ พระนิพพานแลวไดบ ําเพ็ญบารมีอยางดี ก็ยอมเวียนในวัฏสังขารเปนเวลาไม
นานหลงั จากทตี่ ้งั ความปรารถนาไว บางทานก็บรรลเุ ปนพระอรยิ ะเลยในชีวิตน้ัน บางทานก็
บรรลุในชาติถัดๆ ไป บางทานก็บรรลใุ นสมยั ของพระพุทธเจาองคถัดๆ ไปในเวลาอันไมไกล
กนั นกั
ดงั ตวั อยา ง พระเจาพิมพิสารที่ทานไดเปนพระโสดาบัน ตามพระอรรถกถากลาว
ไวว า ทานไดส รางบารมตี ั้งแตเ ริ่ม ๙๐ กปั มาแลว ดังนั้นจํานวนของพระอริยะปกติสาวก จึง
มีมากมายมหาศาลเปนอยางย่ิง ในแตละพุทธสมัยก็จะมีจํานวนพระอริยะปกติถึงจํานวน
อสงไขยๆ สัตวที่บรรลุนิพพาน และในยามท่ีพระพุทธเจาปรินิพพาน (สิ้นพระชนชีพ) ก็มี

๑๗ ขุท.อป. (ไทย) ๓๓/๒/๘๒.

ศึกษาเฉพาะเรอ่ื งในพฒั นาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๑๖๙
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

เหลาพระอริยะปกติสาวกน้ีแหละเปนผูสืบทอดตออายุของพระพุทธศาสนา ดําเนินตอไป
เปนเวลายาวนานตามยคุ ตามสมัย๑๘

๒) พระอรหันตทรงอภิญญา ผูที่ปรารถนาเปนพระอรหันตผูมีปญญาก็ตองสราง
สมบารมีมากกวาปกติ คือ ตองสรางบารมี ๑๐ ทัศ แลวตองสรางสมสมถะจนเชี่ยวชาญจน
ไดอภิญญา ซ่ึงตองสรางสมกันเปนเวลาหลายๆ ชาติ จนขามกัปหรือใชเวลาหลายๆ กัป
จากการศกึ ษาผูป รารถนาเปนพระอรหนั ตผ ูท รงอภญิ ญาเพอ่ื ประโยชนแกสัตวท้ังหลาย ตอง
สรางสมบารมเี ปนเวลาถึงหนึ่งหม่นื กัปโดยประมาณ

๓) พระอรหันตผูทรงปฏิสัมภิทาญาณ ผูที่ปรารถนาเปนพระอรหันตผูมี
ปฏิสมั ภิทาญาณ ก็ตองสรา งสมบารมีมากกวาปกติ คือ ตองสรางบารมี ๑๐ ทัศแลว ยังตอง
สรางสมปฏิสัมภิทาญาณตางๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งจะตองสรางสมกันเปนเวลาหลายๆ ชาติจนขาม
กปั หรือใชเ วลาหลายๆ กัป จากการศึกษามาผูที่ปรารถนาเปนพระอรหันตผูทรงปฏิสัมภิทา
ญาณเพ่ือประโยชนแกสัตวทั้งหลาย ตองสรางสมบารมีเปนเวลาถึงหน่ึงหม่ืนกัป
โดยประมาณ

๔) พระอรหันตทรงอภิญญาและปฏิสัมภิทาญาณ พระอรหันตทรงอภิญญาและ
ปฏิสัมภิทาญาณ ที่ไมไดเปนมหาสาวกหรือเปนพระอรหันตในสมัยที่พระพุทธเจาทรง
ปรินิพพานไปแลวถึงหน่ึงหมื่นกัป หรือมากกวาน้ันโดยประมาณ และสวนมากจะเปนพระ
อรหันตส าวกของพระพทุ ธเจาในขณะทพ่ี ระองคม ีพระชนชพี อยู

๕) พระอรหันตผูเปนสาวก พระอรหันตผูเปนมหาสาวกสวนมากจะทรงอภิญญา
และปฏิสัมภิทาญาณพรอม และเปนพระอรหันตในขณะท่ีพระพุทธองคมีพระชนชีพอยู
จากการศึกษามาตองสรางบารมีถึงหน่ึงแสนกัปโดยประมาณ ดังเชน พระอภัยอรหันต ผู
เปน พระโอรสองคหนงึ่ ของพระเจาพมิ พสิ าร ก็ยงั มีมหาสาวกบางทานสรางบารมีมายาวนาน
มากกวาอสงไขยก็มี

๖) พระอริยะผูเปนพระอเสติหรือเอกทัคคะ ไดแก ฆราวาสอริยะท่ียังไมบรรลุ
เปนพระอรหันต แตไดรับการแตงตั้งจากพระพุทธเจาวาเปนเอกหรือเอกทัคคะดานใดดาน
หนึ่ง ดังเชน นางวิสาขา จิตตะเศรษฐี ซึ่งตองสรางสมบารมีอยางนอยท่ีสุดหน่ึงแสนกัป
หลังจากไดรบั พุทธพยากรณจ ากพระพทุ ธเจาองคใดองคหนึ่งในอดีต แตกอนท่ีจะไดรับพุทธ
พยากรณค รงั้ แรกน้นั อาจจะสรา งบารมมี ายาวนานแลว จงึ จะไดร บั พทุ ธพยากรณค รงั้ แรกได

๗) พระอรหันตผูเปนพระอเสติ หรือเอกทัคคะ ไดแก พระอริยะภิกษุหรือพระ
อรหันตภ กิ ษุและพระอรหนั ตและพระอรหันตภ กิ ษุณี ท่ีไดรับแตงต้ังจากพระพุทธเจาวาเปน
เอกหรือเอกทคั คะดา นใดดา นหนงึ่ โดยเฉพาะ ซึ่งตองสรา งบารมีถงึ หนึ่งแสนกัปหรือมากกวา

๑๘ ท.ี อ (ไทย) ๑/๑๙๒/๕๓๔-๕.

๑๗๐ บทที่ ๕ การบรรลุธรรมของพระอรหันตกับพระโพธิสตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

น้ันจนถึงอสงไขยกัป หลังจากไดรับพุทธพยากรณจากพระพุทธเจาองคใดองคหนึ่งในอดีต
แตกอนท่ีจะไดรับพุทธพยากรณคร้ังแรกนั้นอาจจะสรางบารมีมายาวนานแลว จึงจะไดรับ
พยากรณคร้ังแรกไดเชน พระอานนท พระพักกุลละเถระ พระอุบลวรรณาเถรี พระโคตรมี
เถรี พระอนรุ ุท ฯลฯ๑๙

๘) พระอรหันตผเู ปน อัครสาวกเบื้องซายหรือขวา น้ันจะตองสรางบารมีเปนเวลา
ยาวนาน เปนเวลาถึงหน่ึงอสงไขยกับเศษแสนมหากัป หลังจากไดรับพุทธพยากรณเปนครั้ง
แรกจากพระพุทธเจาองคใดองคหน่ึงในอดีต แตกอนที่จะไดรับพุทธพยากรณครั้งแรกนั้น
อาจสรางบารมีเพื่อใหไดรับพุทธพยากรณมาเปนเวลานานแลว ดังเชน พระสารีบุตร และ
พระโมคคลั ลานะ

จากตัวอยางของพระสารีบุตร ที่ทานไดรับพุทธพยากรณคร้ังแรกในสมัยของ
พระอโนทศั สีพทุ ธเจาน้นั อดตี ชาติของพระสารบี ตุ รสมัยนั้น เปนฤาษีผูทรงอภิญญา ๕ และ
มีศิษยถึง ๒,๕๐๐ ตน ซ่ึงหมายความวากอนที่จะไดรับพุทธพยากรณเปนคร้ังแรกน้ัน ทาน
ไดสรางสมบารมีมายาวนานกอ นหนา น้นั แลว ไมใชวาจะมาเริ่มตนสรางบารมีหลังจากไดรับ
พุทธพยากรณคร้งั แรก๒๐

สรุป การสรางบารมีเพื่อเปนพระอรหันตท่ีทรงอภิญญาและปฏิสัมภิทาญาณ
ยอมใชเวลายาวนานกันทั้งนั้น และเปนการสรางบารมีอยางเอาจริงเอาจัง เมื่อบรรลุเปน
พระอรหันตยอมดํารงคุณประโยชนแกสัตวทั้งหลายมากมายเปนอยางยิ่ง เหมือนพลุที่สอง
สวา งจาํ รัสจา ดว ยแสงท่สี วยสดงดงาม ใหสัตวท ัง้ หลายเพียรเพ่ือบรรลุนิพพานสืบทอดตอไป
จนจวบส้ินอายพุ ทุ ธศาสนา
๕.๔ หลกั ธรรมทส่ี นับสนนุ ในการบรรลเุ ปน อรหันต

หลักธรรมที่สงเสริมการบําเพ็ญบารมีของพระอรหันตใหบริบูรณนั้น ไดแก โพธิ
ปกขิยธรรม แปลวา ธรรมอันเปนฝกฝายแหงความตรัสรู หรือ ธรรมที่เปนองคประกอบ
สําคัญของปญญาเครื่องตรสั รู หรอื ธรรมท่ีสนบั สนนุ ใหเกิดความตรัสรู ซึ่งความตรัสรูที่พระ
พุทธองคทรงประสงคก็คือ ความตรัสรูอริยสัจ ๔ เพราะความตรัสรูอริยสัจ ๔ น้ัน เปน
ปญญาชั้นโลกุตระท่ีจะเปนเครื่องมือสําหรับทําลายกิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความ
หลง ใหยอยยับลงไปไดอยางแทจริงแตการท่ีบุคคลจะมีปญญาอันประเสริฐอยางนี้ได หรือ
กลาวอีกนัยหนึ่ง ปญญาอันประเสริฐน้ีจะเกิดมีขึ้นและเจริญงอกงามในจิตใจของบุคคลได

๑๙ จําเนียร ทรงฤกษ, ชีวประวัติพุทธสาวก ประวัติพระอัจฉริยะมหาเถระเม่ือคร้ัง
พทุ ธกาล เลม ๑ (กรุงเทพมหานคร: สํานกั พิมพธรรมสภา, ๒๕๔๒), หนา ๒๓.

๒๐ ขทุ .อป. (ไทย) ๓๓/๗/๖๒๓-๖๒๘

ศึกษาเฉพาะเรอ่ื งในพัฒนาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๑๗๑
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

จะตองศึกษาใหเขาใจอยางถองแทในหลักไตรสิกขา อาศัยการอบรมขัดเกลาจิตใหเบาบาง
จากกิเลสดวยการปฏิบัติในศีล ดวยการประพฤติธุดงควัตร รวมทั้งการปฏิบัติในสมถวิปสส
นากัมมัฏฐาน เพื่อพอกพูนโพธิปกขิยธรรมใหเจริญงอกงามโดยถูกทาง เพราะโพธิปกขิย
ธรรม คือ ธรรมท่ีเปนเหตุใหพระสาวกบรรลุสาวกบารมีญาณ พระปจเจกพุทธเจาบรรลุ
ปจ เจกโพธิญาณ และเปน เหตุใหพ ระพทุ ธเจา ไดบรรลพุ ระอนตุ ตรสัมมาสัมโพธญิ าณ

โพธิปก ขยิ ธรรม มี ๓๗ ประการ คอื แบง เปน ๗ หมวด ดังน้ี
หมวดที่ ๑ สติปฏ ฐาน ๔
หมวดท่ี ๒ สมั มัปปธาน ๔
หมวดที่ ๓ อทิ ธิบาท ๔
หมวดที่ ๔ อินทรยี  ๕
หมวดท่ี ๕ พละ ๕
หมวดที่ ๖ โพชฌงค ๗
หมวดท่ี ๗ มรรคมีองค ๘๒๑
๑. สตปิ ฏฐาน ๔
สติปฏฐาน หมายถึง ธรรมที่เปนท่ีตั้งแหงสติ ขอปฏิบัติมีสติเปนประธาน การต้ัง
สติ กาํ หนดพจิ ารณาสิง่ ท้ังหลายใหร ูเ ห็นเทาทันตามความเปนจรงิ การมีสติกํากับดูส่ิงตาง ๆ
และความ เปน ไปทัง้ หลาย โดยรูเ ทาทนั ตามสภาวะของมนั ไมถูกครอบงําดวยความยินดียิน
ราย ท่ีทาํ ใหมองเห็น เพ้ียนไปตามอํานาจกเิ ลสมี ๔ อยา ง ไดแก
๑) กายานุปสสนาสติปฏฐาน การพิจารณาเห็นกายในกายอยู มีความเพียร
มีสัมปชัญญะ มีสติ กาํ จดั อภชิ ฌา และโทมนสั ในโลกได
๒) เวทนานปุ สสนาสตปิ ฏฐาน การพจิ ารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู มีความ
เพียร มี สัมปชัญญะ มสี ติ กาํ จดั อภิชฌาและโทมนสั ในโลกได
๓) จิตตานุปส สนาสติปฏฐาน การพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู มีความเพียร มี
สัมปชญั ญะ มี สติ กําจัดอภิชฌาและโทมนสั ในโลกได
๔) ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน การพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู มีความ
เพยี ร มี สมั ปชัญญะ มีสติ กําจดั อภิชฌาและโทมนัสในโลกได๒๒
ผูเจริญวิปสสนากรรมฐานตามแนวมหาสติปฏฐาน ๔ จะตองประกอบดวยองค
ธรรม ๔ ประการ คอื มีความเพียรเปนเคร่ืองเผากิเลส มีสัมปชัญญะเปนเคร่ืองรูรูปนามทุก
ขณะ มีสตคิ อย กาํ หนดอยูเสมอ มีปญ ญาละความโลภ ความโกรธ ความหลง ในอัตตภาพน้ี

๒๑ ส.ม. (ไทย) ๑๙/๕๒๕/๒๒๒-๒๒๓.
๒๒ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๓/๓๐๑-๓๐๒.

๑๗๒ บทท่ี ๕ การบรรลุธรรมของพระอรหันตก บั พระโพธิสตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

เสียได เม่ือเจริญ สติปฏฐาน ๔ อยางดีแลว ยอมมีผลเปนความบริสุทธ์ิ ใหพนไปจากความ
เศราโศกเสียใจ ความรําไร รําพันใหดับทุกขโทมนัสลงได ใหบรรลุอริยสัจจนกระท่ังทําพระ
นิพพานใหแ จง

๒. สัมมัปปธาน ๔
สัมมัปปธาน หมายถึง ความเพียรชอบ ความเพียรใหญ เปนความเพียร ที่
ถกู ตองสมบูรณ แบบ มี๒๓ ๔ ประการ ไดแก

๑) สังวรปธาน มีฉนั ทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต มุงม่ันเพื่อ
ปองกันบาป อกุศลธรรมทีย่ งั ไมเ กิดมิใหเกดิ ขึน้

๒) ปหานปธาน มีฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต มุงมั่น
เพอ่ื ละบาปอกศุ ล ธรรมทยี่ งั เกดิ มใิ หเ กดิ ขึ้น

๓) ภาวนาปธาน มีฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต มุงม่ัน
เพ่ือทํากุศลธรรม ท่ยี ังไมเกิดใหเ กิดข้ึน

๔) อนุรักขนาปธาน มีฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต
มุงม่ันเพื่อความ ดํารงอยูไมเลือนหาย ไพบูลย เจริญเต็มท่ีแหงกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแลว
สัมมัปปธาน ๔ อยา ง เปนธรรมท่ีสนบั สนนุ หรือเก้ือกูลใหผ ปู ฏิบตั ิไดบรรลมุ รรค ผล นิพพาน
ดังที่พุทธองคตรัสไวในปาจีนาทิสูตรวาแมน้ําคงคาไหลไปสูทิศปราจีน บาไปสูทิศปราจีน
หลากไปสูทิศปราจีน ฉันใดภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน เม่ือเจริญสัมมัปธาน ๔ ประการ ทําให
มาก ยอม นอมไป สูนิพพาน โนมไปสูนิพพาน โอนไปสนู พิ พาน๒๔

๓. อิทธบิ าท ๔
อิทธิบาท หมายถึง ทางแหงความสําเร็จ หรือคุณเคร่ืองใหถึงความสําเร็จ ซ่ึง
ความสําเร็จ ในทางธรรมนั้นมี ๕ ประการ คือ (๑) อภิญญาอิทธิ ความสําเร็จแหงการรูย่ิง
(๒) ปรญิ ญาอทิ ธิ ความสาํ เรจ็ แหงการกําหนดรทู กุ ขสจั (๓) ปหานอทิ ธิ ความสําเร็จแหงการ
ละสมุทัย (๔) สัจฉิกิริยา อิทธิ ความสําเร็จแหงการกระทําใหแจงนิโรธสัจ (๕) ภาวนาอิทธิ
ความสาํ เรจ็ แหงการอบรมมรรคสัจ อทิ ธบิ าทมี ๔ อยาง ไดแก

๑) ฉันทะ ความพอใจ หมายถึง ความตองการท่ีจะทํา ใฝใจรักจะทําส่ิงน้ัน
อยเู สมอ และปรารถนาจะทาํ ใหไ ดผลยิ่ง ๆ ข้ึนไป

๒) วิริยะ ความเพียร หมายถึง ความขยันหม่ันประกอบส่ิงนั้น ดวยความ
พยายาม เขม แขง็ อดทน เอาธรุ ะไมท อ ถอย

๒๓ องฺ.จตกุ กฺ . (ไทย) ๒๑/๑๓/๒๓-๒๔
๒๔ ส .ม. (ไทย) ๑๙/๖๕๑-๖๖๒/๓๖๐.

ศกึ ษาเฉพาะเรือ่ งในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา ๑๗๓
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๓) จิตตะ ความคิด หมายถึง ความตั้งจิตรับรูในสิ่งท่ีทําและทําส่ิงนั้น ดวย
ความ เอาใจ ฝกใฝ ไมปลอ ยใจใหฟุง ซานเลอ่ื นลอยไป

๔) วมิ งั สา ความไตรตรอง หมายถงึ ความหม่นั ใชป ญ ญาพิจารณาใครครวญ
ตรวจตรา หาเหตผุ ลและตรวจสอบขอ ยงิ่ หยอ นในสิ่งนน้ั ปรบั ปรงุ เปนตน ๒๕

อิทธิบาท ๔ ประการ เปนธรรมท่ีสนับสนุนหรือเกื้อกูลใหผูปฏิบัติไดบรรลุมรรค
ผล นิพพาน ดังท่ีพระพุทธองคตรัสไวในกายคตาสติสูตรวา อิทธิบาท ๔ เปนทางที่ให
ถึงอสังขตธรรม๒๖ อสังขตธรรม คือ ความสิ้นราคะความสิ้น โทสะ และความส้ินโมหะ๒๗
ผูเจริญอิทธิบาทใหมากยอมไดบรรลุมรรค ผลนิพพาน และที่พระพุทธ องคตรัสไวในอิทธิ
ปาทสูตรวา ภิกษุหรือภิกษุณี เจริญทําใหมาก ซึ่งอิทธิบาทและธรรมท่ีเก่ียวของธรรม พึง
หวงั ผล ๒ อยาง คือ อรหัตตผลในปจ จบุ นั หรอื เมื่อยงั มีอุปาทานเหลืออยจู กั เปนอนาคามี๒๘

๔. อินทรยี  ๕
อินทรีย หมายถึง ธรรมที่เปนใหญในกิจของตน เปนใหญในการกระทําหนาที่
ตางๆของตน เปนเจาการ ในการครอบงําเสียซึ่งความไรศรัทธา ความเกียจคราน ความ
ประมาท ความฟงุ ซาน และ ความหลง ตามลาํ ดับ มี ๕ อยาง ไดแ ก

๑) สัทธา ความเช่ือ หมายถึง ความเปนใหญในการเชื่อม่ัน เล่ือมใสในคุณ
พระรตั นตรยั กรรม และผลของกรรม โดยไมห วัน่ ไหว หรือเกดิ ความสงสัยในส่งิ เหลา นี้

๒) วริ ิยะ ความเพยี ร หมายถงึ ความเปนใหญในความเพียรไมยอทอ ไมเกิด
ความเกยี จ ครานในการปฏบิ ัติธรรม

๓) สติ ความระลึกได หมายถึง ความเปนใหญในการระลึกรูสภาวธรรม
ปจจุบัน ตาม ความเปนจรงิ โดยรับรูสภาวธรรมอยา งแทจ รงิ

๔) สมาธิ ความตั้งใจม่ัน หมายถึง ความเปนใหญในการต่ังใจม่ันใน
สภาวธรรมปจ จุบัน โดยจติ ไมซดั สายฟุง ซานไปในอารมณตาง ๆ

๕) ปญญา ความรอบรู หมายถงึ ความเปน ใหญในการรอบรูสภาวธรรมตาม
ความเปน จรงิ โดยหยงั่ รูใ นไตรลกั ษณค ือ ความไมเที่ยง เปน ทุกข เปนอนตั ตา๒๙

๒๕ ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๓๐๖/๒๗๗.
๒๖ ส.สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๗๒/๔๕๐.
๒๗ ส.สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๗๗/๔๕๓.
๒๘ องฺ.ปฺจก. (ไทย) ๒๒/๖๗/๑๑๕.
๒๙ ส.ม. (ไทย) ๑๙/๔๗๕/๒๘๔-๒๘๕.

๑๗๔ บทท่ี ๕ การบรรลธุ รรมของพระอรหนั ตก บั พระโพธสิ ตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

อินทรีย ๕ อยาง เปนธรรมที่สนับสนุนหรือเก้ือกูลใหผูปฏิบัติไดบรรลุมรรค ผล
นิพพาน ดังท่ีพระพุทธองคตรัสไวในอาสวักขยสูตรวา ภิกษุทําใหแจงซ่ึงเจโตวิมุตติ และ
ปญญาวมิ ุตตอิ นั หาอาสวะมไิ ด เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้น ไปดวยปญญาอันย่ิงเอง เขาถึงอยู
ในปจ จุบนั เพราะอนิ ทรยี  ๕ ประการน้ีภกิ ษุเจรญิ แลว ทําใหม ากแลว๓๐

๕. พละ ๕
พละ หมายถึง ธรรมอันเปนกําลัง๓๑ ซ่ึงเปนเคร่ืองสนับสนุนหรือเก้ือกูลใหผู
ปฏิบัตไิ ดบรรลุ อรยิ มรรค มี ๕ ประการ ไดแ ก

๑) สัทธา ความเชื่อ หมายถึง กําลังคือการเช่ือม่ันเลื่อมใสในคุณพระ
รัตนตรัย กรรม และผลของกรรม โดยไมหวัน่ ไหว หรอื เกิดความสงสัยในสิ่งเหลา นี้

๒) วิริยะ ความเพียร หมายถึง กําลังคือความเพียรไมยอทอ ไมเกิดความ
เกยี จครานใน การปฏบิ ตั ิธรรม

๓) สติ ความระลกึ ได หมายถึง กําลังคือการระลกึ รูสภาวธรรมปจจุบัน ตาม
ความเปน จริง โดยรบั รสู ภาวธรรมอยา งแทจ ริง

๔) สมาธิ ความต้ังใจมั่น หมายถึง กําลังคือการต่ังใจม่ันในสภาวธรรม
ปจจุบัน โดยจิต ไมซัดสายฟงุ ซานไปในอารมณต างๆ

๕) ปญญา ความรอบรู หมายถึง กําลังคือการรอบรูสภาวธรรมตามความ
เปนจรงิ โดย หยง่ั รใู นไตรลักษณ คือ ความไมเท่ยี ง เปนทกุ ข เปน อนตั ตา๓๒

พละ ๕ อยาง เปนธรรมท่ีสนับสนุนหรือเกื้อกูลใหผูปฏิบัติไดบรรลุมรรค ผล
นิพพานดังที่ พระพุทธองคตรัสไวในพลาทิสูตรวา “ภิกษุเจริญพละ ๕ ประการ ทําใหมาก
ยอ มนอ มไปสนู ิพพาน โนม ไปสูนิพพานโอนไปสู นพิ พาน”๓๓

๖. โพชฌงค ๗
โพชฌงค หมายถึง ธรรมท่ีเปนองคแหงการตรัสรู๓๔ หรือคุณธรรมท่ีเปน
องคป ระกอบให เกดิ การรแู จง มี ๗ อยา ง ไดแ ก

๓๐ ส.ม. (ไทย) ๑๙/๔๙๐/๓๐๐-๓๐๑.
๓๑ พรหมคุณภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานกุรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, หนา
๑๖๙.
๓๒ อง.ฺ ปจฺ ก. (ไทย) ๒๒/๑๓/๑๗.
๓๓ ส.ม. (ไทย) ๑๙/๗๐๕/๓๖๙.
๓๔ พรหมคุณภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, หนา
๒๐๕.

ศกึ ษาเฉพาะเรื่องในพฒั นาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๑๗๕
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๑) สติ ความระลึกได หมายถึง องคแหงการตรัสรูคือความระลึกได จัดเปน
การรับรู สภาวธรรมในปจจุบัน ไมมีสมมุติบัญญัติ มีเพียงสภาวธรรมทางกายและสภาวธรรม
ทางจติ ที่เกิดข้นึ ตามเหตุปจจัย เมือ่ เกดิ ข้ึนแลวกด็ บั ไปตามธรรมชาติ

๒) ธัมมวิจยะ ความรูแจงธรรม หมายถึง องคแหงการตรัสรูคือการรูแจง
ธรรมจดั เปน การรูแจงสภาวธรรมตามความเปนจริง ดว ยภาวนามยปญญา

๓) วิริยะ ความเพียร หมายถึง องคแหงการตรัสรูคือความเพียร จัดเปน
ความ เพียร อยางแรงกลาที่จดจอสภาวธรรมปจจุบัน ดวยความเพียรทางกายและความ
เพยี รทางใจ

๔) ปติ ความอ่มิ ใจ หมายถงึ องคแ หงการตรัสรูคือความอ่ิมใจ จัดเปนความ
อิ่มใจ เล็กนอ ย อ่ิมใจชัว่ ขณะ อิ่มใจซมึ ซับ อม่ิ ใจโลดโผน และอ่มิ ใจซาบซา น

๕) ปส สัทธิ ความสงบใจ หมายถึง องคแหงการตรัสรูคือความสงบกายสงบ
ใจ จัดเปน สภาพสงบจากกิเลส ไมมีกิเลสเกิดข้ึนรบกวนจิตใหเศราหมอง ไมมีความโลภ
ความโกรธ หรือความ หลง

๖) สมาธิ ความต้ังจิตมั่น หมายถึง องคแหงการตรัสรูคือความตั้งจิตม่ัน
จัดเปน ขณกิ สมาธใิ นวปิ ส สนาภาวนา อนั เปน แนวปฏบิ ัติเพ่ือบรรลุความหลุดพนจากความ
ทุกขทงั้ มวล คือ มรรค ผล นิพพาน

๗) อุเบกขา ความวางใจเปนกลาง หมายถึง องคแหงการตรัสรูคือความ
วางใจเปน กลาง จัดเปนความวางใจเปนกลางในการกําหนดรูสภาวธรรมปจจุบันได
สมํา่ เสมอ ทงั้ น้ีเพราะอินทรีย เหลานนั้ มสี ภาวะสมดุลดี ไมยิง่ หยอยกวา กนั ๓๕

โพชฌงค ๗ อยาง เปนธรรมที่สนับสนุนหรือเก้ือกูลใหผูปฏิบัติไดบรรลุมรรค ผล
นิพพาน ดังท่ีพระพุทธองคตรัสไวในกูฏาคารสูตรวา ภิกษุเจริญโพชฌงค ๗ ใหมากแลว
ยอ มนอมไปสูนิพพาน โนมไปสูนิพพาน โอนไปสู นิพพาน๓๖ และท่ีตรัสไวในหิมวันตสูตรวา
ภิกษุอาศัยศีล ดํารงอยูในศีล เจริญโพชฌงค ๗ ใหมาก ยอม ถึงความเปนใหญไพบูลยใน
ธรรมทง้ั หลาย๓๗

๗. อริยมรรคมอี งค ๘
อรยิ มรรค หมายถึง ทางอันประเสริฐ หรือทางท่ีนําไปสูความหลุดพนคือนิพพาน
หรือ อัฏฐังคิกมรรค แปลวา ทางมีองคแปด ไดชื่อวา มัชฌิมาปฏิปทา แปลวา ทางสาย
กลางเพราะเปนขอ

๓๕ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๑๕๑/๑๑๒.
๓๖ ส.ม. (ไทย) ๑๙/๑๘๘/๑๒๓.
๓๗ ส.ม.(ไทย) ๑๙/๑๘๒/๑๑๐.

๑๗๖ บทท่ี ๕ การบรรลธุ รรมของพระอรหันตกับพระโพธิสตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ปฏิบัติอันพอดีที่จะนําไปสูจุดหมายแหงความหลุดพนเปนอิสระดับทุกข ปลอด
ปญหา ไมติดของใน ท่ีสุดท้ังสอง คือ กามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค๓๘
อริยมรรคมีองค ๘ อยา ง ไดแ ก

๑) สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ หมายถึง ความรูในอริยสัจจ ๔ คือ ทุกข เหตุเกิด
แหง ทุกข ความดบั ทุกข และปฏิปทาท่นี ําไปสูค วามดบั ทุกข เปนตน

๒) สมั มาสงั กปั ปะ ดาํ รชิ อบ หมายถึง การยกจิตเขาไปสูสภาวธรรมปจจุบัน
ไดอยาง แมนยํา ในการดําริออกจากกาม ไมพยาบาทปองรายผูอ่ืน และไมเบียดเบียนผูอ่ืน

๓) สัมมาวาจา เจรจาชอบ หมายถึง การงดเวนจากวจีทุจริต ๔ ไดแก การ
พูดเท็จ การ พดู สอเสยี ด การพดู คาํ หยาบ และการพดู เพอ เจอ

๔) สัมมากัมมนั ตะ กระทําชอบ หมายถึง การงดเวน จากกายทุจริต ๓ ไดแก
งดเวน จากการฆาสตั ว งดเวนจากการลักทรัพย และงดเวน จากการประพฤตผิ ิดในกาม

๕) สัมมาอาชีวะ เล้ียงชีพชอบ หมายถึง การงดเวนจากกายทุจริต ๓ และ
วจีทจุ รติ ๔ และการเล้ยี งชพี ทีผ่ ดิ ศีลธรรม เชน การขายสรุ า อาวธุ ยาพษิ เปน ตน

๖) สัมมาวายามะ พยายามชอบ หมายถึง ความเพียรเพื่อไมทําอกุศลใหม
ความเพียร เพือ่ ละอกุศลเกา ความเพยี รเพอื่ ทาํ กศุ ลใหม และความเพียรเพอื่ เพิม่ กุศลเกา

๗) สัมมาสติ ระลึกชอบ หมายถึง การกําหนดรูสภาวธรรม ๔ อยาง ไดแก
รูปเวทนา จิต และสภาวธรรมท้งั หลาย

๘) สัมมาสมาธิ ตั้งจิตม่ันชอบ หมายถึง ความตั้งใจมั่น ไมซัดสายฟุงซาน
และ ปราศจากนวิ รณร บกวนจใิ หเ ศราหมอง จัดเปนขณิกสมาธินั่นเอง๓๙ อริยมรรคมีองค ๘
อยาง เปน ธรรมทส่ี นับสนุนหรือเก้ือกูลใหผูปฏิบัติไดบรรลุมรรค ผล นิพพาน ดังท่ีพระพุทธ
องคตรัสไวในนันทิยสูตรวา ธรรม ๘ อยาง คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา
สมั มากัมมนั ตะสมั มาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ท่ีบุคคลเจริญแลว ทําให
มากแลวยอมใหถึงนิพพาน มีนิพพาน เปนเบ้ืองหนา มีนิพพานเปนที่สุด๔๐ และที่ตรัสไวใน
ปฐมพรหมจรยิ สูตรวา พรหมจรรย คอื อรยิ มรรค มีองค ๘ คือ สัมมาทิฏฐิ ฯลฯสัมมาสมาธิ
ผลแหงพรหมจรรยน ัน้ คือ โสดาปต ตผิ ล สกทาคามิผล อนาคามิผลอรหตั ตผล๔๑

๓๘ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๕๘/๔๐๗.
๓๙ พรหมคุณภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, หนา
๒๑๕.
๔๐ ส.ม. (ไทย) ๑๙/๑๐/๑๔-๑๕.
๔๑ ส.ม. (ไทย) ๑๙/๓๙/๓๗.

ศึกษาเฉพาะเร่ืองในพฒั นาการแหง พระพุทธศาสนา ๑๗๗
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

โพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ ธรรมแตละหมวดเก้ือกูลสนับสนุนกัน เปน
กระบวนการให เกิดการรูแจงโดยมีปญญาเปนตัวนํา ซึ่งพระพุทธเจาทรงยกยองปญญาวา
เปนยอดกวา ธรรมขอ อน่ื ๆ เมื่อสอนเรื่องศรัทธาก็ตองมีปญญากํากับดวย ทั้งนี้เพราะปญญา
จะทําใหศรัทธาถูกตอง ไมผิดพลาด หรือไมหลงงมงาย ปญญาคือตัวทําใหรูแจงสภาวธรรม
และปญญาน้ันมีอยูในธรรมทุกหมวด แต เรียกชื่อตางกันในสติปฏฐาน ๔ เรียกวา
อนุปสสนา ในอิทธิบาท ๔ เรียกวาวิมังสา ในอินทรีย ๕ เรียกวาปญญา ในพละ ๕ เรียกวา
ปญญา ในโพชฌงค ๗ เรียกวาธัมมวิจยะ และในอริยมรรคมีองค ๘ เรียกวา สัมมาทิฏฐิ
ปฏิบตั ิธรรมเพือ่ บรรลุธรรมชัน้ สงู ข้นึ ไปจนถึงเปน พระอรหันตได ซง่ึ เปน เปา หมาย สูงสุดของ
พระพุทธศาสนา เรียกวาพระนพิ พาน ซงึ่ ทางดําเนินสพู ระนพิ พานน้ันมี ๒ ทาง คอื

๕.๕ หลักธรรมในการปฏิบตั ิเพ่ือความเปนอรหนั ต

ไตรสิกขา เปนขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมหรือพัฒนากาย วาจา ใจ ใหเจริญยิ่ง ๆ
ขน้ึ ไป จนสามารถบรรลุพระนิพพาน มี ๓ ประการ๔๒ คือ ๑. อธิสีลสิกขา คือ การศึกษาและ
ปฏิบัติในศีลอันย่ิง หมายถึง การฝกอบรมหรือ พัฒนาการควบคุมพฤติกรรมที่แสดงออกทาง
กาย และวาจาอยางสูง โดยเนนสํารวมอินทรีย ๖ ประการ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เมื่อ
ไดสัมผัสกามคุณ ๕ อยาง คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส เพ่ือ ไมใหกระทําความผิดทางกาย
และวาจา ๒. อธจิ ิตตสิกขา คือ การศึกษาและปฏิบัติในจิตอันยิ่ง หมายถึง การฝกอบรมหรือ
พัฒนา จิตเพ่ือใหเกิดคุณธรรมช้ันสูงและบรรลุธรรมระดับตางๆ โดยเนนการฝกอบรมหรือ
พัฒนาจิตใหบรรลุ ฌาน เพ่ือขมนิวรณ ๕ หรือธรรมท่ีเปนกิเลสขัดขวางจิตไมใหเขาถึงความ
สงบที่๔๓ สามารถจะบรรลุ ฌาน เรียกวา ฌานจิต๔๔ ๓. อธิปญญาสิกขา คือ การศึกษาและ
ปฏิบัติในปญญาอันยิ่ง หมายถึง การฝก อบรมหรือ พัฒนาปญญาใหเกิดความรูแจงอยางสูง
มองเหน็ ส่ิงท้ังหลายตามความเปนจริง โดยเนนการรูแจงเร่ือง รูปนาม ปญญาที่รูแจงรูปนาม
เรยี กวา วปิ ส สนาญาณ

๔๒ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๘/๒๓๑.
๔๓ พระเทพเวที (ป. อ. ปยุตฺโต), ธรรมกับการศึกษาไทย, (กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ
มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๑), หนา ๑๑.
๔๔ วิ.มหา. (ไทย) ๑/๑๑/๕., ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๐๘/๒๘๑., ฌานจิตมี ๘ ประการ คือ (๑)
ปฐมฌาน ฌานที่ ๑ (๒) ทุติยฌาน ฌานท่ี ๒ (๓) ตติยฌาน ฌานที่ ๓ (๔) จตุตถฌาน ฌานท่ี ๔ เรียกวา
รปู ฌาน ๔ (๕) อากาสานัญจายตนฌาน ฌานทีก่ ําหนดอาการวา ไมมีท่ีส้ินสุด (๖) วิญญาณัญจายตนฌาน
ฌานทีก่ ําหนดวา วิญญาณไมม ีทส่ี ดุ เปน อารมณ (๗) อากิญจัญญายตนฌาน ฌานท่ีกําหนดวา ไมมีอะไรแม
นอยหน่ึงเปนอารมณ (๘) เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ฌานท่ีกําหนดวามีสัญญาก็ไมใชไมมีสัญญาก็
ไมใ ชเ ปนอารมณ เรยี กวา อรูปฌาน ๔.

๑๗๘ บทท่ี ๕ การบรรลุธรรมของพระอรหันตก ับพระโพธสิ ตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ไตรสิกขาน้ี ถือวาเปนขอปฏิบัติที่ผูปฏิบัติจะตองทําใหเกิดขึ้นในตน จึงจะ
สามารถละกิเลส หรือสังโยชนไดเขาสูการบรรลุธรรมช้ันสูงๆขึ้นไป จุดเริ่มตนตองต้ังม่ันอยู
ในศีลกอน สมดังที่พระพุทธ องคตรัสไววา “ภิกษุผูมีปญญา ตั้งมั่นอยูในศีล อบรมจิตและ
ปญญา จนเผาผลาญกิเลสไดและเกิด ปญญารักษาตนเอง จึงจะสามารถถางชัฏคือตัณหา
ได” ๔๕ ซง่ึ ศีลคอื ขอ ปฏบิ ัตเิ พือ่ ใหบรสิ ทุ ธ์เิ รยี กวา ปารสิ ุทธศิ ีล มี ๔ ประการ ไดแ ก

๑. ปาฏิโมกขสังวรศีล ศีลคือความสํารวมในพระปาฏิโมกข เวนจากขอหาม ทํา
ตามขอ อนุญาต ประพฤติเครงครัดในสิกขาบทท้ังหลาย ๒. อินทริยสังวรศีล ศีลคือความ
สาํ รวมอนิ ทรีย ระวังไมใ หบาปอกศุ ลธรรมครอบงําเมื่อ รับรอู ารมณดวยอินทรียท้ัง ๖ ๓. อา
ชีวปาริสุทธิศีล ศีลคือความบริสุทธิ์แหงอาชีวะ เลี้ยงชีวิตโดยทางที่ชอบ ไมประกอบ
อเนสนา มีหลอกลวงเขาเล้ยี งชพี เปนตน ๔. ปจจยั สันนิสิตศีล ศีลท่ีเกี่ยวกับปจจัย ๔ ไดแก
ปจจเวกขณ คอื การพจิ ารณาใชส อย ปจจัย ๔ ใหเ ปนไปตามความหมายและประโยชนของ
ส่งิ นน้ั ไมบรโิ ภคดว ยตัณหา๔๖ หลักภาวนา ๒ ประการ๔๗ คือ ๑. สมถภาวนา คือ การเจริญ
สมถะ หมายถงึ หลักสําหรับฝกอบรมหรือพัฒนาจิตใหสงบ โดยใชอารมณเปนเคร่ืองยึด ๒.
วิปสสนาภาวนา คือ การเจริญวิปสสนา หมายถึง หลักสําหรับฝกอบรมหรือพัฒนาจิต ให
เห็นแจง โดยพิจารณาในความไมเที่ยง ความเปนทุกข และความเปนอนัตตาของสังขาร
ทั้งหลาย เพื่อคลายความยึดมั่นถือมั่น วิธีการปฏิบัติภาวนา ๒ ประการ มีวิธีปฏิบัติท่ี
แตกตางกัน แตกม็ คี วามเกือ้ กูลสง เสริมซง่ึ กันและกัน ในพระไตรปฎกไดแสดงวิธีปฏิบัติของ
สมถภาวนาและวิปสสนาภาวนาไว ดังนี้ ๑. การเจริญสมถะนําวิปสสนา๔๘ วิธีปฏิบัติโดย
เจริญสมถะจนกระทั่งจิตสงบแลวจึงยกจิต ขึ้นสูการเจริญวิปสสนา คัมภีรอรรถกถาปปญจ
สูทนี กลาวไววา คนบางคนเจริญสมถะใหเกิดเปน อุปจารสมาธิหรืออัปปนาสมาธิกอน น้ี
เปนสมถภาวนา ตอมาเขาเจริญพิจารณาสมถะและธรรม ท้ังหลายท่ีเกิดรวมกับสมถะนั้น
โดยลักษณะท้ังหลาย มีความไมเที่ยง เปนตน นี้เปนวิปสสนาภาวนา อยางน้ีเรียกวา การ
เจริญสมถะนําวปิ ส สนา๔๙

๔๕ ส.ส. (ไทย) ๑๕/๒๓/๑๖.
๔๖ วสิ ทุ ฺธิ. (ไทย) ๑/๑/๓๓-๓๔.
๔๗ อง.ฺ ทุก. (ไทย) ๒๐/๓๒/๗๖.
๔๘ องฺ.จตุกกฺ . (ไทย) ๒๑/๑๗๐/๑๗๙
๔๙ ม.มู.อ. (บาล)ี ๑/๑๕๐.

ศึกษาเฉพาะเรอื่ งในพัฒนาการแหง พระพุทธศาสนา ๑๗๙
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๒. การเจรญิ วิปส สนานําสมถะ๕๐ วิธปี ฏบิ ัตโิ ดยเจรญิ วปิ ส สนาใชป ญญาพจิ ารณา
ดรู ูป จนกระทั่งเกดิ การเหน็ แจง ตามความเปน จริง คัมภีรอรรถกถาปปญจสูทนีไดกลาวไววา
คนบางคน พิจารณาขันธอันเปนที่ต้ังแหงการยึดถือ ๕ อยาง โดยลักษณะทั้งหลาย มีความ
ไมเที่ยง เปนตน โดย มิไดทําสมถะใหเกิดข้ึน น้ีเปนวิปสสนาภาวนา ตอมาเขาไดปลอยวาง
ไมยึดถือธรรมทั้งหลายที่เกิดใน วิปสสนาน้ัน ความแนวแนแหงจิตก็เกิดขึ้น นี้เปนสมถ
ภาวนา อยา งนเ้ี รยี กวา การเจริญวิปส สนานาํ สมถะ๕๑

๓. การเจริญสมถะและวิปสสนาคูกัน๕๒ วิธีปฏิบัติโดยเจริญสมถะไดข้ันหน่ึงแลว
ออกจาก สมถะมาพิจารณาธรรมท่ีเกิดขึ้นในสมถะ ปฏิบัติอยางนี้เร่ือยไป ในคัมภีรอรรถ
กถาปปญจสูทนีกลาวไว วา เมื่อผูปฏิบัติไดปฐมฌานแลวออกจากปฐมฌานมาพิจารณา
สงั ขาร คร้นั พิจารณาสงั ขารแลว เขา สู ทตุ ยิ ฌานตอไปออกจากทุติยฌานมาพิจารณาสังขาร
ทาํ ตามลาํ ดบั อยา งนเี้ รอื่ ยไปจนกระท่งั ถึงเนวสญั ญานาสัญญายตนฌาน ออกจากเนวสัญญา
นาสัญญายตน ฌานนี้แลวมาพิจารณาสังขารอีก อยางน้ี เรียกวา การเจริญสมถะและ
วิปสสนาคกู นั ๕๓

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโฺ ต) กลา วไวใ นหนังสือพุทธธรรมวา ผูปฏิบัติสมถะอาจ
ทําแต สมถะอยาเดยี ว โดยมุงหวงั จะช่นื ชมเสพผลของสมถะคือฌานสมาบัติและอภิญญา ๕
ไมต อ งเกย่ี วของ กับวิปส สนาเลยก็ได แตผูปฏิบัติวิปสสนาตองอาศัยสมถะไมมากก็นอย คือ
อาจเจริญสมถะจนไดฌาน สมาบัติแลว จงึ กาวตอ ไปเจรญิ วิปสสนาคือเอาฌานเปนบาทของ
วปิ สสนาก็ไดห รอื อาจเจริญทั้งสมถะ และวิปสสนาควบคูกันไป๕๔ สมดังพระพุทธองคตรัสไว
วา “เธอทั้งหลาย จงเจริญสมถะและวปิ สสนา ใหย่ิงข้ึนไป จักเปนไปเพ่ือรูแจงธรรมธาตุเปน
อเนก”๕๕

จะเห็นไดวา การปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมช้ันสูงยิ่งๆ ขึ้นไปน้ัน ผูปฏิบัติจะใช
วธิ ีการ เจริญสมถะนาํ วปิ สสนา หรอื วิธกี ารวปิ สสนานําสมถะ หรือวาวิธีการเจริญสมถะและ
วิปสสนาคูกันไปก็ ใชไดทั้งน้ัน ทั้งน้ีขึ้นอยูกับผูปฏิบัติจะเลือกปฏิบัติตามวิธีใด สมถภาวนา

๕๐ อง.ฺ จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๑๗๐/๑๗๙
๕๑ ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๑๕๐.
๕๒ องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๑๗๐/๑๗๙.
๕๓ ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๑๕๐.
๕๔ พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยตุ ฺโต), พุทธธรรม, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม หาจฬุ าลงกรณ
ราช วทิ ยาลัย, ๒๕๓๘), หนา ๓๐๖.
๕๕ ม.ม. (ไทย) ๑๓/๑๙๗/๑๗๕.

๑๘๐ บทที่ ๕ การบรรลุธรรมของพระอรหนั ตกับพระโพธสิ ตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

และวิปส สนาภาวนาจะเก้ือกูล ซ่ึงกันและกัน และสนับสนุนกันใหมีกําลังยิ่งขึ้นจนกวาจะได
บรรลธุ รรมสาํ เร็จเปนพระอรหันต

๕.๖ แนวทางการปฏิบัตเิ พือ่ ความเปนอรหนั ต

๑. สมถกัมมัฏฐาน๕๖ เปนทางดําเนินสูพระนิพพานโดยออม มุงตองการใหเกิด
สมาธิ ตองการใหจิตสงบ แนบแนนอยูกับอารมณเดียว ไมหว่ันไหว เม่ือจิตสงบแลว (ตัว
สมถะก็คือสมาธิ)จะ สบาย มีความสุข เงียบสงบไมวอกแวก ไมเดือดรอน ไมด้ินรน ไม
กระวนกระวาย แนบแนนอยูใน อารมณเดียว จนกระทั่งเกิดสมาธิถึงระดับที่เรียกวา ฌาน
จากนนั้ จงึ เอาฌานเปนบาทเจรญิ วปิ สสนา ตอไปผูท ปี่ ฏบิ ตั แิ นวนเี้ รียกวา สมถนายิก

การทําสมถกัมมัฏฐานเปนการปฏิบัติมีสมาธิ ท่ีตองใชความอดทน มีความ
พากเพียร มีปญญาในการทํางาน และสามารถแกไขปญหาเฉพาะหนาในชีวิตไดอยางมี
ประสิทธิภาพ สมาธิยังทําใหผูปฏิบัติสามารถดับทุกขทางใจได และสามารถดําเนินชีวิตได
ตามคลองธรรม อีกท้ังเปนการบําเพ็ญการสรางและสะสมบุญกุศลในระดับโลกิยะ เพราะผู
ปฏิบัติมีสมาธิสามารถรับรูวิถีจิตของตน กอนที่จะดับสิ้นชีวิต ดวยเหตุนี้ ผูเขียนจึงได
นําเสนอวิปสสนากรรมฐานที่ผูปฏิบัติยอมเห็นไปตามจริงนั้น สามารถปฏิบัติไดเห็นจริงได
หรือวิธีปฏิบัติท่ีมีความหลสากหลายวิธีมีวิธีการปฏิบัติอยางไรไดผลแทจริง การปฏิบัติ
กรรมฐานก็เพ่ือใหผูปฏิบัติพนทุกข เขาถึงมรรคผลนิพพาน อันไดแกโสดาปตติ มรรค โสดา
ปต ติผล สกทาคามมิ รรค สกทาคามผิ ล อนาคมมิ รรค อนาคามิผล อรหันตมรรค อรหัตตผล
เหลานี้ถือเปนผลที่สูงสุดการอบรมจิตของมนุษยท้ังปวงในโลก เปนเน้ือนาบุญท่ีสูงสุด ไมมี
สิ่งใดยิ่งไปกวา เพราะสงผลถึงโลกุตตระ สามารถหลุดพนจากภพภูมิอันไดแก นรกเปรต
อสรุ กาย เดรจั ฉาน มนษุ ย สวรรค และพรหมไดโ ดยเด็ดขาด

๒. วปิ สสนากรรมฐาน๕๗ เปน ทางดําเนินสูพระนิพพานโดยตรง สําหรับผูท่ีไมเคย
ฝกหัด เจริญสมาธิมากอนเรียกวา วิปสสนายานิก คือ เมื่อเจริญวิปสสนา ใชปญญา
พจิ ารณาความจริง เก่ยี วกับส่ิงทัง้ หลายอยางถูกทางแลว จิตก็จะสงบขึ้น เกิดมีสมาธิตามมา
เอง สมาธิในตอนแรกอาจ เปนขณิกสมาธิ คือสมาธิช่ัวขณะ ซ่ึงเปนสมาธิอยางนอยที่สุด
เทาท่ีจําเปนเพ่ือใหวิปสสนาดําเนินตอไป ได เมื่อผูเปนวิปสสนายานิก เจริญวิปสสนาตอไป
สมาธิก็พลอยไดรับการอบรมไปดวย ถึงตอนน้ีอาจ เจริญวิปสสนาดวยอุปจารสมาธิ จนใน
ท่ีสุด เมื่อขณะท่ีบรรลุมรรคผล สมาธิก็จะแนวแนเปนอัปปนา สมาธิ อยางนอยถึงระดับ
ปฐมฌานซึง่ สอดคลอ งกับหลกั ทแ่ี สดงไวว า ผูบรรลุอริยภมู ิจะตอ งมีทง้ั สมถะ และวิปสสนา

๕๖ พระธรรมปฎ ก (ป.อ. ปยตุ ฺโต), พทุ ธธรรม, หนา ๓๐๕.
๕๗ เรอื่ งเดียวกนั , หนา ๓๐๖.

ศึกษาเฉพาะเรือ่ งในพัฒนาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๑๘๑
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

การปฏบิ ัตวิ ิปส สนากรรมฐานน้นั เปนวธิ กี ารทลี่ ะเอียดออนในทุกข้นั ตอนของการ
พัฒนาจิตของมนุษย มีความแตกตางกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งความละเอียดประณีตในการ
กําหนดอิรยิ าบถ ปจจุบัน ยืน เดิน น่ัง นอน ถึงแมจะมีหลักใหญท่ีเหมือนกัน แตการปฏิบัติ
อาจตางกนั ตามจรติ ตามธรรมชาติ ตามความละเอยี ดของจิต ตามบุญบารมี ตามสติปญญา
ของผูปฏิบัติแตละคนเพราะฉะนั้น ผูปฏิบัติท่ีจะไดรับผลก็ตอเมื่อลงมือปฏิบัติอยางแทจริง
สามารถพัฒนาการปฏิบัติของตนตั้งแตระดับตํ่าไปจนถึงระดับสูง ซ่ึงส่ิงสําคัญอันดับแรกใน
การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ผูปฏิบัติตองหาวิปสสนาจารยผูมีความรูมีความสามารถ
วิปสสนากรรมฐานมีคณุ อนนั ต เปนหนทางใหผ ปู ฏิบตั สิ รา งสมบุญ เปนหนทางไปสูความพน
ทุกข สามารถถอดถอนวิปล ลาสของมนุษยซึง่ เปนความคลาดเคล่อื น ความแปรปรวนไปจาก
สภาวะความเปนจริง

อุบายเรืองปญญา มีอารมณเปนปรมัตถ การเจริญวิปสสนา กรรมฐานเปนการ
ฝก อบรมปญ ญาใหเ กดิ ความรเู ทา ทันเขาใจสง่ิ ท้งั หลายตามความเปนจริงจนใจเปน อิสระ ไม
ถูกครอบงําดวยกิเลสและความทุกข ไดแก การเห็นสังขาร รูปนาม โดยไตรลักษณ คือ
อนิจจัง ไมเท่ียง ทุกขัง เปนทุกขและอนัตตา ไมมีตัวตน ผูเจริญวิปสสนาลวน ๆ เรียกวา
วิปสสนายานิก อีกนัยหน่ึง วิปสสนากรรมฐาน คือ กรรมฐานเปนอุบายเรืองปญญา หรือ
กรรมฐานทําใหเกิดความรูแจงเห็นจริง หมายถึง การปฏิบัติธรรมที่ใชปญญาพิจารณาเปน
หลัก โดยพิจารณาสภาวธรรมหรือนามรูป คือ ขันธ ธาตุ อายตนะ และอินทรียใหเห็นตาม
ความเปน จริงคือเห็นดวยปญญาวา สภาวธรรมเหลานี้ตกอยูในสามัญลักษณะหรือไตร
ลกั ษณ คือ อนิจจงั ทกุ ขงั อนัตตา เปนสิ่งท่ีเกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า
ไฟ ลม เทา น้ัน เปนสิ่งท่ไี มค วรยดึ ม่นั ถือม่นั

๕.๗ พระโพธิสตั วใ นคมั ภีรพระพทุ ธศาสนา

๕.๗.๑ ความหมายของพระโพธิสัตวใ นคมั ภรี พ ระพุทธศาสนาเถรวาท
พระโพธิสัตว หมายถึง ผูท่ีบําเพ็ญบารมีเพื่อการตรัสรูเปนพระอรหันตสัมมาสัม
พุทธเจา หรือจะตรัสรูเปนพระปจเจกพุทธเจา หรือจะตรัสรูเปนพุทธสาวกอยางใดอยาง
หน่ึง พระโพธิสัตวท้ังหลายในชวงที่ทานบําเพ็ญบารมีอยูนั้น ทานจะสะสมบารมีตามควร
แกอัตตภาพ คือ ในสมัยนอกพุทธกาลทานยอมสะสมบารมี เชนทาน ศีล เนกขัมมะ เจริญ
สมถภาวนา แตในสมัยที่พบพระพุทธเจาพระองคกอนๆ ทานยอมฟงธรรมศึกษาพระธรรม
วินัย เจรญิ ท้ังศลี สมาธิ ปญ ญา ทงั้ สมถะวิปส สนา

๑๘๒ บทท่ี ๕ การบรรลธุ รรมของพระอรหันตกบั พระโพธิสตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดใหความหมายของคําวา
โพธสิ ตั ว หมายถงึ ทา นผูทไ่ี ดต รัสรเู ปน พระพทุ ธเจา ๕๘

พระเทพเวที (ป.อ. ปยุตโต) ไดใหความหมายวา โพธิสัตววา หมายถึง ทาน
ผูท่ีจะไดตรัสรุเปนพระพุทธเจา ซึ่งกําลังบําเพ็ญบารมี ๑๐ ทัศ คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ
ปญญา วริ ิยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา และอเุ บกขา๕๙

๕.๗.๒ ความหมายของพระโพธสิ ตั วใ นคมั ภรี พ ระพุทธศาสนามหายาน
โพธิสัตว หมายถึง บุคคลท่ีบําเพ็ญบารมีเพื่อเปนพระพุทธเจา หรือผูที่จะเปน
พระพุทธเจาในอนาคต พระโพธิสัตวถือวาเปนแกนของมหายาน เพราะรูปแบบในการ
ประพฤติปฏิบัติน้ันเปนไปตามมรรคแหงพระโพธิสัตว มีนักปราชญทางมหายานหลายทาน
ไดศ ึกษาเร่ืองพระโพธสิ ตั ว และไดใหค วามหมายไวด งั นี้
เสถยี ร พนั ธรังสี ไดใ หความหมายพระโพธิสตั วไววา หมายถงึ ผูของอยูในโพธิคือ
ความรหู รอื ผูท่จี ะเขาถงึ พุทธภาวะตรสั รเู ปนพระพทุ ธเจาในวนั ขา งหนา ๖๐
เสถียร โพธินันทะ ใหคําจํากัดความวา “พระโพธิสัตว” คือ บุคคลผูท่ีมีโพธิจิต
ปรารถนาพระโพธภิ มู ิ มจี ิตผูกพันมุงม่ันตอโพธิญาณเปนประการสําคัญ มีทั้งฝายบรรพชิตผู
ออกบวชเรยี กวา เนกขัมมะโพธิสัตวฝายฆราวาสผูครองเรือน เรียกวา เคหโพธิสัตว ซึ่งมีทั้ง
แบบถอื พรหมจรรยก็เรียกฆราวาสมุนี และแบบบริโภคกามคุณเยีย่ งสามัญชนท่วั ไป๖๑
สรุปไดวา สวนพระโพธิสัตว หมายถึง ผูที่อธิษฐานจิตถึงพระพุทธภูมิ ทุมเท
ปฏิบัติธรรม ชวยผูอ่ืนทั้งทางโลกและทางธรรม สะสมบารมี ๑๐ ทัศ ทุกๆ คนเปนพระ
โพธิสัตวไดทั้งนั้น ถาหากวาเขาผูน้ันเปนผูมีจิตเมตตาประจําใจ ทําแตคุณประโยชน
ชวยเหลือคนทุกขยาก ไมประพฤติเบียดเบียนสนับสนุนผูอ่ืนในทางผิดศีลธรรม เปนผู
บาํ เพ็ญบารมเี พอ่ื ทจ่ี ะไดม าตรสั รเู ปนพระพุทธเจา ในอนาคต ชอ่ื วา พระโพธิสตั ว

๕๘ ราชบัณฑิยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, พิมพคร้ังที่ ๖,
(กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั นานมบี คุ สพ ับลเิ คชนั่ , ๒๕๔๒), หนา ๘๐๔.

๕๙ พระเทพเวที (ป.อ. ปยุตโต) , พจนานุกรมพุทธศาสตรฉบับประมวลศัพท, พิมพคร้ังที่
๖, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๓), หนา ๑๙๗.

๖๐ เสฐยี ร พนั ธรงั ส,ี พระโพธสิ ัตวใ นลทั ธมิ หายาน, (กรงุ เทพมหานคร : สุขภาพใจ ๒๕๔๓),
หนา ๒๖.

๖๑ เสถียร โพธนิ ันทะ และ เลียง เสถียรสุต, คณุ ธรรมพระโพธิสตั ว, (กรงุ เทพมหานคร : พล
พันธก ารพิมพ, ๒๕๒๙), หนา ๙.

ศกึ ษาเฉพาะเรอ่ื งในพฒั นาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๑๘๓
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๕.๘ ประเภทของพระโพธสิ ตั วใ นคมั ภรี พ ระพทุ ธศาสนาเถรวาท

พระโพธิสัตวในนิกายเถรวาทมี ๓ ประเภทสําคัญๆ ไดแก อุคฆติตัญูโพธิสัตว
วปิ จิตัญโู พธิสัตว และเนยโพธสิ ตั ว

๑) อุคฆติตัญูโพธิสัตว ไดแก พระโพธิสัตวประเภทมีปญญามากกวาศรัทธา
พระโพธิสัตวประเภทน้ีใชเวลาบําเพ็ญบารมีนอยกวา พระโพธิสัตวป ระเภทอ่ืน เมื่อตรัสรูเปน
พระพทุ ธเจาแลว เรียกวา พระปญญาธกิ พทุ ธเจา

๒) วปิ จิตญั ูโพธิสัตว ไดแก พระโพธิสัตวประเภทมีศรัทธามากกวาปญญา พระ
โพธิสัตวประเภทน้ีใชเวลาในการบําเพ็ญบารมีมากกวาอุคฆติตัญูโพธิสัตว๖๒แตนอยกวา
เนยโพธิสตั ว เมือ่ ตรัสรเู ปน พระพทุ ธเจาแลว เรยี กวา สัทธาธกิ พทุ ะเจา

๓) เนยโพธิสัตว ไดแ ก พระโพธสิ ัตวประเภทมคี วามเพียรมากกวาปญญา ใชเวลา
ในการบําเพ็ญบารมีมากกวาท้ังสองพวกขางตน เม่ือตรัสรูเปนพระพุทธเจาแลว เรียกวา
พระวริ ยิ าธกิ พทุ ธเจา

สําหรับเกณฑการแบงประเภทพระโพธิสัตวขางตนนี้เปนไปโดยอาศัยหลัก
ดังตอ ไปน้ี

๑) ระยะเวลาในการบําเพ็ญบารมจี นกระท้งั ไดตรัสรูธรรมเรว็ หรือชากวากัน
๒) อินทรียธรรมท่ีเปนตัวนําในการตรัสรูธรรมมีมากนอยแตกตางกันคือ ปญญา
ศรัทธา วริ ยิ ะ

๕.๙ ประเภทของพระโพธิสตั วใ นคมั ภีรพ ระพทุ ธศาสนามหายาน

ฝายมหายานสวนมากไดแบงพระโพธิสัตวออกเปน ๒ ประเภท๖๓ คือ มานุสิ
โพธสิ ัตว และอุตตรภาวโพธิสัตว

๑. มานุสิโพธิสัตว ไดแก มนุษยเชนเราทานท้ังหลายที่มีจํานวนหลายลานคน ที่
ไดร ับการยอมรับวาเปนพระโพธสิ ตั ว ก็ดวยการปลูกมหากรุณาข้ึนในตนและมีความมุงม่ันท่ี
จะชวยผูอื่นใหพนจากความทุกขและดวยการไมเห็นแกประโยชนสวนตน คนท่ีเราเห็นอาจ
เปนพระโพธิสัตวก็ได มานุสิโพธิสัตวไมมีความนอยใจ มีความอดทนสูง และพรอมที่จะ
เสียสละทุกอยางยินดีที่จะกลับมาเวียนวายตายเกิดคร้ังแลวคร้ังเลา เพ่ือจะไดมีโอกาสอยู
ใกลช ดิ กับเหลา สตั วผูตกทกุ ขไ ดยาก

๖๒ ส.ุ ข.ุ พุทธ. แปล. ๓๓/๒-๒๖.
๖๓ ฮันส โวลฟกัง ชูมันน, พุทธศาสนา คําสอนและปรัชญา, แปลโดย สมหวัง แกวสุฟอง,
(ภาควชิ าปรชั ญาและศาสนา คณะมนษุ ยศาสตรม หาวิทยาลัยเชยี งใหม, ๒๕๔๖), หนา ๘๒.

๑๘๔ บทที่ ๕ การบรรลธุ รรมของพระอรหนั ตกบั พระโพธสิ ตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๒. อุตตรภาวโพธิสัตว คือ ผูท่ีเขาถึงบารมีระดับที่ ๖ เขาถึงปญญาในระดับหลุด
พน (ปรัชญา) ระดบั น้จี งึ เปนภูมคิ มุ กนั พเิ ศษผูที่บรรลุจะไมตกตํ่า และหลังตายพระโพธิสัตว
ประเภทนปี้ ฏิเสธที่จะเขา ถึงนวิ รณช นิดนง่ิ อันจะทําใหพ ลาดโอกาสทีจ่ ะมีปฏิสัมพันธกับโลก
จงึ สมัครใจยอมรบั แคพระนวิ าณ อนั ไมห ยุดนง่ิ ซึ่งก็คือพระนิวาณอันเปนพลวัตซึ่งเปนภาวะ
แหง ความหลุดพน เชน กัน ก็โดยพระมหากรุณาทานจึงเลือกท่ีจะอยูทํางานตอเพ่ือประโยชน
และความสุขของชาวโลก พระโพธิสัตวประเภทน้ีเราไมสามารถรับรูไดดวยประสาทสัมผัส
เนื่องจากองคประกอบอันหยาบไดหลุดลอยไปจากทานแลว เราจะเห็นทานไดก็ดวยตาใน
เทา นัน้ พระโพธิสัตวเหลานั้นยังคงทําหนาที่อยูในสังสารวัฏ และกฎแหงสังสารวัฏก็เปนผล
สะทอนจากพระโพธิสัตว คําที่ใชเรียกพระอุตตรภาวโพธิสัตวอยางเปนทางการในคัมภีรคือ
พระมหาสัตว (สัตวผ ูยงิ่ ใหญ) เพื่อแสดงวาทานเปนผูสูงสงกวาสัตวโลกแหงสังสารวัฏ ดังนั้น
จึงมีการวาดภาพพระโพธสิ ตั วใหป ระดับประดาดวยเพชรอยางเจาชายและสวมมงกฎุ ๕ ชัน้

นอกจากน้ีในนิกายพุทธทตันตรยาน ยังแบงพระโพธิสัตวออกเปน ๒ ประเภท๖๔
คือ ธยานโิ พธสิ ตั ว และมานุษโิ พธิสัตว

๑. ธยานิโพธิสัตว เปนพระโพธิสัตวผูบําเพ็ญบารมีบริบูรณครบถวนแลว และ
สาํ เรจ็ เปนธยานโิ พธิสัตว หรือพระโพธิสัตวในสมาธิโดยยับยั้งไวยังเสด็จเขาพุทธภูมิ เพื่อจะ
โปรดสรรพสัตวตอไปอีกไมมีที่สิ้นสุด ธยานิโพธิสัตวนี้เปนทิพพยบุคคลท่ีมีลักษณะดังหนึ่ง
เทพยดา มคี ุณชาตทิ างจติ เขาสูภมู ิธรรมข้ันสูงสุดและทรงไวซ่ึงพระโพธิญาณอยางม่ันคง จึง
มีสภาวะที่สูงกวาพระโพธิสัตวทั่วไป ธยาโพธิสัตวมักจะมีภูมิหลังท่ียาวนาน เปนพระ
โพธสิ ัตวที่สําเร็จเปนพระโพธิสัตวมาเน่ินนานนับต้ังแตสมัยอดีตพระพุทธเจาองคกอนๆ สุด
จะคณานบั เปนกาลเวลาได ธยานิโพธิสตั วท ่ีพุทธศาสนิกชนมหายานรจู ักดี เปนพระโพธิสัตว
ท่ีกําหนดไมไ ดวาเกิดเม่ือใด แตเกิดกอนพระศากยมนุ ีพทุ ธเจา เปน ผูบรรลุพุทธภูมิแลวแตไม
ไปเพราะมุงจะชวยสัตวใหพนทุกขจึงไมเสด็จเขานิพพาน ธยานิโพธิสัตวท่ีสําคัญ มี ๕ องค
คอื

๑) พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว คุณธรรมพิเศษคือ มหากรณุ า
๒) พระมัญชุศรีโพธิสัตว มีความสามารถพิเศษในการเทศนาใหคนเกิด
ปญญา
๓) พระมหาสถามปราปตโตโพธิสัตว สามารถรูถึงความตองการทาง
สตปิ ญญาของสรรพสตั ว ทรงมปี ญญาเย่ียมใชป ญญาทาํ ลายอวชิ ชา

๖๔ พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโญ, พุทธปรัชญา สารและพัฒนาการ, (กรุงเทพมหานคร :
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔), หนา ๒๔๗.

ศึกษาเฉพาะเร่อื งในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา ๑๘๕
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๔) พระสมนั ตภัทรโพธิสตั ว เปน ผูทรงไวซ่ึงความกรุณาหนาท่ีสําคัญคือ การ
รอื้ ขนสตั วอ อกจากนรก

๕) พระวัชรปาณิโพธิสัตว มีสัญลักษณเดนคือ ทรงสายฟาในพระหัตถเปน
สญั ลักษณแ หงการฟาดฟนกเิ ลสตัณหาทั้งปวง

๒. มานุษิโพธิสัตว เปนพระโพธิสัตวที่อยูในสภาพมนุษยทั่วไป หรือเปนส่ิงมีชีวิต
ในรูปแบบอื่นๆ ยังตองฝกอบรมตนเองและทําหนาที่ชวยเหลือผูอ่ืนไปพรอมๆ กัน เปนผูท่ี
กําลังบบําเพ็ญส่ังสมบารมีอันยิ่งใหญ เพ่ือพระโพธิญาณอันประเสริฐและประโยชนสุขแก
มหาชน มานุษิโพธิสัตวมี ๒ ประเภท คือ อนิยตมานุษิโพธิสัตว คือ ผูบําเพ็ญบารมียังไมถึง
ภูมิ ๑๐ และนยิ ตมานษุ ิโพธิสัตว คอื ผบู าํ เพญ็ บารมีถึงภูมทิ ี่ ๑ ในจํานวนภมู ิ ๑๐

การแบงประเภทโพธิสัตวในพุทธศาสนามหายานนั้น แบงตามกาลเวลาท่ีพระ
โพธิสัตวต้ังปณิธาน นับตั้งแตอดีตถึงปจจุบันพระโพธิสัตวที่เปนมหาโพธิสัตว หรืออุตตร
โพธิสัตวนั้นเปนพระโพธิสัตวที่อยูในรูปของธรรมกาย หรือเปนมายาธรรมเพื่อที่จะมาโปรด
สัตวโ ลก สว นมานุษโิ พธิสัตวนนั้ หมายถงึ บคุ คลทตี่ ัง้ ปณธิ าน ท่ีจะบําเพญ็ ตนเปนโพธสิ ัตวเพ่ือ
เขาถึงพุทธภูมิ มีทั้งผูท่ีต้ังปณิธานมาและผูที่พึงตั้งปณิธานเปนโพธิสัตวใหมอยู ผูที่ดําเนิน
ตามโพธิสัตวน้ันจะออกบวชหรือเปนฆราวาสก็ได ถึงแมจะมีการแบงพระโพธิสัตวออกเปน
ประเภทตางๆ แตจุดหมายสงู สุดของพระโพธิสตั วน้ันก็คอื การบรรลพุ ุทธภมู ินัน้ เอง

สรปุ ไดว า พระอรหนั ตมีอยู ๓ ประเภท คือ ๑) พระอรหันตที่ตรัสรูอนุตตรสัมมา
สัมโพธิญาณดวยพระองคเอง และสามารถโปรดเวไนยสัตวใหพนทุกข ๒) พระอรหันตที่
ตรัสรูดวยพระองคเองเหมือนกัน แตไมสามารถโปรดสัตวใหพนทุกขได เพราะไมถึงพรอม
ดวยญาณ ๓ ประการ และ ๓) พระอรหันตที่ตรัสรูอรหัตตมัคคอรหัตตผลตามคําส่ังสอน
ของสมเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจา สว นพระโพธสิ ตั วน้ันก็มี ๓ ประเภท ไดแก ๑) อุคฆติตัญู
โพธิสัตวประเภทมีปญ ญามากกวาศรทั ธา ๒) วปิ จิตัญโู พธิสตั ว คอื พระโพธิสัตวประเภทมี
ปญญามากกวาปญญา และ ๓) เนยยโพธิสัตว คือ พระโพธิสัตวประเภทมีความเพียร
มากกวา ปญ ญา

๕.๑๐ การบําเพญ็ บารมขี องพระโพธสิ ัตวในคัมภีรพระพทุ ธศาสนาเถรวาท

ระยะเวลาแหงการบาํ เพ็ญบารมขี องพระโพธสิ ตั วทกุ องคนั้นตองใชเวลาในการสั่ง
สมบารมีเพ่ือใหเกิดความแกกลาเปนเวลานาน กลาวคือ ถายังมิไดถึงกําหนด ๔ อสงไขย
แสนกปั หรอื ๘ อสงไขยแสนกัปหรือ ๑๖ อสงไขยแสนกัปอยางใดอยางหนึ่งแลว จะใหทาน
อนั ย่งิ เหมอื นดวยทานของพระเวสสันดรทกุ ๆ วันกด็ ี จะบาํ เพ็ญพระบารมีอันย่ิงใหเสมอดวย
ทานนั้นทุกๆ วันก็ดี ดวยหวังจะไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาเร็วๆ น้ันก็ไมสําเร็จ อัน

๑๘๖ บทท่ี ๕ การบรรลธุ รรมของพระอรหันตกับพระโพธสิ ตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

เปรียบเสมือนตนไมตนเล็กซึ่งยังไมถึงเวลาแหงการผลิตดอกออผล แมบุคคลจะหมั่น
บํารุงรักษาโดยการใสปุยหรือพรวนดินใหมากสักเพียงใดก็ไมเปนผลสําเร็จ เพราะตนไมน้ัน
ยังไมมีภาวะแหงความพรอมท่ีจะออกผล ในระหวางน้ันพระโพธิสัตวตองพบกับความ
ยุงยากตางๆ นานับปการซ่ึงเปรียบเสมือนขอทดสอบความมุงม่ันจริงใจในการปฏิบัติ คติ
อยางหนึ่งท่ีแสดงใหเห็นถึงความมุงม่ันกลาหาญของพระโพธิสัตวตอการไมยอมจํานนตอ
อปุ สรรคตางๆ คือ การยอมสละไดแ มท ีส่ ุดคอื ชวี ิตดงั คาถาบทหน่ึงมคี วามวา

“พึงสละทรัพยเพราะเหตุแหงอวัยวะอันประเสริฐ เมื่อจะรักษาชีวิตก็พึงสละ
อวัยวะ นรชนเม่ือระลกึ ถึงธรรม กพ็ งึ สละทรพั ย อวัยวะ และชวี ิตแมทงั้ ส้นิ ”๖๕

การบาํ เพญ็ ประโยชนทงั้ แกตนเองและผูอนื่ เรียกวา การบําเพ็ญคุณธรรมที่จะทํา
ใหเปนพระพระพุทธเจา (พุทธการกธรรม) หรือเรียกวา บารมี ซ่ึงในพุทธศาสนาเถรวาทที่
ผูวิจัยทําการศึกษาน้ี บารมีธรรมท่ีพระโพธิสัตวจะตองบําเพ็ญใหบริบูรณมี ๑๐ ประการ๖๖
คือ

๑) ทาน ไดแก การสละใหสง่ิ ท่ีสละใหมี ๓ ระดับ
ก. ทรพั ยสง่ิ ของภายนอก
ข. อวัยวะในรางกายของตน
ค. ชีวิตตนเอง หรอื ส่งิ เสมอดว ยชวี ติ ตน คอื บตุ ร ภรรยา

๒) ศลี ไดแก คณุ ธรรมเครอ่ื งปราบกิเลสอยางหยาบ ไดแก กิเลสท่ีเกิดขึ้นแลวทํา
ใหไมส ามารถยบั ย้งั ใจไวไดต อ งลงมอื กระทําความช่ัว ไมวาจะเปนทางกายหรือทางวาจา ศีล
ทพ่ี ระโพธสิ ตั วรักษามี ๒ คอื

ก. นจิ ศลี (ศลี ๕)
ข. อโุ บสถศีล (ศีล ๘)
๓) เนกขมั มะ ไดแก การออกจากกาม มี ๒ คอื
ก. ออกจากกามโดยสละบา นเรอื นออกบวช
ข. ออกจากกามโดยบําเพญ็ สมาธิจนไดบรรลญุ าณ
๔) ปญญา ไดแกค วามรอบรู ความรูอ ยา งลกึ ซ้งึ มี ๓ คือ
ก. สตุ มยปญญา ปญ ญาอันเกิดจากการศกึ ษาเลา เรยี น
ข. จนิ ตามยปญญา ปญ ญาอนั เกดิ จากการคิดพิจารณา
ค. ภาวนามยปญ ญา ปญญาอนั เกดิ จากการฝก จติ อบรมใจ

๖๕ ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๘/๓๘๓/๑๐๗.
๖๖ ขุ.ชา. (ไทย) ๕๕/๑/๑-๔๐.

ศึกษาเฉพาะเร่อื งในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา ๑๘๗
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๕) วิริยะ ไดแก ความพากเพียรพยายาม การกระทําอยางตอเนื่องในทางที่
ถกู ตอง เรยี กวา สมั มปั ธาน มี ๔ อยางคือ

ก. สังวรปธาน เพยี รระวังไมใ หบาปเกิดขน้ึ
ข. ปหานปธาน เพียรละบาปท่เี กดิ ข้ึนแลว
ค. ภาวนาปธาน เพยี รทําบญุ ใหเ กิดข้นึ
ง. อนรุ ักขนาปธาน เพยี รรกั ษาการทําบญุ ไวตอ เนอื่ ง
๖) ขันติ ไดแ ก ความอดทนมี ๓ คอื
ก. ตีตกิ ขาขนั ติ ความอดทนแบบอดกล้ันตอ อารมณอ นั ไมพึงประสงคต า งๆ
ข. ตบขันติ ความอดทนดวยอํานาจตะบะ คือ สมาธิขมใจ ไมตกอยูใน
อํานาจกเิ ลส
ค. อธิวาสนขันติ ความอดทนระงับยับยั้งไมใหกิเลสเกิดข้ึนเลยแมตองเอา
ชวี ิตเขาแลก
๗) สัจจะ ไดแก ความจริง ความเที่ยงแท หมายถึง ความจริงใจ พูดและทําตาม
ความคดิ
๘) อธิษฐาน ไดแก ความตั้งม่ัน ความม่ันคง ไมหวั่นไหวในความคิด การกระทํา
สง่ิ ใดก็ทาํ จนบรรลเุ ปาหมาย
๙) เมตตา ไดแก ความรัก ความปรารถนาดี ดวยอํานาจคุณธรรม ไมใชรักและ
ปรารถนาดดี วยอํานาจกามราคะ
๑๐) อุเบกขา ไดแก ความวางเฉย ความปลอยวาง หมายถึง อาการท่ีจิตเปน
กลาง ไมยึดในความดีที่ตนเองไดกระทําลงไป และไมทุกขใจในการทําผิดซึ่งพลาดพล้ัง
เกิดขึน้

๕.๑๑ การบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตวในคัมภีรพระพุทธศาสนามหายาน

จากหลกั การทางพุทธศาสนามหายานทีถ่ อื เอาพระโพธิสตั วภมู ิเปนหลัก มหายาน
เช่อื วาทกุ คนสามารถตรสั รูเปนพระพทุ ธเจา ได เพราะมีเชื่อแหงพุทธอยูกอนแลว ฉะนั้นควร
ท่ีจะเขาถึงพุทธภูมิใหได ส่ิงท่ีทําใหมนุษยสามารถเขาสูพุทธภูมิไดน้ันก็คือบารมีธรรม หรือ
ปารมิตา ซึ่งมีความหมายวาสูงสุด ความเปนเลิศความสําเร็จ คือสําเร็จเปนพระพุทะเจา
บารมีธรรมท่ีพระโพธสิ ัตวควรบาํ เพ็ญใหบริบูรณจ งึ จะไดต รัสรูเปนพระพุทธเจา มีทั้งหมด ๖
บารมีธรรม คือ ทานบารมี ศีลบารมี กษานติบารมี วิริยบารมี ธยานบารมี ดังที่ลังกาวตาร
สูตรกลาววา “ความเปนพระพุทธเจาจะบรรลุไดก็ดวยการบําเพ็ญบารมีธรรมทั้ง ๖ ให
บริบูรณ บารมี ๖ เหลานี้ เปนกัลยาณมิตรของพระโพธิสัตว เปนครู เปนทางเดิน เปนแสง

๑๘๘ บทที่ ๕ การบรรลุธรรมของพระอรหันตกับพระโพธสิ ตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

สวาง เปน คบเพลิง เปนดวงประทปี เปนที่พกั พงิ เปนทีพ่ ึ่งพา เปนท่ีพักผอน เปนส่ิงบรรเทา
ทุกข เปนเกาะ เปนมารดา เปนบิดา และชวยใหพระโพธิสัตวไดเขาใจตามเปนจริงจนได
ตรัสรูในท่ีสุด” พระสูตรมหายานแทบท้ังหมดตางพรรณนาถึงความสําคัญของบารมี ๖ ท่ี
พระโพธิสัตวควรปฏบิ ตั ิใหไ ดครบสมบรู ณบ ารมี ๖๖๗ ดังนี้

๑. ทานบารมี พระพุทธศาสนาเนนคุณธรรมเกี่ยวกับการชวยเหลือผูอ่ืน เชน
เมตตากรุณา และทานเปนพิเศษ จนเห็นวาแตกตางจากศาสนาอ่ืนๆ ในอินเดียยุคเดียวกัน
การใหหรอื ทานในทีน่ ม้ี นี ัยทน่ี าพิจารณาอยางนอย ๒ ประการ ๑) เพ่ือสลัดความเห็นแกตัว
สรางความออนโยนใหกับจิตใจ ซึ่งจะเปนพ้ืนฐานสําหรับคุณธรรมชั้นสูงตอไป และ ๒)
แสดงวาในสังคมมีคนยากจนท่ีควรแกการไดรับความชวยเหลือ และมีผูท่ีทําประโยชนแก
สังคม

๒. ศีลบารมี พระโพธิสัตวจะตองรักษาศีลใหบริสุทธ์ิ ท้ังอินทรียสังวรศีล และ
กุศลสังคหศีล อินทรียสังวรศีล คือ การสํารวมอินทรีย เวนจากการเบียดเบียนสัตว กุศล
สังคหศลี คอื การต้งั ใจชว ยเหลอื สัตวท ้งั หลายใหพน ทุกข

๓. กษานติบารมี กษานติ หรือขันติ แปลวา อดทน เปนธรรมท่ีเปนขาศึกตอ
โทสะและความพยาบาท พระโพธิสัตวนั้นตองมีความอดทนตออุปสรรคตางๆ ที่เกิดจาก
สิ่งแวดลอม หรือเกิดจากกิเลสในตัวเราเอง โดยรวมความอดทนนั้นมีหลายนัย เชน อดทน
ตอความหนาวความรอน อดทนตอโรคภยั ไขเจ็บ และอดทนตอกิเลสทีเ่ กิดขึน้

๔. วิริยบารมี วิริยะ คือ ความขยันและกลาหาญ พระโพธิสัตวตองมีความเพียร
กลาไมรูสึกระอาในการชวยเหลือสัตวไมรูสึกยอทอตอพุทธภูมิ คําสอนของพระพุทะเจา
นอกจากจะเปน “กรรมวาที” แลวยังเปน “วิริยวาที” อีกดวย ซ่ึงหมายความวาการจะ
บรรลุจุดหมายสูงสุด ทางศาสนาน้ันตองอาศัยความเพียรพยายาม ไมใชอาศัยความเกียจ
ครานวิริยหรือความเพียรอยางไมยอทอจึงจําเปนตอการบรรลุพระโพธิยาณ นอกจากจะ
มัน่ คงไมเ บ่ือหนายในเปาหมายแลว ผูบําเพ็ญวิริยบารมีจะตองเพียรปองกันตนเองจากบาป
อกศุ ลตา งๆ ดวย จะหกั หามใจตนเองจากความเพลดิ เพลนิ ในกาม เพราะกามสุขเปนเสมือน
คมมดี อาบนํา้ ผึ้ง ทีพ่ รอ มท่ีบาดผูหลงระเริงดื่มกินไดทุกเม่ือ พระโพธิสัตวจะกระทําส่ิงตางๆ
ดวยความระมัดระวงั รอบคอบเสมอ แตเมื่อไดตัดสินใจกระทําท้ังสิ่งใดแลว จะทําดวยความ
มงุ มัน่ ไมยอ ทอจนกวา จะบรรลุสาํ เรจ็

๕. ธยานบารมี (ฌานบารมี) พระโพธิสัตวจะตองสําเร็จฌานสมาบัติทุกช้ัน มีจิต
มั่นคง (สมาธิบารมี) ไมคลอนแคลนเพราะอารมณตางๆ หลังจากบําเพ็ญวิริยบารมีจนเต็ม

๖๗ เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย,
๒๕๔๘).

ศึกษาเฉพาะเรอ่ื งในพฒั นาการแหง พระพทุ ธศาสนา ๑๘๙
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

กาํ ลังแลว พระโพธิสตั วต อ งทาํ ใหใ จสงบ การสั่งสมบารมีของพระโพธิสัตวไมไดเกี่ยวของกับ
เมตตากรุณาตอผูอ่ืนอยางเดยี ว แตความสงบภายในตนไมวาจะเปนกายวิเวก จิตวิเวก และ
อปุ ธวิ ิเวก พระโพธิสตั วต อ งสง่ั สมใหเ ตม็ เปย มบริบูรณเชนกัน เพราะความสุขสงบภายในตน
ยอมทําใหเขาใจธรรม เอาชนะกิเลสในใจตนและมองเห็นความเทาเทียมกันระหวางตนกับ
ผูอ นื่ ชอ งทางการทาํ ใจใหสงบมี ๒ ประการคือ สมถภาวนา และวิปสสนาภาวนา อารมณที่
เกิดจากภาวนา จะทาํ ใหเกิดดวงปญญาและคลายความลุมหลงมัวเมาในกามและสมบัติทาง
โลกทั้งมวล๖๘

๖. ปรัชญาบารมี (ปญญาบารมี) พระโพธิสัตวจะตองทําใหแจงในบุคคลศูนยตา
และธรรมศนู ยตา คือเห็นบุคคลและธรรมทง้ั ปวงเปนของวา ง ไมค วรยึดม่ันถือม่ัน ปญญาคือ
ความเห็นแจงในกุศลและอกุศล ซึ่งถือวาเปนบูรณาการข้ันสุดทายของทุกบารมีดังกลาว
มาแลว “พระตถาคตเจาตรัสรูและทรงไดรับสมญานามเชนน้ันก็ดวยพระปญญาบารมี”
ฝายมหายานไดอธิบายหลักอนัตตาซ่ึงเปนคุณลักษณะพิเศษในพุทธศาสนาออกไปอยาง
กวางขวางลึกซ้ึงมากพิสดารยิ่งกวาในฝายเถรวาท มหายานเรียกวา ศูนยตา แทนคําวา
อนัตตา ในสวนปฏิบัติของบุคคลทางฝายมหายานถือวาบุคคลจะพนทุกขไดก็ดวยการ
เขาถึงศูนยตา ซึ่งมี ๒ ชั้น คือ บุคคลศูนยตาและธรรม ศูนยตาบุคคลศูนยตาไดแกการละ
อัสมิมานะซ่ึงทําใหบุคคลบรรลุอรหันต สวนธรรมศูนยตา ไดแก การละความยึดถือแมใน
ความสําคญั ของบารมี ๖ และภายหลงั ไดเพิ่มเขามาอกี ๔ ตามนัยมหายาน๖๙ มดี ังน้ี

๑) อุปายบารมี หมายถึง ความเปนผูฉลาดในการจัดการเรื่องราวตางๆ
รวมทั้งความรูท่ีแตกฉาน การมีสมบัติดังกลาวก็เพื่อจะให พระโพธิสัตวมีความสามารถใน
การช้บี อกสง่ั สอนชาวโลกผมู ีพ้นื ฐานตา งๆ กนั ไป ใหส ามารถเขาถึงธรรมท่ีแทได ดังน้ัน การ
จะเปนผสู ามารถสัง่ สอนใหเขาใจนน้ั ตอ งมีอปุ ายโกศลอนั ประกอบไปดว ย

๒) ปณิธานบารมี หมายถึง ความต้ังใจอยางแนวแนตอหลักการหรือ
อุดมการณของตนความต้ังใจมั่นที่จะเปนพระพุทธเจาน้ัน ยอมปรากฏในทุกข้ันของการ
บําเพ็ญตนเปนพระโพธสิ ตั ว ความตองการเนน เปน เหตใุ หยกปณิธานขึ้นเปน ความดสี ูงสดุ

๓) พลบารมี หมายถงึ ความมเี มตตา และความพยายามที่พระโพธิสัตวควร
บําเพ็ญอันเปนกําลังแนวแนในเร่ืองท่ีต้ังใจไว รวมถึงการท่ีไดฟงพระสัทธรรมแลวมีโยนิโส

๖๘ เสฐียร พันธรังสี, พุทธประวัติมหายาน, พิมพคร้ังท่ี ๖ (กรุงเทพมหานคร : สองสยาม
,๒๕๕๐), หนา ๑๑๔.

๖๙ อภชิ ัย โพธิประสิทธิ์ศาสตร, พระพุทธศาสนามหายาน, พิมพคร้ังท่ี ๔, (กรุงเทพมหานคร :
โรงพมิ พม หามกุฏราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๑๓๕-๑๔๗.

๑๙๐ บทที่ ๕ การบรรลธุ รรมของพระอรหันตก บั พระโพธสิ ตั ว
The Enlightenment and Bodhisattvas
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

มนสกิ ารตามแลวก็ไดบรรลุอนุตตรโพธิญาณ แลวนําเอาหลักธรรมเพื่อสั่งสอนสรรพสัตวให
เขาถงึ ความจริง

๔) ญาณบารมี หมายถึงความรูแจงสมบูรณทุกอยางญาณอันเกิดแตบารมี
ที่สง่ั สมมาเปน ปญ ญาระดบั สูงเปน โลกุตตรปญญา หรอื ญาณหยัง้ รแู จงในสรรพสงิ่

สรุปไดวา มหายานน้ันใหความสําคัญตอบารมีธรรมมาก เพราะเปนหลักที่พระ
โพธิสัตวควรปฏิบัติเพ่ือบรรลุพุทธภาวะ จากเดิมนั้นบารมีทางฝายมหายานนั้นมี ๖
ภายหลังเพิ่มเติมเขามาอีก ๔ เปน ๑๐ การเพิ่มบารมี หรือตัดออกของมหายานนั้น เปน
เพราะวามหายานนน้ั มหี ลายนิกายยอ ยๆ ออกไปอีก การเห็นความสําคัญตอบารมี หรือขอ
ธรรมนนั้ ๆ อาจเปนเหตใุ หมีการตอ เติมเรื่องบารมี

เรือ่ งบารมใี นพทุ ธศาสนาเถรวาท จะเหน็ ไดวาบารมเี ปน การเรียกส่ิงท่ีเปนเลิศ สิ่ง
ท่ีสูงสุดท่ีมีอยูในตัวบุคคล เชน ความมีปญญา ความมีลาภ มีฤทธิ์เดชตางๆ ดังที่
พระพุทธเจาทรงจัดอัครสาวก ผูที่มีความเปนเลิศในดานตางๆ เมื่อบารมีไดนํามาใชกับ
บคุ คลทบี่ ําเพ็ญตนในหลักธรรมใดหลักธรรมเพื่อที่จะเปนพระพุทธเจา ก็เรียกหลักธรรมนั้น
เปน บารมี เชน การใหท าน ก็เรยี กทานบารมี เปนตน บารมีในพระพุทธศาสนาเถรวาทนั้นมี
อยู ๑๐ ขอ หรือ ๑๐ ทัศ เมื่อแบงขั้นตอนการปฏิบัติแตละขอออกเปนสาม ก็จะไดบารมี
๓๐ ทัศ ท่รี ูกันในนามมหาชาตชิ าดก

๕.๑๒ องคธรรมท่ีสงเสริมการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตวในคัมภีร
พระพุทธศาสนา

๕.๑๒.๑ คัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท
โดยธรรมชาติของมนุษยนั้น เม่ือต้ังใจจะทํากิจอยางใดอยางหน่ึงแลว ก็ยอม
จะตองต้ังเปาหมาย หรือมีจุดหมายดวยกันทั้งหมด เปาหมายหรือจุดหมายน้ีก็คือ
“ผลสําเร็จ” ของกิจนั้นๆ ซ่ึงเกิดจาการกระทําอยางต้ังใจเพ่ือจะใหไปสูจุดหมายท่ีตนต้ัง
เอาไว
พระโพธิสัตว หรือมหาสัตวก็เชนเดียวกันยอมมีอุดมคติของชีวิตอยูท่ีการตรัสรู
เปนพระพุทธเจา แตกอนท่ีจะถึงขั้นนี้นั้นมิใชเพียงแคจินตนาการเอาแลวก็สําเร็จ พระองค
จะตองฟนฝาอุปสรรคนานัปการดวยความมุงม่ันอยางไมทอถอย โดยมีหลักธรรมคอยชวย
ประคับประคองชว ยใหความฝนของพระองคเ ปนจรงิ หลักธรรมที่วาน้ีก็คือ “อุดมคติ” หรือ
“ปรัชญาชีวิต” หรือ “บารมี” ก็เรียก ซ่ึงถือวาเปนหลักธรรม หรือเปนคุณธรรมประจําใจ


Click to View FlipBook Version