The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนา

ศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนา

ศกึ ษาเฉพาะเรือ่ งในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา ๒๔๑
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.

โสเภณีเหลานี้มักไมปรากฏช่ือ แตถูกอางถึงในฐานะท่ีเขามาเก่ียวของกับพระภิกษุบางรูป
หรือบางกลมุ เชน

๑. เกยี่ วกับพระภทั ทวคั คีย
มีเรื่องเลาวา มีคนอยูกลุมหนึ่ง กลุมนี้มีสมาชิกอยู ๓๐ คน ทั้งหมดเปนเพ่ือนกัน
มักเดินทางไปทองเท่ียวดวยกัน กลุมคน ๓๐ คนน้ีมีช่ือวา “ภัททวัคคีย” ๔๓ ในวันหน่ึงพา
กันไปเที่ยวในปา ๒๙ คน มีภรรยาไปดวย มีอยูคนหนึ่งไมมีภรรยาจึงไปวาจางโสเภณีคน
หนึ่ง (โสเภณีประเภทเวสี) ใหไปเปนเพื่อน ขณะที่พวกเขากําลังเที่ยวอยางเพลิดเพลิน
สนุกสนานอยูนั้น โสเภณีคนน้ันไดขโมยสิ่งของแลวหนีไป พวกเขาจึงพากันตามหาโสเภณี
คนนั้นจนไปพบพระพุทธเจา พระองคตรัสถามใหพวกเขาคิดวา พวกเขาควรแสวงหาหญิง
หรือควรจะแสวงหาตน เม่ือพวกเขาสํานึกไดวาควรแสวงหาตนเองดีกวา พระองคจึงทรง
แสดงธรรมใหฟงจนบรรลุธรรมและขออุปสมบทในพุทธศาสนา ในเร่ืองน้ีแมวาโสเภณีท่ี
กลาวถึงจะมีพฤติกรรมท่ีไมดี แตพฤติกรรมนี้ก็เปนเหตุปจจัยสวนหน่ึงที่ทําใหกลุมภัทท
วัคคียม โี อกาสไดฟงธรรมและอุปสมบท
๒. เก่ยี วกบั พระสนุ ทรสมทุ ร
ทานเกิดในตระกูลเศรษฐใี นเมืองสาวัตถี มีโอกาสไดฟงธรรมจากพระพุทธเจาจน
เล่ือมใสตองการออกบวช แตบิดามารดาไมอนุญาตใหบวช ทานจึงรบเราจนไดรับอนุญาต
ตอมาบิดามารดาของทานรูสึกเสียดายที่ไมมีผูสืบสกุล จึงวาจางใหโสเภณีคนหนึ่งใชอุบาย
ทําใหทานสึก โสเภณีคนนี้ออกอุบายนิมนตทานไปฉันท่ีบาน วันแรกไดถวายอาหารท่ี
ระเบียงนอกบาน วันตอมาเธอแกลงใหเด็กๆ ทําใหท่ีนั่งนั่นสกปรก จึงนิมนตทานเขาไปฉัน
ขา งในบาน๔๔

๔๓ วิ.ม. (ไทย) ๔/๓๖/๔๕
๔๔ ดรู ายละเอียดใน ขุ.เถร. (ไทย) ๒๖/๔๑๘-๖๔๐/๔๕๙-๔๖๕

๒๔๒ บทที่ ๗ พระพุทธศาสนากบั โสเภณี
Buddhism and Prostitution
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.

รุงขึ้นอีกวันหนึ่งเธอก็สั่งใหเด็กๆ สงเสียงรบกวนแลวนิมนตทานข้ึนไปบนบาน
เธอไดใชวิธีการตางๆ นานา ที่เรียกวา มารยาหญิง ๔๐ ประการ๔๕ เชน ทําโนนทําน่ีไม
หยุดมือ ทํากมๆ เงย ๆ กระโดดโลดเตน ทําเปนเหนียมอาย หักน้ิวเลน นั่งไขวหาง เอามือ
ขีดดินเลน อุมเด็ก และหยอกลอกับเด็ก เปนตน เพ่ือใหทานหลงใหล แตดวยอานุภาพของ
พระพุทธเจาท่ีทรงแผพระรัศมีไปและตรัสใหเห็นโทษของกามจนพระเถระบรรลุอรหัตตผล
แลวเหาะหนีออกจากบา นนัน้ ได

๓. เกี่ยวกับเจา ลิจฉวี
พวกเจาลิจฉวี ในวันมีมหรสพ ไดมีการตกแตงประดับประดารางกายอยางสวย
สดงดงาม แลวพากันออกไปเที่ยวพรอมพาโสเภณีคนหนึ่งไปดวย แตดวยความอิจฉาริษยา
กันจึงเกิดการทะเลาะวิวาทชกตอยกันจนเลือดนองแผนดิน ในวันนั้นพระพุทธเจาไดเสด็จ
ออกจากเมืองพรอมดวยพระภิกษุสงฆ พระสงฆไดเห็นเหตุการณน้ันจึงกราบทูลพระองควา
พวกเจาลิจฉวีประสบกับความยอยยับ เพราะหญิงคนเดียวแท ๆ๔๖ พระองคจึงตรัสสอน
ภกิ ษุสงฆวา ความโศกหรอื ภยั อนั ตรายยอ มเกิดขึ้นเพราะความยินดีน่ีเอง เมื่อไมมีความยินดี
(ในกามคณุ ๕)๔๗ ความโศกและภยั อนั ตรายยอ มเกดิ ขน้ึ ไมได

๔๕ ๑) บิดกาย ๒) กมลงใหเ ห็นแผนหลัง หรือเผยแผนหลัง ๓) แสดงอาการเยื้องกราย (เชน
จบี มอื จบี เทา) หรือแตง เคร่ืองประดบั ๔) แสดงทาขวยอาย โดยใชผา ปดรา งกาย หรือปดหนา หรือแอบ
เขาฝา หรือประตู ๕) เข่ียเล็บตัวเอง ๖) เหยียบเทาตัวเองไปมา ๗) เอาไมขีดดิน ๘) ชูเด็กข้ึนเอง หรือให
คนอื่นชเู ดก็ ข้นึ ๙) เลนกับเดก็ หรอื ชวนเดก็ ใหเ ลน ๑๐) จบู เด็ก หรือใหเ ดก็ จูบ ๑๑) กินเอง หรือปอนให
เดก็ กิน ๑๒) ใหของเด็ก ๑๓) ขอของคืนจากเด็ก ๑๔) ทํากิริยาเลียนแบบเด็ก ๑๕) พูดเสียงดัง ๑๖) พูด
เสียงเบา ๑๗) พูดเปดเผย ๑๘) แอบพูด ๑๙) แสดงทาฟอนรํา (เตน) ระริกระรี้ ๒๐) แสดงทาขับรองสะ
ดีดสะดิ้ง ๒๑) แสดงทาเลนดนตรีสะดีดสะดิ้ง ๒๒) แสดงอาการรองไหสะดีดสะดิ้ง ๒๓) แสดงทายิ้ม
แยมสะดีดสะด้ิง ๒๔) แสดงทาแตงตัวสะดีดสะด้ิง ๒๕) จองมอง ๒๖) สายเอว ๒๗) สายอวัยวะเพศ
๒๘) เปด ขา ๒๙) ปดขาออน ๓๐) เปดใหเห็นทรวงอก ๓๑) เปดใหเห็นใตวงแขน ๓๒) เปดสะดือ ๓๓)
ขยบิ ตา ๓๔) ยักคิว้ ๓๕) เมม ปาก ๓๖) แลบลน้ิ ๓๗) ขยายผาใหห ลวม ๓๘) รัดผาใหแนนหรือแตงตัว
รัดรูป ๓๙) สยายผม ๔๐) เกลาผม. ที่มา http://www.dek-d.com/มารยาหญิง ๔๐. เขาดูเมื่อวันท่ี
๒๘ เดือนมถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

๔๖ ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๒๑๔/๙๙ เรื่องเจาลิจฉวี พระผูมีพระภาคทรงปรารภพวกเจาลิจฉวีท่ีแยง
หญิงผงู ดงามในเมอื งจนถงึ ข้นั ชกตอ ยกนั จงึ ตรสั พระคาถานแ้ี กภกิ ษทุ ้ังหลาย ดังนี้)

“ความโศกเกิดจากความยนิ ดี ภยั กเ็ กดิ จากความยินดี
ผพู นจากความยนิ ดไี ดเ ดด็ ขาด ยอ มไมม คี วามโศกและภัยจากทไ่ี หนเลย.”
๔๗ สวนที่นาปรารถนานาใครมี ๕ อยาง คือ รูป เสียง กล่ิน รส และโผฏฐัพพะ (สัมผัสทาง
กาย) ทนี่ าใครนาพอใจ. อา งแลว , หนา ๑๖.

ศกึ ษาเฉพาะเรือ่ งในพฒั นาการแหงพระพุทธศาสนา ๒๔๓
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.

กรณีนี้แมวาจะมีโสเภณีเขามาเก่ียวของดวย แตโสเภณีก็เปนโดยออมท่ีทําใหเกิด
ความพินาศข้ึนมา ความเสียหายที่เกิดข้ึนนั้น เพราะมีกิเลสที่มีอยูในจิตใจของคนตางหาก
เราจึงไมสามารถกลาวโทษโสเภณีคนนี้โดยสวนเดียววาเธอมีพฤติกรรมที่ชั่วรายจนกอความ
เสียหายขน้ึ มา

ประวัตขิ องหญงิ โสเภณที ีก่ ลาวมาในขางตนจะเห็นมีเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา
ท้ังดานสืบทอดและอุปถัมภ ในสวนทาทีของพระพุทธองคและพระสาวกที่ปฏิบัติตอผูหญิง
เหลานี้ จะเปนลักษณะกลาง ๆ ไมดูหม่ิน ในขณะเดียวกันก็ไมสนับสนุน กลาวคือ พระ
พุทธองคทรงแยกคนออกจากอาชีพของเขาอยางชัดเจน คนทกุ คนไมวา จะมอี าชพี อะไร เม่ือ
ตัดเร่ืองอาชีพออกไปเสียแลว ก็มีฐานะเทากัน คือเทากันในฐานะท่ีเปนคนเหมือนกัน๔๘
ในฐานะท่ีเปนคนน้ีเอง ทุกคนจึงสามารถจะทําความดีเพื่อยกระดับชีวิตของตนใหสูงข้ึนเร่ือย
ๆ จนกาวเขาสูความเปนอริยบุคคลในที่สุด ในประเด็นน้ีก็จะเห็นไดจากพระอริยบุคคลใน
พระพุทธศาสนาซ่ึงมาจากชนทุกชนช้ัน ทุกอาชีพไมวาจะเปนกษัตริย พอคา ชาวนา กรรมกร
บา ง โจรหรอื แมก ระทัง้ โสเภณเี ปน ตน ลวนสามารถพัฒนาตนเองไดเ สมอกัน

๗.๓ รูปแบบบทบาทของโสเภณีในสงั คมอนิ เดยี ในสมยั พุทธกาล

๗.๓.๑ รูปแบบของโสเภณี ในสังคมอินเดยี สมัยพุทธกาล
ประเทศอินเดียสมยั พุทธกาลนัน้ แบงโสเภณี ออกเปน ๒ ประเภท๔๙ คือ

๑. ประเภทที่เปนของราชการ โสเภณีประเภทน้ีเปนคนท่ีมีเกียรติ มี
ศักดิ์ศรีในสงั คม มกี ารศึกษาดี ไมม ปี ญหาทางดานเศรษฐกิจ

๒. ประเภททไ่ี มใ ชข องทางราชการ โสเภณีประเภทน้ีไมไดรับเกียรติจากสังคม
มากมายนกั เปน พวกทีม่ ีการศึกษาตํา่ มกั มปี ญหาทางดานเศรษฐกจิ จงึ เขามาสอู าชพี น้ี

๗.๓.๒ ฐานะและบทบาทของโสเภณีในสงั คมอนิ เดยี สมัยพุทธกาล โดยเฉพาะ
โสเภณที ปี่ รากฏในคัมภีรพ ระพุทธศาสนา อาจสรุปเปน ภาพรวมไดด งั น้ี

๑. โสเภณี (นครโสเภณี) เปนตําแหนงที่มีเกียรติ ตําแหนงดังกลาวนี้
พระราชาแหงนครน้ัน ๆ ทรงเปนผูสถาปนาเอง๕๐ นครหนึ่งจะมีโสเภณีหน่ึงคน ตําแหนงนี้
เรียกวา นครโสเภณี ซ่ึงหมายถึงหญิงงามประจําเมือง การคัดเลือกหญิงสาวเปนโสเภณีตอง
กระทําอยางพถิ ีพิถันและเลือกเฟน สตรที ไี่ ดรับเลอื กตอ งมีคุณสมบัติมากมายนอกเหนือจาก

๔๘ ดรู ายละเอียดใน วิ.ม. (ไทย) ๕/๒๘๕/๑๐๗.
๔๙ สมภาร พรมทา,รศ.ดร. พุทธศาสนากับปญหาจริยศาสตร โสเภณี ทําแทง การุณย
ฆาต, พมิ พครง้ั ท่ี ๒, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพแ หงจุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั ), หนา ๗๕.
๕๐ อา งแลว

๒๔๔ บทที่ ๗ พระพุทธศาสนากับโสเภณี
Buddhism and Prostitution
พระมหามติ ร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.

ความสวยงามของหนาตาและเรือนราง เชน ตองมีความรูในนาฏศิลป คีตศิลป และ
วรรณคดี เปน ตน คอื ตองมที ัง้ รปู สมบัตแิ ละคณุ สมบตั ิ

๒. โสเภณมี ีฐานะเปนคนของทางราชการ ไดรับเงนิ อุดหนุนจากทางราชการ
สวนหน่ึง และอีกสวนหน่ึงไดรับจากประชาชนในนครนั้น ๆ เรียกงาย ๆ คือ คนท่ีอยูใน
ตาํ แหนง โสเภณีมีรายไดสองทางคอื รายไดประจําจากทางการและประชาชน และรายไดจร
ที่มาจากคนท่ีมาใชบริการ เพราะรายไดท่ีมากมายมหาศาลน้ี นครโสเภณีจึงมีชีวิตความ
เปนอยูที่หรูหรา ฟมุ เฟอ ย มีสถานทอ่ี ยเู ปน คฤหาสนใ หญโ ต และมขี า ทาสบริวาร

๓. นครโสเภณเี ปน ตําแหนง หัวหนา ปกตติ าํ แหนงน้ีจะทําหนาที่รับแขกบาน
แขกเมืองเทาน้ัน บุรุษในนครนั้น ๆ เมื่อจะไปหาความสําราญท่ีสํานักโสเภณี จะมีโสเภณี
ระดบั รองลงมาซ่งึ ไดแ กบริวารที่นางนครโสเภณีจดั หามาไวเ ปน ผูคอยใหบรกิ าร

๔. ในสวนท่ีเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา นครโสเภณีหลายคนไดบรรลุ
ธรรมเปนพระอริยบุคคล บางคนเปนผูใหความอุปถัมภพระพุทธศาสนาถึงขนาดสรางวัด
ถวายพระสงฆ และมีบางคนท่ีมีศรัทธาเลิกอาชีพนี้แลวเขามาบวชเปนภิกษุณี และได
กลายเปน สาวิกาคนสําคญั ทชี่ ว ยเผยแผพ ระพุทธศาสนา

๗.๔ ประเภทของโสเภณี

๑. โสเภณีเต็มวัน (full –time prostitudes) เปนโสเภณีชนิดเปดเผยทํางานทั้ง
กลางวนั กลางคืน มสี าํ นกั เปน หลักแหลงทแี่ นนอนคอื “ซอง” ในสํานักมีการจัดการคอนขาง
เปนระบบ เริ่มต้ังแตเจาของกิจการ ผูควบคุม ผูดูแล คนแชรแขก และแมงดา ซองนั้นมี
ต้ังแตโรงแรมชั้นดี จนถึงซองในสลัมท่ีฝรั่งเรียกวา “คริปส” (Cribs) ซองคอกหมู หรือ
กาํ แพงดนิ ท่เี คยมีในเชียงใหม ซอ งอาจเรียกเปนอยา งอ่นื เชน โรงน้ําชา อาบอบนวดเปน ตน

๒. โสเภณีสัญจร หากินไมเปนหลักแหลง ทําเปนอาชีพอิสระ วกไปวนมา อยูใน
ยานใดยานหนึ่ง มีบางประเทศแอบหลบมุมตามเสาไฟฟา ตามสวนสาธารณะ เปนชนิดท่ี
เรียกวา “นางบังเงา”

๓. โสเภณีไมเต็มวัน (Part – time prostitudes) เปนโสเภณีลับ (Secret)
ปกปดสถานที่ของตัวเอง ทํางานโสเภณีเปนอาชีพรอง (side line) เพื่อหาเงินจุนเจือ
ครอบครัว โสเภณีประเภทนี้มีสามี มีลูกมีครอบครัวยากจนตนเองก็ไมมีความรู ไมมีงานทํา
ในสังคมตะวันตก กําลังมีจํานวนเพ่ิมขึ้น ในบานเรายุค ไอ. เอม. เอฟ. ก็มีโสเภณีประเภทน้ี
มากข้นึ ท่ีเหน็ ก็ตามโรงแรมแถวเสาชิงชา เปด บรกิ ารลูกคา เทย่ี งวันถึงเยน็ กพ็ ากนั กลับบา น

๔. โสเภณีชาย เปนโสเภณีเพศชาย ที่ใหบริการทางเพศแกสตรี หรือแกเพศชาย
ดวยกนั พวกเขาจะหากนิ อสิ ระ หรือไมก็ปกหลักอยูตามบารตามคลับ หรือสถานเริงรมยอื่น

ศกึ ษาเฉพาะเร่อื งในพฒั นาการแหง พระพุทธศาสนา ๒๔๕
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.

ๆ อยูในคาบของพนักงานเสิรฟ แตอาชีพหลักคือรับบริการทางเพศ หากเปนพวกทํางาน
อิสระก็มักอยูกันเปนแหลง แตงตัวมีสัญลักษณบอกใหรู ยืนอยูตามสามแยกหัวถนน หรือ
ตามท่ีทีเ่ ปนโฮโมเซก็ ชวลมารวมกนั โสเภณีชายใหบ ริการผหู ญิง เรียกวา “ผัวช่วั คราว” “ผัว
เชา” (gigolos)๕๑ ธุรกิจนี้เปนการทํารายไดมหาศาลของผูทําธุรกิจบริการทางเพศ การ
เสาะแสวงหาหญิงหรือชายเขาสูอาชีพการคาประเวณี มักจะเปนคานิยมในการจัดเตรียม
ผูหญิงไวรับรองขาราชการข้ันผูใหญเวลาไปตรวจราชการตามหัวเมือง ก็มีสวนสงเสริมใหมี
การคาประเวณีขยายตัวมาย่ิงขึ้น๕๒ เมื่อยุคเงินตางชาติไหลเขามามาก กําลังเฟองฟู และ
ตอ ไปอนาคต อาชพี การคา ประเวณจี ึงเปนอาชพี ที่นา จับตามอง

๗.๕ ลกั ษณะของบคุ คลที่ทาํ อาชีพโสเภณปี จ จุบัน

(๑) ผูห ญิงมคี วามสามารถรบั ความตอ งการทางเพศไดไมจํากดั
(๒) ผหู ญิงอกหกั วา เหว มมี ากขึ้น มีอาการซึมเศรา ตอ งการคนปลอบใจคลายเหงา
(๓) วัฒนธรรมตะวันตกเขามามีบทบาท ผูหญิงเสมอผูชาย และรัฐธรรมนูญ
รบั รองสิทธิ สตรี
(๔) ผูค นมองสงั คมเชิงวิทยาศาสตร เซก็ ถือเปน เรื่องธรรมชาติ๕๓

๗.๖ ภารกจิ ของหญงิ โสเภณี

หากเราพิจารณาจากหลักฐาน มีอยูประปรายในพระไตรปฎกและคัมภีรรุนหลัง
จะพบวา ภารกิจของโสเภณีมที ั้งภารกิจหลกั และภารกิจรอง

ภารกิจหลัก คือ การใหบริการทางเพศแกผูใชบริการ หญิงท่ีไดนามวานคร
โสเภณีเปนที่รูจักของคนทั่วไป เชน นางสิริมา มีชื่อเสียงโดงดัง แมพระราชาก็รูจักเธอดี
พระภิกษุในวัดเชตวันรูปหน่ึงไปบิณฑบาต เขาไปรับบาตรในบานนางกําลังปวย พระภิกษุ
เห็นนางยังคิดในใจวา ขนาดปวยงามถึงเพียงน้ี นี่ถาไมปวยจะสักขนาดไหนกลับถึงวัดนอน
คิดถึงนาง ลืมฉันจนบาตรบูด ตอ มานางไดตายลง พระพุทธเจาทรงใชศพนางเปน “อาจารย
ใหญ” สอนธรรมวา “เธอจะดูอัตภาพ (รางกาย) อันงดงามไปดวยเคร่ืองประดับตาง ๆ เปน

๕๑ สนิท ศรีสําแดง. พระพุทธศาสนา: กระบวนทัศนใหม, (กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลง
กรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๔), หนา ๑๖๖.

๕๒ นายชาญยุทธ โฆศิรินนท นักศึกษา. บทบาทของหนวยงานภาครัฐและองคกรเอกชนใน
การปองกันและแกไขปญหาโสเภณเี พ่อื ความมั่นคงของประเทศ,

๕๓ สนิท ศรีสาํ แดง. พระพทุ ธศาสนา: กระบวนทศั นใหม, หนา ๑๖๖.

๒๔๖ บทที่ ๗ พระพุทธศาสนากบั โสเภณี
Buddhism and Prostitution
พระมหามติ ร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.

สิ่งเปอยเนา อันสรางข้ึนจากโครงกระดูก เจ็บปวดเปนนิจ คนเปนอันมากใฝฝน ซึ่งหาความ
แนน อนยัง้ ยนื ไมไ ด”๕๔

ภารกจิ รอง นอกจากการใหบรกิ ารทางเพศตามปกติธรรมดา นางคณิกายังหากิน
พเิ ศษ เชน

๑. เปนเพื่อนสามีของหญิง ที่ตองการใหสามีของตนมีหญิงรับใชที่หนาตาดี รู
ศิลปะการเอาใจ เชน กรณีนางอุตรา ภริยาสมุนเศรษฐี จางนางสิริมาวันละ ๑,๐๐๐
กษาปณ เพือ่ ใหเ ปนหญงิ ปรนนบิ ตั ิสามขี องนาง นางสิรมิ าและนางอตุ ราเปน เพื่อนรกั กัน๕๕

๒. รับบริการนักเที่ยว นอกสถานที่ ในวินัยปฎกกลาวถึงเรื่องนักเที่ยว (ธุตตา)
สงคนไปตดิ ตอ หญงิ แพศยา เพ่ือใหบริการพวกตนท่ีสวนสาธารณะ พวกหลอนไมยอมอางวา
ไมรูจักกลัวอันตราย และพวกหลอนมีเครื่องสัมภาระมาก ไปไหนลําบาก เปนการอาง
เหตุการณไมรับ รอนถึงพระอุทายตี องทาํ หนา ทเี่ ปนทตู เจรจาใหร บั ๕๖

๓. ย่ัวพระใหใจแตก ปกติของหญิงโสเภณี จะมีผูชายท่ีหลอนชื่นชอบเต็มใจจะ
ใหบริการดวยสมัครใจก็มี และหลอนมักจะสําเร็จกิจสมบูรณกับชายชนิดน้ี โสเภณีคนหนึ่ง
นัดแนะกับชายไว แตชายคนนั้นไมไปตามนัด คอยเทาไรก็ไมมา หลอนเกิดความรูสึกทาง
เพศอยางรุนแรง เดินกระสับกระสายเขาไปในสวนสาธารณะ เห็นพระหนุมหนาตาดีนั่ง
บําเพ็ญกรรมฐานอยูเหลียวซายแลขวาไมเห็นใครอื่น คิดวา “พระรูปน้ีก็ไดวะ” คิดแลวก็ไป
ยืนขางหนาพระภิกษุใชวิทยายุทธโสเภณี ยั่วโดยการขยับผานุงไปมา สยายผม เกลาผม ดีด
นว้ิ พรอ มสง เสียงหัวเราะ แตพระรปู น้ไี มเ ลน ดวยกลบั รูสึกสงั เวช๕๗

๔. รับจางสึกพระ พระสุนทรสมุทรรบเราบิดา มารดาขอบวช บิดา มารดาให
บวชโดยไมเ ตม็ ใจ พอบวชแลวไมยอมสกึ บิดา มารดาจงึ ตกลงใจจา งหญงิ แพศยาไปย่ัวใหสึก
พระพทุ ธเจาทรงทราบดวยพระญาณ ตรัสบอกพระภิกษุวา “กําลังเกิดสงครามระหวางพระ
กับนาง”๕๘

๕๔ ธมฺมปทฏฐกถา (ไทย) ๕/๙๘.
๕๕ ธมฺมปทฏฐกถา (ไทย) ๖/๑๗๑.
๕๖ ว.ิ มหาวภิ งฺ (ไทย) ๑/๔๒๘/๓๐๑.
๕๗ ธมฺมปทฏฐกถา (ไทย) ๔/๔๘.
๕๘ ธมฺมปทฏฐกถา (ไทย) ๘/๑๕๕–๕๖.

ศึกษาเฉพาะเรอื่ งในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา ๒๔๗
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๗.๗ พระพุทธศาสนากับโสเภณี

การสรางวัด หญิงคณิกา ชื่อ อัมพปาลี เขาเฝาพระพุทธเจา ณ เมืองเวสาลีตอนที่
พระพทุ ธเจาเสด็จถงึ เมอื งน้นั และประทบั อยู ณ สวนมะมว งของนาง และตอมาไดอทุ ศิ ถวาย
เปนวัด เรียกอัมพปาลีวัน ตอนไปเฝานางพรอมบริวารไดแตงรถคันงามใหคนขับไป ขากลับ
เจา ลจิ ฉวีซึง่ จะไปเฝา พระพทุ ธเจา เหมอื นกนั ตา งฝายตางยอกเยา กนั เปนทส่ี นุก๕๙

บรรลุธรรม เลากันวา นางสิริมา เปนโสเภณีรูปงามแหงเมืองราชคฤห ขณะที่นาง
อุตราไปปฏิบัติธรรมอุปฏฐากพระศาสดา ไดจางสิริมาใหดูแลสามีของนางแทน เม่ืออยูนาน
วันเขาก็คิดอยากจะเปนภรรยาท่ีถูกตองตากฎหมาย จึงรวมกับสามีนางอุตราหาเร่ืองใส
ความนางอตุ รา แตน างอุตราไมไ ดโกรธตอบ จนนางสิรมิ ารสู กึ ตวั วา ไดท าํ ผดิ ภายหลังจึงขอ
ขมานาง นางอุตรายกโทษใหพรอมแนะนําใหไปฟงธรรมจากพระพุทธเจา นางจึงนิมนต
พระพุทธเจาใหเสด็จไปฉันท่ีบานของนาง นางมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาบําเพ็ญตน
เปน สาวกิ าท่ีดี ทําบุญใสบาตร ฟง ธรรมจึงไดบ รรลโุ สดาปตติผล๖๐

๗.๗.๑ โสเภณกี บั รฐั
โสเภณีในสมัยพระพุทธกาล นอกจากจะเปนหนาตาของเมือง มีไวเพ่ือตอนรับ
แขกบานแขกเมืองแลว ยังเปนสวนประกอบแสดงถึงความทันสมัยของบานเมืองนั้น ในจีวร
ขันธกะ กลาวถึงความรุงเรืองของเมืองเวสาลีวา “กวางขวาง มีคนอยูอาศัยมาก มีคน
พลุกพลาน การกินอยูสมบูรณ มีตึกแถว ๗ หม่ืนหอง มีเรือนยอด ๗ พันหลังมีสวนดอกไม
๗ พันแหง มีสระบวั ๗ พนั สระ และมีนางคณิกา (โสเภณี) รปู งามนา มอง นาศรัทธา ช่ือ อัม
พปาลี”๖๑ ซ่ึงเปนท่ีปรากฏในคัมภีรพระพุทธศาสนา มีกษัตริย และพวกพอคาวาณิชตาง
เมือง เม่ือรูวาเมืองไหนมีหญิงงาม เมืองเลอโฉม ก็พากันไปเท่ียวหาความสําราญ ขนเงินขน
ทองไปใหค ราวละมากๆ เธอจึงเสมอื นแมเ หล็กดูดเงินตราเขาประเทศอยา งมหาศาล
นางนครโสเภณีของเมืองไพศาลีคนหน่ึง ที่เดินเขามาในประวัติพุทธ ช่ือวา อัม
เธอเปนตัวเงินตัวทองดึงดูดเงินตราเขาประเทศอยางมหาศาลขนาดพระเจาพิมพิสาร อยูถึง
เมืองราชคฤหก็เทียวไลเทยี วขอ่ื เปน ขาประจําของเธออยา งสม่ําเสมอ

๕๙ ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๑๖๑–๑๖๒/๘๗–๘๙.
๖๐ ธมมฺ ปทฏฐกถา. ๕/๙๕.
๖๑ วิ.มหาวิภงฺ (ไทย) ๒/๑๒๘/๑๕๖.

๒๔๘ บทที่ ๗ พระพุทธศาสนากบั โสเภณี
Buddhism and Prostitution
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๗.๗.๒ โสเภณบี วชเปนภกิ ษณุ ี
โสเภณี (คณิกา) นางหน่ึงช่ือ อัฑฒกาลี ขอบวชในสํานักภิกษุณีแลว เม่ือไปขอ
อุปสมบทในฝายภิกษุ นางตอ งการจะไปบวชกับพระพุทธเจา แตไปไมไดเพราะถูกนักเลงคุม
เสน ทางไวพ ระพุทธเจา จงึ ทรงอนญุ าตใหอ ปุ สมบทดวยทูต๖๒

๗.๘ วถิ กี ารเกิดของโสเภณี

๗.๘.๑ ชวี ติ โสเภณี
โสเภณีสวนมากไมตายเพราะความแก แตตายเพราะโลกเบียดเบียน นางสิริมา
เปนโรคอะไร คัมภีรไมระบุไว แตเปนมากถึงขั้นตองนอนแกผา แมจะประคองใหน่ังก็นั่ง
ไมได งานโสเภณีจึงไมใชงานทําไดตลอดชีวิต ตองเกษียนตัวเอง เมื่อยามลวงวัยสาวหรือมี
โรคคกุ คาม อุปสรรคของโสเภณี คอื
(๑) ความชรา
(๒) สขุ ภาพ
สิ่งทาํ ใหโ สเภณีแกเกนิ วัย คอื การพักผอนไมเปนเวลา ไมอาจควบคุมนิสัยการกิน
การรีดลูกทําใหกระดูกเชิงกรานผิดปกติ ในสวนของสุขภาพเสื่อมเพราะกามโรค การดื่มจัด
การติดยา รวมท้ังการชําเราของผูเห็นแกตวั เรารคู วามเปน ไปของผหู ญงิ หลังเลิกโสเภณีแลว
นอ ยมาก
๗.๘.๒ สังคมกบั โสเภณี
โสเภณีในสมัยพุทธกาล สังคมไมรังเกียจ พระพุทธศาสนา โดยเฉพาะ
พระพทุ ธเจา ไมทรงรังเกียจโสเภณี ทรงรับนิมนตฉนั บานโสเภณี เชน บานนางอัมพปาลี โดย
งดรบั นมิ นตกษัตริยลจิ ฉวี ทรงอนเุ คราะหการอุปสมบทใหเปนภิกษุณี และโสเภณีก็สามารถ
บรรลุธรรมได ในขณะเดียวกันสังคมบางสังคมยังมีการรังเกียจโสเภณี นอกจากรังเกียจแลว
ยังตอตาน มีการลงโทษดวยการขวางปาการตีตรา จําคุก และอาจถูกฆาตาย แตไมหาม
ลกู คาโสเภณีนน้ั คอื ไมยอมรับใหมี แตอยากใชบริการ เขาทํานองเกลียดตัวกินไขเกลียดปลา
ไหลกินนํ้าแกลง สงั คมโสเภณพี อแยกไดด งั น้ี
๑. ไมยอมรับโสเภณีถึงกับมีกฎหมายหาม การกระทําอันเปนโสเภณี รัฐสงคม
นิยม คอมมิวนสิ ต เชน จนี รสั เซีย และไทย เปนตน ประเทศเหลาน้ีมักมีโสเภณีมากผดิ ปกติ
จีนและรัสเซียอวดวาตนไมมีโสเภณีแลว ที่มีอยูกอนไดรับการบําบัด ใหการศึกษาใหม
แนะนาํ ใหประกอบอาชีพท่ีเปนประโยชน พมาก็อางวา ไมมีแตยากจะเชอ่ื ได

๖๒ วิ.จุล.ทตุ ิย. (ไทย) ๗/๕๙๕/๑๖๕.

ศกึ ษาเฉพาะเรือ่ งในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา ๒๔๙
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.

๒. ยอมรับใหมีโสเภณี แตออกกฎหมายหามไวเปนพิธี ในอเมริกา ซองโสเภณีมี
ทุกรัฐ แตรัฐสวนมากมีกฎหมายหามลอลวงหญิง หามประพฤติตนเปนแมงดา และการ
บรกิ ารทางเพศ อยางไรก็ตามลกู คา ไมมีการดาํ เนนิ การตามกฎหมาย

๓. ประเทศไมหามการเปนโสเภณี แถมยังสงเสริมมักเปนประเทศในอดีตกาล
เชน อินเดีย กรีกโรมัน บังคับใหโสเภณีใสชุดสวย ๆ ราคาแพงและเก็บภาษี อาชีโสเภณีถือ
วาเปนอาชีพสงวนจํากัดสิทธิหญิงตางชาติ ในยุโรปสมัยกลางศาสนาคริสตตั้งมูลนิธิ
ชว ยเหลือผูหญงิ กลับใจ

๔. ประเทศมีกฎหมายรับรอง สังคมที่ปกครองสิทธิสงเสริมการรักชาติ ถือวา
ผูหญิงเปนสินคา ชวยใหกิจกรรมทางการเมือง และการเงินเฟองฟู ทําใหอาชีพโสเภณี
เจริญรุงเรืองนอกจากเปดกวางแลว ยังปองกันและมีกฎหมายรองรับ ควบคุมโดยกฎหมาย
มีการเก็บภาษี มีการอนุญาตใหจดทะเบียนซอง มีใบอนุญาตใหเปนโสเภณี มีสํานักโสเภณี
ต้ังอยูท่ัวไปในเมืองใหญ โดยเฉพาะในยุโรปเตาลัส (Toulouse) กําไรจากโสเภณีแบงกัน
ระหวางเมืองกับมหาวิทยาลัย ในอเมริกา รัฐเนวาดา (Nevada) อนุญาตใหมีโสเภณีถูกตอง
ตามกฎหมาย การรณรงคต อ ตา นโสเภณี มักอางดงั นี้

(๑) ความนา ขยะแขยง ท่ีเห็นโสเภณเี พนพา น
(๒) เปนแหลง เพาะอาชญากรรม
(๓) เปนสงิ่ ผิดกฎหมาย
สังคมอินเดียในสมัยพุทธกาลไมรังเกียจโสเภณียังคบหาสมาคมกับคนชั้นสูง
วรรณะกษัตริย ก็มีปรากฏ โสเภณีเขาวัดทําบุญก็มี ลูกโสเภณีบางคนไดรับการยอมรับจาก
สังคม เปนถึงแพทยประจําสํานักก็มี หญิงโสเภณีมีสถานภาพสูงกวาหญิงวรรณะศูทร และ
วรรณะแพศย
การมีอาชีพเปนโสเภณี ไมจัดเปนการคาท่ีผิดหรือไมชอบธรรม ไมเปนมิจฉา
วาณิชชา คนเปนโสเภณีจึงเปนอุบาสิกาท่ีดีได ในศาสนาพุทธกลาวถึงการคาขายท่ีผิดไว ๕
อยาง๖๓ ผูจัดใหมีการคาผูหญิง หรือคาผูชายไวบริการทางเพศ นาจะเขาคายคามนุษย
(สัตตวณิชชา) แตเปนความผิดเฉพาะผูจัดใหมี ไมรวมถึงผูสมัครใจเปนโสเภณีเอง หากมอง
ใหลึก มนุษยท้ังหญิงและชายที่มีปกติ ชอบหาความสุขทางเพศดวยการเปลี่ยนรสชาติ ก็
เปนพฤติกรรมแบบโสเภณีอยูแลว โสเภณีมีขอแตกตางก็ตรงที่ใหการหาความสุขทางเพศ
กับคนหลายคน กลายเปน “งานบรกิ าร”

๖๓ อง.ปฺจถ. (ไทย) ๒๒/๒๓๓.

๒๕๐ บทท่ี ๗ พระพทุ ธศาสนากับโสเภณี
Buddhism and Prostitution
พระมหามติ ร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.

๗.๙ ผลกระทบของการมีโสเภณี

๗.๙.๑ ผลเสยี
๑. การแพรเชื้อกามโรค เพราะการคาประเวณีกับกามโรคเปนของคูกันและ
กามโรคติดตอกันไดดวย การมีความสัมพันธทางเพศ อันตรายของโรคน้ีอาจจะถึงแกชีวิติ
หรือถายทอดไปยังลูกหลานได เชน เปนโรคปญญาออน พิการ เปนตน ซึ่งเปนภาระแก
ครอบครวั และสังคม
๒. การเสื่อมโทรมทางศีลธรรมในสังคม ปญหาใหญ คือ การลอลวงหญิงใน
ชนบทมาเปนโสเภณีการแสวงหาผลประโยชนข องเจาสาํ นัก และแมงดาท่ีคอยรีดไถเงินหรือ
ทําการทารุณกรรมตาง ๆ ตลอดจนเจาหนาท่ีฝายปกครองที่เก่ียวของบางคนก็รวมมือกับ
หัวหนาธุรกิจการคาประเวณี เพราะไดรับเงินสมนาคุณจากพวกมิจฉาชีพ ทําใหการ
คาประเวณีดําเนินไปอยา งราบรืน่
๓. ปญหาดานอาชญากรรม แหลงสํานักการคาประเวณีเปนแหลงม่ัวสุมของยา
เสพตดิ อันธพาล การพนัน การทาํ รายรา งกาย เปนตน
๔. ปญหาเด็กเกิดจากโสเภณี โสเภณีสวนมากไมรูจักคุมกําเนิด จึงต้ังครรภได
งาย เม่ือเกิดมีครรภก็แกดวยการกินยาใหแทง หรือทําแทง หรือปลอยเลยตามเลย และ
คาประเวณีไปดว ย เด็กที่ออกมาจึงมโี อกาสติดโรคไดงาย ซึ่งบางครั้งก็ถึงกับทุพพลภาพหรือ
ปญ ญาออ น นอกจากนล้ี กู ของหญงิ โสเภณีมกั มปี มดอ ย เพราะไมรวู าใครเปนพอ เด็กก็อยูใน
สภาพแวดลอ มท่ไี มดี จนอาจถกู ชักจงู ไปในทางทีเ่ สอื่ มเสยี
๕. เปน ชองทางใหนกั ฉกฉวยโอกาส เปดกิจกรรมตาง ๆ ข้ึนมาบังหนา และมีการ
คา ประเวณไี วหลงั ฉาก เชน ไนตคลับ บาร อาบอบนวด เปนตน
๗.๙.๒ ผลดี
๑. เปนแหลงระบายและบําบัดความตองการและกดดันทางเพศของบุคคลบาง
กลุม เชน พวกท่ียังโสด พวกท่ีมีภรรยาแลวบางคน นักทัศนาจารที่ตองเดินทางเปนระยะ
เวลานาน นกั ธรุ กิจ ทหารตา งชาติ พวกทมี่ ีความตองการทางเพศ เปน ตน
๒. เปนรายได โดยเฉพาะผูที่มีความจําเปนทางเศรษฐกิจ หรือผูที่สมัครใจหรือ
ชอบประกอบอาชีพน้ี
๓. ทําใหปญหาเก่ียวกับความมั่นคงในครอบครัวน่ันคือการลักลอบเลนชูลดลง
เพราะการใชบ รกิ ารกบั โสเภณีมกั ไมม ขี อ ผูกพันทางสถานภาพ
ทาํ ใหฐ านะทางสงั คมเปลีย่ นจากคนจนเปนคนรวยได
๔. อาชีพโสเภณีอาจทําใหเงินตราตางชาติหล่ังไหลเขาสูประเทศ จากการขาย
บรกิ ารไดเปน จํานวนมาก

บรรณานุกรม

๑. ภาษาบาล-ี ไทย

ก.ขอ มูลปฐมภูมิ (Primary Sources)
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลยั . กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙.
_______. วิสุทฺธิมคฺค นาม ปกรณวิเสสสฺส ตติโย ภาโค: กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ

มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๑.
_______. ธมฺมปทฏฐกถา ปฐโม ภาโค. พิมพครั้งท่ี ๑๓. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหา

มกุฏราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๗.

ข. ขอมลู ทตุ ิยภูมิ (Secondary Sources)
(๑) หนังสือท่วั ไป:
กรมศาสนา. พระปฐมโพธิกถา. กรงุ เทพมหานคร: การศาสนา, ๒๕๔๔.
คกึ ฤทธิ์ ปราโมช. นิกายเซน. กรุงเทพมหานคร: สํานกั พมิ พด อกหญา, ๒๕๓๑.
จาํ นง ทองประเสริฐ. บอเกิดลัทธิประเพณีอินเดีย. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: อรุณ

การพิมพ, ๒๕๔๐.
_______. ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาในเอเชียอาคเนย. พิมพคร้ังที่ ๑. กรุงเทพมหานคร:

องคการการคา คุรุสภา, ๒๕๓๔.
จิตรา กอนันทเกยีรติ. พระพุทธ พระโพธิสัตว ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ของจีน, กรุงเทพมหานคร:

พิมพลกั ษณ, ๒๕๔๕.
เจตชรินทร จิรสันติธรรม. ทฤษฎีการขับรองเพลงไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพโอ

เดียนสโตร, ๒๕๕๓.
เจา ฟาธรรมธเิ บศ. พระมาลัยคําหลวง. นนทบรุ ี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๐.
ณรุทธ สุทธจิตต. พฤติกรรมการสอนดนตรี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย, ๒๕๔๔.
ดร. เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. สังคีตนิยมวาดวยดนตรีไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพโอเดียน

สโตร, ๒๕๔๒.
ดารารัตน เมตตาริกานท. ชุดประวัติศาสตรสําหรับประชาชนประวัติศาสตรลาวมิติ

กรงุ เทพมหานคร: สาํ นกั พมิ พเ มอื งโบราณ, ๒๕๔๘.

๒๕๒ บรรณานกุ รม
Bibliography
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ทวีวัฒน ปุณฑริกวัฒน. ประทีปแหงเซน. พิมพคร้ังที่ ๓. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ,
๒๕๓๐.

ทวีวัฒน ปุณฑริกวิวัฒน. ศาสนาและปรัชญาในจีน ทิเบตและญ่ีปุน. กรุงเทพมหานคร:
นักพมิ พส ุขภาพใจ, ๒๕๔๕.

นงเยาว ชาญณรงค,รศ. วัฒนธรรมและศาสนา. พิมพคร้ังท่ี ๕. กรุงเทพมหานคร:
สาํ นกั พิมพ มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๕๒.

นายพินิจ รักทองหลอ. ธรรมานุกรมธรรมโฆษณ. เลม ๓. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ
สขุ ภาพใจ, ๒๕๔๐.

นาวาเอก ทองใบ หงสเวียงจันทร. พุทธธรรมมหายานแบบญี่ปุน. พิมพครั้งท่ี ๒.
กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั สหธรรมจํากดั , ๒๕๓๒.

นิธิ เอยี วศรีวงศ. คนจนกับนโยบายการทําใหจนของรัฐ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพเรือน
แกว การพิมพ, ๒๕๔๓.

นิธิ เอียวศรีวงศ. พุทธศาสนาในความเปล่ียนแปลงของสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร:
สํานักพมิ พม ลู นธิ โิ กมลคมี ทอง, ๒๕๔๓.

บรรจบ บรรณรุจิ. จิต! มโน! วิญญาณ!. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพไรเรือนสมาธิ,
๒๕๓๓.

_______. พระโพธิสัตวในนิกายเถรวาท. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพสุขภาพใจ,
๒๕๒๙.

บุญตา เขียนทองกุล. ดนตรีไทยในพระราชพิธี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพดอกเบ้ีย,
๒๕๔๘.

บุญมี แทนแกว. พระพุทธศาสนาในเอเชีย (เนนดานอารยธรรม). กรุงเทพมหานคร: โรง
พมิ พโอเดยี นสโตร, ๒๕๔๘.

บุณย นิลเกษ, ดร. ปรัชญาศาสนา. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม,
๒๕๓๖.

บุณย นิลเกษ, ดร. พทุ ธศาสนามหายาน. กรงุ เทพมหานคร: แพรพ ิทยา, ๒๕๒๖.
ประดษิ ฐ อินทนิล. ดนตรไี ทยและนาฏศิลป. กรงุ เทพมหานคร: สุวีรยิ สาสน, ๒๕๓๖.
ประยงค แสนบุราณ. พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพมหานคร: โอ. เอส. พริ้นตเฮาส,

๒๕๔๘.
ประเวศ วสี,ศ.น.พ. ธรรมิกสังคม. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมูลนิธิโกมลคีมทอง,

๒๕๔๒.

ศกึ ษาเฉพาะเร่อื งในพัฒนาการแหง พระพทุ ธศาสนา ๒๕๓
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ปรีชา ชางขวัญยืน. ความคิดทางการเมืองของพุทธทาสภิกขุ. กรุงเทพมหานคร:
สาํ นักพิมพจ ุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๘.

ปรตุ ม บุญศรตี ัน. หลกั พระพุทธศาสนา. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม,
๒๕๔๙.

ปญญา รุงเรือง. ประวัติการดนตรี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด,
๒๕๔๖.

ผาสุก อินทราวุธ. พุทธปฏิมาฝายมหายาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพอักษรสมัย,
๒๕๔๓.

พงษศิลป อรุณรัตน. ปฐมบทดนตรีไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปกร,
๒๕๕๐.

พระครปู ญ ญามณุ ี (ออน). มงคลทปี นแี ปล. กรงุ เทพมหานคร: อาํ นวยสาสน, ๒๕๓๕.
พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). ตามรอยธรรมครอบ ๕๐ ป. กรุงเทพมหานคร: โรง

พมิ พมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
พระธรรมกิตติวงศ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙, ราชบัณฑิต). พจนานุกรมเพ่ือการศึกษาพุทธ

ศาสน ชุด ศัพทวเิ คราะห. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พเลีย่ งเชียง, ๒๕๕๐.
พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประธรรม. พิมพครั้งที่ ๑๒.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
_______. จาริกบญุ จารกึ ธรรม. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัทพมิ พสวยจาํ กดั , ๒๕๔๑.
_______. นติ ิศาสตรแนวพทุ ธ. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ทั สหธรรมิก จํากัด, ๒๕๓๙.
_______. พทุ ธธรรม ฉบบั ปรบั ปรุงและขยายความ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมหาจุฬา

ลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๒.
พระธรรมเวที (ประยุทธ ปุตโต). พุทธธรรม. พิมพครั้งท่ี ๕. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ

มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒.
พระนันทาจารย. สารัตถะสังคหะ เลม ๑-๒-๓. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพเลี่ยงเซียง,

๒๕๓๕.
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท.

กรงุ เทพมหานคร: บริษัทเอส.อาร. พริ้นตงิ้ แมสโปรดกั สจาํ กัด, ๒๕๕๑.
_______. พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. พิมพครั้งท่ี ๙. กรุงเทพมหานคร:

บรษิ ทั เอส. อาร. พริ้นต้ิง แมส โปรดกั ส จํากดั , ๒๕๔๖.
_______. พุทธธรรม (ฉบบั ปรับปรงุ และขยายความ). พิมพค รั้งที่ ๑๑. กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ บริษทั สหธรรมกิ จํากดั , ๒๕๔๙.

๒๕๔ บรรณานกุ รม
Bibliography
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

_______. พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบับประมวลศัพท. พิมพค รงั้ ท่ี ๑๕. กรุงเทพมหานคร:
โรงพมิ พ บริษัทสหธรรมิก จํากดั , ๒๕๕๓.

พระไพศาล วิสาโล. พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโนมและทางออกจากวิกฤต.
กรงุ เทพมหานคร: มูลนิธิสัดศรี-สฤษด์วิ งศ, ๒๕๔๖.

พระมหาสมจินต สมฺมาปโฺ ญ (วนั จนั ทร). พระพุทธศาสนามหายาน ในอินเดียพัฒนาการ
และสาระ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๔.

พระมหาไสว ญาณวีโร. คมู ือหลักปฏิบัติวิปส สนากมั มฏั ฐาน. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ
พระราชวรมุนี (ประยุทธ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท.

กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พอมั รินทรการพมิ พ, ๒๕๒๗.
พระอาจารย ดร. ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ.

ธรรมกถา การปฏิบัติวิปสสนากัมมัฎฐานตามหลักสติปฎฐาน ๔. ชลบุรี: คณะ
ศิษยวเิ วกอาศรม, ๒๕๔๑.
พนั ตรี ป. หลงสมบญุ . พจนานุกรม มคธ-ไทย. กรงุ เทพมหานคร: อาทรการพมิ พ, ๒๕๔๐.
พิชัย ปรัชญานสุ รณ. ดนตรีปริทรรศน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด,
๒๕๔๕.
พุทธทาสภิกขุ. ธัมมกิ สังคมนยิ ม. กรงุ เทพหมานคร: สํานักพิมพส ยามประเทศ, ๒๕๓๘.
_______. จิตนปี้ ระภัสสร กรุงเทพมหานคร: สขุ ภาพใจ, ๒๕๕๐.
_______. จิตวาง. กรุงเทพมหานคร: ไทยควอลิต้ีบคุ ส (2006), ๒๕๕๐.
_______. ตถตา–เชนนนั้ เอง. กรุงเทพมหานคร: เพชรประกาย, ๒๕๔๙.
_______. บรมธรรม ภาคปลาย. พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร: ธรรมทานมูลนิธิ,
๒๕๔๑.
_______. ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ. กรุงเทพมหานคร: คณะธรรมทาน ไชยา,
๒๕๒๑.
_______. ปณิธานของพทุ ธทาสภกิ ขุ. กรงุ เทพมหานคร: สาํ นกั พิมพส ขุ ภาพใจ, ๒๕๓๓.
พนู พิศ อมาตยกลุ . ดนตรวี จิ กั ษ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พส ยามสมัย, ๒๕๒๙.
ภิกษุจีน วิสวภัทร. ประวัติพระพุทธเจาและพระโพธิสัตวของมหายาน. ชลบุรี: หมื่นคน
ธรรมสถาน จงั หวดั ชลบุรี, ๒๕๔๘.
มนตรี ตราโมท. คําบรรยายวิชาดุริยางคศาสตรไทย กรมศิลปกร. กรุงเทพมหานคร: โรง
พมิ พชวนพมิ พ, ๒๕๔๕.
_______. วิชาดุริยางคศาสตรไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพกรมศิลปกร, ๒๔๘๑.

ศึกษาเฉพาะเร่อื งในพฒั นาการแหง พระพุทธศาสนา ๒๕๕
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหา
จฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๑.

รศ.ดร.ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห. ศานติเทวะ โพธิสัตตวจรรยาวตาร แนวทางการดําเนินชีวิต
ของพระโพธิสัตว. พิมพคร้ังท่ี ๒. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสองศยามจํากัด,
๒๕๔๓.

รัฏชดา พดั เยน็ ช่ืน. ประเพณพี วน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพค ุรสุ ภาลาดพราว, ๒๕๔๕.
เรณู โกสินานนท. นาฏดุริยางคสังคีตกับสังคมไทย. พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร: โรง

พมิ พไทยวัฒนาพานชิ , ๒๕๔๕.
วีระ สมบูรณ. อริยวินัยสําหรับคริสตวรรษที่ ๒๑. กรุงเทพมหานคร: โกมล คีมทอง,

๒๕๔๕.
ศ.ดร. นยิ ะดา เหลา สนุ ทร. ไตรภมู ิพระรวง. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พแ มค ําผาง, ๒๕๔๓.
ส. ศวิ รกั ษ. ศาสนากับสังคม. กรุงเทพมหานคร: สํานกั พิมพเทียนวรรณ, ๒๕๒๕.
_______. ความเขาใจในเร่ืองมหายาน. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสองศยามจํากัด,

๒๕๓๕.
สงัด ภูเขาทอง. การดนตรีไทยและทางเขาสูดนตรีไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพเรือน

แกว , ๒๕๓๒.
สนิท ศรีสําแดง. ปรัชญาเถรวาท. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย,

๒๕๔๔.
สมเด็จกรมพระปรมานุชิโนรส. พระปฐมสัมโพธิกถาพิสดาร ๒๙ ปริเฉจ.

กรงุ เทพมหานคร: รงุ เรอื งสาสนก ารพิมพ, ๒๕๓๖.
สมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี. ทศบารมีในพระพุทธศาสนาเถร

วาท. กรงุ เทพมหานคร: มหามกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.
สมภาร พรมทา. พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

๒๕๔๐.
_______. พทุ ธปรัชญา มนุษย สังคม และปญ หาจรยิ ธรรม ธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรง

พิมพจ ุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๒.
_______. พุทธศาสนานิกายเซนการศึกษาเชิงวิเคราะห. พิมพคร้ังท่ี ๓.

กรงุ เทพมหานคร: สํานักพมิ พแหง จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั , ๒๕๔๖.
_______. พุทธศาสนามหายาน นิกายหลัก. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลยั , ๒๕๔๐.

๒๕๖ บรรณานกุ รม
Bibliography
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

สายหยุด จําปาทอง. หนังสือเรียนศิลปศึกษา วิชา สังคมคีตนิยม ๑๑ศ ๐๒๑ ช้ัน
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย, ๒๕๒๔.

สาํ ลี รกั สทุ ธี. ศลี สุดยอดวินัยของศาสนาพทุ ธ. กรงุ เทพมหานคร: พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๙.
สุชาติ หงษา. ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพศยาม,

๒๕๕๐.
สมุ าลี มหณรงคช ัย. พุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพมิ พศ ยาม, ๒๕๔๖.
สุรพล สุวรรณ. ดนตรีไทยในวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแอคทีฟ พร้ินท,

๒๕๕๑.
สุวรรณา สถาอานันท. ภูมิปญญาวิชาเซน : บทวิเคราะหคําสอนของปรมาจารยโดเก็น.

กรงุ เทพมหานคร: สํานักพมิ พศยาม, ๒๕๓๔.
เสถียร โพธินันทะ. ชุมนุมพระสูตรมหายาน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพบรรณาคาร,

๒๕๑๖.
_______. ประวัตศิ าสตรพ ระพุทธศาสนา. พมิ พค รัง้ ท่ี ๓. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหา

มงกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.
_______. ปรัชญามหายาน. นครปฐม: โรงพมิ พม หามกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
แสง มนวิฑรู, ศ.รตท. นาฏยศาสตร. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร,

๒๕๔๑.
อภิชัย โพธ์ิประสิทธิศาสตร. พระพุทธศาสนามหายาน. พิมพคร้ังท่ี ๔. กรุงเทพมหานคร:

มหามกุฏราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙.
อดุ ม อรรุ รัตน. ดรุ ยิ างคด นตรจี ากพระพทุ ธศาสนา. นครปฐม: ศลิ ปากร, ๒๔๙๘.

(๒) วารสาร
ส.ศิวรักษ. “ประชุมพุทธศาสนาเพ่ือสังคมที่เกาหลี.” เสขิยธรรม ๕๘. (ตุลาคม-ธันวาคม,

๒๕๔๖).

(๓) หนงั สอื แปล:
จงชัย เจนหัตถการกจิ ดวงตาแหง สัจธรรม. แปล. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๕๓๘.
จามเช็ด เค ฟอสดาร. พระพุทธศรีอริยเมตไตรย-อมิตตาภาไดปรากฏองคแลว. แปลโดย

นฤมล นครชยั , กรงุ เทพมหานคร: สาํ นักพมิ พศ ยาม, ๒๕๔๗.

ศกึ ษาเฉพาะเร่อื งในพัฒนาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๒๕๗
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

เซนไค ชิบายามะ. ดอกไมไมจํานรรค. แปลโดย พจนา จันทรสันติ. กรุงเทพมหานคร:
สํานกั พมิ พส มิต, ๒๕๓๖.

ติช นัท ฮันห.กุญแจเซน. แปลโดย พจนา จันทรสันติ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลทอง,
๒๕๔๘.

________. (เขียน). สูชวี ิตอันอุดม. แปลโดย ส.ศวิ รักษ. กรุงเทพมหานคร: มติชน, ๒๕๔๖.
________. ดวยปญญาและความรัก. แปลโดย รสนา โตสิตระกูล. กรุงเทพมหานคร:

มลู นธิ ิโกมลคีม-ทอง, ๒๕๓๗.
________. ปาฏิหาริยแหงการตื่นอยูเสมอ. แปลโดย พระประชา ปสนฺโน.

กรุงเทพมหานคร: สาํ นักพมิ พม ูลนิธิโกมลคมี ทอง, ๒๕๓๗.
________. ศานติในเรือนใจ : เรียนรูศิลปะการดําเนินชีวิตอยางมีสติและผาสุก. แปล

โดย ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมูลนิธิโกมลคีมทอง,
๒๕๔๓.
________. ปจจุบันเปนเวลาประเสริฐสุด. แปลโดย ส. ศิวรักษ. กรุงเทพมหานคร:
สาํ นกั พิมพศยาม, ๒๕๓๖.
ทีโอดอร เดอ แบร่ี, ดับบิว เอ็ม., (ผูรวบรวม). บอเกิดลัทธิประเพณีจีน ภาค ๑-๓. พิมพ
ครั้งท่ี ๒. แปลโดย จํานงค ทองประเสริฐ. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร:
ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๓๗.
นายชะเอม แกวคราย. สัทธรรมปุณฑริกสูตร. แปลจากตนฉบับภาษาสันสกฤต,
กรงุ เทพมหานคร: อมรนิ ทรพริ้น ต้งิ แอนดพ บั รชิ ช่งิ , ๒๕๔๗.
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ). มหาสติปฏฐานสูตร ทางสูพระนิพพาน. ตรวจชําระ
โดย พระพรหมโมลี (สมศักด์ิ อุปสโม, ป.ธ.๙, MA.,Ph.D.). แปลและเรียบเรียง
โดย พระคันธสาราภิวงศ. กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนจํากัดไทยรายวันการ
พมิ พ, ๒๕๔๙.
พอล ดารุส. อามิตาภพุทธ. แปลโดย ส.ศีวรักษ, กรุงเทพมหานคร : เรือนแกวการพิมพ,
๒๕๔๕.
พุทธทาสภิกขุ. คาํ สอนของฮวงโป. แปล. กรงุ เทพมหานคร: ธรรมบชู า, ๒๕๓๑.
________. สตู รของเวย หลาง. แปล. กรงุ เทพมหานคร: ธรรมบชู า, ๒๕๓๑.
เอดวอรด คอนซ. พระพุทธศาสนประวัติ, แปลโดย สมหวัง แกวสุฟอง, (ภาควิชาปรัชญา
และศาสนา) คณะมนษุ ยศาสตรมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม, ๒๕๔๖.
เอียมการด ชเลอเกลิ (Irmgard Schloegl). บันทกึ ของรนิ ไซ. แปลโดย จงชัย เจนหัตถการ
กจิ . กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๕๓๘.

๒๕๘ บรรณานุกรม
Bibliography
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

(๔) สอื่ อิเลคทรอนคิ ส:
ไมเคิล ไรท. ฝรั่งคล่ังสยาม. มติชน. ๒๕๔๑. (ศิลปวัฒนธรรม ฉบับพิเศษ). [ออนไลน].

แหลงทมี่ า: http://th.wikpedia.org/wiki. [๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓].
ลีเจง ถนอมวรกุล. ความสัมพันธระหวางดนตรีกับมนุษย. [ออนไลน]. แหลงที่มา:

http://www.eduzones.com/knowledge-2-2879.html. [๑ ๕ ตุ ล า ค ม
๒๕๕๓].
พระมหาสาคร ศรีดี. (ป.ธ.๙). พุทธจริยธรรมกับดนตรี. [ออนไลน]. แหลงที่มา:
www.bloggng.com/viewblog.php?id=ebu. [๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓].
ภั ท ร า วุ ฒิ จู ถ น อ ม . ด น ต รี ไ ท ย กั บ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ า . [อ อ น ไ ล น ]. แ ห ล ง ท่ี ม า :
http://www.patakorn.com/modules.php?name=news&file=print&sid
=5, [๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓].
หนังสื อพิมพ คม-ชั ด-ลึก . ดน ตรีกับ พร ะ พุทธ เ จา . [ออน ไล น]. แหลง ที่มา :
http://ww.komchadluek.net/detail/20090721/21098/พระปญจสิงขร.
html. [๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓].
Bloggang.com, ปญหาเร่ืองการสวดปาฏิโมกขเพียง ๑๕๐ ขอ กรณี วัดหนองปาพง, จาก
พระไตรปฎกภาษาอังกฤษ ฉบับแปลโดย E. M. Hare-Pali Text Society),
[ออนไลน]. แหลงที่มา: https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=
thepathofpurity &month= 02-09-2011& group=7&gblog=4 [๒๓ มกราคม
๒๕๖๐].
[ออนไลน]. แหลงท่ีมา: http://www.photikhundex.org/index.php?lay=show&ac=
articie&Id=539118078&Ntype=6. [๑๘ มนี าคม ๒๕๕๕].
[ออนไลน]. แหลงท่ีมา: http://www.photikhun.org/index.php?lay=show&ac=
article&Ntype=16&Id=539117505. [๑๘ มนี าคม ๒๕๕๕]
[ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.84000.org/pray/baramee30.shtml. [๑๓
พฤษภาคม ๒๕๕๕].
[ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.84000.org/pray/chinnachorn.shtml. [๑๓
พฤษภาคม ๒๕๕๕].
http://www.84000.org/pray/bramee30.shtml. [๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕].
http://www.baanmaha.com/community/thread6882.html. [๑๘ มีนาคม ๒๕๕๕].
http://thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php?user=buddha_sto
ry&topic=110. [๑๘ มนี าคม ๒๕๕๕].

ศึกษาเฉพาะเร่ืองในพัฒนาการแหงพระพทุ ธศาสนา ๒๕๙
Selected Topics in Development of Buddhism
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

http://www.hypnoticquality.com. [๑๘ มนี าคม ๒๕๕๕].
http://www.mahachat.com/index.php. [๑๘ มนี าคม ๒๕๕๕].

๒. ภาษาอังกฤษ

Bhaddhanta Asabha. The Practice of Vipassana Meditation for Mindfulness
Development. Bangkok: Sahadhammika, 2001.

Bhikkhu Ñānananda, Concept and Reality, Kandy: Buddhist Publication
Society, 1997.

Dumoulin, Heinrich. A History of Zen Buddhism. Translated from the
German by Paul Peachey. London : Faber and Faber, 1963.

Hirai, Tomio. M.D. Zen Meditation Therapy. Tokyo : Japan Publication,
1975.

Hsuan-tsang, the Doctrine of Mere-Consciousness, trans. by Wei Tat (Hong
Kong, 1973.

Kalupahana, David. J. A History of Buddhist Philosophy. Delhi :Motilal
Banarsidass, Shri Jainendra Press,1994.

________. David. J. Buddhist Philosophy A Historical Analysis. Hawaii :
Honolulu University Press, 1976.

Kratf, Kenneth ed. Inner Peace, Inner World : Essay son Buddhism and
Nonviolence. New York: State University of New York press.

Lambert Schmithausen. Ālayavijñāna. Tokyo: The International Institute for
Buddhist Studies, 1987.

Nāgārjuna. Mūlamadhyamakakārikā of Nāgārjuna. trans. by Kalupahana,
David J.Delhi: Motilal Banarsidass, 1999.

________. Mūlamadhyamakaśāstram of Nāgārjuna. Ed. by Pandeya,
Raghunath. Delhi: Motilal Banarsidass, 1988.

________. Nāgārjunaina : Studies in the Writings and Philosophy of
Nāgārjuna.trans. by Lindtner, Chr. Delhi: Motilal Banarsidass, (n.d.).

Nayanaponika. Buddhist Dictionary. Fourth Revised Edition. Buddhist
publication Society. Karndy : Sri Lanka, 1980.

Peter Harvey, The Selfless Mind. London : Curzon Press, 1995.

๒๖๐ บรรณานกุ รม
Bibliography
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

Sir W.W. Hunter. Brief History of the Indian Peoples. (Oxford : Clarendon
Press. Concept Publishing Company, 2012.

Suzuki, Daisetz Teitaro. The Lańkāvatāra Sūtra. London: Routledge & Kegan
Paul Ltd.,1968.

________. Essay in Zen Buddhism. First series, London: Rider, 1985.
________. Essay in Zen Buddhism. Third series, London: Rider, 1985.
________. Manual of Zen Buddhism. Third Series, London: Rider, 1985.
________. Zen Mind, Beginner’s Mind. Massachusetts: Weather hill, 2005.
Thich Naht Hanh. Transformation at the Base. California: Parallax Press,

2001.
Thomas E. Wood. Mind Only. Delhi: Motilal Banarsidass Publishers Private

Limited, 1994.
U Janakabhivamsa Sayadaw. The ICD-10 Classification of Mental and

Behavioral Disorders: Clinical Descriptions and Diagnostic
Guideline. Geneva : World Health Organization, 1992.
W. Rahula,Dr. What the Buddha Taught. Revised Edition. Hawtrai
Foundation. Bangkok: Kurusapha press, 1988.
Watts, Alan W. The Way of Zen. New York: Vintage Books, 1957.
William S. Waldron. The Buddhist Unconscious. London: Routledge
Curzon, 2003.
Wood. Ernest. Zen Dictionary. New York: Penguin Books, 1984.
W.W. Rodckhill. The Life of the Buddha and the Early History of His
Order. London, Trübner & co.1884.
Yoshito S.Hekoda, tr. The Awakening of Faith. New York: Columbia
university press, 1967.


Click to View FlipBook Version