The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sakda Katawaethwarag, 2021-07-10 13:29:29

engineering drawing

engineering drawing

Keywords: drawing

202    Fundamental of Engineering Drawing 

และเพื่อใหเขาใจและจําไดวาเสนแตละเสนหรือขอความที่ตองเขียนดังท่ีกลาวถึงขางตนคือสวน
ใดบางในการบอกขนาด จึงไดแยกใหเ ห็นไวอยางชัดเจนทีละสวนดังแสดงในรูปท่ี 7.3ก-จ รูปที่ 7.3ก
แสดงเสน extension lines ซึ่งจะเปนเสนตรงท่ีลากย่ืนออกมาจากขอบของวัตถุที่ตองการบอกขนาด
หรือลากออกมาจากจุดศูนยกลางของวงกลมเมื่อตองการบอกตําแหนงของวงกลมนั้น การลากเสน
extension lines นี้ ปกติจะลากออกมาจากรูปเปนคูเพ่ือใชกํากับขอบเขตที่ตองการบอกขนาดน่ันเอง
สวนรูปที่ 7.3ข น้ันแสดงเสน dimension lines เสนน้ีจะเปนเสนที่เร่ิมและจบดวยหัวลูกศรและใชคู
กบั เสน extension lines เสมอ

(ข) Extension lines (ก) Dimension lines

10 27 10 27

43 13 13 43
13
(ง) ตัวเลขบอกขนาด (ค) Leader lines

10 27 10 Drill, 2 Holes
R16

43

(จ) Local notes
รปู ที่ 7.3 ตวั อยา งของสวนประกอบสาํ หรบั การบอกขนาด

   Orthographic Reading  203 

สวนประกอบถดั ไปคอื ตัวเลขสาํ หรับบอกขนาด ซ่ึงจะเขียนอยูเหนือเสน dimension lines และขนาด
ที่บอกน้ันจะเทากับระยะหางระหวางเสน extension lines ท่ีตัวเลขน้ันไปวางตัวอยูระหวางกลางดัง
แสดงในรูปท่ี 7.3ค รูปท่ี 7.3ง แสดงเสนท่ีเรียกวา leader lines ซ่ึงจะเปนเสนที่ลากเฉียง ๆ มักใช
บอกขนาดกับสวนโคง โดยมีปลายดานหน่ึงเปนหัวลูกศรและปลายอีกดานหน่ึงเปนเสนนอนส้ัน ๆ
และปลายที่เปนหัวลูกศรน้ันจะตองจรดกับสวนโคงที่ตองการบอกขนาด สุดทายคือ local notes ซ่ึง
จะใชคูกับเสน leader lines เพื่อบอกขอมูลที่เกี่ยวกับสวนโคงนั้น โดยจะเขียนขอความนี้เหนือเสน
นอนสัน้ ๆ ดังแสดงในรปู ที่ 7.3จ
ขอควรปฏิบตั สิ ําหรับการใชส ว นประกอบเหลา นใี้ นการบอกขนาด
Extension lines

1. เสน extension lines ที่ลากออกจากขอบของรปู นั้น จะตองเวนชองวางเล็กนอย (ประมาณ
1 มม.) กอนท่จี ะเรม่ิ ลากเสนออกจากขอบของรูปดงั แสดงในรปู ท่ี 7.4ก

2. ใหลากเสน extension lines เลยเสน dimension lines ออกไปประมาณ 1-2 มม. เทานั้น
ดงั แสดงในรปู ที่ 7.4ข

3. ถาเสน extension lines ท่ีจะลากน้ันตองลากผานเสนรูป ก็ใหลากทับเสนรูปไปไดเลยไม
ตอ งเวนชอ งวางดงั แสดงในรปู ที่ 7.4ค

สวนรปู ท่ี 7.5 แสดงขอ ผิดพลาดที่มักจะเกดิ ขน้ึ ในการเขียนเสน extension lines

(ก) (ข)

(ค)
รูปที่ 7.4 ขอ ควรปฏบิ ตั ิสาํ หรับการเขยี นเสน extension lines

204    Fundamental of Engineering Drawing  COMMON MISTAKE

COMMON MISTAKE

รูปท่ี 7.5 ขอผิดพลาดทม่ี ักจะเกดิ ข้นึ ในการเขยี นเสน extension lines

Dimension lines
เสน dimension lines ท่ีจะลากนั้นไมควรลากใหชิดกับเสน dimension lines เสนอ่ืน

หรือไมชิดกับตัวรูปมากจนเกินไป โดยเสน dimension lines ท่ีอยูใกลกับรูปมากที่สุดควรจะมี
ระยะหางประมาณสองเทาของตัวเลขบอกขนาดท่ีจะเขียน สวนระยะหางระหวางเสน dimension
lines ถดั ๆ ไปก็ควรจะมีระยะหา งประมาณหน่งึ ตัวอักษรดงั แสดงในรปู ท่ี 7.6

ควรมรี ะยะหา งประมาณสองเทาของตัวอกั ษร

35
16

11
34

ควรมีระยะหา งประมาณหนึง่ เทาของตัวอกั ษร

รูปท่ี 7.6 การเวนระยะหางระหวา งเสน dimension lines

Dimension figures (ตวั เลขบอกขนาด)
1. สาํ หรับตัวเลขบอกขนาดควรมขี นาดความสูงประมาณ 2.5 – 3 มม.
2. ตองเขียนใหอยูเหนือเสน dimension lines ประมาณ 1 มม. และอยูก่ึงกลางระหวางเสน
extension lines ดังแสดงในรูปท่ี 7.7 และอยาใชเสน dimension lines เปนเสนบรรทัดใน
การเขยี นตวั เลข

   Orthographic Reading  205 

COMMON MISTAKE

11
34

11
34

รูปที่ 7.7 ตัวอยา งการเขยี นตัวเลขบอกขนาดและขอผิดพลาดท่ีมกั จะเกดิ ขึน้

3. ถาชองวางระหวางเสน extension lines ไมพอใหเขียนตัวเลข และ/หรือไมพอใหเขียนหัว
ลูกศรของเสน dimension lines ใหนําตัวเลข และ/หรือหัวลูกศรไปเขียนนอกเสน
extension lines ไดด ังแสดงในรปู ท่ี 7.8ก-ข

16.25 11

(ก) กรณีเขยี นตัวเลขไมพ อ (ข) กรณเี ขยี นหวั ลกู ศรไม

รูปที่ 7.8 ตวั อยา งการเขียนตัวเลขบอกขนาดในกรณีท่ีมีทวี่ า งไมพอ

4. หนวยที่ใชในงานเขียนแบบวิศวกรรมน้ีจะใชหนวยเปน มิลลิเมตร และไมตองเขียนชื่อ
หนวยตามหลังตัวเลขบอกขนาด ถาตัวเลขท่ีบอกขนาดเก่ียวกับมุมก็ใหใชสัญลักษณ “ ° ”
กาํ กับดา นทา ยแทนคําวา “องศา”

5. มาตราฐานของแนวการวางตัวของตัวเลขสําหรับบอกขนาดจะมีอยูสองแบบดวยกันคือ
แบบ aligned และแบบ unidirectional โดยแบบ aligned ตัวเลขจะตองถูกวางตัวให
สามารถอานไดเมื่ออานจากทางดานลางหรือดานขวาของกระดาษเขียนแบบ สวนแบบ
unidirectional น้ันตัวเลขจะถูกเขียนใหอานไดจากทางดานลางของกระดาษเขียนแบบ
เพยี งทศิ ทางเดยี วเทานั้น สาํ หรับแนวการวางตวั ของตัวเลขบอกขนาดท่ีจะใชในวิชานี้จะใช
แบบ aligned เทานั้น ขอควรระวังท่ีสําคัญประการหนึ่งของการเขียนตัวเลขบอกขนาดก็
คือถาผเู ขียนเลอื กที่จะใชรูปแบบการเขยี นแบบใดแลวใหใชแบบน้ัน ๆ กับทุก ๆ งานเขียน
แบบที่ใชเกี่ยวเนื่องกัน เชน อุปกรณช้ินหน่ึงตองมีกระดาษเขียนแบบของอุปกรณชิ้นนั้น

206    Fundamental of Engineering Drawing 

ท้ังหมด 15 แผน ดังน้ันทั้ง 15 แผนนี้จะตองใชระบบการเขียนตัวเลขแบบเดียวกันท้ังหมด
และเพื่อใหเกิดความเขาใจมากยิ่งข้ึนเกี่ยวกับลักษณะการเขียนตัวเลขบอกขนาดของท้ัง
สองแบบนี้ จงึ ไดแสดงตัวอยา งไวในรปู ที่ 7.9 และ 7.10

30 30
30 30

45o 30 30 30
45o 30
30 30
30 30

(ก) การเขยี นตวั เลขแบบ aligned (ข) การเขียนตัวเลขแบบ unidirectional

รูปที่ 7.9 ตัวอยา งการเขยี นตวั เลขบอกขนาดแบบ aligned และ unidirectional

45o 45o
45o 45o

45o 45o

45o 45o
45o 45o

(ก) การบอกขนาดมุมแบบ aligned (ข) การบอกขนาดมมุ แบบ unidirectional

รูปท่ี 7.10 ตวั อยา งการเขยี นตวั เลขบอกขนาดมุมแบบ aligned และ unidirectional

Local notes (การเขยี นหมายเหตเุ ฉพาะท)่ี
1. ตําแหนงการวางตัวของขอความท่ีเปนหมายเหตุนั้น ควรวางใหใกลกับบริเวณท่ีขอความ
นน้ั กลา วถึง และควรวางตวั อยูนอกรูป
2. ขอ ความท่ีเขยี นตอ งเขียนใหอ านไดในแนวนอนเทา นน้ั

   Orthographic Reading  207 

โดยรูปที่ 7.11 จะเปน การแสดงตัวอยา งการเขียนหมายเหตุเฉพาะท่ีและขอผิดพลาดท่ีมกั จะเกิดขนึ้

10 Drill COMMON MISTAKE 10 Drill
≈ 10mm
10 Drill
Too far

รูปที่ 7.11 ตัวอยา งการเขยี นหมายเหตเุ ฉพาะท่แี ละขอ ผดิ พลาดท่มี ักจะเกดิ ขึ้น

7.3 การบอกขนาดสาํ หรบั สว นตาง ๆ ของวตั ถุ
วัตถุประสงคหลักของการบอกขนาดก็คือตองใหขอมูลเกี่ยวกับขนาดและตําแหนงท่ี

จําเปน ตอการผลติ ช้นิ สวนน้ัน ๆ โดยขอมูลที่เขียนลงไปจะตองชัดเจน ครบถวนสมบูรณ และอํานวย
ประโยชนตอกระบวนการผลิตหรือทําใหการตรวจสอบชิ้นสวนน้ันเมื่อผลิตเสร็จแลวดวยการวัด
สามารถทาํ ได ดังตัวอยางเชน ถา ตอ งการผลติ ชนิ้ สว นทีม่ ีรูปรา งดงั แสดงในรปู ที่ 7.12 แลว เราจะตอง
เขียนแบบภาพออโธกราฟกของวัตถุน้ันดังแสดงในรูปท่ี 7.13 จากน้ันก็ตองทําการบอกขนาดซ่ึง
ขอ มูลที่ตอ งบอกของวตั ถตุ ัวอยางนจี้ ะประกอบไปดวย

1. ขนาดความกวาง ความลึก และความหนาของชิ้นวตั ถุ
2. ขนาดเสน ผาศนู ยก ลางและความลกึ ของรู
3. ตําแหนงของรเู จาะ
และเมอ่ื บอกขนาดตามขอมลู ที่แสดงขา งตนแลว จะไดภาพออโธกราฟก ดังแสดงในรปู ที่ 7.14

รปู ที่ 7.12 ตัวอยา งวัตถทุ จี่ ะผลติ รูปท่ี 7.13 ภาพออโธกราฟกของวตั ถทุ จี่ ะผลิต

208    Fundamental of Engineering Drawing  L

L

S
LL

SS
S

“S” denotes size dimension.
“L” denotes location dimension.

รปู ที่ 7.14 ภาพออโธกราฟก พรอมการบอกขนาดและตําแหนงของวัตถุตวั อยาง
สําหรับหัวขอยอยถัด ๆ ไปจะกลาวถึงการบอกขนาดสําหรับสวนตาง ๆ ที่อาจจะเกิดข้ึนในภาพ
ออโธกราฟก

7.3.1 การบอกขนาดมุม
การบอกขนาดของมุมจะใชเสน dimension lines แบบโคง ซง่ึ การลากเสน โคง น้จี ะตอง
ใชจ ุดยอดของมุมท่ตี องการบอกขนาดเปน จดุ ศูนยก ลางสาํ หรับการเขยี นสวนโคง นนั้ ดงั ตวั อยา งท่ี
แสดงในรูปที่ 7.15 และตวั อยา งทม่ี กั จะทาํ ผดิ แสดงไวในรปู ท่ี 7.16

COMMON MISTAKE

รปู ที่ 7.15 ตัวอยา งการบอกขนาดมมุ รปู ที่ 7.16 ตวั อยางท่ีมักจะทาํ ผดิ ของ
การบองขนาดมมุ

   Orthographic Reading  209 

7.3.2 การบอกขนาดสวนโคง
1. การบอกขนาดสวนโคงจะตองบอกเปนรัศมี โดยใชเสน leader lines ใน
การบอกขนาด ซ่ึงหัวลูกศรของเสน leader lines ตองจรดท่ีสวนโคง
และแนวของเสนตอ งผานจดุ ศนู ย (ไมจ ําเปนทเี่ สน ตอ งผา นจดุ ศนู ยกลาง
แคแนวเสนก็พอ) และตองบอกในภาพท่เี หน็ ขนาดจรงิ ของสวนโคง น้ัน
2. ใชตัวอักษร R แทนคําวา Radius แลวตามดวยตัวเลขเพ่ือบอกขนาดของ
รัศมีสําหรับสว นโคง นน้ั ดงั แสดงในรูปที่ 7.17

รปู ที่ 7.17 การบอกขนาดสวนโคง ดวยเสน leader lines

3. ตัวเลขบอกขนาดและหัวลูกศรควรวางอยูภายในสวนโคงท้ังคู ถามีท่ีวาง
พอ (รูปที่ 7.18ก) แตถามีท่ีวางพอสําหรับเขียนหัวลูกศรเพียงอยางเดียวก็
สามารถนําตวั เลขบอกขนาดไปเขียนนอกสวนโคงได (รูปที่ 7.18ข) และถา
สวนโคง มีขนาดเล็กมากไมสามารถแมแ ตเขียนหวั ลกู ศร ก็สามารถเขียนหวั
ลูกศรและตัวเลขบอกขนาดไวน อกสวนโคงทัง้ หมดเลยกไ็ ด (รปู ท่ี 7.18ค)

R 62.5 R 6.5
R 58.5

(ก) (ข) (ค)
รูปที่ 7.18 การบอกขนาดสวนโคง เมื่อมีชอ งวางในการเขยี นตวั เลขไมพอ

4. เสน leader lines ทใี่ ชบอกขนาดสวนโคงน้ีตองลากใหเอียงทํามุมประมาณ
30 – 60 องศาเทียบกับแนวระดับ ดังตัวอยางท่ีแสดงในรูปที่ 7.19ก สวน
ตัวอยางท่ีมักทําผิดเก่ียวกับการเขียนเสน leader lines น้ีไดแสดงไวในรูป

210    Fundamental of Engineering Drawing 

ท่ี 7.19ข ซ่งึ ไดแ กก ารเขียนเสน leader lines ในแนวดิ่งหรือแนวนอน หรือ
จะเปนการเขียนเสน leader lines โดยเอาหัวลูกศรไปชี้อยูที่จุดศูนยกลาง
หรอื แนวของเสน leader lines ไมผ า นจดุ ศูนยก ลาง เปนตน

COMMON MISTAKE

R62.5 R62.5 R62.5

R62.5 R62.5
R62.5

(ก) (ข)
รูปท่ี 7.19 แนวเอียงของเสน leader lines และตวั อยา งทม่ี ักจะทาํ ผดิ

5. ถาตําแหนงของจุดศูนยกลางสวนโคงอยูนอกกระดาษเขียนแบบหรือไปอยู
ซอ นทบั กบั ภาพขางเคียง เราสามารถยอ เสนบอกขนาดใหสน้ั ลงไดดงั แสดง
ในรูปที่ 7.20ก แตแนวของเสนยังตองผานจุดศูนยกลางอยูเชนเดิม หรือ
อาจเขียนจุดศูนยกลางสมมติข้ึนมาจุดหนึ่งแลวลากเสนหักงอมาจบที่จุด
ศนู ยก ลางสมมติน้ัน แตแนวเสนที่มีหัวลูกศรยังคงตองลากใหมีแนวผานจุด
ศูนยกลางท่แี ทจริงดงั แสดงในรูปท่ี 7.20ข

(ก) (ข)
รปู ที่ 7.20 การเขยี นเสน leader lines เมอื่ จดุ ศูนยก ลางอยนู อกกระดาษเขียนแบบ

   Orthographic Reading  211 

6. ถาขอบของวัตถุประกอบดวยสวนโคงหลายสวนตอเนื่องกัน ก็ใหบอก
ขนาดรัศมีของแตล ะสวนโคง และตาํ แหนง จดุ ศนู ยกลางของสวนโคงน้ัน ดัง
แสดงในรูปที่ 7.21ก แตการบอกขนาดในกรณีนี้มีขอควรระวังคืออยา
ลากเสน leader lines เพ่ือบอกขนาดที่จุดสัมผัสของสวนโคงท่ีลาก
ตอเน่ืองกัน เพราะจะไมสามารถแยกออกไดวา เสน leader lines นั้นใช
บอกขนาดสว นโคง ใด ดังแสดงในรปู ท่ี 7.21ข

COMMON MISTAKE

Tangent point

(ก) (ข)
รปู ที่ 7.21 การเขยี นหมายเหตุทวั่ ไปในการบอกขนาดของ fillets และ rounds

7.3.3 การบอกขนาด fillets และ rounds
ใหบอกขนาดเปนรัศมีเชนเดียวกับหลักการบอกขนาดของสวนโคง น่ันคือใชเสน
leader lines และเขียนหมายเหตุเฉพาะท่ีกํากับ แตถาภาพของวัตถุท่ีวาดประกอบดวย fillets และ
rounds เปนจํานวนมากและยังมีขนาดท่ีเทา ๆ กันอีกดวย ในกรณีน้ีใหเขียนเปนหมายเหตุท่ัวไป
(general note) แทน ซึ่งมีรูปแบบของขอความดังนี้ “All fillets and rounds are Rxx” โดย xx คือ
ตัวเลขบอกขนาดของรัศมีน่ันเองดังแสดงในรูปที่ 7.22ก และถาเปนกรณีที่ fillets และ rounds สวน
ใหญมีคาเทากัน แตมีเพียงไมก่ีที่เทาน้ันท่ีมีรัศมีแตกตางไป กรณีเชนน้ีใหเขียนขอความวา “All
fillets and rounds are Rxx unless otherwise specified” แลวก็ใชเสน leader lines กับหมายเหตุ
เฉพาะท่ใี นการบอกขนาดกบั สว นโคง ที่มีรัศมที ี่แตกตางไปดังแสดงในรปู ท่ี 7.22ข

R12

NOTE: NOTE:
All fillets and round are R6.5 All fillets and round are R6.5
unless otherwise specified.
(ก)
(ข)

รูปที่ 7.22 การเขียนหมายเหตทุ ว่ั ไปในการบอกขนาดของ fillets และ rounds

212    Fundamental of Engineering Drawing 

7.3.4 การบอกขนาดทรงกระบอก
1. การบอกขนาดของทรงกระบอกตองใหขอ มูลของ ขนาดเสน ผาศูนยกลาง
และความยาวของทรงกระบอก ซึ่งสาเหตุที่ตองใหขอมูลเปนขนาด
เสนผาศูนยกลางนั้น เนื่องจากสามารถวัดขนาดไดดวยเคร่ืองมือดังแสดง
ในรูปที่ 7.23 แตถาใหขนาดเปนรัศมี เราจะไมสามารถหาตําแหนงจุด
ศนู ยก ลางเพ่ือวัดคารัศมีได

รปู ท่ี 7.23 การวัดขนาดของทรงกระบอกตองทําการวดั ขนาดเปนเสน ผาศูนยกลาง
2. การบอกขอมูลที่เก่ียวกับตําแหนงของทรงกระบอก จะตองบอกไปยังจุด
ศูนยกลางของทรงกระบอกและควรใหขอมูลน้ีในภาพที่เห็นทรงกระบอก
เปนวงกลมดงั แสดงในรูปที่ 7.24

รูปที่ 7.24 การบอกตาํ แหนงของทรงกระบอก
3. การใหขนาดของเสนผาศูนยกลางทรงกระบอก ควรใหในภาพท่ีเห็น

ทรงกระบอกตามความยาว และเขียนสัญลักษณ Ø นําหนาตัวเลขเพ่ือ
บอกขนาดเสนผาศนู ยก ลางดงั แสดงในรปู ที่ 7.25

φ 100   Orthographic Reading  213 
φ 70
รูปท่ี 7.25 การใหข นาดเปน เสนผาศนู ยก ลางของทรงกระบอก
7.3.5 การบอกขนาดรู

1. การบอกขนาดของรูตองบอกขนาดเปนเสนผาศูนยกลางและความลึก
ดวยสาเหตุที่คลายกับการบอกขนาดของทรงกระบอก น่ันคือเราสามารถ
วัดขนาดเสนผาศูนยกลางของรูดวยเครื่องมือดังแสดงในรูปท่ี 7.26 ได
สะดวกกวาการพยายามหาจุดศนู ยกลางของรูแลวคอยวัดรศั มี

รูปท่ี 7.26 การวัดขนาดของของรตู องทาํ การวัดขนาดเปนเสน ผา ศนู ยก ลาง
2. การบอกขอ มลู ที่เก่ียวกับตําแหนงของรู จะตองบอกไปยังจุดศูนยกลางของ
รนู นั้ และควรใหขอมูลน้ีในภาพทเ่ี ห็นรูเปน วงกลมดังแสดงในรูปที่ 7.27

รูปท่ี 7.27 การบอกตาํ แหนง ของรู

214    Fundamental of Engineering Drawing 

3. การบอกขนาดของรู ใหใชเสน leader line และหมายเหตุเฉพาะที่เพ่ือบอก
ขนาดเสนผาศูนยกลางและความลึกของรู โดยจะตองเขียนบอกขนาดใน
ภาพทเ่ี หน็ รูน้ันเปน วงกลม ถาเปนกรณีท่ีรูมีขนาดเล็กและรูนั้นถูกเจาะทะลุ
ใหเขียนบอกขนาดดวยเสน leader line รูปแบบใดรูปแบบหน่ึงดังท่ีแสดง
ในรปู ที่ 7.28ก-ง ซึ่งจากรปู จะเหน็ วา เสน leader line ตอ งมีทิศทางพุงเขาสู
จุดศูนยกลางของรู (หัวลูกศรตองหยุดอยูที่ขอบของรู หามพุงเขาไปหยุด
ท่ีจุดศูนยกลาง) และถาเปนรูท่ีเจาะทะลุเชนน้ีก็ไมจําเปนตองเขียน
ขอความใด ๆ ตามหลังการบอกขนาดของรูก็ได เพราะจะเปนท่ีทราบกัน
วา ถา ไมม ขี อความใด ๆ ตอ ทายตัวเลขบอกขนาดจะถอื วาเปนรูเจาะทะลุดัง
แสดงในรูปที่ 7.28ก และ 7.28ค สวนในกรณีท่ีรูเจาะไมทะลุ การบอก
ขนาดก็สามารถทําไดเชนเดียวกัน เพียงแตเพ่ิมเติมขอความบอกความลึก
ของรูเจาะวา มีคาเทา ใดตามหลังตัวเลขบอกขนาดดังแสดงในรูปท่ี 7.29 ขอ
สังเกตุเพิ่มเติมของรูเจาะไมทะลุก็คือ ภาพในดานหนาของรูเจาะดังท่ีแสดง
ในรูปท่ี 7.29 จะมีลักษณะเปนปลายแหลม เหมือนปลายแหลมของดอก
สวานท่ีใชเจาะรูน่ันเอง และความลึกของรูเจาะจะวัดจากผิวของวัตถุลึกลง
ไปจนถงึ แนวเสนตรงสดุ ทา ยกอนจะเขา ไปยังสวนของปลายแหลม

φ xx φ xx Thru. xx Drill. xx Drill, Thru.

(ก) (ข) (ค) (ง)
รูปที่ 7.28 การบอกขนาดของรเู จาะทะลุ

φ xx, yy Deep xx Drill, yy Deep
or

Hole’s
depth

รูปท่ี 7.29 การบอกขนาดของรเู จาะไมท ะลุ

   Orthographic Reading  215 

4. กรณีที่รูเจาะมีขนาดใหญ สามารถบอกขนาดรูไดโดยใชรูปแบบใดรูปแบบ
หนึ่งดังแสดงรูปท่ี 7.30ก-ค โดยรูปแบบแรกคือใชเสน extension line และ
เสน dimension line ในการบอกขนาด (รูปท่ี 7.30ก) สวนรูปแบบท่ีสองใช
เสน dimension line ลากเฉยี งผานจดุ ศูนยก ลางเพอ่ื บอกขนาด (รูปที่ 7.30
ข) และรูปแบบสุดทายคือใชเสน leader line และหมายเหตุเฉพาะที่
เหมอื นกับทใ่ี ชในกรณีรขู นาดเล็ก

Use extension and Use diametral Use leader line
dimension line dimension line and note

φ xx

(ก) (ข) (ค)

รปู ท่ี 7.30 การบอกขนาดสาํ หรับรขู นาดใหญ

5. สวนกรณีท่ีมักจะผิดพลาดบอย ๆ ในการบอกขนาดของรูไดแสดงรวมไว
ในรูปท่ี 7.31 ซึ่งมีท้ังการบอกขนาดดวยรัศมี แนวการลากเสน leader line
ไมผ านจุดศนู ยก ลาง ไมบ อกตําแหนง ของรูทีจ่ ุดศนู ยกลาง เปน ตน

COMMON MISTAKE

φ xx Rxx φ xx φ xx

φ xx
φ xx

รปู ที่ 7.31 การบอกขนาดสําหรบั รขู นาดใหญ

216    Fundamental of Engineering Drawing 

7.3.6 การบอกขนาด chamfer
แนวระนาบเอียงท่ีเกิดขึ้นบริเวณขอบของวัตถุท่ีมีลักษณะเหมือนการลบมุมนั้น เราจะ
เรยี กวา chamfer ดังตัวอยางในรปู ท่ี 7.32 จากรปู จะเปนทรงกระบอกซึ่งถกู ทํา chamfer ท่ีปลายขาง
หน่ึง โดยขอมูลที่ตองใชในการบอกขนาดของ chamfer น้ีจะประกอบดวยมุมและระยะที่จะทํา
chamfer ดงั แสดงในภาพออโธกราฟกของ chamfer ในรปู ที่ 7.33

S

รูปที่ 7.32 ทรงกระบอกทมี่ ี chamfer รูปที่ 7.33 ขอมลู ที่ตองใชบ อกขนาด
ของ chamfer

แตการบอกขนาด chamfer นั้นจะไมเขียนตามแบบในรูปที่ 7.33 แตจะใชเสน leader line ในการ
บอกขอมูลของมุมและระยะท่ีทํา chamfer ดังรูปแบบที่แสดงในรูปที่ 7.34ก แตถามุมของการทํา
chamfer น้ันมีคา เทา กับ 45 องศา ก็จะบอกขนาดตามรปู แบบในรูปที่ 7.34ข หรอื 7.34ค แทน

Sθ CS SS

(ก) (ข) (ค)

รูปท่ี 7.34 การบอกขนาดสําหรับ chamfer

7.3.7 การบอกขนาดกับวตั ถทุ ม่ี ปี ลายเปน สวนโคง (rounded-end)

หลักในการบอกขนาดสําหรับวัตถุที่มีปลายเปนสวนโคงดังตัวอยางในรูปท่ี 7.35ก นั้น
คือจะบอกขนาดจากขอบที่มีไมสวนโคงไปยังจุดศูนยกลางของสวนโคงที่ปลายอีกขางหนึ่ง แลวใช
เสน leader line ในการบอกขนาดของสวนโคง ซึ่งผูเขียนแบบสวนใหญมักจะใหขนาดกับวัตถุที่มี
ลกั ษณะเชนน้ีไมเหมาะสม นนั่ คือพยายามจะบอกขนาดของความกวางและความสูงท้ังหมดของวัตถุ

24   Orthographic Reading  217 

แลวใชเสน leader line ในการบอกขนาดของสวนโคงอีกครั้งหน่ึงดังท่ีแสดงในรูปที่ 7.35ข การบอก
ขนาดแบบนี้เปนการบอกที่ซ้ําซอน เน่ืองจากถาเราใหขอมูลตามรูปท่ี 7.35ก จะพบวาถาเอาระยะ
จากขอบท่ีไมมีสวนโคงไปถึงจุดศูนยกลางความโคงที่ปลายอีกขางหนึ่งบวกกับรัศมีสวนโคง เราก็จะ
ไดความกวางของวัตถุท้ังหมด และความสูงของวัตถุก็จะมีคาเทากับสองเทาของรัศมีนั่นเอง ดังนั้น
การใหข อ มลู ดงั แสดงในรูปท่ี 7.35ก ก็เพียงพอ

COMMON MISTAKE

R12 R12

21 33

(ก) (ข)
รปู ที่ 7.35 การบอกขนาดสําหรับวตั ถุทม่ี ปี ลายเปน สว นโคง
หลักของการลงขนาดสําหรับวัตถุท่ีมีปลายเปนสวนโคงอีกประการหน่ึงก็คือการลงขนาดโดยอางอิง
จากกระบวนการผลิตช้นิ สว นนนั้ ๆ ยกตัวอยางเชน ถาตอ งการสรางวัตถุทม่ี รี ูปรา งหนาตาดังแสดงใน
รูปที่ 7.36 เราก็ตองจัดเตรียมวัตถุท่ีมีรูปรางหนาตาดังแสดงในรูปที่ 7.37ก ข้ึนมากอน สวนการท่ีจะ
ผลติ ชิ้นสวนท่มี ลี กั ษณะดังรูปท่ี 7.37ก ข้ึนมาไดอยางไรน้ัน อยูนอกเหนือเนื้อหาที่เก่ียวกับงานเขียน
แบบวศิ วกรรมเบอื้ งตน ผูเรียนท่สี นใจสามารถศึกษาเพ่มิ เติมดวยตนเองเกยี่ วกบั กระบวนการผลติ

รูปที่ 7.36 วตั ถตุ วั อยา งสําหรบั การบอกขนาดตามกระบวนการผลติ

เมื่อไดวัตถุดังรูปที่ 7.37ก ขั้นตอนการผลิตถัดไปก็คือกระบวนการเจาะรู โดยใชสวานเจาะรู ณ
ตําแหนงที่หน่ึงกอนดังแสดงในรูปที่ 7.37ข เม่ือยกดอกสวานข้ึนแลวใหเลื่อนสวานไปยังตําแหนงท่ี
สองแลวทําการเจาะรูอีกคร้ังหน่ึง (รูปที่ 7.37ค) เมื่อเสร็จส้ินแลวก็จะไดวัตถุท่ีมีรูปรางหนาตาตามท่ี

218    Fundamental of Engineering Drawing 

ตองการ ดังแสดงในรูปที่ 7.37ง จากขั้นตอนการผลิตท่ีอธิบายมานี้จะเห็นวาขอมูลที่สําคัญประการ
หน่ึงในการผลิตน้ีก็คือ ระยะในการเลื่อนดอกสวานจากตําแหนงที่หน่ึงไปยังตําแหนงท่ีสองเพื่อทํา
การเจาะรู ดังนั้นเมื่อตองการบอกขนาดใหกับภาพออโธกราฟกของวัตถุช้ินนี้ก็จะตองบอกระยะจาก
จุดศนู ยกลางฝงหนึ่งไปยังจดุ ศนู ยกลางอีกฝงหน่ึงดงั แสดงในรปู ท่ี 7.38

(ก) (ข) (ค) (ง)
รูปที่ 7.37 วตั ถตุ ัวอยางสาํ หรบั การบอกขนาดตามกระบวนการผลติ

φ 12, 2 Holes R12

21

5

รปู ที่ 7.38 การบอกขนาดโดยอา งองิ กับกระบวนการผลิต

รูปที่ 7.39 แสดงตวั อยา งของวัตถุท่ีคลายกับตัวอยา งทีแ่ ลว เพียงแตคราวนบ้ี รเิ วณตรงกลางของวตั ถุ
มีลกั ษณะเปน รอ งยาว แทนทีจ่ ะเปนรูเจาะสองรู ซึ่งกระบวนการผลิตก็จะคลาย ๆ กัน นั่นคือเร่ิมจาก
เตรียมวัตถุที่มีรูปรางตามรูปท่ี 7.37ก ตอไปก็ทําการเจาะรู ณ ตําแหนงที่หน่ึงดังรูปท่ี 7.37ข เม่ือ
เจาะรูเสร็จแลวใหเคล่ือนดอกสวานจากตําแหนงที่หน่ึงไปยังตําแหนงท่ีสองโดยไมตองยกดอกสวาน
ขึ้นก็จะทําใหบริเวณตรงกลางของวัตถุเกิดรองตามที่ตองการ ดังน้ันการบอกขนาดสําหรับวัตถุ
ตัวอยางนี้ก็คือตองบอกระยะการเคล่ือนท่ีของดอกสวานและความกวางของรองที่ตองการ ซ่ึงจะ
เทากับขนาดของดอกสวานนั่นเอง สวนภาพออโธกราฟกของวัตถุตัวอยางนี้พรอมการบอกขนาดได
แสดงไวในรปู ที่ 7.40

12   Orthographic Reading  219 
5
รปู ที่ 7.39 วตั ถตุ วั อยางทม่ี รี องบริเวณกลางวัตถุ
10
5 16 R12

12 21

รูปที่ 7.40 การบอกขนาดของวตั ถตุ วั อยางทม่ี ีรอ งตรงกลาง
รปู ที่ 7.41 แสดงตัวอยางการบอกขนาดของวตั ถุทีม่ ีรอ งอีกตัวอยางหนึ่ง จากรูปจะเห็นไดวาการบอก
ขนาดท่ีบริเวณรองน้ันเหมือนกับที่แสดงในรูปที่ 7.40 เพียงแตในกรณีน้ีจะตองบอกขอมูลเพิ่มเติม
เก่ียวกับตําแหนงเริ่มตนของรอง โดยเราสามารถเลือกอางอิงกับขอบวัตถุดานใดดานหนึ่งก็ได สวน
รูปท่ี 7.42ก ก็เปนตัวอยางอีกแบบหนึ่งของวัตถุท่ีมีรอง แตรองของตัวอยางน้ีเปนรองแบบปลายเปด
ซ่ึงการบอกขนาดจะเปล่ียนไป โดยบอกเปนระยะจากขอบปลายเปดของรองไปยังปลายสวนโคง
ทายสุด แตอยางไรก็ดีระยะท่ีบอกนี้ก็มีคาเทากับระยะท่ีเครื่องกัดรองจะตองเดินทางเชนเดียวกันดัง
แสดงในรูปท่ี 7.42ข

R12

16 21

รปู ท่ี 7.41 การบอกขนาดและตําแหนงของรอ งในวัตถุตวั อยาง

220    Fundamental of Engineering Drawing  Cutting tool

R12

2710
Tool cutting distance5 12

(ก) (ข)
รูปที่ 7.42 การบอกขนาดสาํ หรับวตั ถทุ ม่ี รี องแบบปลายเปด
ตัวอยางสุดทา ยของการบอกขนาดกับวัตถุท่ีมีปลายเปนสวนโคงก็คือการบอกขนาดของรองลิ่ม (key
way) การบอกขนาดของรองลิ่มนี้สามารถทําไดสองแบบดวยกัน โดยแบบแรกจะบอกขนาดโดย
อางอิงกับขนาดมาตราฐานของลิ่ม (key) ท่ีจะนํามาใสในรองลิ่มน้ัน หรืออาจจะบอกโดยอางอิง
ข้นั ตอนการผลติ รองล่ิมน้นั ก็ได ซง่ึ ลกั ษณะของรองลม่ิ และลม่ิ ไดแสดงไวใ นรปู ท่ี 7.43

Key way

Key

รปู ท่ี 7.43 ลกั ษณะของรองลิม่ และลมิ่ บนเพลา
รูปท่ี 7.44ก แสดงการบอกขนาดของรองลมิ่ โดยอา งอิงจากขนาดมาตราฐานของล่ิมน่ันคือบอกขนาด
เปนความยาวของล่ิมท้ังหมด สวนรูปที่ 7.44ข เปนการบอกขนาดโดยอางอิงจากกระบวนการผลิต
ของรองลิ่ม

25 20

(ก) (ข)
รปู ท่ี 7.44 การบอกขนาดรองลิม่ ตามขนาดมาตราฐานของลมิ่ และข้นั ตอนการผลิต

   Orthographic Reading  221 

7.4 ตําแหนงการวางตวั ของการบอกขนาด
ในหัวขอสุดทายของบทน้ีจะเปนขอแนะนําเกี่ยวกับการวางตัวของการบอกขนาด ซึ่ง

ประกอบไปดว ยหวั ขอยอ ย ๆ ดงั น้ี

1. ไมควรลากเสน extension lines หรือเสน leader line ตัดเสน dimension line ดัง

ตวั อยา งที่แสดงในรูปท่ี 7.45

POOR GOOD

รปู ท่ี 7.45

2. ควรลากเสน extension lines ออกจากจุดที่ใกลท่ีสุดที่ตองการบอกขนาดดัง
ตัวอยางในรปู ที่ 7.46
GOOD
POOR

รูปที่ 7.46

3. ถาบริเวณที่ตองการบอกขนาดอยูภายในรูปแลว เสน extension lines จะตองลาก
ออกจากจุดที่อยูในรูปน้ัน และใหลากเสน extension lines ผานเสนรูปออกมาเลย
โดยไมตอ งเวน ชองวางดงั ตัวอยางในรปู ท่ี 7.47

WRONG CORRECT

รปู ท่ี 7.47

222    Fundamental of Engineering Drawing 

4. หามใชเสนรูป เสน center line หรอื เสน dimension line แทนเสน extension lines
นั่นหมายความวา ทุกคร้ังที่ตองการบอกขนาดตองลากเสน extension lines เสมอ
ดังตัวอยางที่แสดงในรปู ที่ 7.48

POOR GOOD

รูปท่ี 7.48

5. หลกี เลี่ยงการบอกขนาดกบั เสนประดังแสดงในรปู ที่ 7.49

POOR GOOD

รูปท่ี 7.49

6. ควรวางขอมูลท่ีตองการบอกขนาดไวนอกรูปท่ีวาดดังแสดงในรูปที่ 7.50 นอกจาก
วาการวางขอมูลนั้นในรูปจะใหขอมูลท่ีชัดเจนกวาหรือสามารถอานขอมูลไดงาย
กวาก็สามารถเขียนในรูปไดด งั ตัวอยางในรูปท่ี 7.51

POOR GOOD

รูปท่ี 7.50

   Orthographic Reading  223 
JUST OK !!!
BETTER

รูปท่ี 7.51

7. ใหบอกขนาดในภาพที่เห็นรูปรางหรือลักษณะที่ตองการบอกขนาดไดชัดเจนดัง
ตัวอยางที่แสดงในรูปท่ี 7.52 จากรูปจะเห็นวาถาตองการบอกขอมูลเกี่ยวกับความ
หนาของสวนใดสวนหน่ึงของวัตถุ เราควรจะเลือกภาพที่สามารถเห็นความหนานั้น
ไดอยางชัดเจน ซ่ึงในตัวอยางนี้ก็คือภาพดานหนา หรือการบอกขอมูลเกี่ยวกับ
ตาํ แหนง ของรู กค็ วรเลอื กบอกในภาพท่ีเหน็ รูเปน วงกลมนั่นเอง

POOR GOOD

รปู ท่ี 7.52

8. ควรจดั การลงขนาดใหอ ยรู วมกนั เปนกลุมใหไ ดมากทส่ี ุดดังตัวอยางในรปู ที่ 7.53

POOR GOOD

รูปท่ี 7.53

224    Fundamental of Engineering Drawing 

9. อยาลงขนาดซ้ําซอน เชนถาบอกขนาดความกวางของวัตถุในภาพดานหนาแลวก็
ไมตองบอกขนาดความกวางน้ันซํ้าในภาพดานบนอีก ดังตัวอยางที่แสดงในรูปท่ี
7.54

POOR GOOD

รปู ท่ี 7.54

7.5 บทสรปุ
ในบทนี้ไดอธิบายถึงหลักในการบอกขนาดเบ้ืองตน ซึ่งเร่ิมต้ังแตการแสดง

ความสัมพันธระหวางการบอกขนาดกับกระบวนการผลิตช้ินสวนในงานวิศวกรรม โดยเปาหมาย
หลักของการบอกขนาดในภาพออโธกราฟกที่วาดก็คือ ตองบอกขอมูลของขนาดวัตถุใหครบถวนท้ัง
ความกวาง สงู และลึก รวมถึงขนาดของสวนประกอบอน่ื ๆ ในวตั ถุดว ย เชน ขนาดรเู จาะ ขนาดของ
สวนโคงตาง ๆ เปนตน และขอมูลท่ีสําคัญอีกประการหน่ึงในการบอกขนาดท่ีจะลืมไมไดก็คือ
ตําแหนงของสวนประกอบเหลานี้น่ันเอง จากนั้นไดทบทวนเก่ียวกับสวนประกอบสําหรับการบอก
ขนาดซึ่งประกอบไปดวยเสน extension lines เสน dimension line เสน leader line ตัวเลขบอก
ขนาดและหมายเหตุ ถัดไปก็เปน หัวขอท่ีแสดงการบอกขนาดสําหรบั สว นตาง ๆ ที่อาจจะมีอยใู นภาพ
ออโธกราฟก เชน การบอกขนาด fillet และ round การบอกขนาดสว นโคง การบอกขนาดรู การบอก
ตําแหนง ของรู และการบอกขนาดกับวัตถุท่ีมีปลายเปนสวนโคง สุดทายเปนการแนะนําตําแหนงการ
วางการบอกขนาดเพ่ือใหการบอกขนาดนั้นอานไดงายและใหขอมูลท่ีไมซ้ําซอนซ่ึงอาจทําใหเกิด
ความสับสนในการผลิตได

   Orthographic Reading  225 

แบบฝก หดั

1. จงแกไขการบอกขนาดใหถ ูกตอ ง

226    Fundamental of Engineering Drawing 

2. จงแกไ ขการบอกขนาดใหถ กู ตอง

   Orthographic Reading  227 

3. จงบอกขนาดบนภาพออโธกราฟกดานลางใหสมบรู ณ

228    Fundamental of Engineering Drawing 

4. จงบอกขนาดบนภาพออโธกราฟกดา นลางใหส มบรู ณ

   Orthographic Reading  229 

5. จากภาพออโธกราฟกทใ่ี ห จงแกไขภาพใหส มบูรณ พรอ มบอกขนาดใหถกู ตอ ง

230    Fundamental of Engineering Drawing 

6. จากภาพออโธกราฟกทใ่ี ห จงแกไ ขภาพใหส มบรู ณ พรอมบอกขนาดใหถ ูกตอ ง

บทที่ 8

สัญนิยมของการเขยี นภาพ
ออโธกราฟก

ในบทนี้จะกลับไปกลาวถึงการเขียนภาพออโธกราฟกอีกครั้งหนึ่ง แตเปนเรื่องสัญนิยม
ของการเขียนภาพ ซึ่งผูเรียนก็คงเกิดความสงสัยวาสัญนิยมคืออะไร สัญนิยมก็คือขอตกลงที่เปนที่
ยอมรับรวมกันใหถือปฏิบัติในการเขียนภาพออโธกราฟก ซ่ึงในบางครั้งจะฝาฝนกฎของการเขียน
ภาพออโธกราฟกที่เคยเรียนมาแลว เพื่อใหภาพท่ีไดมีความชัดเจนมากย่ิงข้ึน สามารถสื่อสารทํา
ความเขาใจไดงายข้ึน ชวยใหการบอกขนาดทําไดสะดวกมากขึ้น สามารถลดการเขียนรูปใหนอยลง
และชวยใหใชพ้ืนที่ในการเขียนแบบไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นในบทนี้ผูเรียนจะไดพบกับการ
ใชสญั นยิ มแบบตา ง ๆ ในการเขยี นภาพออโธกราฟก

8.1 ชนิดของสญั นิยมในการเขียนภาพออโธกราฟก
ตามท่ีไดกลาวไวขางตนแลววาสัญนิยมก็คือขอตกลงเพ่ิมเติมที่จะถูกนํามาใชรวมกับ

การเขียนภาพออโธกราฟกเพ่ือใหภาพท่ีไดอานงายย่ิงขึ้น ซ่ึงก็จะเห็นวาเปาหมายหลักของเราก็
ยังคงเปนการเขียนภาพออโธกราฟกน่ันเอง สวนสัญนิยมนั้นเปนเพียงสวนประกอบเพ่ิมเติมเทานั้น
ดังนั้นผูเรียนก็ไมตองกังวลวาทําไมจึงมีเร่ืองที่ตองเรียนมากมายขนาดน้ี เพราะเมื่อสังเกตุใหดีจะ
พบวาเนอื้ หาสว นใหญก็ยงั คงเปนการเขียนภาพออโธกราฟก เทานนั้ เอง

สัญนิยมแบบหน่ึงท่ีผูเรียนไดเรียนผานมาแลวก็คือ การใชเสนประแทนขอบของวัตถุที่
ถกู บงั อยูน่ันเอง สว นชนดิ ของสัญนยิ มทจ่ี ะกลา วถงึ ในบทน้มี ีอยูห ลายแบบดว ยกนั ซึ่งไดแ ก

232    Fundamental of Engineering Drawing 

1. การวางตําแหนงของภาพดานขางอีกรูปแบบหน่ึง (alternative position of side
view)

2. การวาดภาพทีไ่ มส มบูรณตามแบบออโธกราฟก (incompleted view)
2.1 การเขยี นภาพดานขา งที่ไมสมบูรณ (incompleted side view)
2.2 การเขยี นภาพเพียงบางสวน (partial view)
2.3 การเขียนภาพเพียงครง่ึ เดียว (half view)
2.4 การเขียนภาพเฉพาะทข่ี องวัตถุ (local view)

3. การเขียนภาพแบบ align (aligned view)
4. การเขยี นภาพแบบขยาย (enlarge view)
5. การเขียนเสนทไี่ มเ กิดขึ้นตามหลักออโธกราฟก (non-existing intersection line)
6. รอยตัดของรกู ับทรงกระบอก

โดยในหัวขอยอยถัด ๆ ไปจะกลาวถึงชนิดของสัญนิยมในการเขียนภาพแตละชนิดดังที่ไดกลาวถึง
ดานบนอยา งละเอียดเพื่อใหส ามารถทาํ ความเขาใจไดง า ยขน้ึ

8.2 การวางตาํ แหนง ของภาพดา นขา งอีกรูปแบบหนงึ่
โดยปกติแลวตําแหนงของภาพดานขาง (ในกรณีของการฉายภาพแบบ 3rd angle) จะ

ไดวาภาพดานขวาจะตองวางตัวอยูดานขวามือของภาพดานหนา ภาพดายซายก็จะตองวางตัวอยู
ทางดา นซา ยมือของภาพดานหนา เปนตน แตถาวัตถุที่จะนํามาเขียนภาพออโธกราฟกน้ันมีลักษณะ
ท่ีความสูงของวัตถุมีคานอยกวาความลึกของวัตถุมาก ๆ ถาเปนเชนน้ีแลวการเขียนภาพ
ออโธกราฟก แบบธรรมดาจะทาํ ใหไ ดภาพดังแสดงในรปู ที่ 8.1

Top

Front Right

รปู ที่ 8.1 การเขยี นภาพออโธกราฟกแบบธรรมดา

Right  Convention in Orthographic Writing  233 

จากรูปจะเห็นวาเกิดการสูญเสียพ้ืนท่ีบริเวณดานขวาบนเปนอยางมากและพื้นที่ระหวางรูปกับกรอบ
กระดาษก็เหลือนอยมากเชนเดียวกัน ซ่ึงทําใหการบอกขนาดทําไดลําบาก สัญนิยมของการเขียน
ภาพในกรณที ่ีวตั ถุมีความสูงนอ ยกวาความลึกมาก ๆ เชน นีก้ ็คือ เราสามารถยายภาพดา นขวาข้ึนไป
วางขางภาพดานบนดังแสดงในรูปที่ 8.2 ได ซ่ึงจะทําใหการใชพ้ืนท่ีบนกระดาษเขียนแบบมี
ประสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ข้ึนและยังเหลอื พื้นที่จากขอบกระดาษเพ่ือบอกขนาดไดมากขึ้นดวย เพ่ือใหเห็น
ลักษณะการประยุกตใชสัญนิยมขอน้ีไดชัดเจนขึ้นจึงขอยกตัวอยางภาพออโธกราฟกของวัตถุดัง
แสดงในรปู ท่ี 8.3ก-ข

Top

Front

รูปที่ 8.2 ตําแหนงของภาพดานขา งในอีกรปู แบบหนงึ่

(ก) (ข)
รปู ท่ี 8.3 ตวั อยางของการวางตําแหนง ของภาพดา นขางในอีกรปู แบบหนงึ่
จากตัวอยางในรูปที่ 8.3ก-ข ก็จะเห็นวาการยายภาพดานขวาข้ึนไปวางไวขางภาพดานบนน้ัน
นอกจากจะทําใหการใชพื้นท่ีบนกระดาษเขียนแบบเกิดประสิทธิภาพและมีพ้ืนท่ีสําหรับการบอก
ขนาดเพ่ิมขึ้นแลว ยังสามารถอานแบบไดงายข้ึนดวย เชน เสนประท่ีเกิดข้ึนบนภาพดานบนน้ัน เรา
สามารถลากเสน projection ไปยังภาพดานขวาซ่ึงถูกยายขึ้นมาวางขาง ๆ แลว เพ่ือหาขอมูลวา

234    Fundamental of Engineering Drawing 

เสนประนั้นคืออะไรไดงายย่ิงข้ึน ซึ่งจากตัวอยางในรูปที่ 8.3ข เราก็จะไดวาเสนประนั้นก็คือรองรูป
สี่เหลย่ี มที่เซาะทะลตุ ลอดความยาวของวัตถุนน่ั เอง

8.3 การเขียนภาพดา นขา งที่ไมส มบูรณ

สัญนิยมในหัวขอนี้คือการเขียนภาพดานขางท่ีไมสมบูรณ เราจะใชสัญนิยมนี้ในการตัด
เสนบางเสนที่จากเดิมตองเขียนในภาพ ๆ นั้นออก โดยเฉพาะอยางยิ่ง “เสนประ” เพื่อใหภาพที่ได
แสดงขอมลู ของวตั ถทุ ่เี หน็ ไดใ นทศิ ทางน้ัน ๆ เทาน้ัน ซึ่งจะทําใหภาพมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้นและผู
ที่ตองการอานภาพอานแลวไมสับสน เพ่ือใหเขาใจหลักการดังกลาวไดดียิ่งข้ึนขอใหศึกษาจาก
ตัวอยางในรูปท่ี 8.4 จากรูปเปนภาพออโธกราฟกของวัตถุช้ินหน่ึงที่มีลักษณะบางและถูกงอเปนรูป
ตัว U ดังที่เห็นในภาพดานหนาของวัตถุ ซ่ึงเมื่อดูที่ภาพดานซายจะเห็นวาขอบขาของตัว U ที่ยื่น
ขึ้นมาทางดานซายน้ันมีลักษณะเปนส่ีเหล่ียม สวนขาตัว U ที่ย่ืนข้ึนมาทางดานขวาจะมีลักษณะ
ปลายโคงมนและสงู นอยกวาขาดานซา ย ทําใหภาพออโธกราฟกที่เกิดขึ้นมีท้ังเสนรูปของขาดานซาย
เสนประของขาดานขวาบางสวนและบางสวนของขาดานขวาก็เห็นเปนเสนรูปดวยในภาพดานซาย
ลักษณะเชนนี้อาจทําใหเกิดความสับสนมากย่ิงขึ้นกับการอานภาพของวัตถุและย่ิงถาวัตถุนั้นมี
รายละเอียดท่ีซับซอนกวาน้ีก็ยิ่งจะทําใหการอานภาพลําบากมากย่ิงข้ึนดวย ดังน้ันถาเรา
ประยุกตใชสัญนิยมในหัวขอนี้ เราก็จะไดภาพออโธกราฟกดังแสดงในรูปท่ี 8.5 ซึ่งจะเห็นวาภาพที่
ไดนน้ั สะอาดตามากกวาและนา จะทําใหผอู า นแบบสามารถอานแบบไดงา ยข้ึนดว ย

Left-side view Principal view Right-side view

รปู ท่ี 8.4 ตัวอยางภาพออโธกราฟก ที่ประกอบดว ยเสน มากมายที่อาจทาํ ใหเ กดิ ความสับสน

Incompleted Principal view Incompleted
left-side view right-side view

รูปที่ 8.5 ตัวอยา งการเขยี นภาพดา นขา งที่ไมสมบรู ณโ ดยการตดั เสน ประบางเสนออก

  Convention in Orthographic Writing  235 

จากรปู ท่ี 8.5 จะเห็นวา ภาพดานซายและภาพดา นขวาทน่ี ําเอาสญั นิยมมาประยุกตใ ชนั้น ไมจําเปนที่
จะตองกําจัดเสนประใหหมดไป เพราะถาเสนประนั้นไมรบกวนการอานขอมูลจากภาพและสามารถ
ใหขอมูลเพิ่มเติม (ในตัวอยางนี้ เสนประใหขอมูลความหนาของพ้ืนวัตถุ) แกผูอานแบบดวย กรณี
เชนนี้สามารถท่ีจะเก็บเสนประดังกลาวไวในรูปก็ได อีกตัวอยางหน่ึงของการประยุกตใชสัญนิยมใน
หัวขอน้ีสําหรับการเขียนภาพออโธกราฟกไดแสดงไวในรูปที่ 8.6 จากรูปจะเห็นวาภาพดานซายและ
ภาพดานขวาของวัตถุนี้เมื่อวาดตามหลักออโธกราฟกแลวจะมีความซับซอนมาก ซึ่งถาประยุกตใช
สัญนิยมเขาไปในการเขียนภาพแลวก็จะทําใหไดภาพดังแสดงในรูปที่ 8.7 จากรูปจะเห็นไดวาภาพท่ี
ไดมีความซับซอนนอ ยลงและใหรายละเอียดของวัตถุเมอื่ มองในทิศทางนั้น ๆ ไดช ดั เจนข้นึ

Principal view

รูปท่ี 8.6 ตัวอยางภาพออโธกราฟก ท่ปี ระกอบดว ยเสน มากมายทอี่ าจทาํ ใหเ กิดความสบั สน

Principal view

รปู ท่ี 8.7 ตัวอยางภาพออโธกราฟก ที่ประกอบดว ยเสน มากมายทอ่ี าจทําใหเกิดความสับสน

236    Fundamental of Engineering Drawing 

8.4 การเขียนภาพเพียงบางสว น
สัญนิยมแบบนี้จะใชเพื่อแสดงภาพเพียงบางสวนของวัตถุเทานั้น ซึ่งการที่จะตองวาด

ภาพทั้งหมดของวัตถุในมุมมองใดมุมมองหนึ่งอาจไมมีความจําเปนและไดขอมูลที่ไมเหมาะสมดวย
ดังนั้นเราสามารถเลือกวาดเพียงบางสวนของวัตถุก็ได ซ่ึงสวนน้ันมักจะมีรายละเอียดหรือขอมูลที่
สําคัญและแตกตางไปจากบริเวณอื่น ยกตัวอยางเชนภาพของวัตถุท่ีแสดงในรูปที่ 8.8ก จากภาพ
เปนวัตถุที่มีลักษณะเปนแขนงอคลายบูมเมอแรง ซ่ึงการมองวัตถุแบบน้ีโดยใชมุมมองปกติ
(ดานซา ย ดา นขวาหรอื ดานบน) จะไมสามารถเหน็ รูปรางหรอื ขนาดที่แทจริงของบางสวนของวัตถุได
เพราะทิศทางการมองไมต้ังฉากกับสวนน้ันของวัตถุ ดังนั้นทิศทางการมองดังแสดงในรูปท่ี 8.8ข จะ
เปนทิศทางการมองที่ต้ังฉากกับแตละสวนของวัตถุเพ่ือที่จะไดภาพที่สามารถแสดงรูปรางและขนาด
ของสว นน้นั ๆ ไดถ กู ตอ ง ซ่งึ ภาพออโธกราฟก ท่ไี ดจ ะมลี กั ษณะดงั แสดงในรปู ท่ี 8.9

View direction 

View direction 

(ก) (ข)
รูปที่ 8.8 วัตถุตวั อยา งสาํ หรบั การแสดงภาพเพยี งบางสว น

รูปที่ 8.9 ภาพออโธกราฟกท่แี สดงภาพเพยี งบางสวนของวัตถุ

  Convention in Orthographic Writing  237 

8.5 การเขยี นภาพเพียงครง่ึ เดยี ว
ในกรณ่ีท่ีภาพของวัตถุมีความสมมาตรดังตัวอยางท่ีแสดงในรูปท่ี 8.10ก เราสามารถ

ใชสัญนิยมน้ีมาชวยลดภาระในการวาดรูปลงได เนื่องจากเราจะวาดสวนของวัตถุที่สมมาตรน้ีเพียง
คร่ึงเดียวเทานั้นดังแสดงในรูปท่ี 8.10ข จากรูปจะเห็นวาเราใชเสน center line เปนเสนแสดงความ
สมมาตรของวัตถุ แลวใชสัญลักษณที่เหมือนเคร่ืองหมายเทากับ “ = ” เขียนครอมบริเวณปลายเสน
center line ท่ีแสดงความสมมาตรนั้น โดยปกติเราจะเลือกเขียนดานท่ีสมมาตรในฝงท่ีใกลกับอีก
ภาพหนงึ่ ซ่งึ ในตัวอยางนเ้ี ราเลือกเขยี นภาพคร่งึ ดานซา ยเพราะอยูตดิ กบั ภาพดา นซายของวตั ถุ

(ก) (ข)
รปู ที่ 8.10 วตั ถตุ ัวอยา งสําหรบั การแสดงภาพเพียงคร่งึ เดยี ว

(ก) (ข)
รปู ท่ี 8.11 การแสดงภาพเพยี งคร่ึงเดยี วในรูปแบบอ่ืน
อยางไรก็ดียังมีรูปแบบอื่น ๆ สําหรับการแสดงภาพของวัตถุเพียงคร่ึงเดียวอีก รูปแบบท่ีนําเสนอใน
ท่ีน้ีแสดงไวในรูปท่ี 8.11ก-ข โดยรูปแบบแรก (รูปที่ 8.11ก) จะเขียนเสนของวัตถุเลยแนวสมมาตร
(เสน center line) ออกมาเล็กนอยและไมตองเขียนสัญลักษณบอกความสมมาตร “ = ” ลงไปในรูป
สวนรปู แบบท่สี องจะเขยี นเหมอื นกับรปู ที่ 8.11ก เพยี งแตเ พ่มิ เสน break line เขาไปดังแสดงในรูปที่
8.11ข โดยเสน break line น้จี ะเปน เสนทเ่ี ขยี นหกั ไปมาและใชเ สนเบา

7238    Fundamental of Engineering Drawing 

8.6 การเขยี นภาพเฉพาะที่
ในกรณีท่ีวัตถุมีความซับซอนไมมากนัก การเขียนภาพเพียงภาพเดียวก็สามารถให

ขอ มูลเกี่ยวกบั ขนาดและรูปรางของวตั ถไุ ดครบถวน แตในบางคร้ังบนวัตถุท่ีมีความซับซอนไมมากน้ี
อาจมีรายละเอียดบางอยางท่ีตองแสดงเพิ่มเติมดวย แตการที่จะตองวาดภาพอีกภาพของวัตถุในอีก
มุมมองเพื่อใหเห็นรายละเอียดสวนน้ัน ๆ ก็จะเปนการเพิ่มภาระโดยไมจําเปนและเสียเวลาในการ
เขียนแบบดวย สัญนิยมในหัวขอน้ีจะสามารถชวยใหผูเขียนแบบสามารถแสดงรายละเอียดเฉพาะท่ี
บนวัตถุน้ันโดยไมตองเขียนภาพท้ังภาพได เพื่อใหเกิดความเขาใจมากขึ้นเกี่ยวกับสัญนิยมในหัวขอ
น้ี ขอใหศึกษาภาพวัตถุตัวอยางดังแสดงในรูปท่ี 8.12 จากภาพจะเห็นวาเราวาดภาพออโธกราฟก
เพียงภาพเดยี วแลวใชสญั นยิ มในหัวขอน้ีในการแสดงรายละเอียดของรองทางดานขางของวัตถุ ดวย
การวาดเฉพาะรองเทานั้น ไมตองวาดสวนขางเคียงของวัตถุเหมือนกับวิธีการเขียนภาพเพียง
บางสวน และการแสดงรายละเอียดเฉพาะท่ีของวัตถุเชนน้ีก็ยังทําใหการบอกขนาดกับสวนนั้น ๆ
สามารถทาํ ไดโ ดยงายดวย

R6

รปู ที่ 8.12 ตัวอยางการแสดงภาพเฉพาะทขี่ องวตั ถุ

8.7 การเขียนภาพแบบ align
บางครั้งการเขียนแบบโดยยึดหลักการฉายภาพแบบออโธกราฟกอยางเครงครัด จะทํา

ใหภาพที่ไดประกอบไปดวยเสนมากมายโดยเฉพาะอยางย่ิงเสนประ ดังแสดงในรูปที่ 8.13ก จาก
ภาพจะเห็นวา ภาพดานขางน้ันประกอบไปดวยเสนประมากมาย ซึ่งทําใหผูอานแบบเกิดความสับสน
กับเสนประมากมายเชนน้ีได อีกทั้งยังตองเสียเวลาในการวาดมากดวย แตถาเรานําเอาสัญนิยมท่ีจะ
กลาวถึงในหัวขอ นม้ี าประยุกตใช จะทําใหภาพออโธกราฟกท่ีไดมีลักษณะดังแสดงในรูปท่ี 8.13ข จะ
เห็นวาภาพที่ไดม ีเสน ประทนี่ อ ยลงและสามารถอา นแบบไดง า ยขน้ึ ดว ย

  Convention in Orthographic Writing  239 

(ก) ภาพออโธกราฟกธรรมดา (ข) การเขียนภาพแบบ align

รูปที่ 8.13 เปรียบเทยี บภาพออโธกราฟก แบบธรรมดากับภาพเขยี นแบบ align

ในทางปฏบิ ตั นิ นั้ ถาวตั ถมุ ีองคประกอบภายใน เชน รูหรือแผนครีบ วางตัวสมมาตรรอบ
แกนของวตั ถซุ ึง่ เมือ่ ฉายภาพแบบออโธกราฟกตามปกติแลวองคประกอบภายในนั้นไมแสดงขนาดที่
แทจริงของตัวเองหรือแสดงระยะที่ไมถูกตองของการวางตัวรอบแกนสมมาตรได กรณีเชนน้ีให
นําสัญนิยมแบบ align มาประยุกตใช โดยหลักการของสัญนิยมแบบน้ีก็คือ ใหผูเขียนแบบ
จินตนาการวาสามารถหมุนองคประกอบภายในของวัตถุนั้นรอบแกนสมมาตร จนกระทั่ง
องคประกอบดังกลาวสามารถแสดงขนาดหรือระยะสมมาตรที่แทจริงบนภาพขางเคียงได รวมถึงใน
กรณีท่ีภาพฉายขององคประกอบน้ันส่ือความหมายที่อาจทําใหผูอานแบบเขาใจผิดก็สามารถ
นาํ เอาสญั นิยมแบบ align มาประยุกตใ ชไ ดดวยเชน เดยี วกนั และเพอ่ื ใหเ ขา ใจถึงการใชสัญนิยมแบบ
น้ีไดดียิ่งข้ึน ขอใหพิจารณาตัวอยางดังท่ีแสดงในรูปท่ี 8.14ก ถาฉายภาพของวัตถุตัวอยางนี้ตาม
หลกั การออโธกราฟกแลว เราจะไดภ าพดังแสดงในรูปที่ 8.14ข จากภาพจะพบวาผูอานแบบอาจเกิด
ความเขาใจผิดไดวามีรูเจาะอยูกลางวัตถุ เน่ืองจากมีเสนประเกิดขึ้นตรงกลางของภาพดานหนา
ดังน้ันใหใชสัญนิยมแบบ align มาประยุกตใช โดยจินตนาการวาสามารถหมุนรูเจาะในแนวด่ิง
จนกระท่ังรูน้ันวางตัวอยูในแนวนอนดังแสดงในรูปท่ี 8.14ค ซึ่งเมื่อฉายภาพไปยังภาพดานหนาแลว
กจ็ ะไดภ าพออโธกราฟก ของวัตถนุ ี้ดังแสดงในรูปที่ 8.15 สว นภาพดา นบนยงั คงเขยี นเหมอื นเดมิ

(ก) (ข) (ค)

รปู ที่ 8.14 วตั ถตุ วั อยา งสําหรบั การแสดงสญั นยิ มแบบ align

240    Fundamental of Engineering Drawing 

รปู ที่ 8.15 ภาพเขียนเม่อื ประยุกตใ ชส ัญนยิ มแบบ align
ตัวอยา งถัดไปดงั แสดงในรปู ท่ี 8.16ก มลี กั ษณะคลายกับตวั อยางในรูปท่ี 8.14ก แตมีรเู จาะเพียงสาม
รูเทาน้ัน ซึ่งถาฉายภาพออโธกราฟกแบบปกติแลวเราจะไดภาพดังในรูปท่ี 8.16ข จากรูปจะเห็นวา
เสนประท่ีแสดงขอบของรูในภาพดานหนาน้ัน อาจทําใหผูอานแบบเขาใจวารูเจาะบนวัตถุนั้นไม
สมมาตร ดังนั้นจึงควรนําสัญนิยมแบบ align มาประยุกตใช โดยใหผูเขียนแบบจินตนาการวา
สามารถหมุนรูเจาะสองรูดังที่แสดงดวยเสนสีแดงในรูปที่ 8.16ค มายังแนวระดับ จากนั้นฉายภาพ
ของรูเจาะทั้งสองนีจ้ ากตาํ แหนง ใหม เพราะเมื่อฉายภาพของรูเจาะจากตําแหนงนี้แลวจะไดระยะของ
รูท่ีหางจากแกนสมมาตรท่ีถูกตอง และจะทําใหภาพออโธกราฟกสุดทายของวัตถุนี้เปนดังภาพท่ี
แสดงในรปู ท่ี 8.17

(ก) (ข) (ค)
รูปท่ี 8.16 วตั ถตุ วั อยา งทสี่ องสาํ หรบั การแสดงสัญนยิ มแบบ align

ส่ิงสําคัญในการประยุกตใชสัญนิยมแบบ align นี้ก็คือ เราเพียงแตจินตนาการวาสามารถหมุน
สว นประกอบนนั้ ๆ ไปยงั ตําแหนง ทสี่ ามารถแสดงขนาดหรอื ระยะท่ีแทจ ริงไดเทา นั้น ไมใชวาเรายาย
ตําแหนงของสวนประกอบนั้นไปยังตําแหนงท่ีแสดงไวจริง ๆ ดังน้ันจะเห็นไดวาภาพดานบนใน
ตวั อยางทนี่ ํามาแสดงนยี้ ังคงตองวาดสว นประกอบนน้ั ๆ ในตาํ แหนงเดิมเสมอ

  Convention in Orthographic Writing  241 

รูปที่ 8.17 ภาพออโธกราฟก ของวัตถตุ วั อยา งท่สี องทีใ่ ชสัญนยิ มแบบ align
ตวั อยางทส่ี ามมลี ักษณะคลายกับตัวอยางแรกเหมือนกัน เพียงแตมีรูเจาะขนาดใหญอยู
ตรงกลางวัตถุดวยดังแสดงในรูปท่ี 8.18ก ซึ่งเม่ือประยุกตใชสัญนิยมแบบ align โดยจินตนาการวา
หมุนรูเจาะในแนวด่ิงมาอยูในแนวระดับแลวฉายภาพมายังภาพดานหนาอีกครั้ง ก็จะไดภาพออโธก
ราฟกสดุ ทายดงั แสดงในรูปท่ี 8.18ข

(ก) (ข)
รูปที่ 8.18 วตั ถตุ ัวอยา งทส่ี ามสําหรบั การแสดงสญั นิยมแบบ align
ตัวอยางท่ีสี่เปนวัตถุท่ีมีแผนครีบย่ืนออกมาสามแฉกดังแสดงในรูปท่ี 8.19ก และเม่ือ
ฉายภาพแบบออโธกราฟกตามปกติแลวก็จะไดภาพดังแสดงในรูปที่ 8.19ข ซ่ึงจะเห็นไดวาภาพ
ดานหนาของวัตถุน้ีมีความซับซอนมากและวาดไดยากดวย แตถาประยุกตใชสัญนิยมแบบ align
โดยการหมุนแผนครีบดังที่แสดงดวยเสนสีแดงมายังแนวระดับ (รูปที่ 8.19ค) แลวฉายภาพลงมายัง
ภาพดานหนาก็จะทําใหเราไดภาพออโธกราฟกสุดทายดังแสดงในรูปที่ 8.20 จากรูปจะพบวา รูปท่ี
ไดสามารถทําใหผูอานแบบเขาใจไดทันทีวาแผนครีบที่ย่ืนออกมานั้นมีลักษณะเปนสามเหล่ียม และ
ยื่นออกมาจากบรเิ วณตรงกลางอยา งสมมาตร

242    Fundamental of Engineering Drawing 

(ก) (ข) (ค)
รปู ที่ 8.19 วตั ถตุ วั อยา งทส่ี ส่ี าํ หรบั การแสดงสญั นยิ มแบบ align

รปู ท่ี 8.20 ภาพออโธกราฟก ของวตั ถตุ วั อยา งทสี่ ที่ ใ่ี ชส ญั นิยมแบบ align
ตัวอยางที่หาเปนการผสมผสานระหวางตัวอยางที่ส่ีกับตัวอยางท่ีสอง นั่นคือวัตถุมีทั้ง
แผนครีบและรูเจาะ (รูปท่ี 8.21ก) ทําใหภาพฉายออโธกรฟกแบบปกติจะมีลักษณะดังแสดงในรูปที่
8.21ข ซ่ึงการประยุกตใชสัญนิยมแบบ align นี้ก็สามารถทําไดโดยการหมุนท้ังแผนครีบและรใู หมา
อยูในแนวระดับเพ่ือฉายภาพมายังภาพดานหนา (รูปที่ 8.21ค) ซ่ึงก็จะทําใหไดภาพออโธกราฟก
สดุ ทายดังแสดงในรูปท่ี 8.22 ตวั อยา งสดุ ทายของหัวขอนี้จะเหมือนกับตัวอยางท่ีหาเพียงแตเพ่ิมรอง
ลม่ิ เขาไปบริเวณดมุ ตรงกลางดวย ซง่ึ ภาพออโธกราฟก ของตัวอยา งสุดทายนี้จะมีลักษณะดังแสดงใน
รปู ที่ 8.23
8.8 การเขียนภาพแบบขยาย
สัญนิยมในหัวขอนี้จะเลือกบางสวนของภาพออโธกราฟกแลวนํามาเขียนใหมโดยใช
สเกลที่ขยายสวนน้ันใหใหญขึ้น ซ่ึงจะชวยใหผูอานแบบเห็นรายละเอียดในสวนน้ันไดชัดเจนและยัง
สามารถลงขนาดไดง ายขึ้นดว ย โดยตวั อยา งของการเขียนภาพแบบขยายนี้ไดแ สดงไวใ นรูปที่ 8.24

  Convention in Orthographic Writing  243 

(ก) (ข) (ค)
รปู ที่ 8.21 วตั ถตุ วั อยา งทหี่ า สําหรบั การแสดงสัญนยิ มแบบ align

รูปท่ี 8.22 ภาพออโธกราฟกของวัตถตุ วั อยา งท่หี า ท่ีใชสญั นยิ มแบบ align

รปู ที่ 8.23 วตั ถตุ วั อยา งทหี่ กสําหรบั การแสดงสัญนิยมแบบ align

244    Fundamental of Engineering Drawing 

จากภาพจะเห็นวาเม่ือตองการขยายรายละเอียดสวนใดในภาพออโธกราฟก ใหเขียนกรอบลอมรอบ
บริเวณน้ันไวแลวตั้งชื่อกรอบดวย (ในตัวอยางน้ีใชกรอบวงกลมแลวต้ังช่ือกรอบวา A) จากน้ันใหนํา
รายละเอียดภายในบรเิ วณทถี่ กู ลอ มกรอบไวไ ปเขียนเปน ภาพขยาย โดยภาพขยายที่เขียนนั้นอาจจะ
วาดกรอบลอมรอบไวหรือไมก็ใชเสน break line ชวยจํากัดขอบเขตของภาพขยายท่ีเขียนก็ไดดัง
ตัวอยางท่ีแสดงในรูปที่ 8.24 สวนภาพที่ขยายน้ันจะตองเขียนช่ือกรอบกํากับไวเสมอพรอมท้ังสเกล
ทใ่ี ชข ยายภาพนั้น

or

A A (3:1)
A (3:1)

รปู ท่ี 8.24 ตัวอยา งการเขยี นภาพขยาย

8.9 การเขียนเสน ทไ่ี มเ กิดขึน้ ตามหลกั ออโธกราฟก

ในบางครั้งถาใชการฉายภาพออโธกราฟกแบบปกติ ภาพท่ีไดอาจทําใหผูอานแบบ
เขาใจผิดเก่ียวกับรูปรางลักษณะของวัตถุจริง ๆ ก็ได ดังน้ันการเพิ่มเสนเขาไปในภาพบางเสนซึ่ง
เปนการฝาฝนกฎการเขียนภาพออโธกราฟกที่ไดเคยเรียนไปแลวน้ัน อาจทําใหผูอานแบบเขาใจถึง
รูปรางลักษณะของวัตถุไดถูกตองมากยิ่งขึ้น โดยปกติแลวเสนท่ีเพ่ิมเขาไปน้ันจะเปนเสนท่ีควร
เกิดข้ึนถาไมมี fillet หรือ round บนวัตถุ และเพ่ือใหเขาใจสัญนิยมในหัวขอน้ีไดดียิ่งข้ึน จึงขอใหดู
ภาพวตั ถุตวั อยา งในรปู ที่ 8.25ก จากรปู เปนภาพออโธกราฟก ของวัตถุท่ีไมมี fillet และ round ดังนั้น
ขอบของพน้ื ผวิ ทม่ี ลี กั ษณะเปนกรวยท่ีถกู ตัดยอดนั้นจึงถูกแสดงดวยเสนวงกลมในภาพดานบน สวน
รูปที่ 8.25ข แสดงภาพออโธกราฟกของวัตถุลักษณะเดียวกันแตคราวนี้มี fillet และ round ที่ขอบ
ของกรวย ซงึ่ ตามหลกั การฉายภาพออโธกราฟกแลว บริเวณท่ีเปน fillet หรือ round จะไมทําใหเกิด
เสนบนภาพขางเคียง ดังน้ันภาพท่ีไดจึงควรมีลักษณะดังแสดงในรูปท่ี 8.25ข แตจากภาพดานบน
ของวัตถุจะเห็นไดวาผูอานแบบอาจเขาใจผิดไปวาวัตถุน้ีเปนแผนส่ีเหลี่ยมธรรมดาที่ถูกเจาะรู
สัญนิยมในหัวขอนี้จึงแนะนําวาถาเราฉายภาพตามหลักการออโธกราฟกที่กลาววา พ้ืนผิวโคงที่
ตอเน่ืองกันอยางเชนผิว fillet หรือ round น้ันจะไมทําใหเกิดเสนขึ้นในภาพขางเคียงแลว อาจทําให
ผูอานแบบเขาใจผิดเก่ียวกับรูปรางของวัตถุได ก็ใหละหลักการขอน้ีไปแลวเขียนเสนที่แสดงถึงรอย
ตัดสมมติของพ้ืนผิวเหลาน้ันเม่ือไมมี fillet หรือ round เกิดข้ึน ดังนั้นภาพออโธกราฟกของวัตถุท่ีมี

  Convention in Orthographic Writing  245 

fillet และ round ดังแสดงในรูปที่ 8.25ข จึงควรเปนดังรูปที่ 8.26 สวนรูปที่ 8.27 ก็เปนอีกตัวอยาง
หน่ึงที่ใชสัญนิยมของหัวขอน้ี โดยวัตถุมีลักษณะเปนอางนํ้ากนลึกและขอบมุมดานในของอางมี
ลักษณะเปน fillet ซึ่งตามความเปนจริงแลวไมตองเขียนเสนแสดงขอบมุมดานในของอางก็ได แตก็
จะทําใหภาพที่ไดไมสื่อถึงอางที่มีความลึก ดังนั้นจึงควรเขียนเสนแสดงขอบดานในของขอบอางน้ัน
ดว ยดงั แสดงในรปู ที่ 8.27

(ก) (ข)
รูปท่ี 8.25 ตวั อยา งภาพออโธกราฟก ของวตั ถทุ ี่มแี ละไมมี fillet และ round

รปู ท่ี 8.26 การใชส ญั นิยมในภาพออโธกราฟก ของวตั ถุทไี่ มมี fillet และ round

รปู ที่ 8.27 ตัวอยางการใชส ัญนยิ มในการเขยี นเสน ทไี่ มเ กดิ ขน้ึ ตามหลกั ออโธกราฟก

246    Fundamental of Engineering Drawing 

กอนที่จะกลาวถึงหัวขอสุดทายของสัญนิยม จะขอยกตัวอยางกรณีที่พื้นผิว fillet หรือ round มา
บรรจบกัน เพราะเม่ือพื้นผิวเหลานี้มาบรรจบกันแลวจะทําใหเกิดรอยตัดในลักษณะแปลก ๆ ขึ้น ซึ่ง
เราจะเรยี กรอยตัดน้ันวา run out ตัวอยางของ run out แบบตาง ๆ ท่ีอาจจะเกิดขึ้นนี้ ไดนํามาแสดง
รวมไวใ นรปู ที่ 8.28 และ 8.29ก-ค

Runout

รปู ที่ 8.28 ตัวอยางแรกของรอยตดั ที่เรียกวา run out

(ก) (ข)

(ค)
รูปที่ 8.29 ตัวอยา งท่สี องของรอยตัดทีเ่ รียกวา run out

  Convention in Orthographic Writing  247 

รูปที่ 8.30 แสดงหลักการในการเขียน run out ซ่ึงจากรูปจะเห็นวาบริเวณที่ส้ินสุดของเสน run out
น้ันจะตองอยูในแนวเดียวกันกับตําแหนงจุดสัมผัสเม่ือพื้นผิวสองพ้ืนผิวมาบรรจบกัน สวนตัวอยาง
สุดทายในรูปที่ 8.31 น้ันจะแสดงใหเห็นวา ถึงแมวัตถุจะมีรูปรางลักษณะที่คลาย ๆ กันแตถาขนาด
ของ fillet หรือ round หรือของวัตถุมีคาไมเทากันแลวก็อาจจะสงผลทําใหภาพออโธกราฟกของวัตถุ
ที่ไดแ ตกตางกนั

Tangent point R
R

R/3

about 1/8 of circle

R = radius of fillet or round

รูปที่ 8.30 วธิ ีการเขยี น run out

รปู ท่ี 8.31 ตวั อยา งวัตถุทมี่ ลี ักษณะคลาย ๆ กันแตมีขนาด fillet ท่แี ตกตา งกัน

8.10 รอยตดั ของรูกับทรงกระบอก
ตัวอยางในรูปที่ 8.32ก-ข แสดงรอยตัดของรูเจาะที่เกิดขึ้นบนพ้ืนผิวทรงกระบอก โดย

รูปที่ 8.32ก น้ันเปนกรณีที่ขนาดเสนผาศูนยกลางของรูเจาะมีขนาดใหญ ซ่ึงจะเห็นไดวาภาพ
ดานหนาของทรงกระบอกท่ีมีรูเจาะขนาดใหญนี้จะเกิดรอยเวาขึ้น (รูปท่ี 8.32ก น้ีแสดงการวาดรอย
เวาที่จะเกิดขึ้นดวย) แตในรูปที่ 8.32ข น้ันเปนกรณีที่ขนาดของรูเจาะมีขนาดเล็กเม่ือเทียบกับขนาด
เสนผาศูนยกลางของทรงกระบอก รอยเวาดังกลาวจึงมีขนาดเล็กมาก ๆ ดวย ดังนั้นสัญนิยมในขอนี้

248    Fundamental of Engineering Drawing 

ก็คือเราสามารถละทิ้งการวาดรอยเวาน้ันได ถึงแมวาตามความเปนจริงแลวพ้ืนผิวบริเวณน้ันก็
จะตองเกิดรอยเวา ข้ึนกต็ าม

รปู ที่ 8.32 รอยตัดของรูเจาะกบั พ้ืนผิวทรงกระบอก

8.11 บทสรุป
ในบทน้ีเปนการกลาวถึงสัญนิยมสําหรับการเขียนภาพออโธกราฟก โดยสัญนิยมก็คือ

ขอตกลงที่กําหนดขึ้นเพ่ือใชในการเขียนภาพออโธกราฟก ซ่ึงมีวัตถุประสงคในการทําใหการเขียน
ภาพออโธกราฟกนน้ั งายขนึ้ ลดภาระการเขยี นภาพลง สามารถลงขนาดไดสะดวกและทําใหการอาน
แบบทําไดงายขึ้นน่ันเอง จากนั้นจึงไดนําเสนอชนิดของสัญนิยมแบบตาง ๆ ซ่ึงประกอบไปดวย การ
วางตําแหนง ของภาพดานขางในรปู แบบอนื่ การเขยี นภาพดานขางที่ไมสมบูรณ การเขียนภาพเพียง
บางสวน การเขียนภาพเพียงครึ่งเดียว การเขียนภาพเฉพาะที่ การเขียนภาพแบบ align การเขียน
ภาพขยาย การเขียนเสนทไี่ มเ กิดข้ึนในภาพออโธกราฟก และสดุ ทา ยเปนการเขียนรอยตัดของรูเจาะ
กับพื้นผิวทรงกระบอก สัญนิยมตาง ๆ เหลานี้ผูเรียนควรทําความเขาใจใหดี เพราะนอกจากจะตอง
ใชในการเขียนภาพออโธกราฟกแลว ยังจะตองใชเ มือ่ ตองการอา นภาพออโธกราฟกดวย

  Convention in Orthographic Writing  249 

แบบฝกหดั
1. จงวาดภาพดา นหนา ดานบน ขางซา ยและขางขวาของวัตถุท่ีกําหนดใหดวยสเกล 1:1 พรอมท้ัง

ลงขนาดใหสมบรู ณ โดยเลือกใชสญั นยิ มทเ่ี หมาะสม

250    Fundamental of Engineering Drawing 

2. จงเขียนภาพออโธกราฟกของวัตถุท่ีกําหนดใหโดยใชสเกล 1:1 พรอมท้ังลงขนาดใหสมบูรณ
และเลือกใชส ญั นยิ มทเ่ี หมาะสม

  Convention in Orthographic Writing  251 

3. จงเขียนภาพออโธกราฟกของวตั ถทุ ก่ี ําหนดใหพ รอ มทั้งลงขนาดใหส มบูรณ
ขอ กาํ หนด
- เขียนดว ยสเกล 1:1
- ในมมุ มองทเ่ี หน็ วัตถุเปน วงกลม ใหใชสญั นิยมการเขยี นภาพเพยี งคร่งึ เดยี ว
- ในมมุ มองดานขางของวัตถุ ใหใ ชส ัญนยิ มแบบ align
- ใหขยายรายละเอียดบรเิ วณ A โดยใชสญั นยิ มการเขยี นภาพขยาย (เลอื กใชสเกลตาม
ความเหมาะสมเอง)


Click to View FlipBook Version