The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประยุกต์ใช้อาหารบำบัดกับเวชศาสตร์วิถีชีวิต: สิ่งที่เราควรรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by metta.poon, 2024-04-25 03:33:06

การประชุมวิชาการสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทยประจำปี 2567 ครั้งที่ 44

การประยุกต์ใช้อาหารบำบัดกับเวชศาสตร์วิถีชีวิต: สิ่งที่เราควรรู้

ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 321 บทคัดย่อ P-29 การพฒันาผลิตภณัฑโ์ยเกิรต์พร้อมดื่มจากนมถวั่เหลืองเสริมใบขลู่เพื่อสุขภาพ (PRODUCT DEVELOPMENT OF READY-TO DRINK YOGURT FROM SOY BEAN ADDED INDIAN MARSH FLEABANE LEAF FOR HEALTH) วรรณวิษาณ์เพช ็ รพุนัธ,์ยงยศ หนูนวล, วสุพล จ่อนแผ่, ธนัยพร บุญศิริ มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยัจงัหวดัสงขลา บทน า ปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่ได้หันมาสนใจการดูแลสุขภาพกันมากขึ้น โดยเฉพาะการเลือกบริโภค อาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ รวมทั้งการเลือกบริโภคตามแนวทางชีวจิต หรือมังสวิรัติ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจ นำใบขลู่มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตพร้อมดื่มจากนมถั่วเหลืองเสริมใบขลู่เพื่อสุขภาพ ซึ่งถั่วเหลือง เป็นโปรตีนทางเลือกที่มีคุณภาพ และมุ่งเน้นถึงการนำใบขลู่ซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นในจังหวัดสงขลามาพัฒนา เป็นผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสูตรมาตรฐานของผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตพร้อมดื่มจากนมถั่วเหลืองเสริมใบขลู่ วิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการและต้นทุนการผลิตผลิตภัณฑ์ วิธีการวิจยัและศึกษา ศึกษาสูตรมาตรฐานโยเกิร์ตพร้อมดื่มจากนมถั่วเหลืองจำนวน 4 สูตร เพื่อหา สูตรที่ได้รับการยอมรับมากที่สุด จากนั้นหาปริมาณที่เหมาะสมของผงใบขลู่ในโยเกิร์ตพร้อมดื่มจากนม ถั่วเหลือง จำนวน 4 ระดับ ได้แก่ ร้อยละ 0.5, 1, 1.5 และ 2 จากนั้นทดสอบการยอมรับทางประสาท สัมผัสด้วยวิธีการให้คะแนนความชอบ (9-Point hedonic scale) จากกลุ่มตัวอย่างทดลอง จำนวนไม่ต่ำ กว่า 30 คน และนำผลการประเมินมาวิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละสูตรด้วยโปรแกรม IBM SPSS Statistics 23 ผลการวิจยัและศึกษา จากการศึกษาพบว่าทั้ง 4 สูตรได้รับคะแนนการยอมรับจากผู้บริโภคแตกต่างกัน อย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) โดยสูตรที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดประกอบด้วย นมถั่วเหลือง 500 มิลลิลิตร แป้งข้าวโพด 3 กรัม หัวเชื้อโยเกิร์ตพืช (SACCO) 0.14 กรัม น้ำตาลทรายขาว 25 กรัม และผง ใบขลู่ 2.5 กรัม ค่าความหวาน 14.03 ํBrix คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 หน่วยบริโภค (150 มิลลิลิตร) ให้ พลังงาน 97 กิโลแคลอรี โปรตีน 5 กรัม คาร์โบไฮเดรต 13 กรัม ไขมัน 3 กรัม คิดเป็นร้อยละ 20, 53 และ 27 ตามลำดับ ใยอาหาร 1.39 กรัม แคลเซียม 38 มิลลิกรัม ธาตุเหล็ก 1.55 มิลลิกรัม วิตามินเอ 29 I.U วิตามินซี 2 มิลลิกรัม pH 4.69 และต้นทุนการผลิตต่อหนึ่งหน่วยบริโภคเท่ากับ 9.64 บาท สรปุและวิจารณ์ สูตรมาตรฐานของผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตพร้อมดื่มจากนมถั่วเหลืองเสริมใบขลู่เพื่อสุขภาพ ที่ได้รับการยอมรับมากที่สุด มีส่วนผสมดังนี้ นมถั่วเหลือง 500 มิลลิลิตร แป้งข้าวโพด 3 กรัม น้ำตาล ทรายขาว 25 กรัม หัวเชื้อโยเกิร์ตพืช (SACCO) 0.14 กรัม ผงใบขลู่ 2.5 กรัม (ร้อยละ 0.5) ซึ่งการเสริม ใบขลู่ในปริมาณที่มากขึ้นส่งผลให้การยอมรับทางประสาทสัมผัสลดน้อยลง กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย


322 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทคัดย่อ P-30 การพัฒนาต ารับอาหาร สา หรบัผ้สููงอายุที่รบัประทานได้น้อยในโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระ เกียรติ๘๐ พรรษา จงัหวดันราธิวาส ฮัซนา ปัตยะบุตร สาขาโภชนศาสตรแ์ละการกา หนดอาหาร มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี บทน า จากการสำรวจการติดตามพลังงานและสารอาหาร (24-h recalls) พบว่าผู้สูงอายุได้รับพลังงาน 950 แคลอรีต่อวันคิดเป็นร้อยละ 60 จากพลังงานทั้งหมดที่ควรได้รับ 1,600 แคลอรีต่อวัน และโปรตีนที่ ผู้สูงอายุได้รับคือ 35 กรัมต่อวันจากโปรตีนที่ควรได้รับ 51 กรัมต่อวัน มีความเสี่ยงที่ผู้สูงอายุจะมีภาวะ ขาดสารอาหารและขาดโปรตีนได้ วัตถุประสงค์เพื่อจัดทำตำรับอาหารที่มีโปรตีนและพลังงานสูงสำหรับผู้สูงอายุที่รับประทานได้น้อย วิธีการวิจยัและศึกษา สำรวจรายการอาหารที่มีการบริโภคในพื้นที่ ทำการคัดเลือกรายการอาหารโดย แยกประเภทอาหารคาว หวานและเครื่องดื่ม รายการอาหารละ 3 รายการ นำไปวิเคราะห์โดยใช้ INMUCAL โดยกำหนดคุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งที่เสิร์ฟ นำไปพัฒนาตำรับอาหารโดยมีพลังงานและ โปรตีนใกล้เคียงกับที่กำหนด และนำไปทดสอบการยอมรับในผู้สูงอายุในโรงพยาบาลโดยใช้แบบ ประเมินความชอบ 5-Point Hedonic Scale ผลการวิจยัและศึกษา เมนูอาหารทั้ง 9 รายการที่นำมาพัฒนาเป็นตำรับอาหารที่มีพลังงานและโปรตีน สูง โดยพลังงานอยู่ในช่วง 140.2-384.66 กิโลแคลอรีต่อ1ที่เสิร์ฟ และโปรตีนอยู่ในช่วง 9.8-21.61 กรัม ต่อ1ที่เสิร์ฟ เมื่อนำไปทดสอบทางประสาทสัมผัสกับเมนูที่พัฒนาแล้วทั้ง 5 ด้านประกอบด้วย 1.ลักษณะ ปรากฏ 2.กลิ่น 3.เนื้อสัมผัส 4.รสชาติ และ5.ความชอบโดยรวม ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในช่วง (3.6±0.51 ถึง 4.7±0.48), (3.4±0.51 ถึง 4.6±0.51), (3.4±0.53 ถึง 4.7±0.48), (3.1±0.31 ถึง 4.4±0.51) และ(3.8±0.48 ถึง 4.7±0.48) เรียงตามลำดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ชอบปานกลาง สรุปผลการวิจยัและศึกษา จากการพัฒนาตำรับอาหารที่มีพลังงานและโปรตีนสูง มีพลังงานและ โปรตีนอยู่ในช่วงที่กำหนด ยกเว้นสามามะม่วงปลาย่างและกูแวฮางิที่มีพลังงานไม่ใกล้เคียงกับที่กำหนด แต่โปรตีนยังอยู่ในช่วงที่กำหนด กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 323 ทุน “TDA Soymilk Study Award” ประจ ำปี 2566-2567 ทุนสนับสนุนกำรวิจยัและพฒันำงำนโภชนำกำรสำ หรบันักกำ หนดอำหำร ชื่อทุน TDA Soymilk Study Award วัตถุประสงค์ • ส่งเสริมให้นักก ำหนดอำหำร/นักโภชนำกำร/โภชนำกรมีกำรท ำวิจัยด้ำนโภชนำกำร และโภชนบ ำบัด และพัฒนำต ำรับอำหำรเพื่อพัฒนำกำรบริกำรแก่ผู้ป่วยและประชำชน • ส่งเสริมวัฒนธรรมอำหำรเอเชีย โดยใช้ผลิตภัณฑ์นมถั่วเหลืองในกำรศึกษำวิจัย และ พัฒนำกำรบริกำร • เพิ่มพูนทักษะและศักยภำพให้กับนักก ำหนดอำหำร/นักโภชนำกำร/โภชนำกรในกำร ท ำวิจัย และพัฒนำต ำรับอำหำร ผู้สนับสนุนทุนปี 2566-2567 บริษัทมำรูซัน-ไอ จ ำกัด (Marusan-Ai Co., Ltd., Japan) จ ำนวน 500,000 Yen ประเภทของทุน 1. ทุนประเภท Clinical โดยใช้นมถั่วเหลือง (Soymilk) ที่ให้มำในกำรท ำวิจัยเพื่อส่งเสริม ด้ำนโภชนำกำรและโภชนบ ำบัดในกลุ่มผู้ป่วย • แบบฟอรม์กำรเสนอโครงกำรวิจยั ประกอบด้วย 1. ชื่อโครงกำร 2. หน่วยงำนรับผิดชอบ 3. ควำมส ำคัญและที่มำของปัญหำที่ท ำกำรวิจัย 4. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 5. วิธีกำร 6. ขอบเขต 7. ระยะเวลำด ำเนินกำร 8. แผนกำรด ำเนินงำน 9. อุปกรณ์ในกำรวิจัย 10. งบประมำณ


324 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association 2. ทุนประเภท non-clinical โดยใช้นมถั่วเหลือง (Soymilk) ที่ให้มำ เพื่อพัฒนำต ำรับอำหำร ให้ผู้ป่วยและประชำชนทั่วไป • แบบฟอร์มกำรเสนอโครงกำรพัฒนำต ำรับอำหำร ประกอบด้วย 1. ชื่อโครงกำร 2. หน่วยงำนรับผิดชอบหรือชื่อทีมผู้พัฒนำต ำรับอำหำร 3. ควำมส ำคัญและที่มำของกำรพัฒนำต ำรับอำหำร 4. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 5. ส่วนผสมของต ำรับอำหำรอย่ำงชัดเจน 6. วิธีปรุงประกอบอำหำร 7. ต้นทุน 8. คุณค่ำทำงโภชนำกำร (พลังงำน โปรตีน ไขมัน คำร์โบไฮเดรท น ้ำตำล ใย อำหำร) ค ำนวณด้วย Inmucal-Nutrients Version ใด โดยท ำเป็นตำรำงระบุ ชนิดอำหำรและส่วนผสมทั้งหมดทุกรำยกำรที่ใช้ในต ำรับอำหำร ตำม ตัวอย่ำงท้ำยนี้ Nutrient Composition for 1 Serving Food item Weight (g) or Volume (ml) Energ y (kcal) Carbohydra te (g) Protein (g) Fat (g) Sugar (g) Fiber (g) Soymilk Plain Nutrition Fact of Marusan Soymilk Food Item Volume (ml) Energ y (kcal) Carbohydra te g Protein g Fat g Sugar g Fiber g Soymilk Plain 1 Serving 250 110 4 11 5 1 < 1


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 325 3. จ ำนวนทุนขึ้นอยู่กับควำมเหมำะสมและผลงำนที่เสนอขอรับทุนซึ่งพิจำรณำโดย คณะอนุกรรมกำรพิจำรณำทุนฯ คณุสมบตัิของผ้ทูี่ได้รบัทุน • เป็นนักก ำหนดอำหำร/นักโภชนำกำร/โภชนำกร และทีมงำนโภชนำกำร ที่ท ำ ประโยชน์ให้แก่ผู้ป่วยและหน่วยงำนทั้งทำงตรงและทำงอ้อม • เป็นสมำชิกสำมญัตลอดชีพของสมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย • สมำชิกส่งได้ไม่เกิน 1 ต ำรับ • ผลงำนที่ท ำจะต้องไม่เป็นไปเพื่อเชิงพำณิชย์ (non-profit project) • คณะกรรมกำรสมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทยและผู้ที่เคยได้รับทุน TDA Soymilk Study Award ติดต่อกันเป็นเวลำ 2 ปีมำแล้ว ไม่มีสิทธิ์ขอรับทุน กำรขอรับทุน • ส่งใบสมคัรทุนพร้อมโครงกำรวิจยัหรือโครงกำรพฒันำต ำรบัอำหำร จ ำนวน 6 ชุด มำที่สมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย ภำยใน วันที่ 15 พฤศจิกำยน 2566 ทำงไปรษณีย์เท่ำนั้น (ไม่รับทำง E-mail และ โทรสำร) สมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย (ทุน TDA Soymilk Study Award) 1845/11 ซอยบริรกัษ์ถนนพหลโยธิน แขวงลำดยำว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์080-338-7443, 02-939-7782 หลกัเกณฑ์ในกำรพิจำรณำทุน • เป็นงำนวิจัยหรือกำรพัฒนำต ำรับอำหำรโดยใช้นมถั่วเหลือง (Soymilk) ที่พัฒนำโดย บริษัทมำรูซัน-ไอ จ ำกัด เป็นส่วนประกอบหลัก เพื่อประโยชน์ในกำรพัฒนำกำรดูแล ด้ำนโภชนำกำรและโภชนบ ำบัดแก่ผู้ป่วยหรือประชำชนทั่วไป • มีควำมคิดริเริ่ม เป็นกำรคิดค้นหรือพัฒนำผลิตภัณฑ์ถั่วเหลืองเพื่อสุขภำพ • ผลงำนที่เหมำะสมตำมกำรพิจำรณำของคณะอนุกรรมกำรพิจำรณำทุน • เป็นกำรพัฒนำงำนเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม แนวทำงในกำรพิจำรณำทุน คณะอนุกรรมกำรได้ก ำหนดในรูปคะแนน โดยแบ่งเป็น 4 หัวข้อหลัก คือ • ควำมคิดริเริ่ม • ควำมส ำคัญทำงวิชำกำร • โอกำสที่งำนวิจัย/กำรพัฒนำงำนโภชนำกำรจะท ำได้ส ำเร็จ • กำรน ำไปใช้ให้เป็นประโยชน์


326 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association กำรมอบทุน • ประกำศผู้มีสิทธิ์ผ่ำนรอบแรก ในวันที่ 8 ธันวำคม 2566 ทำงสมำคมฯ จะจัดส่ง ตัวอย่ำงนมถั่วเหลืองไปให้ทดลองท ำ ผู้สมัครขอรับทุนส่งโครงกำรที่สมบูรณ์หรือ ต ำรับอำหำรที่สมบูรณ์มำพร้อมรูปภำพและคุณค่ำทำงโภชนำกำรเพื่อพิจำรณำ • ประกำศผู้มีสิทธิ์ผ่ำนรอบที่สองและได้รับทุน ในวันที่15 กุมภำพันธ์ 2567 • มอบทุนในกำรประชุมวิชำกำรประจ ำปีของสมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย ในวนั ประชุมวิชำกำรประจำ ปี 2567 พร้อมประกำศนียบัตรของสมำคมฯ • มอบทุนวิจัยเป็น 2 งวด งวดที่ 1 มอบทุนร้อยละ 60 ของเงินทุน เมื่อได้รับกำรคัดเลือกให้ได้รับทุน งวดที่ 2 มอบทุนร้อยละ 40 ของเงินทุน เมื่อส่งรำยงำนผลพร้อม C.D และน ำเสนอ ผลงำนในกำรประชุมวิชำกำรประจ ำปี กำรน ำเสนอผลงำน • ผู้ที่ได้รับทุนจะต้องน ำเสนอผลงำนในรูปแบบ E-Poster ในกำรประชุมวิชำกำร ประจ ำปีของสมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2567 โดยส่ง E-Poster ภำยใน วันที่20 มีนำคม 2567 • ผู้ที่ได้รับทุนจะต้องส่งบทคัดย่องำนวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวำรสำรสมำคมนักก ำหนด อำหำรแห่งประเทศไทย ภำยในวันที่20 มีนำคม 2567 • ผู้ที่ได้รับทุนทุกคนจะต้องท ำวิดีโอสำธิตกำรท ำอำหำร และน ำเสนอ E-Poster ใน กำรประชุมวิชำกำรประจ ำปีของสมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2567 โดยส่งวิดีโอ ภำยในวันที่20 มีนำคม 2567 • ผู้ที่ได้รับทุนจะต้องแสดงกิตติกรรมประกำศกำรน ำเสนอผลงำนในรูปแบบ E-Poster บทคัดย่อ รำยงำนผลกำรวิจัย และกำรตีพิมพ์ผลงำนว่ำผลงำนนี้ได้รับกำรสนับสนุน จำก "สมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย " • ผู้ที่ได้รับทุนจะได้รับเงินสนับสนุนในกำรจัดท ำ E-Poster จ ำนวน 1,000 บำท เพื่อ แสดงในงำนประชุมวิชำกำรของสมำคมฯ • ผู้ที่ได้รับทุนจะได้รับเงินสนับสนุนกำรลงทะเบียนงำนประชุมวิชำกำรของสมำคมฯ • ผู้ได้รับทุนส่งรำยงำนผลกำรวิจัยฉบับสมบูรณ์ให้แก่สมำคมฯ และมีกำรแสดง กิตติกรรมประกำศชื่อทุนนี้ในงำนวิจัยนั้นๆด้วย ก ำหนดวันส ำคัญต่ำงๆ • ปิดรับสมัครทุนภำยในวันที่ 15 พฤศจิกำยน 2566 • ประกำศผู้มีสิทธิ์ผ่ำนรอบแรก ภำยในวันที่8 ธันวำคม 2566


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 327 • ประกำศผู้มีสิทธิ์ผ่ำนรอบที่สองและได้รับทุน ภำยในวันที่15 กุมภำพันธ์ 2567 • ผู้ได้รับทุนส่ง E-Poster วิดีโอ บทคัดย่อ รูปเล่มพร้อม บทคัดย่อภำษำไทย และไฟล์ รำยงำนผลกำรวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่มีกำรแสดงกิตติกรรมประกำศชื่อทุนนี้ในงำนวิจัย นั้นๆ ด้วยให้แก่สมำคมฯ ภำยในวันที่20 มีนำคม 2567 • เสนอผลงำนวิจัยในกำรประชุมวิชำกำรประจ ำปี2567 ของสมำคมนักก ำหนด อำหำรแห่งประเทศไทย สอบถำมรำยละเอียดเพิ่มเติม: ผู้ประสำนงำน นำงสำวสังวำล ศิริมังคลำกุล 086-609-5680 โทรศัพท์ 080-338-7443 , 02-939-7782 E-mail: [email protected], Website: www.thaidietetics.org


328 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association ทุน TDA Soymilk Study Award ทุนสนับสนุนกำรวิจยัและพฒันำงำนโภชนำกำรสำ หรบันักกำ หนดอำหำร รำยชื่อผู้ได้รับทุน TDA Soymilk Study Award ประจ ำปี2567 จ ำนวน 6 ทุน ล ำดับที่1 ทุนสนับสนุน จำนวน 11,000 บาท เรื่อง ราเมงไข่ขาว ซุปมิโซะมารูซัน โดย นางสาว วรางคณา ทรัพยกิตกุล งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ล ำดับที่ 2 ทุนสนับสนุน จำนวน 9,000 บาท เรื่อง Marusan Thai tea with Maru jelly Protein Plus โดย นาย ธนกร นวอรหาทิคุณ โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ล ำดับที่ 3 ทุนสนับสนุน จำนวน 7,000 บาท เรื่อง เชิดชูอาหารถิ่นสุราษฎร์ธานี แกงขมิ้นไตปลาโบราณ Soymilk โดย นาย เชษฐา แก้ววิรัช และ นางสาว ยุวดี บุญผล กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี รำงวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จำนวน 5,000 บาท เรื่อง สามจี๊ด Hight Protein โดย นางสาว นันท์ฐภัส ขานมา แผนกโภชนาการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีจังหวัดนครราชสีมา


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 329 รำงวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จำนวน 5,000 บาท เรื่อง เต้าหู้อัญชันราดซอสแดง โดย นางสาว ชิดชนก เฮียงราช กลุ่มงานโภชนศาสตร์โรงพยาบาลวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร รำงวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จำนวน 5,000 บาท เรื่อง ตูปะซูตง โดย นางสาว อาซียัน แสบีดิง กลุ่มงานโภชศาสตร์ โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา จังหวัดนราธิวาส


330 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทค ำย่อ P-31 รำเมงไข่ขำว ซุปมิโซะมำรซูนั วรางคณา ทรพัยกิตกลุ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลยัขอนแก่น บทน ำ “ราเมงไข่ขาว ซุปมิโซะมารูซัน” เป็นเมนูเพื่อสุขภาพ มีคุณค่าทางโภชนาการสูง เป็นแหล่ง สารอาหารโปรตีน และเป็นการพัฒนานมถั่วเหลือง (Soy milk) ให้มีความหลากหลาย เหมาะสำหรับ ประชาชนทุกเพศทุกวัย หรือผู้ป่วยที่ต้องการเมนูเสริมโปรตีน เนื่องจากตัวเส้นราเมงดัดแปลงมาจากไข่ ขาว รับประทานคู่กับซุปมิโซะที่ดัดแปลงมาจากนมถั่วเหลือง วัตถุประสงค์เป็นอาหารเพื่อสุขภาพ มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน เป็นแหล่งสารอาหารประเภท โปรตีน และเพื่อพัฒนานมถั่วเหลือง (Soy milk) ให้มีความหลากหลาย วิธีกำรวิจยัและศึกษำ วิธีทำเส้นราเมง ตีไข่ขาว 60 กรัมให้เข้ากัน นำกระทะวางบนเตาแก๊ส เปิดไฟ อ่อน รอจนกระทะร้อนเทไข่ขาวลงไปแล้วกลอกไปมา ให้ไข่เป็นแผ่นบางและหนาสม่ำเสมอ รอให้ไข่ขาว เปลี่ยนจากขาวใสเป็นขาวขุ่น ปิดแก๊ส พักให้คลายร้อน จากนั้นนำมาม้วนแล้วหั่นเป็นเส้นเล็กๆ วิธีทำ ซุปมิโซะ นำกระทะวางบนเตาเก๊ส เปิดไฟอ่อน ใส่หอมหัวใหญ่หั่นแว่นลงผัดจนมีกลิ่นหอม สุกใส จากนั้น เท Marusan Soymilk ลงไป ปรุงรสด้วยซอสถั่วเหลืองญี่ปุ่น น้ำตาลทราย แล้วเติมน้ำมันงา โรยพริกไทย ป่น คนให้เข้ากัน วิธีทำราเมงไข่ขาว ซุปมิโซะมารูซัน นำซุปมิโซะที่ตุ๋นไว้ราดบนเส้นราเมงไ ข่ขาวที่ เตรียมไว้ เสิร์ฟพร้อมสันคอหมูสไลด์และไข่ต้ม โรยต้นหอมซอยและงาขาวคั่ว ผลกำรวิจยัและศึกษำ เมนูราเมงไข่ขาว ซุปมิโซะมารูซัน สำหรบ 1 ที่ ให้พลังงาน 344.69 กิโลแคลอรี คาร์โบไฮเดรต 14.57 กรัม โปรตีน 29.81 กรัม ไขมัน 17.52 น้ำตาล 7.17 กรัม และใยอาหาร 1.31 กรัม สรปุผลกำรวิจยัและกำรศึกษำ เป็นตำรับอาหารเพื่อสุขภาพที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน เป็น แหล่งสารอาหารประเภทโปรตีน เหมาะสำหรับผู้ป่วยและประชาชนทั่วไปที่ต้องการเสริมโปรตีน กิตติกรรมประกำศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Marusan-Ai Co., Ltd., Japan


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 331 บทค ำย่อ P-32 Marusan thai tea with maru jelly Protein Plus ธนกร นวอรหาทิคณุ งำนโภชนำกำรโรงพยำบำลศนูยก์ำรแพทยม์หำวิทยำลยัแม่ฟ้ำหลวง จังหวัดเชียงรำย บทน ำ เนื่องจากมีกลุ่มผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและได้รับการประเมินว่าเกิดภาวะทุพโภชนาการ จากการทานอาหารได้ไม่เพียงพอ จากปัญหาการเคี้ยวกลืนและเบื่ออาหาร ผู้วิจัยจึงพัฒนา ตำรับอาหารเสริมแบบดื่ม เมนู Marusan thai tea with maru jelly Protein Plus โดยใช้นมถั่วเหลือง มา รูซัน เพิ่มโปรตีน เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยที่ถูกคัดกรอง และประเมินภาวะโภชนาการว่ามีความเสี่ยงต่อการ ขาดสารอาหารประเภทพลังงาน และโปรตีน ได้รับสารอาหารที่เหมาะสม และเป็นเมนูทางเลือกสำหรับ บุคคลทั่วไป วัตถุประสงค์ พัฒนาตำรับอาหารโดยใช้นมถั่วเหลือง มารูซัน มาเป็นทางเลือกสำหรับผู้ป่วย และบุคคล ทั่วไป สำหรับดื่มเสริมพลังงาน โปรตีน เช่นผู้ป่วยที่รับประทานทานอาหารได้ไม่เพียงพอ ผู้ที่ได้รับการ ทำหัตถการในช่องปากและลำคอ ผู้ป่วยมะเร็ง และผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆที่ทานได้น้อย เป็น ต้น โดยมุ่งหวังเพื่อเพิ่มทางเลือกในการนำมาใช้ส่งเสริมการรักษาของแพทย์ และเพิ่มคุณภาพแก่ชีวิต ผู้ป่วย วิธีกำรวิจยัและศึกษำ สกัดน้ำชาไทย100 มล. ใส่นมข้นจืด 40 มล.เติม Sucralose 2 ซอง จากนั้นแบ่ง นมถั่วเหลือง มารูซัน ใส่ลงไป 50 มล.คนและพักไว้ในตู้แช่เย็น นำนมถั่วเหลือง มารูซัน 200 มล.ใส่หม้อ ตั้งเตาพออุ่น เติมเวย์โปรตีน 16 กรัม Sucralose 1 ซอง น้ำตาลทราย 7 กรัม ใส่เจลาตินและคนให้ ละลาย จากนั้นบรรจุลงในแก้วทรงสูง และนำไปแช่เย็น 2 ชั่วโมง จากนั้นเติมชาไทยลงในแก้วเยลลี่และ นำเสิร์ฟ ผลกำรวิจยัและศึกษำ เป็นการพัฒนาตำรับอาหารเสริมแบบดื่มโดยใช้นมถั่วเหลือง มารูซัน แทนนมวัว ในการทำเครื่องดื่ม ให้พลังงาน 257.1 แคลอรี ต่อ 1 เสิร์ฟ คาร์โบไฮเดรต 17.8 กรัม โปรตีน 30.42 กรัม ไขมัน 7.83 กรัม น้ำตาล 10.37 กรัม และใยอาหาร 0 กรัม สรปุผลกำรวิจยัและศึกษำ การพัฒนาตำรับอาหารเสริมแบบดื่มโดยใช้นมถั่วเหลือง มารูซัน ทดแทน นมวัว ซึ่งมีการปรับเพิ่มพลังงาน และโปรตีนให้สูงขึ้น เพื่อการนำมาใช้กับกลุ่มผู้ป่วยซึ่งอยู่ในสภาวะที่ ต้องการเสริมสารอาหารกลุ่มดังกล่าว โดยได้ทำการประเมินความพึงพอใจใน 3 กลุ่มคือ กลุ่มบุคคล ทั่วไป ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 97% กลุ่มผู้เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 96.50% และกลุ่มรักษา ตัวที่บ้านระยะพักฟื้น ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 97.50% ซึ่งอยู่ในเกณ์ดีมาก อีกทั้งนมถั่วเหลือง มารูซัน ยังสามารถ นำมาประยุกต์ทำอาหารเสริมสูตรดื่มได้อีกหลากหลายเมนู เพื่อเพิ่มทางเลือกสำหรับผู้บริโภค และ พัฒนางานด้านโภชนบำบัด กิตติกรรมประกำศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Marusan-Ai Co., Ltd., Japan


332 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทค ำย่อ P-33 เชิดชูอำหำรถิ่น แกงขมิ้นไตปลำโบรำณ Soymilk เชษฐา แก้ววิรชั ยุวดี บุญผล กลุ่มงานโภชนศาสตร์โรงพยาบาลพนุพิน จงัหวดัสุราษฎรธ์านี บทน ำ แกงขมิ้นไตปลาโบราณ เป็นเมนูประจำถิ่นจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ได้รับการคัดเลือก 1 จังหวัด 1 เมนู เชิดชูอาหารถิ่น โดยแกงขมิ้นไตปลาโบราณ Soymilk ได้ดัดแปลงให้เป็นเมนูทางเลือก สุขภาพ ใช้ผลิตภัณฑ์นมถั่วเหลืองมารูซันทดแทนกะทิ เพิ่มโปรตีน ลดไขมันและพลังงาน แต่ยังคง เอกลักษณ์ของเมนูไว้ ส่งเสริมการรับประทานอาหารเป็นยา และเป็นเมนูตำรับอาหารสุขภาพให้แก่ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยที่นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลสามารถรับประทานได้อย่างปลอดภัย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสืบทอดภูมิปัญญาในการนำเมนูอาหารประจำถิ่นมาประยุกต์ให้มีคุณค่าทางโภชนาการ ส่งเสริม การรับประทานอาหารเป็นยา 2. เพื่อพัฒนาตำรับเมนูอาหารที่ให้บริการแก่ผู้ป่วยที่นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล วิธีกำรวิจยัและศึกษำ นำส่วนผสมเครื่องแกงน้ำพริกแกงขมิ้นไตปลาโบราณ โขลกรวมกันจนละเอียด เทหัวกะทิลงในภาชนะเคี่ยวให้แตกมัน จากนั้นใส่เครื่องน้ำพริกแกง และน้ำไตปลา คนจนละลายเข้ากัน น้ำเดือดเติม Soymilk ใส่เนื้อปลาโอย่าง มะเขือ หน่อไม้ มันเทศเหลือง ใบมะกรูด ปรุงรสด้วยน้ำตาลปี๊บ น้ำปลา คนให้เข้ากัน ปิดไฟ ตักใส่ภาชนะ พร้อมเสิร์ฟ ผลกำรวิจยัศึกษำ เป็นการพัฒนาตำหรับอาหารใช้นมถั่วเหลืองเหลืองมารูซันแทนกะทิในประกอบ อาหาร ให้พลังงาน 432.49 แคลอรี่ ต่อ 1 เสิร์ฟ คาร์โบไฮเดรต 43.16 กรัม โปรตีน 36.9 กรัม ไขมัน 11.8 กรัม น้ำตาล 17.33 กรัม และใยอาหาร 7.33 กรัม สรุปผลกำรวิจยัและศึกษำ แกงขมิ้นไตปลาบราณ Soymilk เป็นตำรับเมนูอาหารที่พัฒนาจาก เมนูอาหารประจำถิ่นให้เป็นเมนูทางเลือกสุขภาพ มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างเหมาะสม ส่งเสริมการ รับประทานอาหารเป็นยา และเป็นตำรับเมนูอาหารอีก 1 เมนู ที่ให้บริการแก่ผู้ป่วยที่นอนพักรักษาตัว ในโรงพยาบาล และยังเป็นตำรับเมนูทางเลือกสุขภาพสำหรับประชาชนทั่วไปที่สามารถนำไปปรับใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม กิตติกรรมประกำศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Marusan-Ai Co., Ltd., Japan


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 333 บทค ำย่อ P-34 สำมจี๊ด High Protein นันท์ฐภัส ขานมา แผนกโภชนาการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลยัเทคโนโลยีสุรนารีจงัหวดันครราชสีมา บทน ำ สามจี๊ด high protein เป็นเมนูอาหารว่างที่รับประทานง่ายและยังได้วิตามินซีเพิ่มขึ้น โดยได้นำ ผลไม้พื้นบ้านอาทิ มะม่วงสุก มะขามป้อม และมะม่วงหาวมะนาวโห่ มาปรุงประกอบเป็นน้ำซอสให้ได้ รสชาติเปรี้ยวอมหวานตัดกับรสหวานมันของเยลลี่ไข่ขาวผสมนมถั่วเหลือง อ่อนนุ่ม กลืนง่าย เป็นเมนู ทางเลือกเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการพลังงานและโปรตีนเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์ ผู้ป่วยได้รับพลังงานและโปรตีนเพิ่มขึ้น วิธีกำรวิจยัและศึกษำ พัฒนาสูตรอาหารว่าง สามจี๊ด high Protein โดยใช้นมถั่วเหลือง Marusan Soymilk ปั่นผสมกับไข่ขาวโดยใช้ผงคาราจีแนนเป็นตัว emulsifier และช่วยกระตุ้นต่อมน้ำลายด้วยซอส ผลไม้ โดยนำน้ำซอสราดด้านบนเพิ่มรสชาติให้รับประทานได้ง่าย ผลกำรศึกษำ Nutrient Composition (for 1serving) Energy(kcal) CHO(g) Pro(g) Fat(g) Sugar(g) Fiber(g) 276.45 36.94 17.26 5.5 17.7 3.61 วิจำรณ์และสรุปควำมคิดรวบยอด สามจี๊ด high Protein เป็นอาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ครบถ้วนให้พลังงานสูงและโปรตีนสูงช่วยเสริมสุขภาพด้านโภชนบำบัดในกลุ่มผู้ป่วยและประชาชนทั่วไป กิตติกรรมประกำศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Marusan-Ai Co., Ltd., Japan


334 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทค ำย่อ P-35 เต้ำหู้อัญชันรำดซอสแดง ชิดชนก เฮียงราช กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลวานรนิวาส จงัหวดัสกลนคร บทน ำ โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease) โรคไตเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สําคัญของประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังที่มีผู้ป่วยจํานวนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีผลต่อการดํารงชีวิต ภาวะแทรกซ้อนและโรคร่วมต่างๆ อาหารเป็นสิ่งสำคัญส่วนหนึ่งในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไต การ รับประทานอาหารให้ได้สารอาหารเพียงพอเหมาะสม หลังการรักษา จะช่วยให้ผู้ป่วยแข็งแรงขึ้น โรงพยาบาลวานรนิวาสเป็นโรงพยาบาลขนาดทั่วไปจำนวนคนไข้ที่ได้รับการล้างไตมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ทำให้กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลวานรนิวาส จึงต้องคิดค้นสูตรอาหารสำหรับผู้ป่วยล้างไตซึ่ง ผู้ป่วยระยะล้างไตจำเป็นที่ต้องได้รับปริมาณโปรตีนสูง และเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตำรับอาหารโดยใช้ผลิตภัณฑ์นมถั่วเหลืองมารูซัน พัฒนาตำรับอาหารเมนู อัญชันราดซอสแดง เพื่อเป็นทางเลือกให้กับผู้ป่วยล้างไตที่ต้องการอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและ มีปริมาณโปรตีนสูง วิธีกำรวิจยัและศึกษำ นำ soymilk 250 มิลลิลิตร ไข่ไก่ 1 ฟอง แป้งข้าวโพด 15 กรัม น้ำอัญชัน เข้มข้น 1 มิลลิลิตร ผสมให้เข้ากันนำมากรองผ่านกระชอนตาถี่แล้วพักไว้ ตักใส่พิมพ์แล้วโรยหน้าด้วย เห็ดหอมหั่นเต๋าเล็ก นำไปนึ่งด้วยไฟอ่อน เสร็จแล้วพักไว้ให้เย็น เติมน้ำลงไปในกระทะ 50 มิลลิลิตร รอ ให้เดือด จากนั้นเติม อกไก่ดิบสับ เห็ดออรินจิ หอมหัวใหญ่ มะเขือเทศ ฟักทอง พริกหวานสามสี ผัดให้ เข้ากันจนสุก ปรุงรสด้วย ซีอิ๊วขาว ซอสมะเขือเทศ น้ำตาล เติมแป้งข้าวโพด 5 กรัม ผสมน้ำเปล่า100 มิลลิลิตรลงไป ผัดให้เข้ากัน จัดเสิร์ฟใส่จาน โรยหน้าด้วยพริกไทย ต้นหอม สรปุผลกำรวิจยัและศึกษำ เป็นการพัฒนาตำรับอาหารโดยใช้ผลิตภัณฑ์นมถั่วเหลืองมารูซัน ให้พลังงาน 351.77 แคลอรี ต่อ 1 เสิร์ฟ คาร์โบไฮเดรต 34.21 กรัม โปรตีน 25.4 กรัม ไขมัน 12.25 กรัม น้ำตาล 6.73 กรัม และใยอาหาร 2.12 กรัม สรปุผลกำรวิจยัและศึกษำ การพัฒนาตำรับอาหาร เต้าหู้อัญชันราดซอสแดง เพื่อเป็นการเพิ่มทางเลือก การรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เพื่อให้ผู้ป่วยล้างไตได้รับโปรตีนที่เพียงพอในรูปแบบที่หลากหลายขึ้น กิตติกรรมประกำศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Marusan-Ai Co., Ltd., Japan


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 335 บทค ำย่อ P-36 ตูปะซูตง Marusan อาซียัน แสบีดิง กลุ่มงานโภชนศาสตร์โรงพยาบาลยีง่อเฉลิมพระเกียรติ๘๐ พรรษา จงัหวดันราธิวาส บทน ำ ตูปะซูตงเป็นเมนูอาหารหวานที่นิยมรับประทานเป็นอาหารว่าง เดิมวัตถุดิบจะใช้เป็นน้ำกะทิเป็น ส่วนประกอบหลัก ซึ่งมีปริมาณไขมันค่อนข้างสูง หากรับประทานเป็นประจำเสี่ยงต่อการเกิดไขมันใน เลือดสูงได้ จึงได้ทำการดัดแปลงใช้เป็นนมถั่วเหลืองแทนเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการและเป็นเมนู ทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงสามารถรับประทานได้ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตำรับอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการ เป็นเมนูทางเลือกใหม่ให้ผู้ป่วยบริโภค ได้เหมาะกับสภาวะของโรคและสามารถนำไปทำเองได้ง่าย วิธีกำรวิจยัและศึกษำล้างข้าวเหนียวให้สะอาด ผสมหัวกะทิและเกลือป่น แช่ทิ้งไว้ 2-3 ชั่วโมง เตรียม หมึกโดยแยกตัวกับหัวหมึกออกจากกัน ดึงแกนแข็งด้านในลำตัวออกและนำหมึกสีดำ ฟันหมึกและตัดตา สีดำออก ล้างน้ำทำความสะอาด พักไว้สะเด็ดน้ำ เตรียมไม้กลัดที่ทำมาจากก้านใบมะพร้าว หั่นแฉลบให้ มีปลายแหลม นำข้าวเหนียวที่เตรียมไว้ยัดใส่ในตัวหมึก ไม่ควรให้แน่นจนเกินไป หากแน่นเกินไปหมึก จะแตกเวลาต้มได้จากนั้นนำส่วนของหัวหมึกมาปิดไว้ โดยเสียบกับไม้กลัดจากด้านข้างให้ทะลุไปถึงอีก ด้านให้เป็นลักษณะเหมือนเครื่องหมายบวก เพื่อยึดไม่ให้ตัวและหัวหมึกหลุดออกจากกันขณะนำไปต้ม นำหมึกใส่ลงไปในหม้อสำหรับนำไปต้ม จากนั้นเติมน้ำสะอาดลงไป ตั้งไฟปานกลาง ใส่ตะไคร้ลงไป เพื่อ ดับกลิ่นคาวของหมึก และไม่ควรคนเพราะจะทำให้ส่วนหัวของหมึกอาจจะหลุดได้ จากนั้นปิดฝาต้ม ประมาณ 15 นาทีเมื่อข้าวเหนียวเริ่มสุกใส่นมถั่วเหลืองลงไป ตามด้วยน้ำตาลโตนด เกลือและใบเตยปิด ฝา ต้มให้เดือดอีกครั้ง จากนั้นปิดไฟถอดไม้กลัดออก หั่นหมึกขนาดชิ้นพอดีคำ ราดผลิตภัณฑ์นมถั่ว เหลือง Soymilk พร้อมรับประทาน ผลกำรวิจยัและศึกษำ เมนูตูปะซูตงเป็นการพัฒนาตำรับอาหารใช้นมถั่วเหลือง มารูซัน แทนกะทิสด ให้พลังงาน 273.71 กิโลแคลอรี ต่อ 1 ที่เสิร์ฟ คาร์โบไฮเดรต 31.58 กรัม มีโปรตีน 21.57 กรัม ไขมัน 6.32 กรัม น้ำตาล 15.08 กรัม และใยอาหาร 0.7 กรัม สรปุผลกำรวิจยัและศึกษำ เป็นตำรับอาหารที่ได้ทำการปรับส่วนผสมและขั้นตอนวิธีการประกอบให้ ตอบโจทย์วัตถุดิบที่มีในชุมชนและใช้วัสดุธรรมชาติ และมีการดัดแปลงใช้เป็นนมถั่วเหลืองแทนกะทิ เพื่อ เพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ เป็นเมนูทางเลือกใหม่ให้ผู้ป่วยบริโภคได้เหมาะกับสภาวะของโรคและมี ประโยชน์ต่อผู้บริโภคต่อไป กิตติกรรมประกำศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Marusan-Ai Co., Ltd., Japan


336 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 337 ทุน “TDA-MEIJI AWARD ประจ ำปี 2566-2567” ทุนสนับสนุนกำรพัฒนำงำนโภชนำกำรส ำหรับนักก ำหนดอำหำร ชื่อทุน TDA-MEIJI AWARD: Improvements on the Infants/Children’s Nutrition วัตถุประสงค์ • ส่งเสริมให้นักก ำหนดอำหำร/นักโภชนำกำร/โภชนำกรมีกำรพัฒนำงำนในกำรจัด กิจกรรมกำรให้ควำมรู้ด้ำนโภชนำกำร และพัฒนำสื่อให้ควำมรู้ด้ำนโภชนำกำร เพื่อ สร้ำงเสริมภำวะโภชนำกำรที่ดีแก่ทำรกและเด็ก • เพิ่มพูนทักษะและศักยภำพให้กับนักก ำหนดอำหำร/นักโภชนำกำร/โภชนำกรในกำร พัฒนำงำนโภชนำกำร • เผยแพร่บทบำทและหน้ำที่ของนักก ำหนดอำหำรในกำรสร้ำงเสริมสุขภำพและป้องกัน โรค ผู้สนับสนุนทุนปี 2566-2567 บริษัทเมจิ จ ำกัด ประเทศญี่ปุ่น (Meiji Co., Ltd., Japan) จ ำนวน 1,000,000 Yen ประเภทของทุน 1. ทุนสนับสนุนกำรจัดกิจกรรมให้ควำมรู้ด้ำนโภชนำกำร และ/หรือพัฒนำสื่อให้ควำมรู้ด้ำน โภชนำกำร เพื่อสร้ำงเสริมภำวะโภชนำกำรที่ดีในกลุ่มทำรก/เด็ก • แบบฟอร์มกำรเสนอโครงกำร ประกอบด้วย 1. ชื่อโครงกำร 2. หน่วยงำนที่รับผิดชอบ 3. ควำมส ำคัญและที่มำของปัญหำที่ท ำโครงกำร 4. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 5. วิธีกำร 6. ขอบเขต 7. ระยะเวลำด ำเนินกำร 8. แผนกำรด ำเนินงำน 9. อุปกรณ์ในกำรด ำเนินโครงกำร 10. งบประมำณ


338 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association 2. จ ำนวนทุนขึ้นอยู่กับควำมเหมำะสมและผลงำนที่เสนอขอรับทุน ซึ่งพิจำรณำโดย คณะอนุกรรมกำรพิจำรณำทุนฯ คณุสมบตัิของผ้ทูี่ได้รบัทุน • เป็นนักก ำหนดอำหำร/นักโภชนำกำร/โภชนำกร และทีมงำนโภชนำกำร ที่ท ำ ประโยชน์ให้แก่หน่วยงำนทั้งทำงตรงและทำงอ้อม • เป็นสมำชิกสำมญัตลอดชีพของสมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย • สมำชิกส่งได้ไม่เกิน 1 โครงกำร • ผลงำนที่ท ำจะต้องไม่เป็นไปเพื่อเชิงพำณิชย์ (non-profit project) • คณะกรรมกำรสมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย ไม่มีสิทธิ์ขอรับทุน กำรขอรับทุน • ส่งใบสมคัรทุนพร้อมโครงกำรในกำรจดักิจกรรมให้ควำมรู้ด้ำนโภชนำกำร และ/หรือพัฒนำสื่อให้ควำมรู้ด้ำนโภชนำกำรแก่ทำรก/เด็ก จ ำนวน 6 ชุด มำที่ สมำคม นักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย ภำยใน วันที่ 15 พฤศจิกำยน 2566 ทำงไปรษณีย์เท่ำนั้น (ไม่รับทำง E-mail และ โทรสำร) สมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย (ทุน TDA-Meiji Award) 1845/11 ซอยบริรกัษ์ถนนพหลโยธิน แขวงลำดยำว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์080-338-7443, 02-939-7782 หลกัเกณฑ์ในกำรพิจำรณำทุน • เป็นงำนของนักก ำหนดอำหำร/นักโภชนำกำร/โภชนำกร เพื่อประโยชน์ในกำรพัฒนำ งำนในกำรดูแลด้ำนโภชนำกำรแก่ทำรก/เด็ก • มีควำมคิดริเริ่ม เป็นกำรคิดค้นหรือพัฒนำกำรจัดกิจกรรมกำรให้ควำมรู้ด้ำน โภชนำกำร และ/หรือพัฒนำสื่อให้ควำมรู้ด้ำนโภชนำกำรแก่ทำรก/เด็ก • ผลงำนที่เหมำะสมตำมกำรพิจำรณำของคณะอนุกรรมกำรพิจำรณำทุน • เป็นกำรพัฒนำงำนเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม แนวทำงในกำรพิจำรณำทุน คณะอนุกรรมกำรได้ก ำหนดในรูปคะแนน โดยแบ่งเป็น 4 หัวข้อหลัก คือ • ควำมคิดริเริ่ม • ควำมส ำคัญทำงวิชำกำร • โอกำสที่กำรพัฒนำงำน/โครงกำรจะท ำได้ส ำเร็จ • กำรน ำไปใช้ให้เป็นประโยชน์


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 339 กำรมอบทุน • ประกำศผู้มีสิทธิ์ได้รับทุน ในวันที่ 30 พฤศจิกำยน 2566 • มอบทุนในกำรประชุมวิชำกำรประจ ำปีของสมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย ในวนั ประชุมวิชำกำรประจำ ปี2567 พร้อมประกำศนียบัตรของสมำคมฯ • มอบทุนเป็น 2 งวด งวดที่ 1 มอบทุนร้อยละ 60 ของเงินทุน เมื่อได้รับกำรคัดเลือกให้ได้รับทุน งวดที่ 2 มอบทุนร้อยละ 40 ของเงินทุน เมื่อส่งรำยงำนผลพร้อม C.D และน ำเสนอ ผลงำนในกำรประชุมวิชำกำรประจ ำปี กำรน ำเสนอผลงำน • ผู้ที่ได้รับทุนจะต้องน ำเสนอผลงำนในรูปแบบ E-Poster ในกำรประชุมวิชำกำร ประจ ำปีของสมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2567 โดยส่ง E-Poster ภำยใน วันที่10 เมษำยน 2567 • ผู้ที่ได้รับทุนจะต้องส่งบทคัดย่อเพื่อตีพิมพ์ในวำรสำรสมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่ง ประเทศไทย ภำยในวันที่10 เมษำยน 2567 • ผู้ที่ได้รับทุนทุกคนจะต้องทำ วิดีโอกำรจดักิจกรรมให้ควำมร้ดู้ำนโภชนำกำร และ/ หรือกำรพัฒนำสื่อให้ควำมรู้ด้ำนโภชนำกำร และน ำเสนอในกำรประชุมวิชำกำร ประจ ำปีของสมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2567 โดยส่งวิดีโอ ภำยในวันที่10 เมษำยน 2567 • ผู้ที่ได้รับทุนจะต้องแสดงกิตติกรรมประกำศกำรน ำเสนอผลงำนในรูปแบบ E-Poster บทคัดย่อ รำยงำนผลของโครงกำร และกำรตีพิมพ์ผลงำนว่ำผลงำนนี้ได้รับกำร สนับสนุนจำก "TDA-Meiji Award สมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย " • ผู้ที่ได้รับทุนจะได้รับเงินสนับสนุนในกำรจัดท ำ E-Poster จ ำนวน 1,000 บำท เพื่อ แสดงในงำนประชุมวิชำกำรของสมำคมฯ • ผู้ที่ได้รับทุนจะได้รับเงินสนับสนุนกำรลงทะเบียนงำนประชุมวิชำกำรของสมำคมฯ • ผู้ที่ได้รับทุนส่งรำยงำนผลโครงกำรฉบับสมบูรณ์ให้แก่สมำคมฯ และมีกำรแสดง กิตติกรรมประกำศชื่อทุนนี้ในโครงกำรนั้นๆด้วย ก ำหนดวันส ำคัญต่ำงๆ • ปิดรับสมัครทุนภำยในวันที่ 15 พฤศจิกำยน 2566 • ประกำศผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนในวันที่30 พฤศจิกำยน 2566


340 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association • ผู้ได้รับทุนส่ง E-Poster วิดีโอ บทคัดย่อ รูปเล่มพร้อมบทคัดย่อภำษำไทย และไฟล์ รำยงำนผลโครงกำรฉบับสมบูรณ์ที่มีกำรแสดงกิตติกรรมประกำศชื่อทุนนี้ในโครงกำร นั้นๆ ด้วยให้แก่สมำคมฯ ภำยในวันที่10 เมษำยน 2567 • เสนอผลงำนในกำรประชุมวิชำกำรประจำ ปี2567 ของสมำคมนักก ำหนดอำหำร แห่งประเทศไทย สอบถำมรำยละเอียดเพิ่มเติม: ผู้ประสำนงำน คุณสังวำล ศิริมังคลำกุล 086-609-5680 คุณสมศรี เตชะวรกุล 089-673-8322 สมำคมนักก ำหนดอำหำรแห่งประเทศไทย 080-338-7443 , 02-939-7782 E-mail: [email protected] @Line: 080-338-7443 Website: www.thaidietetics.org


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 341 ทุน TDA-MEIJI AWARD ทุนสนับสนุนการพัฒนางานโภชนาการส าหรับนักก าหนดอาหาร รายชื่อผู้ที่ได้รับทุน TDA-MEIJI AWARD: Improvements on the Infants/Children’s Nutrition ประจ าปี 2566– 2567 ล าดับที่1 ทุนสนับสนุน จำนวน 35,000 บาท เรื่อง “โปรแกรมการให้ความรู้การรับประทานอาหารในผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมีย” โดย นาง สุทุมรัตน์ พูลสี กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ล าดับที่ 2 ทุนสนับสนุน จำนวน 30,000 บาท เรื่อง “การเพิ่มประสิทธิภาพพัฒนาสื่อให้ความรู้กับผู้ป่วยเบาหวานในเด็กด้วยระบบมัลติมีเดีย VDO” โดย นาง กาญจนา ฉิมเรือง งานโภชนาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา ล าดับที่ 3 ทุนสนับสนุน จำนวน 25,000 บาท เรื่อง “พัฒนาสื่อการสอน "หนังสือนิทานภาพ สำหรับผู้ป่วยเด็กเบาหวานชนิดที่ 1"” โดย นางสาว ชมชนก ศรีจันทร์ กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี ล าดับที่ 4 ทุนสนับสนุน จำนวน 20,000 บาท เรื่อง “การพัฒนาโปรแกรมคำนวณพลังงานและสารอาหารตามวัยในเด็กอายุ 0-5 ปี โดย นาย ศักดิ์สิทธิ์ ทาแก้ว กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก


342 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association ล าดับที่ 5 ทุนสนับสนุน จำนวน 15,000 บาท เรื่อง “สื่อการสอนนับคาร์บ 3 มิตินี้เพื่อน้อง” โดย นางสาว สาวิตรี ทุมประเสน กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลสกลนคร จังหวัดสกลนคร รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จำนวน 5,000 บาท เรื่อง “การพัฒนาคู่มือโภชนาการสำหรับผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีการ ล้างไตทางช่องท้อง (CAPD)” โดย นาย อำพน สังเกตชน งานโภชนาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จำนวน 5,000 บาท เรื่อง “โภชนาการกับโรคธาลัสซีเมียชื่อเกมส์ "จับคู่ รู้เรื่อง (โภชนาการกับโรคธาลัสซีเมีย)"” โดย นาง เหมือนฝัน เวฬุวณาธร กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จำนวน 5,000 บาท เรื่อง “โครงการส่งเสริมเด็กน้อยบนเขา เก่ง ฉลาด มีโภชนาการดี” โดย นางสาว อมิตรา เจ๊ะอุเซ็ง กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จำนวน 5,000 บาท เรื่อง “พัฒนารูปแบบการดูแลเด็กอายุ 6-12 เดือน ที่มีภาวะซีดในตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส” โดย นาง นิตยา กิจชอบ กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา จังหวัดนราธิวาส รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จำนวน 5,000 บาท เรื่อง “สื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการ "Pop-up ทำอย่างนี้ไม่มีอ้วน"” โดย นาย มาเร้น ศิริวัฒนไพบูลย์ กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 343 บทคัดย่อ P-37 โปรแกรมการให้ความรู้การรับประทานอาหารในผู้ป่ วยเด็กธาลัสซีเมีย สุทุมรัตน์ พูลสี กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลอุดรธานี บทน า โรคธาลัสซีเมียเป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์ฮีโมโกลบินซึ่งเป็นโปรตีนสำคัญ ในเม็ดเลือดแดง ส่งผลให้มีอาการโลหิตจาง ตาเหลือง ตับโต ม้ามโต หัวใจวายและมีอาการแทรกซ้อนอื่น ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กธาลัสซีเมียมักพบว่ามีการเจริญเติบโตไม่สมวัย ในปัจจุบันอาหาร ขนม และเครื่องดื่ม มีให้เลือกหลากหลายทั้งเหมาะสมกับโรคและไม่เหมาะสม ดังนั้นการให้ความรู้เรื่อง ประทานอาหารที่เหมาะสมสำหรับโรคธาลัสซีเมียให้ถูกต้อง ตั้งแต่วัยเด็ก จะส่งผลถึงสุขภาพที่ดีของเด็ก จนถึงวัยผู้ใหญ่ และวิธีการให้ความรู้ในเด็ก ควรใช้สื่อการสอนที่ดึงดูดความน่าสนใจ ดังนั้นกลุ่มงาน โภชนศาสตร์ โรงพยาบาลอุดรธานี จึงได้พัฒนาเป็นโปรแกรมสื่อการสอนนี้ขึ้นมานอกจากเป็นสื่อการให้ ความรู้ผู้ป่วย ยังใช้สำหรับการเผยแพร่สื่อการสอนนี้ไปยังโรงพยาบาลอื่นๆที่มีผู้ป่วยธาลัสซีเมียได้ วัตถุประสงค์1. เป็นสื่อการเรียนรู้ที่สร้างเสริมความสนใจในผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมียและผู้ปกครอง 2. ผู้ป่วยธาลัสซีเมียมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม วิธีดา เนินการวิจยั ทดสอบความรู้ก่อนเริ่มกิจกรรม (pre-test) , ดูวีดีโอสื่อการสอน เรื่องโภชนาการใน ผู้ป่วยธาลัสซีเมีย , เล่นกิจกรรมเลือกบัตรภาพ ขนม เครื่องดื่ม ที่มีปริมาณธาตุเหล็ก โซเดียม น้ำตาลที่ เหมาะสมในการบริโภค , แจกแผ่นพับการบริโภคอาหารในโรคธาลัสซีเมีย , เล่นเกมออนไลน์เรียนรู้ด้วย ตนเอง ประกอบด้วย 2 เกม คือ เกมที่ 1 เกมเลือกรับประทานอาหารอะไรได้บ้าง และเกมที่ 2 กินได้ กิน ดี มีประโยชน์ และทดสอบความรู้หลังกิจกรรม (post-test) โดยใช้แบบทดสอบความรู้การรับประทาน อาหารในผู้ป่วยธาลัสซีเมีย ผลการวิจยัและศึกษา คะแนนทดสอบความรู้จำนวน 10 ข้อ ของผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมียและผู้ปกครอง ก่อนเริ่มกิจกรรม จำนวน 20 คน มีคะแนนเฉลี่ย 8.35 และคะแนนทดสอบความรู้ของผู้ป่วยเด็กธาลัส ซีเมียและผู้ปกครองหลังจบกิจกรรมมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คะแนนเฉลี่ย 8.85 คะแนนความพึงพอใจ ของผู้ปกครองในกิจกรรมโปรแกรมการให้ความรู้การรับประทานอาหารในผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมีย จำนวน 20 คน พบว่าผู้ปกครองและผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมีย มีความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 98 สรปุผลการวิจยัและศึกษา การดำเนินกิจกรรมโปรแกรมการให้ความรู้การรับประทานอาหารในผู้ป่วย ธาลัสซีเมีย ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมียและผู้ปกครอง มีความรู้ด้านการรับประทานอาหารที่ดีขึ้น คาดหวังว่ากิจกรรมนี้จะผลให้ผู้ป่วยมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหาร ส่งเสริมการเจริญเติบโตของ ผู้ป่วยสมวัยและสุขภาพแข็งแรง ลดภาวะแทรกซ้อนจากธาตุเหล็กเกินในเลือดได้ กิตติกรรมประกาศ ผลงานนี้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Meiji Co., Ltd., Japan


344 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทคัดย่อ P-38 การเพิ่มประสิทธิภาพพฒันาสื่อให้ความร้กูบัผ้ปู่วยเบาหวานในเดก ็ ด้วยระบบมลัติมีเดีย (VDO) กาญจนา ฉิมเรือง 1 ,พรพิศ เรืองขจร 2 งานโภชนาการ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา บทน า ในปัจจุบันโรคเบาหวานยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้และมีโอกาสเกิดแทรกซ้อน โดย อุบัติการณ์ของเบาหวานชนิดที่ 1 ในเด็กและวัยรุ่นนั้นมากกว่าชนิดที่ 2 ในปัจจุบัน พบผู้ป่วยเด็กและ วัยรุ่นที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 เพิ่มมากขึ้นจากอดีตเป็นอย่างมาก สืบเนื่องจากมีเด็กอ้วนมากขึ้น จึงมี การผลิตสื่อการสอนเพื่อรองรับผู้ป่วย ทบทวนการบริการ โดยใช้แนวคิดการบูรณาการดูแลผู้ป่วยแบบ ทีมสหสาขาวิชาชีพ วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพพัฒนาสื่อการสอนในเด็กเบาหวานด้วยระบบมัลติมีเดีย ให้ผู้ป่วย และครอบครัว เกิดทักษะในการปฏิบัติ การประเมินอาหารที่รับประทานให้เหมาะสมกับพยาธิสภาพของ โรค วิธีการวิจยัและศึกษา ผู้ป่วยอาสาสมัคร จำนวน 20 ราย อายุ 5- 18 ปี ได้รับการวินิจฉัยเป็น โรคเบาหวานน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร > 8 ชั่วโมง มีค่าตั้งแต่ 126 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ขึ้นไป แพทย์ จะส่งผู้ป่วยมาเรียนรู้การปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้เกิดความสมดุล การนับคาร์บ อ่านฉลาก โภชนาการ คำนวณพลังงานสารอาหาร อาหารแลกเปลี่ยน การเลือกซื้ออาหาร โดยใช้สื่อการสอน มัลติมีเดีย (VDO) คู่มือ แผ่นพับ และการพูดคุยกับนักโภชนาการ ผู้ป่วยจะได้รับการแนะนำ เรียนรู้ ปฏิบัติ และการติดตามเป็นรายบุคคล ผลการวิจยัและศึกษา ผู้ป่วยเด็ก อายุ 5-18 ปี จำนวน 20 ราย เพศหญิง 15 ราย (75%) เพศชาย 5 ราย (25%) จากการศึกษาผลการทดสอบความรู้ความเข้าใจด้านการใช้สื่อการสอน ผู้ป่วยให้คะแนนมี ความรู้ความเข้าใจมาก-มากที่สุด >80% และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ อ่านฉลากโภชนาการ นับคาร์บ รู้จักอาหารแลกเปลี่ยนในหมวดเดียวกัน สามารถเลือกซื้อเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปได้ มีความรู้ความเข้าใจระดับปานกลาง 10% มีความรู้ความเข้าใจระดับน้อยมาก 6.67% มี ความรู้ความเข้าใจต้องปรับปรุง แก้ไข <3.33% สำหรับผู้ป่วยที่มีความเข้าใจในระดับน้อยมาก ต้อง ปรับปรุง แก้ไข จะได้รับการติดตามอย่างใกล้ชิดเพื่อให้เกิดผลลัพธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค อาหารอย่างเป็นรูปธรรม สรปุและวิจารณ์การติดตาม การให้กำลังใจ เป็นที่ปรึกษา และการดูแลจากทีมสหสาขา จะทำผู้ป่วย ได้รับการความรู้ครบถ้วน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องเพื่อให้เกิด ความ สมดุลของระดับน้ำตาลในเลือดสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข เด็กสมดุลด้วยสามเหลี่ยม สมดุล กิตติกรรมประกาศ ผลงานนี้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Meiji Co., Ltd., Japan


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 345 บทคัดย่อ P-39 พัฒนาสื่อการสอน หนังสือนิทานภาพ สา หรบัผ้ปู่วยเดก ็ เบาหวานชนิดที่1 “พี่อินซูฮีโร่ของน้อง น ้าตาล” ชมชนก ศรีจันทร์ งานโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ฉลิมพระเกียรติจงัหวดัปทุมธานี บทน า เพื่อพัฒนาสื่อการสอนสำหรับผู้ป่วยเด็กเบาหวานชนิดที่ 1 ในรูปแบบหนังสือนิทานภาพ เล่าถึง การทำงานของอินซูลิน และบทบาทของอาหารที่มีผลต่อระดับน้ำตาลในเลือด ประโยชน์ของหนังสือ นิทาน นอกจากจะช่วยให้เด็กๆได้เปิดโลกแห่งจินตนาการ เรียนรู้และทำความเข้าใจกับการอ่านแล้วนั้น ยังส่งเสริมให้เด็กและผู้ปกครองได้ใช้เวลาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ลดช่องว่างระหว่างกันได้มากขึ้น และสำหรับทีมบุคลากรทางการแพทย์ อาจช่วยให้สามารถเข้าถึงผู้ป่วยเด็กได้มากขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพในการชักจูงเด็กให้มีความคิดคล้อยตาม เป็นแรง กระตุ้น โน้มน้าวให้เด็กเปิดใจที่จะยอมรับพฤติกรรมที่ส่งผลต่อความสำคัญในการดูแลตัวเองเมื่อเป็น เบาหวานชนิดที่ 1 วิธีการวิจยัและศึกษา ทบทวนวรรณกรรม แนวทางการสร้างนิทานภาพสำหรับเด็ก ร่างโครงเรื่อง และ บทพูดของตัวละคร ทบทวนความถูกต้องของเนื้อหา วาดภาพ ทำกราฟฟิก จัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม และ ประเมินความพึงพอใจโดยผู้ใช้สื่อการสอนจริง นักกำหนดอาหาร 20 ราย ใน 4 หัวข้อหลัก ได้แก่ เนื้อหา โครงเรื่อง การใช้ภาษา และภาพประกอบ ผลการวิจยัและศึกษา ผลการประเมินความพึงพอใจหลังใช้สื่อการสอน พบว่า เนื้อหา โครงเรื่อง การใช้ ภาษา และภาพประกอบ ได้คะแนนความพึงพอใจอยู่ที่ร้อยละ 96.6, 93.7, 93.5 และ 98.2 ตามลำดับ สรปุผลการวิจยัและศึกษา ผลการประเมินการใช้งานอยู่ในเกณฑ์ดี แต่เนื้อหาเป็นข้อมูลเฉพาะกลุ่ม เนื่องจากทำขึ้นเพื่อผู้ป่วยเด็กที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 เป็นหลัก ดังนั้นหากเด็กทั่วไปต้องการอ่าน ต้องมี ผู้ปกครองช่วยอธิบายเพิ่มเติมเพื่อเสริมความเข้าใจ กิตติกรรมประกาศ ผลงานนี้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Meiji Co., Ltd., Japan


346 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทคัดย่อ P-40 การพัฒนาโปรแกรมค านวณพลังงานและสารอาหารตามวัยในเด็กอายุ 0-5 ปี (Complementary Feeding age 0-5 Years) โดยประยุกต์จาก Microsoft Excel ศกัดิส์ิทธิ์ทาแก้ว กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลบางกระทุ่ม จงัหวดัพิษณุโลก บทน า อาหารและโภชนาการในช่วงวัยทารกและเด็กอายุถึง 5 ปี เป็นพื้นฐานสำคัญของการมีสุขภาพ และสติปัญญาที่ดีในระยะยาวและยังมีความสำคัญมากต่อการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังใน เด็กในช่วงวัย แรกเกิด – 5 ปี ในระยะนี้การเจริญเติบโตของร่างกายและสมองจะรวดเร็วกว่าวัยอื่นๆ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า จากข้อมูลดังกล่าวในเรื่องของการดูแลด้านอาหารและโภชนาการในทารกจนถึงวัยเด็กนั้น ค่อนข้างมี ความสำคัญและมีรายละเอียดที่ค่อนข้างมากบวกกับการดูแลเอาใจใส่ของผู้เลี้ยงดู และการเข้าถึงความรู้ ความเข้าใจของผู้ดูแลในเรื่องอาหารและโภชนาการของอาหารตามวัยยังมีไม่ค่อยมากนักและบวกกับ บุคลากรทางการแพทย์มีไม่เพียงพอ ทำให้ไม่สามารถให้คำปรึกษาได้ทั่วถึง ดังนั้นผู้ทำโครงการจึง ต้องการที่จะพัฒนาโปรแกรมคำนวณพลังงานและสารอาหารตามวัยในเด็กอายุ 0-5 ปี (Complementary Feeding age 0-5 Years) โดยประยุกต์จาก Microsoft Excel เพื่อให้นักโภชนาการ/นักกำหนดอาหาร กลุ่มวิชาชีพอื่นๆ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักโภชนาการ/นักกำหนดอาหารและกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ สามารถนำไปใช้ในการ คำนวณพลังงานสารอาหารและการแนะนำปริมาณสัดส่วนอาหารแก่ผู้ดูแลได้ ผู้รับบริการสามารถทราบ ถึงข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการตามวัยและจัดสัดส่วนมื้ออาหารตามการคำนวณของโปรแกรมได้ วิธีการวิจยัและศึกษา ขั้นรวบรวมข้อมูล: รวบรวมข้อมูลพลังงานสารอาหารต่างๆ ที่เหมาะสมสำหรับ ในเด็กอายุ 0-5 ปี ขั้นเตรียมการ: ติดต่อประสานงานร่วมกับงาน ANC Clinic และโรงเรียนพ่อแม่ ขั้น ดำเนินการ: พัฒนาโปรแกรมร่วมกับงาน IT ผลการวิจยัและการศึกษา การพัฒนาโปรแกรมคำนวณพลังงานและสารอาหารตามวัยในเด็กอายุ 0-5 ปี (Complementary Feeding age 0-5 Years) โดยประยุกต์จาก Microsoft Excel ทำให้ทีมสหวิชาชพ สามารถใช้โปรแกรมและเข้าถึงข้อมูลของอาหารตามวัยได้อย่างรวดเร็วและสามารถให้คำแนะนำได้ รวม ไปถึงผู้มารับบริการได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องของอาหารตามวัยและสามารถนำไปจัดสัดส่วน ในการให้อาหารสำหรับเด็กได้ สรปุผลการวิจยัและการศึกษา เป็นการพัฒนาโปรแกรมคำนวณพลังงานและสารอาหารตามวัยในเด็ก อายุ 0-5 ปี (Complementary Feeding age 0-5 Years) โดยประยุกต์จาก Microsoft Excel ที่ต้องใช้ ความร่วมมือของทีมการให้คำแนะนำข้อมูลแก่ผู้ดูแล สามารถนำข้อมูลที่ได้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน อีกทั้งทีมสหวิชาชีพสามารถใช้โปรแกรมเพื่อเป็นแนวทางในการให้คำปรึกษาได้อย่าง มั่นใจและมีความแม่นยำมากยิ่งขึ้น กิตติกรรมประกาศ ผลงานนี้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Meiji Co., Ltd., Japan


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 347 บทคัดย่อ P-41 สื่อการสอนนับคาร์บ 3 มิตินี้เพื่อน้อง สาวิตรีทุมประเสน กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลสกลนคร บทน า โรงพยาบาลสกลนคร มีผู้ป่วย เบาหวานชนิดที่1 จำนวน 93 ราย (ข้อมูลคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลสกลนคร ,66) โดยเป็นเด็ก อายุ 2 - 12 ปี ร้อยละ 95 ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1 ทั้งหมด ของโรงพยาบาลสกลนคร ด้วยอายุและการจดจ่อในการรับความรู้เรื่องการสอนนับคาร์บ ของผู้ป่วยเด็ก จะน้อยกว่าผู้ใหญ่ นักโภชนาการผู้ที่มีบทการให้การให้โภชนบำบัดผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1 จึงได้พัฒนา สื่อการสอนนับคาร์บ 3 มิติ โดยพัฒนามาจากแผ่นพับเดิมสำหรับให้ความรู้ผู้ป่วย เพื่อดึงดูดความสนใจ และช่วยเพิ่มความจำในเด็ก และใน 1 กล่องสื่อการสอนนับคาร์บ 3 มิติ มีเกมส์วัดความรู้ เพื่อทบทวน การนับคาร์บ จากเกมส์การเล่นของผู้ป่วย วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสื่อในการส่งเสริมส่งเสริมการนับคาร์บ สำหรับผู้ป่วยเพื่อสนับสนุนกระบวนการดูแลรักษา ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ให้มี ประสิทธิภาพ ได้มาตรฐาน และสามารถนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน วิธีการวิจยัและศึกษา คิดค้นข้อมูลการนับคาร์บ เพิ่มเติมจากข้อมูลแผ่นพับที่ใช้ในการให้ความรู้ผู้ป่วยในปัจจุบันจัดทำสื่อ 3 มิติ ที่น่าสนใจจากพัสดุที่หาง่าย และพกพาสะดวก จัดทำแผ่นเกมส์หมุนได้ สำหรับทบทวนความรู้ หลังการสอนนับคาร์บที่นักโภชนาการแนะนำไปตามหมวดหมู่ต่างๆ และทำการเก็บข้อมูล ก่อนและหลัง ความรู้ที่ได้จากการนำสื่อการนับคาร์บ 3 มิติไปใช้ในการให้คำแนะนำ ผลการวิจยัและศึกษา ได้สื่อการสอนได้สื่อ3 มิติ ที่มีความน่าสนใจ สำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1 ทำให้ผู้ป่วยเกิดความสนใจ และจดจำ พบว่าผู้ป่วยได้รับความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 100 สรปุและวิจารณ์ผลการศึกษา 1.การเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมายจะทำได้ค่อนข้างยากเนื่องจากผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิกโภชนบำบัด ผู้ป่วยเบาหวานจะมีจำนวนผู้รับบริการที่น้อยเฉลี่ย2-3เดือนต่อ1ราย 2.สิ่งที่สังเกตุได้ชัดเจนจากการใช้สื่อการสอนนับคาร์บ 3 มิตินี้เพื่อน้อง คือการเกิดความสนใจของ ผู้รับบริการ กิตติกรรมประกาศ ผลงานนี้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Meiji Co., Ltd., Japan


348 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทคัดย่อ P-42 การพฒันาคู่มือโภชนาการส าหรบัผู้ป่วยเด ็ กที่ได้รบัการบา บดัทดแทนไตด้วยวิธีการล้างไต ทางช่องท้อง อ าพน สังเกตชน โรงพยาบาลศรีนครินทร์คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลยัขอนแก่น บทน า โรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (End Stage Renal Disease: ESRD) ในเด็กทั่วโลกพบ 18-100 ราย ต่อล้านประชากร การบำบัดทดแทนไตที่เหมาะสมกับผู้ป่วยเด็กคือการล้างไตทางช่องท้อง (Peritoneal Dialysis: PD) ในปี 2563 ประเทศไทยมีผู้ป่วย จำนวน 559 ราย จากการเก็บรวบรวมข้อมูลภาวะ โภชนาการในคลินิกล้างไตทางช่องท้อง (กุมาร) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ประจำปี 2566 พบว่ามีผู้ป่วย เด็กจำนวน 18 ราย ผู้ปกครอง/ผู้ดูแล ยังเกิดความไม่เข้าใจในหลักการดูแลด้านโภชนาการโดยผู้ป่วย เด็กในกลุ่มดังกล่าวจะต้องได้รับสารอาหารพลังงานและโปรตีนที่เพียงพอ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนการ รักษาของแพทย์ จำเป็นต้องได้รับการให้โภชนบำบัดที่เหมาะสม ร่วมกับการดูแลแบบทีมสหสาขา วิชาชีพจึงจะช่วยให้ผลลัพธ์ของการรักษาดีขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทำและพัฒนาสื่อคู่มือคำแนะนำโภชนาการสำหรับผู้ป่วยเด็กล้างไตทางช่องท้อง วิธีการดา เนินวิจยั ประเมินความรู้ด้านโภชนาการในผู้ปกครอง/ผู้ดูแลผู้ป่วย จากนั้นรวบรวมข้อมูลจาก แหล่งต่างๆพร้อมดำเนินการจัดทำเล่มคู่มือ ตรวจสอบข้อมูลและเนื้อหาโดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สหสาขาวิชาชีพ ดำเนินการพิมพ์รูปเล่มและนำไปใช้เป็นคู่มือให้คำแนะนำโภชนาการที่คลินิกล้างไต (กุมาร) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ พร้อมประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครอง/ผู้ดูแลผู้ป่วยต่อคู่มือคำแนะนำ โภชนาการสำหรับผู้ป่วยเด็กล้างไตทางช่องท้อง ผลการวิจยั ผลการประเมินความรู้ด้านโภชนาการ ในผู้ปกครอง/ผู้ดูแลผู้ป่วย พบว่าโดยเฉลี่ยมีระดับ ความรู้ต่ำ ร้อยละ 55.55 และจากการประเมินความพึงพอใจต่อคู่มือ พบว่ามีความพึงพอใจโดยรวม อยู่ใน ระดับคุณภาพดีมาก ร้อยละ 66.66 สรุป การพัฒนาคู่มือคำแนะนำโภชนาการสำหรับผู้ป่วยเด็กที่ล้างไตทางช่องท้อง ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลผู้ป่วย มีระดับความพึงพอใจโดยรวมต่อคู่มือคำแนะนำที่ได้พัฒนาขึ้น อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก สามารถ นำมาใช้เป็นสื่อการสอนในการให้โภชนศึกษาที่คลินิกล้างไตทางช่องท้องได้ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีภาวะ โภชนาการที่ดีขึ้น และเจริญเติบโตตามวัย กิตติกรรมประกาศ ผลงานนี้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Meiji Co., Ltd., Japan


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 349 บทคัดย่อ P-43 จับคู่...รู้เรื่องโภชนาการ (โภชนาการกับโรคธาลัสซีเมีย) เหมือนฝัน เวฬุวณาธร กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลหนองบัวล าภู จังหวัดหนองบัวล าภู บทน า เนื่องจากปัจจุบันโรงพยาบาลหนองบัวลำภู มีผู้ป่วยเด็กที่เป็นโรคธาลัสซีเมีย ที่มารับเลือดเป็น ประจำ จำนวน 45 ราย ที่ผ่านมาได้มีการให้โภชนศึกษา แต่ยังไม่มีเครื่องมือ ที่ช่วยให้ผู้ป่วยและญาติมี ความเข้าใจ เกี่ยวกับอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง จึงได้ผลิตสื่อการสอน “จับคู่...รู้เรื่องโภชนาการ (โภชนาการ กับโรคธาลัสซีเมีย)” เป็นสื่อการสอนเพื่อช่วยเพิ่มความเข้าใจให้ผู้ป่วยและญาติมากขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อผลิตสื่อการสอนด้านโภชนบำศึกษา เพิ่มความรู้ เพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารของ ผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมียควรรับประทานและไม่ควรรับประทาน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจาก โรคธาลัสซีเมีย และเพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีกิจกรรมระหว่างรับบริการเข้าเลือดที่ตึกกุมารเวชกรรม วิธีการวิจยัและศึกษา เพื่อศึกษาประสิทธภาพของนวัตกรรม “จับคู่...รู้เรื่อง (โภชนาการกับธาลัสซี เมีย) ใช้เป็นสื่อการสอนด้านโภชนบำบัด กลุ่มผู้ป่วยเด็กโรคธาลัสซีเมียที่มารับเลือดเป็นประจำ เปรียบเทียบ การทดสอบความรู้ก่อนและหลัง และประเมินความพึงพอใจ ผลการวิจัยและศึกษา พบว่าผู้ป่วยและญาติ ที่ร่วมกิจกรรม มีผลคะแนนความรู้เกี่ยวกับโภชนาการกับ โรคธาลัสซีเมียหลังทำกิจกรรมสูงกว่าก่อนทำกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีคะแนน เฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 9.52 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 8.22 คะแนน สรุปผลการวิจยัและศึกษา ผู้ป่วยและญาติมีความรู้เพิ่มขึ้นวัดจากคะแนนก่อนและหลังทำกิจกรรม และ มีความพึงพอใจในการใช้สื่อโดยรวมที่ระดับดีมาก กิตติกรรมประกาศ ผลงานนี้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Meiji Co., Ltd., Japan


350 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทคัดย่อ P-44 โครงการเด็กน้อยบนเขา เก่ง ฉลาด มีโภชนาการดี อมิตรา เจะ๊อเุซง ็ ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลสุคิริน จงัหวดันราธิวาส บทน า ปัญหาทุพโภชนาการในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ ครอบครัวและผู้ดูแล เป็นสถาบันที่สำคัญต่อพัฒนาการของเด็ก เด็กจะมีพัฒนาการที่ดีขึ้นอยู่กับการอบรมเลี้ยงดูของ ผู้ปกครองและผู้ดูแล ภาวะโภชนาการของเด็กขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายด้าน ปัจจัยด้านครอบครัวเป็นปัจจัย ที่สำคัญ การมีความรู้ด้านโภชนาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่จะช่วยให้เด็กได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน และช่วยในการวางแผนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของเด็กเพื่อส่งเสริมโภชนาการได้ทันท่วงทีและ เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ได้รับอาหารที่เหมาะสมมีคุณค่าทางโภชนาการและเพียงพอต่อ ความต้องการของร่างกาย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะ โภชนาการในเด็กปฐมวัยและสามารถนำไปปฏิบัติได้ 2. เพื่อพัฒนาสื่อสร้างความรอบรู้สุขภาพ ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ 3-5 ปี ที่ สามารถเข้าใจ เข้าถึง และเกิดประโยชน์ต่อการนำไปใช้อย่างเหมาะสม วิธีการวิจยัและศึกษา จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านโภชนาการ ด้านพัฒนาการ ด้านการดูแลปากและช่อง ฟันในเด็กอายุ 3-5 ปีแก่ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็ก จัดกิจกรรมการสาธิตและร่วมกันดัดแปลงอาหาร สำหรับเด็กปฐมวัย เล่นเกมแปะอาหารแลกเปลี่ยน แจกสมุดคู่มือโภชนาการในเด็กปฐมวัย มีการใช้ แบบสอบถามประเมินก่อนและหลังการให้ความรู้และประเมินความพึงพอใจต่อสื่อการสอน ผลการวิจยัและศึกษา กิจกรรมให้ความรู้และพัฒนาสื่อด้านโภชนาการ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ก่อน และหลังกิจกรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีคะแนนเฉลี่ยความรู้หลังการ เข้ากิจกรรมเพิ่มสูงขึ้นจาก 12.37 เป็น 16.59 คะแนน และการประเมินความพึงพอใจต่อสื่อ ผู้เข้าร่วม กิจกรรมมีความพึงพอใจต่อสื่อโดยภาพรวมอยู่ในระดับพอใจมาก-พอใจมากที่สุด สรุปผลการวิจยัและศึกษา การให้ความรู้และการพัฒนาสื่อด้านโภชนาการพบว่าผู้ปกครองและครู ผู้ดูแลเด็กมีความรู้เพิ่มขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้ากิจกรรมไปประกอบอาหารให้กับเด็ก ปฐมวัยได้ เนื่องจากมีสื่อและสมุดคู่มือโภชนาการในเด็กปฐมวัยไว้ดูประกอบความเข้าใจ แต่ต้องมีการ ติดตามน้ำหนักและส่วนสูงของเด็กอย่างต่อเนื่อง เพื่อดูผลลัพธ์ในระยะยาว กิตติกรรมประกาศ ผลงานนี้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Meiji Co., Ltd., Japan


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 351 บทคัดย่อ P-45 พัฒนารูปแบบการดูแลเด็กอายุ6-12เดือน ที่มีภาวะซีดในต าบลยี่งอ อ าเภอยี่งอ จงัหวดันราธิวาส นิตยา กิจชอบ กลุ่มงานโภชนศาสตร์โรงพยาบาลยีง่อเฉลิมพระเกียรติ๘๐ พรรษา อา เภอยีง่อ จงัหวดันราธิวาส บทน า ภาวะซีดหรือภาวะโลหิตจาง(anemia)เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในเด็กและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ สำคัญ อำเภอยี่งอเป็นอำเภอที่พบมากเป็นอันดับที่1ของจังหวัดนราธิวาส พบว่าเด็กอายุ 6-12 เดือน มี ภาวะโรคโลหิตจางปีงบประมาณ 2565 คิดเป็นร้อยละ42.85 ( 21/9) และ ปีงบประมาณ 2566 คิดเป็น ร้อยละ31.50 ( 73/23) ซึ่งผลดังกล่าวยังสูงกว่าร้อยละ20ตามเกณฑ์เป้าหมายระดับเขตสุขภาพที่ กำหนดดังนั้นกลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา เห็นความสำคัญของ ปัญหา จึงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กอายุ 6-12 เดือน ที่มีภาวะโรคโลหิตจาง โดยการดูแลสุขภาพด้านการบริโภคอาหารให้เหมะสมตามวัยและถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อลด ภาวะซีดในเด็กอายุ 6-12 เดือน นำสู่การมีสุขภาพที่ดีต่อไป วัตถุประสงค์ เพื่อลดภาวะซีดในเด็ก 6-12 เดือน วิถีการวิจยัและศึกษา คัดกรองประเมินภาวะโภชนาการกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาศักยภาพผู้ดูแลด้วยกล ยุทธ์ 3 ช. ประกอบด้วย 1.ชวน : ประชุม-อบรมเชิงปฏิบัติ,ทำประชาคม,จัดทำ focus group ระดม ความคิด 2.ชม:แสดงตัวอย่างอาหารจริง,แสดงตัวอย่างเมนูอาหารที่ดัดแปลงเพิ่มธาตุเหล็ก สาธิตเมนู ดัดแปลงอาหารเพิ่มธาตุเหล็ก 3.ชิม:ให้ผู้ปกครองและเด็กรับประทานอาหารตามเมนูที่จัดแสดง ประเมิน ความพึงใจต่อเมนูอาหารที่ได้จัดทำขึ้น ติดตามประเมินผล เมื่อดำเนินการครบ 1 เดือน ติดตามอย่าง ต่อเนื่อง เดือนละ 1 ครั้ง เป็นระยะเวลา 3 เดือน วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการดำเนินการ ผลการวิจัยและศึกษา จากการดำเนินงาน พบว่ากลุ่มเป้าหมาย ทั้งหมดจำนวน 23 คน มีภาวะ โภชนาการและผลเลือดดีขึ้นเป็นปกติ จำนวน 17 คน ยังมีภาวะซีดอีก 6 คน ส่งผลให้มีภาวะโลหิตจาง อยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ 73.91 ผลการประเมินความพึงใจต่อเมนูอาหาร 5เมนูดัดแปลงเพิ่มธาตุเหล็ก ได้แก่ เมนูข้าวผัดพระอาทิตย์ เมนูแซนวิชตับบด ตับบด พิซซ่าโอบรัก ไข่ม้วนอุ่นรัก นําไปทดสอบทาง ประสาทสัมผัสของเมนูอาหารที่ดัดแปลงแล้วพบว่าผลคะแนนความชอบลักษณะที่ศึกษาทั้ง5ด้าน ประกอบด้วย 1.ด้านลักษณะปรากฏ2.ด้านสีสัน3.ด้านกลิ่น4.ด้านรสชาติและ5.ด้านความชอบโดยรวมมี คะแนนเฉลี่ยอยู่ในช่วง 4.4-4.8, 4.0-4.4, 3.6-4.2, 3.5-3.8 และ4.0-4.6 ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ชอบ สรปุและวิจารณ์จากการศึกษา ผลของการ พัฒนาศักยภาพผู้ดูแลด้วยกลยุทธ์ 3 ช. ดูแลให้เด็กได้รับ อาหารสมวัย ตามความต้อง และการเลือกอาหารลักษณะที่เหมาะสม ผู้ดูแลให้ความสนใจและความรวม มือปฏิบัติตามแผน รวมถึงมีการติดตามให้คำปรึกษาประเมินภาวะโภชนาการเด็กอย่างใกล้ชิดและ ต่อเนื่องของนักโภชนาการในครั้งนี้เป็นสิ่งสำคัญในการทำให้เด็กภาวะโภชนาการที่ดีขึ้นและห่างไกลโรค โลหิตจาง นำสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป กิตติกรรมประกาศ ผลงานนี้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Meiji Co., Ltd., Japan


352 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทคัดย่อ P-46 สื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการ “Pop-up ท าอย่างนี้ไม่มีอ้วน” พรรณวิภา แจ่มทุ่ง 1 , มาเร้น ศิริวฒันไพบูลย์ 1 1 กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย บทน า โรคอ้วนเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เด็กทั่วโลกมีปัญหาโรคอ้วนถึงร้อยละ 10 และมีแนวโน้ม ที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สำหรับประเทศไทย จากข้อมูล กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า เด็กไทย อายุ 0-5 ปี มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 9.13 ส่วนจังหวัดสุโขทัยนั้นพบว่า เด็กอายุ 0 -5 ปี มีภาวะ เริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 13.4 เด็กก่อนวัยเรียนที่เป็นโรคอ้วนนั้นจะเกิดผลกระทบทั้งทางตรงต่อด้าน ร่างกาย สาเหตุของโรคอ้วนในเด็กก่อนวัยเรียน เกิดจากปัจจัยหลายประการ อีกทั้งการแก้ไขปัญหาต้อง อาศัยองค์ประกอบสำคัญหลายอย่าง พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและบุคลากรสาธารณสุข ต้อง ร่วมมือกัน จึงจะสามารถแก้ไขปัญหาภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยก่อนเรียนได้ ทางกลุ่มงานโภชน ศาสตร์ โรงพยาบาลสุโขทัย เล็งเห็นถึงปัญหานี้ จึงได้คิดค้นสื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการขึ้นมาเพื่อให้ ความรู้แก่เด็กวัยก่อนเรียน นำไปสู่การป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กที่มีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน ผ่านครู พ่อ แม่ ผู้ปกครองและบุคลากรสาธารณสุข รวมถึงเพื่อส่งเสริมสุขภาพในเด็กวัยก่อนเรียน วัตถุประสงค์ในการจัดท านวัตกรรม เพื่อต่อยอดจากนวัตกรรมที่มีอยู่เดิมจาก สำนักโภชนาการ กรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้เด็กเห็นภาพและเข้าใจอย่างชัดเจนมากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพใน การรับรู้และความเข้าใจของเด็ก รวมถึงช่วยให้ผู้ปกครองและคุณครูได้มีอุปกรณ์และสื่อทำกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพร่วมกับเด็ก วิธีดา เนินงาน 1. กำหนดหัวข้อนวัตกรรมที่ต้องการพัฒนา ศึกษาข้อมูลและทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้อง รวมทั้งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ กุมารแพทย์ นักโภชนาการ ผู้เชี่ยวชาญด้านพฤติกรรมเด็ก วัยก่อนเรียนและคุณครูอนุบาล 2. ดำเนินการจัดทำนวัตกรรมและตรวจคุณภาพของเครื่องมือนวัตกรรม โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3. การนำนวัตกรรมไปทดลองใช้ นำเสนอและสรุปผล อภิปรายผลของนวตักรรม จากการประเมินความพึงพอใน นวัตกรรม สื่อให้ความรู้สำหรับเด็กก่อนวัย เรียน “Pop up ทำอย่างนี้ ไม่มีอ้วน” พบว่า กลุ่มตัวอย่าง บุคลากรทางการแพทย์ครูสอนระดับปฐมวัย และผู้ปกครองที่มีบุตรอายุระหว่าง 3-5 ปี พึงพอใจมากที่สุด อาจเนื่องมาจาก นวัตกรรมชิ้นนี้เกิดจาก การขาดแคลนสื่อที่เกี่ยวข้องกับภาวะอ้วนและน้ำหนักเกินในเด็กวัย 3-5 ปีและมีผู้เชียวชาญในการให้ คำแนะนำ ข้อเสนอแนะ 1. ขอบของสื่อควรทำเป็นลักษณะมน เพื่อป้องกันการบาดเจ็บ 2. เพิ่ม QR Code เพื่อการเข้าถึงข้อมูลได้สะดวกมากขึ้น 3. บางหน้าของสื่อ ยังพอมีพื้นที่เหลืออยู่ สามารถเพิ่มรูปภาพเข้าไปได้ กิตติกรรมประกาศ ผลงานนี้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ Meiji Co., Ltd., Japan


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 353 ชื่อโครงการ ทุนพฒันาองค์ความรู้ด้านการให้โภชนบา บดัในผ้ปู่วยเบาหวานที่เข้ารบับริการ ในโรงพยาบาล ที่มา ความชุกของโรคเบาหวานในปัจจุบันมีสัดส่วนเทียบเท่ากับโรคระบาดแล้ว โดยผู้ใหญ่กว่า 537 ล้านคนทั่วโลกเป็นโรคนี้ และมีแนวโน้มที่จะเพื่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลสหพันธ์โรคเบาหวาน นานาชาติ ปี 2564 ระบุว่ามีผู้เสียชีวิตจากโรงเบาหวาน 1 ราย ทุกๆ 5 วินาที และจากฐานข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขพบว่า ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานในปี 2565 จำนวน 3.3 ล้านคน โดยการดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจเป็นอย่างดี จากบุคลากรทางการแพทย์ในการควบคุมโรค และการแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถ ควบคุมระดับน้ำตาล และควบคุมไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อนได้ มีแนวทางปฎิบัติจากความสำคัญของ บุคลากรทางการแพทย์ในการแนะนำ ให้กำลังใจ และติดตามผลการรักษาจึงมีบทบาทสำคัญ ร่วมกับการ ดูแลปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและถูกวิธีของผู้เป็นเบาหวานด้วยเช่นกัน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการให้โภชนบำบัดที่เหมาะสมและถูกวิธีพร้อมทั้งการติดตามผลในผู้ป่วย เบาหวานที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลในคลินิกเบาหวาน 2. เพื่อส่งเสริมให้มีการพิจารณาการให้โภชนบำบัดรายบุคคล เพื่อนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีแก่คนไข้ เบาหวานที่เข้ารับบริการที่โรงพยาบาล 3. เพื่อให้สหสาขาวิชาชีพได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านการดูแลผู้ป่วยเบาหวานด้วยโภชน บำบัด และติดตามผล คณุสมบตัิของผ้เูข้ารบัทุน 1. สังกัดโรงพยาบาลที่มีคลินิกเบาหวานหรือมีการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบสหสาขาวิชาชีพ และนักกำหนดอาหารต้องเป็นสมาชิกของสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 2. โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการแบ่งเป็น โรงพยาบาลขนาดใหญ่ มากกว่า 300 เตียง จำนวน 25 โรงพยาบาล และจำนวนน้อยกว่า 300 เตียง 25 โรงพยาบาล


354 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association ขนั้ตอนการดา เนินงาน 1. สมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย ประชาสัมพันธ์เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ ตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม – 15 กันยายน 2566 จำนวน 50 กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ตาม คุณสมบัติของผู้เข้ารับทุน โดยสมาคมฯ จะพิจารณาลำดับตามวัน เวลา ที่ใบสมัครมาถึงสมาคม ฯ เป็นสำคัญ 2. สมาคมฯจัดประชุมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการให้โภชนบำบัดแก่ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้ารับ บริการที่โรงพยาบาลและข้อกำหนด หลักเกณฑ์การพิจารณาทุน ในวันที่ 29 กันยายน 2566 3. ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ • ทำการเลือกผู้ป่วยเบาหวานที่เข้ารับบริการที่คลินิกเบาหวานของโรงพยาบาล ที่จะดูแลและ ติดตามผล จำนวน 10 รายและมีการติดตามในการให้โภชนบำบัดให้เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลา 4 เดือน (ภายในเดือนตุลาคม 2566 – กุมภาพันธ์2567) • บันทึกข้อมูลแผนการให้โภชนบำบัดรายบุคคลเป็นรายเดือน และสรุปรายงานผลเมื่อครบ 4 เดือน • โดยส่งผลมาที่สมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยต้องรายงานผล ให้ครบ 4 เดือน จะได้รับทุนสนับสนุนจำนวน 10,000 บาทต่อ โรงพยาบาล • ผู้เข้าร่วมโครงการ คัดเลือกกรณีศึกษาจำนวน 1 case เพื่อส่งเข้าร่วมประกวดการดูแล โภชนบำบัดสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ภายในวันที่ 20 มีนาคม 2567 4. สมาคมฯจัดงานประชุมสรุปผลเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ที่ได้ในการดูแลโภชนบำบัดในผู้ป่วย เบาหวานที่เข้ารับบริการที่โรงพยาบาล ในวันที่ 20 เมษายน 2567 5. ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกกรณีศึกษาด้านการดูแลโภชนบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน จะได้ทุนรางวัล ดังต่อไปนี้ • รางวัลที่ 1 จำนวน 30,000 บาท • รางวัลที่ 2 จำนวน 20,000 บาท • รางวัลที่ 3 จำนวน 15,000 บาท • รางวัลชมเชย จำนวน 3 รางวัล รางวัลละ 8,000 บาท ผู้สนับสนุนทุนปี 2566-2567 บริษัท แอ๊บบอต ลาบอแรตอรีส จำกัด จำนวน 900,000 บาท


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 355 เกณฑ์ในการพิจารณา • กรณีศึกษา ด้านการดูแลโภชนาการเพื่อผู้เป็นเบาหวาน มีกระบวนการโภชนบำบัด ที่ครบถ้วนโดยเริ่มการดูแล ติดตามผล และบันทึกข้อมูลแผนการให้โภชนบำบัด • มีการวิเคราะห์ ถึงผลลัพธ์ของการดูแลโภชนบำบัดของผู้เป็นเบาหวานรายนั้นๆ หรือ อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการสมาคมฯ กำหนดหรือเห็นสมควร การเสนอผลงาน • เสนอผลการศึกษาและวิจัยในรูปแบบโปสเตอร์ในการประชุมวิชาการประจำปี 2567 ของ สมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย • นำเสนอผลงานสำหรับผู้ได้รับทุนในงานประชุมสรุปโครงการ ได้รับการตีพิมพ์บทคัดย่อผลการศึกษาและวิจัยในวารสารสมาคมฯ โดยมีการแสดงกิตติกรรมประกาศ ชื่อทุนนี้ในงานวิจัยนั้นๆ


356 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association “ทุนพฒันาองคค์วามร้ดู้านการให้โภชนบา บดัในผ้ปู่วยเบาหวานที่เข้ารบับริการในโรงพยาบาล" รายชื่อผู้ได้รับทุนสนับสนุน ทีมสหสาขาวิชาชีพ ประจ าปี 2566-2567 ทุนกรณีศึกษา โรงพยาบาลขนาดใหญ่ รางวัลที่ 1 ทุนสนับสนุน จ านวน 30,000 บาท โดย นางสาวสรัลรัตน์ บุญสวัสดิ์ นักวิชาการโภชนาการ นางสาวนิภากร แปลกสินธุ์ นักวิชาการโภชนาการ ผศ.พญ. ศานิต วิชานศวกุล อายุรแพทย์โภชนาการ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จ านวน 10,000 บาท โดย นายอุรวี ทองนอก นักวิชาการโภชนาการ นพ. ภัทร วิรมย์รัตน์ แพทย์ นางสาววินิตรา สิงห์ราช พยาบาล ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลศรีนครินทร์จังหวัดขอนแก่น รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จ านวน 10,000 บาท โดย นางสาวกิตติยา ปิยะวงศ์ นักโภชนาการปฏิบัติการ นางศรีกัลญา เรืองเกษม โภชนากรชำนาญงาน พญ. ปรียาภัสสร์ ฉัตรเที่ยง อายุรแพทย์ต่อมไร้ท่อและเมตาโบลิซึม นางลลิตา โททอง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 357 ทุนกรณีศึกษา โรงพยาบาลขนาดกลาง รางวัลที่ 1 ทุนสนับสนุน จ านวน 30,000 บาท โดย นางสาวจันทิมา ตาพั้ว นักโภชนาการปฏิบัติการ พญ. ศิริพรรณ อรุณโน นายแพทย์ชำนาญการ นางสาวศรีอำพร อยู่บุรี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จ านวน 10,000 บาท โดย นายพีระดล โมตาลี นักโภชนาการ นางสาวอังคณา แซ่วโต๋ว นักโภชนาการปฏิบัติการ นพ. อัษนัย กิตติปัญญาวรคุณ นายแพทย์ นางสาวนันธิดา จาระธรรม พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลลำพูน จังหวัดลำพูน รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จ านวน 10,000 บาท โดย นางสาวญาณี พุ่มเจริญ นักกำหนดอาหาร นางสาวสุญาดา สุขโข นักกำหนดอาหาร นางสาวพรทิพา ศรีคชา นักกำหนดอาหาร พญ. มรกต สุวรรณการ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนศาสตร์ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ กรุงเทพมหานคร ทุนกรณีศึกษา โรงพยาบาลขนาดเล็ก รางวัลที่ 1 ทุนสนับสนุน จ านวน 30,000 บาท โดย นายศักดิ์สิทธิ์ ทาแก้ว นักโภชนาการปฏิบัติการ พญ. ศิรินาฏ เครือซ้า นายแพทย์ชำนาญการ นางสาวดวงสุวรรณ บามา นักกายภาพบำบัดปฏิบัติการ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก รางวัลที่ 2 ทุนสนับสนุน จ านวน 20,000 บาท โดย นางสาวเกวลิน วัฒนะวิรุณ นักกำหนดอาหารอาวุโส นพ. เอกลักษณ์ วโนทยาโรจน์ อายุรศาสตร์ต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิซึม พว. ศิริวรรณ บุตะเดช พยาบาลผู้ให้ความรู้โรคเบาหวาน ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลเทพธารินทร์ กรุงเทพมหานคร


358 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association รางวัลที่ 2 ทุนสนับสนุน จ านวน 20,000 บาท โดย นางสาวชนกนันท์ นาทุ่งมล นักกำหนดอาหาร นพ. ติณณ์ เกียรติโชติชัย อายุรแพทย์ นายอรรถพงศ์ ทองนุ่น พยาบาลวิชาชีพ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลกรุงเทพสุราษฎร์จังหวัดสุราษฎร์ธานี รางวัลที่ 3 ทุนสนับสนุน จ านวน 15,000 บาท โดย ร.ท.หญิง ระวีวรรณ ลาภพิเชษฐไพบูลย์ นายทหารโภชนาการ พ.ต.หญิง กนกพร วงศ์อนันตย์กิจ อายุรแพทย์ พ.ต.หญิง ศิริพักต์ ตรรกนันท์ เภสัชกร ร.ท.หญิง รวีพลอย บุญสุวรรณกิจ พยาบาลวิชาชีพ นางสาวสมัชญา ทิจะยัง นักกายภาพบำบัด ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลค่ายนวมินทราชินีจังหวัดชลบุรี รางวัลที่ 3 ทุนสนับสนุน จ านวน 15,000 บาท โดย นางสาวอามีนา หะยีบือราเฮง นักโภชนาการชำนาญการ พญ. รุสนี ปีแนบาโง นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ นายอาบีดิง สามะ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลหนองจิก จังหวัดปัตตานี รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จ านวน 10,000 บาท โดย นางสาวฮาซาน๊ะ เจ๊ะซอ นักโภชนาการ นพ. ดานิส หะยีสาและ นายแพทย์ปฏิบัติการ นางอารีสุวานี ดือลามะ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางสาวมาดานียาห์ สาแม เภสัชกรชำนาญการ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จ านวน 10,000 บาท โดย นางสาวรอยฮาน หะยีดอปอ นักกำหนดอาหาร พญ. มลยา ดาเลาะ นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ นางสาวมัสรา อาแว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางสาวนูรีซาน โต๊ะเด็น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางสาวมัสตูเราะห์ ดือราแม เภสัชกรชำนาญการ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลกะพ้อ จังหวัดปัตตานี


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 359 รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จ านวน 10,000 บาท โดย นางสาวนัสริน รอยิง นักโภชนาการ พญ. ตักวา จินารง นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ นางสาวอมรอมรรัตน์ นาวาวี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางสาวอานีซ๊ะ กาจิ เภสัชกร ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา จังหวัดยะลา รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จ านวน 10,000 บาท โดย นางสาวซารีนา ประจัน นักโภชนาการ นางสาวเสาวณี ไทยเจริญ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นพ. เอกพล พิศาล นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี รางวัลชมเชย ทุนสนับสนุน จ านวน 10,000 บาท โดย นางสาวยุวดี บุญผล นักโภชนาการ นายเชษฐา แก้ววิรัช นักโภชนาการ นพ. อินทชาติ ช่วยไทย นายแพทย์ปฏิบัติการ นางวราภรณ์ คงเสน่ห์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี


360 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย บทคัดย่อ P-47 โครงการ ทุนพฒันาองค์ความรู้ด้านการให้โภชนบา บดัในผู้ป่วยเบาหวานที่เข้ารบับริการใน โรงพยาบาล สรลัรตัน์บุญสวสัดิ, ์นิภากร แปลกสินธุ์และ ผศ.พญ.ศานิต วิชานศวกลุ ศนูยโ์ภชนาการโรคอ้วนและเมทาบอลิก โรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ฉลิมพระเกียรติปทุมธานี บทน า ข้อมูลจากสหพันธ์โรคเบาหวาน พบว่าทั่วโลกมีผู้ป่วยโรคเบาหวานมากถึง 537 ล้านคน ซึ่ง มากกว่า 90% ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เกิดจากภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน โดยการดูแล ผู้ป่วยเบาหวานที่ภาวะอ้วนลงพุง หรือเมทาบอลิกซินโดรมมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยความรู้ ความเข้าใจเป็นอย่างดีจากบุคลากรทางการแพทย์ ในการควบคุมโรคและการแนะนำด้านโภชนาการที่ เหมาะสม เพื่อให้สามารถควบคุมระดับน้ำตาล และควบคุมไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อนได้ โรงพยาบาล ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ เป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิชั้นสูง มีศักยภาพในการรักษาได้ทุก สาขาวิชา และมีศูนย์ความเป็นเลิศโรคเบาหวาน และศูนย์โภชนาการโรคอ้วนและเมทาบอลิกร่วมกันดูแล แบบสหวิชาชีพ โดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยควบคุมโรค และสามารถปรับพฤติกรรมให้มีสุขภาพที่ดีระยะ ยาวได้ วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการให้โภชนบำบัดรายบุคคล พร้อมทั้งติดตามผลในผู้ป่วยเบาหวานที่ เหมาะสม นำไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีแก่ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระ เกียรติ และเพื่อให้สหสาขาวิชาชีพได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในการใช้โภชนบำบัดดูแลผู้ป่วย วิธีการวิจยัและศึกษา สำรวจและคัดเลือกผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 10 รายต่อเดือนเป็นระยะเวลา 4 เดือน จำนวน 40 ราย (พ.ย.2566 – มี.ค.2567) ใช้แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ประเมิน ภาวะโภชนาการ และวางแผนด้านโภชนบำบัด โดยตั้งเป้าหมายร่วมกับผู้ป่วย ส่งปรึกษาสหสาขา วิชาชีพ (พยาบาล,เภสัชกร,กายภาพบำบัด,นักวิทยาศาสตร์การกีฬา) เพื่อให้ความรู้ DSME ที่เหมาะสม บันทึกข้อมูลการวางแผนให้โภชนบำบัดรายบุคคล นัดติดตามการรักษาหลังได้รับโภชนบำบัดอย่างน้อย 1 ครั้ง และวางแผนให้โภชนบำบัดอย่างต่อเนื่องและคัดเลือกผู้ป่วยกรณีศึกษาจำนวน 1 ราย เพื่อ นำเสนอผลการโภชนบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน ผลการวิจยั สรุปการประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานก่อนและหลังให้ความรู้12 คะแนน และ15 คะแนน ตามลำดับ พบว่าผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการควบคุมโรคเบาหวานมากขึ้น ผล Nutrition Assessment : moderate malnutrition (NAF = B) และผู้ป่วยมีการปรับพฤติกรรมการ รับประทานอาหารตามคำแนะนำขณะนอนโรงพยาบาล มีน้ำหนักตัวลดลง (ก่อนผ่าตัดกระเพาะ) 11 kg (2 week) คิดเป็น 5.8% ของน้ำหนักตัวตั้งต้น และมีการปรับปริมาณยาเบาหวานลดลง สรุป การให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ป่วยเบาหวานที่ภาวะอ้วนลงพุงหรือภาวะเมทาบอลิกและการให้ โภชนบำบัดที่ถูกต้องร่วมกับการให้กำลังใจและติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่อง เป็นส่วนสำคัญช่วยให้ ผู้ป่วยให้ความร่วมมือปฏิบัติติตามคำแนะนำสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีขึ้นและส่งเสริมให้ผู้ป่วย ปรับพฤติกรรมให้มีสุขภาพที่ดีระยะยาวได้


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 361 บทคัดย่อ P-48 การพัฒนาองค์ความรู้ด้านการให้โภชนบา บดัในผ้ปู่วยเบาหวานที่เข้ารบับริการในโรงพยาบาล อุรวี ทองนอก, นพ.ภทัร วิรมยร์ตัน์, วินิตรา สิงห์ราช ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลศรีนครินทร์จงัหวดัขอนแก่น บทน า โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ซึ่งส่งผลต่อความสามารถของ ร่างกายในการเปลี่ยนแปลงกลูโคสจากอาหารเป็นพลังงาน ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงอายุยังน้อยและมัก ได้รับการวินิจฉัยในช่วงวัยเด็ก นักโภชนาการจึงมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ปกครอง ได้รับความรู้ด้านโภชนาการและปริมาณอินซูลินที่เหมาะสม ซึ่งจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ส่งผลให้ ผู้ป่วยมีสุขภาพที่ดีขึ้น รวมไปถึงการติดตามภาวะโภชนาการและผลการรักษาอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองด้านโภชนาการอย่าง เหมาะสมกับโรคเบาหวาน วิธีการวิจยัและศึกษา คัดเลือกผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 เพศหญิง อายุ6 ปี น้ำหนัก 18.5 กิโลกรัม ส่วนสูง 122 เซนติเมตร ประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานก่อนและหลังให้โภชนศึกษา 2 ครั้ง ให้ โภชนบำบัดตาม Nutrition Care Process โดยเริ่มประเมินภาวะโภชนาการ วางแผนการให้โภชนบำบัด ประเมินผลการให้โภชนบำบัด ติดตามและประเมินผลระยะเวลา 2 เดือน จำนวน 2 ครั้ง ผลการวิจยัและศึกษา จากการติดตามผลการรักษาเป็นเวลา 2 เดือน พบว่าผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภคตามคำแนะนำของนักกำหนดอาหาร โดยน้ำหนักตัวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 0.5 กิโลกรัม และระดับน้ำตาลสะสมมีแนวโน้มลดลงจาก 8.7% เป็น 8.3% ไม่มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ สรปุผลการวิจยัและศึกษา ผู้ป่วยและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองด้านโภชนาการ โดยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้เหมาะสมกับโรคเบาหวาน ได้รับพลังงานและโปรตีน เพิ่มขึ้น ทำให้น้ำหนักตัวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น วางแผนการรับประทานคาร์โบไฮเดรตได้ตามเป้าหมาย คำนวณปริมาณอินซูลินให้สัมพันธ์กับ ICR และ ISF ทำให้ระดับน้ำตาลสะสมมีแนวโน้มลดลง และ ป้องกันการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำได้ กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย


362 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทคัดย่อ P-49 การพัฒนาองค์ความรู้ด้านการให้โภชนบ าบัดในผู้ป่ วยเบาหวานที่เข้ารับการบริการในคลีนิก เบาหวาน โรงพยาบาลบุรีรัมย์ ศรีกลัญา เรืองเกษม, กิตติยา ปิยะวงศ, ์ปรียาภัสสร์ ฉัตรเที่ยง, ลลิตา โททอง ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลบุรีรัมย์จังหวัดบุรีรัมย์ บทน า โรคเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขของไทยมาอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันคนไทยป่วยเป็น โรคเบาหวานเพิ่มสูงขึ้นปีละ 3 แสนคน ทำให้มีผู้ป่วยเข้ารับการบริการในโรงพยาบาลเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งส่วน ใหญ่ขาดองค์ความรู้ความเข้าใจในการควบคุมอาหารอย่างถูกต้อง ทำให้ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาล ในเลือดได้ เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย การพัฒนา รูปแบบการให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานจึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาองค์ความรู้ของผู้ป่วย เพื่อให้สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานได้ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการให้โภชนศึกษาในผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพื่อนำไปใช้ในการสอน ผู้ป่วยในคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลบุรีรัมย์ วิธีดา เนินการวิจยั คัดเลือกกรณีศึกษาแบบเฉพาะเจาะจง โดยเป็นผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง มากกว่า 200 มก./เดซิลิตร, มีค่าดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์ และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ เหมาะสม ประเมินโดยใช้แบบประเมินความรู้และแบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วย ให้โภชนศึกษาตามรูปแบบที่พัฒนาโดยประกอบด้วยองค์ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานและ ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้ป่วย ให้ความรู้โดยการบอกปริมาณที่ผู้ป่วย ควรบริโภคต่อวัน เลือกบริโภคคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนตามปริมาณที่กำหนด หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มี น้ำตาลสูงโดยการอ่านฉลากโภชนาการ ร่วมกับการควบคุมน้ำหนักด้วยการบริโภคอาหารไขมันต่ำ คาร์โบไฮเดรตต่ำ บริโภคโปรตีนและใยอาหารให้เพียงพอ เลือกบริโภคโปรตีนคุณภาพดี หลังจากนั้นนัด ติดตามเพื่อเปรียบเทียบน้ำหนัก ระดับน้ำตาลในเลือด ความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วย ก่อนและหลังการได้รับโภชนศึกษา นำไปสู่การปรับใช้เป็นรูปแบบการให้โภชนศึกษาในคลีนิกเบาหวาน โรงพยาบาลบุรีรัมย์ ผลการวิจยั หลังได้รับโภชนศึกษา ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานมากขึ้น โดยมี คะแนนความรู้หลังได้รับโภชนศึกษาเพิ่มขึ้น ปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยควบคุมปริมาณการ ทานอาหารตามที่แนะนำ สังเกตจากการสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และผู้ป่วยมีระดับน้ำตาล ในเลือดลดลงเมื่อเทียบกับครั้งแรกที่พบนักโภชนาการ สรุป รูปแบบการให้โภชนศึกษาที่พัฒนาสามารถนำไปปรับใช้เป็นรูปแบบการสอนผู้ป่วยเบาหวานใน คลินิกเบาหวาน อย่างไรก็ตามควรศึกษาในกลุ่มตัวอย่างที่มากขึ้น เพื่อให้ทราบประสิทธิผลของรูปแบบ การสอนที่พัฒนาในกลุ่มตัวอย่างจำนวนมาก กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 363 บทคัดย่อ P-50 การให้โภชนบ าบดัในผ้ปู่วยเบาหวานที่เข้ารบับริการในโรงพยาบาล จนัทิมา ตาพวั้ ทีมโภชนบ าบัด โรงพยาบาลสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ บทน า การดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจจากบุคลากรทาง การแพทย์ในการควบคุมโรคเบาหวาน และการแนะนำโภชนาการที่เหมาะสม สามารถควบคุมระดับ น้ำตาลได้เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน โดยโรงพยาบาลสตึกเป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด M2 จำนวน 120 เตียง ให้บริการผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งผู้ป่วยในคลินิกและผู้ป่วยใน ซึ่งมีแนวทางการปฎิบัติของ ทีมสหวิชาชีพที่ร่วมกันดูแลตั้งแต่แรกรับไปจนถึงการติดตามเยี่ยมบ้าน เป็นกลยุทธ์ที่ทำให้ผลการรักษา บรรลุสู่เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน วิธีการวิจยั ผู้ป่วยโรคเบาหวาน แรกรับประเมินภาวะโภชนาการโดยใช้ NAF Score 4, BMI = 27.5 kg/m2 อยู่ในเกณฑ์อ้วนระดับ 1 มีภาวะแทรกซ้อน ตรวจตา Mild-mod NPDR ตรวจเท้าความเสี่ยงปาน กลาง นักกำหนดอาหาร ดูแลผู้ป่วยตามกระบวนการโภชนบำบัด ติดตามระยะเวลา 3 เดือน F/U NCD Clinic จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 (9/1/67) และครั้งที่ 2 (5/3/67) Home Visit date จำนวน 1 ครั้ง (15/2/67) มีสหวิชาชีพร่วมกันดูแลผู้ป่วยทั้งขณะอยู่โรงพยาบาลและติดตามเยี่ยมบ้าน ผลการวิจัย ผู้ป่วยได้รับพลังงานและคาร์โบไฮเดรตที่เหมาะสมกับร่างกาย คือ 2100 Kcal/day และ 210 กรัม ตามลำดับ ทำให้น้ำหนักลดลง 7 kg. จาก 75 kg. เหลือ 68 kg. และน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร ลดลง จาก 338 mg/dl เหลือ 128 mg/dl ในระยะเวลา 3 เดือน สรุปการให้โภชนบ าบัด นักกำหนดอาหารมีบทบาทสำคัญในการดูผู้ป่วยให้มีน้ำตาลที่ดีขึ้น ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลัน และแบบเรื้อรัง โดยมีการทำงานร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ และต้องใช้ เวลาในการดูแลผู้ป่วยนานขึ้น เพื่อให้สิ่งที่แนะนำหรือแลกเปลี่ยนกับผู้ป่วยนั้นตกผลึกมากขึ้น จนนำไปสู่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีต่อโรคของผู้ป่วยในระยะยาว กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย


364 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทคัดย่อ P-51 ทุนพฒันาองคค์วามร้ดู้านการให้โภชนบา บดัในผ้ปู่วยเบาหวานที่เข้ารบับริการในโรงพยาบาล พีระดล โมตาลี, อังคณา แซ่วโต๋ว, นพ. อษันัย กิตติปัญญาวรคณุ , นันธิดา จาระธรรม ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลล าพูน จังหวัดล าพูน บทน า ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 68 ปี น้ำหนัก 50 กิโลกรัม สูง 150 เซนติเมตร โรคประจำตัวโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 เป็นมาแล้ว 10 ปี น้ำหนักลดลง 1 กิโลกรัมภายใน 6 เดือนเพราะมีอาการเบื่ออาหาร กินได้ น้อยลง ไม่ได้ควบคุมอาหารเฉพาะโรคอย่างเคร่งครัด ชอบกินขนมหวาน น้ำหวานเป็นประจำ และมี ผลไม้รสหวานปริมาณ 2-3 ส่วนต่อมื้อ เมนูอาหารมื้อหลักจำเจไม่หมุนเวียน ระบบย่อยอาหารปกติ ขับถ่ายปกติ เคลื่อนไหวได้ไม่ลำบาก ออกกำลังกาย 1 วันต่อสัปดาห์ ครั้งละ 15 - 20 นาที ทำงานบ้าน ได้ตามปกติเช่น กวาดบ้าน ถูบ้าน ล้างจาน ปลูกต้นไม้ อยู่กับสามีสองคน ตนเองและสามีช่วยกัน ทำอาหาร รายรับได้จากเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและลูกชายส่งเงินมาให้นานๆครั้ง เคยพบนักโภชนาการเมื่อ 5 ปีที่แล้วแต่จำเนื้อหาที่สอนไม่ได้และไม่รู้จะควบคุมอย่างไร ปริมาณเท่าไหร่ จึงไม่สามารถควบคุม อาหารได้ต่อเนื่อง หลังจากได้พบนักโภชนาการครั้งนี้มีความสนใจเข้าร่วมโครงการและพร้อมทำตาม คำแนะนำให้โภชนบำบัด วัตถุประสงค์มีการให้โภชนบำบัด Nutrition Care Process ที่เหมาะสมครบถ้วน มีการประชุมวางแผน ร่วมกับทีมสหวิชาชีพในการให้โภชนบำบัด มีการติดตามหลังให้โภชนบำบัด วิธีดา เนินการวิจยั มีการคัดกรองและประเมิน Nutrition Alert Form (NAF) นักโภชนาการสอบถามและ บันทึกข้อมูลและติดตามผลการให้โภชนบำบัดผู้ป่วยเบาหวาน นักโภชนาการและทีมโภชนบำบัดให้ Nutrition Care Process ที่เหมาะสมครบถ้วน ผลการวิจยัผลการประเมิน Nutrition Alert Form (NAF) ก่อน 9 คะแนน หลัง 5 คะแนน ผลรวมคะแนน ลดลงอยู่ในระดับปกติ ผู้ป่วยได้รับพลังงานที่เหมาะสม 1600 กิโลแคลอรี่ต่อวัน น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 1 กิโลกรัมภายใน 3 เดือน ค่าระดับน้ำตาลลดลงอยู่ในระดับปกติ 7.0 mg/dl สรปุและวิจารณ์การให้โภชนบำบัด Nutrition Care Process ที่เหมาะสมครบถ้วนสามารถทำให้ผู้ป่วย มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้นได้ กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 365 บทคัดย่อ P-52 ผลการให้โภชนบ าบัดร่วมกับการให้ความรู้เพื่อการดูแลตนเองส าหรับผู้เป็ นเบาหวานรายบุคคล ญาณีพ่มุเจริญ, สุญาดา สุขโข, พรทิพา ศรีคชา, มรกต สุวรรณการ และคณะ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ กรุงเทพมหานคร บทน า ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน บุคลากรทางการแพทย์มีบทบาทสำคัญในการควบคุมโรค ทั้งให้การ รักษาด้วยยาชนิดรับประทาน ยาฉีดอินซูลิน การแนะนำโภชนาการที่เหมาะสม มีการติดตาม ผลการรักษา จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาล และลดโอกาสการเกิดโรคแทรกซ้อนได้ โดย ร่วมกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน ดังนั้น เพื่อผลลัพธ์ที่ดีแก่ผู้ป่วย ทางโรงพยาบาลจุฬาภรณ์จึง จัดให้มีการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบสหสาขาวิชาชีพ และมีแนวปฏิบัติการให้โภชนบำบัดรายบุคคล วัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการให้โภชนบำบัดรายบุคคลร่วมกับการให้ความรู้เพื่อการดูแลตนเอง สำหรับผู้เป็นเบาหวาน (Diabetes Self-Management Education and Support, DSMES) ในผู้ป่วยที่ เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ วิธีดา เนินการวิจยั เมื่อแพทย์ส่งพบนักกำหนดอาหาร ผู้ป่วยได้รับการซักประวัติอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์รูปแบบอาหาร สอนอาหารเบาหวาน อาหารแลกเปลี่ยน การนับคาร์บ กลุ่มอาหารตาม glycemic Index ตั้งเป้าหมายทั้งทางร่างกายและทางพฤติกรรมร่วมกัน และทำการนัดหมายเพื่อติดตาม ผล ผลการวิจยั ในผู้ป่วยรายนี้ผลลัพธ์ทางร่างกายที่ baseline, ก่อนและหลังได้รับโภชนบำบัดร่วมกับ DSMES พบว่าระดับน้ำตาลลดลงจาก 208 เป็น 92 และ 91 ml/dL ตามลำดับ ระดับน้ำตาลสะสมลดลง จาก 12.9, 12.2 และ 8 % ตามลำดับ ผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Stage of Change) ก่อนและ หลังได้รับโภชนบำบัดร่วมกับ DSMES พบว่า พฤติกรรมการรับประทานอาหาร จากระยะตัดสินใจและ เตรียมพร้อม (Preparation) เปลี่ยนเป็นระยะปฏิบัติ (Action) และพบว่าคะแนนแบบทดสอบความรู้ ทั่วไปเกี่ยวกับโรคเบาหวานดีขึ้นจาก 11 เป็น 14 คะแนน สรุป ผู้ป่วยเบาหวานควรได้รับโภชนบำบัดร่วมกับความรู้เพื่อการดูแลตนเองเพื่อให้ได้รับผลการรักษา ตามเป้าหมาย กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย


366 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทคัดย่อ P-53 กระบวนการดูแลด้านโภชนบ าบัดในผู้ป่ วยเบาหวานที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ทุน Glycemic Guardians Program ศกัดิส์ิทธิ์ทาแก้ว, ศิรินาฏ เครือซ้า, ดวงสุวรรณ บามา ทีมสหสขาวิชาชีพ โรงพยาบาลบางกระทุ่ม จงัหวดัพิษณุโลก บทน า โรคเบาหวาน (Diabetes) คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการทำงานของฮอร์โมนที่ชื่อว่า อินซูลิน (Insulin) ซึ่งโดยปกติแล้วร่างกายของคนเราจำเป็นต้องมีอินซูลิน เพื่อนำน้ำตาลในกระแสเลือด ไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะสมองและกล้ามเนื้อ ในภาวะที่อินซูลินมีความผิดปกติ ไม่ ว่าจะเป็นการลดลงของปริมาณอินซูลินในร่างกาย หรือการที่อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายตอบสนองต่อ อินซูลินลดลง (หรือที่เรียกว่า ภาวะดื้ออินซูลิน) จะทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลที่อยู่ในกระแส เลือดไปใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทำให้มีปริมาณน้ำตาลคงเหลือในกระแสเลือดมากกว่าปกติ โรงพยาบาลบางกระทุ่มมีผู้ป่วยโรคเบาหวานเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่องและมีทีมสหวิชาชีพและทีม โภชนบำบัดร่วมกันดูแล วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 วิธีการวิจยัและศึกษา คัดกรองภาวะทุพโภชนาการโดยใช้ SPENT Nutrition Screening Tools นำ ผู้ป่วยเข้าสู่ NUTRITION CARE PROCESS TERMINOLOGY โดยให้โภชนบำบัดร่วมกับผู้ป่วยเป็น การใช้ Low Carb Diet แบ่งออกเป็นตาม Phase ดังนี้ Low Carb Diet Phase 1 (Moderate low Carb < 44%) Low Carb Diet Phase 2 (Low Carb < 130 g.) มีการติดตามผลและวัดผลของการให้โภชน บำบัดในผู้ป่วยทุกๆ สัปดาห์ ใน 1 สัปดาห์จะมีการทำ SMBG 3 ครั้ง และตั้งเป้าหมายรองสำหรับลด น้ำหนักทุก 1 สัปดาห์ ผลการวิจยัและการศึกษา การใช้Low Carb Diet Phase 1 (Moderate low Carb < 44%) ครั้งที่ 1 SMBG ก่อนอาหารเฉลี่ย 107 mg% หลังอาหารเฉลี่ย 119 mg% น้ำหนักลดลง 2.7 kg. ครั้งที่ 2 SMBG ก่อนอาหารเฉลี่ย 108 mg% หลังอาหารเฉลี่ย 104 mg% น้ำหนักลดลง 2.2 kg การติดตามครั้งที่ 3 ใช้ Low Carb Diet Phase 2 (Low Carb < 130 g.) SMBG ก่อนอาหารเฉลี่ย 112 mg% หลังอาหารเฉลี่ย 129 mg% น้ำหนักลดลง 3.8 kg. สรุปผลการวิจยัและการศึกษา ผู้ป่วยสามารถบริโภคอาหาร Low Care Diet ตามระดับ Phase สำหรับ DM-Remission ตามแบบแผนที่วางไว้ได้อย่างต่อเนื่อง สามารถบรรลุเป้าหมายเนื่องจากผู้ป่วย มีความตั้งใจที่จะปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารตามแนวทางและสามารถบรรลุเป้าหมายการลดน้ำหนัก ตัวได้อีกทั้งยังสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้ออาหารและหลังมื้ออาหารได้ กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 367 กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย บทคัดย่อ P-54 การให้โภชนบ าบัดร่วมกับการให้ความรู้และการสนับสนุนการจัดการตนเองในผู้เป็นเบาหวาน ชนิดที่1 ที่เข้ารบับริการในโรงพยาบาล อัณณ์ปัณณ์ จันทะวัน,เกวลิน วฒันะวิรณุ ,ศิริวรรณ บุตะเดช, เอกลักษณ์ วโนทยาโรจน์ และคณะ ศนูยโ์ภชนาการและการกา หนดอาหาร โรงพยาบาลวิมุต-เทพธารินทร์กรงุเทพมหานคร บทน า การดูแลด้านเบาหวานของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 มีหัวใจสำคัญคือการตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว อย่างสม่ำเสมอร่วมกับการบริหารยาฉีดอินซูลินให้เหมาะกับปริมาณอาหารที่รับประทาน อย่างไรก็ตาม การดูแลผู้เป็นเบาหวานให้มีประสิทธิภาพนั้น ต้องอาศัยกระบวนการให้ความรู้และสนับสนุนการจัดการ ตนเองของผู้เป็นเบาหวาน (Diabetes self-management education and support : DSMES) รวมถึง การให้โภชนบำบัดอย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ได้ตามเป้าหมาย ป้องกันโรคแทรกซ้อน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้โภชนบำบัดร่วมกับการให้ DSMES ในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 วิธีการวิจยัและศึกษา มีกระบวนการให้โภชนบำบัด (Nutrition Care Process) โดย 1. ประเมินภาวะโภชนาการ ยึดหลัก Anthropometry assessment ,Biochemistry assessment ,Clinical Sign, Dietary assessment 2. วินิจฉัยทางด้านโภชนาการ ใช้หลัก PES statement 3. ให้แผนโภชนบำบัดในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 โดยเน้นการนับคาร์โบไฮเดรต และมีการให้ DSMES แบบรายบุคคลและแบบกลุ่ม (โรงเรียนเบาหวานวิมุต-เทพธารินทร์) 4. ติดตามผ่านทางออนไลน์และที่คลินิกผู้ป่วยนอก จากนั้นประเมินผลการให้โภชนบำบัด ผลการวิจยั ผลการให้โภชนบำบัดและ DSMES ดังนี้ น้ำหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ปกติ ค่าดัชนีมวลกาย 22.85 กก./ม2 ผลน้ำตาลลดลงจาก 409 มก./ดล. เป็น 123 มก./ดล. ค่าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมลดลงจาก 13.9% เป็น 6.4% ในระยะเวลา 4 เดือน ค่าไขมัน LDL ลดลงจาก 194 มก./ดล. เป็น 82 มก./ดล. ผลน้ำตาลปลายนิ้ว จากเดิม 300-400 มก./ดล. ลดลงเป็น 85-192 มก./ดล. สำหรับผล DSMES ผู้ป่วย สามารถนับคาร์บได้แม่นยำขึ้น สามารถแลกเปลี่ยนอาหารได้ ปรับอินซูลินตาม ICR, ISF ได้ สามารถ ตรวจน้ำตาลปลายนิ้วและฉีดอินซูลินได้ รวมถึงรู้สึกคลายความวิตกกังวล เข้าใจโรคที่เป็นและเข้าใจการ จัดการตนเองมากยิ่งขึ้นจากการได้รับความรู้และดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชีพ สรุป จากกรณีศึกษาผู้ป่วยรายนี้มีผลลัพธ์การรักษาที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับครั้งแรกที่เข้ารับการรักษา สังเกต ได้จากผลเลือดทางห้องปฏิบัติการและผลการตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว การดูแลผู้ป่วยแบบทีมสหสาขา วิชาชีพ เช่น นักกำหนดอาหาร ผู้ให้ความรู้โรคเบาหวาน แพทย์ และพยาบาล ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น เข้าใจถึงแนวทางการรักษา มีส่วนร่วมในการดูแลเบาหวานด้วยตนเองได้ ไม่เกิด ภาวะแทรกซ้อนทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง อย่างไรก็ตามยังคงต้องมีการติดตาม ให้ความรู้ สนับสนุน ทางด้านจิตใจ และปรับการรักษาให้เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นทีมสหสาขาวิชาชีพ จึงมีความสำคัญ และจำเป็นอย่างมากในการดูแลผู้เป็นเบาหวาน โดยเฉพาะผู้เป็นเบาหวานที่เพิ่งได้รับการวินิจฉัย


368 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทคัดย่อ P-55 การให้โภชนบ าบัดผู้ป่ วยเบาหวานที่เข้ารบัการบริการในโรงพยาบาลกรงุเทพสุราษฎรป์ระจา ปี 2566-2567 ชนกนันท์ นาทุ่งมล ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลกรุงเทพสุราษฎร์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี บทน า โรงพยาบาลกรุงเทพสุราษฎร์เป็นโรงพยาบาลที่ดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยมีทีมสหสาขา วิชาชีพ ซึ่งต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจเป็นอย่างดีจากบุคลากรทางการแพทย์ในการควบคุมโรค และ การแนะนำการให้โภชนบำบัดที่เหมาะสมเฉพาะราย เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร โดย การใช้อาหารพลังงานต่ำ (Low calorie diet ) ในผู้ป่วยที่อ้วน เพื่อลดน้ำหนักตัว ควบคุมระดับน้ำตาลใน เลือด และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ นอกจากนั้นการตั้งเป้าหมายที่ให้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง รวมทั้งกระบวนการติดตามที่เหมาะสม จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยไปถึงเป้าหมายที่วางไว้ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการให้โภชนบำบัดโดยใช้อาหารพลังงานต่ำในผู้ป่วยเบาหวานที่มีดัชนีมวล กายมากกว่า 30 กิโลกรัมต่อเมตร2 เข้ารับการบริการในโรงพยาบาลกรุงเทพสุราษฎร์ วิธีดา เนินการวิจยั การให้โภชนบำบัดโดยใช้อาหารพลังงานต่ำในผู้ป่วยเบาหวานที่มีดัชนีมวลกาย มากกว่า 30 กิโลกรัมต่อเมตร2 เข้ารับการบริการในโรงพยาบาลกรุงเทพสุราษฎร์โดยนักกำหนดอาหาร ดูแลผู้ป่วยด้วยกระบวนการ Nutrition care process โดยแนวทางในการวางแผนการให้โภชนบำบัด ทางทีมจะร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนร่วมกันเพื่อกำหนดแนวทางในการรักษา และติดตามผู้ป่วยทั้งการ ใช้ Telemedicine การให้แอปพลิเคชันไลน์ในการติดตามผู้ป่วย แบ่งเป็นการติดตามทุกวัน เช่น การ บริโภคอาหาร การติดตามน้ำตาลปลายนิ้วที่บ้าน การติดตามสัปดาห์ละครั้ง เช่น การติดตามน้ำหนักตัว การติดตามตามนัด เช่น ผลทางห้องปฏิบัติการ ผลการวิจยั ผลการดูแลผู้ป่วยโดยใช้อาหารพลังงานต่ำ จากการติดตามระยะเวลา 4 เดือน พบว่าผู้ป่วย สามารถลดน้ำหนัก 14 กิโลกรัม (117 กก.ลดลงเหลือ 103 กก.) คิดเป็น 12% ของน้ำหนักเริ่มต้น เส้น รอบเอวลดลง 11 เซนติเมตร (126 ซม. ลดลงเหลือ 114 ซม.) น้ำตาลสะสมลดลง 4.8% (10.4% ลดลง เหลือ 5.6%) การติดตามน้ำตาลที่บ้านเดิมเฉลี่ย 250 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ลดลงเหลือเฉลี่ย 120 มิลกรัม ต่อเดิซิลิตร และผู้ป่วยได้งดยาฉีดอินซูลิน (Glargine) 10 ยูนิต สรปุและวิจารณ์การให้โภชนบำบัดที่ถูกต้องเหมาะสมกับผู้ป่วยเฉพาะราย โดยการใช้อาหารพลังงาน ต่ำ (Low calorie diet) เพื่อลดน้ำหนักในผู้ป่วยที่อ้วน การตั้งเป้าหมายร่วมกัน ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการ ออกแบบแผนการรักษาของตนเองได้ รวมทั้งทักษะการสื่อสาร และกระบวนการติดตามผู้ป่วย จึงเป็นสิ่ง สำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยมีภาวะโภชนาการและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 369 บทคัดย่อ P-56 การพฒันาองคค์วามร้ดู้านการให้โภชนบา บดัในผ้ปู่วยเบาหวานโรงพยาบาลค่ายนวมินทราชินี ระวีวรรณ ลาภพิเชษฐไพบูลย์และคณะ ทีมสหสาขา โรงพยาบาลค่ายนวมินทราชินีจังหวัดชลบุรี บทน า โรคเบาหวานเป็นหนึ่งในโรคหลักที่โรงพยาบาลให้ความสำคัญและพัฒนารูปแบบการดูแลอยู่เสมอมา เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น และทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น โรงพยาบาลได้มี การปรับปรุงรูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานทั้งการจัดกิจกรรมให้ความรู้ และการให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วม ในการวางแผนการปรับพฤติกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางแผนโภชนบำบัดของตนเองร่วมกับ นักกำหนดอาหาร โดยร่วมกันกำหนดเป็นเป้าหมายที่ผู้ป่วยสามารถทำได้ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการให้บริการโดยให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการวางแผนการปรับพฤติกรรม ร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ วิธีการวิจยั ทำการสุ่มผู้ป่วยเบาหวาน เข้าร่วมในโครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานด้วยทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยทำการติดตามค่าน้ำหนัก ความดันโลหิต และผลการตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการในช่วงก่อน และ หลังจากที่ผู้ป่วยเข้าโครงการ ผลการตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการที่ทำการตรวจวัดที่สำคัญ และได้ทำ การประเมินภาวะโภชนาการโดยใช้แบบประเมิน Nutrition alert form (NAF) คัดกรองความเสี่ยงด้าน โภชนาการ ผลการศึกษา พบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ผู้ป่วยมีความมั่นใจขึ้นว่าจะสำเร็จได้ตาม เป้าหมาย และเป้าหมายที่กำหนดร่วมกันเป็นไปได้จริง มีการเพิ่มช่องทางออนไลน์ให้ผู้ป่วยที่ต้องการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้สอบถามปัญหา และอุปสรรคในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยมีแพทย์ และนักกำหนดอาหารให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด สรุป การดูแลผู้ป่วยเบาหวานโดยให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการวางแผนการปรับพฤติกรรมร่วมกับทีมสห สาขาวิชาชีพ และการติดตามอย่างใกล้ชิด ทำให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถปรับพฤติกรรมการบริโภค อาหาร และพฤติกรรมสุขภาพได้ดีขึ้น กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย


370 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association บทคัดย่อ P-57 การให้โภชนบา บดัในผ้ปู่วยเบาหวานที่เข้ารบับริการในโรงพยาบาล อามีนา หะยีบือราเฮง, รสุนีปีแนบาโง, อาบีดิง สามะ ทีมสหสาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลหนองจิก จงัหวดัปัตตานี บทน า โรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของโลกและประเทศไทย เกิดจาก ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงอย่างต่อเนื่อง จนอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ผู้เป็นเบาหวานต้องรักษาด้วยยา ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และใช้ หลักโภชนบำบัด จึงจะควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ลดภาวะแทรกซ้อน และทำให้การรักษาเป็นไป ตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยเบาหวานที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล วิธีการวิจยัและศึกษา ผู้ป่วยคลินิกเบาหวานได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกหรือมาตามนัด ต้องทำ แบบทดสอบความรู้ก่อนและหลัง นักโภชนาการคัดกรองและประเมินภาวะโภชนาการด้วยเครื่องมือ NAF ประเมินความพร้อมการปรับเปลี่ยน และทัศนคติต่อโรคเบาหวาน ดูแลให้โภชนบำบัดอย่างเป็น ระบบ ระยะเวลาติดตาม 4 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2566 ถึงกุมภาพันธ์ 2567 ผลการวิจยัการติดตามการให้โภชนบำบัดผู้ป่วยเบาหวาน 1 รายเปรียบเทียบครั้งแรกกับครั้งสุดท้าย พบว่าคะแนนหลังให้ความรู้เพิ่มขึ้นจาก 8 เป็น 19 คะแนน ผู้ป่วยไม่มีภาวะทุพโภชนาการ ความพร้อม ในการปรับเปลี่ยนอยู่ในขั้นปฏิบัติและคงไว้ มีทัศนคติที่ดีต่อโรคเบาหวาน พฤติกรรมบริโภคดีขึ้นส่งผล ให้น้ำหนักตัวลดลงจาก 53.8 เป็น 48.0 กก. ดัชนีมวลกายลดลงจาก 22.39 เป็น 19.97 กก./ม.2 น้ำตาล ในเลือดลดลงจาก 153.9 เป็น 127 มก./ดล. น้ำตาลสะสมลดลงจาก 10.9 เป็น 6.7 % สรุป การให้โภชนบำบัดผู้ป่วยเบาหวานเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การรักษาเกิดประสิทธิผล ผลลัพธ์จะดี และเร็วยิ่งขึ้นหากผู้ป่วยมีความพร้อมในการปรับเปลี่ยน ทั้งนี้บุคลากรต้องให้ความสำคัญในการติดตาม ช่วยเหลือ และให้กำลังใจ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมโรคได้อย่างต่อเนื่อง กิตติกรรมประกาศ ได้รับทุนสนับสนุนจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย


Click to View FlipBook Version