The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประยุกต์ใช้อาหารบำบัดกับเวชศาสตร์วิถีชีวิต: สิ่งที่เราควรรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by metta.poon, 2024-04-25 03:33:06

การประชุมวิชาการสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทยประจำปี 2567 ครั้งที่ 44

การประยุกต์ใช้อาหารบำบัดกับเวชศาสตร์วิถีชีวิต: สิ่งที่เราควรรู้

ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 221


222 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 223


224 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 225


226 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 227


228 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 229


230 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 231


232 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 233


234 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 235


236 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 237


238 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 239


240 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 241


242 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 243


244 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 245


246 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 247


248 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 249


250 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 251 What Dietitians Need for the Future: Evidence-Based Dietetics Prof. Dr.Shigeru Yamamoto Graduate School of Jumonji University, Saitama, Japan The social role of a dietician is first and foremost to contribute to the people through foods. In other words, it involves practical ability. If we look at educational requirements for the field at universities and other institutions, the average number of hours for an internship in Japan is 180 hours, which is too low compared to the International Federation of Dietetic Association (IFDA) standard of 500 hours (Fig.1). The United States and the Philippines require more than 1000 hours. In the Philippine, Thai and Taiwan, I am sure that dietitians are trusted and respected by the people around them (Fig. 2). Next, let's think about the necessity of research. When we look at the authors of journal articles related to clinical nutrition, most of them are medical doctors (MD), and there are few


252 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association dietitians. If we look at nutrition journals, we find many food scientist. The number of papers reflects the number of faculty members in the university. I believe that the reason why there are few dietitians among faculty members at universities that there is insufficient research and few papers (Fig. 3 and 4). Obesity is often taken up as a research theme. The cause of obesity is simple. It is because the amount of energy taken in is greater than the amount consumed. Despite his simple fact, no country in the world has succeeded in controlling obesity rates. This reality speaks to the difficulty of obesity research. The difficulty is similar for MDs. Controlling obesity is a seemingly simple subject, but it is a broad and complex subject encompassing dietetics, nutrition, medicine, physiology, biochemistry, psychology, sociology, economics, and philosophy. It resembles the humanities. Most of the work by dietitians involves such fields. Therefore, I would like to say that dietetics is like humanities. In current science, evidence is always sought. It is not easy to produce evidence in obesity research. Even in modern society where AI has developed, it seems that human behavior has not progressed at all. The war between Russia and Ukraine would be a good example.


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 253 So let's think about the kind of research that dietitians should do. In modern hospitals where the number of elderly patients has increased, there are many cases where we have no choice but to rely on meals as treatment. For example, diet problems such as frail, sarcopenia and dysphagia are important. For hospital nutrition management, medical staff from various fields discuss how to treat patients (Fig;4). Namely, this is termed the Nutrition Support Team. The Team will ask for a rationale for a given treatment policy. We can call this Evidence-based Dietetics (EBD). Note that it's not Evidence-based Nutrition. I make a clear distinction between “Nutrition and Dietetics”. That is, dietitian is only for those with an RD license, while a nutritionist does not require a license. EBD requires advanced knowledge and research methods. About fifteen years ago, I was on the Review Board for the Nutrition Education Curriculum. At that time, a law was enacted that states that MDs can teach diseases but not clinical dietetics, so they cannot become clinical nutrition teachers. At the same time, a law was enacted that of the 8 fields in the dietitian training course, the teachers in 4 fields must be RDs, and among 5 junior teachers 3 must be RDs. I think this law is very sound. However, it is not easy to quickly change the long history of dietitian, and it cannot be said that it has been successful as yet. In other words, faculty members with RD do not have as many publications as non-RD members in fields such as food science, biochemistry, and epidemiology. In other words, dietetic course students do not learn how to conduct researches at dietitians workplaces. Even if RD practitioners return as university faculty members, if they do not have adequate research or papers, they will not be able to secure a high status and will not be able to give guidance to students on the research methods that RDs should apply. In Japan, it seems difficult to get out of this vicious cycle.


254 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 255 Establishment of Asian Young Dietitians


256 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 257


258 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 259


260 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 261


262 Vol. 44 No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 263 พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การดแูลตนเอง และภาพลกัษณ ์ ของร่างกาย ดร.ฐนิต วินิจจะกูล กลุ่มวิชาการและวิจัยด้านอาหารและโภชนาการ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ในสังคมไทยปัจจุบัน รูปลักษณ์ภายนอกภายใต้ "มาตรฐานความงาม" กลายเป็นสิ่งที่ผู้คนให้ ความสำคัญอย่างมาก ซึ่งอาจส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรทุกวัย หลายคน พยายามปรับเปลี่ยนรูปร่างและน้ำหนักให้ใกล้เคียงกับภาพลักษณ์ในอุดมคติอย่างไรก็ตาม วิธีการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของแต่ละคนนั้นมีความเหมาะสมแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ แหล่งข้อมูลทางโภชนาการที่ได้รับ โดยเฉพาะข้อมูลบนสื่อสังคมออนไลน์ที่อาจไม่ถูกต้องหรือไม่ เหมาะสม และอาจส่งผลต่อทัศนคติเกี่ยวกับมาตรฐานความงามที่ไม่สมจริง นำไปสู่การมองภาพลักษณ์ ของร่างกายในแง่ลบ และพฤติกรรมการกินที่ผิดปกติได้ นักกำหนดอาหารมีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ผ่านการให้ความรู้และคำปรึกษา ทางโภชนาการที่เหมาะสม ส่งเสริมให้ผู้คนมองภาพลักษณ์ของร่างกายในทางบวก และปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภคอาหารให้คำนึงถึงมิติทางสุขภาพและการดูแลตนเอง มากกว่าการมุ่งเป้าไปที่การ เปลี่ยนรูปลักษณ์ให้เข้ากับมาตรฐานความงามเพียงอย่างเดียว งานวิจัยมากมายในปัจจุบัน ยืนยันว่า รูปแบบการบริโภคอาหารอย่างสมดุล เช่น แบบแผนอาหารแบบเมดิเตอเรเนียน หรือแบบแผนอาหาร เน้นพืช ฯลฯ เป็นแนวทางการบริโภคอาหารที่ส่งเสริมทั้งในแง่ของสุขภาพและความงามในระยะยาว และ อาจดีกว่าการมุ่งเน้นไปที่การได้รับสารอาหารแบบเฉพาะเจาะจงโดยใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร หรือแบบ แผนอาหารเพื่อลดน้ำหนักแบบเร่งด่วนต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม อาหารและโภชนาการเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการดูแลตนเองแบบองค์รวมเพื่อ ความงาม ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ต้องคำนึงถึง เช่น การออกกำลังกาย การจัดการความเครียด คุณภาพการ นอนหลับ ฯลฯ ซึ่งนักกำหนดอาหารสามารถทำงานร่วมกับสหสาขาวิชาชีพอื่น ๆ เน้นการดูแลแบบองค์ รวม ให้คนไข้เป็นศูนย์กลาง ช่วยให้คนไข้มีทักษะในการดูแลตนเอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่าง ๆ นอกเหนือจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ทื่สามารถนำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพและความงามที่ยั่งยืน


264 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 265 Nutrition & Self-Care for Beauty Enhancing Skin Health Through Diet & Skincare อ.พญ.วรายุวดี อมรภิญโญ โรงพยาบาลขอนแก่น การมีสุขภาพผิวที่ดีและการชะลอการเสื่อมสภาพของผิวให้ดำเนินไปอย่างช้า ๆ กว่าเพื่อนรุ่น ราวคราวเดียวกัน เป็นความปรารถนาที่ทุกคนอยากมี แพทย์ผิวหนังเป็นส่วนหนึ่งที่มีบทบาทให้ทุกคน บรรลุเป้าหมายนี้ จากมุมมองของแพทย์ผิวหนัง การเสริมสร้างสุขภาพผิวและการจัดการกับการ เสื่อมสภาพของผิวสามารถทำได้ผ่านวิธีการที่ครอบคลุมซึ่งรวมถึงด้านการทานอาหารที่เหมาะสมควบคู่ ไปกับการดูแลผิวด้วยสกินแคร์หรือหัตถการที่จำเพาะ เมื่อเรามีอายุมากขึ้น ผิวจะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางโครงสร้างและการทำงานต่าง ๆ ซึ่งนำไปสู่ การปรากฏของริ้วรอย ความหย่อนคล้อย และการสูญเสียความยืดหยุ่น ถ้าหากเราพูดถึงอาหารที่ช่วย สุขภาพผิวและช่วยชะลอผิวเสื่อม (Skin anti-aging) แพทย์ผิวหนังจะเน้นความสำคัญของอาหารที่มี สารอาหารอุดมสมบูรณ์ที่ช่วยการทำงานตามธรรมชาติของผิว นอกจากนั้นอาจเสริมกลุ่ม วิตามิน แร่ ธาตุ และสารต้านอนุมูลอิสระบางชนิดที่ช่วยชะลอผิวเสื่อม โดยเน้นกลุ่มที่ช่วยกระตุ้นการสร้างคอลลา เจน ช่วยรักษาความยืดหยุ่นของผิว และช่วยปกป้องผิวจากการทำร้ายจากรังสียูวี เช่น Carotenoids, polyphenols, polysaccharides, plant extracts เป็นต้น นอกจากนั้น ยังแนะนำให้ใช้ผลิตภัณฑ์ดูแลผิวที่มีหลักฐานว่าสามารถช่วยป้องกันหรือชะลอการ เสื่อมผิวข้างต้น เช่น ยาทากลุ่มวิตามินเอ เป็นกลุ่มที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สามารถกระตุ้น การสร้างคอลลาเจนและลดการริ้วรอย, สกินแคร์กลุ่มสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น วิตามิน C, E, Ferulic เพื่อช่วยปกป้องจากการทำร้ายจากอนุมูลอิสระ, กลุ่มเพิ่มความชุ่มชื้นผิว เช่น Ceramide, hyaluronic acid ซึ่งเป็นสารที่พบตามธรรมชาติในผิว สามารถเพิ่มการชุ่มชื้นของผิว, กลุ่มสารผลัดเซลล์ เช่น hydroxy acid และกลุ่มเปปไทด์ ซึ่งลดการเกิดริ้วรอยก่อนวัยได้ดี นอกจากนี้ ยังต้องเน้นความสำคัญของการปกป้องผิวจากแสงแดด เนื่องจากรังสียูวี (UV) เป็น ปัจจัยหลักที่ทำให้ผิวเสื่อมสภาพ การใช้ครีมกันแดดที่มีประสิทธิภาพ ควบคู่ไปกับการสวมใส่เสื้อผ้า สวม หมวก กางร่มและการหลบเลี่ยงแสงแดด สามารถลดผลกระทบที่เป็นอันตรายของรังสี UV ต่อผิวได้อย่าง มีนัยสำคัญ


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 267 สมาคมนักกา หนดอาหารแห่งประเทศไทย ขอขอบพระคณุศาสตราจารยเ ์ กียรติคณุดร. ไมตรีสทุธจิตต ์ ที่ได ้ กรณุาเขียนบทความพิเศษ: “การดแูลวิถีชีวิต และการกา หนดอาหารในภาวะพร่อง G6PD” ให ้ แก่สมาคมนักกา หนดอาหารแห่งประเทศไทย ในวาระครบรอบ 50 ปีการก่อตงั้สมาคมนักกา หนดอาหารแห่งประเทศไทย ซึ่งจะเป็ นประโยชน ์ อย่างยิ่งสา หรบัการปฏิบตัิงานของ นักก าหนดอาหาร นักโภชนาการและโภชนากร


268 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association


ปีที่ 44 ฉบับที่ 1-3 มกราคม-ธันวาคม 2567 วารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 269 การดแูลวิถีชีวิต และการกา หนดอาหารในภาวะพร่อง G6PD Lifestyle care and dietetics in G6PD deficiency ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. ไมตรี สุทธจิตต์ Prof. Emeritus Dr. Maitree Suttajit บทคดัย่อ ในช่วงชีวิต 85 ปีที่ผ่านมา ผมมีช่วงตอนอันตรายเฉียดตายหลายตอน ตอนที่เร้ายแรงที่สุด เกิดขึ้นเมื่ออายุ 20 ปี อยู่ในชั้นปีที่ 2 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คือ เม็ดเลือดแดงใน ร่างกายมันแตกกระจายพร้อมกัน แล้วไหลออกทางจมูก ปัสสาวะและอุจจาระ จนหมดแรง งถูกหามไปให้ นำเกลือ และเติมเลือด 5 ถุง ที่รพ. ศิริราช คุณหมออธิบายให้ผมว่า ร่างกายผมขาดเอนไซม์กลูโคส-6- ฟอสเฟตดีไฮโดรจีเนส (G6PD) เป็นโรคทางพันธุกรรม พบบ่อยที่สุดของประชากรผู้ชาย ทั่วโลกมีผู้ป่วย มากกว่า 400 ล้านคน ผมมีประสบการณ์ของภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD และเคยเป็นโรคโลหิตจาง เนื่องจากเม็ดเลือดแดงแตกเฉียบพลัน เนื่องจากในช่วงเป็นไข้ไปซื้อยาแอสไพรินผงมาทานเองที่บ้าน ต่อเนื่อง เม็ดเลือดแดงจำนวนมากแตกสลาย ปล่อย heme-สารสีแดง-น้ำตาล-ดำไหลออกทางจมูก ปัสสาวะ และอุจจาระ ผมได้ศึกษาอ่านเพิ่มเติมถึงสาเหตุและกลไก รวมทั้งวิชาการป้องกันด้วย ผมรู้สึกว่า โชคดีมากที่รอดตาย ขอขอบคุณที่ได้รับการรักษาอย่างดีโดยแพทย์ พยาบาล ที่ รพ.ศิริราช ในการจัดการ ดูแลภาวะร้ายแรงนี้ ในยามปกติและป่วย ผมได้เรียนรู้หลายด้าน ไม่เพียงแต่หลีกเลี่ยงยาแก้ปวดแก่ไข้ ประเภทซาลิซิเลตและพาราเซตตามอลเท่านั้น แต่ผมต้องหยุดรับประทานถั่วปากอ้า (ถั่ว Vicia faba) เมล็ดในมะระ ถั่วลันเตา ถั่วหลายชนิด และสมุนไพรแผนโบราณบางชนิดด้วย การขาด G6PGพบบ่อย ที่สุดของประชากรผู้ชาย และมีอยู่ในผู้ป่วยมาลาเรียมากกว่า 400 ล้านคนทั่วโลก งานวิจัยพบว่าพืช ดังกล่าวมีสารออกฤทธิ์ เป็นสารอัลคาลอยด์ ได้แก่ vicine, convicine, divicine และ Isouramil สามารถ กระตุ้นให้เกิดภาวะเครียดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันและโรคโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกสลายได้ แม้ว่าในด้านวิชาการ นักโภชนากร และนักกำหนดอาหารไม่มีข้อจำกัดด้านอาหารและสารเคมีที่ เฉพาะเจาะจงสำหรับผู้ที่มีภาวะขาด G6PD แต่สิ่งสำคัญคือและผู้ป่วยจะต้องเรียนรู้ที่จะหลีกเลี่ยงสิ่ง บางอย่างในอาหารที่มีสารกระตุ้น (triggers) ให้เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกเพิ่มมากมากกว่าปกติ ใน บทความนี้ ผมได้ทบทวนข้อมูลเพิ่มเติมถึงสาเหตุและอาการของภาวะพร่อง G6PD และกลไกการทำลาย เม็ดเลือดแดงเฉียบพลัน รวมทั้งวิธีการอย่างไรป้องกันไม่ให้มีอันตรายของภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD ด้วย Abstract My 85 years of life have included a few dangerous episodes. The most fatal episode happened at age 20, I had acute hemolytic anemia due to a deficiency in glucose-6-phosphate dehydrogenase (G6PD) and aspirin intake. To manage this fatal condition, I not only avoid salicylates, but also I have to stop eating fava beans, bitter gourd, peas, and certain traditional


270 Vol. 44, No. 1-3 January-December 2024 Journal of Thai Dietetic Association medicinal herbs. G6PG deficiency is the most common human enzyme defect, and is present in more than 400 million people worldwide malaria, hypothesizes vicine and convicine alkaloids, all of which can act as triggers causing oxidative stress and hemolytic anemia. There are no specific dietary restrictions for people with G6PD deficiency, but it is important to avoid certain triggers in foods that can cause hemolysis. G6PD deficiency is a genetic disorder. Most often found in the male population. There are more than 400 million patients worldwide. I am one of them, have experienced G6PD deficiency, and have had acute hemolytic anemia. During a severe fever, I bought powdered aspirin to take myself continuously. Many red blood cells break down, releasing heme, a red substance, into the nose, urine, and stool. Luckily, my life was thankfully saved by qualified medical treatment at Siriraj Hospital. I learned a lot about how to treat this serious condition. Research has found that the plant contains alkaloids such as vicine, convicine, and aglycone metabolites (divicine and isouramil). It can induce oxidative stress and hemolysis. In nutrition and dietetics classes, you should be aware of the specific food and chemical restrictions for people with G6PD deficiency. Patients must learn to avoid foods that contain trigger substances that stimulate hemolysis. More than usual, in this article I review additional information on the causes and mechanisms including methods to prevent life risk in G6PD enzyme deficiency. ค าหลัก (Keywords) Glucose-6-Phosphate Dehydrogenase, G6PG, Aspirin, Fava Bean, Oxidation, Glutathione, Hemolytic Anemia, Triggers, Food Restriction, Dietetics, Lifestyle Care กลูโคส-6-ฟอสเฟตดีไฮโดรจีเนส (G6PD) เอนไซม์กลูโคส-6-ฟอสเฟตดีไฮโดรจีเนส (glucose-6-phosphate dehydrogenase, G6PD) เป็น เอนไซม์ตัวแรกและสำคัญมากในกระบวนการเกิดปฏิกิริยาชีวเคมีของน้ำตาลกลูโคส ในวิถีเมแทบอลิสม์ ที่มีชื่อว่า phosphogluconate pathway และ hexose monophosphate shunt (HMP Shunt) (ภาพที่ 1) และทำงานคู่ขนานกันกับวิถีเมแทบอลิสม์การสลายตัวของกลูโคส ที่มีชื่อว่า glycolysis วิถี HMP เกิดขึ้น ในแทบทุกเซลล์ของสิ่งมีชีวิต G6PD เป็นเอนไซม์ที่พบในไซโตพลาสซึมของเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกาย G6PD จึงสำคัญมากเป็นดุจเอนไซม์แม่บ้านมีหน้าที่ทำความสะอาดทุกเซลล์ โดยผลิต สารnicotinamide adenine dinucleotide phosphate. (NADPH), reduced glutathione (GSH) ในการป้องกันความเสียหาย ของเซลล์จากสารอนุพันธุ์ออกซิเจน (reactive oxygen species, ROS) ที่เกิดในเมแทบอลิสม์เกี่ยวกับ พลังงานในเนื้อเยื่อ บนพื้นที่ผิวเซลล์ทั่วไป GSH ป้องกันความเสียหายจากออกซิเดชัน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง เม็ดเลือดแดงมีความเสี่ยงต่อการสัมผัสสารกลุ่ม ROS เนื่องจากเม็ดเลือดแดงมีบทบาทในการขนส่ง ออกซิเจนและในช่วงออกซิเดชัน เซลล์เม็ดเลือดแดงอ่อน อาจแตกก่อนที่จะเป็นเซลล์โตเต็มที่ได้ เหมือนกัน ROS เป็นชื่อรวมขอกลุ่มสารอนุพันธุ์ออกซิเจนที่ก่อกำเนิดอนุมูลอิสระ (free radicals) ได้แก่ singlet oxygen (1O2 ), superoxide (O2 •– ), hydroxyl (HO• ), hydroperoxyl (HO2 • ), peroxyl (RO2 • ),


Click to View FlipBook Version