The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อาราดา ลักษณ์นารา, 2022-09-15 00:47:09

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1

Flowchart ระบบเรียนรู้โรงเรียนสุราษฎร์ธานี ๒

ศึกษาหลักสตู ร

นเิ ทศภายใน และสนับสนนุ ปจั จยั เอ้อื วิเคราะหห์ ลักสตู รแกนกลาง
วิเคราะหค์ ำอธบิ ายรายวิชา

จัดทำหนว่ ยการเรียนรู้
วเิ คราะห์ผู้เรยี นเพอื่ กำหนดเป้าหมาย
จัดทำแผนการจดั การเรียนรู้สอดแทรกตามหลัก ปศพพ.

วเิ คราะห์แผนการจดั การเรยี นรู้

คณะกรรมการตรวจและประเมนิ แผนการจดั การเรียนรู้

จดั กระบวนการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้

วดั ผลเพอื่ การพฒั นา

ไม่น้อยกวา่ 60% ไมผ่ า่ น พฒั นาการจดั การเรียนรู้

ผา่ น

ประเมนิ ตดั สนิ ผล

ผ่าน/ไมผ่ ่าน ไมผ่ า่ น ปรบั ปรุง/ซอ่ มเสริม

ผ่าน

รายงานผลการสอน/ประชาสมั พันธใ์ หผ้ ้มู ีสว่ นเกยี่ วข้อง

โครงสรา้ งรายวิชาโปรแกรมคอมพิวเตอรส์ รา้ งสรรค์ 1
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1

เวลา ....................ช่วั โมง/ภาคเรยี น

สาระการเรียนรู้
หนว่ ยที่ 1 ความรูเ้ บื้องต้นเกี่ยวกับการสรา้ งงานกราฟิก (จำนวน 4 ชั่วโมง)

- ความรเู้ บอื้ งต้นและประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์กราฟกิ
- หลักการจดั กลุ่มโมเดลสี และจิตวิทยาเกี่ยวกบั สี
หน่วยท่ี 2 ร้จู ักกับโปรแกรม Photoshop (จำนวน 6 ชัว่ โมง)
- รจู้ กั โปรแกรม Photoshop และสว่ นประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม Photoshop
- ชุดเคร่ืองมือและการใชง้ านในโปรแกรม Photoshop
หนว่ ยท่ี 3 การใชเ้ ครื่องมือตา่ ง ๆ ของโปรแกรม Photoshop (จำนวน 10 ช่ัวโมง)
- การกำหนดขนาดและความละเอียดของภาพ
- การนำภาพจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในโปรแกรม Photoshop
- การสร้างและปรบั แตง่ แบบอกั ษร
หน่วยท่ี 4 การสร้างสรรค์ช้นิ งาน (จำนวน 20 ชว่ั โมง)
- การแยกวัตถอุ อกจากฉากหลัง
- การปรบั รปู ทรงของภาพ
- การสรา้ งเอฟเฟ็คพิเศษดว้ ยฟิลเตอร์
- การตกแตง่ และรีทชั ภาพ
- การสร้างวัตถสุ ะท้อนบนพ้ืนมันเงา
- การออกแบบสอ่ื สง่ิ พิมพ์

ผงั โครงสร้างหนว่ ยการเรยี นรู้เพอื่ เสริมสร้างคุณลกั ษณะอย่อู ย่างพอเพยี ง
กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ช่ือหน่วยการเรียนรู้เบ้อื งตน้ เก่ียวกับการสร้างงานกราฟิก

ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 4 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 (2 ชั่วโมง) หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1
เรอื่ ง ความรู้เบื้องต้นและประโยชน์ ความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกบั การสร้างงานกราฟิก

ของคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก (2 แผน 4 ช่วั โมง)
ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ ายหลักการจัดกลุ่มโมเดลสี ปัจจุบันคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามามีบทบาทกับ
จิตวทิ ยาเก่ยี วกบั สี และบอกประโยชน์ งานด้านต่าง ๆ เป็นอย่างมากมีการนำคอมพิวเตอร์
ของคอมพวิ เตอร์กราฟกิ ได้ กราฟิก มาสร้างสรรค์เป็นผลงาน ไม่ว่าจะเป็นการ
ออกแบบภาพ และการปรับแต่งสีภาพ มีการนำ
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 2 (2 ชั่วโมง) คอมพิวเตอร์กราฟิกไปใช้กับงานด้านต่าง ๆ อาทิเช่น
เร่อื ง หลักการจัดกลมุ่ โมเดลสี งานสิ่งพิมพ์ งานโฆษณา งานออกแบบ งานนำเสนอ
และจติ วทิ ยาเก่ยี วกับสี ข้อมูล งานสร้างภาพการ์ตูน งานสร้างสื่อการเรียนการ
สอน เป็นต้น โดยภาพกราฟิกจะทำให้งานที่ได้มีความ
ผลการเรยี นรู้ สวยงามและน่าสนใจยิ่งขึ้น การศึกษา และ ทำความ
1. อธบิ ายหลักการจัดกลุ่มโมเดลสี เข้าใจ เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของคอมพิวเตอร์กราฟกิ
จิตวทิ ยาเกีย่ วกบั สี และบอกประโยชน์ การจัดกลุ่มโมเดลสี จัดว่าเป็นพื้นฐานสำคัญเพื่อช่วยให้
ของคอมพวิ เตอรก์ ราฟิกได้ การออกแบบ หรือการตกแตง่ ภาพกราฟิกมปี ระสิทธภิ าพ
มากย่ิงขน้ึ

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ภาระงาน/ชนิ้ งาน

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี ินยั 1. ใบงานที่ 1.1 เร่ือง ความหมายและประโยชน์
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รยี นรู้ ของคอมพวิ เตอร์กราฟิก
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 2. ใบงานที่ 1.2 เรื่อง หลักการจัดกลุ่มโมเดลสี
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะ 4. อยอู่ ย่างพอเพยี ง และจิตวทิ ยาเก่ียวกับสี
ชีวิต
5. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี

หน่วยการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกีย่ วกบั การสรา้ งงานกราฟิก รหัสวชิ า ว20233
รายวชิ าโปรแกรมคอมพิวเตอรส์ รา้ งสรรค์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลาเรยี น 4 ช่วั โมง
ภาคเรยี นท่ี 1

1. ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวงั

อธบิ ายหลักการจดั กลมุ่ โมเดลสี จติ วิทยาเก่ยี วกบั สี และบอกประโยชน์ของคอมพิวเตอร์กราฟกิ ได้

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด

ปัจจุบันคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามามีบทบาทกับงานด้านต่าง ๆ เป็นอย่างมากมีการนำ
คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ มาสรา้ งสรรคเ์ ป็นผลงาน ไม่ว่าจะเปน็ การออกแบบภาพ และการปรับแต่งสีภาพ มกี าร
นำคอมพิวเตอร์กราฟิกไปใช้กับงานด้านต่าง ๆ อาทิเช่น งานสิ่งพิมพ์ งานโฆษณา งานออกแบบ งาน
นำเสนอข้อมูล งานสร้างภาพการต์ นู งานสรา้ งสอ่ื การเรยี นการสอน เป็นตน้ โดยภาพกราฟิกจะทำให้งานท่ี
ได้มีความสวยงามและน่าสนใจยิ่งขึ้น การศึกษา และ ทำความเข้าใจ เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของ
คอมพิวเตอรก์ ราฟิก การจัดกลุ่มโมเดลสี จัดวา่ เป็นพ้นื ฐานสำคญั เพอ่ื ช่วยให้การออกแบบ หรือการตกแต่ง
ภาพกราฟิกมีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขน้ึ

3. สาระการเรียนรู้

3.1 ความรู้เบ้อื งต้นและประโยชนข์ องคอมพิวเตอร์กราฟิก
3.2 หลกั การจดั กลุ่มโมเดลสี และจิตวทิ ยาเกยี่ วกับสี

4. สมรรถนะการเรียนร้ขู องผเู้ รียน

4.1 ความสามารถในการส่ือสาร
4.2 ความสามารถในการคดิ

4.2.1 ทกั ษะการคิดวิเคราะห์
4.2.2 ทกั ษะความคิดสร้างสรรค์

4.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

4.4.1 กระบวนการปฏิบตั ิ
4.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

4.5.1 การใชเ้ ทคโนโลยีในการสบื คน้ ขอ้ มูล

5. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
5.1 มวี นิ ัย
5.1.1 มคี วามรบั ผิดชอบ มีความต้ังใจทำงานและติดตามผลงานที่ได้รบั มอบหมา
5.1.2 มรี ะเบยี บวนิ ัยและปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ทก่ี ำหนด
5.1.3 มีความตรงต่อเวลา
5.1.4 มีความอดทนขยันหมั่นเพียร
5.1.5 ร้จู กั เสียสละและมีความเหน็ ใจผอู้ ื่น
5.2 ใฝเ่ รยี นรู้
5.2.1 แสวงหาข้อมูลจากแหลง่ การเรียนรตู้ ่างๆ
5.2.2 มีการจดบันทกึ ความร้อู ย่างเป็นระบบ
5.2.3 สรปุ ความรไู้ ดอ้ ย่างมีเหตุผล
5.3 ม่งุ มนั่ ในการทำงาน
5.3.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
5.3.2 มีความอดทนและไมท่ อ้ แท้ต่ออุปสรรคเพอ่ื ใหง้ านสำเรจ็ ลลุ ว่ ง
5.4 อยู่อย่างพอเพียง
5.4.1 รจู้ กั การวางตัวและตัดสนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตุผล
5.4.2 ใชท้ รพั ยส์ ินของตนเอง เชน่ สิง่ ของ เคร่อื งใช้ ฯลฯ อยา่ งประหยดั คุม้ ค่า เกบ็ รกั ษา

ดูแลอยา่ งดแี ละใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม

6. ช้ินงาน หรอื ภาระงาน

6.1 ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความหมายและประโยชน์ของคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ
6.2 ใบงานที่ 1.2 เรื่อง หลกั การจัดกลุ่มโมเดลสีและจิตวิทยาเกยี่ วกับสี

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 ใชก้ ระบวนการจดั การเรยี นรแู้ บบ วธิ ีการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 2 ใชก้ ระบวนการจดั การเรียนรูแ้ บบ วธิ ีการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E
8. วสั ดุอุปกรณ์ /ส่อื /แหล่งเรียนรู้ (หนงั สือ/เอกสารประกอบการสอน/ใบงาน/ใบความรู้/สถานที่จริง/ภมู ิ
ปญั ญาท้องถน่ิ /สถานประกอบการ/อนิ เตอร์เนต็ ฯลฯ)
8.1 ส่อื power point
8.2 ใบงาน
8.3 จอ Projector
8.4 เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ทีต่ ิดต้งั โปรแกรม Photoshop และเชื่อมตอ่ อินเทอรเ์ น็ต
8.5 เว็บไซต์ http://webkruboy.wordpress.com
8.6 เว็บไซต์สำหรับค้นข้อมลู เชน่ http://www.google.com, http://www.yahoo.com
8.7 เวบ็ ไซต์ http://comkrutae.wordpress.com
8.8 หอ้ งปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ ห้องสมดุ

9. การวดั และประเมินผล

การวดั ผลและประเมินผล

ด้าน วิธีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์การวัดและ
ความรู้ (K) ประเมินผล
- ตรวจใบงาน 1.1 - ใบงานท่ี 1.1
- ตรวจใบงาน 1.2 - ใบงานท่ี 1.2 ไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่
รอ้ ยละ 80

ทกั ษะกระบวนการ (P) - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2 ขน้ึ ไป

ภายในกลุม่ พฤติกรรมภายในกลุ่ม

คณุ ลกั ษณะ (A) - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 2 ข้นึ ไป

รายบคุ คล พฤติกรรมรายบุคคล

เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล : ระดบั คุณภาพ 1 = นอ้ ย, ระดับคณุ ภาพ 2 = ปานกลาง, ระดับคณุ ภาพ 3 = มาก

แนวทางทค่ี รนู ำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จดั การเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง ความร้เู บ้อื งต้นเกยี่ วกบั การสรา้ งงานกราฟกิ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 เวลา 4 ชั่วโมง

ครผู ู้สอนนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการจดั การเรียนรู้ ดังน้ี

ความรู้ท่ีครตู อ้ งมีกอ่ นสอน คุณธรรมของครูในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

- มคี วามร้เู กีย่ วกบั ผลการเรียนร้ทู ่คี าดหวงั - มีความรกั เมตตาศิษย์

- มคี วามรู้เก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์ เนื้อหาในเรื่องทจี่ ะสอน รูปแบบ - มีความรบั ผดิ ชอบ

เทคนิค วธิ กี ารสอน จิตวทิ ยาการเรียนรู้ - ตรงต่อเวลา

- การใช้สื่อและแหลง่ เรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล - มคี วามยตุ ิธรรม
- มีความอดทน

- มีความม่งุ ม่ันเอาใจใสใ่ นการสอน

ประเด็น พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภมู คิ ุ้มกนั ในตัวท่ีดี

- ผูส้ อนมกี ารวิเคราะห์หลักสตู ร - เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้ตรงตามผล - ลำดับเนอ้ื หาจากง่ายไปหายาก

กำหนดเนอ้ื หาไดส้ อดคลอ้ งกบั การเรียนรคู้ รบถว้ นตามกระบวนการ เพื่อให้ผ้เู รียนเกิดความอยากเรยี นรู้

เน้ือหา ผลการเรียนรู้ เหมาะกบั เวลา วัย - การเลือกใชข้ ้อมลู ในการจัดทำงาน - เตรยี มเนอื้ หาให้ครอบคลุมตามผล
และความสามารถของผูเ้ รียน ของผู้เรียนเหมาะสมกับเนอ้ื หาและ การเรยี นรู้

วัยของผู้เรยี น - มีการเตรยี มเนอ้ื หาและใบงาน

อยา่ งดกี ่อนจดั การเรยี นการสอน

- กำหนดเวลาอยา่ งเหมาะสมกบั - ส่งเสริมให้นักเรียนทำกจิ กรรม - วางแผนการทำงานลว่ งหน้า

เวลา เนอื้ หาและ กิจกรรม อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ - มกี ารจัดสรรเวลาใหส้ ัมพนั ธ์กบั
กิจกรรมการเรียนรู้

- เหมาะสมกับเวลาและ - การเลือกวิธกี ารจัดการเรียนการ - มกี ารวางแผนการจดั การเรยี นรู้

กลุม่ ผู้เรยี น สอนท่ีเหมาะกับเนอื้ หาและเรอื่ งที่ ลว่ งหน้า

การจัดกิจกรรม - จัดกิจกรรมทีเ่ นน้ รปู ธรรมสรา้ ง จะสอน - เตรียมกิจกรรมให้มคี วามยืดหยนุ่

สือ่ -อปุ กรณ์- นสิ ยั ความพอเพียง - ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นได้ เพ่ือใหง้ านเสรจ็ ตามเวลาที่กำหนด
แหล่งเรียนรู้
เหมาะสมกับสภาพผู้เรียน
การประเมิน
- เตรยี มส่ือให้เพียงพอกบั - ใช้สื่อในการกระตนุ้ ความสนใจ - ศกึ ษาลักษณะของผู้เรียนก่อน

จำนวนผเู้ รยี น เสรมิ สรา้ งใหผ้ เู้ รยี นเข้าใจในบทเรียน เตรยี มสือ่ / อุปกรณ์

- จัดแหลง่ เรยี นรไู้ ดเ้ หมาะสมกบั ได้งา่ ยขนึ้ - เตรยี มสอ่ื หรืออุปกรณส์ ำรอง

กจิ กรรม เนือ้ หาและความสนใจ - เลือกสอ่ื ท่เี หมาะสมกบั เป้าหมาย - ผู้สอนทดลองใชส้ ือ่ และทำความ

ของผูเ้ รยี น เน้อื หา กิจกรรมการเรียนรู้และความ เขา้ ใจการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้

สนใจของผเู้ รยี น

- ออกแบบการวัดและ - ประเมินผลการเรียนให้ตรงกับผล - ศึกษาและสร้างเคร่ืองมอื วดั ผลให้

ประเมนิ ผลไดเ้ หมาะสมกบั ผล การเรียนรแู้ ละคณุ ภาพของผเู้ รยี น ตรงตามผลการเรียนรู้และผ่านการ

การเรยี นรู้ กิจกรรม และผเู้ รยี น ตรวจสอบคณุ ภาพ

ผลท่ีจะเกดิ ขน้ึ กับผูเ้ รยี นจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง ความร้เู บอ้ื งต้นเกีย่ วกับการสรา้ งงานกราฟิก ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 4 ช่ัวโมง

1. ผู้เรียนได้ฝึกคดิ และฝึกปฏิบตั ติ ามหลกั ปศพพ. ดงั นี้

ความรูท้ ่นี กั เรียนตอ้ งมีก่อน คุณธรรมของนักเรยี น

- ความรพู้ นื้ ฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ - นักเรียนต้องมีความรับผดิ ชอบ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
- ความคดิ สร้างสรรค์ - นักเรียนต้องมีระเบยี บวนิ ัย มคี วามซื่อสัตย์ ตรงตอ่ เวลา
- มีความมงุ่ ม่ันในการทำงาน

หลักพอประมาณ หลักมีเหตผุ ล หลกั การสร้างภูมิคมุ้ กันในตวั ท่ีดี

- รู้จกั ค้นหาความร้เู พมิ่ เตมิ - ใชท้ รัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มคา่ และ - รจู้ ักบทบาท หน้าที่และปฏบิ ัติหนา้ ที่ที่

- สามารถแบง่ เวลาได้ เหมาะกบั เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ไดร้ ับมอบหมายไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง

กิจกรรมและภาระงาน และทำงานท่ี - รับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ น่ื และยอมตบั เหมาะสม และทำกิจกรรมได้อย่างมี

ไดร้ บั มอบหมายไดท้ ันตามเวลาที่ ตอ่ ความคิดเหน็ ท่ีแตกต่างอย่างมเี หตุผล ประสทิ ธภิ าพ

กำหนด - การแบง่ เวลา ภาระหนา้ ทีท่ ี่เหมาะสมกับ - มกี ารวางแผนการทำงานอยา่ งเป็น

- ใชท้ รพั ยากรในการทำงานอย่าง ความสามารถของแต่ละคนทำให้ปฏบิ ตั ิ ระบบ

คมุ้ คา่ และเกดิ ประโยชน์สงู สุด หนา้ ท่ีไดค้ รบถว้ นและมคี ณุ ภาพ - มจี ติ สำนกึ ต่อบทบาท หน้าท่ี ความ

- สามารถทำกจิ กรรมได้ตรงกับวยั รับผดิ ชอบและมีจติ อาสาในการช่วยผู้อน่ื

และความสามารถของแตล่ ะคนได้ และสงั คม

อย่างเหมาะสม

2. ผลลัพธท์ ี่เกดิ ขนึ้ กบั ผ้เู รียนจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงสู่ 4 มิติ ดังน้ี

ผลลัพธ์ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง...สมดลุ และพรอ้ มรับการเปลีย่ นแปลงในดา้ นตา่ ง ๆ

วัตถุ สังคม ส่งิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม

- มีความรูเ้ บื้องตน้ - กระบวนในการทำกจิ กรรม - มคี วามร้ใู นการรกั ษา - รรู้ ะเบยี บ แบบแผน
ต่าง ๆ ที่มีร่วมกัน
ความรู้ องค์ประกอบต่างๆ รว่ มกับผู้อ่ืน วสั ดุ อุปกรณแ์ ละ
เกี่ยวกบั โปรแกรม
สถานทีใ่ นการทำงาน

Photoshop

- มีทกั ษะ ในการจัดทำ - มที ักษะในการทำงาน - การดแู ลรกั ษาวสั ดุ - รจู้ กั การปฏิบัติตนให้
ชิ้นงานใหม้ ีความเรียบร้อย รว่ มกันและการมีปฏิสมั พันธ์ อุปกรณแ์ ละสิง่ ของที่ใช้ อยูใ่ นระเบียบ แบบแผน
ทักษะ ถกู ตอ้ งและสวยงาม ระหวา่ งเพ่อื น กับเพอื่ น ในการทำงานรวมทัง้ ต่าง ๆ ทม่ี ีรว่ มกัน

รกั ษาความสะอาดของ
สถานที่

คา่ นยิ ม - ใชท้ รัพยากรตา่ ง ๆ ทมี่ ี - ตระหนกั ถงึ ผลประโยชน์ - มีจติ สาธารณะในการ - ยอมระเบยี บ แบบแผน
อยู่ไดอ้ ย่างคุ้มค่ามาก ของส่วนรวมมากกว่า ดแู ลรักษาความสะอาด กฎ กติกา ตา่ ง ๆ ทีม่ ี
ที่สดุ ประโยชน์ของตนเอง ของสถานที่ ร่วมกัน

แผนการจดั การเรยี นรูบ้ รู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

โรงเรยี นสรุ าษฎรธ์ านี ๒

แผนการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง ความรู้เบื้องตน้ และประโยชน์ของคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก จำนวน 2 ชั่วโมง

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สรา้ งสรรค์ 1 รหัสวิชา ว20233

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ความรเู้ บ้อื งต้นเก่ียวกับการสรา้ งงานกราฟิก จำนวนช่ัวโมงของหนว่ ย 4 ชัว่ โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เปา้ หมายการเรยี นรู้

1. ผลการเรยี นรู้

นักเรียนสามารถอธิบายหลักการจัดกลุ่มโมเดลสี จิตวิทยาเกี่ยวกับสี และบอกประโยชน์
ของคอมพวิ เตอร์กราฟิกได้

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้สู่ผลการเรยี นรู้

2.1 นกั เรียนบอกความหมายของคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ ได้ (K)
2.2 นักเรยี นสามารถอธบิ ายบทบาทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์กราฟกิ ได้ (K)
2.3 นกั เรยี นสามารถอธบิ ายเกีย่ วกบั ประเภทและหลักการทำงานของกราฟิกได้ (K)
2.4 นักเรยี นสามารถสรุปความรแู้ ละสร้างแผนผังความคดิ ได้ (P)
2.5 นกั เรียนมีความซื่อสตั ย์ และม่งุ มัน่ ในการทำงาน (A)

3. สาระสำคญั

คอมพิวเตอร์กราฟิก คือ การสร้างและการจัดการภาพกราฟิก โดยใช้คอมพิวเตอร์ การใช้
คอมพิวเตอร์สร้างภาพ การตกแต่งแก้ไขภาพ หรือการจัดการเกี่ยวกับภาพ เช่น ภาพยนตร์ วิดีทัศน์
การตกแต่งภาพถ่าย การสร้างภาพตามจินตนาการ และการใช้ภาพกราฟิกในการนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ
เพื่อให้สามารถสื่อความหมายให้ชัดเจนและทำความเข้าใจได้ง่ายกว่าเดิม เช่น การนำเสนอข้อมูลด้วย
แผนภาพหรือกราฟ แทนที่จะเป็นตารางของตัวเลข ซึ่งในปัจจุบันมีการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกกับงาน
หลากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นงานด้านการศึกษา งานด้านธุรกิจ งานด้านการออกแบบ งานด้านบันเทิง
หรืองานดา้ นการแพทย์ เปน็ ตน้

4. สาระการเรยี นรู้

4.1 ความหมายของคอมพิวเตอรก์ ราฟกิ
4.2 บทบาทและประโยชนข์ องคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก
4.3 ประเภทและหลกั การทำงานของกราฟิก
4.4 ซอฟแวร์ท่เี หมาะสมสำหรบั การออกแบบกราฟิก
5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

5.1 มวี นิ ัย
5.1.1 มีความรับผิดชอบ มีความต้ังใจทำงานและตดิ ตามผลงานท่ไี ด้รบั มอบหมาย
5.1.2. มรี ะเบยี บวนิ ัยและปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์ท่ีกำหนด
5.1.3 มคี วามตรงตอ่ เวลา
5.1.4 มคี วามอดทนขยันหม่นั เพียร
6.1.5 รจู้ กั เสียสละและมีความเหน็ ใจผู้อืน่

5.2 ใฝเ่ รยี นรู้
5.2.1 แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่งการเรียนร้ตู า่ ง ๆ
5.2.2 มีการจดบันทกึ ความรู้อยา่ งเป็นระบบ
5.2.3 สรุปความรู้ไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล

5.3 มุ่งมนั่ ในการทำงาน
5.3.1 มคี วามต้ังใจและพยายามในการทำงานท่ีได้รบั มอบหมาย
5.3.2 มคี วามอดทนและไม่ท้อแท้ตอ่ อุปสรรคเพ่ือใหง้ านสำเรจ็ ลลุ ่วง

5.4 มคี วามซอ่ื สตั ย์
5.4.1 ไม่คัดลอกคำตอบหรือผลงานของผ้อู ืน่
5.4.2 ให้ขอ้ มูลทถ่ี ูกต้องและเปน็ จรงิ เปน็ แบบอย่างทด่ี ีด้านความซื่อสัตย์
5.4.2 ปฏิบตั ติ ่อผูอ้ ่นื ด้วยความซ่อื ตรง

6. สมรรถนะการเรยี นร้ขู องผู้เรยี น

6.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร
6.2 ความสามารถในการคดิ

6.2.1 ทักษะการคดิ วิเคราะห์
6.2.2 ทักษะความคดิ สร้างสรรค์
6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
6.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
6.4.1 กระบวนการปฏบิ ตั ิ
6.4.2 กระบวนการทำงานกลมุ่
6.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6.5.1 การใชเ้ ทคโนโลยีในการสบื คน้ ข้อมลู

กิจกรรมการเรยี นรู้

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (วธิ กี ารสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E)

ขัน้ ท่ี 1 ข้ันกระต้นุ ความสนใจ (Engage)
1) สนทนากับนกั เรียนเกี่ยวกับความเจรญิ กา้ วหนา้ ในด้านการใช้เทคโนโลยใี นปัจจบุ นั
2) แนะนำรายวชิ า / แจง้ คำอธิบายรายวชิ า / จุดประสงค์การเรียนรู้ และเกณฑ์การให้

คะแนน
3) สุ่มถามนักเรียนรายบุคคล โดยใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนคิดว่า ปัจจุบัน

คอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มามีบทบาทกบั ชวี ิตคนเราหรอื ไม่ อย่างไร (Q1) และนักเรยี นเคยได้ยินคำว่ากราฟิกหรือไม่
นักเรียนคดิ ว่ากราฟิกหมายถงึ อะไร (Q2) คำวา่ คอมพิวเตอร์กราฟกิ น่าจะหมายถึงอะไร (Q3)

4) นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นออนไลน์ โดยใช้แบบทดสอบแบบปรนยั 4 ตัวเลอื ก
ขั้นท่ี 2 ขั้นสำรวจค้นหา (Explore)

5) ใหน้ ักเรียนแบง่ สมาชกิ ออกเป็น 5 กลุ่ม และนัง่ ตามกล่มุ ของตนเอง
6) ให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ จับสลากเลอื กหัวขอ้ ทต่ี นเองต้องไปศึกษา โดยมีหวั ข้อเร่ือง คือ

- ความหมายและบทบาทของคอมพวิ เตอร์กราฟิก
- ประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์กราฟกิ
- ประเภทของกราฟิก
- หลกั การทำงานของกราฟกิ
- ซอฟแวรท์ ่ีเหมาะสมสำหรบั การออกแบบกราฟกิ
7) แจกใบความรู้ ปากกาเคมี สีเมจิก และกระดาษปรูฟ๊ ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ นักเรียน
คิดวา่ อปุ กรณท์ ีไ่ ดไ้ ปใชเ้ พียงพอหรอื ไม่ และนกั เรียนตอ้ งมีการแบง่ งานแบ่งหนา้ ทก่ี นั อย่างไรบา้ ง (Q3)

8) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปความรู้ในเรื่องที่ศึกษาเป็นแผนผังความคิดลงในกระดาษ
ปรู๊ฟ พรอ้ มท้งั ค้นหาความรู้เพม่ิ เติมจากอนิ เทอร์เนต็ นอกเหนือจากใบความรู้ที่ครูให้ และตัง้ คำถามจำนวน
3 ข้อสำหรบั สอบถามความรู้เพื่อนในห้องเรยี นหลงั จบการนำเสนอ

ขั้นที่ 3 ขน้ั อธิบายความรู้ (Explain)
9) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมตัวนำเสนองานในหัวข้อที่ได้รับกลุ่มละไม่เกิน 5 นาที

และหลังจบการนำเสนอให้นักเรียนสอบถามเพื่อนในชัน้ เรียนจากคำถามท่ีตงั้ ไว้ โดยการสุ่มถามรายบุคคล
และครอู ธบิ ายเพ่มิ เติม

10) เมื่อนำเสนอเรียบร้อยแล้ว แต่ละกลุ่มนำแผนผังความคิดไปติดไว้ที่ฝาผนัง เพื่อให้
นักเรยี นได้ศกึ ษาเพ่ิมเติม

11) นักเรยี นมีขอ้ สงสัยอะไรเพมิ่ เตมิ หรอื ไม่ (Q4)
ขั้นท่ี 4 ขั้นขยายความเขา้ ใจ (Expand)

12) ซักถามความเข้าใจนักเรยี นโดยการส่มุ รายบคุ คล โดยใชค้ ำถามต่อไปน้ี
- คอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ หมายถึง (Q5)
- บทบาทของคอมพิวเตอร์กราฟิก มีอะไรบ้าง ยกตัวอย่างน้อยคนละ 1 ตัวอย่าง

(Q6)
- นกั เรยี นคดิ วา่ คอมพวิ เตอรก์ ราฟิกมีประโยชน์อย่างไรบ้าง ยกตัวอยา่ งน้อยคนละ

1 ตวั อย่าง (Q7)
- กราฟิกมกี ่ปี ระเภทอะไรบ้าง แต่ละประเภททำงานอย่างไร (Q8)
- จงยกตัวอย่างซอฟต์แวร์ พร้อมทัง้ บอกประโยชน์ของซอฟต์แวรน์ ้ันว่าใช้ทำอะไร

คนละ 1 ซอฟต์แวร์ (Q9)
13) ใหน้ ักเรียนทำใบงาน 1.1 โดยหาคำตอบไดจ้ ากอนิ เทอร์เน็ต และผงั ความคิดทีเ่ พื่อน

ๆ แต่ละกล่มุ สรุปไว้
ขน้ั ที่ 5 ขัน้ ตรวจสอบผล (Evaluate)
14) ครูและนกั เรยี นร่วมกันเฉลยใบงาน 1.1
15) จากการทำกิจกรรมกลมุ่ นักเรียนมปี ญั หาอย่างไรบ้าง และมีวธิ แี กป้ ญั หาน้นั อยา่ งไร

(Q10)
16) กอ่ นลงมือทำงานนักเรยี นมีการวางแผนการทำงานกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร(Q11)

8. ชุดคำถามกระต้นุ เพื่อปลูกฝังหลกั คิดพอเพียง

คำถามกระตุ้นคดิ เพอ่ื ปลกู ฝังหลักคิดพอเพียงกอ่ นเรียน
Q1 เงื่อนไขความรู้ : นักเรยี นคดิ วา่ คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทกบั ชวี ิตเราอยา่ งไรบ้าง

Q2 ความมเี หตุผล: และเกีย่ วข้องกับงานกราฟกิ หรอื ไม่ อยา่ งไร
คำถามกระตุ้นคิดเพอื่ ปลกู ฝงั หลกั คดิ พอเพียงระหว่างเรียน
Q3 ความพอประมาณ : นกั เรยี นคดิ ว่าอปุ กรณท์ ไ่ี ด้ไปใชเ้ พียงพอหรือไม่ มติ ทิ างสังคม และนักเรียนต้อง
มกี ารแบ่งงานแบง่ หนา้ ทกี่ ันอยา่ งไรบ้าง
Q4 ความมีเหตุผล : นกั เรียนมขี อ้ สงสยั อะไรเพ่ิมเตมิ หรือไม่
Q5 เงื่อนไขความรู้ : คอมพิวเตอรก์ ราฟิก หมายถึง
Q6 เง่ือนไขความรู้ : บทบาทของคอมพิวเตอรก์ ราฟกิ มีอะไรบา้ ง ยกตัวอย่างน้อยคนละ 1 ตวั อย่าง
Q7 เงื่อนไขความรู้ : นักเรียนคิดว่าคอมพวิ เตอร์กราฟกิ มปี ระโยชน์อย่างไรบา้ ง ยกตัวอย่างน้อยคนละ 1
ตัวอย่าง
Q8 เงื่อนไขความรู้ : กราฟกิ มกี ป่ี ระเภทอะไรบา้ ง แต่ละประเภททำงานอย่างไร
Q9 เง่ือนไขความรู้ : จงยกตัวอย่างซอฟตแ์ วร์ พร้อมทงั้ บอกประโยชน์ของซอฟต์แวรน์ ้นั ว่าใชท้ ำอะไร คน
ละ 1 ซอฟต์แวร์
คำถามกระตุน้ คิดเพ่ือปลกู ฝังหลกั คิดพอเพียงหลงั เรียน
Q10 มติ ดิ า้ นสงั คม : จากการทำกิจกรรมกลุม่ นักเรียนมีปญั หาอยา่ งไรบ้าง และมวี ิธแี ก้ปญั หานน้ั อยา่ งไร
Q11 การมภี ูมิคุ้มกนั : กอ่ นลงมือทำงานนักเรยี นมกี ารวางแผนการทำงานกันหรอื ไม่ อยา่ งไร

9. วัสดอุ ปุ กรณ์ /สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้

9.1 โปรแกรมนำเสนอข้อมูลใบความรูท้ ่ี 1.1 เรอื่ ง ความรูเ้ บ้อื งตน้ และประโยชน์
ของคอมพิวเตอร์กราฟิก

9.2 ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความหมายและประโยชน์ของคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก
9.3 บทเรียนออนไลน์ https://sites.google.com/site/photoshop1laksanara/model-
si?previewAsViewer=1
9.4 เครื่องคอมพิวเตอรท์ ตี่ ิดต้งั โปรแกรม Photoshop และเชอื่ มตอ่ อินเทอรเ์ น็ต
9.5 เว็บไซต์สำหรับค้นข้อมูล เช่น http://www.google.com, http://www.yahoo.com
9.6 ห้องปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ หอ้ งสมดุ

10. ชน้ิ งาน หรอื ภาระงาน

10.1 ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ความหมายและประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์กราฟกิ
10.2 บันทกึ สรุปบทเรยี น
10.3 แผนผงั ความคดิ (งานกล่มุ )

11. การวัดและประเมินผล

การวดั ผลและประเมินผล

ดา้ น วิธีการ เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารวัดและ
ประเมนิ ผล

ความรู้ (K) - ตรวจใบงาน 1.1 - ใบงานที่ 1.1 ไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่

รอ้ ยละ 80

ทกั ษะกระบวนการ (P) - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2 ข้นึ ไป

ภายในกลุ่ม พฤติกรรมภายในกล่มุ

คุณลกั ษณะ (A) - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 ขน้ึ ไป

รายบคุ คล พฤตกิ รรมรายบุคคล

เกณฑ์การวดั และประเมินผล : ระดับคณุ ภาพ 1 = นอ้ ย, ระดับคณุ ภาพ 2 = ปานกลาง, ระดับคณุ ภาพ 3 = มาก

12. ความเห็นรองผู้อำนวยการ

ได้ตรวจแผนการจดั การเรียนร้ขู อง………………………………………………………………..…… แล้วมคี วาม
คิดเหน็ ดงั น้ี

๑. กระบวนการเรียนรู้
 มีความสอดคลอ้ ง เหมาะสมกับความสนใจและความถนดั ของนกั เรียน
 ไมส่ อดคลอ้ งและยังไมเ่ หมาะสมกบั นักเรยี น ควรปรบั ปรุง

๒. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำกระบวนการเรียนรู้
 ทเ่ี น้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั มาใชใ้ นการสอนอย่างเหมาะสม
 ท่ียังไม่เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป

๓. การวัดผลและประเมนิ ผล
 ใชว้ ธิ ีการท่หี ลากหลาย สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์
 ไม่หลากหลาย และไม่สอดคล้องกบั มาตรฐานของหลกั สตู ร ควรปรับปรุง

๔. ความเหมาะสมในการนำแผนการจดั การเรยี นรู้ ไปใชจ้ ดั กจิ กรรมการเรียนรู้
 สามารถนำไปใช้จัดการเรยี นรูไ้ ด้จริง
 ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใชจ้ ดั การเรียนรู้

๕. ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

ลงช่อื ...............................................
(นางสาวชฎาพร ชว่ ยชู)

รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ

13. ความเหน็ ผู้อำนวยการ

 อนุมตั ใิ หน้ ำไปใชจ้ ัดการเรยี นการสอนได้
 ไม่อนุมตั ิให้นำไปใชจ้ ดั การเรียนการสอน เพราะ.................................................................

……………………………………………………………………………………………………………………………
ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

...............................................
(นายประยงค์ อินนุพฒั น์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นสรุ าษฎรธ์ านี ๒

14. บันทกึ หลงั สอน

จากการจดั กิจกรรมการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรู้.........................................................................
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่.................. หนว่ ยการเรยี นรู้ท.ี่ .............. เรอื่ ง...................................................................
แผนการจัดการเรยี นรูท้ .่ี ............ เรอ่ื ง.................................................................................................... สอน
เมื่อวันที่....................เดือน..........................................พ.ศ. ................ ... เป้าหมายการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ คอื เพอื่ ให้นกั เรียนระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่........................ จำนวนทัง้ หมด....................คน มคี วามรู้
ความสามารถ เรื่อง................................................................................. จากผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พบว่า นักเรียนร้อยละ...................มีความรู้ ความเข้าใจผ่านเกณฑ์การประเมิน และที่นักเรียนจำนวน
...........คน คิดเป็นร้อยละ................. ยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เพราะนักเรียนไม่สามารถ
................................................................................................ตามที่กำหนดได้ จากการวิเคราะห์นักเรยี น
เป็นรายบุคคล และจากการตรวจผลงาน เรื่อง...................................... ...................................................
ของนักเรียนทั้ง...............คน พบว่า นักเรียนขาดทักษะในเรื่อง.............................. ..........................
............................................................................................................................. ในฐานะครูผู้สอนวิชา
.....................................................................................จำเป็นตอ้ งแก้ไขปญั หาดงั กลา่ วของนักเรียน เพ่ือให้
นักเรียน มีความสามารถในเรื่อง.........................................................................และเพือ่ ให้นักเรียนผ่าน
จุดประสงค์การเรียนรู้ และบรรลุตัวช้ีวัดที่..................................................ทีก่ ำหนดไว้ในแผนการจดั การ
เรียนร้ทู .ี่ ......................

ข้อค้นพบและขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติม…………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ........................................... ครผู ูส้ อน
(นางสาวลักษณน์ ารา ทองมาก)
..……/…………../…………

ใบงานที่ 1.1
เรือ่ ง ความหมายและประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์กราฟิก

ชื่อ-สกุล.......................................................................ชั้น.................... เลขท่.ี ...............กลุ่มที…่ ………..……...
คำสัง่ ให้นักเรยี นตอบคำถามต่อไปน้ีให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ หมายถึงอะไร (2 คะแนน)
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
2. การประมวลผลภาพของคอมพวิ เตอร์ มกี ่แี บบ อะไรบ้าง แตกต่างกันอยา่ งไร (3 คะแนน)
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
3. จงบอกประโยชนข์ องคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ มาอยา่ งนอ้ ย 5 ขอ้ (5 คะแนน)
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

ประเด็นการ 3 คะแนน คำอธิบายระดับคะแนน 1 คะแนน
ประเมิน 2 คะแนน

มีวินัย เขา้ หอ้ งเรยี นเรียนตรงเวลา เขา้ หอ้ งเรยี นเรยี นตรง เขา้ ห้องเรยี นสาย ไม่

ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลงของ เวลา ปฏิบัตติ ามข้อตกลง ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลงของ

หอ้ งเรียนเป็นปกติวิสัยและ ของหอ้ งเรียน แตป่ ฏิบตั ิ หอ้ งเรยี น ปฏบิ ัติ

เปน็ แบบอย่างท่ดี ี ปฏบิ ตั ิ กิจกรรมไม่ครบทกุ กจิ กรรมไมค่ รบทุก

กจิ กรรมไดท้ กุ กจิ กรรม กิจกรรม กิจกรรม

ตามท่กี ำหนดไว้

ใฝเ่ รียนรู้ แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่ง แสวงหาข้อมลู จากแหล่ง แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่ง
การเรยี นรตู้ า่ งๆ มีการจด การเรยี นรตู้ า่ งๆ การเรยี นรตู้ ่างๆ
บนั ทึกความรู้อยา่ งเปน็
ระบบสรปุ ความรู้ไดอ้ ยา่ งมี มกี ารจดบันทึกความรู้ แตไ่ มม่ ีการจดบนั ทึก
เหตุผล ความรู้

มุ่ง มั่น ใน ก าร มคี วามตั้งใจและพยายามใน มีความตัง้ ใจและพยายาม ไมม่ ีความตงั้ ใจในการ

ทำงาน การทำงานที่ไดร้ ับ ในการทำงานทไ่ี ดร้ ับ ทำงาน ทำงานเพอ่ื ให้

มอบหมาย มคี วามอดทน มอบหมาย มีความอดทน พน้ ๆไปหรือทำงานไม่

และไม่ทอ้ แทต้ อ่ อปุ สรรค และไมท่ อ้ แทต้ อ่ อุปสรรค เสร็จ

เพื่อให้งานสำเร็จลุลว่ งทนั แตง่ านเสร็จไมท่ นั ตาม

ตามเวลาทก่ี ำหนด เวลาทก่ี ำหนด

ประเด็นการ 3 คะแนน คำอธบิ ายระดับคะแนน 1 คะแนน
ประเมิน 2 คะแนน

ซ่ือสัตย์สจุ รติ ไม่คดั ลอกคำตอบหรอื คัดลอกคำตอบหรอื คัดลอกคำตอบหรอื
ผลงานของผู้อนื่ ใหข้ อ้ มูลที่ ผลงานของผ้อู นื่ เปน็ ผลงานของผู้อื่นเปน็
ถูกตอ้ งและเป็นจรงิ เปน็ บางครง้ั ให้ข้อมูลท่ี ประจำ ใหข้ อ้ มูลที่เปน็
แบบอย่างทด่ี ีด้านความ ถูกต้อง เป็นจรงิ ปฏิบัติ เทจ็ ขาดความความ
ซ่อื สัตย์ ปฏิบัติตอ่ ผู้อื่นด้วย ต่อผอู้ น่ื ดว้ ยความซือ่ ตรง ซอื่ ตรง
ความซอ่ื ตรง

เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน

ประเดน็ การ คำอธบิ ายระดับคะแนน
ประเมนิ
3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
ความสามารถใน มคี วามสามารถ
การสอื่ สาร มีความสามารถในการรับ – มคี วามสามารถในการ ในการรบั – สง่
สาร
ความสามารถใน สง่ สาร สามารถถ่ายทอด รบั – สง่ สาร สามารถ
การคดิ มีความสามารถ
ความร/ู้ ความคดิ /ความ ถ่ายทอดความรู้/ ในการคดิ
ความสามารถใน
การแกป้ ัญหา เขา้ ใจของตนเองโดยใช้ภาษา ความคิด/ความเข้าใจ สามารถ
แก้ปญั หาท่ี
และวิธกี ารที่เหมาะสม ของตนเองโดยใชภ้ าษา เกิดข้นึ ไดบ้ า้ ง

รวมท้งั วเิ คราะห์แสดงความ และวธิ ีการท่ีเหมาะสม

คดิ เหน็ อยา่ งมเี หตุผล

มคี วามสามารถในการคิด มคี วามสามารถในการ

วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ คดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์

และคิดนอกกรอบอย่าง

สร้างสรรค์

สามารถแกป้ ญั หาทเ่ี กิดข้นึ ได้ สามารถแกป้ ัญหาท่ี

ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา เกดิ ขึ้นได้ ใชเ้ หตผุ ลใน

การแก้ปญั หา

ประเด็นการ คำอธิบายระดับคะแนน
ประเมนิ
3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
ความสามารถใน
การใชท้ กั ษะชีวิต แสวงหาความรู้และประยุกต์ เรียนรดู้ ้วย
ตนเองได้
ความสามารถใน ความรมู้ าใช้ในแกไ้ ขปัญหา
การใช้เทคโนโลยี เลอื กและใช้
เรยี นรูด้ ว้ ยตนเองได้ เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง และ เทคโนโลยใี นการ
ทำงานได้
เหมาะสมตามวัย สามารถ สามารถทำงานรว่ มกับ

ทำงานร่วมกับผอู้ นื่ ได้ และ ผู้อนื่ ได้

สามารถนำความรไู้ ปใช้

ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวัน

เลอื กและใชเ้ ทคโนโลยีได้ เลอื กและใช้เทคโนโลยี

อยา่ งเหมาะสม มที ักษะ ได้อย่างเหมาะสม มี

กระบวนการทางเทคโนโลยี ทกั ษะกระบวนการทาง

มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมในการ เทคโนโลยี

ใช้เทคโนโลยี

ประเด็นการ เกณฑ์การประเมินแผนที่ความคิด 21
ประเมนิ
เกณฑก์ ารให้คะแนน
5 43

1. รูปแบบ - รปู แบบช้ินงานถกู ต้อง - รูปแบบแปลกใหม่ - มขี นาดเหมาะสม - รูปภาพมีสสี ัน - รูปภาพ
ชิ้นงาน ตามทกี่ ำหนด นา่ สนใจ - รปู ภาพมสี สี นั สวยงาม สวยงาม สัมพันธ์ กับ
2. ภาษา - รปู แบบแปลกใหม่ - มีขนาดเหมาะสม - รูปภาพสัมพันธ์ กบั - รูปภาพสมั พนั ธ์ เนอ้ื หา
นา่ สนใจ - รปู ภาพมสี สี นั เนือ้ หา กับเนือ้ หา
3. เนอ้ื หา - รปู ภาพมีสีสนั สวยงาม สวยงาม
- รูปภาพสัมพันธ์ กับ - รูปภาพสัมพันธ์ กับ
เนอื้ หา เนอ้ื หา

- มกี ารใช้ภาษาอยา่ ง - ประโยคสอดคล้องกับ - สะกดคำถูกตอ้ ง - มกี ารเวน้ วรรค - มกี ารใช้
ถกู ต้อง เนอ้ื หา - มกี ารเว้นวรรคโดยไม่ โดยไม่ฉีกคำ ภาษาอย่าง
- ประโยคสอดคล้องกบั - สะกดคำถูกตอ้ ง ฉีกคำ - มีการใชภ้ าษา สรา้ งสรรค์
เนื้อหา - มีการเวน้ วรรคโดยไม่ - มีการใช้ภาษาอย่าง อย่างสรา้ งสรรค์
- สะกดคำถกู ต้อง ฉีกคำ สรา้ งสรรค์
- มีการเวน้ วรรคโดยไม่ - มีการใช้ภาษาอยา่ ง - รายละเอยี ด - เนือ้ หา
ฉกี คำ สรา้ งสรรค์ - เนอื้ หาเป็นไปตามที่
- มกี ารใชภ้ าษาอย่าง กำหนด ครอบคลมุ สอดคลอ้ ง
สร้างสรรค์ - เนื้อหาตรงตามหัวขอ้ - รายละเอยี ด
- เนื้อหาถกู ตอ้ ง เร่ือง ครอบคลุม - เน้อื หาสอดคล้อง
- เนื้อหาตรงตามหวั ขอ้ - เนอ้ื หาเป็นไปตามที่ - เน้อื หาสอดคลอ้ ง
เร่ือง กำหนด
- เนื้อหาเป็นไปตามท่ี - รายละเอยี ด
กำหนด ครอบคลมุ
- รายละเอยี ดครอบคลมุ - เนื้อหาสอดคลอ้ ง
- เนอ้ื หาสอดคลอ้ ง

4. เวลา ส่งชิ้นงานภายในเวลาท่ี - ส่งชนิ้ งานชา้ กว่า - สง่ ชิ้นงานชา้ กว่า - สง่ ชิน้ งานช้ากวา่ - ส่งชน้ิ งานช้า
กำหนด 2 วัน กำหนด 3 วนั กวา่ กำหนด
กำหนด กำหนด 1 วนั
เกนิ 3 วัน

เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบประเมนิ ผลการทำงานเปน็ กลุม่

ประเด็น 4 เกณฑก์ ารให้คะแนน 1
32
การประเมนิ มีประธาน
1. คณะทำงาน เลขานกุ าร ผู้นำ ขาดองคป์ ระกอบ 1 ขาดองคป์ ระกอบ 2 ขาดองคป์ ระกอบ 2
เสนอ ผ้รู ่วมงาน อย่าง อย่าง อย่างขึ้นไป
2. ความรับผดิ ชอบ ทุกคนมีหนา้ ทแ่ี ละ
ต่อหนา้ ที่ ความรบั ผิดชอบต่อ มผี ู้มีหนา้ ที่แตไ่ ม่ มผี มู้ หี นา้ ทแี่ ต่ไม่ มีผูม้ ีหนา้ ท่ีแตไ่ ม่
หน้าทข่ี องตนเอง รับผดิ ชอบ 1 คน รบั ผดิ ชอบ 2 คน รับผดิ ชอบ 2 คน
3. ขั้นตอน - คัดเลือกและ ข้นึ ไป
การทำงาน ขาด 1 ขั้นตอน ขาด 2 ขั้นตอน ขาดมากกวา่ 2
เตรียมขอ้ มูลได้ หรอื ไมช่ ัดเจน หรอื ไม่ชัดเจน ข้ันตอนขึ้นไป
4. เวลา เหมาะสม
5. ความร่วมมือ - มกี ารวางแผน เสร็จตามกำหนด เสรจ็ ไม่ทันกำหนด เสรจ็ ไม่ทันกำหนด
การทำงาน และงานมคี ุณภาพ แตง่ านมีคุณภาพ และงานไม่มีคณุ ภาพ
ในการทำงาน - มีการเตรียม 80% ของกลุ่มมสี ่วน 60% ของกลุม่ มสี ่วน 40% ของกลมุ่ มสี ว่ น
วสั ดุ รว่ มและให้ความ ร่วมและใหค้ วาม ร่วมและให้ความ
อปุ กรณ์ รว่ มมอื รว่ มมอื รว่ มมือ
- มกี ารปฏิบัติ
ตามแผนและ
พฒั นางาน
เสร็จก่อนกำหนด
และงานมคี ณุ ภาพ
ทุกคนมสี ว่ นรว่ ม
และให้ความร่วมมือ
อย่างเต็มท่ี

ระดับคณุ ภาพ

คะแนน 16 – 20 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 11 – 15 หมายถึง ดี
คะแนน 6 – 10 หมายถงึ พอใช้
คะแนน 1 - 5 หมายถึง ปรับปรงุ

แผนการจัดการเรยี นรูบ้ รู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โรงเรียนสรุ าษฎรธ์ านี ๒

แผนการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรื่อง หลักการจัดกลุม่ โมเดลสีและจติ วิทยาเกี่ยวกบั สี จำนวน 2 ชว่ั โมง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ รา้ งสรรค์ 1 รหัสวิชา ว20233

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความรู้เบื้องต้นเกีย่ วกบั การสร้างงานกราฟกิ จำนวนชั่วโมงของหน่วย 4 ชัว่ โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เปา้ หมายการเรยี นรู้

1. ผลการเรยี นรู้

นักเรียนสามารถอธิบายหลักการจัดกลุ่มโมเดลสี จิตวิทยาเกี่ยวกับสี และบอกประโยชน์
ของคอมพิวเตอรก์ ราฟิกได้

2. จุดประสงค์การเรยี นรูส้ ู่ผลการเรยี นรู้

2.1 นักเรียนสามารถอธิบายเกยี่ วกับโมเดลสีและจิตวิทยาเกี่ยวกบั สีได้ (K)
2.2 นักเรียนสามารถเลือกใช้สีต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม (P)
2.3 นักเรยี นมีความรบั ผดิ ชอบในการทำงานใหเ้ สร็จตามเวลา (A)

3. สาระสำคัญ

สีเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในประสบการณ์การรับรู้สิ่งต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่น มนุษย์ใช้สี
ในการแยกแยะผลไม้ว่าสุกหรือดิบ สีแบบไหนบ่งบอกว่ามีพิษหรือปลอดภัย การใช้สีได้อย่างถูกต้องนั้น
ช่วยทำให้ชิ้นงานมีความโดดเด่นและสะกดสายตารวมไปถึงความรู้สึกโดยรวมทีม่ ีอิทธิพลต่อจิตใจของผูท้ ี่
ไดเ้ หน็ ชิ้นงานน้นั

4. สาระการเรียนรู้

4.1 โมเดลสี
4.2 จติ วทิ ยาเก่ยี วกับสี

5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

5.1 มีวนิ ัย
5.1.1 มีความรับผดิ ชอบ มีความตงั้ ใจทำงานและติดตามผลงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
5.1.2. มีระเบยี บวินัยและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ท่ีกำหนด
5.1.3 มีความตรงต่อเวลา
5.1.4 มีความอดทนขยนั หมน่ั เพียร
6.1.5 รูจ้ กั เสยี สละและมีความเหน็ ใจผอู้ ืน่

5.2 ใฝ่เรียนรู้
5.2.1 แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
5.2.2 มกี ารจดบันทกึ ความรู้อย่างเปน็ ระบบ
5.2.3 สรปุ ความรไู้ ดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล

5.3 มุ่งม่นั ในการทำงาน
5.3.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานที่ไดร้ ับมอบหมาย
5.3.2 มีความอดทนและไมท่ ้อแท้ตอ่ อปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเรจ็ ลุล่วง

5.4 มีความซอื่ สตั ย์
5.4.1 ไมค่ ัดลอกคำตอบหรอื ผลงานของผู้อ่นื
5.4.2 ให้ขอ้ มูลท่ีถูกต้องและเปน็ จรงิ เป็นแบบอย่างท่ีดดี า้ นความซือ่ สัตย์
5.4.2 ปฏบิ ัตติ อ่ ผู้อนื่ ด้วยความซ่อื ตรง

6. สมรรถนะการเรยี นรูข้ องผูเ้ รียน

6.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
6.2 ความสามารถในการคิด

6.2.1 ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
6.2.2 ทกั ษะความคดิ สร้างสรรค์
6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
6.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
6.4.1 กระบวนการปฏบิ ัติ
6.4.2 กระบวนการทำงานกลมุ่
6.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6.5.1 การใช้เทคโนโลยใี นการสบื ค้นข้อมลู

กจิ กรรมการเรยี นรู้

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (วิธกี ารสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E)

ข้ันท่ี 1 ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครใู ช้คำถามกระตุน้ คิด นกั เรยี นคิดว่าการออกแบบสงิ่ ตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ โปสเตอร์

ไวนิล แผ่นพับ หรืออ่นื ๆ เราสามารถใช้สไี ด้ตามใจ หรอื ตอ้ งเลือกสีใหเ้ หมาะสม (Q1)
2. ครอู ธิบายให้นกั เรียนเข้าใจเก่ียวกับการออกแบบช้ินงานนกั เรียนจะตอ้ งเลือกสใี ห้เหมาะสม

กับงาน และการเลือกสตี ้องให้สามารถแสดงความรูส้ ึกจากงานชิ้นนัน้ ได้ เชน่ หากตอ้ งการทำปา้ ยงานศพ นกั เรียน
จะเลือกสีชมพู เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตใุ ด (Q2)

ขนั้ ท่ี 2 ขั้นสำรวจคน้ หา (Explore)
3. ให้นกั เรียนค้นหาขอ้ มูลเกยี่ วกับหลักการจัดกลมุ่ โมเดลสี จากเว็บไซต์ของครู และจด

ลงในสมุด
ขนั้ ที่ 3 ขน้ั อธิบายความรู้ (Explain)
4. จากการศึกษา เรื่อง หลักการจัดกลุ่มโมเดลสีและจิตวิทยาเกี่ยวกับสี นักเรียน

ได้อะไรบ้าง (Q3)
5. ให้นักเรียนมองภาพทะเลและท้องฟา้ สุ่มถามนกั เรียนรายบคุ คลว่า นกั เรยี นมองภาพ

ดังกลา่ วและมีความรสู้ ึกอยา่ งไรบ้าง (Q4)
6. ครูอธบิ ายความหมายของสีฟ้า ว่าให้ความรูส้ กึ อย่างไร ตรงกันหรอื ไม่กับความรู้สึกท่ี

นักเรยี นบอก
7. ให้นักเรียนมองภาพต้นไม้ แล้วสุ่มถามนักเรียนรายบุคคลว่า นักเรียนมองภาพ

ดังกล่าวและมคี วามรู้สกึ อยา่ งไรบ้าง (Q5)
8. ครูอธิบายความหมายของสีเขียว วา่ ใหค้ วามรู้สึกอย่างไร ตรงกนั หรือไม่กบั ความรู้สกึ

ท่ีนักเรยี นบอก)
9. ให้นักเรียนมองภาพเพลิงไฟ แล้วสุ่มถามนักเรียนรายบุคคลว่า นักเรียนมองภาพ

ดังกล่าวและมีความรู้สกึ อย่างไรบ้าง (Q6)
9. ครอู ธบิ ายความหมายของสแี ดง ว่าใหค้ วามรู้สึกอยา่ งไร ตรงกันหรอื ไมก่ บั ความรูส้ ึกที่

นกั เรยี นบอก)
10. ให้นักเรียนมองภาพทุง่ ดอกไม้สสี ้ม แล้วสุ่มถามนักเรยี นรายบุคคลว่า นักเรียนมอง

ภาพดงั กล่าวและมีความรสู้ กึ อยา่ งไรบ้าง (Q7)
11. ครูอธิบายความหมายของสีสม้ วา่ ให้ความรูส้ ึกอย่างไร ตรงกนั หรอื ไม่กับความรสู้ กึ

ท่นี กั เรยี นบอก)

12. ให้นักเรียนมองภาพทุ่งดอก forget-me-not แล้วสุ่มถามนักเรียนรายบุคคลว่า
นักเรียนมองภาพดงั กล่าวและมคี วามรู้สึกอย่างไรบ้าง (Q8)

13. ครูอธิบายความหมายของสีแดง วา่ ให้ความรู้สึกอยา่ งไร ตรงกนั หรอื ไม่กับความรู้สกึ
ทีน่ กั เรียนบอก)

14. ใหน้ กั เรียนมองภาต่าง ๆ ไปเรือ่ ย ๆ และบอกความรสู้ กึ ของตนเอง และครใู ห้ความรู้
เก่ียวกบั จิตวิทยาของสีนัน้ ๆ ไปเร่อื ย ๆ จนครบ 12 สี (Q9- Q 17)

ข้นั ท่ี 4 ขนั้ ขยายความเข้าใจ (Expand)
15. ใหน้ กั เรยี นเปิดเวบ็ ไซตข์ องครูเกย่ี วกบั จิตวทิ ยาเกยี่ วกับสี และสรปุ ความรู้ตามความ

เข้าใจของนักเรียนลงในสมดุ พร้อมทำใบงานท่ี 1.2
ขนั้ ที่ 5 ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate)
16. ครูนักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้เรอ่ื ง หลักการจดั กลุ่มโมเดลสีและจิตวิทยาเกีย่ วกบั สี

(Q18)
17. ครูตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียน โดยพิจารณาจากการทำใบงาน และ

การสรุปความรู้เร่ือง หลกั การจดั กลุ่มโมเดลสแี ละจิตวิทยาเกยี่ วกบั สี

8. ชุดคำถามกระตุน้ เพือ่ ปลกู ฝงั หลักคิดพอเพียง

คำถามกระตุ้นคดิ เพื่อปลูกฝงั หลกั คิดพอเพยี งก่อนเรียน
Q1 ความมีเหตผุ ล นกั เรยี นคิดวา่ การออกแบบส่ิงตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ โปสเตอร์ ไวนลิ แผน่ พบั หรืออนื่ ๆ
เราสามารถใช้สไี ด้ตามใจ หรอื ต้องเลือกสใี ห้เหมาะสม
Q2 ความมีเหตุผล : หากต้องการทำป้ายงานศพ นักเรียนจะเลือกสีชมพู เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด
คำถามกระต้นุ คิดเพอ่ื ปลูกฝังหลักคดิ พอเพยี งระหวา่ งเรียน
Q3 เงื่อนไขความรู้ : นักเรียนอธิบายความรู้เกี่ยวกับหลักการจัดกลุ่มโมเดลสีและจิตวิทยาเกี่ยวกับสี ได้
หรอื ไม่ อยา่ งไร
Q4-17 ความมเี หตผุ ล : นกั เรยี นมองภาพดงั กลา่ วและมคี วามรสู้ กึ อย่างไรบ้าง
คำถามกระตุน้ คิดเพ่ือปลูกฝังหลักคดิ พอเพียงหลังเรยี น
Q18 มิติวฒั นธรรม : หลักการจัดกลุ่มโมเดลสีและจติ วิทยาเกยี่ วกับสี ทนี่ กั เรียนศกึ ษามาสามารถนำไปใช้
ในชวี ติ ประจำวันของนักเรยี นได้อย่างไร

9. วัสดุอุปกรณ์ /สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้

9.1 โปรแกรมนำเสนอขอ้ มูลใบความรูท้ ี่ 1.2 เรอ่ื ง หลักการจัดกลุ่มโมเดลสแี ละจติ วิทยา
เกย่ี วกบั สี

9.2 ใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง หลักการจัดกลุ่มโมเดลสีและจิตวิทยาเกี่ยวกับสี
9.3 บทเรยี นออนไลน์ https://sites.google.com/site/photoshop1laksanara/model-
si?previewAsViewer=1
9.4 เคร่อื งคอมพวิ เตอรท์ ่ตี ิดตงั้ โปรแกรม Photoshop และเชอ่ื มต่ออินเทอร์เน็ต
9.5 เวบ็ ไซต์สำหรับคน้ ข้อมูล เช่น http://www.google.com, http://www.yahoo.com
9.6 ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ ห้องสมดุ

10. ช้ินงาน หรือ ภาระงาน

10.1 ใบงานท่ี 1.2 เร่ือง หลักการจัดกลุม่ โมเดลสีและจิตวทิ ยาเก่ียวกับสี
10.2 บันทึกสรุปบทเรียน

11. การวัดและประเมินผล

การวัดผลและประเมนิ ผล

ดา้ น วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารวัดและ
ประเมินผล

ความรู้ (K) - ตรวจใบงาน 1.2 - ใบงานที่ 1.2 ได้คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่

ร้อยละ 70

ทกั ษะกระบวนการ (P) - ตรวจใบงาน - การตรวจใบงาน ไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่า

ร้อยละ 70

คุณลกั ษณะ (A) - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคณุ ภาพ 2 ข้นึ ไป

รายบุคคล พฤติกรรมรายบคุ คล

เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล : ระดบั คุณภาพ 1 = นอ้ ย, ระดับคุณภาพ 2 = ปานกลาง, ระดับคณุ ภาพ 3 = มาก

12. ความเห็นรองผู้อำนวยการ

ได้ตรวจแผนการจดั การเรียนร้ขู อง………………………………………………………………..…… แล้วมคี วาม
คิดเหน็ ดงั น้ี

๑. กระบวนการเรียนรู้
 มีความสอดคลอ้ ง เหมาะสมกับความสนใจและความถนดั ของนกั เรียน
 ไมส่ อดคลอ้ งและยังไมเ่ หมาะสมกบั นักเรยี น ควรปรบั ปรุง

๒. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำกระบวนการเรียนรู้
 ทเ่ี น้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั มาใชใ้ นการสอนอย่างเหมาะสม
 ท่ียังไม่เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั ควรปรบั ปรงุ พฒั นาตอ่ ไป

๓. การวัดผลและประเมนิ ผล
 ใชว้ ธิ ีการท่หี ลากหลาย สอดคล้องและเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์
 ไม่หลากหลาย และไม่สอดคล้องกบั มาตรฐานของหลกั สตู ร ควรปรับปรุง

๔. ความเหมาะสมในการนำแผนการจดั การเรยี นรู้ ไปใชจ้ ดั กจิ กรรมการเรียนรู้
 สามารถนำไปใช้จัดการเรยี นรูไ้ ด้จริง
 ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใชจ้ ัดการเรียนรู้

๕. ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

ลงช่อื ...............................................
(นางสาวชฎาพร ชว่ ยชู)

รองผ้อู ำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ

13. ความเหน็ ผู้อำนวยการ

 อนุมตั ใิ หน้ ำไปใชจ้ ัดการเรยี นการสอนได้
 ไม่อนุมตั ิให้นำไปใชจ้ ดั การเรียนการสอน เพราะ.................................................................

……………………………………………………………………………………………………………………………
ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

...............................................
(นายประยงค์ อินนุพฒั น์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นสรุ าษฎรธ์ านี ๒

14. บันทกึ หลงั สอน

จากการจดั กิจกรรมการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรู้.........................................................................
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่.................. หนว่ ยการเรยี นรู้ท.ี่ .............. เรอื่ ง...................................................................
แผนการจัดการเรยี นรูท้ .่ี ............ เรอ่ื ง.................................................................................................... สอน
เมื่อวันที่....................เดือน..........................................พ.ศ. ................ ... เป้าหมายการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ คอื เพอื่ ให้นกั เรียนระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่........................ จำนวนทัง้ หมด....................คน มคี วามรู้
ความสามารถ เรื่อง................................................................................. จากผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พบว่า นักเรียนร้อยละ...................มีความรู้ ความเข้าใจผ่านเกณฑ์การประเมิน และที่นักเรียนจำนวน
...........คน คิดเป็นร้อยละ................. ยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เพราะนักเรียนไม่สามารถ
................................................................................................ตามที่กำหนดได้ จากการวิเคราะห์นักเรยี น
เป็นรายบุคคล และจากการตรวจผลงาน เรื่อง...................................... ...................................................
ของนักเรียนทั้ง...............คน พบว่า นักเรียนขาดทักษะในเรื่อง.............................. ..........................
............................................................................................................................. ในฐานะครูผู้สอนวิชา
.....................................................................................จำเป็นตอ้ งแก้ไขปญั หาดงั กลา่ วของนักเรียน เพ่ือให้
นักเรียน มีความสามารถในเรื่อง.........................................................................และเพือ่ ให้นักเรียนผ่าน
จุดประสงค์การเรียนรู้ และบรรลุตัวช้ีวัดที่..................................................ทีก่ ำหนดไว้ในแผนการจดั การ
เรียนร้ทู .ี่ ......................

ข้อค้นพบและขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติม…………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ........................................... ครผู ูส้ อน
(นางสาวลักษณน์ ารา ทองมาก)
..……/…………../…………

ใบงานท่ี 1.2
เร่ือง หลกั การจัดกลุม่ โมเดลสีและจิตวทิ ยาเก่ยี วกบั สี

ช่อื -สกลุ .......................................................................ชนั้ .................... เลขที.่ ...............กลุ่มท่…ี …….………...
คำสัง่ ให้นักเรียนตอบคำถามตอ่ ไปนใ้ี หถ้ ูกตอ้ ง (10 คะแนน)

1. จงนำขอ้ ความท่ีกำหนดให้ เติมลงในช่องว่างให้ถกู ต้อง (7 คะแนน)

โมเดล HSB โมเดล RGB โมเดล CMYK โมเดล Lab

Hue Saturation Brightness

………………………………เป็นสีของวตั ถุทสี่ ะทอ้ นเข้ามายงั ตาของเรา

………………………………คือ โมเดล ตามหลกั การแสดงสีของเครอ่ื งพิมพ์

………………………………คือ โมเดล ตามมาตรฐานของ CIE

………………………………คือ ความสว่างและความมืดของสี ซึง่ ถกู กำหนดค่าเปน็ เปอร์เซน็ ตจ์ าก 0% (สีดำ)

ถงึ 100% (สขี าว)

………………………………คือ โมเดล ตามหลกั การแสดงสีของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์

………………………………คอื สัดสว่ นของสีเทาท่มี ีอยู่ในสนี ้ัน

………………………………คือ โมเดล ตามหลักการมองเห็นสขี องสายตามนษุ ย์
2. หากต้องการออกแบบการด์ วันแม่ นักเรยี นจะเลือกใช้สีใดบ้าง เพราะเหตใุ ด (3 คะแนน)
พ้ืนหลัง ใชส้ .ี ...................................เพราะ…………………………………………………………………………………………
......................................................................................................................................................................
ขอ้ ความ ใช้ส.ี .................................เพราะ…………………………………………………………………………………………
......................................................................................................................................................................
ภาพประกอบ ใช้ส.ี .................................เพราะ…………………………………………………………………………………
......................................................................................................................................................................

3. จงจับค่สู ใี ห้ตรงกับอารมณแ์ ละความรูส้ กึ ของแตล่ ะสีให้ถกู ต้องโดยการนำอกั ษรจากขวามอื มาเติมดา้ นซา้ ยมอื

..................1.สีแดง A. ความรื่นเริงเบิกบานใจ ความสขุ ความสดใสรา่ เรงิ พลัง อนาคต การมองโลกในแงด่ ี อดุ ม

..................2.สีนำ้ เงนิ – สฟี ้า คติ จนิ ตนาการ ความหวงั แสงสว่าง ฤดูร้อน ปัญญา ปรัชญา ความคดิ สร้างสรรค์ ความไม่

..................3.สีเขียว จรงิ ใจ ความข้ขี ลาด การทรยศ ความรษิ ยา ความเจ็บป่วย อนั ตราย
..................4.สเี หลือง B. ฐานันดรศกั ดิ์ จิตวิญญาณ ความสงู สง่ ความหรหู รา การเฉลิมฉลอง เวทมนตร์คาถา ความ
..................5.สสี ม้ ลึกลับ ความเพอ้ ฝนั สตปิ ญั ญา การเปลยี่ นแปลง การหลุดพ้น การปรุงแตง่ ความโหดร้าย
..................6.สมี ว่ ง ความสงา่ งาม ความเยอ่ หย่ิงอวดดี ความโออ้ วด ความเศรา้ โศก การไว้อาลยั
..................7.สชี มพู C. พลงั ความกระตือรอื รน้ ความมชี วี ิตชีวา ความสนุกสนาน การผจญภัย ความอบอนุ่ ความ
..................8.สขี าว ยตุ ิธรรม ความรอบรู้ มารยาท ความหลงใหล ความมีเสน่ห์ ความสุข ความมั่นใจ ความ
..................9.สดี ำ ปรารถนา การเก็บเกย่ี ว ฤดใู บไม้ผลิ
..................10.สนี ำ้ ตาล D. ธรรมชาติ ชีวิต มนุษยชาติ การเร่มิ ต้น ความสดช่ืน ความปลอดภัย อาหาร ความอดุ ม
..................11.สเี ทา สมบูรณ์ ความเปน็ อมตะ การเจริญงอกงาม การเตบิ โต การดูแล การรกั ษาเยียวยา ความเหน็
..................12.สที อง อกเห็นใจ การควบคมุ ความสมดลุ ทางกายและใจ ความสัมพนั ธ์ที่ดี
E. พลังอำนาจ ความรอบรู้ ความลึกซงึ้ ความนา่ เกรงขาม ความเป็นทางการ ความหรหู รา

..................13.สีเงิน ความทุกข์ ความเศรา้ ความโกรธ ความตาย การมองโลกในแง่ร้าย การบงั คับควบคมุ ความ

มืด ความลึกลับ ความกลวั ความชัว่ รา้ ย

F. ความบริสทุ ธ์ิ สันตภิ าพ ความสงบสขุ ความดี ความเรยี บงา่ ย ความสะอาด ความไร้

เดยี งสา ความอ่อนเยาว์ ความหลุดพ้น ความวา่ งเปลา่ ความเบา ความเทา่ เทยี ม การเกิด การ

แตง่ งาน ความตาย สถานพยาบาล หมิ ะ การปลอดเชื้อโรค ความเย็น ฤดูหนาว

G. ความสงบ ความเงียบ ความมนั่ คง ความศรัทธา ความมรี ะเบียบ ความจริง ความสขุ มุ

ความเช่ือถอื ความจงรักภักดี ความเยอื กเย็น ความราบรน่ื ความเปน็ เอกภาพ ความเป็น

อนรุ กั ษน์ ิยม แรงบันดาลใจ

H. ความหรูหรา เกยี รตยิ ศ ความสงา่ งาม ความมนี ำ้ ใจ ความเข้าถึง ความกระจา่ งชดั ความ

ออ่ นโยน ความอ่อนไหว ความสรา้ งสรรค์ เทคโนโลยี ความทนั สมยั ความเป็นระบบระเบยี บ

ความเยือกเยน็ ความเฉยชา การปกปิดความรู้สกึ

I. ความหรหู รา ความมีระดับ ความสูงสง่ ความสำเร็จ ความเปิดเผย ความรอบรู้ ความม่ันใจ

ชัยขนะ คณุ ธรรม ความเมตตา ความใจกว้าง ความตัง้ ใจ มนตข์ ลงั การหลงตัวเอง ความ

อจิ ฉา การหลอกลวง

J. ความตน่ื เตน้ ความกระตือรือร้น ความสนใจ ความเรว็ ไฟ ความร้อน สงคราม พลงั ความ

มชี วี ิตชีวา ความโกรธ ความก้าวรา้ ว อันตราย ความมงุ่ มาด ความเป็นผนู้ ำ ความแคน้ และ

ความกลา้ หาญ

K. ความนมุ่ นวล ความออ่ นโยน ความไรเ้ ดยี งสา ความอ่อนเยาว์ การดแู ลเอาใจใส่ การทะนุ

ถนอม ความเออ้ื เฟอ้ื เผ่ือแผ่ จิตใจดี ความหวาน ความบอบบาง นางฟา้ เพศหญิง ความรัก

ความเอน็ ดู หัวใจ มิตรภาพ เสน่ห์ สขุ ภาพที่ดี ความอ่อนไหวทางอารมณ์ ความไม่เปน็ ผู้ใหญ่

L. ความเปน็ มิตร ความอบอนุ่ ความจรงิ ใจ ความแขง็ แรง ความซ่ือสัตย์ ความไวใ้ จ สุขภาพ

ความย่ังยืน ความทนทาน ความเรียบง่าย ความเป็นผ้ใู หญ่ ความเสมอภาค

M. ความอ่อนน้อมถอ่ มตน ศักดศ์ิ รี ความเสถียร ความมน่ั คง ความเป็นทางการ ความมี

ระเบียบ สตปิ ญั ญา ความเช่อื ถือ ความจงรกั ภกั ดี ความเป็นผใู้ หญ่ ความมอี ายุ ความเศรา้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ประเด็นการ คำอธบิ ายระดบั คะแนน

ประเมนิ 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

มวี ินยั เขา้ หอ้ งเรยี นเรยี นตรงเวลา เขา้ ห้องเรียนเรียนตรง เข้าหอ้ งเรียนสาย ไม่

ปฏิบัติตามข้อตกลงของ เวลา ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลง ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลงของ

หอ้ งเรียนเปน็ ปกตวิ ิสัยและ ของหอ้ งเรียน แตป่ ฏบิ ตั ิ หอ้ งเรียน ปฏิบัติ

เป็นแบบอย่างท่ีดี ปฏบิ ัติ กจิ กรรมไม่ครบทกุ กจิ กรรมไมค่ รบทกุ

กจิ กรรมไดท้ กุ กิจกรรม กิจกรรม กจิ กรรม

ตามท่กี ำหนดไว้

ใฝ่เรียนรู้ แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่ง แสวงหาขอ้ มลู จากแหลง่ แสวงหาขอ้ มลู จากแหลง่

การเรียนรู้ต่างๆ มกี ารจด การเรียนรู้ต่างๆ การเรียนรู้ตา่ งๆ

บนั ทึกความรอู้ ย่างเป็น มกี ารจดบนั ทึกความรู้ แต่ไมม่ ีการจดบนั ทกึ

ระบบสรุปความรู้ได้อยา่ งมี ความรู้

เหตุผล

มุ่ง มั่น ใน ก าร มีความต้งั ใจและพยายามใน มีความต้ังใจและพยายาม ไมม่ คี วามตั้งใจในการ

ทำงาน การทำงานท่ไี ดร้ บั ในการทำงานทไ่ี ดร้ บั ทำงาน ทำงานเพื่อให้

มอบหมาย มคี วามอดทน มอบหมาย มีความอดทน พ้นๆไปหรอื ทำงานไม่

และไมท่ อ้ แท้ตอ่ อปุ สรรค และไมท่ อ้ แทต้ อ่ อุปสรรค เสรจ็

เพือ่ ให้งานสำเรจ็ ลุลว่ งทัน แตง่ านเสรจ็ ไม่ทันตาม

ตามเวลาทกี่ ำหนด เวลาทกี่ ำหนด

ซ่ือสัตย์สจุ รติ ไมค่ ัดลอกคำตอบหรือ คดั ลอกคำตอบหรือ คดั ลอกคำตอบหรอื

ผลงานของผูอ้ ื่น ให้ขอ้ มูลที่ ผลงานของผู้อนื่ เปน็ ผลงานของผูอ้ ืน่ เป็น

ถูกตอ้ งและเปน็ จรงิ เป็น บางคร้ัง ใหข้ อ้ มลู ท่ี ประจำ ให้ข้อมูลท่ีเป็น

แบบอยา่ งที่ดีด้านความ ถกู ตอ้ ง เปน็ จริง ปฏบิ ตั ิ เทจ็ ขาดความความ

ซื่อสัตย์ ปฏบิ ัติตอ่ ผูอ้ ่ืนดว้ ย ต่อผูอ้ ื่นด้วยความซอ่ื ตรง ซือ่ ตรง

ความซอ่ื ตรง

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน

ประเดน็ การ คำอธบิ ายระดบั คะแนน
ประเมิน
3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
ความสามารถใน มคี วามสามารถ
การส่ือสาร มคี วามสามารถในการรบั – มีความสามารถในการ ในการรับ – สง่
สาร
ความสามารถใน ส่งสาร สามารถถา่ ยทอด รับ – สง่ สาร สามารถ
การคิด มคี วามสามารถ
ความร/ู้ ความคิด/ความ ถ่ายทอดความร/ู้ ในการคิด
ความสามารถใน
การแกป้ ัญหา เข้าใจของตนเองโดยใชภ้ าษา ความคดิ /ความเขา้ ใจ สามารถ
แกป้ ัญหาที่
ความสามารถใน และวิธีการท่ีเหมาะสม ของตนเองโดยใชภ้ าษา เกิดขน้ึ ได้บา้ ง
การใชท้ กั ษะชีวติ
รวมทั้งวิเคราะหแ์ สดงความ และวิธีการทีเ่ หมาะสม เรยี นรู้ด้วย
ความสามารถใน ตนเองได้
การใชเ้ ทคโนโลยี คดิ เห็นอย่างมีเหตุผล
เลือกและใช้
มีความสามารถในการคิด มีความสามารถในการ เทคโนโลยีในการ
ทำงานได้
วิเคราะห์ สงั เคราะห์ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์

และคิดนอกกรอบอยา่ ง

สร้างสรรค์

สามารถแก้ปัญหาทเ่ี กิดขึ้นได้ สามารถแกป้ ัญหาที่

ใช้เหตุผลในการแก้ปญั หา เกดิ ขนึ้ ได้ ใช้เหตผุ ลใน

แสวงหาความรู้และประยกุ ต์ การแก้ปญั หา

ความรู้มาใช้ในแก้ไขปญั หา

เรียนร้ดู ้วยตนเองได้ เรยี นร้ดู ้วยตนเอง และ

เหมาะสมตามวยั สามารถ สามารถทำงานรว่ มกบั

ทำงานรว่ มกบั ผอู้ นื่ ได้ และ ผอู้ ่ืนได้

สามารถนำความรูไ้ ปใช้

ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวนั

เลอื กและใช้เทคโนโลยไี ด้ เลอื กและใช้เทคโนโลยี

อยา่ งเหมาะสม มีทักษะ ไดอ้ ย่างเหมาะสม มี

กระบวนการทางเทคโนโลยี ทกั ษะกระบวนการทาง

มคี ณุ ธรรม จริยธรรมในการ เทคโนโลยี

ใช้เทคโนโลยี

แบบสังเกตความสนใจและความตั้งใจในการทำกิจกรรมของนักเรยี น

ชอื่ นกั เรียน......................................................................ชั้น..........................
กจิ กรรม.............................................................................วันที่........................................

รายการ ปฏิบัติ ไมป่ ฏบิ ตั ิ

1. เรม่ิ ตน้ งานทีไ่ ด้รับมอบหมายทนั ที
2. ทำงานเสรจ็ เรยี บร้อยตามเวลาทก่ี ำหนด
3. ขอคำแนะนำจากครหู รอื เพอ่ื เมือ่ ไม่เขา้ ใจ
4. ทำกิจกรรมด้วยความสนกุ สนานและเตม็ ใจ
5. มสี ่วนรว่ มในการทำกจิ กรรมอยา่ งสม่ำเสมอ
6. ช่วยเหลอื แนะนำเพื่อนในการทำกจิ กรรมตามสมควร
7. สนใจศึกษาหาความรู้เพิ่มเตมิ ด้วยตนเอง

รวมคะแนน

หมายเหตุ

1. ขอ้ ใดทีน่ กั เรียนปฏิบตั ิ ได้คะแนน 1 คะแนน ไม่ปฏิบัติ ไดค้ ะแนน 0 คะแนน
2. เกณฑ์การประเมนิ จากแบบสังเกตอาจกำหนด ดงั นี้

7 คะแนน ดมี าก
5-6 คะแนน ดี
3-4 คะแนน พอใช้
1-2 คะแนน ควรปรับปรงุ
3. ครูอาจสมุ่ เลอื กนักเรียนเทา่ ท่ีสามารถสงั เกตไดใ้ นการสังเกตแตล่ ะคร้งั โดยหมนุ เวียนไปจนครบทุกคนในหอ้ ง

เอกสารประกอบการเรยี น วิชา โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ รา้ งสรรค์

ความรู้เบอื้ งต้นและประโยชนข์ องคอมพวิ เตอรก์ ราฟิ ก

ความหมายของกราฟกิ
กราฟิก (Graphic) มักเขียนผิดเป็น กราฟิกส์ กราฟฟิกส์ กราฟฟิก คำว่า “กราฟิก” มาจาก

ภาษากรีก ซึ่งหมายถึง การวาดเขียน (Graphikos) และการเขียน (Graphein) ต่อมามีผู้ให้ความหมายของ
คำวา่ “กราฟิก” ไว้หลายประการซึ่งสรุปไดด้ ังน้ี

กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย
กราฟ แผนภมู ิ การต์ นู ฯลฯ เพื่อใหส้ ามารถสอ่ื ความหมายขอ้ มลู ไดถ้ กู ตอ้ งตรงตามท่ีผูส้ อ่ื สารต้องการ

ความหมายของคอมพวิ เตอร์กราฟกิ
คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ หมายถึง การสร้าง การตกแตง่ แก้ไข หรอื การจัดการเก่ยี วกับรปู ภาพ โดย

ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจดั การ ยกตัวอย่างเช่น การทำ Image Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เดก็ ขึ้น
การสร้างภาพตามจินตนาการและการใช้ภาพกราฟิกในการนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ เพอ่ื ให้สามารถสอ่ื ความหมาย
ได้ตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการและน่าสนใจยิ่งขึ้นด้วยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ เป็นต้น

ภาพกราฟิก แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ และแบบ 3 มิติ
ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพลายเส้น
สัญลักษณ์ กราฟ รวมถึงการ์ตนู ต่าง ๆ ในโทรทัศน์ ยกตัวอย่างเช่น การ์ตูนเรื่องพภิ พยมราช ชินจัง และโดเร
มอน เป็นต้น ซึ่งการ์ตูนจะเป็นภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Animation) โดยจะมกี ระบวนการสร้างที่ซับซ้อนกวา่
ภาพวาดปกติ
ภาพกราฟกิ แบบ 3 มติ ิ เป็นภาพกราฟิกทีใ่ ช้โปรแกรมสรา้ งภาพ 3 มิตโิ ดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม
3 Ds max โปรแกรม Maya เปน็ ต้น ซ่งึ จะทำให้ไดภ้ าพมีสีและแสงเงาเหมอื นจริง เหมาะกับงานด้านสถาปัตย์
และการออกแบบต่าง ๆ รวมถึงการสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนหรือโฆษณาสินค้าต่าง ๆ เช่น การ์ตูน เรื่อง
Nemo The Bug และปงั ปอนด์แอนิเมชัน เปน็ ตน้

เอกสารประกอบการเรยี น วิชา โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สรา้ งสรรค์

บทบาทงานกราฟิก

งานกราฟิกต่าง ๆ ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนแก่นสารของประสบการณ์สำหรับมนุษย์
เพื่อให้มนุษย์ใช้เป็นสื่อในการคิดและสื่อสารความหมายถึงกัน ด้วยคุณสมบัติที่ดีของงานกราฟิกทำให้งาน
กราฟกิ มีบทบาทสำคญั ในการลดขอ้ จำกัดต่าง ๆ ที่เก่ยี วข้องกบั เงื่อนเวลา ประสทิ ธิภาพของการคดิ การบันทึก
และการจำ ทำให้การสื่อความหมายต่อกันของมนุษย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และด้วย
ความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการ ความเจริญกา้ วหน้า ทางเทคโนโลยี จานวนประชากรโลกที่เพ่ิมขึ้นและความ
เป็นโลกไร้พรมแดน ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เปน็ เหตุผลสำคญั ที่ทำให้มนษุ ย์จำเปน็ ต้องให้ความสำคัญกับ
งานกราฟิกมากขนึ้

บทบาทของงานกราฟกิ ท่ีมตี อ่ ชีวิตและความเป็นอยู่ของมนษุ ย์ มีด้วยกนั หลายประการดังต่อไปนี้
1. งานกราฟกิ ทางการศึกษา ไดแ้ ก่ งานกราฟิกซึ่งมีจุดมงุ่ หมายเพื่อการเรยี นการสอน ได้แก่ กระดาน

ดา รูปภาพ แผนภูมิ แผนสถิติ แผนภาพ ตาราสิ่งพิมพ์ ป้ายนิเทศ ภาพโฆษณาทางการศึกษา
การต์ ูน ต้นฉบบั สาหรบั วัสดุฉาย คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เปน็ ต้น
2. งานกราฟิกทางการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ได้แก่ งานกราฟิกที่มุ่งเผยแพร่ความเข้าใจระหวา่ ง
องค์กร หรือ หน่วยงานต่อบุคคลอื่น ปัจจุบันเทคโนโลยีได้วิวัฒนาการไปค่อนข้างรวดเร็ว การใช้
ระบบการติดต่อสอื่ สารท่ีมีประสิทธิภาพ มกี ารกระจายของข้อมูลไปอย่างรวดเรว็ โดยอาจเป็นการ
กระจายข้อมูล จากทห่ี นึ่งไปยังอีกที่หนึง่ และการท่ีจะใหค้ นอกี ซกี โลกหน่ึงเขา้ ใจความหมายของคน
อีกซีกโลกหนึ่งนั้นเป็น เรื่องที่ไม่สามารถทำได้ง่ายนัก เนื่องมาจากความแตกต่างกันทั้งทางด้าน
ขนบธรรมเนียม ประเพณีวฒั นธรรม สภาพภูมปิ ระเทศ สภาพดินฟา้ อากาศและความเชอื่ ของแต่ละ
ท้องถิ่นแตกต่างกัน ดังนั้นการใช้งานกราฟกิ ที่ดี จะต้องสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจนถูกต้อง
ชว่ ยใหม้ นษุ ย์สามารถส่อื สารกนั เข้าใจ เกดิ จนิ ตนาการร่วมกนั อกี ท้ังยังเกดิ ทัศนคตทิ ีด่ ตี อ่ กันดว้ ย

เอกสารประกอบการเรียน วชิ า โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สรา้ งสรรค์

3. งานกราฟิกทางการคา้ ได้แก่ งานกราฟิกทม่ี ่งุ ประโยชน์ในการสง่ เสริมการคา้ และการ
บริการแก่กลุม่ เป้าหมาย เช่น การโฆษณาด้วยสอื่ กราฟิก เป็นต้น

4. งานกราฟกิ ทางอุตสาหกรรม ไดแ้ กง่ านกราฟกิ ทม่ี จี ุดมุ่งหมายต่อการผลิตงาน
อุตสาหกรรม เชน่ งานเขียนแบบทางอุตสาหกรรม การพิมพห์ บี หอ่ บรรจภุ ณั ฑ์ (Packing) การ
ออกแบบลวดลายผ้า เปน็ ตน้

เอกสารประกอบการเรยี น วชิ า โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ รา้ งสรรค์

เอกสารประกอบการเรยี น วิชา โปรแกรมคอมพิวเตอร์สรา้ งสรรค์

ประโยชน์ของคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก
ได้มีการนำคอมพิวเตอร์กราฟกิ มาใช้ในงานต่างๆ อย่างกว้างขวาง เชน่
- ใชแ้ สดงผลงานด้วยภาพแทนการแสดงดว้ ยข้อความ ซ่ึงช่วยให้เขา้ ใจได้งา่ ย และนา่ สนใจ
มากกวา่ หลายหนว่ ยงานเลือกใชว้ ธิ นี ี้สำหรับแนะนำหน่วยงาน เสนอโครงการและแสดง
ผลงาน
- ใชแ้ สดงแผนท่ี แผนผงั และภาพของส่งิ ตา่ งๆ ซง่ึ ภาพเหลา่ น้ไี ม่สามารถแสดงในลกั ษณะอ่นื ได้
นอกจากการแสดงดว้ ยภาพเท่าน้ัน
- ใช้ในการออกแบทางด้านตา่ งๆ เชน่ ออกแบบบา้ น รถยนต์ เคร่ืองจกั ร เครอื่ งแต่งกาย การ
แต่งหนา้ และเคร่ืองมอื เคร่อื งใช้อืน่ ๆ ซึ่งสามารถทำไดร้ วดเร็วสวยงามและประหยดั ค่าใชจ้ ่าย
โดยเฉพาะงานออกแบบท่มี กี ารเปล่ียนแปลงรายละเอยี ดเพื่อเปรียบเทยี บหาแบบทเ่ี หมาะสม
ทีส่ ุด การใช้คอมพวิ เตอรก์ ราฟิกจะชว่ ยใหเ้ กดิ ความสะดวก และทำได้รวดเรว็ มาก
- ไดม้ กี ารนำคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ มาชว่ ยทางการด้านเรยี นการสอน โดยเฉพาะในวชิ าทีต่ ้องใช้
ภาพ แผนผัง หรอื แผนท่ีประกอบ บทเรียนคอมพิวเตอรส์ ามารถแสดงภาพส่วนประกอบและ
การทำงานของเครอื่ งยนต์ หรอื เคร่ืองมอื ที่มีความสลับซบั ซอ้ นให้เหน็ ได้งา่ ยขึ้น
- คอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ ถกู นำมาใชใ้ นการจำลองสถานการณเ์ พ่อื หาคำตอบวา่ ถ้าสถานการณ์
เปน็ อยา่ งนี้แล้วจะเกิดอะไรขึน้ เชน่ ผู้ผลติ รถยนต์ใช้ทดสอบวา่ ถ้ารถยนต์รุ่นนี้พงุ่ เข้าชน
กำแพงดว้ ยความเรว็ 40 กโิ ลเมตรตอ่ ชั่วโมง จะเกดิ ความเสยี หายท่ีบริเวณไหน ผู้โดยสารจะ
เป็นอย่างไร การจำลองสถานการณด์ ว้ ยคอมพิวเตอร์กราฟิกชว่ ยให้ทราบผลไดร้ วดเรว็
ประหยดั คา่ ใช้จ่ายและไม่ทำให้เกิดอนั ตราย
- คอมพิวเตอร์กราฟิกสามารถนำมาสรา้ งภาพนง่ิ ภาพสไลด์ ภาพยนต์ และรายการวิดโี อ ไดม้ ี
ภาพยนต์แนววทิ ยาศาสตร์หลายเร่ืองใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกสร้างฉากและตวั ละคร ซง่ึ ทำใหด้ ู
สมจริงได้ดกี ว่าการสร้างด้วยวิธีอื่น
- คอมพิวเตอรก์ ราฟิกท่ีมผี ู้รู้จกั และนยิ มใช้กันมากคงจะได้แก่ เกมสค์ อมพวิ เตอร์ ในปัจจุบนั น้ี
คงมคี นจำนวนนอ้ ยเท่าน้ันทไี่ ม่เคยเหน็ หรือรูจ้ ักเกมสค์ อมพิวเตอร์ สว่ นประกอบหน่ึงทีท่ ำให้
เกมส์สนกุ และนา่ สนใจก็คอื ภาพของฉากและตวั ละครในแกมซึง่ สร้างโดยคอมพวิ เตอร์
กราฟกิ

เอกสารประกอบการเรยี น วชิ า โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สรา้ งสรรค์

หลักการทำงานและการแสดงผลของภาพคอมพวิ เตอร์กราฟิก
ภาพทเี่ กิดบนจอคอมพวิ เตอร์ เกิดจากการทำงานของโหมดสี RGB ซึ่งประกอบด้วยสี

แดง (Red) สีเขยี ว (Green) และสีนำ้ เงิน (Blue) โดยใชห้ ลักการยิงประจุไฟฟ้าใหเ้ กดิ การเปล่งแสงของสีท้ัง
3 สีมาผสมกันทำใหเ้ กดิ เปน็ จุดสีส่เี หลย่ี มเลก็ ๆ ท่ีเรยี กวา่ พกิ เซล (Pixel) ซ่ึงมาจากคำ
วา่ Picture กับ Element โดยพกิ เซลจะมหี ลากหลายสี เม่ือนำมาวางตอ่ กนั จะเกิดเป็นรปู ภาพ ซ่ึงภาพทใ่ี ช้
กบั เครื่องคอมพวิ เตอรม์ ี 2 ประเภท คอื แบบ Raster และแบบ Vector

หลกั การของกราฟกิ แบบ Raster
หลักการของภาพกราฟิกแบบ Raster หรือแบบ Bitmap เปน็ ภาพกราฟกิ ทีเ่ กดิ จากการเรยี งตวั

กันของจุดสีเ่ หลี่ยมเล็ก ๆ หลากหลายสี ซงึ่ เรยี กจดุ สเี หล่ียมเล็ก ๆ นวี้ า่ พกิ เซล (Pixel) ในการสรา้ ง
ภาพกราฟกิ แบบ Raster จะตอ้ งกำหนดจำนวนของพิกเซลให้กับภาพท่ีต้องการสร้าง ถ้ากำหนดจำนวน
พิกเซลน้อย เม่อื ขยายภาพใหม้ ขี นาดใหญข่ ้นึ จะทำใหแ้ ฟ้มภาพมีขนาดใหญ่ ดังนั้นการกำหนดพกิ เซลจงึ ควร
กำหนดให้เหมาะกบั งานทสี่ ร้างคอื ถ้าต้องการใช้งานท่ัว ๆ ไปจะกำหนดจำนวนพิกเซลประมาณ 100-150 ppi
(Pixel/inch) “จำนวนพิกเซลตอ่ 1 ตารางน้ิว” ถ้าเปน็ งานทีต่ อ้ งการความละเอียดน้อยและแฟม้ ภาพมีขนาด
เลก็ เชน่ ภาพสำหรับใชก้ บั เว็บไซต์จะกำหนดจำนวนพกิ เซลประมาณ 72 ppi และถา้ เปน็ แบบงานพมิ พ์ เชน่
นติ ยสาร โปสเตอรข์ นาดใหญ่ จะกำหนดจำนวนพิกเซลประมาณ 300-350 เป็นตน้ ขอ้ ดขี องภาพกราฟกิ
แบบ Raster คือ สามารถแกไ้ ขปรับแตง่ สี ตกแต่งภาพได้งา่ ยและสวยงาม ซง่ึ โปรแกรมทนี่ ยิ มใชส้ รา้ ง
ภาพกราฟิกแบบRaster คือ Adobe PhotoShop, Adobe PhotoShopCS, Paint เปน็ ตน้

รปู ที่ 1.1 ภาพกราฟิกแบบ Raster ท่ขี ยายใหญข่ ้ึน

หลกั การของกราฟกิ แบบ Vector
หลกั การของกราฟิกแบบ Vector เปน็ ภาพกราฟิกที่เกิดจากการอา้ งอิงความสมั พนั ธท์ าง

คณติ ศาสตร์ หรอื การคำนวณ ซึง่ ภาพจะมคี วามเป็นอสิ ระต่อกัน โดยแยกชนิ้ สว่ นของภาพทง้ั หมดออกเปน็
เส้นตรง เสน้ โค้ง รปู ทรง เม่ือมีการขยายภาพความละเอยี ดของภาพไม่ลดลง แฟม้ มขี นาดเล็กกวา่
แบบ Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector นยิ มใช้เพอ่ื งานสถาปยั ตต์ กแตง่ ภายในและการออกแบบต่าง ๆ เชน่
การออกแบบอาคาร การออกแบบรถยนต์ การสรา้ งโลโก การสรา้ งการ์ตนู เป็นตน้ ซง่ึ โปรแกรมทน่ี ิยมใช้
สรา้ งภาพแบบ Vector คือ โปรแกรม Illustrator, CoreDraw, AutoCAD, 3Ds max เปน็ ต้น แตอ่ ุปกรณท์ ี่
ใชแ้ สดงผลภาพ เช่น จอคอมพิวเตอร์จะเป็นการแสดงผลภาพเปน็ แบบ Raster

เอกสารประกอบการเรยี น วชิ า โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ รา้ งสรรค์

รูปท่ี 1.2 ภาพกราฟิกแบบ Vector ท่ีขยายใหญ่ขน้ึ
หลกั การใช้สแี ละแสงในคอมพวิ เตอร์

สีท่ีใช้งานดา้ นกราฟกิ ทั่วไปมี 4 ระบบ คือ
1. RGB
2. CMYK
3. HSB
4. LAB
RGB
เป็นระบบสที ีป่ ระกอบด้วยแม่สี 3 สีคือ แดง (Red), เขียว (Green) และสีน้ำเงิน (Blue) เมื่อ
นำมาผสมกนั ทำให้เกิดสีต่าง ๆ บนจอคอมพวิ เตอร์มากถงึ 16.7 ลา้ นสี ซง่ึ ใกลเ้ คยี งกับสีท่ีตาเรามองเห็นปกติ
สีทไ่ี ด้จากการผสมสีขน้ึ อยู่กับความเขม้ ของสี โดยถา้ สมี คี วามเขม้ มาก เม่ือนำมาผสมกันจะทำให้เกิดเป็นสีขาว
จงึ เรยี กระบบสีนวี้ ่าแบบ Additive หรอื การผสมสแี บบบวก

CMYK
เปน็ ระบบสที ี่ใช้กบั เคร่ืองพิมพ์ทพ่ี มิ พ์ออกทางกระดาษหรอื วัสดุผิวเรียบอนื่ ๆ ซ่ึงประกอบดว้ ยสหี ลัก 4 สีคือ สี
ฟ้า (Cyan), สีม่วงแดง (Magenta), สีเหลือง (Yellow) และสีดำ (Black) เมื่อนำมาผสมกันจะกเกิดสีเป็นสดี ำ
แต่จะไมด่ ำสนิทเน่ืองจากหมึกพิมพม์ ีความไม่บริสุทธิ์ จงึ เปน็ การผสมสแี บบลบ (Subtractive) หลักการเกิดสี

เอกสารประกอบการเรียน วิชา โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สรา้ งสรรค์

ของระบบนี้คือ หมึกสีหนึ่งจะดดู กลนื แสงจากสีหนงึ่ แลว้ สะทอ้ นกลับออกมาเป็นสีต่าง ๆ เช่น สีฟ้าดูดกลืนแสง
ของสีม่วงแล้วสะท้อนออกมาเป็นสีน้ำเงิน ซึ่งจะสังเกตได้ว่าสีที่สะท้อนออกมาจะเป็นสีหลักของ
ระบบ RGB การเกดิ สีในระบบนจ้ี งึ ตรงขา้ มกบั การเกิดสีในระบบ RGB ดงั ภาพ

HSB
เป็นระบบสแี บบการมองเห็นของสายตามมนษุ ย์ ซึ่งแบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น คอื
Hue คือสีต่าง ๆ ที่สะท้อนออกมาจากวัตถุแล้วเข้าสูส่ ายตาของเรา ซึ่งมักเรียกสีตามชือ่ สี เช่น

สีเขยี ว สีเหลือง สแี ดง เปน็ ต้น
Saturation คือความสดของสี โดยค่าความสดของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากำหนด

Saturation ท่ี 0 สีจะมคี วามสดน้อย แตถ่ ้ากำหนดท่ี 100 สีจะมคี วามสดมาก
Brightness คือระดับความสว่างของสี โดยค่าความสว่างของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากำหนด

ท่ี 0 ความสวา่ งจะนอ้ ยซงึ่ จะเป็นสีดำ แตถ่ า้ กำหนดท่ี 100 สจี ะมีความสว่างมากทส่ี ุด

LAB
เป็นระบบสที ไี่ มข่ ึ้นกบั อุปกรณ์ใด ๆ (Device Independent) โดยแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น คอื
“L” หรือ Luminance เป็นการกำหนดความสว่างซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 100 ถ้ากำหนด

ท่ี 0 จะกลายเปน็ สดี ำ แต่ถา้ กำหนดท่ี 100 จะเปน็ สีขาว
“A” เป็นคา่ ของสีที่ไล่จากสเี ขียวไปสีแดง
“B” เปน็ ค่าของสีทไี่ ลจ่ ากสีน้ำเงินไปเหลอื ง

แฟม้ ภาพกราฟกิ แบบ Raster และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก
นามสกลุ ท่ีใช้เก็บแฟ้มภาพกราฟิกแบบ Raster มหี ลายนามสกลุ เชน่ .BMP, .DIB, .JPG,

.JPEG, .JPE, .GIF, .TIFF, .TIF, .PCX, .MSP, .PCD, .FPX, .IMG, .MAC, .MSP และ .TGA เป็นต้น ซึ่งลักษณะ
ของแฟ้มภาพจะแตกตา่ งกนั ไป ยกตัวอยา่ งเช่น

เอกสารประกอบการเรยี น วชิ า โปรแกรมคอมพิวเตอร์สรา้ งสรรค์

นามสกลุ ท่ใี ช้ ลักษณะงาน ตัวอย่างซอฟตแ์ วร์
เกบ็ ที่ใช้สรา้ ง
ใชส้ ำหรับรูปภาพทว่ั ไปงานเว็บเพจ และงานทม่ี ี
.JPG, .JPEG, ความจำกัดด้านพ้ืนทหี่ นว่ ยความจำ โปรแกรม PhotoShop,
.JPE PaintShopPro, Illstratior

.GIF เหมาะสำหรบั งานด้านนติ ยสาร เพราะมีความ
.TIFF, .TIF
ละเอยี ดของภาพสูง
.BMP, .DIB
ไฟล์มาตรฐานของระบบปฏิบตั ิการวินโดว์ โปรแกรม PaintShopPro,
.PCX
Paint

เป็นไฟล์ด้งั เดิมของโปรแกรมแก้ไขภาพแบบบติ แมป โปรแกรม CorelDraw,

ไม่มีโมเดลเกรย์สเกล ใชก้ ับภาพทวั่ ไป Illustrator, Paintbrush

แฟม้ ภาพกราฟิกแบบ Vector และคณุ ลักษณะของแฟม้ ภาพกราฟิก
นามสกลุ ที่ใช้เก็บแฟม้ ภาพกราฟกิ แบบ Vector มีหลายนามสกุลเชน่ .EPS, .WMF, .CDR, .AI,

.CGM, .DRW, .PLT, .DXF, .PIC และ .PGL เป็นตน้ ซ่งึ ลักษณะของแฟ้มภาพจะแตกต่างกนั ไป เช่น

นามสกลุ ที่ใช้ ลักษณะงาน ตัวอยา่ งซอฟตแ์ วร์
เก็บ ท่ใี ชส้ รา้ ง
ใช้สำหรบั งานท่ตี อ้ งการความละเอยี ดของภาพมาก เชน่
.AI การสรา้ งการ์ตูน การสรา้ งโลโก เปน็ ต้น โปรแกรม Illustrator

.EPS โปรแกรม CorelDraw
.WMF ไฟล์มาตรฐานของโปรแกรม Microsoft Office

กราฟกิ ไฟลส์ ำหรับอนิ เทอรเ์ นต็
ไฟล์กราฟกิ ทส่ี นบั สนนุ ระบบอินเทอร์เน็ต ปัจจบุ ันมี 3 ไฟลห์ ลัก ๆ คือ
1. ไฟลส์ กุล GIF ( Graphics Interlace File)
2. ไฟล์สกุล JPG ( Joint Photographer's Experts Group)
3. ไฟลส์ กลุ PNG ( Portable Network Graphics)

เอกสารประกอบการเรยี น วชิ า โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สรา้ งสรรค์

1. ไฟล์สกุล GIF (Graphics Interlace File)

เปน็ ไฟลก์ ราฟกิ มาตรฐานทท่ี ำงานบนอินเทอรเ์ น็ต มกั จะใช้เมื่อ
- ต้องการไฟล์ท่มี ีขนาดเลก็
- จำนวนสแี ละความละเอยี ดของภาพไมส่ งู มากนกั
- ตอ้ งการพนื้ แบบโปรง่ ใส
- ต้องการแสดงผลแบบโครงร่างก่อน แลว้ คอ่ ยแสดงผลแบบละเอยี ด
- ต้องการนำเสนอภาพแบบภาพเคล่อื นไหว

ไฟล์ .GIF (GIF Animation) ซ่ึงเป็นไฟลก์ ราฟิกทีม่ ีความสามารถพิเศษโดยนำเอาไฟลภ์ าพ
หลายๆ ไฟลม์ ารวมกนั และนำเสนอภาพเหล่านัน้ โดยอาศยั การหน่วงเวลา มกี ารใส่รปู แบบการนำเสนอ
ลักษณะต่างๆ ( Effects) ในลกั ษณะภาพเคลอ่ื นไหว

2. ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group)

เอกสารประกอบการเรียน วชิ า โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สรา้ งสรรค์

เป็นอีกไฟล์หนง่ึ ทีน่ ิยมใช้บน Internet มักใช้กรณี
1. ภาพที่ต้องการนำเสนอมีความละเอียดสงู และใช้สจี ำนวนมาก (สนบั สนุนถึง 24 bit color)
2. ต้องการบบี ไฟล์ตามความต้องการของผใู้ ช้
3. ไฟล์ชนดิ นม้ี ักจะใชก้ บั ภาพถา่ ยทน่ี ำมาสแกน และตอ้ งการนำไปใช้บนอินเทอรเ์ นต็

เพราะใหค้ วามคมชัดและความละเอียดของภาพสูง
3. ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics)

จดุ เดน่
- สนับสนนุ สไี ด้ถึงตามคา่ True color (16 bit, 32 bit หรอื 64 bit)
- สามารถกำหนดค่าการบีบไฟลไ์ ด้ตามท่ีตอ้ งการ
- มรี ะบบแสดงผลแบบหยาบและคอ่ ยๆ ขยายไปสลู่ ะเอียด ( Interlace)
- สามารถทำพ้ืนโปร่งใสได้
จดุ ด้อย
- casino francais en ligne font-size: 20px; ">หากกำหนดค่าการบีบไฟลไ์ วส้ ูง จะใช้เวลาใน

การคลายไฟลส์ ูงตามไปด้วย แตข่ นาดของไฟลจ์ ะมีขนาดต่ำ
- ไมส่ นบั สนุนกบั Graphic Browser ร่นุ เก่า สนบั สนุนเฉพาะ IE 4 และ Netscape 4
- ความละเอยี ดของภาพและจำนวนสีขึ้นอย่กู บั Video Card
- โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีน้อย

เอกสารประกอบการเรียน วิชา โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ รา้ งสรรค์

หลักการจัดกลุ่มโมเดลสี และจติ วทิ ยาเก่ยี วกบั สี

โมเดลสีแบบต่าง ๆ
โดยทั่วไปแล้วสีต่าง ๆ ในธรรมชาติและสีที่ถูกสร้างขึ้น จะมีรูปแบบการมองเห็นสีที่แตกต่างกัน ซึ่ง

รปู แบบการมองเห็นสีเรียกวา่ “โมเดล (Model)” ดังน้ัน จงึ ทำใหม้ โี มเดลหลายแบบดังที่เราจะไดศ้ ึกษาต่อไปน้ี
- โมเดล HSB ตามหลักการมองเหน็ สขี องสายตามนษุ ย์
- โมเดล RGB ตามหลักการแสดงสีของเครอื่ งคอมพิวเตอร์
- โมเดล CMYK ตามหลกั การแสดงสีของเครื่องพมิ พ์
- โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE

โมเดล HSB ตามหลกั การมองเหน็ สขี องสายตามนุษย์
เปน็ ลกั ษณะพน้ื ฐานการมองเหน็ สดี ้วยสายตาของมนุษย์ โมเดล HSB จะประกอบด้วยลกั ษณะของ

สี 3 ลกั ษณะ
1.Hue เป็นสีของวัตถทุ ี่สะท้อนเข้ามายงั ตาของเราทำให้เราสามารถมองเห็นเป็นวัตถสุ ีได้ซึ่งแต่ละสีจะ

แตกต่างกันตามความยาวของคลื่นแสงที่มากระทบวัตถุและสะท้อนกลับมาที่ตาของเรา Hue ถูกวัดโดย
ตำแหน่งการแสดงสีบน Standard Color Wheel ซึ่งถูกแทนด้วยองศา คือ 0 ถึง 360 องศา แต่โดยทั่วๆ ไป
แลว้ มักเรยี กการแสดงสีน้ันๆ เป็นช่ือของสีเลย เช่น สีแดง สมี ่วง สีเหลอื ง

ภาพ คา่ Hue จะบอกค่าสเี ป็นองศา จาก 0 องศา หมุนไปถงึ 360 องศา

2. Saturation คือสัดส่วนของสเี ทาที่มอี ยู่ในสนี ้นั โดยวดั คา่ สเี ทาในสีหลักเป็นเปอรเ์ ซน็ ต์ดงั นค้ี ือ จาก
0% (สีเทาผสมอยู่มาก) จนถึง 100% (สีเทาไม่มีเลย หรือเรียกว่า “Full Saturation” คือสีมีความอิ่มตัว

เอกสารประกอบการเรยี น วิชา โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สรา้ งสรรค์

เต็มที่) โดยค่า Saturation นี้จะบ่งบอกถึงความเข้มข้นและความจางของสี ถ้าถูกวัดโดยตำแหน่งบน
Standard Color Wheel ค่า Saturationจะเพิ่มขึ้นจากจุดกึ่งกลางจนถึงเส้นขอบ โดยค่าที่เส้นขอบจะมีสีที่
ชดั เจน และอมิ่ ตัวที่สุด

ภาพ คา่ Saturation เร่มิ ตั้งแต่ 0% ท่จี ดุ กงึ่ กลางไลไ่ ปเร่ือยๆ จนถงึ 100% ท่ชี อบ
3.Brightness เปน็ เร่อื งราวของความสว่างและความมืดของสี ซง่ึ ถกู กำหนดคา่ เป็นเปอร์เซน็ ต์จาก0 %
(สีดำ) ถงึ 100% (สีขาว) ยง่ิ มเี ปอรเ์ ซน็ ต์มากจะทำให้สนี น้ั สวา่ งมากขึ้น

ภาพ H+S แทนคา่ สีท้งั หมดทีเ่ กิดจาก Hue +Saturation และ B แทนค่าความสวา่ งตั้งแต่ 0% ถงึ 100%


Click to View FlipBook Version