The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โรงเรียนหอพระ จังหวัดเชียงใหม่ ใช้ระบบการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Budgeting) เพื่อให้สอดรับการบริหารการจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-based Management) ซึ่งเป็นหลักในการบริหารจัดการภาครัฐในปัจจุบัน สิ่งสำคัญประการหนึ่งของการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานคือ การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2562 - 2566) ซึ่งมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ ที่นำไปสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนให้เป็นระบบสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานของโรงเรียนมาตรฐานสากล และตอบสนองต่อแผนการศึกษาแห่งชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) นำไปสู่การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพต่อไป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by akeatthaphon.i, 2021-05-13 02:43:52

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564

โรงเรียนหอพระ จังหวัดเชียงใหม่ ใช้ระบบการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Budgeting) เพื่อให้สอดรับการบริหารการจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-based Management) ซึ่งเป็นหลักในการบริหารจัดการภาครัฐในปัจจุบัน สิ่งสำคัญประการหนึ่งของการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานคือ การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2562 - 2566) ซึ่งมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ ที่นำไปสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนให้เป็นระบบสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานของโรงเรียนมาตรฐานสากล และตอบสนองต่อแผนการศึกษาแห่งชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) นำไปสู่การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพต่อไป

Keywords: แผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2564

48

ที่ กค ๐๔02.5/033273 กรมบญั ชกี ลาง
ถนนพระราม 6 กทม. 10400

7 สิงหาคม 2560

เรื่อง ขอหารอื เก่ยี วกบั การใชเ้ งนิ เหลอื จ่ายงบเงินอุดหนุน ประเภทเงนิ อุดหนนุ ท่ัวไป

เรยี น เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

อ้างถงึ 1. หนงั สือสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ท่ี ศธ 04007/3176 ลงวนั ท่ี 13 ตลุ าคม 2558
2. หนงั สอื สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ท่ี ศธ 04007/1643 ลงวันที่ 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2560

ตามหนังสือที่อ้างถึง 1 และ 2 แจ้งว่า สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ไดร้ บั จดั สรรงบประมาณ งบเงินอุดหนนุ ประเภทเงินอดุ หนุนทัว่ ไป รายการเงินอดุ หนุนค่าอาหารนักเรียนประจำ
นักเรียนไป - กลับ และเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนประจำ ให้กับศูนย์การศึกษาพิเศษ
และได้จัดทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อเบิกจ่ายเงินจากระบบ GFMIS เข้าฝากบัญชีเงินอุดหนุน
ประเภทออมทรัพย์ของศูนย์การศึกษาพิเศษ เมื่อสิ้นปีงบประมาณพบว่า มีเงินคงเหลือในบัญชีดังกล่าว
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงขอหารือว่า ศูนย์การศึกษาพิเศษสามารถนำเงินงบประมาณ
ท่คี งเหลือในบัญชีดังกล่าว ไปชำระหนี้ค่าสาธารณปู โภคไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร ความละเอียดแจง้ แลว้ นั้น

กรมบญั ชกี ลางพจิ ารณาแลว้ ขอเรียนดังน้ี

1. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สดุ ที่ กค 0409.6/ว 126 ลงวันที่ 7 กันยายน 2548
เรือ่ ง การเบกิ จ่ายเงินงบประมาณ งบเงนิ อุดหนุน กรณเี ปน็ การเบิกจา่ ยให้สว่ นราชการเปน็ ผู้ดำเนนิ การ ขอ้ 2.6
กำหนดให้ การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการดำเนินการที่เบิกไปแล้วให้จ่ายภายในปีงบประมาณ กรณีมีเงินเหลืออยู่
และยงั ไม่สิ้นสุดโครงการให้รีบดำเนินการให้เสร็จส้ินอย่างช้าภายในปีงบประมาณถดั ไป กรณีส้ินสุดหรือยุบเลิก
โครงการแล้ว ปรากฏว่า มีเงินคงเหลอื อยู่ในบญั ชเี งินฝากธนาคารใหน้ ำส่งคลังเปน็ รายไดแ้ ผ่นดิน

2. กรณตี ามขอ้ หารือ เมื่อสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โดยศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ
ได้ดำเนินการเบกิ จา่ ยเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนนุ ท่ัวไป รายการเงินอุดหนุนค่าอาหาร
นักเรียนประจำ นักเรียนไป – กลับ และเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนประจำ จนเสร็จสิ้นบรรลุ
ตามวัตถุประสงค์แล้ว หากมีเงินเหลือจ่ายจะต้องนำเงินที่เหลือส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ตามหลักเกณฑ์
ในหนังสือกระทรวงการคลัง ขอ้ 1 ไม่สามารถนำเงินท่เี หลอื จา่ ยไปชำระหนี้ค่าสาธารณูปโภคได้

จึงเรยี นมาเพ่อื โปรดทราบ

ขอแสดงความนับถือ

(นางสาวอรนชุ ไวนสุ ิทธ์ิ)
ปรึกษาด้านพัฒนาระบบการเงินการคลงั ปฏิบัตริ าชการแทน

อธิบดีกรมบัญชีกลาง

49

ที่ ศธ 04002/ว5659 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ กทม. 10300

23 ธนั วาคม 2563

เรื่อง การใช้จ่ายเงินและการจัดทำทะเบียนคุมเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน รายการค่าใช้จ่ายในการจัด
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ตามข้อเสนอแนะของสำนักงานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ

เรียน ผูอ้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา ทกุ เขต
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนท่เี ปน็ หน่วยเบกิ ทกุ โรงเรียน
ผอู้ ำนวยการศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษทเ่ี ปน็ หน่วยเบกิ ทุกศนู ย์

สง่ิ ทีส่ ่งมาดว้ ย รายงานขอ้ เสนอแนะของสำนักงานการตรวจเงินแผน่ ดนิ

ด้วย สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน แจ้งว่า จากการสุ่มตรวจสอบรายงานการเงิน สำหรับ
ปสี ิ้นสุดวันท่ี ๓ กนั ยายน 2562 มขี ้อสังเกตท่เี กี่ยวกับเงินอดุ หนนุ เรยี นฟรี 15 ปี ดงั น้ี

ข้อสังเกต ข้อ ๗.1 โรงเรียนไม่จัดทำทะเบียนคุมเงินอุดหนุนเรียนฟรี ๕ ปี แยกตามรายการ
ที่ได้รับเงิน หรือโรงเรียนไม่มีการบันทึกรับเงินในทะเบียนคุม (บันทึกเฉพาะการจ่ายเท่านั้น) หรือโรงเรียน
คำนวณตัวเลขในทะเบียนคุมไม่ถูกต้อง (แสดงยอดยกไป ณ สน้ิ เดอื นปัจจบุ นั และยอดยกมา ณ ต้นเดือนถัดไป
ไมต่ รงกัน) ทำให้ไมส่ ามารถตรวจสอบความถกู ตอ้ งของการเบิกจา่ ยเงนิ ได้

ในการนี้ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ให้ข้อเสนอแนะโดยให้ดำเนินการตรวจสอบ
ความถูกต้องของการใช้จ่ายเงินอุดหนุนเรียนฟรี ๑๕ ปี ตามรายการที่ได้รับเงินทั้ง ๕ รายการ หากมีเงินเหลือจ่าย
ใหน้ ำส่งเปน็ รายได้แผ่นดนิ พร้อมทงั้ ให้แจ้งกำชับโรงเรียนในสังกัดจัดทำทะเบยี นคุมเงินอดุ หนนุ เรยี นฟรี 1๕ ปี
แยกตามรายการท่ีไดร้ ับเงินท้งั 5 รายการ และให้ถือปฏิบตั ิเป็นไปในแนวทางเดียวกัน รายละเอียดตามสิง่ ที่สง่ มาด้วย

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณาแล้ว เพื่อให้การใช้จ่ายเงิน และการจัดทำ
ทะเบียนคุมเงินประมาณ งบเงินอุดหนุน รายการค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประกอบด้วย
ค่าจัดการเรียนการสอน (ค่าใช้จ่ายรายหัว ค่าปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน)
ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นไป
เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียน ตามระเบียบของทางราชการและแนวทางที่สำนักงาน-
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กำหนด รวมท้ังใหเ้ ป็นไปในแนวทางเดยี วกนั จงึ ขอใหส้ ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
โรงเรียนท่ีเป็นหน่วยเบิก และศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษที่เป็นหนว่ ยเบกิ ดำเนินการดังนี้

๑. ตรวจสอบและควบคุมให้โรงเรียนในสังกัดดำเนินการการใช้จ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการจัด-
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียนเป็นสำคัญตามวัตถุประสงค์ของเงิน
และแนวทางที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกำหนดอย่างเคร่งครัด รวมทั้งใช้จ่ายให้เสร็จส้ิน
ภายในระยะเวลาที่กระทรวงการคลังกำหนด ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๙ ๖ / ว ๑๒๖
ลงวันที่ ๗ กันยายน 2563 ซึ่งกระทรวงการคลังกำหนดว่า การใช้จ่ายเงินงบเงินอุดหนุนที่เบิกจาก
กรมบัญชีกลาง หรือสำนักงนคลังจังหวัดไปแล้ว ให้จ่ายภายในปีงบประมาณ กรณีมีเงินเหลือจ่ายอยู่และ

/ ยงั ไม่สิน้ สุด...

50

-2–
ยังไม่สิ้นสุดโครงการให้รีบดำเนินการให้เสร็จส้ินอย่างช้าภายในปีงประมาณถัดไป กรณีสิ้นสุดหรือยุบเลิก
โครงการแล้ว ปรากฎว่ามีเงินคงเหลืออยู่ในบัญชีเงินฝากธนาคารให้นำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ฉะน้ัน
หากตรวจสอบแล้ว พบว่าการใช้จ่ายเงินดังกล่าวของโรงเรียนไม่เป็นไปตามระเบียบของทางราชการและแนวทาง
ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด หรือมีเงินคงเหลือเกินระยะเวลาที่กระทรวงการคลังกำหนด
ใหน้ ำเงนิ ส่งคลงั เปน็ รายได้แผ่นดนิ ตอ่ ไป

อนงึ่ รายการค่าใช้จ่ายท่ีสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ใหข้ อ้ เสนอแนะว่าไม่สามารถบิกจ่ายได้
ตามระเบียบของทางราชการ ได้แก่ ค่าประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับงานเกษียณอายุหรือ
งานมุทิตาจิต ค่าเคร่ืองแบบผู้กำกับนักศึกษาวิชาทหาร ค่าปฏิทินตั้งโต๊ะ ค่าใช้จ่ายที่ไม่สะท้อนให้เห็นถึง
การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา เป็นต้น

๒ ตรวจสอบและควบคมุ ใหโ้ รงเรียนในสังกัดจดั ทำทะเบยี นคุมเงินงบประมาณ งบเงนิ อุดหนุน
รายการค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาชั้นพื้นฐาน ตามแบบที่กรมบัญชีกลางกำหนดโดยจัดทำทะเบียนคุมเงิน
แยกแต่ละรายการท่ไี ดร้ ับเงนิ ใหถ้ ูกตอ้ ง ครบถ้วน และเป็นปจั จุบนั

จึงเรียนมาเพือ่ ทราบและพจิ ารณาดำเนินการโดยเคร่งครดั

ขอแสดงความนบั ถือ

(ว่าท่ี ร.ต. ธนุ วงศ์จินดา)
รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ปฏบิ ัติราชการแทน

เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

51

ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/ว ๒๙๘๓ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กทม. ๑๐๓๐๐

๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕

เร่อื ง หลกั เกณฑ์การเบกิ จา่ ยค่าใช้จ่ายในการจดั กิจกรรมเพ่อื เสรมิ สร้างความรู้ใหก้ บั นักเรียน

เรียน ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ผ้อู ำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศกึ ษาพิเศษท่เี ป็นหนว่ ยเบิกและผู้อำนวยการโรงเรยี นที่เป็นหน่วยเบิก

อา้ งถงึ ๑. หนงั สือกระทรวงการคลงั ด่วนทีส่ ดุ ที่ กค ๐๔๐๙.๖/ว ๑๒๖ ลงวันท่ี ๗ กนั ยายน ๒๕๔๘
๒. หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ท่ี ศธ ๐๔๐๐๖/๒๒๗๙ ลงวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๘

สิ่งทส่ี ง่ มาดว้ ย หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ให้กับนักเรียน
ดว้ ยงบเงินอดุ หนุนสำหรับหน่วยงานในสังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

ตามหนังสือที่อ้างถึง ๑ ข้อ ๒.๑ กระทรวงการคลังกำหนดให้หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ
กำหนดระเบียบ ภายในควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุนเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ขอต้ัง
งบประมาณ และตามหนังสือที่อ้างถึง ๒ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้แจ้งหลักเกณฑ์ และแนว
ปฏบิ ัตกิ ารใชจ้ า่ ย งบประมาณงบเงนิ อดุ หนนุ เพ่อื ใหห้ น่วยงานในสังกัดถือปฏบิ ตั ใิ ห้เปน็ แนวทางเดียวกนั ความละเอยี ด
แจง้ แลว้ นัน้

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณาแล้ว เนื่องจากปัจจุบันโรงเรียนได้กำหนดแผน
ในการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความรู้เพิ่มเติมให้กับนักเรียน เช่น การจัดกิจกรรมเข้าค่ายทางวิชาการ กิจกรรม
เข้าค่ายคุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด การพานักเรียนไปทศั นศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกโรงเรียน
รวมทั้ง การพานักเรียนไปร่วมกิจกรรมหรือร่วมแข่งขันทางการศึกษา กับโรงเรียนอื่น/หน่วยงานอื่น โดยใช้จ่ายจาก
งบเงินอุดหนุนที่โรงเรียนได้รับ ซึ่งในการเบิกค่าใช้จ่ายต่าง ๆ โรงเรียนบางแห่ง ยังไม่ชัดเจนว่ารายการใด สามารถ
เบิกจ่ายได้และรายการใดไม่สมควรเบิกจ่าย ดังนั้นเพื่อให้การใช้จ่ายงบเงินอุดหนุน ตามหนังสือที่อ้างถึง ๒ และ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา
ขั้นพื้นฐานของโรงเรียนสำหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับนักเรียนเป็นไปในแนวทางเดียวกัน
จึงกำหนดหลักเกณฑก์ ารเบิกจา่ ยค่าใชจ้ ่ายในการจัดกิจกรรม เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้กับนักเรียน ด้วยงบเงนิ อุดหนนุ
รายละเอียดตามสิ่งที่ส่งมาด้วย ทั้งนี้ การพิจารณาเบิกจ่าย ค่าใช้จ่ายให้คำนึงถึงความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด
ภายในวงเงินที่อยูใ่ นความรับผดิ ชอบ และต้องไม่เป็นเหตใุ นการเรยี กเก็บเงนิ จากผูป้ กครองเพม่ิ เตมิ ดว้ ย

จึงเรียนมาเพื่อทราบและพิจารณาแจ้งให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องรวมทั้งโรงเรียนในสังกัดทราบ
เพ่อื ถอื ปฏบิ ตั ติ ่อไป

ขอแสดงความนบั ถอื

(นายชนิ ภัทร ภมู ิรัตน)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

สำนกั การคลงั และสินทรพั ย์
โทร. ๐ ๒๒๘๐ ๒๘๖๐, ๐ ๒๒๘๘ ๕๖๓๒, ๐ ๒๒๘๘ ๕๖๓๓
โทรสาร ๐ ๒2๖๒๘๕๑๑๒, ๐ ๒๖๒๘ ๘๙๘๘

52

หลักเกณฑ์การเบกิ จ่ายค่าใชจ้ ่ายในการจดั กิจกรรมเพือ่ เสริมสร้างความรู้ให้กับนักเรยี น
ด้วยงบเงนิ อดุ หนนุ สำหรบั หน่วยงาน

ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

เพื่อให้การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ให้กับนักเรียน ได้แก่
การพานักเรียนไปร่วมกิจกรรมวิชาการ กิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด หรือทัศนศึกษา
ตามแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน ตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ
อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้จ่ายจากงบเงนิ อุดหนุนที่โรงเรียนได้รับใหเ้ ป็นไปในแนวทางเดียวกนั
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม
เพ่ือเสริมสรา้ งความรใู้ ห้กับนักเรียน ดงั น้ี

1. การวางแผนกิจกรรมต่าง ๆ ต้องให้ภาคี ๔ ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน
และผู้แทนนักเรยี น) และคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐานมสี ่วนรว่ มและพิจารณา

2. การพิจารณาสถานที่สำหรับการจัดกิจกรรม รวมทั้งการพักแรมให้เลือกใช้บริการสถานท่ี
ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ เป็นลำดับแรก กรณีจำเป็นต้องจัดกิจกรรมในสถานท่ี
ของเอกชนให้อยู่ในดุลพินิจของผู้อำนวยการโรงเรียน โดยคำนึงถึงความจำเป็นเหมาะสม ประหยัด และวงเงิน
ท่ีอย่ใู นความรับผดิ ชอบ

สำหรับค่าใช้จา่ ยในการจัดกจิ กรรม/การแขง่ ขนั แบ่งเป็น ๒ กรณี
กรณีที่ ๑ โรงเรียนเป็นหน่วยงานผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขันให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง
ดงั นี้

1. ค่าใชจ้ ่ายเกย่ี วกบั การใชแ้ ละตกแตง่ สถานทจ่ี ดั กิจกรรม
2. ค่าวสั ดุต่าง ๆ สำหรบั การจัดกิจกรรม
3. คา่ ถ่ายเอกสาร คา่ พมิ พเ์ อกสารและสิ่งพิมพ์
4. คา่ หนงั สือสำหรบั การจัดกิจกรรม
5. คา่ เช่าอุปกรณ์สำหรบั การจัดกิจกรรม
6. ค่าอาหารวา่ งและเคร่อื งด่มื ไมเ่ กินมื้อละ ๕๐ บาทต่อคน
7. ค่าเข้าชมสถานท่แี หล่งเรยี นรู้
8. ค่าสาธารณปู โภค
9. ค่าสมนาคณุ วทิ ยากร

9.1 หลกั เกณฑก์ ารจา่ ยค่าสมนาคุณวิทยากร

1) กรณีเป็นการบรรยายให้ความรู้กับนักเรียน ให้จ่ายค่าสมนาคุณ
วทิ ยากรได้ไมเ่ กนิ ๑ คน

2) กรณีเป็นการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม ซึ่งได้กำหนดไว้ในโครงการ
หรอื หลักสตู รการจดั กจิ กรรมและจำเป็นตอ้ งมวี ทิ ยากรประจำกลมุ่ ใหจ้ ่ายค่าสมนาคณุ วทิ ยากรไดไ้ มเ่ กนิ กลุ่มละ ๒ คน

3) การนับชั่วโมงการบรรยายหรือทำกิจกรรมให้นับตามเวลา
ที่กำหนดในตารางการจัดกิจกรรม โดยแต่ละชั่วโมงต้องกำหนดเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้านาที กรณีกำหนดเวลา
ไมเ่ กนิ ๕๐ นาที แต่ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๕ นาที ใหจ้ า่ ยค่าสมนาคุณวิทยากรไดก้ ่ึงหน่ึง

53

9.2 อตั ราคา่ สมนาคุณวทิ ยากร

1) วิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐ ให้ได้รับค่าสมนาคุณวิทยากร

ได้ไม่เกินชว่ั โมงละ ๖๐๐ บาท

2) วิทยากรที่มิใช่บุคลากรของรัฐ ให้ได้รับค่าสมนาคุณวิทยากร

ได้ไม่เกินชว่ั โมงละ ๑,๒๐๐ บาท

ทั้งนี้ ใหใ้ ชแ้ บบใบสำคญั รับเงนิ สำหรับวิทยากร เอกสารหมายเลข ๑ (หน้า 56)

10. ค่าอาหารสำหรับการจัดกิจกรรมมื้อละไม่เกิน ๘๐ บาท หรือกรณีจำเป็น
ตอ้ งจดั กิจกรรม ในสถานทข่ี องเอกชน ใหเ้ บิกจา่ ยไดเ้ ทา่ ทีจ่ ่ายจริงแตไ่ ม่เกนิ ม้ือละ ๑๕๐ บาท

11. กรณีที่ไม่สามารถจัดอาหารให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทุกมื้อ หรือจัดอาหาร
ให้เพียงบางมอ้ื ใหเ้ บิกคา่ ใชจ้ า่ ย ดงั น้ี

11.1 สำหรับครใู หเ้ บิกจา่ ยค่าเบ้ยี เล้ียงเหมาจ่าย
11.1.1 โดยคำนวณเวลาตั้งแต่เวลาที่เดินทางออกจากสถานที่อยู่

หรือสถานท่ปี ฏบิ ตั ิราชการ ตามปกตจิ นกลับถึงสถานท่ีอยู่หรือสถานทีป่ ฏบิ ัติราชการปกติแลว้ แต่กรณี (นบั เวลา
๒๔ ช่ัวโมง = ๑ วนั สว่ นทเ่ี กิน ๒๔ ช่ัวโมง หากนบั ได้เกิน ๑๒ ช่วั โมง ให้นับเพิ่มอกี ๑ วัน)

11.1.2 นำจำนวนวันทั้งหมด (ตามข้อ ๑) คูณ กับอัตราค่าเบี้ยเลี้ยง
เหมาจา่ ยตามสทิ ธิ

11.1.3 นบั จำนวนม้ืออาหารทีจ่ ดั ให้ตลอดการจัดกิจกรรม

11.1.4 คำนวณค่าอาหารทั้งหมดโดยให้คิดค่าอาหารมื้อละ 1 ใน 3

ของอตั ราคา่ เบีย้ เล้ียงเหมาจ่ายท่ีไดร้ บั

11.1.5 นำจำนวนเงนิ ค่าเบยี้ เลย้ี งเหมาจ่ายที่คำนวณได้ตาม (ข้อ 11.1.1)
หกั ด้วย จำนวนเงนิ ค่าอาหารทคี่ ำนวณได้ตาม (ข้อ 11.1.4) สว่ นทเ่ี หลือเปน็ คา่ เบี้ยเล้ียงทจ่ี ะได้รบั

11.2 สำหรบั นกั เรียนใหเ้ บิกจ่ายเป็นค่าอาหารในลักษณะเหมาจา่ ย

ในอัตราดังนี้

ท่ี การจัดอาหารตอ่ วัน เบกิ ค่าอาหารในลกั ษณะเหมาจา่ ย
๑ จดั อาหาร ๒ ม้อื คนละไมเ่ กนิ ๘๐ บาทตอ่ วัน
๒ จัดอาหาร ๑ มอื้ คนละไมเ่ กนิ ๑๖๐ บาทตอ่ วนั
๓ ไมจ่ ัดอาหารท้ัง ๓ ม้ือ คนละไม่เกนิ ๒๔๐ บาทต่อวัน

โดยใช้แบบใบสำคัญรับเงินค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมสำหรับนักเรียน เอกสาร
หมายเลข ๒ (หน้า 57) เปน็ หลักฐานการจา่ ย

54

12. ค่าเช่าท่ีพักตามท่ีหน่วยงานให้บริการที่พกั เรียกเก็บหรือกรณีจำเป็นตอ้ ง

พักในสถานท่ีของเอกชน ใหเ้ บิกจ่ายไดเ้ ท่าที่จ่ายจริงแตไ่ มเ่ กินอัตราทกี่ ำหนด ดงั น้ี

ค่าเช่าห้องพักคู่ ไมเ่ กนิ คนละ ๖๐๐ บาทต่อวนั

ค่าเช่าพกั พักเด่ยี ว ไมเ่ กินคนละ ๑,๒๐๐ บาทตอ่ วนั

13. ค่าจ้างเหมาพาหนะรับ-ส่งครูและนักเรียนไปร่วมกิจกรรม/ขนส่งอุปกรณ์
ท่ใี ช้ในการจดั กิจกรรม

14. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้บริการสุขาให้เบิกได้ตามอัตราที่หน่วยงานที่

ใหบ้ ริการเรียกเกบ็

15. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้บริการพยาบาลให้เบิกได้ตามอัตราที่หน่วยงานท่ี

ให้บริการเรียกเกบ็

16. ค่าใช้จ่ายในการจัดประกวดหรอื แข่งขนั
16.1 ค่าตอบแทนกรรมการตดั สนิ
16.1.1 กรรมการที่เป็นบุคลากรของรัฐเบิกจ่ายได้ในอัตราไม่เกิน

คนละ ๖๐๐ บาทตอ่ วนั
16.1.2 กรรมการที่มิได้เป็นบคุ ลากรของรฐั เบิกจา่ ยได้ในอัตราไม่เกนิ

คนละ ๑,๒๐๐ บาทตอ่ วนั
16.1.3 ค่าโล่หรือถ้วยรางวัลหรือของรางวัลที่มอบให้ผู้ชนะการประกวด

หรือแข่งขนั เพอ่ื เปน็ การประกาศเกยี รตคิ ณุ ชิน้ ละไม่เกนิ ๑,๕๐๐ บาท
17. ค่าใชจ้ ่ายอ่นื ที่จำเปน็ สำหรับการจัดกจิ กรรม

กรณีท่ี ๒ โรงเรยี นพานักเรียนไปร่วมกิจกรรม/ร่วมการแข่งขันกับโรงเรียนอ่ืนหรือหน่วยงานอ่ืน
ซงึ่ เป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขนั ให้เบิกจา่ ยค่าใช้จ่ายได้ ดงั นี้

1. สำหรบั ครู
1.1 กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอื่นซึ่งเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขัน

มกี ารจดั อาหาร ทพ่ี ัก และพาหนะใหแ้ ล้ว ใหง้ ดเบกิ ค่าใชจ้ ่ายดังกลา่ ว
1.2 กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอื่นซึ่งเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขัน

ไม่จัดอาหาร ที่พัก พาหนะทั้งหมดหรือจัดให้บางส่วนให้เบิกค่าใช้จ่ายทั้งหมดหรือส่วนที่ขาดสำหรับครู
ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ีกำหนดไวใ้ นพระราชกฤษฎีกาคา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ ยกเวน้

1) ค่าเช่าที่พักให้เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๖๐๐ บาทต่อวัน สำหรับ
ค่าเชา่ หอ้ งพกั คู่และไม่เกนิ คนละ ๑,๒๐๐ บาทต่อวนั คา่ เช่าหอ้ งพักเดี่ยว

2) คา่ เบยี้ เลีย้ งเดินทางให้คำนวณเช่นเดยี วกันกบั กรณที ่ี ๑ ข้อ 11.๑

2. สำหรบั นักเรยี น
2.1 กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอื่นซึ่งเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขันมีการจัด

อาหาร ทพ่ี กั และพาหนะใหแ้ ล้ว ใหง้ ดเบิกค่าใชจ้ ่ายดงั กล่าว

2.2 กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอื่นซึ่งเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขันไม่จัด
อาหาร ท่พี ัก พาหนะทัง้ หมดหรอื จดั ใหบ้ างส่วน ให้เบิกคา่ ใช้จา่ ยทงั้ หมดหรอื ส่วนทีข่ าดใหก้ บั นักเรียน ดังนี้

1) คา่ อาหารในลักษณะเหมาจา่ ย ตามขอ้ ๑๑.๒ (ส่วนของนกั เรียน)

55

2) คา่ เช่าทีพ่ กั เหมาจ่ายไม่เกินคนละ ๕๐๐ บาทตอ่ วนั
3) ค่าพาหนะให้เบิกจ่ายได้ตามสิทธิของข้าราชการตำแหน่งประเภททั่วไป
ระดับปฏิบตั ิงาน (เทียบเทา่ ระดับ ๑ - ๔)
4) ใช้แบบใบสำคัญรบั เงินค่าใช้จ่ายในการจดั กิจกรรมสำหรับนักเรียน เอกสาร
หมายเลข ๒ (หนา้ 57) เปน็ หลักฐานการจา่ ย
3. คา่ ใช้จา่ ยอ่นื ทจี่ ำเป็นสำหรับการพานักเรยี นไปรว่ มกิจกรรม/รว่ มการแขง่ ขัน

หมายเหตุ การพิจารณาเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้คำนึงถึงความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด
ภายในวงเงินที่อยใู่ นความรบั ผิดชอบเทา่ น้นั และตอ้ งไมเ่ ป็นเหตุในการเรยี กเกบ็ เงินจากผู้ปกครองเพิม่ เติมด้วย

56

เอกสารหมายเลข ๑

ใบสำคญั รบั เงินสำหรบั วิทยากร

ชือ่ ส่วนราชการผู้จัดกจิ กรรม......................................................................................................................
โครงการ/หลักสตู ร/กิจกรรม......................................................................................................................

วนั ที.่ ......เดือน...............พ.ศ......................

ขา้ พเจ้า....................................................................อยู่บา้ นเลขที.่ ...............................................
ตำบล/แขวง.....................................อำเภอ/เขต......................................จังหวัด........................................
ไดร้ บั เงินจาก..................................................................................ดังรายการตอ่ ไปนี้

รายการ จำนวนเงิน

จำนวนเงนิ (.........................................................................................................) (ตัวอกั ษร)
ลงช่ือ.................................................................ผ้รู บั เงิน
(................................................................)
ลงช่ือ................................................................ผจู้ า่ ยเงิน
(................................................................)

57

เอกสารหมายเลข ๒

แบบใบสำคญั รบั เงนิ คา่ ใช้จ่ายในการจัดกจิ กรรมสำหรับนักเรยี น

ชื่อส่วนราชการผจู้ ัดกจิ กรรม...........................................โครงการ/หลกั สูตร/กิจกรรม......................................
วนั ท่ี.............เดือน.............................พ.ศ. ...............ถงึ วันท่ี.............เดอื น..............................พ.ศ. .................
จำนวนผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมทั้งส้ิน.....................คน ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมได้รบั เงนิ จากโรงเรียน................................
สังกัด สพป. ..................................................../สพม. .................................................ปรากฏรายละเอียดดังนี้

ลำดับที่ ชือ่ – สกลุ ทอ่ี ยู่ คา่ อาหาร คา่ เชา่ ท่ีพัก ค่าพาหนะ รวมเป็นเงนิ วนั เดือน ปี ลายมอื ชื่อ
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ท่รี ับเงนิ

รวมเป็นเงินทง้ั สน้ิ

ลงชอ่ื .................................................................ผู้จา่ ยเงิน
( ..........................................................)

ตำแหนง่ ..............................................................

58

แนวทางดำเนินการเลอื กซือ้ หนงั สือเสรมิ ประสบการณ์สำหรบั เด็กปฐมวัย
ตามกจิ กรรมการสนบั สนนุ การจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

ตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษาตง้ั แต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ก. หลกั การ

รฐั บาลกำหนดนโยบายด้านการศกึ ษาใหท้ กุ คนมีโอกาสไดร้ บั โครงการสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัด

การศึกษาตั้งแตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยจัดงบประมาณสำหรบั หนงั สือเสริมประสบการณ์

อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งในแต่ละรายการมีรายละเอียด

ทเี่ กย่ี วกับการศึกษาระดับกอ่ นประถมศึกษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕64 ดังนี้

หนงั สือเสริมประสบการณ์สำหรบั เด็กปฐมวัย ๒๐๐ บาท/ปี

อุปกรณ์การเรียน ๑๐๐ บาท/ภาคเรยี น

(เชน่ สเี ทียน ดนิ นำ้ มันไรส้ ารพษิ กรรไกร ฯลฯ)

เครอ่ื งแบบนักเรียน (๒ ชดุ /ปี) ๓๐๐ บาท/ปี

กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน ๒๑๕ บาท/ภาคเรียน

(กจิ กรรมสง่ เสริมพฒั นาการ/กจิ กรรมคุณธรรม/การบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ICT)

หนังสือเสริมประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวยั

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กำหนดหลักการจัดประสบการณ์สำหรับ
เด็กปฐมวัยอายุ ๓ - ๕ ปี เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวม อย่างต่อเนื่องในรูปแบบบูรณาการ ไม่สอนเป็นรายวิชา
ยึดหลักการบูรณาการที่ว่า หนึ่งแนวคิดเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายกิจกรรม หนึ่งกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรู้
ได้หลายทักษะ หลายประสบการณ์สำคัญ การที่เด็กมีโอกาสได้เลือกอ่านหนังสือบ่อย ๆ จะทำให้เด็กคุ้นเคย
กับการใช้หนังสือและคุ้นเคยกับตัวหนังสือ สิ่งสำคัญที่ควรตระหนักคือหากเด็กมีประสบการณ์ที่ดี
และมีความสุขในการใช้หนังสือ จะเป็นส่วนสำคญั ที่ช่วยปลูกฝงั ให้เด็กมีนิสยั รักการอ่านได้อยา่ งดียิ่งในอนาคต
หนังสือเสริมประสบการณ์สำหรับเด็กอนุบาลมีจุดมุ่งหมายเพื่อสนองความต้องการของเด็ก เสริมสร้าง
ความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาการเรียนรู้ด้านภาษา ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติให้เด็กเกิดนิสัย
รกั การอ่าน

คุณสมบตั หิ นงั สือเสริมประสบการณส์ ำหรับเด็กปฐมวยั สิ่งทค่ี วรคำนึงถงึ

๑. ความสอดคล้องกบั หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560
๑.๑ สอดคลอ้ งกบั จุดหมายของการพฒั นาเด็กปฐมวัย
๑.๒ สอดคลอ้ งกบั หลกั การจดั ประสบการณ์การศกึ ษาปฐมวัย
๑.๓ เหมาะสมกบั วยั ความสนใจ ความสามารถและพฒั นาการของเด็กอนุบาล
๑.๔ เหมาะสมกบั สภาพแวดล้อม บรบิ ทสงั คมและวฒั นธรรมของทอ้ งถ่นิ

59

อายุ ๓ - 4 ปี
เด็กวัยนี้มีความอยากรู้อยากเห็นในสิ่งต่าง ๆ รอบตัว พูดได้มากขึ้น สนใจในความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล รู้ถึงความแตกต่างระหว่างเพศหญิงและเพศชาย ควรตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก
เด็กสามารถเลา่ เร่อื งท่ตี นประสบมาให้ผอู้ ืน่ ฟงั เข้าใจ ถามอะไร ท่ีไหน และเด็กสามารถวาดวงกลมได้ตามแบบ
อายุ ๔ - 5 ปี
เด็กวัยนี้เป็นวัยที่อยากรู้อยากเห็น ต้องการที่จะรู้ว่าสิ่งนั้นสิ่งน้ีมาจากไหนทำไมจึงเป็นเช่นน้ี
ทำไมจึงเป็นอย่างนั้นอย่างน้ี สิ่งนี้ความเป็นมาอย่างไร วัยนี้เริ่มจะเข้าใจข้อแตกต่างระหว่างความจริง
และเรือ่ งสมมติ นิทานท่เี หมาะสำหรบั เด็กวยั นค้ี วรจะเป็นเรอื่ งสั้นเขา้ ใจง่าย มีตัวละครตัวเอกเพยี งตวั เดยี ว และ
ตัวละครร่วมอีก ๒ - ๓ ตัว เรื่องที่ส่งเสริมจินตนาการและอิงความจริงอยู่บ้าง เด็กสามารถเลา่ เรื่อง นิทานและ
ออกเสียงไดถ้ ูกตอ้ ง
อายุ ๕ - 6 ปี
เด็กวัยนี้เริ่มสนใจโลกของความเป็นจริง รู้จักสิ่งแวดล้อมที่ห่างตัวมากขึ้น เริ่มเข้าใจว่าตัวเอง
เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม ไม่ใช่เป็นศูนย์กลางของทุกสิ่งทุกอย่างเช่นแต่ก่อน เนื้อหาของเรื่องควรส่งเสริม
พัฒนาการดา้ นสติปัญญาดว้ ยจะเป็นเร่ืองจรงิ ในปัจจบุ ันหรือเป็นเร่อื งประเภทวีรบุรษุ ท้ังหลายก็ได้

๒. คุณลกั ษณะของหนังสือ
๒.๑ รปู เลม่
๑) ปกมีความสวยงามนา่ สนใจ
๒) ขนาดรปู เลม่ เหมาะสมกับวยั ของเด็ก
๓) ขนาดของตวั อักษรเหมาะสมกบั วยั ของเด็ก
๔) จำนวนหน้าและจำนวนคำศัพท์เหมาะสมกบั วัยของเด็ก
๒.๒ สสี บายตาและไมใ่ ช้สีสะท้อนแสง
๒.๓ ภาพประกอบ
- มีภาพชัดเจนเหมาะสมกับวัยเด็ก ออกแบบรูปภาพน่าสนใจให้เรื่องราวต่อเนื่อง

และต้องไม่เป็นภาพทที่ ำใหเ้ ด็กเกิดความหวาดกลวั และมชี อ่ งว่างพักสายตา ขนาดเหมาะสมกบั วัยของเดก็
๒.๔ กระดาษ
- ควรเปน็ กระดาษชนิดดี เช่น กระดาษปอนด์ กระดาษอาร์ต ฯลฯ
๒.๕ ภาษา
- ภาษาท่ีใช้ควรมคี วามถูกต้อง สละสลวย ช่วยให้เกิดจินตนาการและเหมาะสมกบั วัยของเด็ก
๒.๖ เนือ้ หา
- เน้ือเร่ืองไม่ยากเกินไป ไม่สลับซับซ้อน ไมข่ ดั แย้งกบั คา่ นิยมคุณธรรม

60

๓. ประเภทของหนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์
ประเภทของหนังสือเสริมประสบการณ์ที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย ควรมีความหลากหลาย

ทัง้ เนอ้ื หา รูปแบบ และผู้แตง่ ตอบสนองความตอ้ งการของเด็ก สนุกสนาน เพลิดเพลนิ ชว่ ยสง่ เสริมจินตนาการ
และความคิดสร้างสรรค์ มีเหตุการณ์ที่คาดเดาได้ อาจมีลักษณะเป็นคำคล้องจอง คำหรือข้อความที่เป็นจังหวะ
มรี ปู แบบซ้ำ และภาพสวยงาม เชน่

๓.๑ หนังสือนิทาน เช่น นิทานพื้นบ้าน นิทานชาดก เทพนิยาย นิทานอีสปทั้งที่เป็นร้อยแก้ว
และรอ้ ยกรอง

๓.๒ หนังสือภาพ เช่น หนงั สอื ภาพประกอบ/หนงั สอื ภาพสามมติ ิ
๓.๓ สารานกุ รมภาพสำหรบั เด็กปฐมวัย
๓.4 หนงั สอื ท่แี สดงวธิ ีการทำหรอื ประดษิ ฐส์ งิ่ ตา่ ง ๆ
๓.5 นติ ยสารสำหรับเดก็
๓.6 หนังสอื เสรมิ ประสบการณก์ ารเรียนรูส้ ำหรับเดก็ ปฐมวยั
๓.7 หนังสือที่มีเสียงประกอบ หนังสือพลาสติก หนังสือผ้า หนังสือที่ผลิตจากวัสดุอ่ืน
ทไี่ มเ่ ปน็ อันตราย หนังสอื รปู ทรงขนาดผิวสมั ผสั ทแี่ ตกตา่ งกันทำใหเ้ กิดการเปรยี บเทียบจดั หมวดหมู่ ฯลฯ

แนวทางการเลือกหนังสอื เสริมประสบการณ์สำหรบั เดก็ ปฐมวัย

การคัดเลือกหนังสือเสริมประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย สถานศึกษาดำเนินการตามขั้นตอน
คือ ครูผู้สอนเป็นผู้เลือกหนังสือเสริมประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย เสนอให้คณะกรรมการวิชาการ
คณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย และคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (ผู้แทนครู ผแู้ ทนผปู้ กครอง ผแู้ ทนชุมชน
และผู้แทนกรรมการนักเรยี น) ร่วมกันพิจารณาคดั เลอื กหนังสือเสริมประสบการณ์สำหรบั เดก็ ปฐมวัย ดงั น้ี

๑. คัดเลือกจากประเภทหนังสือเสริมประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณสมบัติส่งเสริม
และพัฒนาเด็กตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒560
และคุณสมบตั หิ นังสือเสริมประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวยั ทเ่ี สนอแนะขา้ งตน้ และ/หรือ

๒. เลือกจากตัวอย่างรายชื่อหนังสือเสริมประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยที่ผ่านการประกวด/
การคดั เลอื กจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน

หมายเหตุ รายละเอียดสามารถ Download จากเว็บไซต์ของสำนักวิชาการและมาตรฐาน
การศึกษา ที่ (http://academic.obec.go.th) และเว็บไซต์ฐานข้อมูลบัญชีกำหนดสื่อการเรียนรู้ฯ
(http://academic.obec.go.th/textbook/web)

ข้อเสนอแนะ

๑. ควรเลือกหนังสือเสริมประสบการณ์ที่หลากหลายในด้านประเภทผู้แต่ง ผู้วาดภาพประกอบ
และเน้ือหาการเรียนรู้ เพราะจะชว่ ยให้เด็กมีโอกาสอ่านหนังสือเสริมประสบการณ์ ท่หี ลากหลายและเกิดการเรียนรู้
ได้มากท่สี ุด

๒. จำนวนหนงั สือเสริมประสบการณ์ควรเพยี งพอกับจำนวนเด็ก

61

ขัน้ ตอนการจัดซอื้ หนังสือเรียน

ศึกษาแนวทางการดำเนนิ งาน โครงการสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษา
ตง้ั แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

แต่งตั้ง 1. คณะกรรมการวชิ าการ
2. คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย
3. คณะกรรมการสถานศึกษา

ครูผสู้ อนคัดเลอื กรายการหนงั สือรายวิชาพนื้ ฐานจากเว็บไซต์
http://academic.obec.go.th/textbook/web
โดยเลือกจากบัญชี 1.1 และ 1.2 ซื้อให้ครบทุกชนั้

ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และครบทกุ คน

เสนอรายชื่อหนงั สอื ผา่ นความเหน็ ชอบคณะกรรมการวิชาการ
คณะกรรมการสถานศกึ ษา คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย

ฝ่ายพัสดพุ ิจารณาวิธีการจดั ซ้ือ โดยพจิ ารณา
จากงบประมาณการจดั ซื้อ

วิธีเฉพาะเจาะจง มาตรา 56 (2) (ข) วิธีคดั เลอื ก มาตรา 56 (1) (ง) 1. คณะกรรมการ
วงเงนิ ไม่เกิน 500,000 บาท ซ้อื โดยวธิ คี ัดเลือก
วงเงนิ เกนิ 500,000 บาท
ขอใบเสนอราคาจากผขู้ ายโดยตรง 2. คณะกรรมการ
รายงานขอซอ้ื พร้อมแต่งตงั้ ตรวจรบั
ประมาณ 3 วันทำการ คณะกรรมการ 2 ชดุ และ

รายงานขอซ้อื พร้อมแตง่ ตั้ง ประมาณ 2 วนั ทำการ
คณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ
คณะกรรมการจัดซ้ือโดยวธิ คี ดั เลอื ก
และจัดทำใบส่งั ซ้ือ จดั ทำหนังสอื เชิญผูข้ ายอย่างนอ้ ย 3 ราย

ประมาณ 2 วันทำการ โดยมคี ณุ สมบัตติ รงตามเง่อื นไขทหี่ น่วยงานกำหนด

ผู้ขายจดั ส่งหนังสอื เรยี น ประมาณ 3-5 วันทำการ

จากผขู้ ายคณทีเ่ะสกนรรอมรกาาคราจดั (โซดอื้ ยโดตยรววิธจีคสดั อเลบือคกณุ สมบัติ
พจิ ารณาคดั เลือกผผขู้ ู้เสายนอ) ราคาเฉพาะราย

ทีค่ ณะกรรมการฯ ไดม้ หี นงั สอื เชญิ ชวนเท่านัน้

จากผู้ขายทเ่ี สนอราคา (โดยตรวจสอบคุณสมบัติ
ผู้ขาย)

62

(ตอ่ )

คณะกรรมการจดั ซ้ือโดยวธิ คี ัดเลอื ก
พิจารณาคัดเลอื กผเู้ สนอราคาเฉพาะราย
ท่ีคณะกรรมการฯ ไดม้ ีหนงั สือเชิญชวนเท่าน้ัน

ประมาณ 1-2 วนั ทำการ

ทจำารกาผย้ขู งาายนทกเี่ าสรนจอัดรซาอื้ คหาน(งัโดสยือตจราวกจผสู้ขอาบยทคี่พณุ จิ สามรบณตั าิ คดั เลือกได้
ผูข้ าย)

ประมาณ 1-2 วนั ทำการ

ทำหนังสอื เชญิ ผูข้ ายมาลงนาม
ในสญั ญาซ้ือขาย

(ผูข้ ายเตรียมหลกั ประกันสญั ญา 5% มาดว้ ย)

ประมาณ 7 วันทำการ

ผู้ขายจดั ส่งหนงั สือ
เรยี น

กรณสี ง่ หนงั สือตรงตามกำหนด กรณที ีส่ ง่ หนงั สือเรยี นเกินกำหนด
กำหนดผ้ขู ายจดั ส่งหนังสือเรยี น
โรงเรยี นแจง้ สงวนสทิ ธกิ ารปรบั
คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุ ใหผ้ ู้ขายทราบ (แจ้งอัตราการปรบั )
ดำเนินการตรวจรบั หนังสอื เรียน

โรงเรยี นเบิกจา่ ยเงิน วนั ท่ีผู้ขายสง่ หนงั สือครบ

คำนวณคา่ ปรับ คณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ
และแจง้ จำนวน ดำเนนิ การตรวจรบั หนังสอื เรียน
ค่าปรบั ใหผ้ ู้ขาย
โรงเรียนเบกิ จา่ ยเงินโดยหกั ค่าปรับ
ทราบ

ตารางแสดงการลดคา่ ใชจ้

ก. รายการพืน้ ฐาน 5 รายการ สำหรับโรงเรยี นปกติ

ภาคเรยี นที่ 2/๒๕63 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

ชัน้ ๑. ๒. ๓. ๑.
ค่าจัดการ
ค่าจดั การ คา่ อปุ กรณ์ คา่ กิจกรรมพฒั นา รวม เรียนการสอน

เรียนการสอน การเรยี น คุณภาพผู้เรยี น ๘๕๐
๘๕๐
กอ่ นประถมศึกษา ๘๕๐

อ.๑ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๙๕๐
๙๕๐
อ.๒ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๙๕๐
๙๕๐
อ.3 ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๙๕๐
๙๕๐
ประถมศึกษา

ป.๑ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕

ป.๒ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕

ป.๓ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕

ป.๔ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕

ป.๕ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕

ป.๖ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕

63

จ่ายของผู้ปกครอง/นักเรียน

ภาคเรียนที่ 1/2564 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

๒. ๓. ๔. ๕. รวม 2
ภาคเรยี น
คา่ หนังสอื คา่ อปุ กรณ์ ค่าเคร่ืองแบบ ค่ากิจกรรมพฒั นา รวม

เรยี น การเรยี น นักเรียน คณุ ภาพผู้เรยี น

๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑,๖๖๕ ๒,๘๓๐
๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑,๖๖๕ ๒,๘๓๐
๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑,๖๖๕ ๒,๘๓๐

656 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 2,401 ๓,๗๘๖
650 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 2,395 ๓,๗๘๐
653 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 2,398 ๓,๗๘๓
707 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 2,452 ๓,๘๓๗
846 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 2,591 ๓,๙๗๖
859 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 2,604 ๓,๙๘๙

ก. รายการพน้ื ฐาน 5 รายการ สำหรบั โรงเรยี นปกติ (ตอ่ )

ภาคเรียนที่ 2/๒๕63 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

ชนั้ ๑. ๒. ๓. รวม ๑.
ค่าจัดการเรยี น ค่าอปุ กรณ์ คา่ กจิ กรรมพัฒนา ค่าจดั การเรยี น

การสอน การเรยี น คุณภาพผู้เรยี น การสอน

มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๑,๗๕๐
๑,๗๕๐
ม.๑ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ๑,๗๕๐

ม.๒ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ๑,๙๐๐
๑,๙๐๐
ม.๓ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ๑,๙๐๐

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕
ม.๔ ๑,๙๐๐

ม.๕ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕

ม.๖ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕

64

ภาคเรียนที่ 1/2564 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64) รวม 2
ภาค
๒. ๓. ๔. ๕. เรยี น

คา่ หนังสือ ค่าอุปกรณ์ ค่าเครอ่ื งแบบ ค่ากิจกรรมพฒั นา รวม

เรยี น การเรียน นักเรยี น คุณภาพผเู้ รยี น

808 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ 3,658 ๖,๐๕๘
921 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ 3,771 ๖,๑๗๑
996 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ 3,846 ๖,๒๔๖

1,384 ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ 4,489 ๗,๐๙๔
๕๐๐ ๔๗๕ 4,431 ๗,๐๓๖
1,326 ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ 4,269 ๖,๘๗๔

1,164 ๒๓๐

ข. จดั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐานโดยครอบครวั /สถานประกอบการ)

1. จดั โดยครอบครวั

ภาคเรยี นท่ี 2/๒๕63 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

ช้ัน ๑. ๒. ๓. ๑.
ค่าจดั การ
อ.1-อ.3 คา่ จดั การ ค่าอปุ กรณ์ ค่ากจิ กรรมพัฒนา รวม เรยี นการสอน
ป.๑ ๓,๕๙๖
ป.๒ เรียนการสอน การเรยี น คุณภาพผเู้ รยี น
ป.๓ ๓,๖๘๑
ป.๔ ๓,๕๙๖ ๑๐๐ ๒๑๕ ๓,๙๑๑
ป.๕ ๓,๖๘๑
ป.๖ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖
ม.๑ ๓,๖๘๑
ม.๒ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖
ม.๓ ๓,๖๘๑
ม.๔ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖
ม.๕ ๓,๖๘๑
ม.๖ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖
๓,๖๘๑
๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖
๕,๑๓๘
๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖
๕,๑๓๘
๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘
๕,๑๓๘
๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘
๕,๓๐๓
๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘
๕,๓๐๓
๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘
๕,๓๐๓
๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘

๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘

65

ภาคเรยี นที่ 1/2564 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

๒. ๓. ๔. ๕. รวม
๒ ภาคเรียน
ค่าหนงั สือ คา่ อปุ กรณ์ ค่าเครอ่ื งแบบ คา่ กิจกรรมพฒั นา รวม
๘,๓๒๒
เรยี น การเรียน นกั เรียน คุณภาพผเู้ รียน ๔,๔๑๑ ๙,๒๔๘
5,132 ๙,๒๔๒
๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ 5,126 ๙,๒๔๕
5,129 ๙,๒๙๙
656 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 5,183 ๙,๔๓๘
5,322 ๙,๔๕๑
650 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 5,335 ๑๒,๘๓๔
7,046 ๑๒,๙๔๗
๖๕๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 7,159 ๑๓,๐๒๒
7,234 ๑๓,๙๐๐
707 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 7,892 ๑๓,๘๔๒
7,834 ๑๓,๖๘๐
846 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 7,672

๘๕๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐

808 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐

921 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐

๙๙๖ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐

1,384 ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕

๑,๓๒๖ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕

๑,๑๖๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕

2. จดั โดยสถานประกอบการ

ภาคเรียนท่ี 2/๒๕63 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

ช้นั ๑. ๒. ๓. ๑.

ค่าจัดการ คา่ อปุ กรณ์ คา่ กิจกรรมพฒั นา รวม คา่ จัดการ

เรยี นการสอน การเรยี น คุณภาพผเู้ รยี น เรยี นการสอน

ปวช.๑ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๕,๘๖๘

ปวช.๒ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๕,๘๖๘

ปวช.๓ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๕,๘๖๘

66

ภาคเรียนที่ 1/2564 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

๒. ๓. ๔. ๕. รวม
๒ ภาคเรียน
คา่ หนงั สือ ค่าอปุ กรณ์ ค่าเครื่องแบบ ค่ากจิ กรรมพฒั นา รวม
๑๖,๐๔๖
เรยี น การเรยี น นักเรยี น คณุ ภาพผเู้ รียน ๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖
๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖
๒,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕ ๙,๔๗๓

๒,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕

๒,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕

ค. เงนิ ปจั จยั พ้ืนฐานนกั เรยี นยากจน

สำหรับโรงเรียนปกติ

ภาคเรียนท่ี 2/๒๕63 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

ชัน้ ๑. ๒. ๓. รวม ๑.
ค่าจดั การ ค่าอุปกรณ์ คา่ กจิ กรรมพัฒนา ค่าจดั การ

เรียนการสอน การเรยี น คณุ ภาพผูเ้ รียน เรียนการสอน

ระดบั ประถมศกึ ษา

จดั ให้กบั นักเรียนที่ผ่านเกณฑก์ ารคัดกรอง (รายไดเ้ ฉลี่ยครัวเรือนไม่เกนิ 3,000 บาท แ

ป.๑ 500 ๕๐๐ 500

ป.๒ 500 ๕๐๐ 500

ป.๓ 500 ๕๐๐ 500

ป.๔ 500 ๕๐๐ 500

ป.๕ 500 ๕๐๐ 500

ป.๖ 500 ๕๐๐ 500

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

จัดให้กับนกั เรียนท่ผี ่านเกณฑก์ ารคดั กรอง (รายไดเ้ ฉล่ียครัวเรอื นไม่เกนิ 3,000 บาท แ

ม.๑ 1,500 ๑,๕๐๐ 1,500

ม.๒ 1,500 ๑,๕๐๐ 1,500

ม.๓ 1,500 ๑,๕๐๐ 1,500

67

ภาคเรยี นท่ี 1/2564 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕64) รวม
๒ ภาค
๒. ๓. ๔. ๕.
เรยี น
ค่าหนังสือ คา่ อุปกรณ์ ค่าเครือ่ งแบบ คา่ กจิ กรรมพัฒนา รวม

น เรยี น การเรียน นักเรียน คณุ ภาพผเู้ รียน

และเกณฑส์ ถานะครัวเรือน) คนละ ๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี

๕๐๐ ๑,๐๐๐
๕๐๐ ๑,๐๐๐
๕๐๐ ๑,๐๐๐
๕๐๐ ๑,๐๐๐
๕๐๐ ๑,๐๐๐
๕๐๐ ๑,๐๐๐

และเกณฑส์ ถานะครวั เรือน) คนละ ๓,๐๐๐บาท/คน/ปี

๑,๕๐๐ ๓,๐๐๐
๑,๕๐๐ ๓,๐๐๐
๑,๕๐๐ ๓,๐๐๐

ง. โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์
๑) นกั เรยี นประจำ

ภาคเรียนท่ี 2/๒๕63 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64) พ้ืนฐาน

พ้นื ฐาน สมทบ อุปกรณ์ กิจกรรม รวม 850
ชน้ั (ประจำ) การเรยี น พัฒนา 950
950
คุณภาพ 950
ผูเ้ รยี น 950
950
อ.๑-อ.3 850 14,450 100 215 15,615 950
1,750
ป.๑ 950 14,450 195 240 15,835 1,750
1,750
ป.๒ 950 14,450 195 240 15,835 1,900
1,900
ป.๓ 950 14,450 195 240 15,835 1,900

ป.๔ 950 14,450 195 240 15,835

ป.๕ 950 14,450 195 240 15,835

ป.๖ 950 14,450 195 240 15,835

ม.๑ 1,750 14,350 210 440 16,750

ม.๒ 1,750 14,350 210 440 16,750

ม.๓ 1,750 14,350 210 440 16,750

ม.๔ 1,900 14,350 230 475 16,955

ม.๕ 1,900 14,350 230 475 16,955

ม.๖ 1,900 14,350 230 475 16,955

68

ภาคเรียนท่ี 1/2564 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕64) รวม รวม

สมทบ หนงั สอื เรียน อุปกรณ์ เครอื่ งแบบ กิจกรรม 16,115 ภาคเรยี น
(ประจำ) (รวม/ชุด) การเรียน นกั เรยี น พฒั นา 16,851
16,845 31,730
คณุ ภาพ 16,848 32,686
ผู้เรียน 16,902 32,680
17,041 32,683
14,450 200 100 300 215 17,054 32,737
18,008 32,876
14,450 656 195 360 240 18,121 32,889
18,196 34,758
14,450 650 195 360 240 18,839 34,871
18,781 34,946
14,450 653 195 360 240 18,619 35,794
35,736
14,450 707 195 360 240 35,574

14,450 846 195 360 240

14,450 859 195 360 240

14,350 808 210 450 440

14,350 921 210 450 440

14,350 996 210 450 440

14,350 1,384 230 500 475

14,350 1,326 230 500 475

14,350 1,164 230 500 475

๒) นักเรียนไป - กลบั

ชน้ั ภาคเรียนท่ี 2/๒๕63 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64) พ้นื ฐาน
พน้ื ฐาน สมทบ อุปกรณ์ กจิ กรรม รวม
อ.๑-อ.3 850
ป.๑ (ประจำ) การเรียน พฒั นา 950
ป.๒ คุณภาพ 950
ป.๓ ผู้เรยี น 950
ป.๔ 950
ป.๕ 850 3,610 100 215 4,775 950
ป.๖ 950 3,610 195 240 4,995 950
ม.๑ 1,750
ม.๒ 950 3,610 195 240 4,995 1,750
ม.๓ 1,750
ม.๔ 950 3,610 195 240 4,995 1,900
ม.๕ 1,900
ม.๖ 950 3,610 195 240 4,995 1,900

950 3,610 195 240 4,995

950 3,610 195 240 4,995

1,750 3,300 210 440 5,700

1,750 3,300 210 440 5,700

1,750 3,300 210 440 5,700

1,900 3,300 230 475 5,905

1,900 3,300 230 475 5,905

1,900 3,300 230 475 5,905

69

ภาคเรียนที่ 1/2564 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

สมทบ หนงั สอื อปุ กรณ์ เครอ่ื งแบบ กิจกรรม รวม รวม

(ประจำ) เรยี น การเรยี น นกั เรยี น พัฒนา
ภาคเรียน
(รวม/ชุด) คุณภาพ

ผู้เรียน

3,610 200 100 300 215 5,275 10,050
6,011 11,006
3,610 656 195 360 240 6,005 11,000
6,008 11,003
3,610 650 195 360 240 6,062 11,057
6,201 11,196
3,610 653 195 360 240 6,214 11,209
6,958 12,658
3,610 707 195 360 240 7,071 12,771
7,146 12,846
3,610 846 195 360 240 7,789 13,694
7,731 13,636
3,610 859 195 360 240 7,569 13,474

3,300 808 210 450 440

3,300 921 210 450 440

3,300 996 210 450 440

3,300 1,384 230 500 475

3,300 1,326 230 500 475

3,300 1,164 230 500 475

จ. โรงเรียนการศึกษาพเิ ศษ
๑) นักเรยี นประจำ

ภาคเรียนท่ี 2/๒๕63 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

ช้นั พ้ืนฐาน สมทบ อุปกรณ์ กจิ กรรมพัฒนา รวม พื้นฐาน
(ประจำ) การเรียน คุณภาพผู้เรยี น

อ.๑-อ.3 850 14,660 100 215 15,825 850
ป.๑ 950 14,660 195 240 16,045 950
ป.๒ 950 14,660 195 240 16,045 950
ป.๓ 950 14,660 195 240 16,045 950
ป.๔ 950 14,660 195 240 16,045 950
ป.๕ 950 14,660 195 240 16,045 950
ป.๖ 950 14,660 195 240 16,045 950
ม.๑ 1,750 14,550 210 440 16,950 1,750
ม.๒ 1,750 14,550 210 440 16,950 1,750
ม.๓ 1,750 14,550 210 440 16,950 1,750
ม.๔ 1,900 14,350 230 475 16,955 1,900
ม.๕ 1,900 14,350 230 475 16,955 1,900
ม.๖ 1,900 14,350 230 475 16,955 1,900

70

ภาคเรียนท่ี 1/2564 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64) รวม

น สมทบ หนงั สือ อปุ กรณ์ เครอ่ื ง กจิ กรรมพฒั นา รวม ภาคเรยี น

(ประจำ) เรยี น การเรยี น แบบ คุณภาพผเู้ รยี น

(รวม/ชดุ ) นักเรยี น

14,660 200 100 300 215 16,325 32,150

14,660 656 195 360 240 17,061 33,106

14,660 650 195 360 240 17,055 33,100

14,660 653 195 360 240 17,058 33,103

14,660 707 195 360 240 17,112 33,157

14,660 846 195 360 240 17,251 33,296

14,660 859 195 360 240 17,264 33,309

0 14,550 808 210 450 440 18,208 35,158

0 14,550 921 210 450 440 18,321 35,271

0 14,550 996 210 450 440 18,396 35,346

0 14,350 1,384 230 500 475 18,839 35,794

0 14,350 1,326 230 500 475 18,781 35,736

0 14,350 1,164 230 500 475 18,619 35,574

๒) นักเรียนไป - กลบั

ภาคเรยี นที่ 2/๒๕63 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64) พ้ืนฐาน

พื้นฐาน สมทบ อปุ กรณ์ กจิ กรรม รวม 850
ชั้น (ไป-กลับ) การเรยี น พัฒนา 950
950
คุณภาพ 950
ผเู้ รยี น 950
950
อ.๑-อ.3 850 3,610 100 215 4,775 950
1,750
ป.๑ 950 3,610 195 240 4,995 1,750
1,750
ป.๒ 950 3,610 195 240 4,995 1,900
1,900
ป.๓ 950 3,610 195 240 4,995 1,900

ป.๔ 950 3,610 195 240 4,995

ป.๕ 950 3,610 195 240 4,995

ป.๖ 950 3,610 195 240 4,995

ม.๑ 1,750 3,500 210 440 5,900

ม.๒ 1,750 3,500 210 440 5,900

ม.๓ 1,750 3,500 210 440 5,900

ม.๔ 1,900 3,500 230 475 6,105

ม.๕ 1,900 3,500 230 475 6,105

ม.๖ 1,900 3,500 230 475 6,105

71

ภาคเรียนท่ี 1/2564 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64) รวม

สมทบ หนังสอื อุปกรณ์ เคร่อื งแบบ กิจกรรม รวม ๒

(ไป-กลับ) เรยี น การเรยี น นักเรียน พฒั นา ภาคเรยี น

(รวม/ คณุ ภาพ

ชุด) ผเู้ รยี น

3,610 200 100 300 215 5,275 10,050

3,610 656 195 360 240 6,011 11,006

3,610 650 195 360 240 6,005 11,000

3,610 653 195 360 240 6,008 11,003

3,610 707 195 360 240 6,062 11,057

3,610 846 195 360 240 6,201 11,196

3,610 859 195 360 240 6,214 11,209

3,500 808 210 450 440 7,158 13,058

3,500 921 210 450 440 7,271 13,171

3,500 996 210 450 440 7,346 13,246

3,500 1,384 230 500 475 7,989 14,094

3,500 1,326 230 500 475 7,931 14,036

3,500 1,164 230 500 475 7,769 13,874

ฉ. ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ

ภาคเรียนท่ี 2/๒๕63 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

ชนั้ ค่าอาหาร ปัจจยั อปุ กรณ์ กิจกรรม รวม คา่ อาหาร
พื้นฐาน การเรียน พฒั นา
ประจำ นักเรียน คุณภาพ 14,315 13,500
ไป-กลบั ประจำ ผ้เู รียน 3,945 2,970

13,500 500 100 215

3,630 - 100 215

สำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ ได้รับเงินอุดหนุนโครงการสนับส
จำนวน 4 รายการ ได้แก่ ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแ
และปัจจัยพื้นฐานนักเรียนประจำ ซึ่งได้รับจัดสรรในผลผลิตเด็กพิการได้รับ
ไปตามรายการคา่ จดั การเรยี นการสอน (เงนิ อุดหนนุ รายหวั )

72

ภาคเรยี นท่ี 1/2564 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64)

ร ปจั จัย หนังสอื อุปกรณ์ เครือ่ งแบ กจิ กรรม รวม รวม
พื้นฐาน เรยี น การเรียน บนกั เรียน พัฒนา ๒
นกั เรียน รวม/ชดุ คณุ ภาพ ภาคเรียน
ประจำ 100 300 ผูเ้ รยี น
200 100 300 29,130
500 200 215 14,815 7,730

- 215 3,785

สนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในส่วนเงินอุดหนุนค่าอาหาร
บการศึกษาขั้นพื้นฐานและการพัฒนาสมรรถภาพ โดยให้บริหารงบประมาณให้เป็น

73

ด่วนที่สดุ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ กทม. ๑๐๓๐๐
ท่ี ศธ ๐๔๐๐๖/พเิ ศษ ๒๒

๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๔

เรือ่ ง การเก็บเงนิ บำรงุ การศึกษาและการระดมทรพั ยากร

เรียน ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาทุกเขต

สิ่งท่ีส่งมาด้วย ๑. สำเนาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรอื่ งการเก็บเงินบำรุงการศึกษาของสถานศึกษา
สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน จำนวน ๑ ชุด

2. หลักเกณฑเ์ งนิ บำรงุ การศึกษาของสถานศึกษาสังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
จำนวน ๑ ชดุ

๓. สำเนาประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรอื่ งการระดมทรัพยากรของสถานศกึ ษาสงั กัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน จำนวน ๑ ชดุ

๔. แนวปฏิบัติการระดมทรัพยากรของสถานศกึ ษาสังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พนื้ ฐาน จำนวน ๑ ชดุ
ด้วยรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ออกประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรอ่ื งการเก็บเงินบำรุง

การศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรือ่ งการระดมทรพั ยากรของสถานศกึ ษาสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

ในการนี้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงขอให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา แจง้ สถานศึกษาในสังกดั ทราบและถอื ปฏิบตั ิตาม

1. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ืองการเก็บเงินบำรงุ การศึกษาสถานศึกษา สงั กัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

2. หลักเกณฑ์การเก็บเงินบำรุงการศึกษาสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขนั้ พื้นฐาน

3. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

๔. แนวปฏิบัติการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน ดังส่ิงที่สง่ มาด้วย

จงึ เรียนมาเพื่อทราบและพจิ ารณาดำเนนิ การตอ่ ไป

ขอแสดงความนับถือ

(นายชนิ ภัทร ภมู ริ ัตน)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๘๕๖ โทรสาร๐-๒๒๘๘-๕๘๕๖

74

ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ
เรื่อง การเกบ็ เงินบำรุงการศึกษาของสถานศกึ ษา
สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

------------------------------------

ด้วยกระทรวงศึกษาธิการเห็นสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเก็บ
เงินบำรุงการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกาศ
ณ วันท่ี ๒๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ จงึ ยกเลกิ ประกาศดังกล่าวและให้ใชป้ ระกาศฉบับนี้แทน

เพื่อให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ หนังสือสำนักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกา ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๙๐๑/๐๖๘๗ ลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๑เรื่อง การเก็บค่าใช้จ่าย
เพื่อจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง
ศึกษาธิการจึงกำหนดให้สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เก็บเงินบำรุงการศึกษาเพื่อเป็นค่าใช้จ่าย ในการจัดการเรียนการสอนนอกหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งมุ่งเน้นหลักสูตรที่มีเนื้อหาสาระมากกว่าปกติ การสอนด้วยบุคลากรพิเศษ การสอน
ด้วยรูปแบบ หรือวิธีการที่แตกต่างจาก การเรียนการสอนปกติ หรือการสอนที่ใช้สื่อนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีที่จัดหาให้เป็นพิเศษตามอัตราที่เหมาะสม กับสภาพฐานะทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น
โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และเป็นไปด้วยความสมัครใจ
ของผู้ปกครองและนักเรียน ภายใต้หลกั เกณฑ์ที่สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐานกำหนด

ท้ังนี้ ตั้งแต่บดั นี้เปน็ ต้นไป
ประกาศ ณ วันท่ี ๒๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๔

(นายวรวจั น์ เอ้อื อภิญญกุล)
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

75

หลกั เกณฑก์ ารเกบ็ เงินบำรุงการศึกษาของสถานศกึ ษา
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

----------------------------

ด้วยปัจจุบันสถานศึกษาได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาล เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัด
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ค่าจัดการเรียนการสอน ค่าหนังสือเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน ค่าอุปกรณ์
การเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นต้น แต่ในการจัดการศึกษาสำหรับสถานศึกษา
ที่มีความพร้อม และมีศักยภาพเป็นสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงต้องการจะเพิ่มพูนประสิทธิภาพและ
คุณภาพการศึกษาของผู้เรียนด้วยรูปแบบ วิธีการ ส่ืออุปกรณ์ และบุคลากรที่ทำการสอนเพิ่มเติม
จากเกณฑ์มาตรฐานทั่วไปของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นกรณีพิเศษ โดยมีค่าใช้จ่าย
นอกเหนือจากค่าใช้จ่ายที่รัฐจัดสรรให้ กอปรกับการตอบข้อหารือของสำนักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกา เห็นว่า สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ื นฐานสามารถประกาศให้สถานศึกษา
ของรัฐในสงั กดั เก็บคา่ ใช้จา่ ย เพื่อจดั การศึกษานอกหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐานได้

ในการจัดการศึกษาที่ผ่านมาสถานศึกษาจำนวนมากได้จัดการศึกษาโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
ตามมาตรา ๔๙ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แล้ว แต่ยังมีสถานศึกษาบางแหง่
เก็บค่าใช้จ่ายเพื่อจัดการศึกษาเพิ่มเติมจากเกณฑ์มาตรฐานทั่วไปของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป็นกรณีพิเศษ ดังนั้น เพื่อให้การขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายเป็นไปในแนวทางเดียวกันและการมีส่วนร่วม
สนับสนุนให้สถานศึกษามีความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษารวมทั้งเป็นการคุ้มครอง ผู้ปกครองมิให้
เกดิ ผลกระทบต่อภาระค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาของนักเรียนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
จงึ กำหนดหลกั เกณฑ์ให้สถานศึกษาถือปฏิบัติดังน้ี

ก. สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่สามารถเรียกเก็บเงิน
สนบั สนุนจากนักเรียนหรือผูป้ กครองได้ เน่ืองจากรัฐบาลไดจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณเพ่ืออุดหนุนให้แลว้ ดงั นี้

๑. ค่าเล่าเรยี น
๒. คา่ หนังสอื เรียน
๓. ค่าอปุ กรณ์การเรียน
๔. คา่ เครอื่ งแบบนักเรียน
๕. ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดกจิ กรรมวิชาการ ปลี ะ ๑ ครง้ั
๖. ค่าใช้จา่ ยในการจัดกิจกรรมคุณธรรม/ ชุมนมุ ลกู เสอื / เนตรนารี /ยุวกาชาด ปลี ะ ๑ คร้ัง
๗. คา่ ใชจ้ ่ายในการไปทัศนศึกษา ปีละ ๑ ครง้ั
๘. ค่าใช้จ่ายในการใหบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ตตามหลักสูตร และท่เี พมิ่ เตมิ จากหลักสูตรปีละ ๔๐ ชว่ั โมง
9. คา่ วัสดุฝกึ สอน สอบพ้ืนฐาน
๑๐. ค่าสมุดรายงานประจำตัวนักเรียน
๑๑. ค่าบริการห้องสมดุ ขนั้ พื้นฐาน
๑๒. คา่ บรกิ ารห้องพยาบาล
๑๓. ค่าวสั ดุสำนกั งาน
๑๔. ค่าวัสดุเชื้อเพลงิ และหล่อลื่น
1๕. คา่ วสั ดงุ านบา้ นงานครวั
1๖. คา่ อุปกรณ์กฬี า
๑๗. ค่าซ่อมแซมครุภณั ฑแ์ ละอุปกรณ์การเรียนการสอน

76

๑๘. คา่ ใช้จ่ายในการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน
๑๙. ค่าคมู่ ือนกั เรยี น
๒๐. ค่าบตั รประจำตวั นกั เรียน
๒๑. คา่ ปฐมนิเทศนกั เรยี น
๒๒. คา่ วารสารโรงเรยี น

สำหรับรายการที่ ๑๙, ๒๐, ๒๑ และ ๒๒ หากโรงเรียนได้จัดทำเป็นลักษณะพิเศษอย่างมี
คุณภาพ สามารถขอรบั การสนบั สนุนได้โดยประหยดั ตามความจำเป็นเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจของทอ้ งถน่ิ

ข. สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนนอกเหนือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อส่งเสริม
และพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้นักเรียนเกินมาตรฐานที่รัฐจัดให้ สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายไ ด้
ตามความสมคั รใจของผู้ปกครองและนักเรยี น ดงั นี้

ที่ รายการ อตั ราการเกบ็ / คน / ภาคเรยี น
๑ ห้องเรียนพเิ ศษ EP (English Program) ไม่เกิน ๓๕,๐๐๐ บาท

- ระดบั ก่อนประถมศึกษาถงึ มัธยมศกึ ษาตอนต้น

- ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ไมเ่ กิน ๔๐,๐๐๐ บาท

๒ ห้องเรียนพิเศษ MEP (Mini English Program)
- ระดบั กอ่ นประถมศึกษาถงึ มัธยมศกึ ษาตอนต้น ไม่เกนิ ๑๗,๕๐๐ บาท

- ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท

๓ หอ้ งเรยี นพิเศษด้านภาษาต่างประเทศด้านวิชาการ เท่าทีจ่ ่ายจริง ตามความจำเป็นและเหมาะสม

และดา้ นอ่ืน ๆ (เช่น ห้องเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร์ กบั สภาพฐานะทางเศรษฐกิจของทอ้ งถนิ่ ยกเว้น
ห้องเรียนพิเศษคณติ ศาสตร์ เปน็ ต้น) ค่าใช้จ่ายห้องเรยี นพเิ ศษ ด้านภาษาอังกฤษ
ให้เก็บได้ไมเ่ กนิ ครึ่งหน่ึงของห้องเรยี น MEP

การเปิดห้องเรียนพิเศษต้องได้รับอนุมัติจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือ
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา แล้วแต่กรณี

ค. สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถของนักเรียน
ที่นอกเหนือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายได้ตามความสมัครใจ
ของผู้ปกครองและนักเรยี น โดยไมร่ อนสิทธ์ินักเรยี นทีด่ ้อยโอกาส ดงั น้ี

ที่ รายการ อัตราการเกบ็ / คน / ภาคเรยี น
๑ โครงการพฒั นาทกั ษะตามความถนดั
เทา่ ท่จี า่ ยจริง ตามความจำเป็นและเหมาะสมกับสภาพ
ของนักเรยี นนอกเวลาเรยี น ฐานะทางเศรษฐกจิ ของท้องถ่ินทกุ รายการรวมกนั ไม่เกิน
๑,๒๕๐ บาทต่อภาคเรยี น
๒ คา่ จา้ งครูชาวตา่ งประเทศ
๓ ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก

๔ ค่าเรียนปรับพืน้ ฐานความรู้

77

ง. สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนเสริมเพิ่มเติมให้กับนักเรียนนอกเหนือจากเกณฑ์มาตรฐาน
ทวั่ ไป ท่ีไดง้ บประมาณจากรฐั อาจขอรบั การสนับสนนุ คา่ ใช้จ่ายไดเ้ ท่าท่ีจ่ายจริง โดยประหยดั ตามความจำเป็น
และเหมาะสมกบั สภาพฐานะทางเศรษฐกิจของท้องถน่ิ ตามความสมคั รใจของผปู้ กครองและนักเรยี น ดงั นี้

๑. คา่ จ้างครูท่ีมีความเชีย่ วชาญในสาขาเฉพาะ
๒. คา่ สาธารณปู โภคสำหรับหอ้ งเรยี นปรับอากาศ
๓. ค่าสอนคอมพิวเตอร์ กรณีโรงเรียนจัดคอมพิวเตอร์ให้นักเรียนเกินมาตรฐานที่รัฐจัดให้
(๑ เคร่ือง : นกั เรยี น ๒๐ คน)
๔. ค่าใช้จ่ายในการจัดร่วมโครงการ โครงงาน และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเกินมาตรฐาน
ทร่ี ัฐจัดให้
๕. ค่าใชจ้ า่ ยในการไปทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรูข้ องนักเรียนเกนิ มาตรฐานท่ีรัฐจดั ให้
จ. สถานศึกษาที่จดั ให้มีการดูแลด้านสวัสดิการ และสวัสดิภาพนักเรียน อาจขอรับการสนบั สนนุ
ค่าใช้จ่ายไดเ้ ท่าที่จา่ ยจริงโดยประหยัด ตามความจำเป็นและเหมาะสมกบั สภาพฐานะทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น
ตามความสมัครใจของผู้ปกครองและนักเรียน ดงั นี้
๑. คา่ ประกันชีวิตนักเรียน / คา่ ประกันอุบัตเิ หตุนักเรยี น
๒. ค่าจ้างบุคลากรทปี่ ฏบิ ตั งิ านในสถานศกึ ษา
๓. ค่าตรวจสุขภาพนักเรยี นเป็นกรณีพิเศษ นอกเหนือจากการใหบ้ ริการสาธารณสขุ ของรัฐ
๔. คา่ อาหารนกั เรยี น
๕. คา่ หอพกั
๖. คา่ ซกั รดี
สำหรับสถานศึกษาที่จัดให้นักเรียนอยู่ประจำ สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย
ตามข้อ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, และ ๖ ได้เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด ตามความจำเป็นและเหมาะสมกับ สภาพฐานะ
ทางเศรษฐกิจของท้องถ่ิน
ฉ. สถานศึกษาต้องพจิ ารณาให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้อยโอกาสให้ไดเ้ รียน โดยไม่รอนสิทธิ์
ที่จะได้รับ ดงั นี้
๑. การเรียนกับครูชาวต่างประเทศ หากสถานศึกษามีการจัดให้นักเรียนทุกคน ควรจัดให้
นักเรียนด้อยโอกาสไดเ้ รยี นสัปดาหล์ ะไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ชั่วโมง
๒. การเรียนการสอนโดยครทู ี่สถานศึกษาจ้างหรือโดยวทิ ยากรภายนอก
๓. คา่ สาธารณูปโภคสำหรบั หอ้ งเรยี นปรับอากาศ
๔. ค่าตรวจสุขภาพนักเรยี นเป็นกรณพี ิเศษ นอกเหนือจากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐ
๕. คา่ เรียนปรบั พน้ื ฐานความรู้
๖. ค่าอาหารนักเรียน
7. การเขา้ รว่ มกิจกรรมวิชาการ/คณุ ธรรม/ชมุ นุมลูกเสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาดและการไปทัศนศึกษา
๘. การเรยี น การฝกึ ใช้คอมพวิ เตอร์ และการใชบ้ ริการอินเตอร์เน็ตปลี ะ ๔๐ ชว่ั โมง
อนึ่ง การเก็บเงินบำรุงการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ตามข้อ ข, ค, ง, จ และ ฉ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
และได้รับอนุมัติจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาก่อน จึงจะดำเนินการขอรับการสนับสนุนได้โดยให้มี
การประกาศประชาสัมพนั ธ์ให้กบั ผปู้ กครองและนักเรียนทราบลว่ งหนา้

78

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรอ่ื ง การระดมทรพั ยากรของสถานศกึ ษา
สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

-------------------------------
ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ เห็นกำหนดแนวปฏิบัติการระดมทรัพยากรของสถานศึกษา สังกัด
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
เพื่อให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากรเพื่อจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตามมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดให้สถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานระดมทรัพยากรเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงานวิชาการ การบริหาร
งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไป โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และเป็นไปด้วยความสมัครใจภายใต้หลักเกณฑ์ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กำหนด
ท้งั น้ี ตัง้ แต่บดั นเี้ ปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๔

(นายวรวจั น์ เอ้ืออภิญญกลุ )
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ

79

แนวปฏบิ ัติการระดมทรัพยากรของสถานศึกษา
สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

----------------------------

ด้วยปัจจุบันการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนประกอบกับ
มาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
และแกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ เปดิ โอกาสให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทนุ ดา้ นงบประมาณ
การเงินและทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคลครอบครัว ชุมชนองค์กร ชุมชนเอกชน
องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น และต่างประเทศมาใช้จัด
การศึกษา ดังนั้น เพื่อให้การระดมทรัพยากรเป็นไปในแนวทางเดียวกัน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน จงึ กำหนดหลักเกณฑใ์ หส้ ถานศกึ ษาถอื ปฏิบตั ิดงั น้ี

๑. สถานศึกษาสามารถระดมทรัพยากรได้ตามมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ตลอดปี

๒. การระดมทรัพยากรตอ้ งเป็นไปดว้ ยความสมัครใจตามความเหมาะสมและความจำเปน็
๓. สถานศึกษาต้องแต่งตั้งคณะกรรมการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมและ
ให้แรงจูงใจในการระดมทรพั ยากรจากบุคคลครอบครัว ชุมชนองค์กร ชมุ ชนเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอ่ืน
๔. สถานศึกษาต้องเสนอแผนและโครงการในการระดมทรัพยากรเพื่อขอความเห็นชอบต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
๕. การใช้จ่ายทรัพย์สินและทรัพยากรอื่นที่ได้รับจากการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาจะต้อง
สอดคลอ้ งกบั โครงการทไ่ี ด้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
๖. สถานศึกษาต้องรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการระดมทรัพยากรต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

.........................................................

80

เลม่ 133 ตอนพิเศษ 136 ง หน้า 11 15 มถิ นุ ายน 2559
ราชกจิ จานุเบกษา

คำสงั่ หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ

ที่ ๒๘/๒๕๕๙
เรือ่ ง ให้จดั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ๑๕ ปี โดยไมเ่ ก็บคา่ ใชจ้ ่าย

ตามที่กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติกำหนดให้รัฐต้องจัดให้บุคคลได้รับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายนั้น รัฐบาลที่ผ่านมามีนโยบายจัดการศึกษาดังกล่าว
โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายเป็นเวลา ๑๕ ปี ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๒ โดยขออนุมัติ
ตั้งงบประมาณเป็นรายปีและขยายขอบเขตการดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลแต่ละคณะมาเป็นลำดับ
หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นว่าโดยที่เรื่องนี้สอดคล้องกับนโยบายด้านการศึกษา
ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และนโยบายปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาล ทั้งสามารถลดความเหลื่อมล้ำ
สร้างโอกาสทางการศึกษาและความเป็นธรรมในสังคม แก้ปัญหาความยากจน ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน จึงสมควรยืนยันแนวทางดังกล่าวและ
พัฒนาต่อไปด้วยการยกระดับจากการเป็นโครงการตามนโยบายของแต่ละรัฐบาลให้เป็นหน้าที่ของรัฐและ
มาตรการตามกฎหมาย เพื่อเป็นหลักประกันความยั่งยืนมั่นคงและเพื่อให้สามารถจัดงบประมาณสนับสนุนได้
อย่างต่อเนือ่ ง

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
จงึ มีคำส่ัง ดงั ต่อไปนี้

ขอ้ ๑ ในคำสง่ั น้ี
“ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา” หมายความว่า งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้แก่หรือผ่านทาง
สถานศึกษา หรือผจู้ ัดการศกึ ษาเพ่ือเป็นค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ๑๕ ปี
“การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี” หมายความว่า การศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา
(อนุบาล) (ถา้ มี) ระดบั ประถมศึกษา จนถึงมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ หรือระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช. ๓) หรือ
เทยี บเทา่ และใหห้ มายความรวมถงึ การศึกษาพเิ ศษและการศึกษาสงเคราะหด์ ้วย
“การศึกษาพิเศษ” หมายความว่า การจัดการศึกษาให้แก่บุคคลซึ่งมีความผิดปกติ
อย่างหนึ่งอย่างใด ซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้เป็นรูปแบบโดยเฉพาะ และอาศัยเทคนิคต่าง ๆ ในการสอน
ตามลกั ษณะความตอ้ งการและความจำเป็นของแต่ละบคุ คล
“การศกึ ษาสงเคราะห์” หมายความวา่ การจัดการศกึ ษาใหแ้ ก่เด็กท่ีตกอยู่ในภาวะยากลำบาก
หรืออยู่ในสถานภาพที่ด้อยกว่าเด็กทั่วไป หรือที่มีลักษณะเป็นการกุศล เพื่อให้มีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน
มพี ัฒนาการท่ีถูกต้องและเหมาะสมกับวัย
ข้อ ๒ ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดเตรียมการเพื่อจัดให้เด็กเล็ก
ก่อนวัยเรียนได้รับการดูแล และพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาโดยส่งเสริมและ
สนบั สนุนให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ และภาคเอกชนเข้ามีส่วนรว่ มในการดำเนินการด้วย

81

ข้อ ๓ ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานดำเนินการจัดการศึกษา
ข้นั พนื้ ฐาน ๑๕ ปี ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ โดยไม่เก็บคา่ ใชจ้ ่าย

ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีกำหนดอัตรา
ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี เพื่อเสนอตามกระบวนการจดั ทำงบประมาณ
รายจา่ ยประจำปี

ค่าใช้จา่ ยตามวรรคสอง ไดแ้ ก่
(๑) ค่าจัดการเรียนการสอน
(๒) คา่ หนงั สือเรียน
(๓) ค่าอุปกรณก์ ารเรยี น
(๔) ค่าเครื่องแบบนกั เรยี น
(๕) คา่ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น
(๖) ค่าใช้จา่ ยอ่นื ตามท่คี ณะรัฐมนตรีเหน็ ชอบ
ข้อ ๔ ให้กระทรวงศึกษาธิการจัดทำหรือปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาใช้แทนและ
ขยายผลต่อจากคำสัง่ น้แี ล้วเสนอคณะรัฐมนตรพี ิจารณาภายในหกเดือนนบั แต่วนั ท่ีคำสงั่ นี้ใชบ้ ังคบั
ข้อ ๕ ในกรณีมีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคำส่ังน้ี ให้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ
มีอำนาจวนิ ิจฉยั ชี้ขาด
ข้อ ๖ ให้อัตราค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่มีผลใช้อยู่ในวันก่อนวันที่คำสั่งนี้ใช้บังคับ ยังคงมีผลใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการกำหนดอัตราค่าใช้จ่าย
สำหรบั การจัดการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ๑๕ ปี ตามขอ้ ๓
ขอ้ ๗ คำสงั่ นใ้ี ห้ใช้บังคับต้งั แตว่ นั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป

สัง่ ณ วันท่ี ๑๕ มถิ ุนายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๙
พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา

หัวหนา้ คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ

82

83

ท่ี ศธ ๐๔๐๐๖/ว 2018 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร กทม. ๑๐๓๐๐

2 มถิ ุนายน ๒๕63

เรื่อง แจ้งแนวทางการดำเนินงานและบริหารงบประมาณการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ในช่วงสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

เรียน ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาทุกเขต

อ้างถงึ หนงั สือประทับตรา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ที่ ศธ 04006/ว1556
ลงวนั ท่ี 20 เมษายน 2563
ตามหนังสือที่อ้างถึง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แจ้งแนวทาง

การดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ความละเอยี ดแจ้งแล้ว นัน้

ในการนี้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทำแนวทางการดำเนินงาน
และบริหารงบประมาณการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
รายการค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน (เพ่มิ เติม) ในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) จากเดิม รายการค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีแนวทางให้สถานศึกษาดำเนินการ
จัดกิจกรรมให้แก่นักเรียน ดังนี้ 1) กิจกรรมวิชาการ 2) กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม ลูกเสือ เนตรนารี
ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ 3) กิจกรรมทัศนศึกษา และ 4) กิจกรรมการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร (ICT) เพิ่มเติม กิจกรรมที่ 5 คือ กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนทางไกลในช่วงสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เช่น การผลิตสื่อการเรียนการสอน ใบงาน
แบบฝึกหัด และคา่ ใชจ้ ่ายในการติดตามและเยี่ยมบ้านนักเรยี นที่เป็นค่าเบี้ยเลย้ี ง ค่าพาหนะ ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นต้น เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนทางไกล
ในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ทั้งน้ี ขอให้สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาแจ้งสถานศึกษาในสังกัดทราบและถือปฏบิ ตั ิ พรอ้ มทั้ง
ตรวจสอบ กำกับ ติดตาม การดำเนินงานตามแนวทางการดำเนินงานและบริหารงบประมาณการสนับสนุน
ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้เป็นไปตามกฎหมาย และระเบียบ
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งโดยเครง่ ครัด

จึงเรียนมาเพือ่ ทราบ และดำเนนิ การในสว่ นทีเ่ กีย่ วขอ้ งต่อไป
ขอแสดงความนับถือ

(นายกวนิ ทร์เกยี รติ นนธพ์ ละ)
รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ปฏิบัติราชการแทน

เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
โทร. 0 2288 5851
โทรสาร 0 2280 5515

84

คำสง่ั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

ท่ี 44 /2564

เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานประชุมจัดทำแนวทางการดำเนินงานและการบริหารงบประมาณการสนับสนุนค่าใช้จ่าย
ในการจัดการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ด้วย สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ไดด้ ำเนนิ งานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย
ในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมการสนับสนุนค่าใช้จ่าย
ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 5 รายการ
จำแนกตามรายการ ดังนี้ 1) ค่าจัดการเรียนการสอน 2) ค่าหนังสือเรียน 3) ค่าอุปกรณ์การเรียน 4) ค่าเครื่องแบบ
นักเรียน และ 5) ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการศึกษา
ตงั้ แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานที่มีคณุ ภาพและมาตรฐาน

เพื่อให้การบริหารงบประมาณการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำแนวทางการดำเนินงานและการบริหาร
งบประมาณการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังน้ี

ท่ปี รกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

1. นายอัมพร พินะสา ผูท้ รงคุณวุฒิ
ผู้ทรงคณุ วุฒิ
2. นายชยั พฤกษ์ เสรรี กั ษ์ ที่ปรึกษาพิเศษ
3. นายชลำ อรรถธรรม
4. นายวันชยั ธงชัย

คณะทำงาน

1. ว่าที่ ร.ต. ธนุ วงษ์จินดา รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ประธานคณะทำงาน

2. นายสุรินทร์ สว่างอารมณ์ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ รองประธานคณะทำงาน

ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีผู้อำนวยการ

สำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

3. ผอู้ ำนวยการสำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา หรอื ผู้แทน คณะทำงาน

4. ผอู้ ำนวยการสำนกั การคลงั และสนิ ทรัพย์ หรือผูแ้ ทน คณะทำงาน

5. ผู้อำนวยการสำนกั ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน หรอื ผแู้ ทน คณะทำงาน

6. ผู้อำนวยการสำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ หรือผู้แทน คณะทำงาน

7. ผ้อู ำนวยการ...

85

-2–

7. ผู้อำนวยการสำนักพฒั นานวตั กรรมการจัดการศึกษา หรอื ผ้แู ทน คณะทำงาน

8. ผูอ้ ำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน หรือผ้แู ทน คณะทำงาน

9. นางสาวลิลนิ ทรงผาสกุ ผ้อู ำนวยการกลุม่ พฒั นาระบบบรหิ าร คณะทำงาน

กล่มุ พัฒนาระบบบรหิ าร

10. นายรฏั ฐกร ฟ้องเสียง ผอู้ ำนวยการสำนักนติ ิการ คณะทำงาน

สำนักนิติการ

11. นายพิทักษ์ โสตถยาคม นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน

รักษาการในตำแหนง่ นักวิชาการศึกษาเชีย่ วชาญ

ปฏิบตั หิ นา้ ทผ่ี ้อู ำนวยการสำนักงานบรหิ ารพ้ืนท่ีนวตั กรรมการศึกษา

12. นายพพิ ัฒน์ เพ็ชรพรหมศร ผู้อำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน คณะทำงาน

สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 1

13. นายพิเชฏษ์ จบั จติ ต์ ผู้อำนวยการกลมุ่ พฒั นาสือ่ การเรียนรู้ คณะทำงาน

สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา

14. นางภาวณิ ี แสนทวสี ุข ผอู้ ำนวยการกลมุ่ พัฒนาหลักสตู ร คณะทำงาน

และสง่ เสริมการศกึ ษาปฐมวัย

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

15. นางสาวศรณ์วรชั ท์ ทองเก่า ผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ คณะทำงาน

สำนักการคลงั และสินทรัพย์

16. นางสาวเจตนา พรมประดษิ ฐ์ นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน

สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา

17. นางนฤมล พงศ์ไพสิทธ์ิ นักวชิ าการตรวจสอบภายในชำนาญการ คณะทำงาน

กลมุ่ ตรวจสอบภายใน

18. นางสาวสำเภาเงิน ชาตสิ ำราญ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการ คณะทำงาน

สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ

19. นายสุณฐั พงศ์ โคตรแปร นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ คณะทำงาน

สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ

20. ผู้อำนวยการกล่มุ ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษา หรือผ้แู ทน คณะทำงาน

สำนกั นโยบายและแผนการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

21. ผอู้ ำนวยการกลมุ่ วิจัยและพฒั นานโยบาย หรอื ผู้แทน คณะทำงาน

สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

22. ผู้อำนวยการกลุม่ สารสนเทศ หรอื ผ้แู ทน คณะทำงาน

สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

23. ผู้อำนวยการศนู ยพ์ ฒั นาระบบข้อมลู ทางการศึกษา หรือผแู้ ทน คณะทำงาน

สำนกั นโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

24. นางสาววภิ าภรณ์ ฤทธช์ิ ยั เจา้ พนักงานธรุ การชำนาญงาน คณะทำงาน

สำนกั นโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

25. นางสาว...

86

-3–

25. นางสาวนันทพร ลิมปกาญจน์เวช นักวิชาการพสั ดปุ ฏิบตั ิการ คณะทำงาน

สำนกั การคลังและสนิ ทรัพย์

26. นายจักรพนั ธ์ อมั รนันท์ พนักงานธรุ การ คณะทำงาน

สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

27. นางเบญจวรรณ ดวงใจ ผอู้ ำนวยการกล่มุ งบประมาณ 1 คณะทำงานและเลขานุการ

สำนักนโยบายและแผนการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

28. นางสาวกรชนก เขอ่ื นเพชร นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ คณะทำงานและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

สำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

29. นางสาวปพิชญา พฒุ นา นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ

สำนักนโยบายและแผนการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

30. นายชาญณรงค์ มงคลศิวกุล นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร คณะทำงานและผชู้ ่วยเลขานุการ

สำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

โดยให้คณะทำงานมหี นา้ ที่
๑. เสนอผลการดำเนินงานตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ

อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕63 เพอื่ ทราบปญั หา อปุ สรรค และแนวทางแกไ้ ขในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕64

๒. ระดมความคิดเห็นและจัดทำร่างแนวทางการดำเนินงานและการบริหารงบประมาณการ
สนบั สนุน ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64

๓. จัดทำแนวทางการดำเนินงานและการบริหารงบประมาณการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัด
การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕64

ทง้ั นี้ ตง้ั แตบ่ ัดนี้เป็นต้นไป

ส่ัง ณ วนั ที่ 12 มกราคม พ.ศ. ๒๕64

(นายอมั พร พนิ ะสา)
เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

87

ศูนยป์ ระสานงาน

ภาพรวมของโครงการ/การจดั สรรงบประมาณ
สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๘๕1 ,0-๒๒๘0-๕๕1๒
โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๕๕๑๕

หนงั สอื เรยี น
สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๗๓๕ , ๐-๒๒๘๘-๕๗๓๖

การจดั ซ้ือจัดจา้ ง
สำนักการคลงั และสนิ ทรัพย์ โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๕๒๔, 0-๒๒๘๘-๕๕22

เปิดดบู ัญชีจัดสรรได้จาก
http://plan.bopp-obec.info/

รายงานข้อมลู จำนวนนักเรียน
https://bopp-obec.info/

เปิดดแู นวทางการจัดซ้ือหนงั สือเรยี นได้จาก
http://academic.obec.go.th และ http://academic.obec.go.th/textbook/web/


Click to View FlipBook Version