290 ข้อที่ 5 แปดเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งรวมกับอีกหนึ่งในแปดของจำนวนนั้น เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้อย่างไร (วิเคราะห์) ก. 8(x+ ) ข. 8x+ ค. 8(x+ ) ง. x + จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3 สามารถหาคำตอบของสมการโดยใช้วิธีลอง แทนค่าตัวแปร ข้อที่ 1 จงตรวจสอบว่า 10 เป็นคำตอบของสมการใด (เข้าใจ) ก. 7 + 3 = z + 3 ข. z + 3 = 7 ค. z - 3 = 7 ง. ไม่มีข้อใดถูก ข้อที่ 2 จงตรวจสอบว่า 2 เป็นคำตอบของสมการใด (เข้าใจ) ก. ข. m = 2 - 4 ค. m + 6 = -2+6 ง. 12+8 = m + 2 ข้อที่ 3 ข้อใดเป็นการแทนค่าตัวแปรจากสมการ a + 5 = 2 ได้ถูกต้อง โดย กำหนดให้ a = (-3) (เข้าใจ) ก. (-3) + 5 = 2 ข. 2 + 5 = (-3) ค. 3 - 5 = 2 ง. 2 - 5 = 3 ข้อที่ 4 ข้อใดเป็นการแทนค่าตัวแปรจากสมการ 2y = 10 ได้ถูกต้อง โดย กำหนดให้ y = m (เข้าใจ) ก. 2y = 10m ข. 2m = 10y ค. 2y = m ง. 2m = 10 ข้อที่ 5 ข้อใดเป็นการแทนค่าตัวแปรจากสมการ 5z - 5 = 21 ได้ถูกต้อง โดย กำหนดให้ 5z = n (เข้าใจ) ก. 5n - 5 = 21 ข. n - 5 = 21
291 ค. 5z - 5 = 21m ง. n - 5 = 21z จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4 สามารถบอกสมบัติการเท่ากันถูกต้อง ข้อที่ 1 ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติสมมาตรได้ถูกต้อง (เข้าใจ) ก. ถ้า x = y และ y = 3 และจะสรุปได้ว่า x = 3 ข. ถ้า a + b = c และจะสรุปได้ว่า c = a + b ค. ถ้า 2 x 3 = 6 แล้ว (2 x 3) + (-5) = 6 +(-5) ง. ถ้า n = 2 แล้ว 3n = 6 ข้อที่ 2 ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติถ่ายทอดได้ถูกต้อง (เข้าใจ) ก. ถ้า x = y และ y = 3 และจะสรุปได้ว่า x = 3 ข. ถ้า a + b = c และจะสรุปได้ว่า c = a + b ค. ถ้า 2 x 3 = 6 แล้ว (2 x 3) + (-5) = 6 +(-5) ง. ถ้า n = 2 แล้ว 3n = 6 ข้อที่ 3 ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวกได้ ถูกต้อง (เข้าใจ) ก. ถ้า x = y และ y = 3 และจะสรุปได้ว่า x = 3 ข. ถ้า a + b = c และจะสรุปได้ว่า c = a + b ค. ถ้า 2 x 3 = 6 แล้ว (2 x 3) + (-5) = 6 +(-5) ง. ถ้า n = 2 แล้ว 3n = 6 ข้อที่ 4 ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณได้ ถูกต้อง (เข้าใจ) ก. ถ้า x = y และ y = 3 และจะสรุปได้ว่า x = 3 ข. ถ้า a + b = c และจะสรุปได้ว่า c = a + b ค. ถ้า 2 x 3 = 6 แล้ว (2 x 3) + (-5) = 6 +(-5) ง. ถ้า n = 2 แล้ว 3n = 6 ข้อที่ 5 ให้ m + 1 = 4 และ 4 = n ดังนั้น m + 1 = n เป็นสมบัติการ เท่ากันตามข้อใด (เข้าใจ) ก. สมบัติสมมาตร ข. สมบัติถ่ายทอด ค. สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวก ง. สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 5 สามารถหาคำตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปร เดียวโดยใช้สมบัติการเท่ากันได้ ข้อที่ 1 ข้อใดคือคำตอบของ 99 + k = 150 (เข้าใจ) ก. 48 ข. 51
292 ค. 63 ง. 65 ข้อที่ 2 ข้อใดคือคำตอบของ 40 = 4k (เข้าใจ) ก. 2 ข. 5 ค. 8 ง. 10 ข้อที่ 3 ข้อใดคือคำตอบของ b - 10 = -5 (เข้าใจ) ก. 5 ข. 15 ค. -15 ง. -5 ข้อที่ 4 ข้อใดคือคำตอบของ (เข้าใจ) ก. 48 ข. -48 ค. 14 ง. -14 ข้อที่ 5 ข้อใดคือคำตอบของ 6(x + 1) = 3x (เข้าใจ) ก. 2 ข. -2 ค. 1 ง. -1 จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 6 สามารถหาคำตอบจากโจทย์ปัญหาสมการเชิง เส้นตัวแปรเดียวได้ ข้อที่ 1 เศษหนึ่งส่วนสี่ของจำนวนจำนวนหนึ่งเท่ากับ 15 จงหาจำนวนนั้น (วิเคราะห์) ก. 55 ข. 60 ค. 65 ง. 70 ข้อที่ 2 น้อยมีเงินมากกว่านิด 6 บาท ทั้งสองคนมีเงินรวมกัน 40 บาท จงหา จำนวนเงินของน้อย (วิเคราะห์) ก. 17 บาท ข. 20 บาท ค. 23 บาท ง. 36 บาท
293 ข้อที่ 3 เมื่อ 5 ปีที่แล้วฝาแฝดสองคนมีอายุรวมกันเป็น 18 ปี ให้ x แทนอายุ ของฝาแฝดสองคนในปัจจุบัน ข้อใดคือสมการที่ได้จากโจทย์ปัญหานี้ (วิเคราะห์) ก. 2(x - 5) = 18 ข. 2x - 5 = 18 ค. 2x + 5x = 18 ง. 5(x - 2) = 18 ข้อที่ 4 จากคถามข้อที่ 3 จงหาว่าปัจจุบันฝาแฝดคู่นี้มีอายุเท่าใด (วิเคราะห์) ก. 9 ปี ข. 13 ปี ค. 14 ปี ง. 17 ปี ข้อที่ 5 จากคำถามข้อที่ 3 ปัจจุบันฝาแฝดคู่นี้มีอายุรวมกันเป็นกี่ปี ก. 28 ปี ข. 18 ปี ค. 26 ปี ง. 34 ปี
294 แบบประเมินความสอดคล้องของแบบทดสอบทักษะการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ จุดประสงค์ / ข้อสอบ ความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ ข้อแนะนำ +1 0 -1 จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 สามารถแสดงวิธีการหาคำตอบจากโจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ ข้อที่ 1 อีกสามปี มานะจะมีอายุครบ 21 ปี จงหาอายุปัจจุบันของมานะ (แนวคำของ) ใช้การแก้ปัญหาของโพลยา ขั้นที่ 1 ขั้นทำความเข้าใจปัญหา (โจทย์กำหนดอะไร) แนวคำตอบ จากโจทย์ จะทราบว่า อีกสามปี มานะจะมีอายุครบ 21 ปี ขั้นที่ 2 ขั้นวางแผน (โจทย์ต้องการอะไร และมีวิธีการหาคำตอบ อย่างไร) แนวคำตอบ จากโจทย์ จะเห็นว่า โจทย์ต้องการทราบอายุของมานะ ดังนั้น ให้ x = อายุปัจจุบันของมานะ จาก x = อายุปัจจุบันของมานะ หากจะทราบอายุปัจจุบันของมานะ จะต้อง นำอายุปัจจุบันบวกอีกสามปี จะเท่ากับว่า อีกสามปีมานะจะมีอายุเท่ากับ 21 ปี จะได้สมการดังนี้ x+3=21 ขั้นที่ 3 ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ (แก้โจทย์ปัญหา) วิธีทำ x + 3 = 21 X = 21 - 3 X = 18 ดังนั้น อายุปัจจุบันของมานะ คือ 18 ปี ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคำตอบและความสมเหตุสมผล จากที่มานะมีอายุปัจจุบัน คือ 18 ปี ซึ่งถ้าอีก 3 ปีมานะจะมีอายุ 18 + 3 = 21 ซึ่งสอดคล้องกับที่โจทย์บอกว่าถ้าอีก 3 ปีมานะจะมีอายุ 21 ปี ข้อที่ 2 เศษสามส่วนห้าของจำนวนจำนวนหนึ่งมากกว่า 15 อยู่ 60 จงหา จำนวนนั้น (แนวคำของ) ใช้การแก้ปัญหาของโพลยา ขั้นที่ 1 ขั้นทำความเข้าใจปัญหา (โจทย์กำหนดอะไร)
295 จากโจทย์ จะทราบว่า เศษสามส่วนห้าของจำนวนจำนวนหนึ่งมากกว่า 15 อยู่ 60 ขั้นที่ 2 ขั้นวางแผน (โจทย์ต้องการอะไร และมีวิธีการหาคำตอบ อย่างไร) จากโจทย์ จะเห็นว่า ไม่สามารถทราบค่าของจำนวนจำนวนหนึ่งที่ชัดเจน จึงให้เป็น X จาก x = จำนวนจำนวนหนึ่ง ดังนั้น เศษสามส่วนห้าของจำนวนจำนวนหนึ่ง = และ หากอยากทราบว่า x มีค่าเป็นเท่าใด จากโจทย์จะเห็นว่าถ้านำเศษ สามส่วนห้าของจำนวนจำนวนหนึ่งซึ่งมีจำนวนมากกว่า 15 อยู่ 60 จะต้อง นำ บวกกับ 15 ให้ได้เท่ากับ 60 จะได้สมการดังนี้ - 15 = 60 ขั้นที่ 3 ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ (แก้โจทย์ปัญหา) วิธีทำ - 15 = 60 = 60 -15 = 45 นำ 5 คูณตลอดทั้ง สมการ จะได้ = (45)5 3x = 225 นำ 3 หารทั้งสมการ = X = 75 ดังนั้น จำนวนนั้นคือ 75 ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคำตอบและความสมเหตุสมผล สามารถแทน x = 75 ในสมการ - 15 = 60 จะได้ว่า - 15 = 60 75 - 15 = 60 60 = 60 ข้อที่ 3 ถ้านำ 6 มาบวกกับจำนวนจำนวนหนึ่ง แล้วสี่เท่าของผลบวกนั้นคือ 48 จงหาจำนวนนั้น (แนวคำของ) ใช้การแก้ปัญหาของโพลยา
296 ขั้นที่ 1 ขั้นทำความเข้าใจปัญหา (โจทย์กำหนดอะไร) ถ้านำ 6 มาบวกกับจำนวนจำนวนหนึ่ง แล้วสี่เท่าของผลบวกนั้นคือ 48 ขั้นที่ 2 ขั้นวางแผน (โจทย์ต้องการอะไร และมีวิธีการหาคำตอบ อย่างไร) จากโจทย์ จะเห็นว่า ไม่สามารถทราบค่าของจำนวนจำนวนหนึ่งที่ชัดเจน จึงให้เป็น X จาก x = จำนวนจำนวนหนึ่ง ดังนั้น เมื่อนำ 6 มาบวกกับจำนวนจำนวนหนึ่งจะได้ 6 + x และ สี่เท่าของแล้วสี่เท่าของผลบวกนั้นคือ 48 จะได้ว่า 4(6 + x) = 48 จะได้สมการดังนี้ 4(6 + x) = 48 ขั้นที่ 3 ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ (แก้โจทย์ปัญหา) วิธีทำ 4(6 + x) = 48 6 + x = 6 + x = 12 X = 12 -6 X = 6 ดังนั้น จำนวนนั้นคือ 6 ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคำตอบและความสมเหตุสมผล สามารถแทน x = 6 ในสมการ 4(6 + x) = 48 จะได้ว่า 4(6 + 6) = 48 4 x 12 = 48 48 = 48 ข้อที่ 4 เมื่อสามปีที่แล้วบุตรมีอายุเป็นหนึ่งในหกของอายุของบิดา ถ้า ปัจจุบันบุตรมีอายุ 8 ปี จงหาอายุปัจจุบันของบิดา (แนวคำของ) ใช้การแก้ปัญหาของโพลยา ขั้นที่ 1 ขั้นทำความเข้าใจปัญหา (โจทย์กำหนดอะไร) เมื่อสามปีที่แล้วบุตรมีอายุเป็นหนึ่งในหกของอายุของบิดา และ ปัจจุบัน บุตรมีอายุ 8 ปี ขั้นที่ 2 ขั้นวางแผน (โจทย์ต้องการอะไร และมีวิธีการหาคำตอบ อย่างไร) จากโจทย์ ให้ x = อายุปัจจุบันของบิดา เมื่อ 3 ปีที่แล้ว บุตรมีอายุเป็นหนึ่งในหกของ อายุของบิดา ซึ่งต้องนำปัจจุบันของบุตรและอาอายุของบิดามาลบ 3
297 เพราะโจทย์ให้อายุเมื่ออดีตมาหาอายุในปัจจุบัน จะได้ว่า อายุปัจจุบันบิดา - 3 คือ x - 3 และ อายุของบุตรปัจจุบัน - 3 คือ 8 - 3= 5 ดังนั้น เมื่อพิจารณา เมื่อ 3 ปีที่แล้ว บุตรมีอายุเป็นหนึ่งในหกของอายุของ บิดา จะได้สมการว่า ขั้นที่ 3 ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ (แก้โจทย์ปัญหา) วิธีทำ X - 3 = 5 x 6 X - 3 = 30 X = 30 + 3 X = 33 ดังนั้น จำนวนนั้นคือ 33 ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคำตอบและความสมเหตุสมผล สามารถแทน x = 33 ในสมการ จะได้ว่า = 5 5 = 5
298 แบบประเมินความสอดคล้องระหว่างเนื้อหา และกรอบแนวคิดวิจัยกับข้อคำถามของ แบบสอบถามการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนที่เกิดขึ้นหลังจากการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD สำหรับผู้เชี่ยวชาญ ข้อ รายการประเมิน ระดับความ คิดเห็น 1 0 -1 ด้านกระบวนการทำงาน 1 นักเรียนวิเคราะห์ชิ้นงานก่อนลงมือทำกับสมาชิกภายในกลุ่ม 2 นักเรียนแสดงความคิดเห็นวางแผนในการทำกิจกรรมกลุ่ม 3 นักเรียนลงมือทำชิ้นงานช่วยสมาชิกภายในกลุ่ม 4 นักเรียนทำงานตามแผนที่สมาชิกในกลุ่มทุกคนวางแผนไว้ 5 นักเรียนมีบทบาทประเมินชิ้นงานที่เกิดขึ้นภายในกลุ่ม ด้านสมาชิกมีความพอใจในทีม 6 นักเรียนยอมรับการตัดสินในของหัวหน้ากลุ่ม 7 นักเรียนมีความจริงใจต่อสมาชิกในกลุ่ม 8 นักเรียนไว้วางใจสมาชิกในกลุ่มในการทำกิจกรรม 9 นักเรียนยอมรับฟังเหตุผลของสมาชิกภายในกลุ่ม 10 นักเรียนเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองและสมาชิกภายในกลุ่ม ด้านสื่อสารที่ดี 11 หัวหน้ากลุ่มมีการสื่อสารชี้แจงงานที่ชัดเจนเข้าใจง่าย 12 สมาชิกภายในกลุ่มมีการสื่อสารที่ดี 13 สมาชิกภายในกลุ่มยอมรับฟังความคิดเห็นกัน 14 สมาชิกภายในกลุ่มซักถามข้อสงสัยอย่างเปิดเผย 15 สมาชิกภายในกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ด้านแก้ปัญหาอุปสรรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ 16 นักเรียนช่วยออกความคิดเห็นเพื่อช่วยกลุ่มแก้ปัญหา 17 นักเรียนและกลุ่มมีเป้าหมายที่ชัดเจน 18 นักเรียนและกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละครั้ง 19 นักเรียนมีบทบาทในการเสนอทางเลือกเพื่อแก้ปัญหา 20 นักเรียนมีบทบาทในการประเมินทางเลือกในการแก้ปัญหา
299 ภาคผนวก ช การวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) การวิเคราะห์ค่าความยากง่าย (p) ค่าอํานาจจําแนก (r) และค่าความเชื่อมั่น ของ แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์แบบวัดทักษะการแก้ปัญหา และ แบบสอบถามการทำงานเป็นทีม เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
300 การวิเคราะห์ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 2 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 3 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 4 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 5 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 1 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 2 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 3 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 4 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 5 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 1 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 2 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 3 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 4 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 5 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 1 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 2 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 3 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 4 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 5 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 1 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 2 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 3 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 4 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 5 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 1 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 2 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 3 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 4 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 5 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3 สามารถหาค าตอบของสมการโดย ใชว้ธิีลองแทนค่าตัวแปร จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4 สามารถบอกสมบัติการเท่ากันถูกต้อง จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 5 สามมาตรหาค าตอบของสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียวดดยใชส้มบัติการเท่ากันได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 6 สามารถหาค าตอบของโจทยป์ ัญหา สมการเชงิเส้นตัวแปรเดียวได้ ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ คนที่1 คนที่2 คนที่3 จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 สามารถหาค่าของนิพจน์พีชคณิตได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 สามารถบอกการเขยีนนิพจน์ พีชคณิตแทนขอ้ความจากสถานการณ์ที่ก าหนดให้ได้ ค่า IOCแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ จุดประสงค์ขอ้ที่ ioc การแปลผล
301 การวิเคราะห์ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบวัดทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 2 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 3 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 4 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 สามารถแสดงวธิีการหาค าตอบจาก โจทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์เรื่องสมการเชงิเส้นตัวแปรเดียวได้ ค่า IOCแบบทดสอบการแก้ปัญหา จุดประสงค์ขอ้ที่ ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ioc การแปลผล คนที่1 คนที่2 คนที่3
302 การวิเคราะห์ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบสอบถามการทำงานเป็นทีม คนที่1 คนที่2คนที่3 1 นกัเรียนวิเคราะห์ชิ้นงานกอ่นลงมือท ากบัสมาชกิภายในกลมุ่ 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 2 นกัเรียนแสดงความคิดเห็นวางแผนในการท ากจิกรรมกลมุ่ 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 3 นกัเรียนลงมือท าชิ้นงานชว่ยสมาชกิภายในกลมุ่ 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 4 นกัเรียนท างานตามแผนที่สมาชกิในกลมุ่ทุกคนวางแผนไว้ 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 5 นกัเรียนมีบทบาทประเมินชิ้นงานที่เกดิขึ้นภายในกลมุ่ 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 6 นกัเรียนยอมรับการตัดสนิในของหัวหนา้กลมุ่ 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 7 นกัเรียนมีความจริงใจต่อสมาชกิในกลมุ่ 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 8 นกัเรียนไว้วางใจสมาชกิในกลมุ่ ในการท ากจิกรรม 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 9 นกัเรียนยอมรับฟังเหตุผลของสมาชกิภายในกลมุ่ 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 10 นกัเรียนเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองและสมาชกิภายในกลมุ่1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 11 หัวหนา้กลมุ่มีการสอื่สารชี้แจงงานที่ชดัเจนเขา้ใจง่าย 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 12 สมาชกิภายในกลมุ่มีการสอื่สารที่ดี 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 13 สมาชกิภายในกลมุ่ยอมรับฟังความคิดเห็นกนั 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 14 สมาชกิภายในกลมุ่ซกัถามขอ้สงสยัอยา่งเปิดเผย 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 15 สมาชกิภายในกลมุ่แลกเปลยี่นความคิดเห็นซงึ่กนัและกนั 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 16 นกัเรียนชว่ยออกความคิดเห็นเพื่อชว่ยกลมุ่แกป้ ัญหา 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 17 นกัเรียนและกลมุ่มีเป้าหมายที่ชดัเจน 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 18 นกัเรียนและกลมุ่ร่วมกนัวิเคราะห์ปัญหาที่เกดิขึ้นในแต่ละครั้ง 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 19 นกัเรียนมีบทบาทในการเสนอทางเลอืกเพื่อแกป้ ัญหา 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ 20 นกัเรียนมีบทบาทในการประเมินทางเลอืกในการแกป้ ัญหา 1 1 1 1.00 ใชไ้ด้ ด้านกระบวนการท างาน ด้านสมาชกิมคีวามพอใจในทีม ด้านสื่อสารที่ดี ด้านแก้ปัญหาอุปสรรคได้อยา่งมปีระสิทธิภาพ IOC แบบสอบถามการท างานเป็นทีม ขอ้ ความคิดเห็นของ รายการประเมนิผู้เชี่ยวชาญ IOC การแปรผล
303 การวิเคราะห์ค่าความยากง่าย (p) ค่าอํานาจจําแนก (r) และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง สมการเชิงเส้นแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ข้อ ค่าความยาก(P) ค่าอำนาจจำแนก(r) การคัดเลือก 1 0.73 0.42 คัดเลือกไว้ 0.372 0.60 0.40 คัดเลือกไว้ 3 0.63 0.37 คัดเลือกไว้ 4 0.53 0.47 คัดเลือกไว้ 5 0.60 0.40 คัดเลือกไว้ 6 0.70 0.30 คัดเลือกไว้ 7 0.50 0.50 คัดเลือกไว้ 8 0.47 0.53 คัดเลือกไว้ 9 0.50 0.50 คัดเลือกไว้ 10 0.53 0.47 คัดเลือกไว้ 11 0.57 0.43 คัดเลือกไว้ 12 0.50 0.50 คัดเลือกไว้ 13 0.57 0.43 คัดเลือกไว้ 14 0.67 0.33 คัดเลือกไว้ 15 0.43 0.50 คัดเลือกไว้ 16 0.53 0.42 คัดเลือกไว้ 17 0.60 0.42 คัดเลือกไว้ 18 0.57 0.42 คัดเลือกไว้ 19 0.60 0.50 คัดเลือกไว้ 20 0.67 0.33 คัดเลือกไว้ 21 0.57 0.33 คัดเลือกไว้ 22 0.57 0.50 คัดเลือกไว้ 23 0.57 0.50 คัดเลือกไว้ 24 0.63 0.50 คัดเลือกไว้ 25 0.60 0.33 คัดเลือกไว้ 26 0.47 0.50 คัดเลือกไว้ 27 0.43 0.42 คัดเลือกไว้ 28 0.50 0.42 คัดเลือกไว้ 29 0.43 0.50 คัดเลือกไว้ 30 0.50 0.42 คัดเลือกไว้ ความเชื่อมั่น 0.73
304 ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ 0.73 การพิจารณาค่าความยาก (P) ที่พอเหมาะ ควรมีค่าตั้งแต่ 0.20 – 0.80 การพิจารณาค่าอํานาจจําแนก (r) ที่พอเหมาะ ควรมีค่าตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป
305 การวิเคราะห์ค่าความยากง่าย (p) ค่าอํานาจจําแนก (r) และค่าความเชื่อมั่นของแบบ วัดทักษะการแก้ปัญหาเรื่อง สมการเชิงเส้นแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ข้อ ค่าความยาก(P) ค่าอำนาจจำแนก(r) การคัดเลือก 1 0.65 0.50 คัดเลือกไว้ 2 0.53 0.47 คัดเลือกไว้ 3 0.55 0.39 คัดเลือกไว้ 4 0.50 0.42 คัดเลือกไว้ ความเชื่อมั่น 0.95 ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 การพิจารณาค่าความยาก (P) ที่พอเหมาะ ควรมีค่าตั้งแต่ 0.20 – 0.80 การพิจารณาค่าอํานาจจําแนก (r) ที่พอเหมาะ ควรมีค่าตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป
306 การวิเคราะห์ค่าอํานาจจําแนก (r) และค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามการทำงานเป็นทีม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ข้อ ค่าอำนาจจำแนก(r) การคัดเลือก 1 0.62 คัดเลือกไว้ 2 0.68 คัดเลือกไว้ 3 0.37 คัดเลือกไว้ 4 0.42 คัดเลือกไว้ 5 0.27 คัดเลือกไว้ 6 0.25 คัดเลือกไว้ 7 0.25 คัดเลือกไว้ 8 0.30 คัดเลือกไว้ 9 0.32 คัดเลือกไว้ 10 0.22 คัดเลือกไว้ 11 0.28 คัดเลือกไว้ 12 0.30 คัดเลือกไว้ 13 0.63 คัดเลือกไว้ 14 0.25 คัดเลือกไว้ 15 0.22 คัดเลือกไว้ 16 0.40 คัดเลือกไว้ 17 0.28 คัดเลือกไว้ 18 0.35 คัดเลือกไว้ 19 0.35 คัดเลือกไว้ 20 0.28 คัดเลือกไว้ ความเชื่อมั่น 0.94 ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 การพิจารณาค่าอํานาจจําแนก (r) ที่พอเหมาะ ควรมีค่าตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป