240 รูปแบบ เนื้อหา น าเสนอ ความ สวยงาม ตรงตอ่ เวลา รวม 4 4 4 4 4 20 คะแนน 1 เด็กชายณฐัวุฒิ เงาสะอาด 2 เด็กชายธนกร ศิรกิ าเลิศ 3 เด็กชายธนกิตติ์พงศ์ อุ่นสงคราม 4 เด็กชายธีรภัทร ช่างเหล็ก 5 เด็กชายพสุธร วรรณกุล 6 เด็กชายพัชรพล สายรตัน์ 7 เด็กชายพีรวัส จา ปามูล 8 เด็กชายพุฒพิัฒน์ กาญจนกุล 9 เด็กชายภูร ิดอนสินเพมิ่ 10 เด็กชายวงศกร บรรเลิง 11 เด็กชายวรนิทร เคนศิริ 12 เด็กชายวุฒชิัย ผันผ่อน 13 เด็กชายสหชัย สินธ์สิรวิัตร 14 เด็กชายสุขสันต์ แสงยางใหญ่ 15 เด็กชายอิทธิพล สุภาเกตุ 16 เด็กหญิงชนัญธิชา เนตรโสภา 17 เด็กหญิงธัญวลัย ใจทน 18 เด็กหญิงนัทธิชา แก้วแสนชัย 19 เด็กหญิงปารชิาติ แปลกสันเทียะ 20 เด็กหญิงพัชราภรณ์ แก้วนิวงศ์ 21 เด็กหญิงวรนิธร มูลมาตย์ 22 เด็กหญิงสุภานัน พรหมราช 23 เด็กหญิงสุภาวิดา อ่างทอง 24 เด็กหญิงอาทิตยา สอนสกุล เลขที่ชื่อ - สกลุผรู้ับการประเมิน ประเมินผล สรุปผลการประเมนิ ผ่าน/ไมผ่ ่าน แบบประเมินใบงาน KWL ชั้นมัธยมศกึษาปีที่1/4 ค าชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานใบงานนักเรยีน โดยการประเมินคะแนนลงในช่องรายการประเมิน ก าหนดตามตารางแนบ ท้ายแบบประเมินใบงาน KWL
241 ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน ( นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง นักเรียนได้ระดับคุณภาพที่ พอใช้ ขึ้นไปถือว่า ผ่าน
242 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน2 ค21102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จำนวน 15 ชั่วโมง เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดย ใช้ทักษะการแก้ปัญหา จำนวน 1 ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2566 โรงเรียนกุงเจริญวิทยา อบจ.อด.๘ วันที่..........เดือน................... พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์ หรือ ช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้ ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจำนวน เพื่อวิเคราะห์ และแก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. สาระสำคัญ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ทำได้โดยอาศัยขั้นตอนการแก้โจทย์ ปัญหาของโพลยา 4 ขั้นตอน คือ ทำความเข้าใจโจทย์ วางแผนแก้ปัญหา ปฏิบัติตามแผน และ ตรวจสอบกลับ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายขั้นตอนการแก้ปัญหาได้ถูกต้อง (K) 2. นักเรียนสามารถแสดงการแก้ปัญหาตามขั้นตอนได้ถูกต้อง (P) 3. ใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นในการทำงาน (A) 4. สาระการเรียนรู้ การแก้โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดยใช้ทักษะการแก้ปัญหา 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. แบบฝึกหัดที่ 13 และใบงาน KWL เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา 6. สมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการวิเคราะห์และการแก้ปัญหา
243 7. เครื่องมือการสอนคิด KWL 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแผนการสอนนี้จะใช้เทคนิค STAD ขั้นนำที่ 1 การนำเสนอสิ่งที่ต้องเรียน 1.1 ครูอธิบายขั้นตอนการแก้ปัญหาของโพลยา 4 ขั้นตอน คือ ทำความเข้าใจโจทย์ วางแผนแก้ปัญหา ปฏิบัติตามแผน และตรวจสอบ ขั้นทำความเข้าใจโจทย์ คือ สามารถบอกได้ว่าโจทย์ให้อะไรบ้าง โจทย์ต้องการให้ หาอะไร อะไรที่มีความสำคัญที่ทำให้เราแก้ปัญหาโจทย์นั้น ๆ ได้ ขั้นวางแผนการแก้ปัญหา คือ ขั้นที่เกิดจากขั้นทำความเข้าใจโจทย์มาแล้ว จากนั้นวิเคราะห์ว่าจะต้องทำอะไรต่อจากนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบนั้น ๆ ซึ่งในขั้นนี้จะเป็นขั้นที่เขียน ประโยคสัญลักษณ์ จากข้อความได้ ขั้นปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นที่ดำเนินการแก้สมการตามที่ได้เรียนมาในชั่วโมงที่ ผ่านมา ขั้นตรวจสอบ คือ ขั้นที่ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ 1.2 ครูบอกหัวข้อ และจุดประสงค์การเรียนรู้ในชั่วโมงนี้ ว่าคาบนี้เราจะเรียนเรื่องการ เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและหาคำตอบ หากนักเรียนเรียนจบในชั่วโมงนี้นักเรียนสามารถให้ เหตุผลเกี่ยวกับการเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหาเพื่อหาคำตอบได้ ถูกต้อง และนักเรียนสามารถเขียนแสดงวิธีการหาคำตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจาก สถานการณ์หรือปัญหาได้ถูกต้อง 1.3 ครูชี้แจงนักเรียนซึ่งการแก้ปัญหาของโพลยานั้นมีความคล้ายคลึงกับเครื่องมือคิด KWL ซึ่งสามารถใช้ร่วมกันได้นั่นคือ เมื่อเห็นโจทย์ปัญหา สามารถใช้เครื่องมือคิด KWL ช่วยได้การ แก้ปัญหาได้ เช่น ช่อง K ให้นักเรียนตอบคำถามว่า โจทย์ให้อะไรมาบ้าง ซึ่งนักเรียนต้องเขียน ออกมาในรูปแบบของประโยคสัญลักษณ์ที่เป็นสมการ ซึ่งสอดคล้องกับการแก้ปัญหาของโพลยาในขั้น ทำความเข้าใจโจทย์ ช่อง W ให้นักเรียนตอบว่าอยากรู้สิ่งใดจากโจทย์ ซึ่งสอดคล้องกับการแก้ปัญหา ของโพลยาในขั้นวางแผนการแก้ปัญหา ช่อง L ให้นักเรียนได้แสดงการแก้ปัญหาของโจทย์นั้น ๆ และตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคำตอบนั้น ซึ่งสอดคล้องกับการแก้ปัญหาของโพลยาในขั้น ปฏิบัติตามแผน และขั้น ขั้นตรวจสอบ 1.4 ครูยกตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหา ดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 เตยมีเงิน 500 บาท สองเท่าของจำนวนเงินส่วนที่ต้นมีมากกว่าเตย เท่ากับ 150 บาท จงหาว่าต้นมีเงินกี่บาท K : โจทย์ให้อะไร จากโจทย์จะได้ว่า เตยมีเงิน 500 และต้นมีเงินมากกว่าเตย 150 บาท
244 W : โจทย์ถามอะไร -จากโจทย์จะทราบว่า โจทย์ต้องการทราบว่าต้นมีเงินเท่าไหร่ จึงให้ต้นมีเงินเท่ากับ X บาท -จากการวิเคราะห์จะได้ว่า หากอยากทราบว่าต้นมีเงิน จะต้องนำเงินที่ต้นมีมาลบกับเงินที่เตยมีเพื่อ หาว่าต้นมีเงินเท่าไหร่ จะได้ว่า X - 500 - เมื่อรู้แล้วว่าต้นมีเงินเท่าไหร่จากนนั้น จะหาต่อว่า 2 เท่าของเงินที่ต้นมี จะมากกว่าเตยอยู่ 150 บาท นั่นคือ 2xเงินที่ต้นมี=150 จะได้ว่า 2(x -500) = 150 - ดังนั้นประโยคสัญลักษณ์ คือ 2(x -500) = 150 L : แก้โจทย์ปัญหาและตรวจสอบคำตอบ วิธีทำ 2(x -500) = 150 X = 75 + 500 X = 575 นั่นคือ ต้นมีเงิน 575 บาท ซึ่งมากกว่าเตยอยู่ 575 - 500 = 75 บาท ขั้นตรวจสอบ เมื่อต้นมีเงินมากกว่าเตย 75 บาท ดังนั้น 2เท่าของ75 คือ 150 ซึ่งสอดคล้องกับที่ โจทย์บอกว่า 2เท่าของจำนวนเงินของส่วนที่ต้นมีมากกว่าเตย เท่ากับ 150 บาท ขั้นที่ 2 ขั้นการทำงานกลุ่ม 2.1 นักเรียนทำงานกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาโดยใช้ใบงาน KWL ช่วยแก้ปัญหาตามขั้นตอน การแก้ปัญหาของโพลยา 2.3 นักเรียนนำเสนอคำตอบและวิธีการแก้ปัญหาของโพลยา
245 ขั้นที่ 3 ขั้นทดสอบย่อย 3.1 แบบฝึกหัดที่ 13 เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา ขั้นที่ 4 ขั้นตระหนักถึงความสำเร็จของกลุ่ม 4.1 ครูเฉลยแบบฝึกหัดและแจ้งคะแนนรายบุคคล และรวมคะแนนกลุ่ม ขั้นที่ 5 ขั้นรับรองผลงานของกลุ่ม 5.1 ครูบอกคะแนนที่แต่ละกลุ่มได้รับ จากนั้นให้คะแนน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์พื้นฐาน สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2 2. แบบฝึกหัดที่ 13 และใบงาน KWL เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา
246 10. กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงค์ เครื่องมือ วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1. นั ก เรียน ส าม ารถ อธิบ ายขั้น ตอ น ก าร แก้ปัญหาได้ถูกต้อง (K) แบบฝึกหัดที่ 13 และ ใบงาน KWL เรื่อง การ แก้โจทย์ปัญหา ประเมิน แบบฝึกหัดที่ 13 และใบงาน KWL เรื่อง การแก้โจทย์ ปัญหา ผ่านเกณฑ์ตอบถูกต้อง ร้อยละ 80 2. นั ก เรียน ส าม ารถ แสดงการแก้ปัญหาตาม ขั้นตอนได้ถูกต้อง (P) แบบฝึกหัดที่ 13 และ ใบงาน KWL เรื่อง การ แก้โจทย์ปัญหา ตรวจแแบบฝึกหัด ที่ 13 และใบงาน KWL เรื่อง การแก้ โจทย์ปัญหา ผ่านเกณฑ์ถูกต้องร้อย ละ 100 3. ใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นใน การทำงาน (A) แบบสังเกตพฤติกรรม/ สังเกตพฤติกรรมระหว่า ทำกิจกรรม สังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ระดับพอใช้ ขึ้นไป
247 บันทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ด้านความรู้(K) ............................................................................................................................. ......... ......................................................................................................................................... ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ............................................................................................................................. ......... ....................................................................................................................................... ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ...................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ปัญหาและอุปสรรค์ ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ลงชื่อ .............................................................. (นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู) นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา วันที่.........เดือน...................... พ.ศ. ............
248 บันทึกความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของครูพี่เลี้ยง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแของ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ ............................................................... (นางสาวปริษา ไร่ไสว) ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ..................................................... (นางสาววรรณิษา กสิผล) รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ ............................................................... (นางสาวกรรณิการ์ บุญประกอบ) ตำแหน่ง ครูพี่เลี้ยง
249 แบบฝึกหัดที่ 13 และใบงาน KWL เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา ชื่อ........................................................................... เลขที่ ........... ชั้น ............. ให้นักเรียนแก้ปัญหาจากโจทย์ต่อไปนี้ ถ้านำ 6 มาบวกกับจำนวนจำนวนหนึ่ง แล้วสี่เท่าของผลบวกนั้นคือ 48 จงหาจำนวนนั้น K : โจทย์ให้อะไร W : อยากทราบอะไรและมีวิธีการวางแผนอย่างไร L : แสดงวิธีแก้ปัญหาพร้อมทั้งตรวจสอบ วิธีทำ ตรวจสอบคำตอบ
250 3 3 3 9 1 เด็กชายกรอบเกียรติชาภูพัตร์ 2 เด็กชายกฤษฎา เชียงษาวงศ์ 3 เด็กชายกิตติกร พรมวิจติร 4 เด็กชายกิตติศักดิ์ต้องสู้ 5 เด็กชายกิตติศักดิ์ทองภาพ 6 เด็กชายเกียรติศักดิ์อินทะสรอ้ย 7 เด็กชายจกัรนิทร์บุญเชี่ยว 8 เด็กชายชิษณพุงศ์หงษาค า 9 เด็กชายโชคทวีพรมรกัษา 10 เด็กชายณฐัภูมินทร์พลนอก 11 เด็กชายณฐัวุฒิค าวิเศษ 12 เด็กชายรพีภัทร แก้วลุน 13 เด็กชายสรวิศ โชติมนทิน 14 เด็กชายอนาวิน ค าฤาชัย 15 เด็กชายอมรเทพ วงษ์สิงห์ 16 เด็กหญิงกชกร สุวรรณโคตร 17 เด็กหญิงจนัทรพิมพ์หมู่หัวนา 18 เด็กหญิงฉัตรสุดา หลักค า 19 เด็กหญิงทัศภร สะแกนอก 20 เด็กหญิงทิพย์สุดา ค าถวิล 21 เด็กหญิงสุภาพร เหล่าเจรญิ 22 เด็กหญิงอารยา สาขวา 23 เด็กหญิงอารยีา ไชยมาตร 24 เด็กหญิงเอมมิกา มงคลชู ผา่นระดบั พอใช้ แบบสังเกตุพฤติกรรม นักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปีที่ 1/3 เลขที่ชื่อ- นามสกลุประเมินผล ส่งงาน ตรง ชิ้นงาน เรียบร้อ ตงั้ใจ ทา กจิ รวม
251 3 3 3 9 1 เด็กชายณฐัวุฒิเงาสะอาด 2 เด็กชายธนกร ศิรกิ าเลิศ 3 เด็กชายธนกิตติ์พงศ์อุ่นสงคราม 4 เด็กชายธีรภัทร ช่างเหล็ก 5 เด็กชายพสุธร วรรณกุล 6 เด็กชายพัชรพล สายรตัน์ 7 เด็กชายพีรวัส จา ปามูล 8 เด็กชายพุฒพิัฒน์กาญจนกุล 9 เด็กชายภูริดอนสินเพมิ่ 10 เด็กชายวงศกร บรรเลิง 11 เด็กชายวรนิทร เคนศิริ 12 เด็กชายวุฒชิัย ผันผ่อน 13 เด็กชายสหชัย สินธ์สิรวิัตร 14 เด็กชายสุขสันต์แสงยางใหญ่ 15 เด็กชายอิทธิพล สุภาเกตุ 16 เด็กหญิงชนัญธิชา เนตรโสภา 17 เด็กหญิงธัญวลัย ใจทน 18 เด็กหญิงนัทธิชา แก้วแสนชัย 19 เด็กหญิงปารชิาติแปลกสันเทียะ 20 เด็กหญิงพัชราภรณ์แก้วนิวงศ์ 21 เด็กหญิงวรนิธร มูลมาตย์ 22 เด็กหญิงสุภานัน พรหมราช 23 เด็กหญิงสุภาวิดา อ่างทอง 24 เด็กหญิงอาทิตยา สอนสกุล ประเมินผ ล แบบสังเกตุพฤติกรรม นักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปีที่ 1/4 ผา่นระดบั พอใช้ เลขที่ชื่อ- นามสกลุ ส่งงาน ตรงเวลา ชิ้นงาน เรียบร้อย ตงั้ใจทา กจิกกรม รวม
252 เกณฑ์ในการให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสิน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7-9 ดี 4-6 พอใช้ ต่ำกว่า 4 ปรับปรุง ***** หมายเหตุ คะแนน 4 ขึ้นไป ผ่าน****** ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน ( นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู)
253 รูปแบบ เนื้อหา น าเสนอ ความ สวยงาม ตรงตอ่เวลา รวม 4 4 4 4 4 20คะแนน 1 เด็กชายกรอบเกียรติ ชาภูพัตร์ 2 เด็กชายกฤษฎา เชียงษาวงศ์ 3 เด็กชายกิตติกร พรมวิจติร 4 เด็กชายกิตติศักดิ์ ต้องสู้ 5 เด็กชายกิตติศักดิ์ ทองภาพ 6 เด็กชายเกียรติศักดิ์ อินทะสรอ้ย 7 เด็กชายจกัรนิทร์ บุญเชี่ยว 8 เด็กชายชิษณพุงศ์ หงษาค า 9 เด็กชายโชคทวี พรมรกัษา 10 เด็กชายณฐัภูมินทร ์พลนอก 11 เด็กชายณฐัวุฒิ ค าวิเศษ 12 เด็กชายรพีภัทรแก้วลุน 13 เด็กชายสรวิศ โชติมนทิน 14 เด็กชายอนาวิน ค าฤาชัย 15 เด็กชายอมรเทพ วงษ์สิงห์ 16 เด็กหญิงกชกร สุวรรณโคตร 17 เด็กหญิงจนัทรพิมพ์ หมู่หัวนา 18 เด็กหญิงฉัตรสุดา หลักค า 19 เด็กหญิงทัศภร สะแกนอก 20 เด็กหญิงทิพย์สุดา ค าถวิล 21 เด็กหญิงสุภาพร เหล่าเจรญิ 22 เด็กหญิงอารยา สาขวา 23 เด็กหญิงอารยีา ไชยมาตร 24 เด็กหญิงเอมมิกา มงคลชู เลขที่ชื่อ - สกลุผรู้ับการประเมิน สรุปผลการประเมนิ ผ่าน/ไมผ่ ่าน ประเมินผล แบบประเมินใบงาน KWL ชั้นมัธยมศกึษาปีที่1/3 ค าชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานใบงานนักเรยีน โดยการประเมินคะแนนลงในช่องรายการประเมิน ก าหนดตามตารางแนบท้ายแบบ ประเมินใบงาน KWL
254 รูปแบบ เนื้อหา น าเสนอ ความ สวยงาม ตรงตอ่ เวลา รวม 4 4 4 4 4 20 คะแนน 1 เด็กชายณฐัวุฒิ เงาสะอาด 2 เด็กชายธนกร ศิรกิ าเลิศ 3 เด็กชายธนกิตติ์พงศ์ อุ่นสงคราม 4 เด็กชายธีรภัทร ช่างเหล็ก 5 เด็กชายพสุธร วรรณกุล 6 เด็กชายพัชรพล สายรตัน์ 7 เด็กชายพีรวัส จา ปามูล 8 เด็กชายพุฒพิัฒน์ กาญจนกุล 9 เด็กชายภูร ิดอนสินเพมิ่ 10 เด็กชายวงศกร บรรเลิง 11 เด็กชายวรนิทร เคนศิริ 12 เด็กชายวุฒชิัย ผันผ่อน 13 เด็กชายสหชัย สินธ์สิรวิัตร 14 เด็กชายสุขสันต์ แสงยางใหญ่ 15 เด็กชายอิทธิพล สุภาเกตุ 16 เด็กหญิงชนัญธิชา เนตรโสภา 17 เด็กหญิงธัญวลัย ใจทน 18 เด็กหญิงนัทธิชา แก้วแสนชัย 19 เด็กหญิงปารชิาติ แปลกสันเทียะ 20 เด็กหญิงพัชราภรณ์ แก้วนิวงศ์ 21 เด็กหญิงวรนิธร มูลมาตย์ 22 เด็กหญิงสุภานัน พรหมราช 23 เด็กหญิงสุภาวิดา อ่างทอง 24 เด็กหญิงอาทิตยา สอนสกุล เลขที่ชื่อ - สกลุผรู้ับการประเมิน ประเมินผล สรุปผลการประเมนิ ผ่าน/ไมผ่ ่าน แบบประเมินใบงาน KWL ชั้นมัธยมศกึษาปีที่1/4 ค าชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานใบงานนักเรยีน โดยการประเมินคะแนนลงในช่องรายการประเมิน ก าหนดตามตารางแนบ ท้ายแบบประเมินใบงาน KWL
255 ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน ( นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง นักเรียนได้ระดับคุณภาพที่ พอใช้ ขึ้นไปถือว่า ผ่าน
256 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน2 ค21102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จำนวน 15 ชั่วโมง เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดย ใช้ทักษะการแก้ปัญหา 2 จำนวน 1 ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2566 โรงเรียนกุงเจริญวิทยา อบจ.อด.๘ วันที่..........เดือน................... พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์ หรือ ช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้ ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจำนวน เพื่อวิเคราะห์ และแก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. สาระสำคัญ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ทำได้โดยอาศัยขั้นตอนการแก้โจทย์ ปัญหาของโพลยา 4 ขั้นตอน คือ ทำความเข้าใจโจทย์ วางแผนแก้ปัญหา ปฏิบัติตามแผน และ ตรวจสอบกลับ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายขั้นตอนการแก้ปัญหาได้ถูกต้อง (K) 2. นักเรียนสามารถแสดงการแก้ปัญหาตามขั้นตอนได้ถูกต้อง (P) 3. ใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นในการทำงาน (A) 4. สาระการเรียนรู้ การแก้โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดยใช้ทักษะการแก้ปัญหา 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. แบบฝึกหัดที่ 14 และใบงาน KWL เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา 2 6. สมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการวิเคราะห์และการแก้ปัญหา
257 7. เครื่องมือการสอนคิด KWL 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแผนการสอนนี้จะใช้เทคนิค STAD ขั้นนำที่ 1 การนำเสนอสิ่งที่ต้องเรียน 1.2 ครูบอกหัวข้อ และจุดประสงค์การเรียนรู้ในชั่วโมงนี้ ว่าคาบนี้เราจะเรียนเรื่องการ เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและหาคำตอบ หากนักเรียนเรียนจบในชั่วโมงนี้นักเรียนสามารถให้ เหตุผลเกี่ยวกับการเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์หรือปัญหาเพื่อหาคำตอบได้ ถูกต้อง และนักเรียนสามารถเขียนแสดงวิธีการหาคำตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจาก สถานการณ์หรือปัญหาได้ถูกต้อง 1.3 ทบทวนการแก้ปัญหาของโพลยานั้นมีความคล้ายคลึงกับเครื่องมือคิด KWL ซึ่ง สามารถใช้ร่วมกันได้นั่นคือ เมื่อเห็นโจทย์ปัญหา สามารถใช้เครื่องมือคิด KWL ช่วยได้การแก้ปัญหาได้ เช่น ช่อง K ให้นักเรียนตอบคำถามว่า โจทย์ให้อะไรมาบ้าง ซึ่งนักเรียนต้องเขียน ออกมาในรูปแบบของประโยคสัญลักษณ์ที่เป็นสมการ ซึ่งสอดคล้องกับการแก้ปัญหาของโพลยาในขั้น ทำความเข้าใจโจทย์ ช่อง W ให้นักเรียนตอบว่าอยากรู้สิ่งใดจากโจทย์ ซึ่งสอดคล้องกับการแก้ปัญหา ของโพลยาในขั้นวางแผนการแก้ปัญหา ช่อง L ให้นักเรียนได้แสดงการแก้ปัญหาของโจทย์นั้น ๆ และตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคำตอบนั้น ซึ่งสอดคล้องกับการแก้ปัญหาของโพลยาในขั้น ปฏิบัติตามแผน และขั้น ขั้นตรวจสอบ 1.4 ครูยกตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหา ดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 ปัจจุบัน นิชามีอายุน้อยกว่าคุณแม่ 30 ปี เมื่อสิบปีที่แล้ว คุณแม่มี อายุเป็น 4 เท่าของนิชา ปัจจุบันนิชามีอายุเท่าใด K : โจทย์ให้อะไร จากโจทย์จะได้ว่า - ปัจจุบัน นิชามีอายุน้อยกว่าคุณแม่ 30 ปี และ - เมื่อสิบปีที่แล้ว คุณแม่มีอายุ เป็น 4 เท่าของนิชา W : โจทย์ถามอะไร -จากโจทย์จะทราบว่า โจทย์ต้องการทราบว่าปัจจุบันนิชามีอายุเท่าใด ซึ่งให้ a แทน อายุของนิชา -จากการวิเคราะห์จะได้ว่า แม่มีอายุมากกว่านิชา 30 ปี ดังนี้ อายุของแม่ห่างกับนิชาจะได้ a + 30 และอายุนิชา คือ a -เมื่อสิบปีที่แล้ว อายุของแม่ คือ a + 30 -10 และอายุนิชา คือ a - 10 -และเมื่อสิบปีที่แล้วอายุของแม่เป็น 4 เท่าของอายุนิชา นั่นแสดงว่า อายุของแม่ในอดีต = 4เท่า ของอายุของนิชาในอดีต -จะได้ประโยคสัญลักษณื คือ a + 30 -10 = 4(a - 10) L : แก้โจทย์ปัญหาและตรวจสอบคำตอบ
258 วิธีทำ a + 30 -10 = 4(a - 10) a + 20 = 4a - 40 20 = 4a - a -40 20 + 40 = 4a - a 60 = 3a a = 20 นั่นคือ ปัจจุบัน นิชามีอายุ 20 ปี ขั้นตรวจสอบ เนื่องจากปัจจุบัน นิชามีอายุ 20 ปี คุณแม่จะมีอายุ 50 ปี และเมื่อสิบปีที่แล้ว นิชา จะมีอายุ 10 ปี และคุณแม่มีอายุ 40 ปี ซึ่งจากโจทย์บอกว่าเมื่อ 10 ปีที่แล้วคุณแม่มีอายุเป็น 4 เท่า ของอายุนิชา พิจารณา อายุของนิชาx4 จะได้ 10 x 4 = 40 ปี ซึ่งสอดคล้องกับที่โจทย์บอก ขั้นที่ 2 ขั้นการทำงานกลุ่ม 2.1 นักเรียนทำงานกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาโดยใช้ใบงาน KWL ช่วยแก้ปัญหาตามขั้นตอน การแก้ปัญหาของโพลยา 2.3 นักเรียนนำเสนอคำตอบและวิธีการแก้ปัญหาของโพลยา ขั้นที่ 3 ขั้นทดสอบย่อย 3.1 แบบฝึกหัดที่ 14 และใบงาน KWL เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา 2 ขั้นที่ 4 ขั้นตระหนักถึงความสำเร็จของกลุ่ม 4.1 ครูเฉลยแบบฝึกหัดและแจ้งคะแนนรายบุคคล และรวมคะแนนกลุ่ม ขั้นที่ 5 ขั้นรับรองผลงานของกลุ่ม 5.1 ครูบอกคะแนนที่แต่ละกลุ่มได้รับ จากนั้นให้คะแนน
259 9.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์พื้นฐาน สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2 2. แบบฝึกหัดที่ 14 และใบงาน KWL เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา 2 10. กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงค์ เครื่องมือ วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1. นักเรียนสามารถให้ เหตุผลเกี่ยวกับ การ เขียนสมการเชิงเส้นตัว แ ป ร เ ดี ย ว แ ท น สถานการณ์หรือปัญหา เพื่ อ ห า ค ำ ต อ บ ได้ ถูกต้อง (K) แบบฝึกหัดที่ 14 และ ใบงาน KWL เรื่อง การ แก้โจทย์ปัญหา 2 ประเมิน แบบฝึกหัดที่ 14 และใบงาน KWL เรื่อง การแก้โจทย์ ปัญหา 2 ผ่านเกณฑ์ตอบถูกต้อง ร้อยละ 80 2. นั ก เรีย น สามารถเขียน แสดง วิธีการหาคำตอบของ สมการเชิงเส้นตัวแปร เดียวจากสถานการณ์ หรือปัญหาได้ถูกต้อง (P) แบบฝึกหัดที่ 14 และ ใบงาน KWL เรื่อง การ แก้โจทย์ปัญหา 2 ประเมิน แบบฝึกหัดที่ 14 และใบงาน KWL เรื่อง การแก้โจทย์ ปัญหา 2 ผ่านเกณฑ์ถูกต้องร้อย ละ 100 3. ใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นใน การทำงาน (A) แบบสังเกตพฤติกรรม/ สังเกตพฤติกรรมระหว่า ทำกิจกรรม สังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ระดับพอใช้ ขึ้นไป
260 บันทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ด้านความรู้(K) ............................................................................................................................. ......... ......................................................................................................................................... ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ............................................................................................................................. ......... ....................................................................................................................................... ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ...................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ปัญหาและอุปสรรค์ ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ลงชื่อ .............................................................. (นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู) นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา วันที่.........เดือน...................... พ.ศ. ............
261 บันทึกความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของครูพี่เลี้ยง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแของ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ ............................................................... (นางสาวปริษา ไร่ไสว) ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ..................................................... (นางสาววรรณิษา กสิผล) รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ ............................................................... (นางสาวกรรณิการ์ บุญประกอบ) ตำแหน่ง ครูพี่เลี้ยง
262 แบบฝึกหัดที่ 13 และใบงาน KWL เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา ชื่อ........................................................................... เลขที่ ........... ชั้น ............. ให้นักเรียนแก้ปัญหาจากโจทย์ต่อไปนี้ เมื่อสามปีที่แล้วบุตรมีอายุเป็นหนึ่งในหกของอายุบิดา ถ้าปัจจุบันบุตรมีอายุ 8 ปี จงหาอายุของ บิดา K : โจทย์ให้อะไร W : อยากทราบอะไรและมีวิธีการวางแผนอย่างไร L : แสดงวิธีแก้ปัญหาพร้อมทั้งตรวจสอบ วิธีทำ ตรวจสอบคำตอบ
263 3 3 3 9 1 เด็กชายกรอบเกียรติชาภูพัตร์ 2 เด็กชายกฤษฎา เชียงษาวงศ์ 3 เด็กชายกิตติกร พรมวิจติร 4 เด็กชายกิตติศักดิ์ต้องสู้ 5 เด็กชายกิตติศักดิ์ทองภาพ 6 เด็กชายเกียรติศักดิ์อินทะสรอ้ย 7 เด็กชายจกัรนิทร์บุญเชี่ยว 8 เด็กชายชิษณพุงศ์หงษาค า 9 เด็กชายโชคทวีพรมรกัษา 10 เด็กชายณฐัภูมินทร์พลนอก 11 เด็กชายณฐัวุฒิค าวิเศษ 12 เด็กชายรพีภัทร แก้วลุน 13 เด็กชายสรวิศ โชติมนทิน 14 เด็กชายอนาวิน ค าฤาชัย 15 เด็กชายอมรเทพ วงษ์สิงห์ 16 เด็กหญิงกชกร สุวรรณโคตร 17 เด็กหญิงจนัทรพิมพ์หมู่หัวนา 18 เด็กหญิงฉัตรสุดา หลักค า 19 เด็กหญิงทัศภร สะแกนอก 20 เด็กหญิงทิพย์สุดา ค าถวิล 21 เด็กหญิงสุภาพร เหล่าเจรญิ 22 เด็กหญิงอารยา สาขวา 23 เด็กหญิงอารยีา ไชยมาตร 24 เด็กหญิงเอมมิกา มงคลชู ผา่นระดบั พอใช้ แบบสังเกตุพฤติกรรม นักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปีที่ 1/3 เลขที่ชื่อ- นามสกลุประเมินผล ส่งงาน ตรง ชิ้นงาน เรียบร้อ ตงั้ใจ ทา กจิ รวม
264 3 3 3 9 1 เด็กชายณฐัวุฒิเงาสะอาด 2 เด็กชายธนกร ศิรกิ าเลิศ 3 เด็กชายธนกิตติ์พงศ์อุ่นสงคราม 4 เด็กชายธีรภัทร ช่างเหล็ก 5 เด็กชายพสุธร วรรณกุล 6 เด็กชายพัชรพล สายรตัน์ 7 เด็กชายพีรวัส จา ปามูล 8 เด็กชายพุฒพิัฒน์กาญจนกุล 9 เด็กชายภูริดอนสินเพมิ่ 10 เด็กชายวงศกร บรรเลิง 11 เด็กชายวรนิทร เคนศิริ 12 เด็กชายวุฒชิัย ผันผ่อน 13 เด็กชายสหชัย สินธ์สิรวิัตร 14 เด็กชายสุขสันต์แสงยางใหญ่ 15 เด็กชายอิทธิพล สุภาเกตุ 16 เด็กหญิงชนัญธิชา เนตรโสภา 17 เด็กหญิงธัญวลัย ใจทน 18 เด็กหญิงนัทธิชา แก้วแสนชัย 19 เด็กหญิงปารชิาติแปลกสันเทียะ 20 เด็กหญิงพัชราภรณ์แก้วนิวงศ์ 21 เด็กหญิงวรนิธร มูลมาตย์ 22 เด็กหญิงสุภานัน พรหมราช 23 เด็กหญิงสุภาวิดา อ่างทอง 24 เด็กหญิงอาทิตยา สอนสกุล ประเมินผ ล แบบสังเกตุพฤติกรรม นักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปีที่ 1/4 ผา่นระดบั พอใช้ เลขที่ชื่อ- นามสกลุ ส่งงาน ตรงเวลา ชิ้นงาน เรียบร้อย ตงั้ใจทา กจิกกรม รวม
265 เกณฑ์ในการให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสิน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7-9 ดี 4-6 พอใช้ ต่ำกว่า 4 ปรับปรุง ***** หมายเหตุ คะแนน 4 ขึ้นไป ผ่าน****** ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน ( นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู)
266 รูปแบบ เนื้อหา น าเสนอ ความ สวยงาม ตรงตอ่เวลา รวม 4 4 4 4 4 20คะแนน 1 เด็กชายกรอบเกียรติ ชาภูพัตร์ 2 เด็กชายกฤษฎา เชียงษาวงศ์ 3 เด็กชายกิตติกร พรมวิจติร 4 เด็กชายกิตติศักดิ์ ต้องสู้ 5 เด็กชายกิตติศักดิ์ ทองภาพ 6 เด็กชายเกียรติศักดิ์ อินทะสรอ้ย 7 เด็กชายจกัรนิทร์ บุญเชี่ยว 8 เด็กชายชิษณพุงศ์ หงษาค า 9 เด็กชายโชคทวี พรมรกัษา 10 เด็กชายณฐัภูมินทร ์พลนอก 11 เด็กชายณฐัวุฒิ ค าวิเศษ 12 เด็กชายรพีภัทรแก้วลุน 13 เด็กชายสรวิศ โชติมนทิน 14 เด็กชายอนาวิน ค าฤาชัย 15 เด็กชายอมรเทพ วงษ์สิงห์ 16 เด็กหญิงกชกร สุวรรณโคตร 17 เด็กหญิงจนัทรพิมพ์ หมู่หัวนา 18 เด็กหญิงฉัตรสุดา หลักค า 19 เด็กหญิงทัศภร สะแกนอก 20 เด็กหญิงทิพย์สุดา ค าถวิล 21 เด็กหญิงสุภาพร เหล่าเจรญิ 22 เด็กหญิงอารยา สาขวา 23 เด็กหญิงอารยีา ไชยมาตร 24 เด็กหญิงเอมมิกา มงคลชู เลขที่ชื่อ - สกลุผรู้ับการประเมิน สรุปผลการประเมนิ ผ่าน/ไมผ่ ่าน ประเมินผล แบบประเมินใบงาน KWL ชั้นมัธยมศกึษาปีที่1/3 ค าชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานใบงานนักเรยีน โดยการประเมินคะแนนลงในช่องรายการประเมิน ก าหนดตามตารางแนบท้ายแบบ ประเมินใบงาน KWL
267 รูปแบบ เนื้อหา น าเสนอ ความ สวยงาม ตรงตอ่ เวลา รวม 4 4 4 4 4 20 คะแนน 1 เด็กชายณฐัวุฒิ เงาสะอาด 2 เด็กชายธนกร ศิรกิ าเลิศ 3 เด็กชายธนกิตติ์พงศ์ อุ่นสงคราม 4 เด็กชายธีรภัทร ช่างเหล็ก 5 เด็กชายพสุธร วรรณกุล 6 เด็กชายพัชรพล สายรตัน์ 7 เด็กชายพีรวัส จา ปามูล 8 เด็กชายพุฒพิัฒน์ กาญจนกุล 9 เด็กชายภูร ิดอนสินเพมิ่ 10 เด็กชายวงศกร บรรเลิง 11 เด็กชายวรนิทร เคนศิริ 12 เด็กชายวุฒชิัย ผันผ่อน 13 เด็กชายสหชัย สินธ์สิรวิัตร 14 เด็กชายสุขสันต์ แสงยางใหญ่ 15 เด็กชายอิทธิพล สุภาเกตุ 16 เด็กหญิงชนัญธิชา เนตรโสภา 17 เด็กหญิงธัญวลัย ใจทน 18 เด็กหญิงนัทธิชา แก้วแสนชัย 19 เด็กหญิงปารชิาติ แปลกสันเทียะ 20 เด็กหญิงพัชราภรณ์ แก้วนิวงศ์ 21 เด็กหญิงวรนิธร มูลมาตย์ 22 เด็กหญิงสุภานัน พรหมราช 23 เด็กหญิงสุภาวิดา อ่างทอง 24 เด็กหญิงอาทิตยา สอนสกุล เลขที่ชื่อ - สกลุผรู้ับการประเมิน ประเมินผล สรุปผลการประเมนิ ผ่าน/ไมผ่ ่าน แบบประเมินใบงาน KWL ชั้นมัธยมศกึษาปีที่1/4 ค าชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานใบงานนักเรยีน โดยการประเมินคะแนนลงในช่องรายการประเมิน ก าหนดตามตารางแนบ ท้ายแบบประเมินใบงาน KWL
268 ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน ( นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง นักเรียนได้ระดับคุณภาพที่ พอใช้ ขึ้นไปถือว่า ผ่าน
269 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน2 ค21102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จำนวน 15 ชั่วโมง เรื่อง ทดสอบหลังเรียนบทที่ 1 จำนวน 1 ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2566 โรงเรียนกุงเจริญวิทยา อบจ.อด.๘ วันที่..........เดือน................... พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์ หรือ ช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้ ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจำนวน เพื่อวิเคราะห์ และแก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. สาระสำคัญ ทดสอบความรู้พื้นฐาน เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถนำความรู้ทั้งหมดของบทเรียนมาตอบคำตอบได้ถูกต้อง (K) 2. แสดงการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ได้ถูกต้อง (P) 3. ใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นในการทำงาน (A) 4. สาระการเรียนรู้ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง มการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. แบบทดสอบทักษะการแก้ปัญหา 6. สมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการวิเคราะห์และการแก้ปัญหา
270 7. เครื่องมือการสอนคิด KWL 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และการทำแบบทดสอบหลังเรียน ให้นักเรียนทำแบบทดสอบเต็ม ความสามารถ มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และผู้อื่น ไม่ดูเพื่อน และไม่ให้เพื่อนดู มีความเชื่อมั่น ในตนเอง ถ้าทำไม่ได้ให้ข้ามไปทำข้ออื่นก่อน ขั้นที่ 2 ขั้นสอน ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนบทที่ 1 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว แบบ ปรนัย 4 ตัวเลือกจำนวน 10 ข้อ และ อัตนัย จำนวน 2 ข้อ ใช้เวลาประมาณ 50 นาที ขั้นมี่ 3 ขั้นสรุป ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า ผลการสอบบทเรียนบทนี้จะนำไปเป็นคะแนนเก็บของบทที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
271 9.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปร เดียว 2. แบบทดสอบทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 10. กระบวนการวัดและประเมินผล จุดประสงค์ เครื่องมือ วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1. นักเรียนสามารถนำ ค ว าม รู้ทั้ งห ม ด ข อ ง บทเรียนมาตอบคำตอบ ได้ถูกต้อง(K) แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ เรื่ อ ง มการเชิงเส้นตัวแปร เดียว ตรวจแบบทดสอบ วั ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เรี ย น คณิตศาสตร์ เรื่อง มการเชิงเส้นตัว แปรเดียว ผ่านเกณฑ์ตอบถูกต้อง ร้อยละ 70 2. นั ก เรียน ส าม ารถ เขียนแสดงวิธีการหา คำตอบของสมการเชิง เส้นตัวแปรเดียวจาก สถานการณ์หรือปัญหา ได้ถูกต้อง (P) แบบทดสอบทักษะการ แก้ปัญหา เรื่อง สมการ เชิงเส้นตัวแปรเดียว ตรวจแบบทดสอบ ทักษะการ แก้ปัญหา เรื่อง สมการเชิงเส้นตัว แปรเดียว ผ่านเกณฑ์ถูกต้องร้อย ละ 70 3. ใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นใน การทำงาน (A) แบบสังเกตพฤติกรรม/ สังเกตพฤติกรรมระหว่า ทำกิจกรรม สังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ระดับพอใช้ ขึ้นไป
272 บันทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ด้านความรู้(K) ............................................................................................................................. ......... ......................................................................................................................................... ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ............................................................................................................................. ......... ....................................................................................................................................... ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ...................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ปัญหาและอุปสรรค์ ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ลงชื่อ .............................................................. (นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู) นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา วันที่.........เดือน...................... พ.ศ. ............
273 บันทึกความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของครูพี่เลี้ยง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแของ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ ............................................................... (นางสาวปริษา ไร่ไสว) ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ..................................................... (นางสาววรรณิษา กสิผล) รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ ............................................................... (นางสาวกรรณิการ์ บุญประกอบ) ตำแหน่ง ครูพี่เลี้ยง
274 3 3 3 9 1 เด็กชายกรอบเกียรติชาภูพัตร์ 2 เด็กชายกฤษฎา เชียงษาวงศ์ 3 เด็กชายกิตติกร พรมวิจติร 4 เด็กชายกิตติศักดิ์ต้องสู้ 5 เด็กชายกิตติศักดิ์ทองภาพ 6 เด็กชายเกียรติศักดิ์อินทะสรอ้ย 7 เด็กชายจกัรนิทร์บุญเชี่ยว 8 เด็กชายชิษณพุงศ์หงษาค า 9 เด็กชายโชคทวีพรมรกัษา 10 เด็กชายณฐัภูมินทร์พลนอก 11 เด็กชายณฐัวุฒิค าวิเศษ 12 เด็กชายรพีภัทร แก้วลุน 13 เด็กชายสรวิศ โชติมนทิน 14 เด็กชายอนาวิน ค าฤาชัย 15 เด็กชายอมรเทพ วงษ์สิงห์ 16 เด็กหญิงกชกร สุวรรณโคตร 17 เด็กหญิงจนัทรพิมพ์หมู่หัวนา 18 เด็กหญิงฉัตรสุดา หลักค า 19 เด็กหญิงทัศภร สะแกนอก 20 เด็กหญิงทิพย์สุดา ค าถวิล 21 เด็กหญิงสุภาพร เหล่าเจรญิ 22 เด็กหญิงอารยา สาขวา 23 เด็กหญิงอารยีา ไชยมาตร 24 เด็กหญิงเอมมิกา มงคลชู ผา่นระดบั พอใช้ แบบสังเกตุพฤติกรรม นักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปีที่ 1/3 เลขที่ชื่อ- นามสกลุประเมินผล ส่งงาน ตรง ชิ้นงาน เรียบร้อ ตงั้ใจ ทา กจิ รวม
275 3 3 3 9 1 เด็กชายณฐัวุฒิเงาสะอาด 2 เด็กชายธนกร ศิรกิ าเลิศ 3 เด็กชายธนกิตติ์พงศ์อุ่นสงคราม 4 เด็กชายธีรภัทร ช่างเหล็ก 5 เด็กชายพสุธร วรรณกุล 6 เด็กชายพัชรพล สายรตัน์ 7 เด็กชายพีรวัส จา ปามูล 8 เด็กชายพุฒพิัฒน์กาญจนกุล 9 เด็กชายภูริดอนสินเพมิ่ 10 เด็กชายวงศกร บรรเลิง 11 เด็กชายวรนิทร เคนศิริ 12 เด็กชายวุฒชิัย ผันผ่อน 13 เด็กชายสหชัย สินธ์สิรวิัตร 14 เด็กชายสุขสันต์แสงยางใหญ่ 15 เด็กชายอิทธิพล สุภาเกตุ 16 เด็กหญิงชนัญธิชา เนตรโสภา 17 เด็กหญิงธัญวลัย ใจทน 18 เด็กหญิงนัทธิชา แก้วแสนชัย 19 เด็กหญิงปารชิาติแปลกสันเทียะ 20 เด็กหญิงพัชราภรณ์แก้วนิวงศ์ 21 เด็กหญิงวรนิธร มูลมาตย์ 22 เด็กหญิงสุภานัน พรหมราช 23 เด็กหญิงสุภาวิดา อ่างทอง 24 เด็กหญิงอาทิตยา สอนสกุล ประเมินผ ล แบบสังเกตุพฤติกรรม นักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปีที่ 1/4 ผา่นระดบั พอใช้ เลขที่ชื่อ- นามสกลุ ส่งงาน ตรงเวลา ชิ้นงาน เรียบร้อย ตงั้ใจทา กจิกกรม รวม
276 เกณฑ์ในการให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสิน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7-9 ดี 4-6 พอใช้ ต่ำกว่า 4 ปรับปรุง ***** หมายเหตุ คะแนน 4 ขึ้นไป ผ่าน****** ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน ( นายทรัพย์สิน ผ่านชมภู)
277 ภาคผนวก ค แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
278 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1. ข้อใดคือค่าของนิพจน์พีชคณิต 2x + 36 เมื่อ x = 30 ก. 66 ข. 76 ค. 86 ง. 96 2. ข้อใดคือค่าของนิพจน์พีชคณิต 35x + 14 เมื่อ x = -2 ก. 56 ข. -56 ค. 84 ง. -84 3. ข้อใดคือค่าของนิพจน์พีชคณิต 6m + 5 เมื่อ m = 20 ก. 125 ข. 115 ค. 105 ง. 95 4. โจ้ซื้อไอศกรีมสองแท่ง ถ้าไอศกรีมแท่ง หนึ่ง ราคา a บาท และอีกแท่งหนึ่งราคา 30 บาท เขียนนิพจน์พีชคณิตแทนข้อใดต่อไปนี้ ก. 2a ข. a + 30 ค. 30a ง. 30 - a 5. จำนวนซึ่งมากกว่า a อยู่ 47 เขียนนิพจน์ พีชคณิตแทนข้อใดต่อไปนี้ ใด ก. a + 47 ข. a - 30 ค. 47a ง. ไม่มีข้อใดถูก 6. หกเท่าของผลบวกของ m กับ 115 สามารถเขียนเป็นสัญลักษณ์ได้อย่างไร ก. (6 + m)115 ข. 6m +115 ค. 6(m + 115) ง. ไม่มีข้อใดถูก 7. จงตรวจสอบว่า 2 เป็นคำตอบของ สมการใด ก. ข. m = 2 - 4 ค. m + 6 = -2+6 ง. 12+8 = m + 2 8. ข้อใดเป็นการแทนค่าตัวแปรจากสมการ a + 5 = 2 ได้ถูกต้อง โดยกำหนดให้ a = (- 3) ก. (-3) + 5 = 2 ข. 2 + 5 = (-3) ค. 3 - 5 = 2 ง. 2 - 5 = 3 9. ข้อใดเป็นการแทนค่าตัวแปรจากสมการ 2y = 10 ได้ถูกต้อง โดยกำหนดให้ y = m ก. 2y = 10m ข. 2m = 10y ค. 2y = m ง. 2m = 10 10. ข้อใดเป็นการแทนค่าตัวแปรจากสมการ 5z - 5 = 21 ได้ถูกต้อง โดยกำหนดให้ 5z = n ก. 5n - 5 = 21 ข. n - 5 = 21 ค. 5z - 5 = 21m ง. n - 5 = 21z 11. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติ สมมาตรได้ถูกต้อง ก. ถ้า x = y และ y = 3 และจะสรุปได้ว่า x = 3 ข. ถ้า a + b = c และจะสรุปได้ว่า c = a + b ค. ถ้า 2 x 3 = 6 แล้ว (2 x 3) + (-5) = 6 +(- 5) ง. ถ้า n = 2 แล้ว 3n = 6 12. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติ ถ่ายทอดได้ถูกต้อง ก. ถ้า x = y และ y = 3 และจะสรุปได้ว่า x = 3 ข. ถ้า a + b = c และจะสรุปได้ว่า c = a + b ค. ถ้า 2 x 3 = 6 แล้ว (2 x 3) + (-5) = 6 +(- 5) ง. ถ้า n = 2 แล้ว 3n = 6 13. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของ การเท่ากันเกี่ยวกับการบวกได้ถูกต้อง ก. ถ้า x = y และ y = 3 และจะสรุปได้ว่า x = 3 ข. ถ้า a + b = c และจะสรุปได้ว่า c = a + b
279 ค. ถ้า 2 x 3 = 6 แล้ว (2 x 3) + (-5) = 6 +(- 5) ง. ถ้า n = 2 แล้ว 3n = 6 14. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของ การเท่ากันเกี่ยวกับการคูณได้ถูกต้อง ก. ถ้า x = y และ y = 3 และจะสรุปได้ว่า x = 3 ข. ถ้า a + b = c และจะสรุปได้ว่า c = a + b ค. ถ้า 2 x 3 = 6 แล้ว (2 x 3) + (-5) = 6 +(- 5) ง. ถ้า n = 2 แล้ว 3n = 6 15. ให้ m + 1 = 4 และ 4 = n ดังนั้น m + 1 = n เป็นสมบัติการเท่ากันตามข้อใด ก. สมบัติสมมาตร ข. สมบัติถ่ายทอด ค. สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวก ง. สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ 16. ข้อใดคือคำตอบของ 40 = 4k ก. 2 ข. 5 ค. 8 ง. 10 17. ข้อใดคือคำตอบของ b - 10 = -5 ก. 5 ข. 15 ค. -15 ง. -5 18. เศษหนึ่งส่วนสี่ของจำนวนจำนวนหนึ่ง เท่ากับ 15 จงหาจำนวนนั้น ก. 55 ข. 60 ค. 65 ง. 70 19. น้อยมีเงินมากกว่านิด 6 บาท ทั้งสองคน มีเงินรวมกัน 40 บาท จงหาจำนวนเงินของ น้อย ก. 17 บาท ข. 20 บาท ค. 23 บาท ง. 36 บาท 20. เมื่อ 5 ปีที่แล้วฝาแฝดสองคนมีอายุ รวมกันเป็น 18 ปี ให้ x แทนอายุของฝา แฝดสองคนในปัจจุบัน ข้อใดคือสมการที่ได้ จากโจทย์ปัญหานี้ ก. 2(x - 5) = 18 ข. 2x - 5 = 18 ค. 2x + 5x = 18 ง. 5(x - 2) = 18
280 ภาคผนวก ง แบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหา
281 แบบทดสอบวัดทักษาะการแก้ปัญหา 1. อีกสามปี มานะจะมีอายุครบ 21 ปี จงหาอายุปัจจุบันของมานะ 1.1 ขั้นทำความเข้าใจปัญหา (โจทย์กำหนดอะไร) _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ 1.2 ขั้นวางแผน (โจทย์ต้องการอะไร และมีวิธีการหาคำตอบอย่างไร) _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ 1.3 ขั้นที่ 3 ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ (แก้โจทย์ปัญหา) _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ 1.4 ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคำตอบและความสมเหตุสมผล _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________
282 2. เศษสามส่วนห้าของจำนวนจำนวนหนึ่งมากกว่า 15 อยู่ 60 จงหาจำนวนนั้น 2.1 ขั้นทำความเข้าใจปัญหา (โจทย์กำหนดอะไร) _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ 2.2 ขั้นวางแผน (โจทย์ต้องการอะไร และมีวิธีการหาคำตอบอย่างไร) _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ 2.3 ขั้นที่ 3 ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ (แก้โจทย์ปัญหา) _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ 2.4 ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคำตอบและความสมเหตุสมผล _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________
283 ภาคผนวก จ แบบสอบถามการทำงานเป็นทีม
284 แบบสอบถามการทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นทีม หมายถึง การที่แต่ละบุคคลมาร่วมกันทำงานให้เสร็จสมบูรณ์โดยมีวัตถุประสงค์ ร่วมกัน ร่วมแรงร่วมใจใช้ทักษะความรอบรู้ที่มีร่วมกันทำงานอย่างเต็มความสามารถ มีการวาง แผนการทำงานร่วมกัน คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ∕ ลงใน ทางขวามมือโดยตอบให้ตรงกับระดับการปฏิบัติของ นักเรียน 5 หมายถึง มีการปฏิบัติบ่อยที่สุด 4 หมายถึง มีการปฏิบัติบ่อย 3 หมายถึง มีการปฏิบัติปานกลาง 2 หมายถึง มีการปฏิบัติน้อย 1 หมายถึง มีการปฏิบัติน้อยที่สุด ชื่อ-นาสกุล ....................................................................... เลขที่............................. ชั้น..................... ข้อ รายการประเมิน ระดับปฏิบัติการ ด้านกระบวนการทำงาน 5 4 3 2 1 1 นักเรียนวิเคราะห์ชิ้นงานก่อนลงมือทำกับสมาชิกภายในกลุ่ม 2 นักเรียนแสดงความคิดเห็นวางแผนในการทำกิจกรรมกลุ่ม 3 นักเรียนลงมือทำชิ้นงานช่วยสมาชิกภายในกลุ่ม 4 นักเรียนทำงานตามแผนที่สมาชิกในกลุ่มทุกคนวางแผนไว้ 5 นักเรียนมีบทบาทประเมินชิ้นงานที่เกิดขึ้นภายในกลุ่ม ด้านสมาชิกมีความพอใจในทีม 6 นักเรียนยอมรับการตัดสินในของหัวหน้ากลุ่ม 7 นักเรียนมีความจริงใจต่อสมาชิกในกลุ่ม 8 นักเรียนไว้วางใจสมาชิกในกลุ่มในการทำกิจกรรม 9 นักเรียนยอมรับฟังเหตุผลของสมาชิกภายในกลุ่ม 10 นักเรียนเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองและสมาชิกภายใน กลุ่ม ด้านสื่อสารที่ดี 11 หัวหน้ากลุ่มมีการสื่อสารชี้แจงงานที่ชัดเจนเข้าใจง่าย 12 สมาชิกภายในกลุ่มมีการสื่อสารที่ดี 13 สมาชิกภายในกลุ่มยอมรับฟังความคิดเห็นกัน 14 สมาชิกภายในกลุ่มซักถามข้อสงสัยอย่างเปิดเผย 15 สมาชิกภายในกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ด้านแก้ปัญหาอุปสรรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ 16 นักเรียนช่วยออกความคิดเห็นเพื่อช่วยกลุ่มแก้ปัญหา 17 นักเรียนและกลุ่มมีเป้าหมายที่ชัดเจน
285 ข้อ รายการประเมิน ระดับปฏิบัติการ 18 นักเรียนและกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละครั้ง 19 นักเรียนมีบทบาทในการเสนอทางเลือกเพื่อแก้ปัญหา 20 นักเรียนมีบทบาทในการประเมินทางเลือกในการแก้ปัญหา ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................
286 ภาคผนวก ฉ แบบตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือของผู้เชี่ยวชาญ (Index of Item Objective Congruence : IOC) เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
287 ตารางวิเคราะห์ความเหมาะของสาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการ เรียนรู้ และการวัดและประเมินผลตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อแผนการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ... ข้อ รายการประเมิน ความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ 5 4 3 2 1 ด้านที่ 1 สาระสำคัญ 1.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 1.2 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 1.3 มีความหมายชัดเจน เข้าใจง่าย ด้านที่ 2 ด้านจุดประสงค์ 2.1 สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัด 2.2 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 2.3 ระบุพฤติกรรมที่ต้องการวัด อย่างชัดเจน ด้านที่ 3 สาระการเรียนรู้ 3.1 เนื้อหามีความถูกต้อง 3.2 เรียงลำดับความยากง่ายเหมาะสม 3.3 เวลาเรียนเหมาะสม ด้านที่ 4 กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 4.2 รอบคลุมสาระการเรียนรู้ 4.3 เรียงลำดับในกิจกรรมได้เหมาะสม ตามรูปแบบ STAD 4.4 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม 4.5 เวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม ด้านที่ 5 การวัดและประเมินผล 5.1 ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ 5.2 การประเมินใช้ข้อมูลที่หลากหลาย 5.3 ใช้เครื่องมือวัดผลที่เหมาะสม
288 แบบประเมินความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จุดประสงค์ / ข้อสอบ ความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ ข้อแนะนำ +1 0 -1 จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 สามารถหาค่าของนิพจน์พีชคณิตได้ ข้อที่ 1. ข้อใดคือค่าของนิพจน์พีชคณิต 2x + 36 เมื่อ x = 30 (เข้าใจ) ก. 66 ข. 76 ค. 86 ง. 96 ข้อที่ 2 ข้อใดคือค่าของนิพจน์พีชคณิต 35x + 14 เมื่อ x = -2 (เข้าใจ) ก. 56 ข. -56 ค. 84 ง. -84 ข้อที่ 3 ข้อใดคือค่าของนิพจน์พีชคณิต 6m + 5 เมื่อ m = 20 (เข้าใจ) ก. 125 ข. 115 ค. 105 ง. 95 ข้อที่ 4 ข้อใดคือค่าของนิพจน์พีชคณิต 4(7 + m) เมื่อ m = 13 (เข้าใจ) ก. 70 ข. 75 ค. 80 ง. 85
289 ข้อที่ 5 ข้อใดคือค่าของนิพจน์พีชคณิต เมื่อ k = 2 (เข้าใจ) ก. 19 ข. 16 ค. 15 ง. 14 จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 สามารถบอกการเขียนนิพจน์พีชคณิตแทน ข้อความจากสถานการณ์ที่กำหนดให้ได้ ข้อที่ 1 โจ้ซื้อไอศกรีมสองแท่ง ถ้าไอศกรีมแท่งหนึ่ง ราคา a บาท และอีก แท่งหนึ่งราคา 30 บาท เขียนนิพจน์พีชคณิตแทนข้อใดต่อไปนี้(วิเคราะห์) ก. 2a ข. a + 30 ค. 30a ง. 30 - a ข้อที่ 2 จำนวนซึ่งมากกว่า a อยู่ 47 เขียนนิพจน์พีชคณิตแทนข้อใดต่อไปนี้ ใด (วิเคราะห์) ก. a + 47 ข. a - 30 ค. 47a ง. ไม่มีข้อใดถูก ข้อที่ 3 หกเท่าของผลบวกของ m กับ 115 สามารถเขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ อย่างไร (วิเคราะห์) ก. (6 + m)115 ข. 6m +115 ค. 6(m + 115) ง. ไม่มีข้อใดถูก ข้อที่ 4 ผลบวกของจำนวนจำนวนหนึ่งกับ 7 หารด้วย 12 สามารถเขียน สัญลักษณ์ได้อย่างไร (วิเคราะห์) ก. ข. ค. ง. ไม่มีข้อใดถูก