ก
เอกสารประกอบการสอนความรเู้ บื้องต้น
เกย่ี วกบั รายวชิ าพระไตรปฎิ กศกึ ษา 1
BU5002 TTPITAKA STUDIES 1
พระไตรปิฎกศกึ ษา 1
TTPITAKA STUDIES 1
พระครูวนิ ัยธรสญั ชยั ญาณวโี ร (ทิพย์โอสถ) ดร.
คณะศาสนาและปรัชญา สาขาวิชาพุทธศาสตร์
ข
มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา
ปกหลงั
ข้อมลู อ้างองิ ภาพ ; พทุ ธทาสภิกข.ุ มองแตแ่ งด่ เี ถดิ ,
ค
ก
คำนำ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา BU5002 พระไตรปิฏกศึกษา 1 เป็นรายวิชาในหมวด
พืน้ ฐานศาสนาบังคับ โดยเฉพาะพระพุทธศาสนา มีจุดมุ่งหมายในการจำแนกหมวดหมู่ โครงสร้างและ
เน้ือหาของพระไตรปิฎก แยกประเภทและลำดับช้ันคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ฐานะและความสำคัญ
ของพระไตรปิฎกและคัมภีร์ช้ันรอง วิเคราะห์ภูมิปัญญาในพระไตรปิฎกและการศึกษาพุทธศาสน
สภุ าษิตศึกษาประวัติ วิเคราะห์แนวคิดและหลักการ วัตถุประสงค์การบัญญัติพระวินัย ให้การค้นคว้า
พระไตรได้ง่ายขึ้น เอกสารฉบับน้ีเกิดจากการค้นคว้านำมาประมวลผลเรียบเรียงเป็นตำราขข้ึน โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อท่ีจะให้เกิดตำราความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระไตรปิฎกสำหรับนักศึกษาและบุคคล
ทั่วไปทตี่ ้องการเพม่ิ พนู ความร้แู ละนำไปใช้ประโยชนใ์ นการดำเนนิ ชีวิต
เอกสารประกอบการสอนนี้ประกอบไปด้วยแนวคิดและหลักการตามสังเขปรายวิชา ซ่ึง
ประกอบด้วยเนื้อหาการเรียนการสอนไว้ 9 บท มีดังนี้ บทท่ี 1 วิเคราะห์การจำแนกหมวดหมู่
โครงสร้างและเนื้อหาของพระไตรปิฎก บทท่ี 2 ประเภทและลำดับชัน้ คมั ภีร์ทางพระพุทธศาสนา บท
ท่ี 3 ฐานะความสำคญั ของพระไตรปิฎกและคัมภรี ์ช้นั รอง บทที่ 4 วเิ คราะห์ภูมิปัญญาในพระไตรปิฎก
บทที่ 5 การศึกษาประวัติความเป็นของพุทธศาสนสุภาษิต บทท่ี 6 แนวคิดและหลักการ วตั ถปุ ระสงค์
การบัญญัติพระวินัย บทที่ 7 การบัญญัติพระวนิ ัย บทบัญญัติหรือศลี ประเภทต่าง ๆ การปฏิบัติ บทที่
8 การตีความ วินิจฉัยและวิธีการตัดสินอธิกรณ์ในพระวินัย บทที่ 9 การเปรียบเทียบการบัญญัติพระ
วินัยกับการบัญญัติกฎหมาย ในแต่ละบทจะมุ่งหมายให้ผู้ศึกษาเข้าใจในหลักการพระพุทธศาสนาและ
การนำไปประยกุ ตใ์ ช้ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการสอนพระไตรปิฏกศึกษา 1 เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อ
นักศึกษาผู้สนใจทั่วไป ในหลักพระธรรมวินัยและแนวคิดเกี่ยวกับระเบียบของพระสงฆ์ใน
พระพุทธศาสนา ทั้งน้ีหากท่านท่ีนำไปใช้แล้วมีข้อเสนอแนะ ผู้เรียบเรียงยินดีรับฟังข้อคิดเห็นต่างๆ
และกราบขอบพระคุณมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ที่ให้ความอนุเคราะห์
และจัดทำเอกสารประกอบการสอนเลม่ น้จี นสำเรจ็ ดว้ ยดี
พระครูวินัยธรสัญชยั ญาณวโี ร (ทพิ ยโ์ อสถ), ดร.
พฤศจิกายน 2562
ข หน้า
ก
สารบญั ข
จ
คำนำ ฉ
สารบัญ ฎ
สารบญั แผนภูมิ 1
แผนบริหารการสอนประจำรายวชิ า 2
คำอธิบายสญั ลักษณแ์ ละคำย่อ 2
แผนบริหารการสอนประจำบทเรียนบทท่ี 1 3
บทท่ี 1 วเิ คราะห์การจำแนกหมวดหมู่ โครงสรา้ งและเน้ือหาของพระไตรปฎิ ก 4
7
1.1 บทนำ 18
1.2 ประวตั ิความเปน็ มาของพระพทุ ธศาสนา 19
1.3 ประวตั กิ ารสงั คายนาและการจำแนกหมวดหมขู่ องพระไตรปิฎก 20
1.4 โครงสรา้ งของพระไตรปฎิ ก 21
1.5 คำถามทบทวนประจำบทที่ 1 21
1.6 เอกสารอา้ งองิ 22
แผนบรหิ ารการสอนประจำบทเรียนบทที่ 2 30
บทท่ี 2 ประเภทและลำดับช้ันคัมภีรท์ างพระพุทธศาสนา 33
2.1 บทนำ 35
2.2 คัมภรี ช์ น้ั พระไตรปิฎก 42
2.3 คมั ภีร์ช้นั อรรถกถา 43
2.4 คัมภีรช์ น้ั ฎกี า 44
2.5 คมั ภรี อ์ นุฎกี า 45
2.6 คำถามทบทวนประจำบทท่ี 2 45
2.7 เอกสารอา้ งองิ 46
แผนบริหารการสอนประจำบทเรียนบทท่ี 3 52
บทที่ 3 ฐานะความสำคัญของพระไตรปฎิ กและคัมภรี ์ช้ันรอง 53
3.1 บทนำ 55
3.2 ฐานะความสำคญั ของพระไตรปิฎก 56
3.3 ฐานะความสำคัญของคัมภีรช์ นั้ อรรถกถา 57
3.4 ฐานะความสำคญั ของคมั ภรี ช์ ้ันฎกี า 58
3.5 ฐานะความสำคัญของคมั ภีรช์ นั้ อนุฎกี า 59
3.6 คำถามทบทวนประจำบทที่ 3 59
3.7 เอกสารอ้างอิง
แผนบรหิ ารการสอนประจำบทเรยี นบทที่ 4
บทท่ี 4 วิเคราะห์ภมู ปิ ญั ญาในพระไตรปฎิ ก
4.1 บทนำ
ค 61
65
4.2 ภูมปิ ญั ญาแหง่ ความเปน็ มนษุ ย์พระไตรปิฎก 73
4.3 คุณลักษณะของมนุษย์ในพระไตรปฎิ ก 79
4.4 ภาวะความเป็นผูน้ ำไปในพระไตรปิฎก 86
4.5 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระไตรปฎิ ก 87
4.6 คำถามท้ายบทท่ี 4 89
4.7 เอกสารอา้ งองิ 90
แผนบรหิ ารการสอนประจำบทเรียนบทท่ี 5 90
บทท่ี 5 การศึกษาประวตั คิ วามเปน็ ของพทุ ธศาสนสภุ าษติ 90
5.1 บทนำ 93
5.2 ความหมายของพทุ ธศาสนสุภาษติ 137
5.3 พทุ ธศาสนสภุ าษติ 141
5.4 พทุ ธศาสนสุภาษิตกับการนำไปใชป้ ระโยชน์ 142
5.5 คำถามทบทวนประจำบทที่ 5 143
5.6 เอกสารอ้างอิง 144
แผนบริหารการสอนประจำบทเรียนบทที่ 6 144
บทที่ 6 แนวคิดและหลักการ วัตถุประสงค์การบญั ญัตพิ ระวนิ ัย 145
6.1 บทนำ 153
6.2 แนวคิด หลักการของการบัญญตั พิ ระวนิ ยั 155
6.3 วตั ถุประสงค์ของการบัญญัตพิ ระวินยั 162
6.4 ประโยชนก์ ารบัญญัติพระวินยั 168
6.5 พระวนิ ยั กับการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวนั 169
6.6 คำถามทบทวนประจำบทที่ 6 171
6.7 เอกสารอ้างองิ 172
แผนบริหารการสอนประจำบทเรียนบทท่ี 7 172
บทที่ 7 การบญั ญตั พิ ระวนิ ัย บทบญั ญัตหิ รือศีลประเภทต่าง ๆ การปฏิบัติ 172
7.1 บทนำ 181
7.2 การบญั ญตั ิพระวินัย 241
7.3 ประเภทของศีล บทบญั ญตั ติ ่างๆ วธิ กี ารปฏิบัตขิ องศลี ประเภทตา่ งๆ 246
7.4 ผลทไ่ี ดจ้ ากการปฏิบัตติ ามศลี ประเภทต่างๆ 247
7.5 คำถามทบทวนประจำบทท่ี 7 248
7.6 เอกสารอ้างอิง 249
แผนบริหารการสอนประจำบทเรยี นบทท่ี 8 249
บทที่ 8 การตีความ วินิจฉยั และวธิ ีการตัดสนิ อธกิ รณ์ในพระวินัย 250
8.1 บทนำ 265
8.2 การตีความพระวินัย
8.3 การวนิ จิ ฉัยพระวินยั
ง 267
272
8.4 วธิ กี ารตดั สินอธิกรณใ์ นพระวนิ ยั 273
8.5 คำถามทบทวนประจำบทที่ 8 274
8.6 เอกสารอ้างองิ 275
แผนบริหารการสอนประจำบทเรียนบทที่ 9 275
บทท่ี 9 การเปรียบเทยี บการบญั ญตั พิ ระวินัยกับการบญั ญัติกฎหมาย 275
9.1 บทนำ 280
9.2 การบัญญัติพระวนิ ัยในพระพทุ ธศาสนา 283
9.3 การบัญญตั กิ ฏหมาย 290
9.4 การเปรยี บเทียบการบัญญัติพระวินยั กบั การบัญญตั ิกฎหมาย 295
9.5 วิธีการตัดสินปญั หาพระวินัยในพระพุทธศาสนา 307
9.6 การประยกุ ตใ์ ช้วธิ กี ารทางพระวนิ ยั กับตัดสนิ ปญั หา 308
9.7 คำถามทบทวนประจำบทที่ 9 309
9.8 เอกสารอ้างองิ 314
บรรณานุกรม
ประวตั ผิ ูเ้ รยี บเรยี ง
จ หนา้
83
สารบญั แผนภูมิ
แผนภมู ทิ ่ี 1 สรปุ แนวคดิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ฉ
แผนบริหารการสอนประจำรายวิชา
ชอื่ รายวิชา (ชื่อวชิ าภาษาไทย) พระไตรปิฏกศึกษา 1 รหสั วิชา BU 5002
(ช่อื วชิ าภาษาอังกฤษ) BU 5002 Tipitaka Studies 1
จำนวนหน่วยกติ – ชว่ั โมง 3 (3-0-6)
เวลาเรยี น 15 สัปดาห์ (3x15) = 45 ชม./ภาคเรียน
คำอธบิ ายรายวชิ า
วิเคราะห์การจำแนกหมวดหมู่ โครงสร้างและเนื้อหาของพระไตรปิฎก ประเภทและลำดับชั้นคัมภีร์
ทางพระพุทธศาสนา ฐานะและความสำคัญของพระไตรปิฎกและคัมภีร์ชั้นรอง ภูมิปัญญาในพระไตรปิฎก
และการศึกษาพุทธศาสนสุภาษิตศึกษาประวัติ แนวคิดและหลักการ วัตถุประสงค์การบัญญัติพระวินัย วิธี
บญั ญตั พิ ระวินัย บทบัญญัตหิ รือศลี ประเภทต่าง ๆ การปฏิบตั ิ การตีความ วนิ ิจฉยั และวิธกี ารตัดสนิ อธิกรณ์
ในพระวนิ ัย ศึกษาเปรยี บเทียบการบัญญัติพระวินยั กับการบัญญัตกิ ฎหมาย การประยกุ ต์ใช้วิธกี ารทางพระ
วินัยกบั ตัดสินปญั หา
จดุ มุง่ หมายของรายวชิ า
1. วเิ คราะห์การจำแนกหมวดหมู่ โครงสร้างและเนอื้ หาของพระไตรปฎิ ก
2. แยกประเภทและลำดับช้ันคัมภีรท์ างพระพทุ ธศาสนา ฐานะและความสำคัญของพระไตรปิฎกและ
คมั ภรี ช์ น้ั รอง
3. วเิ คราะหภ์ มู ิปัญญาในพระไตรปิฎกและการศกึ ษาพุทธศาสนสภุ าษติ ศึกษาประวัติ
4. วเิ คราะหแ์ นวคิดและหลกั การ วัตถุประสงคก์ ารบัญญตั ิพระวินยั
5. วเิ คราะห์วธิ ีบญั ญัติพระวินยั บทบญั ญตั ิหรอื ศลี ประเภทตา่ ง ๆ การปฏบิ ัติ
6. วิเคราะห์ ตีความ วินจิ ฉยั และวิธกี ารตดั สินอธิกรณใ์ นพระวนิ ัย
7. เปรยี บเทยี บการบญั ญัติพระวนิ ยั กบั การบญั ญตั กิ ฎหมาย
8. ประยกุ ต์ใชว้ ธิ ีการทางพระวนิ ัยกับตดั สนิ ปญั หา
เนื้อหาและกจิ กรรมการเรยี นการสอน
คาบที่ หวั ข้อ/รายละเอียด จำนวน กิจกรรมการเรียนการสอน สอ่ื ทีใ่ ช้
ชว่ั โมง
1 บทที่ 1 วิเคราะห์การจำแนกหมวดหมู่ บ ร ร ย า ย ค ว า ม เป็ น ม า ข อ ง
โครงสรา้ งและเนื้อหาของพระไตรปฎิ ก พระไตรปิฎก การยกตัวอย่าง
1.1 บทนำ ป ร ะ ก อ บ ซั ก ถ า ม ส่ื อ ท่ี ใช้
1.2 ป ระวัติ ค ว าม เป็ น ม าข อ ง 3 โปรแกรม MS Power Point
พระพุทธศาสนา ให้ ดู วี ดี โอ เรื่ อ ง ก า ร เผ ย แ ผ่ พุ ท ธ
1.3 ประวัติการสังคายนาและการ ศาสนาของพระเจ้าอโศกมหาราช
จำแนกหมวดหมู่ของพระไตรปฎิ ก จากสารคดี ตามรอยพระพุทธเจ้า
1.4 โครงสรา้ งของพระไตรปฎิ ก และแนะนำแหล่งการเรียนรู้ทั้ง
ท า ง E-learning, E-book,
website ต่ า ง ๆ ท่ี เ กี่ ย ว กั บ
การศึกษาพระไตรปฏิ ก
ช
คาบที่ หวั ขอ้ /รายละเอยี ด จำนวน กจิ กรรมการเรียนการสอน สือ่ ท่ใี ช้
ช่วั โมง
2 บทท่ี 2 ประเภทและลำดบั ชนั้ คมั ภรี ์ทาง บรรยาย การยกตัวอย่างประกอบ
พระพุทธศาสนา ซักถาม ส่ือท่ีใช้ โปรแกรม MS
2.1 บทนำ Power Point
2.2 คัมภรี ช์ น้ั พระไตรปฎิ ก แ น ะ น ำ เก่ี ย ว กั บ คั ม ภี ร์ ชั้ น
2.3 คมั ภรี ช์ นั้ อรรถกถา 3 พระไตรปิฎกและคมั ภีร์ชนั้ รอง
2.4 คมั ภรี ช์ ้ันฎีกา
2.5 คมั ภีรอ์ นุฎกี ากระะบวนการการ
บัญญัตกิ ฎหมาย
3 บทที่ 3 ฐานะความสำคัญของพระไตรปิฎก บรรยาย การยกตัวอย่างประกอบ
และคมั ภีร์ชั้นรอง 3 ซักถาม สื่ อที่ ใช้ โปรแกรม MS
3.1 บทนำ Power Pointแบ่งกลุ่มการนำเสนอ
3 .2 ฐ า น ะ ค ว า ม ส ำ คั ญ ข อ ง ประเด็นท่ีให้ไปค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
พระไตรปฎิ ก แบ่งกลุ่มกัน โดยมีประเด็นนำมาจาก
3.3 ฐานะความสำคัญของคัมภีร์ช้ัน เนื้อหาที่สอนให้นักศึกษาช่วยกัน
อรรถกถา วิเคราะห์ใช้กรณี ศึกษา คือให้ดู
3.4 ฐานะความสำคัญของคัมภีร์ช้ัน ตัวอย่างจากวิดีโอท่ีเตรียมมาเร่ือง
ฎีกา เกี่ยวกับการฐานะความสำคัญของ
3.5 ฐานะความสำคัญของคัมภีร์ชั้น พระไตรปฎิ กและคัมภรี ์ชั้นรอง
อนุฎีกา
4 บทที่ 4 วเิ คราะห์ภมู ิปัญญาในพระไตรปิฎก บรรยาย การยกตัวอย่างประกอบ
4.1 บทนำ ซักถาม ส่ื อที่ ใช้ โปรแกรม MS
4.2 ภูมิปัญญาแห่งความเป็นมนุษย์ Power Pointใช้กรณี ศึกษา เร่ือง
พระไตรปิฎก 3 ตัวอย่างที่เกี่ยวกับเน้ือหา กรณี
4.3 คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ งม นุ ษ ย์ ใน ตัวอย่างในส่ือต่างๆ ภูมิปัญญาแห่ง
พระไตรปิฎก ความเป็ นมนุ ษย์ พระไตรปิ ฎก
4 .4 ภ าว ะ ค ว าม เป็ น ผู้ น ำไป ใน แบ่งกลุ่มการนำเสนอประเด็นท่ีให้ไป
พระไตรปฎิ ก ค้นคว้าหน้าชั้นเรียน แบ่งกลุ่มกัน
4.5 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว โดยมีประเด็นนำมาจากเนือ้ หาท่ีสอน
พระไตรปิฎก ใหน้ กั ศกึ ษาช่วยกนั วเิ คราะห์
5 บทที่ 4 วเิ คราะห์ภูมปิ ัญญาในพระไตรปิฎก กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น
4.1 บทนำ บรรยาย การยกตัวอย่างประกอบ
4.2 ภูมิปัญญาแห่งความเป็นมนุษย์ ซักถาม ส่ือท่ีใช้ โปรแกรม MS
พระไตรปิฎก 3 Power Point
4.3 คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ งม นุ ษ ย์ ใน ใช้กรณี ศึกษา เรื่องตัวอย่างที่
ซ
คาบที่ หวั ข้อ/รายละเอียด จำนวน กิจกรรมการเรยี นการสอน สื่อท่ใี ช้
ชั่วโมง
พระไตรปฎิ ก เกี่ยวกับเน้ือหา เช่น คุณลักษณะ
4 .4 ภ าว ะ ค ว าม เป็ น ผู้ น ำไป ใน ของมนุษย์ในพระไตรปิฎก ภาวะ
พระไตรปฎิ ก ความเป็นผนู้ ำไปในพระไตรปฎิ ก
4.5 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว แบ่งกลุ่มการนำเสนอประเด็นที่ให้
พระไตรปิฎก ไปค้นคว้าหน้าชั้นเรียน แบ่งกลุ่ม
กัน โดยมี ป ระเด็น น ำม าจาก
เน้ือหาท่ีสอนให้นักศึกษาช่วยกัน
วิเคราะห์
6-7 บทท่ี 5 การศึกษาประวตั คิ วามเป็นของพุทธ บรรยาย การยกตัวอย่างประกอบ
ศาสนสุภาษิต ซักถาม สื่อท่ีใช้ โปรแกรม MS
5.1 บทนำ Power Point ใช้กรณีศึกษา เรื่อง
5.2 ความหมายของพทุ ธศาสน ตัวอย่างท่ีเก่ียวกับเนื้อหา เช่น
สภุ าษิต 6 เก่ียวกับความหมายของพุทธ
5.3 ประเภทของพุทธศาสนสุภาษติ ศาสนสุภาษิต ประเภทของพุทธ
5.4 พุทธศาสนสุภาษิต ศาสนสุภาษิต พุทธศาสนสุภาษิต
5.5 พุทธศาสนสภุ าษติ กับการ กบั การนำไปใช้ประโยชน์
นำไปใชป้ ระโยชน์ แบ่งกลุ่มการนำเสนอประเด็นที่ให้
ไปค้นคว้าหน้าช้ันเรียน แบ่งกลุ่ม
กัน โดยมี ป ระเด็น น ำม าจาก
เน้ือหาที่สอนให้นักศึกษาช่วยกัน
วิเคราะห์ นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
8-9 บทที่ 6 แนวคิดและหลักการ วัตถุประสงค์ บรรยาย การยกตัวอย่างประกอบ
การบญั ญตั พิ ระวนิ ัย ซักถาม ส่ือที่ใช้ โปรแกรม MS
6.1 บทนำ Power Pointแ บ่ ง ก ลุ่ ม ก า ร
6.2 แนวคิด หลักการของการบัญญัติ นำเสนอประเด็นท่ีให้ไปค้นคว้า
พระวินัย 6 หน้าชั้นเรียน แบ่งกลุ่มกัน โดยมี
6.3 วัตถุประสงค์ของการบัญญัติพระ ประเด็นนำมาจากเนื้อหาที่สอนให้
วินัย นั ก ศึ ก ษ า ช่ ว ย กั น วิ เค ร า ะ ห์
6.4 ประโยชน์การบญั ญัตพิ ระวนิ ัย นำเสนอหน้าชั้นเรยี น
6 .5 พ ร ะ วิ นั ย กั บ ก า ร น ำ ไป ใช้
ประโยชน์ในชวี ิตประจำวนั
10- บทท่ี 7 การบัญญัติพระวินัย บทบัญญัติ บรรยาย การยกตัวอย่างประกอบ
11 หรือศลี ประเภทตา่ ง ๆ การปฏบิ ัติ ซักถาม ส่ือท่ีใช้ โปรแกรม MS
7.1 บทนำ Power Point
ฌ
คาบท่ี หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน กจิ กรรมการเรยี นการสอน สอื่ ท่ีใช้
ชวั่ โมง
7.2 การบญั ญตั พิ ระวินัย ให้นักศึกษานำเสนองานที่ได้รับ
7.3 ประเภทของศีล บทบัญญัติต่างๆ 6 ม อ บ ห ม าย ไว้ แ บ่ งก ลุ่ ม ต าม
วธิ กี ารปฏิบัติของศลี ประเภทตา่ งๆ ประเด็นท่ีอาจารย์ได้มอบหมายให้
7.4 ผลที่ได้จากการปฏิบัติตามศีล ไป นำเสนอหน้าช้นั
ประเภทต่างๆ
12- บทที่ 8 การตีความ วินิจฉัยและวิธีการ บรรยาย การยกตัวอย่างประกอบ
13 ตดั สนิ อธิกรณใ์ นพระวนิ ยั ซักถาม สื่อท่ีใช้ โปรแกรม MS
8.1 บทนำ Power Point
8.2 การตีความพระวนิ ยั 6 ใ ช้ ก ร ณี ศึ ก ษ า ตั ว อ ย่ า ง
8.3 การวนิ จิ ฉัยพระวินัย ป ระก อบ ก ารส อน เช่ น ก าร
8.4 วธิ กี ารตดั สนิ อธกิ รณใ์ นพระวินัย ตีความพระวินัยการวินิจฉัยพระ
วินัย วิธีการตัดสินอธิกรณ์ในพระ
วินยั
14- บทท่ี 9 การเปรียบเทียบการบัญญัติพระ บรรยาย การยกตัวอย่างประกอบ
15 วินยั กบั การบญั ญตั ิกฎหมาย ซักถาม สื่อท่ีใช้ โปรแกรม MS
9.1 บทนำ Power Point
9 .2 ก า ร บั ญ ญั ติ พ ร ะ วิ นั ย ใ น ใ ช้ ก ร ณี ศึ ก ษ า ตั ว อ ย่ า ง
พระพุทธศาสนา 6 ป ระก อบ ก ารส อน เช่ น ก าร
9.3 การบัญญตั ิกฏหมาย เปรียบเทียบการบัญญัติพระวินัย
9.4 การเปรียบเทียบการบัญญัติพระ กับการบัญ ญั ติกฎ หมาย การ
วนิ ัยกับการบัญญตั ิกฎหมาย ประยุกตใ์ ช้วิธีการทางพระวินัยกับ
9.5 วิธีการตัดสินปัญหาพระวินัยใน ตัดสนิ ปญั หา
พระพุทธศาสนา
9.6 การประยุกต์ใช้วิธีการทางพระ
วนิ ัยกับตัดสินปญั หา
ส่ือการเรียนการสอน
1. หนังสอื ตำรา วารสาร ผลงานทางวชิ าการ งานวิจัย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงาน
4. พาวเวอร์พอยท์ (Power Point)
5. สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
การวดั ผลและประเมินผล
1. การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในการอภิปรายในช้นั เรยี น 10%
2. การปฏิบัตติ ามกจิ กรรมท่ผี ู้สอนมอบหมาย 20%
ญ
3. การนำเสนอผลงานในชั้นเรยน 30%
20%
4. การทำแบบฝกึ หดั และการทดสอบ 20%
5. การทดสอบปลายภาคเรยี น ค่าระดบั คะแนน
4.00
เกณฑ์ในการประเมนิ ผล แบบอิงเกณฑ์ 3.50
3.00
ระดับคะแนน ค่าร้อยละ 2.50
2.00
A 90-100 1.50
1.00
B+ 85-89 0.00
B 75-84
C+ 70-74
C 60-69
D+ 55-59
D 50-54
F 0-49
ฎ
คำอธบิ ายสัญลักษณ์และคำย่อ
1. คำย่อเกี่ยวกับพระไตรปิฎก
เอกสารประกอบการสอนฉบบั นใ้ี ช้พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พุทธศักราช 2539 และมหาวิทยาลัย
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. ในการอ้างอิง
โดยจะระบุที่ระบุเล่ม/ข้อ/หน้า หลังคำย่อช่ือคัมภีร์ เช่น ม.มู (ไทย) 13/115/127. หมายถึง
สุตตันตปฎิ ก มชั ฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ พระไตรปฎิ กภาษาไทย เล่มท่ี 13 ขอ้ ที่ 115 หน้า 127 (กอง
วชิ าการ สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย)
พระวินัยปิฎก
คำย่อ คำเตม็
วิ.มหา. (บาล)ี วนิ ยปฏิ ก ภกิ ขฺ วุ ิภงฺคปาลิ (ภาษบาลี)
วิ.มหา. (ไทย) วนิ ยปฎิ ก ภิกขุวิภังค์ (ภาษาไทย)
วิ.ภิกฺขุน.ี (บาล)ี วนิ ยปฏิ ก ภกิ ฺขุนวี ภิ งฺคปาลิ (ภาษบาล)ี
วิ.ภิกขฺ ุน.ี (ไทย) วินยปิฎก ภิกขุนีวภิ ังค์ (ภาษาไทย)
วิ.ม. (บาลี) วินยปฏิ ก มหาวคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี
ว.ิ ม. (ไทย) วินยปิฎก มหาวรรค (ภาษาไทย)
ว.ิ จู. (บาล)ี วนิ ยปิฏก จฬู วคคฺ ปาลิ (ภาษาบาล)ี
ว.ิ จู. (ไทย) วนิ ยปิฎก จูฬวรรค (ภาษาไทย)
วิ.ป. (บาล)ี วนิ ยปิฏก ปริวารวคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี
ว.ิ ป. (ไทย) วินยปฎิ ก ปรวิ ารวรรค (ภาษาไทย)
พระสตุ ตนั ตปฎิ ก
ท.ี ส.ี (บาลี) สตุ ตฺ นฺตปิฏก ทีฆนกิ าย สีลกขฺ นฺธวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาล)ี
ท.ี ส.ี (ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก ทฆี นกิ าย สีลักขนั ธวรรค (ภาษาไทย)
ท.ี ม. (บาล)ี สุตฺตนฺตปฏิ ก ทีฆนกิ าย มหาวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี)
ที.ม. (ไทย) สุตตันตปฎิ ก ทีฆนกิ าย มหาวรรค (ภาษาไทย)
ที.ปา. (บาลี) สตุ ตฺ นตฺ ปฏิ ก ทีฆนิกาย ปาฏิกวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
ที.ปา. (ไทย) สุตตนั ตปิฎก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วรรค (ภาษาไทย)
ม.มู. (บาลี) สตุ ฺตนฺตปฏิ ก มชฌฺ มิ นิกาย มลู ปณณฺ าสกปาลิ (ภาษาบาล)ี
ม.ม.ู (ไทย) สุตตันตปฎิ ก มัชฌิมนิกาย มลู ปัณณาสก์ (ภาษาไทย)
ม.ม. (บาลี) สุตตฺ นตฺ ปิฏก มชฺฌมิ นกิ าย มชฌฺ มิ ปณณฺ าสกปาลิ (ภาษาบาล)ี
ม.ม. (ไทย) สตุ ตนั ตปิฎก มัชฌิมนกิ าย มัชฌมิ ปัณณาสก์ (ภาษาไทย)
ม.อ.ุ (บาล)ี สตุ ฺตนตฺ ปฏิ ก มชฌฺ ิมนิกาย อปุ รปิ ณณฺ าสกปาลิ (ภาษาบาลี)
ม.อุ. (ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก มชั ฌิมนกิ าย อปุ รปิ ัณณาสก์ (ภาษาไทย)
ส.ํ ส. (บาลี) สตุ ฺตนฺตปิฎก สยํ ตุ ฺตนิกาย สคาถวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาล)ี
สํ.ส. (ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก สงั ยุตตนกิ าย สคาถวรรค (ภาษาไทย)
ส.ํ นิ. (บาลี) สุตฺตนฺตปฎิ ก สํยตุ ฺตนิกาย นทิ านวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
ฏ
สํ.น.ิ (ไทย) สตุ ตันตปิฎก สํยุตฺตนิกาย นทิ านวรรค (ภาษาไทย)
สํ.ข. (บาลี) สตุ ตฺ นฺตปฎิ ก สํยุตตฺ นกิ าย ขนฺธวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี)
ส.ํ ข. (ไทย) สตุ ตันตปิฎก สํยุตฺตนกิ าย ขนั ธวรรค (ภาษาไทย)
สํ.สฬา. (บาล)ี สุตฺตนตฺ ปิฎก สํยตุ ฺตนิกาย สฬายตนวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
สํ.สฬา. (ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค (ภาษาไทย)
สํ.ม. (บาลี) สุตตฺ นตฺ ปฎิ ก สยํ ุตตฺ นกิ าย มหาวารวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
สํ.ม. (ไทย) สตุ ตนั ตปฎิ ก สํยุตฺตนกิ าย มหาวารวรรค (ภาษาไทย)
องฺ.เอกก. (บาลี) องคฺ ุตฺตรนิกาย เอกกนิปาตปาลิ (ภาษาบาล)ี
อง.ฺ เอกก. (ไทย) สตุ ตนั ตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.ทกุ . (บาล)ี สตุ ฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย ทุกนปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี)
อง.ฺ ทกุ . (ไทย) สุตตันตปฎิ ก อังคุตตรนิกาย ทกุ นิบาต (ภาษาไทย)
อง.ฺ ตกิ . (บาลี) สตุ ฺตนฺตปิฎก องคฺ ุตฺตรนกิ าย ตกิ นิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.ติก. (ไทย) สุตตันตปิฎก องั คุตตรนกิ าย ตกิ นิบาต (ภาษาไทย)
อง.ฺ จตกุ กฺ . (บาลี) สุตฺตนตฺ ปฎิ ก องฺคุตฺตรนกิ าย จตกุ ฺกนปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.จตกุ กฺ . (ไทย) สุตตนั ตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต (ภาษาไทย)
อง.ฺ ปญฺจก. (บาลี) สุตฺตนฺตปฎิ ก องฺคุตตฺ รนกิ าย ปญฺจกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.ปญจฺ ก. (ไทย) สตุ ตนั ตปิฎก องั คุตตรนกิ าย ปญั จกนบิ าต (ภาษาไทย)
อง.ฺ ฉกฺก. (บาล)ี สุตตฺ นตฺ ปฎิ ก องฺคุตฺตรนกิ าย ฉกกฺ นปิ าตปาลิ (ภาษาบาล)ี
อง.ฺ ฉกฺก. (ไทย) สุตตนั ตปิฎก อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต (ภาษาไทย)
อง.ฺ สตฺตก. (บาลี) สตุ ตฺ นฺตปฎิ ก องคฺ ุตฺตรนิกาย สตฺตกนิปาตปาลิ (ภาษาบาล)ี
อง.ฺ สตฺตก. (ไทย) สุตตนั ตปิฎก องั คุตตรนิกาย สัตตกนิบาต (ภาษาไทย)
อง.ฺ อฏฺฐก. (บาลี) สุตตฺ นฺตปฎิ ก องฺคุตฺตรนิกาย อฏฺฐกนิปาตปาลิ (ภาษาบาล)ี
องฺ.อฏฐฺ ก. (ไทย) สตุ ตันตปฎิ ก อังคุตตรนิกาย อัฏฐกนบิ าต (ภาษาไทย)
องฺ.นวก. (บาลี) สตุ ฺตนฺตปิฎก องฺคุตตฺ รนิกาย นวกนปิ าตปาลิ (ภาษาบาล)ี
อง.ฺ นวก. (ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก องั คุตตรนิกาย นวกนบิ าต (ภาษาไทย)
อง.ฺ ทสก. (บาลี) สตุ ฺตนฺตปฎิ ก องฺคุตตฺ รนกิ าย ทสกนิปาตปาลิ (ภาษาบาล)ี
อง.ฺ ทสก. (ไทย) สตุ ตนั ตปิฎก องั คุตตรนกิ าย ทสกนบิ าต (ภาษาไทย)
องฺ.เอกาทสก. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตตฺ รนกิ าย เอกาทสกนปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.เอกาทสก. (ไทย) สตุ ตนั ตปฎิ ก อังคุตตรนิกาย เอกาทสกนบิ าต (ภาษาไทย)
ข.ุ ขุ. (บาล)ี สุตตฺ นฺตปฎิ ก ขุทฺทกนิกาย ขทุ ฺทกปาฐปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ขุ. (ไทย) สุตตันตปิฎก ขุททกนกิ าย ขุททกปาฐะ (ภาษาไทย)
ขุ.ธ. (บาล)ี สุตตฺ นตฺ ปฎิ ก ขทุ ฺทกนิกาย ธมฺมปทปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ธ. (ไทย) สตุ ตันตปิฎก ขทุ ทกนกิ าย ธัมมบท (ภาษาไทย)
ข.ุ อุ. (บาล)ี สุตตฺ นตฺ ปิฎก ขุทฺทกนิกาย อทุ านปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.อ.ุ (ไทย) สุตตนั ตปิฎก ขุททกนิกาย อุทาน (ภาษาไทย)
ขุ.อิติ. (บาล)ี สุตตฺ นฺตปฎิ ก ขุทฺทกนิกาย อติ ิวุตฺตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ฐ
ข.ุ อติ ิ. (ไทย) สตุ ตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย อิตวิ ตุ ตฺ กะ (ภาษาไทย)
ขุ.สุ. (บาล)ี สตุ ตฺ นฺตปิฎก ขทุ ฺทกนกิ าย สตุ ฺตนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
ข.ุ ส.ุ (ไทย) สุตตนั ตปิฎก ขทุ ทกนกิ าย สุตตนบิ าต (ภาษาไทย)
ข.ุ เปต. (บาลี) สุตตฺ นตฺ ปิฎก ขทุ ทฺ กนิกาย เปตวตถฺ ุปาลิ (ภาษาบาล)ี
ขุ.เปต. (ไทย) สุตตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย เปตวตั ถุ (ภาษาไทย)
ขุ.เถร. (บาลี) สตุ ฺตนตฺ ปฎิ ก ขุทฺทกนกิ าย เถรคาถาปาลิ (ภาษาบาล)ี
ข.ุ เถร. (ไทย) สตุ ตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา (ภาษาไทย)
ขุ.เถร.ี (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎกขุทฺทกนิกาย เถรีคาถาปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.เถรี. (ไทย) สตุ ตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย เถรคี าถา (ภาษาไทย)
ข.ุ ชา. (บาลี) สตุ ตฺ นตฺ ปิฎกขุทฺทกนิกาย ชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. (ไทย) สตุ ตนั ตปฎิ ก ขุททกนิกาย ชาดก (ภาษาไทย)
ข.ุ ชา.เอกก.(บาล)ี สุตฺตนฺตปิฎก ขทุ ฺทกนิกาย เอกกนปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี
ขุ.ชา. เอกก.(ไทย) สตุ ตนั ตปิฎก ขทุ ทกนกิ าย เอกกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ข.ุ ชา.ทุก.(บาลี) สตุ ตฺ นตฺ ปฎิ ก ขทุ ทฺ กนกิ าย ทกุ นิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. ทกุ .(ไทย) สุตตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก(ภาษาไทย)
ขุ.ชา.ทุก.(บาล)ี สุตตฺ นตฺ ปฎิ ก ขุทฺทกนิกาย ทุกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ข.ุ ชา. ทกุ .(ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย ทุกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ชา.ตกิ .(บาลี) สตุ ฺตนตฺ ปฎิ ก ขุทฺทกนกิ าย ติกนปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. ติก.(ไทย) สตุ ตนั ตปฎิ ก ขุททกนกิ าย ติกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ข.ุ ชา.จตกุ ฺก.(บาลี) สตุ ฺตนฺตปฎิ ก ขุททฺ กนิกาย จตุกฺกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. จตุกกฺ .(ไทย) สุตตันตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย จตกุ กนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ข.ุ ชา.ปญจฺ ก.(บาล)ี สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนกิ าย ปญจฺ กนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. ปญจฺ ก.(ไทย) สตุ ตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย ปญฺจกนิบาตชาดก(ภาษาไทย)
ขุ.ชา.ฉกฺก.(บาลี) สตุ ตฺ นตฺ ปิฎก ขุททฺ กนิกาย ฉกฺกนปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ข.ุ ชา. ฉกฺก.(ไทย) สุตตนั ตปิฎก ขุททกนกิ าย ฉักกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ข.ุ ชา.สตตฺ ก.(บาล)ี สุตตฺ นตฺ ปิฎก ขทุ ทฺ กนิกาย สตฺตกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. สตฺตก.(ไทย) สุตตันตปฎิ ก ขุททกนิกาย สตฺตกนบิ าตชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ชา.อฏฺฐก.(บาล)ี สตุ ฺตนฺตปิฎก ขุททฺ กนิกาย อฏฐฺ กนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. อฏฺฐก.(ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก ขุททกนกิ าย อฏฐฺ กนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ชา.นวก.(บาล)ี สตุ ตฺ นตฺ ปฎิ ก ขทุ ฺทกนกิ าย นวกนปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ข.ุ ชา. นวก.(ไทย) สุตตันตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย นวกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ชา.ทสก.(บาล)ี สุตตฺ นตฺ ปฎิ ก ขุทฺทกนกิ าย ทสกนิปาตชาตกปาลิ(ภาษาบาล)ี
ข.ุ ชา. ทสก.(ไทย) สตุ ตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย ทสกนบิ าตชาดก(ภาษาไทย)
ขุ.ชา.เอกาทสก.(บาลี) สตุ ตฺ นฺตปิฎก ขุทฺทกนกิ าย เอกาทสกนปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. เอกาทสก.(ไทย) สุตตันตปิฎก ขทุ ทกนกิ าย เอกาทสกนบิ าตชาดก (ภาษาไทย)
ข.ุ ชา.ทฺวาทสก.(บาลี) สุตตฺ นตฺ ปฎิ ก ขทุ ทฺ กนกิ าย ทฺวาทสกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ฑ
ขุ.ชา. ทฺวาทสก.(ไทย) สุตตันตปิฎก ขทุ ทกนิกาย ทฺวาทสกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ชา.เตรสก.(บาล)ี สตุ ตฺ นตฺ ปิฎก ขทุ ทฺ กนิกาย เตรสกนปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. เตรสก.(ไทย) สตุ ตันตปิฎก ขุททกนิกาย เตรสกนิบาตชาดก(ภาษาไทย)
ขุ.ชา.ปกิณฺณก.(บาลี) สตุ ตฺ นตฺ ปิฎก ขทุ ทฺ กนกิ าย ปกิณฺณกนปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. ปกณิ ฺณก.(ไทย) สุตตนั ตปิฎก ขุททกนิกาย ปกณิ ณฺ กนบิ าตชาดก(ภาษาไทย)
ข.ุ ชา.วีสต.ิ (บาลี) สุตฺตนตฺ ปฎิ ก ขุทฺทกนกิ าย วีสตนิ ปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ข.ุ ชา. วีสต.ิ (ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก ขุททกนิกาย วีสตนิ ิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ข.ุ ชา.ตึสติ.(บาล)ี สุตตฺ นตฺ ปิฎก ขทุ ทฺ กนกิ าย ตสึ ตนิ ปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี
ข.ุ ชา. ตึสต.ิ (ไทย) สตุ ตันตปิฎก ขทุ ทกนกิ าย ตึสตนิ ิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ข.ุ ชา.จตฺตาลีส.(บาลี) สุตฺตนตฺ ปฎิ ก ขทุ ทฺ กนิกาย จตฺตาลีสนปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. จตฺตาลสี (ไทย) สตุ ตนั ตปิฎก ขทุ ทกนกิ าย จตฺตาลสี นบิ าตชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ชา.ปญฺญาส.(บาล)ี สุตตฺ นตฺ ปิฎก ขทุ ทฺ กนิกาย ปญฺญาสนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ข.ุ ชา. จตฺตาลีส(ไทย) สุตตันตปิฎก ขุททกนกิ าย ปญญฺ าสนบิ าตชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ชา.สฏฺฐ.ิ (บาล)ี สุตฺตนฺตปิฎก ขทุ ฺทกนิกาย สฏฺฐนิ ปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. สฏฐฺ ิ(ไทย) สตุ ตันตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย สฏฐฺ ินิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ชา.สตฺตติ.(บาลี) สตุ ฺตนฺตปิฎก ขทุ ฺทกนิกาย สตฺตตินปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี
ขุ.ชา. สตฺตติ (ไทย) สตุ ตันตปิฎก ขทุ ทกนิกาย สตตฺ ตนิ ิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ข.ุ ชา.อสีติ.(บาลี) สุตตฺ นฺตปฎิ ก ขทุ ฺทกนกิ าย อสีตนิ ิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี
ขุ.ชา. อสตี ิ (ไทย) สุตตันตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย อสตี ินบิ าตชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ชา.ม.(บาล)ี สตุ ฺตนตฺ ปิฎก ขุทฺทกนกิ าย มหานปิ าตชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี
ข.ุ ชา. ม.(ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก ขุททกนิกาย มหานิบาตชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ม. (บาล)ี ขทุ ทฺ กนิกาย มหานิทฺเทสปาลิ (ภาษาบาล)ี
ข.ุ ม. (ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก ขุททกนิกาย มหานิทเทส (ภาษาไทย)
ข.ุ จู. (บาล)ี ขุทฺทกนกิ าย จฬู นิทเฺ ทสปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.จู. (ไทย) สตุ ตันตปิฎก ขทุ ทกนิกาย จูฬนิทเทส (ภาษาไทย)
ข.ุ ป. (บาลี) ขทุ ทฺ กนิกาย ปฏสิ มภฺ ทิ ามคคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี)
ข.ุ ป. (ไทย) สุตตนั ตปิฎก ขุททกนกิ าย ปฏสิ ัมภทิ ามรรค (ภาษาไทย)
ขุ.อป. (บาลี) ขทุ ทฺ กนิกาย อปทานปาลิ (ภาษาบาล)ี
ขุ.อป. (ไทย) สตุ ตนั ตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน (ภาษาไทย)
ขุ.พุทฺธ. (บาล)ี ขุทฺทกนกิ าย พทุ ฺธวํสปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.พุทฺธ. (ไทย) สตุ ตันตปิฎก ขุททกนกิ าย พุทธวงส์ (ภาษาไทย)
พระอภิธรรมปิฎก
อภิ.สงฺ. (บาล)ี อภิธมฺมปิฏก ธมมฺ สงฺคณปี าลิ (ภาษาบาลี)
อภิ.สงฺ. (ไทย) อภธิ ัมมปฎิ ก ธัมมสงั คณี (ภาษาไทย)
อภิ.วิ. (บาลี) อภธิ มฺมปิฏก วภิ งฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
อภ.ิ วิ. (ไทย) อภิธมั มปิฎก วภิ ังค์ (ภาษาไทย)
อภิ.ปุ. (บาลี) ฒ
อภ.ิ ป.ุ (ไทย)
อภิ.ก. (บาล)ี อภิธมฺมปฏิ ก ปุคฺคลปญฺญตฺตปิ าลิ (ภาษาบาล)ี
อภิ.ก. (ไทย) อภิธัมมปฎิ ก ปุคคลบญั ญตั ิ (ภาษาไทย)
อภิ.ย.(บาลี) อภิธมฺมปฏิ ก กถาวตฺถปุ าลิ (ภาษาบาล)ี
อภิ.ย.(ไทย) อภธิ ัมมปฎิ ก กถาวตถุ (ภาษาไทย)
อภ.ิ ป.(บาลี) อภิธมมฺ ปฏิ ก ยมกปาลิ (ภาษาบาลี)
อภ.ิ ป.(ไทย) อภิธรรมปฎิ ก ยมก (ภาษาบาลี)
อภธิ มฺมปฎิ ก ปฏฺฐานปาลิ (ภาษาบาลี)
อภิธรรมปิฎก ปฏั ฐาน (ภาษาไทย)
1
แผนบริหารการสอนประจำบทเรียน บทท่ี 1
1. ช่ือบท
การจำแนกหมวดหมู่ โครงสรา้ งและเนอื้ หาของพระไตรปิฎก
2. เน้ือหาหัวขอ้ หลกั
ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา ประวัติการสังคายนาและการจำแนกหมวดหมู่ของ
พระไตรปฎิ ก โครงสรา้ งของพระไตรปิฎก
3. วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
3.1 อธบิ ายและวิเคราะห์ความเปน็ มาของพระพทุ ธศาสนาได้
3.2 อธบิ ายเป้าหมายของประวตั ิการสงั คายนาได้
3.3 วเิ คราะหก์ ารจำแนกหมวดหมู่ของพระไตรปิฎฏได้
3.4 อธิบายและวิเคราะหล์ กั ษณะโครงสรา้ งของพระไตรปฎิ กได้
4. กำหนดวิธแี ละกจิ กรรม
4.1 ทำแบบประเมนิ ผลตนเองกอ่ นเรยี น
4.2 สอนแบบบรรยาย อภิปราย ซกั ถาม
4.3 มอบหมายงานเขียนผงั มโนทัศน์ ทำ Concept Mapping
4.4 แบ่งกลมุ่ คน้ คว้านำเสนอรายงานหนา้ ชน้ั
4.5 ทำแบบประเมนิ ผลตนเองหลงั เรียน
5. สอ่ื การเรียนการสอน
5.1 หนังสอื ตำรา วารสาร ผลงานทางวชิ าการ งานวจิ ยั
5.2 เอกสารประกอบการสอน
5.3 ใบงาน
5.4 พาวเวอร์พอยท์ (Power Point)
5.5 ส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์
6. วธิ ีการวดั ผลทางการเรยี นการสอน
6.1 แบบประเมนิ ผลตนเองก่อนและหลังเรียน
6.2 ทดสอบความรู้ความเข้าใจ ทำแบบ Pre-Test
6.3 การตอบคำถาม / การสมั ภาษณ์
6.4 การอภปิ ราย / ทำกจิ กรรมกลมุ่ และการมสี ่วนร่วม
6.5 ประเมินผลจากการสอบประจำภาคการศกึ ษา
2
บทที่ 1 การจำแนกหมวดหมู่ โครงสรา้ งและเน้อื หาของพระไตรปฎิ ก
1.1 บทนำ
พระไตรปิฎก (บาลี: Tipiṭaka; สันสกฤต: त्रिपिटक) เป็นคัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระโคตมพุทธ
เจา้ ราชบัณฑิตยสถาน (2552, หน้า 392) ไตรปิฎก แปลว่า ตะกร้า 3 ใบ เพราะเนื้อหาแบ่งเป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ
คือ พระวินัยปิฎก วา่ ดว้ ยพระวินัยสิกขาบทตา่ ง ๆ ของภิกษแุ ละภิกษุณี พระสุตตนั ตปิฎก วา่ ด้วยพระสูตรซึ่ง
เป็นพระธรรมเทศนาของพระโคตมพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก ที่แสดงแกบุคคลต่างช้ันวรรณะและ
การศึกษา ตา่ งกรรมต่างวาระกนั มที ง้ั ที่เป็นรอ้ ยแก้วและร้อยกรอง
พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยพระอภิธรรมหรือปรมัตถธรรม ซ่ึงเป็นธรรมะขั้นสูง อธิบายด้วยหลักวิชา
ล้วน ๆ โดยไม่อ้างอิงเหตุการณ์และบุคคล คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าในยุคแรกเรียกว่าพระธรรมวินัย
จนกระท่ังการสังคายนาคร้ัง 3 จึงแยกเน้ือท่ีเกี่ยวกับปรมัตถธรรมออกมาเป็นอีกหมวดหน่ึงเรียกว่าพระ
อภิธรรมปิฎกในศาสนาพุทธยุคแรก แต่ละนิกายต่างมีคัมภีรเ์ ป็นของตนเอง บางนิกายมี 5 ปิฎก บางนิกายมี
7 ปฎิ ก Journal of the Pali Text Society, volume XVI, (page 114) แต่พระไตรปิฎกฉบับสมบรู ณ์ทีต่ ก
ทอดมาจนถึงปัจจุบันมีเพียงพระไตรปิฎกภาษาบาลีของฝา่ ยเถรวาท (Harvey, 1990, p. 3) ในปัจจุบันคำว่า
พระไตรปิฎก ใชห้ มายถึงคมั ภรี ใ์ นศาสนาพทุ ธโดยรวม ซึง่ มอี ย่ทู ง้ั ส้นิ 3 สารบบ ไดแ้ ก่ เสถยี ร โพธินนั ทะ1,
1. พระไตรปฎิ กภาษาบาลี ใชใ้ นนิกายเถรวาท
2. พระไตรปิฎกภาษาจนี ใชใ้ นนิกายมหายาน
3. พระไตรปิฎกภาษาทิเบต ใช้ในศาสนาพทุ ธแบบทเิ บต
ปรากฏพระพุทธดำรัสในมหาปรินิพพานสตู รว่า "เมอื่ ทรงปรินิพานไปแลว้ พระธรรมวินัยทไ่ี ด้ทรงสั่ง
สอนไว้แล้ว จักเป็นศาสดาของเธอท้ังหลาย" (พระไตรปิฎก เล่มท่ี 10 พระสุตตันตปิฎก เล่มท่ี 2 ทีฆนิกาย
มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]) พระไตรปิฎกภาษาบาลี หรือ พระ
บาลี (บาลี: Tipiṭaka; สิงหล: ත්රිපිටක ය; เทวนาครี: त्रिपिटक; อังกฤษ: Pali Canon) เป็น
พระไตรปิฎกของนิกายเถรวาท คำว่าพระไตรปิฎกมาจากภาษาบาลี ติปิฏก แปลว่า ตะกร้าสามใบ หรือคำ
สอนสามหมวด (ติ หมายถึง สาม ปิฏก หมายถึง ตำรา คัมภีร์ หรือกระจาด) สันนิษฐานว่าที่มาของคำว่า
พระไตรปฎิ กน่าจะมาจากการทพ่ี ระภกิ ษุจดจารกึ คมั ภีร์ใส่ลงในใบตระกูลปาล์มและใส่ลงในตะกร้า ถ้าอาศัย
หลักฐานทางวิชาการ เชื่อว่าไตรปิฎกเป็นช่ือที่ใช้กันมาก่อนจะสังคายนาคร้ังที่ 3 เพราะมีการใช้คำพูดว่า
"ไตรปิฎก" ในประวัติศาสตร์ยุคพระเจ้าอโศกก่อนการสังคายนาครั้งท่ี 3 จึงเช่ือได้ว่าหลังสังคายนาครั้งท่ี 2
พระสงฆ์มีการแยกพระอภิธรรมออกจากพระสูตรแล้วเมื่อสังคายนาคร้ังที 3 จึงแยกอย่างเป็นเร่ืองเป็นราว
จรงิ ซ่ึงคำสอนสามหมวดน้ี ได้แก่ เสถยี ร โพธนิ ันทะ2
พระวินัยปิฎก หรือ พระวินัย ได้แก่ประมวลระเบียบข้อบังคับของบรรพชิตที่พระพุทธเจ้าทรง
บัญญัติไว้สำหรับภิกษแุ ละภิกษุณี
พระสุตตันตปฎิ ก หรือ พระสูตร ไดแ้ ก่ประมวลพระพุทธพจน์ท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงยังท่ีต่างๆ ให้
เหมาะกับบุคคล สถานท่ี และเหตุการณ์ มีเร่อื งราวประกอบ
พระอภิธรรมปิฎก หรือ พระอภิธรรม ได้แก่ประมวลคำสอนที่เป็นหลักวิชาการล้วนๆ ไม่เกี่ยวด้วย
บคุ คลหรือเหตุการณ์ ไม่มเี รอ่ื งราวประกอบ
1 เสถียร โพธินันทะ. (2548), ประวัติพระไตรปิฎกฉบับจีนพากย์, มรดกธรรมของเสถียร โพธินันทะ,
กรุงเทพมหานคร : มปพ,, หน้า 82-3.
2 เร่อื งเดียวกัน, หน้าเดียวกัน.