The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระไตรปิฏกศึกษา1-ตำราสอนรวบบทปรับแก้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sunchait65, 2021-06-18 01:46:15

พระไตรปิฏกศึกษา1-ตำราสอนรวบบทปรับแก้

พระไตรปิฏกศึกษา1-ตำราสอนรวบบทปรับแก้

283

10. การบัญญัติกฎหมายให้สมบูรณ์ในการร่างเป็นพระราชบัญญัติ หากมีรายละเอียดเป็น
หลักเกณฑ์ วธิ ีการ หรือเงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติตามพระราชบญั ญัติน้ัน โดยเหมาะสมกบั เวลาหรือสถานที่ซงึ่ ยัง
ไม่อาจกำหนดไว้ในพระราชบญั ญตั ินน้ั ได้ ควรรา่ งอย่างไรจึงจะสมบรู ณ์
ควรร่างออกให้เป็นกฎหมายลูกอีกชั้นหนึ่ง เช่น ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ให้ออกเป็นกฎกระทรวง
ข้อบังคับ ระเบียบ หรือประกาศ หรือให้รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ัน หรือคณะกรรมการที่
ต้ังข้ึนตามพระราชบัญญตั นิ น้ั กำหนดรายละเอียดก็ได้

11. การบัญญัติกฎหมายให้ศักด์ิสิทธิ์และสัมฤทธ์ิผลมาตรการบังคับ (Sanction) ท่ีจะเขียนใน
กฎหมายเพื่อดำเนินการในกรณีท่ีมีผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายน้ันมีอะไรบ้าง ยกมา 3 ประการ
มาตรการบังคับ (Sanction) ทีจ่ ะเขยี นในกฎหมายมีหลายประการ เชน่

1) มาตรการทางแพง่ เช่น ไมร่ ับรผู้ ลในกฎหมาย คอื ให้การกระทำน้ันเป็นโมฆะ
2) มาตรการตามกฎหมายปกครอง เชน่ พักใช้ใบอนญุ าต หรือเพิกถอนใบอนญุ าต
3) มาตรการทางอาญา ให้ได้รบั โทษทางอาญา เชน่ ประหารชวี ิต จำคกุ ปรบั
12. การบัญญัติกฎหมายให้ตอ้ งตามความนิยม ในการร่างพระราชบัญญัติ หากมคี ำท่ีเก่ยี วกับจำนวนนับ
หรอื ลำดับ ควรใช้ตัวเลขหรือตวั หนังสอื บางกรณนี ิยมใช้ตวั เลข บางกรณีนิยมใชต้ ัวหนังสือ คอื กรณที ใ่ี ช้ตัวเลข
(1) วันท่ี พ.ศ. เช่น “ให้ไว้ ณ วันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2518”
(2) จำนวนนบั ทไี่ มใ่ ชเ่ น้ือหาสาระในกฎหมาย เชน่ “เป็นปีท่ี 30 ในรชั กาลปจั จบุ นั ”
(3) หมวด สว่ น มาตรา และอนุมาตราของกฎหมาย เช่น “หมวด 1” “ส่วนท่ี 1” “มาตรา 6 (1)”
(4) หมายเลขเอกสารแนบทา้ ยกฎหมาย เชน่ “บัญชีหมายเลข 3”
(5) ลำดับช้ันหรือขนั้ เช่น “ตำแหนง่ ระดบั 10 รบั เงินเดือนในอนั ดับ 10 ซ่ึงมี 31 ขนั้ ”
(6) อันดับขนั้ เงินเดือน เชน่ “อนั ดับ 11 ขน้ั 42,120 บาท”
(7) อตั ราค่าธรรมเนียมในบญั ชีท้ายกฎหมาย เชน่ “ค่าธรรมเนียมต่อใบอนุญาต 100 บาท” กรณีท่ี
ใช้ตัวหนังสือ
(1) จำนวนนับทีเ่ ป็นเน้ือหาสาระในกฎหมาย เช่น “ใบอนุญาตตั้งโรงรับจำนำให้ใชไ้ ดจ้ นถงึ วันที่ 31
ธันวาคม ของปที ่หี า้ นับแตป่ ีทอี่ อกใบอนุญาต”
(2) วรรคของมาตรา เชน่ “คู่ความตามวรรคหนึง่ ” “พระราชกฤษฎีกาตามวรรคสอง”
(3) อายุของบคุ คล เชน่ “มอี ายไุ มต่ ำ่ กว่าสิบแปดปี”
(4) ระยะเวลาเปน็ ชัว่ โมง วนั เดอื น ปี เชน่ “ให้อุทธรณ์ได้ภายในสามสิบวันนับจากวนั ทราบคำส่ัง”
(5) โทษทางอาญา เชน่ “ตอ้ งระวางโทษจำคุกไมเ่ กินสามเดอื น หรอื ปรบั ไม่เกินสามหมื่นบาท หรือ
ท้ังจำทงั้ ปรบั ”
กล่าวโดยสรุปได้วา่ พระวนิ ัย คือ กฎหมายที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติข้ึนเพื่อป้องกันการละเมดิ และ
การกระทำผิดในครั้งต่อไปของพระภิกษุ จะเห็นได้ว่าพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงบัญญัติพระวินัยในกรณีท่ี
พระภกิ ษรุ ูปน้ัน ๆ กระทำผดิ ที่เปน็ สาเหตใุ ห้พระพทุ ธศาสนาของพระองค์มัวหมอง ทำให้พุทธศาสนกิ ชนขาด
ศรัทธาท่ีจะทำนุบำรุง และขาดความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาของพระองค์ จึงทรงบัญญัติข้อห้ามไว้เพื่อ
ปอ้ งปรามพระภิกษุรูปอื่นที่จะละเมิดและกระทำผิดในอนาคตเช่นน้ันอีก พระองค์จะไม่ทรงบัญญัติพระวินัย
ขึ้นบังคับก่อนเหตุการณ์จะเกดิ ข้ึน จะบัญญัติพระวนิ ัยเพอื่ ลงโทษพระภิกษุรปู นั้น ๆ หลงั กระทำผดิ แล้ว เพื่อ
ไม่ให้ภิกษุรูปอื่นยึดถอื เป็นเยื้องอย่างในการกระทำผิดต่อไป แต่ในยคุ ตอ่ มา จนถึงยุคปัจจุบัน การจะควบคุม
พระภิกษุ สามเณร ท่ีละเมิดพระวินัย โดยอาศัยพระวินัยอย่างเดียวมาควบคุมลงโทษคงไม่เพียงพอ จะต้อง
อาศัยกฎหมายของบ้านเมอื ง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ กฎหมายปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.
2535 มาควบคมุ พฤตกิ รรมของพระภิกษุทล่ี ะเมดิ พระวนิ ัยและกฎหมายตอ่ ไป

284

9.4 การเปรยี บเทียบการบญั ญัตพิ ระวนิ ัยกับการบญั ญัติกฎหมาย
นายอธิราช มณีภาค221 (2546) โลกเราน้ีเกิดข้ึนมาโดยธรรมชาติ มนุษย์ สัตว์ พืชพันธุ์ และสง่ิ ของ
ต่างๆ ในโลกนี้ก็เกิดขึ้นโดยธรรมชาติเช่นกัน แต่สิ่งท่ีประเสริฐที่สุดคือมนุษย์หรือคน เพราะคนรู้จักพัฒนา
ตนเอง เพื่อให้ตน ครอบครัว สังคมและประเทศชาติมีความสุขความเจริญ มีความก้าวหน้าสืบต่อกันไป
ศาสนาและกฎหมายเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคน เพราะศาสนาส่ังสอนให้คนทำความดี ละเว้นความชั่ว
และทำจิตใจให้บรสิ ทุ ธโิ์ ดยการปลูกสำนึก ส่วนกฎหมายนน้ั บงั คบั ใหค้ นอยใู่ นระเบียบวนิ ัยประเทศไทยเราน้ัน
มีพระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจำชาติ พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นพทุ ธมามกะ ตั้งแต่สมัยกรุงสโุ ขทยั กรงุ ศรี
อยุธยา ตลอดมาจนถึงสมยั กรุงรตั นโกสนิ ทร์ จึงกล่าวไดว้ า่ พระพทุ ธศาสนาไดพ้ ัฒนาคนไทย ครอบครวั สงั คม
และประเทศชาติไทย ควบคู่กันกับกฎหมายของบ้านเมืองที่พระมหากษัตริย์ ทรงมีพระบรมราชโองการ
ประกาศใช้ตลอดมาจนบัดนีว้ ทิ ยานิพนธ์น้ีจึงตอ้ งการศึกษาเปรียบเทยี บกระบวนการยตุ ิธรรมในพระวนิ ยั ปกิ ฎ
ของพระพุทธศาสนากับกระบวนการยุติธรรมของกฎหมายไทยว่าท้ัง 2 ระบบนี้มีกำเนิดและพัฒนาการมา
อยา่ งไร เชน่ ต้นบัญญตั ิพระวนิ ยั ปิฎกเร่ิมต้นต้งั แตเ่ ม่ือใด บทบญั ญตั ิของกฎหมายไทยนั้นเริม่ ตง้ั แต่เม่ือใด เมื่อ
ภิกษุผู้ต้องอาบัติตามบทบัญญัติพระธรรมวินัยแลัวยังต้องรับโทษทัณฑ์ตามกฎหมายของบ้านเมืองอยู่อีก
หรือไม่ มีวิธีการใดบ้างท่ีจะทำให้ผู้กล่าวหาและผู้ถูกกล่าวหาในทั้ง 2 ระบบ ได้รับความสะดวกรวดเร็ว และ
ยุติธรรมมากท่ีสุดเท่าที่จะทำได้ ท้ังน้ีเพื่อให้สังคมแห่งสงฆ์ของฝ่ายศาสนจักรหรือพุทธจักร กับสังคมแห่ง
คฤหสั ถข์ องฝา่ ยอาณาจักรหรือราชอาณาจักรมีความสงบสขุ ร่มเยน็ ความเจรญิ กา้ วหน้าย่งิ ๆ ขึน้ ไป
ในพระไตรปิฎก วิ.มหา. (ไทย) 5/1/9 การบญั ญตั ิพระวินยั คำว่า222 พระวนิ ัย หรอื วนิ ัยสงฆ์ เป็นข้อหา้ ม
และข้อปฏิบัติท่ีพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติขึ้นสำหรับภิกษุ ภิกษุณี พระคัมภีร์วินัยปิฎกจึงเป็นเสมือนประมวล
กฎหมายของภิกษุ ภิกษุณี ในการบัญญัติพระวินัยของพระพุทธเจ้านั้น พระองค์จะไม่ทรงบัญญัติสิกขาบทก่อน
เร่ืองเกิดขึ้น จะเห็นได้จากกรณีท่ีพระสารีบุตรทูลขอให้ทรงบัญญัติสิกขาบท แต่พระองค์ทรงห้าม ต่อเมื่อมี
เหตุการณ์ที่พระสุทินกลันทบุตรเสพเมถุนธรรม (มีเพศสัมพันธ์) เกิดข้ึน พระองค์จึงตรัสเรียกภิกษุสงฆ์มาประชุม
แล้ว ตรัสสอบถามในเร่ืองที่เกิดขึ้นแล้ว จึงทรงตรัสสอบถามและทรงตำหนิติเตียนโดยมากแล้วจึงทรงบัญญัติ
สิกขาบท เพ่ือเป็นข้อบังคับ ข้อห้าม และเป็นข้อประพฤติปฏิบัติเพ่ือความเป็นระเบียบและความเหมาะสม พระ
คัมภีร์วินัยปิฎกยกพระวินัยเป็นข้อปฏิบัติและข้อบังคับคือ ปาราชิก 4 สังฆาทิเสส 13 อนิยต 2 นิสสัคคิย
ปาจิตตยี ์ 30 ปาจติ ตีย์ 92 ปาฏเิ ทสนียะ 4 เสขิยะ 75 อธิกรณสมถะ 7
พระวนิ ัยเป็นศีลหรือกฎหมายเรียกว่า สิกขาบทของพระภิกษุ และภกิ ษุณี โดยแบ่งเปน็ โทษหนักและเบา
ตามลำดับ มีข้อบัญญัติเพ่ิมเติม เมื่อมีสิ่งไม่ดีเกิดข้ึนตามมาและยังเป็นกฎระเบียบสำหรับฝึกอบรมกาย วาจา ใจ
เพอ่ื เป็นทน่ี า่ เคารพเลื่อมใส ทำใหผ้ ู้พบเหน็ เกดิ ความศรทั ธาชน่ื ชมและมีใจโน้มเข้าหาเพ่ือฟังธรรมต่อไป
ความหมายของพระวินัย คัมภีร์สมันตปาสาทิกา ได้อธิบายความหมายของคำว่า วินัย ไว้ดังน้ี คือ
คำวา่ วนิ ยั ( วิ + นัย) มี 3 ความหมาย ไดแ้ ก่
1. วินัย หมายถึง นัยต่างๆ (วิวิธ+นัย) เพราะมีปาฏิโมกข์ 2 คือ ภิกขุปาฏิโมกข์ และภิกขุณีปาฏิ
โมกข์ มีวภิ ังค์ 2 คอื ภิกขวุ ภิ ังค์และภกิ ขณุ ีวภิ งั ค์ มอี าบตั ิ 7 กองเปน็ ตน้
2.วินัย หมายถึง นัยพิเศษ (วิเสส+นัย) เพราะมีอนุบัญญัติเพ่ิมเติมเพื่อทำให้สิกขาบทรัดกุมยิ่งขึ้น
เพ่ือผอ่ นผนั ให้เพลาความเข้มงวดลง

221 อธิราช มณีภาค. (2546). เปรียบเทียบกระบวนการยุติธรรมในพระวนิ ัยปิฎกกับกระบวนการยุติธรรม
ของกฎหมายไทย. พุทธศาสตรมหาบณั ฑติ (พระพุทธศาสนา), บัณฑิตวิทยาลยั : มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย.

222 วิ.มหา. (ไทย) 5/1/9.

285

3. วินยั หมายถึง กฎ สำหรับฝกึ อบรมกายวาจา (วนิ ยนฺโต เจว กายวาจาน)ํ เป็นเคร่อื งป้องกนั ความ
ประพฤติท่ไี มเ่ หมาะสมทางกายทางวาจา

ทรงปรารภเหตุบัญญัติสิกขาบท สาเหตุมาจากในสมัยที่ (มหา.ปฐมภาค และอรรถกถา 1/18/20)
พระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ควงไม้สะเดา เขตเมืองเวรัญชา พร้อมพระภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่
เวรัญชาพราหมณ์ได้เข้าไปพบพระผู้มีพระภาค หลังจากได้สนทนากันแล้วก็เกิดความเลื่อมใสแสดงตนเป็น
อุบาสก ในขณะนัน้ พระสารบี ตุ รไดไ้ ปในทส่ี งัดหลีกเร้นอยู่ ไดเ้ กดิ ความปริวิตกขึ้นวา่ ศาสนาของพระพทุ ธเจา้
พระองค์ไหนไม่ดำรงอยู่นานและพระองค์ไหนดำรงอยู่นาน จึงได้เข้าไปทูลถามพระผู้มีพระภาค ถึงสาเหตุ
ปจั จยั ท่ีเป็นเช่นน้นั พระผมู้ ีพระภาคจึงตรสั ถงึ ศาสนาของพระพทุ ะเจ้าพระนามว่า กกุสนั ธะ พระนามว่าโกนา
คมนะ และพระนามว่ากัสสปะ ท้งั สามพระองค์ที่ไม่ดำรงอยู่นาน เพราะพระพระพุทธเจา้ ท้ังสามองคท์ รงท้อ
พระทัยทจี่ ะแสดงธรรมโดยพสิ ดารแกส่ าวกท้ังหลาย

อนึ่ง นวังคสัตถุสาสน์ คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัล
ละ ของพระผู้มีพระภาคท้งั สาม มีนอ้ ย สกิ ขาบทก็มไิ ด้ทรงบัญญัติ ปาตโิ มกข์ก็มไิ ดแ้ สดงแก่สาวก เพราะอันตรธาน
แห่งพระผู้มีพระภาคเหล่าน้ัน เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตาม สาวกช้ันหลังท่ีต่างช่ือกัน ต่างโคตรกัน
ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงทำพระศาสนาน้ันให้อันตรธานโดยฉับพลัน เหมือนดอกไม้หลากสี
หลายชนิดที่ไม่ได้ร้อยไว้ย่อมถูกลมพัดกระจัดกระจายไปได้ ส่วนการที่พระพุทธศาสนาดำรงอยู่ได้นาน เพราะ
พระพุทธเจ้าทั้งสามพระองค์ คือ พระพุทะเจ้าพระนามว่า กกุสันธะ พระนามว่าโกนาคมนะ และพระนาม
ว่ากัสสปะ มิได้ทรงท้อพระทัย เพื่อจะทรงแสดงพระธรรมโดยพิสดารแก่สาวกทั้งหลาย ศาสนาจึงดำรงอยู่
ได้นาน เหมือนดอกไมห้ ลากสีหลายชนิดที่ไม่ได้รอ้ ยไว้ย่อมถกู ลมพัดกระจดั กระจายไปได้

เมอ่ื พระสารบี ุตรได้สดบั ดงั นั้น จงึ กราบทลู พระผู้มีพระภาคว่า ถงึ เวลาแล้วทจี่ ะทรงบัญญัตสิกขาบท
ท่จี ะทรงแสดงปาตโิ มกข์แก่สาวก อนั จะเป็นเหตุให้พระศาสนาน้ียั่งยืน ดำรงอยูไ่ ด้นาน พระผู้มีพระภาคตรัส
ให้รอก่อน เพราะพระตถาคตแต่ผู้เดียวจักรู้กาลในกรณีน้ัน พระศาสดายังไม่บัญญัติสิกขาบท ยังไม่แสดง
ปาติโมกข์แก่สาวก ตลอดเวลาท่ีธรรมอันเป็นท่ีตั้งแห่งอาสวะบางเหล่า ยังไม่ปรากฎในสงฆ์ในศาสนาน้ี ต่อ
เมื่อใด ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะบางเหล่า ปรากฏในสงฆ์ในศาสนาน้ี เม่ือนั้น พระศาสดาจึงจะบัญญัติ
สกิ ขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก เพอื่ กำจดั ธรรมอนั เปน็ ทตี่ ั้งแหง่ อาสวะเหลา่ น้ัน ขณะนี้ ธรรมอันเปน็ ทต่ี ั้ง
แหง่ อาสวะบางเหล่ายังไม่ปรากฏในสงฆ์ศาสนาน้ี ตลอดเวลาที่สงฆย์ ังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่ โดยภิกษุผบู้ วช
นาน ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยแพร่หลาย ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภ ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความ
เปน็ หมู่ใหญโ่ ดยภิกษุผู้บวชนาน ถึงความเปน็ หมู่ใหญ่โดยแพร่หลาย ถึงความเป็นผใู้ หญ่เลศิ โดยลาภแล้ว และ
ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เม่ือนั้น พระศาสดาจึงจะบัญญัติ
สกิ ขาบทแสดงปาติโมกข์แกส่ าวกเพ่ือกำจดั ธรรมอนั เปน็ ทต่ี ั้งแห่งอาสวะเหล่านนั้ ภิกษสุ งฆน์ ั้นไม่มีเสนยี ดไม่มี
โทษ ปราศจากมัวหมอง บริสุทธิ์ผุดผอ่ ง ตั้งอยใู่ นสารคณุ เพราะภิกษุ 500 รูปนี้ ภิกษุท่ีทรงคุณธรรมอย่างตำ่
กเ็ ป็นโสดาบนั มคี วามไม่ตกต่ำเปน็ ธรรมดา เปน็ ผู้เที่ยง เป็นผ้ทู ่ีจะตรัสรู้ในเบอื้ งหน้า

ทรงประชุมสงฆ์บัญญัติสิกขาบทการที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทเกี่ยว เน่ืองกับคดีทางโลก
พระองค์ต้องสอบถามมูลเหตุก่อนจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง แต่ถ้าไม่เกี่ยวกับบ้านเมืองก็ทรงประชุม
พระสงฆ์สอบถามก่อนแล้วจึงทรงบัญญัติ ดังเช่น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะมีเหตุ
เกิดขึ้น ในเพราะเหตุแรกเกิดน้ัน แล้วทรงสอบถามพระธนิยะๆ ก็ยอมรับว่า เธอได้ถือเอาไม้ของหลวงท่ีเขา
ไม่ได้ให้ไปจรงิ พระองคท์ รงตเิ ตยี นโดยประการต่างวา่ การกระทำของเธอน้นั ไมเ่ หมาะ ไมส่ ม ไม่ควร มิใช่กิจ
ของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ การกระทำของเธอนั้น ไม่เป็นไปเพ่ือความเลือ่ มใส ของชุมชนทีย่ ังไม่เล่ือมใส
หรือเพ่ือความเลื่อมใสยง่ิ ของผู้ท่ีเลื่อมใสแลว้ โดยทแ่ี ท้ การกระทำของเธอนัน้ เป็นไปเพอื่ ความไมเ่ ลื่อมใสของ
ชุมชนท่ียังไม่เล่ือมใส และเพื่อความเป็นอย่างอ่ืนของชนบางพวกท่ีเลื่อมใสแล้ว สมัยน้ัน มีมหาอำมาตย์ ผู้

286

พิพากษาเก่าคนหน่ึง บวชในหมู่ภิกษุ พระองค์จึงได้ตรัสถามภิกษุรูปน้ันว่า พระเจ้าพิมพิสาร จับโจรได้แล้ว
ประหารชีวิตเสียบ้าง จองจำไว้บ้าง เนรเทศเสียบ้าง เพราะทรัพย์ประมาณเท่าไร คือมีราคาเท่าไหร่ พอภกิ ษุ
รูปนั้นกราบทูลวา่ เพราะทรัพย์บาทหน่ึงบ้าง เพราะของควรค่าบาทหน่ึงบ้าง เกินบาทหนึ่งบ้าง (ในสมัยนั้น
ทรัพย์ 5 มาสกในกรุงราชคฤห์ เป็นหนึ่งบาท) พระองค์จึงทรงติเตียนพระธนิยะ โดยเอนกปริยายแล้ว จึง
ตรสั โทษแหง่ ความเป็นคนเลี้ยงยาก มักมาก ไมส่ นั โดษ ความคลกุ คลี ความเกยี จคร้านตรสั คุณแห่งความเป็น
คนเลี้ยงง่าย บำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการท่ีน่าเลื่อมใส การไม่
สะสม ปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย แล้วทรงกระทำธรรมิกถาที่สมควรแก่เร่อื งน้ัน ท่ีเหมาะสมแก่
เร่ืองนั้น แก่ภิกษุท้ังหลาย แลว้ จงึ ทรงบญั ญัตสิ ิกขาบท

ต้นบัญญัติหรือปฐมบัญญัติ คือเร่ืองภิกษุผู้เป็นอาทิกัมมิกะ หมายถึงภิกษุผู้ประพฤติผิด หรือผู้
ประพฤติเสียหายในกรณนี ้ัน ๆ เป็นรายแรกที่พระพุทธเจา้ ทรงอ้างเพื่อบัญญัตสิ ิกขาบท เช่น การที่พระสุทิน
เสพเมถุนธรรม หรือพระธนิยะนำไม้ของหลวงไปใช้สร้างกุฎิ การฆ่ามนุษย์ ภิกษุสำคัญว่าได้บรรลุมรรคผล
นิพพาน เป็นเหตุใหท้ รงบัญญตั ิสิกขาบท ดังปรากฏในพระวนิ ัยปฎิ ก

อนุบัญญัติ (วิ.เล่ม1 มหา. ปฐมภาค-31) คือ223 สิกขาบทท่ีพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทเพิ่มเติม
หลังจากมีต้นบัญญัติแล้ว เช่นปาราชิกสิกขาบทที่ 1 ว่าด้วยการห้ามเสพเมถุนธรรมกับมนุษย์ ต่อมามีพระคิดว่า
การเสพเมถุนธรรมกับมนุษย์เท่าน้ันมีความผิด จึงได้เสพเมถุนธรรมกับสัตว์ พระองค์ตรัสเรียกพระท่ีเป็นคนทำมา
สอบถาม ทรงทราบความจรงิ แล้วจึงบัญญตั สิ กิ ขาบทเพ่ิมเติมเรียกว่า อนุบัญญตั ิ

ประโยชน์ของการบัญญัติพระวินัย การบัญญัติพระวินัย พระพุทธองค์มีวัตถุประสงค์หรือ
เจตนารมณ์ในการบัญญัติพระวนิ ัยชัดเจนไม่ว่าจะเปน็ ส่วนท่มี ีโทษสถานหนกั หรอื สถานเบา พระพทุ ธเจ้าทรง
อาศัยอำนาจประโยชนห์ รือวตั ถปุ ระสงค์ 10 ประการ เหมอื นกันคอื

1. เพอ่ื ความดีแห่งหมู่
2. เพอ่ื ความสำราญแหง่ หมู่
3. เพอ่ื กำจัดบคุ คลเพือ่ ผู้เก้อยาก (หนา้ ดา้ น)
4. เพอ่ื ความอยู่เป็นผาสกุ แห่งภกิ ษุผมู้ ีศลี เป็นที่รัก
5. เพอ่ื ระวงั อาสวะทจี่ ะเกดิ ข้ึนในปจั จุบัน
6. เพื่อกำจดั อาสวะทจ่ี ะมตี อ่ ไปข้างหนา้
7. เพื่อความเลอื่ มใสของผทู้ ่ียังไม่เล่อื มใส
8. เพอื่ ความเจริญยิ่ง ๆ ของผเู้ ลื่อมใสแล้ว
9. เพื่อความตัง้ มน่ั แหง่ พระสัทธรรม
10. เพ่ืออุดหนุนพระวนิ ยั
ตอ่ มา พระธรรมวินัยที่พระองค์ทรงบัญญัติไว้ แสดงไว้ได้กลายมาเป็นตัวแทนของพระองค์ คือเป็น
เป็นศาสดาทีส่ ืบทอดมาจนถงึ ปัจจุบนั
สรุปได้ว่า จารีตประเพณีของพระพทุ ธเจ้า ในการบัญญัตสิ กิ ขาบทในสมัยพทุ ธกาลน้ันพระองค์ทรงดู
สงั คมของคนสมยั น้ันเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นการบัญญัตพิ ระวินยั ต้องดูสังคมรอบข้างทั้งลัทธนิ อกศาสนา การ
ตำหนติ เิ ตียนของชาวบา้ น การเกดิ ความสามัคคขี องหมู่คณะ และการรกั ษาศรทั ธาของชาวบ้านเป็นหลกั

223 วิ. มหา. (ไทย) 1 /31

287

ในการศึกษายุคดิจิทอล (Social Media). (2555) กล่าวว่า การบัญญัติกฎหมาย ความหมายของ
กฎหมาย ("หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย") กฎหมายคือข้อบงั คบั ของรฐั าธปิ ัตย์ ท่ีบัญญัติขึ้นเพื่อ
ใชค้ วบคมุ พฤตกิ รรมของพลเมอื ง หากใครฝ่าฝืน จะถกู ลงโทษ224

รฐั าธปิ ตั ย์ คอื ผูม้ ีอำนาจสงู สดุ ในรฐั (ของประเทศไทยรัฐาธปิ ตั ย์ แบ่งออกเปน็ 3 ฝ่ายไดแ้ กฝ่ ่ายนติ บิ ญั ญัติ
ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ แต่ละฝา่ ยกจ็ ะมีอำนาจสงู สุด เฉพาะด้านของตนเท่านนั้ สรุปก็คือรัฐาธปิ ัตย์ของไทย
ก็มีด้านบริหาร บญั ญัตแิ ละตัดสิน นั่นเอง) โทษ สำหรับโทษจะมีโทษทางอาญา กบั โทษทางแพ่ง โทษทางอาญามี 5
ขนั้ (สถาน) ได้แก่ประหารชีวิต จำคุก กกั ขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน สำหรบั โทษทางแพ่ง ก็คือการชดใชค้ ่าเสียหายใหแ้ ก่
ผ้เู สยี หาย ซ่ึงเรียกว่า “ค่าสนิ ไหมทดแทน” ซงึ่ มีหลายลักษณะจะไดก้ ลา่ วในลำดบั ตอ่ ไป

2. ลักษณะสำคญั ของกฎหมาย มีอยา่ งไรบ้าง
กฎหมาย มีลกั ษณะสำคัญ 4 ประการ ไดแ้ ก่
1. ต้องเป็นคำส่ังหรือข้อบังคับของผู้มีอำนาจในรัฐ (รัฐาธิปัตย์) สำหรับประเทศไทย องค์กรท่ีทำ
หนา้ ทีอ่ อกกฎหมาย ไดแ้ ก่
– รัฐสภา ถือเป็นอำนาจหน้าท่ีโดยตรง ในการบัญญัติกฎหมายออกมาบังคับใช้ กฎหมายท่ีรัฐสภา
บัญญตั ไิ ดแ้ ก่ พระราชบัญญัติ
– รฐั บาล หรือคณะรัฐมนตรี บางครง้ั ในยามบ้านเมืองมีความจำเป็นรีบด่วนในการแก้ไขปัญหาของ
ประเทศให้ฉับไว ถ้าหากรอให้รัฐสภาบัญญัติเป็นพระราชบัญญัติก็จะไม่ทันการณ์ อาจนำความเสียหายมาสู่
บ้านเมืองได้ กฎหมายสงู สุด(รัฐธรรมนูญ) จึงให้อำนาจฝา่ ยบรหิ ารหรือคณะรัฐบาลสามารถออกกฎหมายมา
ใช้บังคับในยามฉุกเฉิน เราเรียกกฎหมายนีว้ ่า “พระราชกำหนด” ในขณะใช้บังคับพระราชกำหนดน้ัน ๆ ให้
รบี นำพระราชกำหนดนนั้ เสนอรฐั สภา หากรฐั สภาเหน็ ชอบดว้ ย พระราชกำหนดนั้น กจ็ ะเปน็ พระราชบัญญตั ิ
ใช้บังคับได้ต่อไป แต่หากรัฐสภาไม่เห็นชอบด้วย พระราชกำหนดนั้น ๆ ก็เป็นอันตกไป คือให้เลิกใช้บังคับ
ต่อไป นอกจากน้ี รัฐบาลยังสามารถออกกฎหมายในลำดับช้ันรอง ๆ ลงไป ได้โดยที่ไม่ขัดกับรัฐธรรมนูญ
กฎหมายชั้นรองดังกล่าวนั้นก็คือ พระราชกฤษฎีกา และกฎกระทรวง กฎหมายท้ังสองชนิดนี้ พระราช
กฤษฎีกาจะมีฐานะหรือศักด์ิสูงกว่ากฎกระทรวง ท้ังน้ีเพราะมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ในการ
ประกาศใช้พระราชกฤษฎกี า ส่วนกฎกระทรวง ผ้ลู งนามประกาศใช้ คือ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวง
สรปุ ว่า กฎหมายทีอ่ อกโดยฝ่ายบริหารหรอื รฐั บาล มี 3 ชนดิ คือพระราชกำหนด พระราชกฤษฎกี า
และกฎกระทรวง องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีอำนาจในการออกกฎหมายมาใช้บังคับภายในเขตพ้ืนท่ีของ
ตน ท้ังนี้กฎหมายดังกล่าวจะต้องไม่ขัดแย้งกับกฎหมายแม่บท หรือกฎหมายที่อยู่ในลำดับช้ันที่สูงกว่า
กฎหมายส่วนทอ้ งถิน่ มี 5 ชนดิ ดว้ ยกัน ได้แก่

1. เทศบัญญตั ิ เป็นกฎหมายที่ เทศบาลหนึง่ ๆ ท่ีบัญญัตขิ ้นึ มา เพ่ือบังคบั ใช้กบั ประชาชนใน
พน้ื ที่เทศบาลของตนเอง

2. ข้อบังคับตำบล เป็นกฎหมายท่ีองค์การบริหารสว่ นตำบลหน่ึงๆ บัญญตั ิข้ึนมาเพอื่ บงั คับ
ใช้กบั ประชาชนในเขตพ้นื ทข่ี องตน

3. ข้อบัญญัติจังหวัด เป็นกฎหมายท่ีองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนึ่งๆ บัญญัติข้ึนมา ใช้
บังคับกบั ประชาชนในพน้ื ท่ีจงั หวดั น้ัน ๆ

4. ขอ้ บัญญัติกรุงเทพมหานคร เป็นกฎหมายที่กรงุ เทพมหานคร บัญญัติขึ้นมา ใช้บงั คบั กับ
ประชาชนในพนื้ ท่ขี องกรุงเทพมหานคร

224 การศึกษายุคดิจิทอล (Social Media). (2555). "หน่วยที่ 1 ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับกฎหมาย". สืบค้นเมื่อวันที่
26 กนั ยายน 2561.เขา้ ถงึ ได้จาก https://kasmos52.wordpress.com/2013/06/18/.

288

5. ขอ้ บัญญัตเิ มอื งพทั ยา เปน็ กฎหมายท่ีเมอื งพทั ยา บัญญัติข้นึ มา ใช้บงั คับกับประชาชนใน
พ้นื ท่ีของเมอื งพทั ยา อ. บางละมงุ จ. ชลบุรี

- ต้องเป็นขอ้ บงั คับ ใช้บังคบั พลเมอื ง (บังคบั สมาชกิ ของสงั คมนนั้ ๆ)
- ตอ้ งบังคับท่วั ไป คอื บงั คบั กบั คนทุกคนท่ีอยใู่ นราชอาณาจักร คำว่าราชอาณาจกั ร
- ต้องมีโทษสำหรบั ผู้ฝ่าฝืนหรอื ไม่ปฏิบตั ิตาม
2. ความสำคญั ของกฎหมาย กฎหมายมคี วามสำคญั ต่อสงั คมอย่างไร

2.1 สรา้ งความสงบเรยี บรอ้ ยในสังคม
2.2 แก้ไขข้อขัดแย้ง ในสังคม จากเหตุผลดังกล่าว กฎหมายจึงถือเป็นเครื่องยึดเหนี่ยว
สังคมให้อยรู่ อด ดงั คำกล่าวท่ีว่า “มีสังคมท่ีไหน มีกฎหมายที่น่ัน”
3. ทม่ี าของกฎหมาย หรอื มลู เหตุที่ทำให้เกดิ กฎหมาย การทม่ี นุษย์มารวมกลมุ่ กันไม่ว่าจะเป็นกลมุ่ เล็กหรือ
ใหญ่ก็ตาม ในสังคมกลุ่มน้ันๆ ย่อมจะต้องมีปัญหาขัดแย้งกันข้ึนในบางเร่ือง หรือหลายเรื่อง สังคมจึงต้องกำหนด
กฎเกณฑ์เพ่ือให้กลุ่มคนในสังคมยึดถือปฏิบัติในแนวเดียวกัน ถ้าบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกลุ่มบุคคลใดในสังคมไม่
ประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสงั คมนั้นๆ บุคคลน้ันย่อมจะถูกลงโทษตามกฎเกณฑ์ของสังคม กฎเกณฑข์ องสงั คม
จึงเป็นกฎหมายท่ีสังคมต้ังข้ึนเพื่อใช้บังคับกับบุคคลในสังคมแต่ละยุคแต่ละสมัย ซ่ึงไม่เหมือนกันถ้าเราได้ศึกษาถึง
ประวตั คิ วามเป็นมาของกฎหมายก็จะพบมลู เหตทุ ท่ี ำให้เกดิ กฎหมายหลายประการอาทิ เช่น
3.1 ผมู้ ีอำนาจสงู สดุ ของสังคมของรัฐหรือประเทศเป็นผอู้ อกกฎ คำสงั่ หรือข้อบังคับขนึ้ มา
ใชก้ ับประชาชนในสงั คม หรือในรฐั ของตน จนกลายเปน็ กฎหมายข้นึ มา แม้บางคร้ังบางสงั คมผ้มู อี ำนาจสูงสุด
ของสังคมนนั้ จะมิไดอ้ อกกฎเกณฑ์หรอื ข้อบงั คับขึ้นมาใช้โดยตรงก็ตาม แตจ่ ากบทบาทอำนาจหน้าทข่ี องผนู้ ำ
ทางสังคมที่มีส่ ่วนผลกั ดันให้เกิดมคี ำสงั่ ขน้ึ มาใชบ้ ังคบั กับประชาชนในปกครอง อยา่ งนี้กถ็ ือว่าผูม้ ีอำนาจสูงสดุ
ของสงั คมน้ันเป็นมูลเหตุท่ีทำใหเ้ กิดกฎหมายไดเ้ ชน่ กนั
3.2 ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติกันมาควบคุมคู่กับสังคม ก็เป็นมลู เหตุที่ทำให้
เกดิ ชนิดของกฎหมายทีเ่ รียกว่า กฎหมายจารีตประเพณีขน้ึ เพราะถ้าธรรมเนียมประเพณีใดที่สงั คมส่วนใหญ่
ยอมรับยึดถือปฏิบตั ิกันมา ถ้ามีผู้หน่ึงผู้ใดขัดขืน ไม่ประพฤติปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณีจะถูกสงั คม
น้ันลงโทษในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ การฆา่ หรือทรมาน หรือกำจดั ไปจากสงั คมโดยการขบั ไล่ไสสง่ เป็นตน้
3.3 ความเชื่อในเทพเจ้า วิญญาณบรรพบุรุษ หรือคำส่ังสอนของศาสดาของศาสนาต่างๆ
ก็เป็นมูลเหตุอย่างหนึ่งท่ีทำให้เกิดมีกฎหมายข้ึนมา ดังจะเห็นได้จากการท่ีผู้นำสังคมในสมัยโบราณหรือใน
สมัยประวัติศาสตรม์ ีการออกคำสั่งหรอื กฎเกณฑ์ โดยอา้ งว่าเป็นคำบญั ชาของพระผู้เป็นเจ้า การอ้างเอาสิ่งท่ี
ศักดิ์สิทธท์ิ ่ีประชาชนเลอื่ มใสศรัทธามาใช้เปน็ เคร่ืองมอื ก็ย่อมได้รับการเชอื่ ฟังและปฏิบตั ติ ามจากประชาชน
ด้วยดี ดังจะเห็นได้ว่าในยุโรปสมัยกลาง สันตะปาปา หรอื ผู้นำของศาสนาจึงมักแอบอ้างว่าคำส่ังนั้นเปน็ เทว
บญั ชา หรอื คำบญั ชาของพระเจา้ เสมอ (การศกึ ษายุคดิจิทอล (Social Media). (2555)
3.4 ความยุติธรรม หรือความเป็นธรรมทางสังคมเป็นส่ิงหนึ่งท่ีทำให้เกิดกฎหมายขึ้นมา
เพราะทุกคร้ังเมื่อสังคมวุ่นวาย คนในสังคมไม่รับความยุติธรรม ย่อมจะต้องมีการตัดสินคดีความต่างๆ และ
เพ่ือให้เกิดความยุติธรรมย่ิงขึ้น ผู้มีอำนาจในการตัดสินที่มีใจเป็นธรรมย่อมจะต้องนึกถึงความยุติธรรมท่ี
บุคคลในสังคมจะพึงได้รับก่อนเสมอ ซึ่งในเรอื่ งของความยุติธรรมน้ัน ถ้าพบว่ากฎหมายในตอนใดเร่ืองใดยัง
บกพรอ่ ง ผู้มีอำนาจในการตดั สินความนนั้ ย่อมใช้ดุลยพินจิ ปรบั ใหถ้ ูกตอ้ งตามแบบแผนของกฎหมาย หรือกฎ
ธรรมชาติให้มากท่ีสุด การปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เกิดความยุติธรรมดังกล่าวน้ีย่อมเป็นมูลเหตุที่ทำให้เกิด
กฎหมายใหม่ๆ ขึ้นมาใชใ้ นสงั คมได้เสมอ (การศกึ ษายุคดิจทิ อล (Social Media). (2555)
3.5 ความคิดเห็นของนักปราชญ์หรือนักวิชาการทางกฎหมายเป็นสิ่งหน่ึงที่ทำให้เกิดกฎหมาย
ข้ึนมาได้เช่นกัน เพราะกฎหมายที่ออกมาแม้จะละเอียดถ่ีถ้วนสักเพียงใดก็ตาม ก็ไม่อาจจะใช้ให้เหมาะสมกับ

289

สถานการณ์และสถานที่ในทุกแหง่ ได้ ประกอบกับกาลเวลาท่ีเปลยี่ นแปลงไปในแต่ละยุคแตล่ ะสมัย และผู้มีอำนาจ
ก็ยึดนโยบายและแนวปฏิบัติแตกต่างกันไป ทำให้กฎหมายมีช่องว่างจนเป็นเหตุให้นักวิชาการทางกฎหมายได้
เขียนบทความชี้แนะช่องโหว่ หรือข้อบกพร่องของกฎหมายนั้น จนมีผลทำให้มีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายให้
ทันสมยั เหมาะสมกับสถานการณ์และกาลเวลาทไ่ี ด้เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งอาจกล่าวไดว้ ่าแนวความคิดเห็นต่างๆ ของ
นกั วชิ าการทางกฎหมายก็มสี ่วนทำให้เกิดกฎหมายใหม่ที่ดีและเหมาะสมยิง่ ขึ้น

3.6 คำพิพากษาของศาลในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ถือว่าคำพิจารณาของศาลเป็นท่ีมา
ของกฎหมาย เพราะศาลอังกฤษใช้กฎหมายจารีตประเพณีเป็นหลักในการพิจารณาตัดสินคดี โดยถือเอาผล
ของการตัดสินใจที่แล้วมาในคดีชนิดเดียวกันเป็นหลักในการตัดสินใจ แม้จะต่างวาระต่างคู่กรณีกันก็ตาม
โทษของคดีท่ีเกดิ ข้ึนภายหลงั ย่อมได้รบั เท่ากันกับคดที ีเ่ กิดขึน้ กอ่ น แมว้ า่ ตอ่ มาเมอื่ ตรากฎหมายข้ึนก็ได้ยึดเอา
คำพิพากษาของศาลท่ีได้พิจารณาไว้แล้วเป็นเป็นหลักกฎหมายสืบต่อมาสำหรับประเทศไทย เยอรมัน
ฝร่ังเศส ญ่ีปุ่น และประเทศอ่ืนๆ ท่ใี ช้กฎหมายลายลักษณ์อักษร มิได้ยดึ ถือเอาคำพิพากษาของศาลเป็นท่ีมา
ของกฎหมาย แต่จะยึดเอาคำพิพากษาของศาลเป็นเพียงส่วนประกอบ หรือมูลเหตุที่ทำให้เกิดท่ีมาของ
กฎหมายเท่านน้ั (การศกึ ษายุคดจิ ทิ อล (Social Media). (2555)225 ที่มาของกฎหมายพอสรปุ ได้ ดงั นี้

1. มาจาก ผมู้ ีอำนาจสงู สดุ ของสังคมของรัฐหรือประเทศ
2. มาจากจารตี ประเพณี
3. มาจากความเชอื่ ในเทพเจา้ วญิ ญาณบรรพบุรษุ หรือคำส่งั สอนของศาสดาของศาสนาต่างๆ
4. มาจากความยตุ ิธรรม หรือความเป็นธรรมทางสังคม
5. มาจากความคดิ เหน็ ของนักปราชญห์ รือนกั วชิ าการทางกฎหมาย
6. มาจากคำพพิ ากษาของศาล
4. ประเภทของกฎหมายกฎหมายที่บังคับใช้ในบ้านเรามีอยู่หลายประเภท โดยแต่ละประเภทมี
ฐานะการบังคับใช้ท่ีแตกต่างกัน ในการปกครองของไทยจะมีกฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสงู สุดในการ
บังคับใช้ ที่ว่าเป็นกฎหมายสูงสุดก็เพราะว่าจะไม่สามารถออกกฎหมายใดท่ีจะออกมาขัดหรือแย้งกับ
กฎหมายรัฐธรรมนูญได้ หากมีกฎหมายใดๆ ก็ตามที่ออกมาโดยมีข้อความที่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญแล้ว
กฎหมายฉบบั น้ันจะใชบ้ ังคับไม่ได้เลย ในตัวของกฎหมายรัฐธรรมนูญน้ันจะเป็นการบัญญัติไว้ในเร่ืองตา่ งท่ีมี
ลักษณะกว้างๆ ไม่ว่าจะเป็น เรื่องสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน รูปแบบของการปกครองเช่นกำหนดให้มีคณะ
รัฐบาลเป็นผู้บริหารประเทศ กำหนดให้มีสมาชิก 2 ประเภทคือสมาชิกวุฒิสภากับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
เป็นต้น แต่ในส่วนของรายละเอียดเก่ียวกับเรื่องใดน้ัน รัฐธรรมนูญจะกำหนดให้ออกเป็นกฎหมายอ่ืนเฉพาะ
เร่ือง เชน่ กฎหมายพรรคการเมือง กฎหมายเลือกตัง้ เป็นต้น
ประเภทของกฎหมาย
1. กฎหมายรฐั ธรรมนูญ
2. พระราชบญั ญัติ
3. พระราชกำหนด
4. พระราชกฤษฎีกา
5. กฎกระทรวง
1. กฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายหลักในการปกครองประเทศ ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ มี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรอื คณะรัฐมนตรเี ปน็ ผู้เสนอ มีการพิจารณากัน 3 วาระ สำหรบั การยกเลิกหรือจะ
แก้ไขรัฐธรรมนูญน้ัน ในตัวรัฐธรรมนูญเองจะกำหนดวิธีการยกเลิก หรือแก้ไขที่ยากกว่าการออก

225 เร่ืองเดยี วกัน.

290

พระราชบัญญัติ ท้ังน้ีเนื่องจากไม่ต้องการใหม้ ีการแกไ้ ขบ่อยนัก การแก้ไขหรือการที่จะออกรัฐธรรมนูญฉบับ
ใหมน่ ัน้ จงึ ต้องเปน็ เร่ืองท่ีจำเป็นจรงิ

2. พระราชบัญญัติ เป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือ
คณะรัฐมนตรีเปน็ ผู้เสนอ มกี ารพิจารณากัน 3 วาระเชน่ เดียวกัน การยกเลกิ หรือแก้ไขสามารถกระทำได้งา่ ย
กว่ารัฐธรรมนญู (การศกึ ษายุคดิจทิ อล (Social Media). (2555)

3. พระราชกำหนด มีฐานะเทียบเท่าพระราชบัญญัติ แต่การออกพระราชกำหนดจะมวี ิธีทีแ่ ตกต่าง
จากพระราชบัญญตั ิคือ พระราชกำหนดจะออกโดยคณะรัฐมนตรี การท่จี ะออกพระราชกำหนดไดจ้ ะตอ้ งเปน็
กรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วน เพื่อประโยชน์ในอันท่ีจะรักษาความปลอดภัยของประเทศความปลอดภัย
สาธารณะ ความม่ันคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปอ้ งปัดภยั พิบัติสาธารณะเท่านน้ั เมอื่ คณะรัฐมนตรี
ให้ความเห็นชอบแล้วก็สามารถประกาศใช้เป็นกฎหมายได้เลย ซ่ึงจะต่างกับพระราชบัญญัติตรงท่ี
พระราชบัญญัติกว่าจะออกมาบังคับใช้ได้ก็ต้องใช้เวลานาน ต้องผ่านการพิจารณาถึง 3 วาระ แต่พระราช
กำหนดเพียงแค่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบกส็ ามารถใช้บังคับได้แล้ว เพียงแตว่ ่าพระราชกำหนดน้ัน เม่ือ
ออกมาแล้วหากอยู่ในสมัยประชุมของสภา คณะรัฐมนตรีก็จะต้องนำพระราชกำหนดเข้าสู่สภาเพื่อขอความ
เห็นชอบทันที แต่ถ้าไม่ได้อยู่ในสมัยประชุมของสภา คณะรัฐมนตรีก็จะต้องนำพระราชกำหนดเข้าสู่สภา
เพื่อให้สภาเห็นชอบทันทีที่เปิดสมัยประชุม และเมื่อนำเข้าสู่สภาแล้ว หากสภาให้ความเห็นชอบ พระราช
กำหนดนน้ั กใ็ ชบ้ ังคับได้ตอ่ ไปเหมอื นกับพระราชบญั ญตั ิ แตห่ ากสภาไม่ใหค้ วามเหน็ ชอบ พระราชกำหนดนัน้
ก็จะตกไปไม่มีผลใช้บังคับอีกต่อไป แต่จะไม่กระทบ กระเทือนสิ่งที่ได้ทำไปแล้วตามที่พระราชกำหนดน้ัน
บัญญตั ิไว้ (การศกึ ษายุคดิจทิ อล (Social Media). (2555)

5. พระราชกฤษฎีกา เป็นกฎหมายอกี ประเภทหนึ่ง ซึ่งมีฐานะการบังคบั ใช้ทีต่ ่ำกว่าพระราชบัญญัติ
หรอื พระราชกำหนด การออกพระราชกฤษฎีกาจะต้องมีกฎหมายประเภทพระราชบัญญัติ พระราชกำหนด
หรือรัฐธรรมนูญให้อำนาจไว้ พระราชกฤษฎีกาไม่สามารถออกได้เองโดยลำพัง ผู้ที่ออกพระราชกฤษฎีกาคือ
คณะรัฐมนตรี เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบก็สามารถใชบ้ ังคับไดเ้ ลย ไม่ต้องนำเข้าสู่ที่ประชมุ สภาเพื่อ
ขอความเหน็ ชอบอกี

6. กฎกระทรวง มีฐานะท่ีรองลงมาจากพระราชกฤษฎีกาอกี ทีหนึ่ง ผทู้ ่ีออกกฎกระทรวงก็คือรัฐมนตรผี ู้ท่ี
ดูแลกระทรวงนัน้ การออกจะต้องออกโดยมีพระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนดให้อำนาจไว้ เม่ือออกแลว้ สามารถ
ใช้บังคับได้ทันทีสำหรับ ประกาศคณะปฏิวัติ นั้น จะมีฐานะเช่นเดียวกับพระราชบัญญัติ แต่การออกจะออกโดย
หัวหน้าคณะปฏิวัติซ่ึงกุมอำนาจในขณะน้ัน และจะมีผลใช้บังคับได้อยู่ตลอดไปจนกว่าจะมีการยกเลิก การยกเลิก
นัน้ จะต้องออกเปน็ พระราชบัญญตั ยิ กเลกิ

9.5 วิธกี ารตัดสินปญั หาพระวินยั ในพระพทุ ธศาสนา
ในหนังสือสรรพศาสตร์ของพระมหาสมคิด ชยาภิรโต (2558, หน้า 229-230) อธิกรณ์ใน
พระไตรปิฎก คำวา่ อธกิ รณ์ หมายถงึ 226 เรื่องที่เกิดขึ้นแล้ว จะต้องจดั ทำ คือ เร่ืองทีส่ งฆ์จะ ต้องดำาเนนิ การ
ซ่ึงมีท้ังส่วนท่ีเป็น “คดี” คือ เป็นปัญหาข้อขัดแย้ง และส่วนที่เป็นกิจ ธุระต่าง ๆ อธิกรณ์น้ัน มี 4 ประการ
คือ วิวาทาธิกรณ์ : วิวาทกันเร่ืองพระธรรมวินัย, อนุวาทาธิกรณ์ : การโจทกันด้วยอาบัต,ิ อาปัตตาธิกรณ์ :
อาบตั แิ ละการแก้ไข อาบตั ิ และกจิ จาธิกรณ์ : กจิทส่ี งฆ์พงึ ทำ
วิวาทาธิกรณ์ : ววิ าทกันเรื่องพระธรรมวินัย พระสัมมาสัมพทุธเจา้ตรสถั งวึ วาิ ทาธกริ ณ์วา่ เป็นเรอ่ื งท
ที่ภิกษุทง้ั หลายวิวาทกนั ด้วยเรื่องธรรมวินยั 9 ประการนี้คือ (1) นี้เปน็ ธรรม น้ีไมเ่ ป็นธรรม (2) นเ้ี ปน็ วนิ ัย นี้

226 พระมหาสมคิด ชยาภิรโต. (2558). สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งแรก. ปทุมธานี : บริษัท
สำนกั พิมพท์ ันโลกทนั ธรรม จำกดั . หน้า 229-230.

291

ไม่เป็นวินยั (3) น้พี ระตถาคตเจ้าตรัสไว้ นพ้ี ระตถาคตเจ้าไม่ได้ตรัสไว้ (4) นี้พระตถาคตเจ้าทรงประพฤติมา
น้ีพระตถาคตเจ้าไม่ได้ทรงประพฤติมา (5) นี้พระตถาคตเจ้าทรงบญัญัติไว้ นี้ พระตถาคตเจ้าไม่ได้
ทรงบัญญัติัไว้ (6) น้ีเป็นอาบัติ น้ีไม่เป็นอาบัติ (7) น้ีเป็นอาบัติเบา น้ีเป็นอาบัติหนัก (8) น้ีเป็นอาบัติมีส่วน
เหลือ คือ ต้องเข้าแล้วยังไม่ขาดจากความเป็นภิกษุ นี้เป็นอาบัติหาส่วนเหลือมไิด้ คือ ต้องเข้าแล้วขาดจาก
ความเปน็ ภกิ ษุ (9) น้ีเปน็ อาบัติชว่ั หยาบ นีเ้ ป็นอาบัติไม่ชว่ั หยาบ

เมอ่ื ภกิ ษุท้งั หลายวิวาทกันด้วยเหต 9ุ ประการนีแล้ว ทำใหเก้ ิดความบาดหมาง ความทะเลาะ ความ
แก่งแย่ง ความทุ่มเถียง และการกล่าวเพื่อความกลัดกลุ้มใจ เป็นต้น มูลเหตุหรือสาเหตุในระดับรากเหงา้ ที่
ทำให้เกิดวิวาทาธิกรณ์เหล่าน้ีข้ึนน้ัน พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรสัว่า คือ กิเลส ทั้ง 3 ตระกูล คือ โลภ โกรธ
หลง อัน แสดงออกมาในรูปของความมักโกรธ ความลบหลู่ ตีเสมอ อิสสา คือ ความหึงหวง และความชิงชัง
ความตระหนี่ ความอวดดี เจ้ามายา ความปรารถนาลามก มีความ เหน็ผดิ และการเปน็ผถู้อืความเหน็ของ
ตนอยา่งแน่นแฟ้น ภิกษุรุปใดทเ่ีป็นเช่นน้ีจะเป็นเหตุให้ไม่มีความเคารพยำเกรงในพระศาสดา ในพระธรรม
ในพระสงฆ์และยอ่มไม่มีความก้าวหน้าในการปฏิบัติธรรม จะยังการวิวาทให้เกิดในสงฆ์ นอกจากกิเลสท้ัง 3
ตระกูล คือ โลภ โกรธ หลง ดังกล่าวแล้ว พระสมั มาสมัพทุธเจา้ยงตั รสัวา่ การววิาทกันในเร่ืองธรรมวินัยน้ัน
บางครั้งเกิดขึ้นจากจิตทีเป็น กุศล คือ จิตท่ีไม่โลภ ไม่โกรธ และไม่หลง กล่าวคือ การวิวาทในลักษณะน้ี
อาจจะ เร่มิ ตน้ ด้วยการสนทนาธรรมกันตามปกติ แต่เมื่อเกิดความเห็นขัดแย้งกนั จงึ นำไปสู่ การวิวาทกนั ได้

อนุวาทาธิกรณ์ : การโจทกันด้วยอาบัติ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรสัว่า ภกิษุท้ังหลายในธรรมวินัยน้ี
ย่อมโจท คือ ฟ้อง ร้องภิกษุด้วยศีลวิบัติหรืออาบัติ คือ การผิดศีล, อาจารวิบัติ คือ มารยาทเส่ือมเสีย, ทิฐิ
วิบตั ิ คอื ความเห็นผิด, อาชวี วิบตั ิ คอื การเล้ียงชีพในทางที่ผดิ เชน่ การใบ้หวย การเป็นหมอด ูการเปน็ หมอ
รกั ษาโรค การประกอบอาชพีอย่างฆราวาสอนื่ ๆ เป็นต้น

พระมหาสมคิด ชยาภิรโต (2558, หน้า 230-231) นี้เรียกว่า227อนุวาทาธิกรณ์ มลูเหตุแห่งอนุวา
ทาธิกรณ์นั้นมีอย่างน้อย 4 ประการ ใน 2 ประการแรกเหมือนกับมูลเหตุแห่งวิวาทาธิกรณ์ คือ กิเลส ท้ัง 3
ทั้ง 3 ตระกลู คอื โลภ โกรธ หลง แสดงออก มาในรูปของความมักโกรธ ความลบหลู่ตเี สมอ ฯลฯ เป็นเหตุให้
จ้องเอาผิดกันแล้ว จึงโจทด้วยอาบัติ เป็นต้น และมูลเหตุเกิดขึ้นจากจิตที่เป็นกุศล กล่าวคือ โจทด้วย
ความหวังดเี พ่อื ผู้อนื่ ปรับปรงุ ตวั ใหด้ ีเพื่อจะได้มีความเจริญในพระธรรมวนิ ยั นี้ สว่ นมูลเหตุแหง่ อนวุ าทาธกิ รณ์
อีก 2 ประการ คือ ร่างกาย และวาจา พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ภิกษุบางรูปเป็นผู้มีผิวพรรณนา่ รังเกียจ
ไม่น่าดู มีรูปร่าง เล็ก มีอาพาธมาก เป็นคนบอด ง่อย กระจอก หรืออัมพาต อันจะเป็นเหตุให้มีความ
ประพฤติบางอย่างไม่เหมาะสมเพราะความบกพร่องของร่างกายดังกล่าว เพื่อนสหธรรมิกท่ีไม่เข้าใจอาจจะ
โจทท่านได้ส่วนเรื่องวาจานั้น คือ ภิกษุบางรูปเป็นคนพูดไม่ดี ไม่ดี พูดไม่ชัด พูดระราน ภิกษุทั้งหลายย่อม
โจทภกิ ษุนั้นดว้ ยวาจา คอื คำพูดไมด่ ี ของท่านได้

อาปัตตาธิกรณ์ : อาบัติและการแก้ไขอาบัติ อาปัตตาธิกรณ์ คำว่า “อาบัติ” หมายถึง การล่วง
ละเมิดสิกขาบทหรอื ศลี ที่ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าบญัญัตไิว้ โดยมีชื่อ 7 กอง คอื ปาราชกิ สงฆั าทิเสส ถลุ ลัจจัย
ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ และทุพภาษิต อาบัติปาราชิก อาบัติสังฆาทเิสส อาบัตปิ าจิตตีย์ และอาบัติ
ปาฏิเทสนียะนน้ั เป็นอาบัติท่ีมีช่ือตรงกับชอื่ สิกขาบท โดยสกิ ขาบทนิสสัคคยิ ปาจิตตีย์กับสิกขาบท ปาจิตตีย์
นัน้ มีชื่ออาบัติว่า “ปาจิตตีย”์ เหมือนกนั สำาหรบั “ถุลลัจจยั ” แปลว่า ความล่วงละเมิดท่ีหยาบ เป็นอาบัติ
ที่หนักรองลง มาจากสังฆาทิเสส ถุลลัจจัยน้ันเป็นอาบัติที่มีวัตถุเดียวกันกับอาบัติปาราชิก และ อาบัติ
สังฆาทเิ สสดังตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้

227 เรอ่ื งเดยี วกัน. หน้า 230-231.

292

พระมหาสมคิด ชยาภิรโต (2558, หน้า 232-233) ภิกษุจงใจจะอวดคุณวิเศษท่ีไม่มีในตน228 แล้ว
ได้กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเป็น พระอรหันต์ หากคนท่ีฟังอยู่เข้าใจจะต้อง “อาบัติปาราชิก” แต่ถ้าคนฟังไม่
เข้าใจจะต้อง “อาบัติถุลลัจจัย” ภิกษุเห็นสตรีคนหนึ่งและรู้ว่าเป็นสตรี มีความกำหนัดแล้วจับต้อง “ของ
เน่ือง ด้วยกาย” ได้แก่ เส้ือผ้าของสตรีคนน้ัน กรณีน้ีภิกษุจะต้อง “อาบัติถุลลัจจัย” แต่ถ้า จับต้อง
“ร่างกาย” ส่วนใดส่วนหน่ึงของสตรีน้ันโดยตรงจะต้อง “อาบัติสงั ฆาทิเสส” คำว่า “ทุกกฏ” แปลว่า “ทำไม่
ดี”ี เป็นอาบัติที่มีโทษเบารองจากอาบัติปาฎิเทสนียะ โดยสิกขาบทในหมวดเสขิยวัตรทั้งหมดรวมท้ังพระ
บญั ญัติเกยี่ วกับมารยาทอื่น ๆ นอกปาฏโิ มกขส์ ังวรศลี หากภิกษลุ ่วงละเมดิ จะต้องอาบตั ทิ ุกกฎ คำาว่า “ทุพ
ภาษิต” แปลว่า “พูดไม่ดี”ี เป็นอาบัติที่มีโทษเบาที่สุด คือ มีโทษเบา กว่า แต่มีความก่ำกึ่งกับทุกกฏ
พอสมควร เชน่ ภิกษตุ ้งั ใจ “จะด่า” เพ่ือนภิกษุดว้ ยกันด้วยการกล่าวกระทบเรื่องผิวพรรณวา่ ท่านเปน็ คนสูง
นกั ท่านเป็นคนต่ำนัก ท่านเป็นคนดำนัก เป็นต้น จะต้อง “อาบัติทุกกฏ” ทุก ๆ คำพูด แต่ถ้าไม่ได้คิดจะด่า
เพียงแต่ต้องการ “ล้อเล่น” แล้วพูดคำดงั กล่าว จะต้อง “อาบัติทุพภาษิต” ทุก ๆ คำพูด อาบัติท้ัง 7 กองน้ี
จัดเป็น 2 ประเภท คือ ครุกาบัติ และลหุกาบัติ ครุกาบัติ หมายถึง อาบตัิหนัก จัดเป็นอาบัติชั่วหยาบท่ี
เรยี กว่า “ทุฏ ลุ ลาบัติ” หรืออาบัติทเี่ ปน็ โทษล่ำ ไดแ้ ก่ ปาราชิก และสังฆาทเิ สส ปาราชิกน้ันเป็นอาบัตหิ นัก
ข้นั “อเตกิจฉา” คือ เยียวยาแกไ้ ขไม่ได้ ซึ่งทำาให้ภิกษุผตู้ ้องมีโทษถงึ ท่ีสุด คือ ขาด จากความเป็นภิกษุ ส่วน
สังฆาทิเสสเป็นอาบัติหนักขั้น “สเตกิจฉา” พอเยียวยาแก้ไข ให้กลับเป็นภิกษุปกติได้ด้วย “วุฏุฐานคามินี”
คือ จะพ้นได้ด้วยการอยู่ปริวาสหรืออยู่กรรม ลหุกาบัติ หมายถึง อาบัติเบา จัดเป็น “อทุฏ ลุ ลาบัติ” คือ
อาบัติไม่ชั่วหยาบ ได้แก่ อาบัติ 5 กองท่ีเหลือ ตั้งแต่ถุลลัจจัยลงมา ซ่ึงจะแก้ไขได้หรือระงับได้ด้วย “เทส
นาคามนิ ”ี คือ การแสดง หมายถึง เปดิ เผยความผิดของตนต่อหน้าพระภกิ ษุ หรือหมูพ่ ระภิกษุ คือ สงฆ์

กจิ จาธิกรณ์ : กิจที่สงฆจ์ ะพงึ กระทำ กจิ จาธิกรณ์ หมายถึง กิจที่สงฆจ์ ะพึงกระทำมี 4 ประการ คือ
อปโลกนกรรม ญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญัตติจตุตถกรรม อปโลกนกรรม หมายถึง กรรม คือ การ
บอกเล่ากันในทปี่ ระชุมสงฆ์เพื่อขอความเห็นชอบร่วมกัน เพ่ือทำกจิ อย่างใดอยา่ งหน่งึ เช่น การอปโลกน์กฐิน
คอื การทตี่ ัวแทนสงฆแ์ จง้ ใหส้ งฆท์ ราบว่าจะยกผ้ากฐินให้กบั พระภกิ ษุรปู ใดรปู หน่ึง เพ่ือขอความเห็นชอบจาก
คณะสงฆ์ในพิธีกรรมทอดกฐินประจำาปี หากพระภิกษุทุกรูปในที่ ประชุมสงฆ์เห็นพ้องกันหรือมีมติร่วมกัน
ไม่มีใครคัดค้านพระภิกษุรูปท่ีได้รับการ เสนอชื่อนั้นก็จะได้ผ้ากฐินน้ันมาใช้สอย ญัตติกรรม คำาว่า “ญัตติ”
แปลว่า คำาเผดียงสงฆ์ หมายถึง การประกาศให้ สงฆ์ทราบเพ่ือทำกิจร่วมกัน ญัตติกรรม หมายถึง กรรมอัน
กระทำาดว้ ยการตง้ั ญัตติ เพียงอยาง่ เดียว คือ เพียงแตป่ ระกาศให้สงฆ์ทราบว่าจะทำกิจนั้นๆ เท่านั้นไมม่ ีการ
ขอมติจากคณะสงฆ์เหมือนอปโลกนกรรม เช่น การทำอุโบสถหรือพิธีฟังสวดพระปาฏิโมกข์ เป็นต้น ญัตติ
ทุติยกรรม แปลว่า กรรมที่มีญัตติเป็นที่ 2 หมายถึง กรรมที่มีวาจา หรือการกล่าวครบ 2 รวมท้ังญัตติ
กล่าวคอื เมอ่ื มีการสวดตงั้ ญัตตแิ ลว้ จะมีการ สวดอนสุ าวนา คือ คำาสวดประกาศขอมตจิ ากสงฆอ์ ีกหน่ึงคร้ัง
รวมเปน็ 2 จงึ ชือ่ ว่า ญตั ติทุตยิ กรรม เช่น การทำสังคายนาพระไตรปฎิ ก การสมมติสมี า เป็นตน้

ญัตติจตุตถกรรม แปลว่า กรรมท่ีมีญัตติเป็นท่ี 4 หมายถึง กรรมที่มีวาจา หรือการกล่าวครบ 4
รวมทงั้ ญัตติ กลา่ วคอื เมอื่ มกี ารสวดตงั้ ญตั ติแลว้ จะมกี าร สวดอนุสาวนา คือ คำสวดประกาศขอมตจิ ากสงฆ์
อกี 3 ครงั้ รวมเปน็ 4 จึงช่อื ว่า ญัตติจตุตถกรรม ทั้งน้ีเพือ่ ให้คณะสงฆม์ ีเวลาพิจารณาหลายเที่ยวว่า จะอนุมตั ิ
หรือไม่ ญัตติจตุตถกรรมใช้กับพิธีกรรมท่ีมีความสำคัญ เช่น การอุปสมบท นิคหกรรม เป็นต้น คำว่า
“นิคหกรรม” อ่านว่า นิก-คะ-หะ-กำ มาจากคำาว่า “นิคหะ + กรรม” นิคหะ แปลว่า การข่มหรือการ
ลงโทษ ส่วนกรรม แปลว่า การกระทำ คำาว่า นิคหกรรม จึงแปลว่า การกระทำาการขม่ หรือการกระทำการ
ลงโทษ นิคหกรรม เป็นมาตรการลงโทษขั้นที่ ี่2 หลังจากปรับอาบตัผู้ที่ผดิ ละเมดิ สิกขาบท หรอื กฎข้อห้ามอ่ืน

228 เร่ืองเดยี วกัน. หนา้ 232-233.

293

ๆ แล้ว นิคหกรรมใช้ในกรณีความผิดท่ีร้ายแรง เช่น กอ่ การ ทะเลาะวิวาทบาดหมาง ทำาความอ้ือฉาว มีศีล
วิบัติ ติเตียนพระรัตนตรัย เล่นคะนอง ประพฤตอินาจาร ลบล้างพระบัญญัติ ประกอบมิจฉาชีพ เป็นต้น 1
สำหรบั มูลเหตุแห่งกิจจาธิกรณน์ ้นั พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าตรัสว่า “สงฆเ์ ปน็ มูล อันหนึ่งแหง่ กิจจาธิกรณ”์ ทง้ั นี้
เพราะกิจจาธกิ รณ์ หมายถึง กจิ ที่ “สงฆ์” จะพึงกระทำ ดังน้นั สงฆ์เทา่ นั้นท่ีจะให้มกี ิจจาธิกรณ์ต่าง ๆ เกดิ ข้ึน
ได้ ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งเพียงรูป เดียวหรือภิกษุมากกว่าหนึ่งรูปแต่ไม่ครบองค์สงฆ์ คือ ต้ังแต่ 4 รูปข้ึนไปไม่
อาจจะ ทำกิจจาธกิ รณไ์ ด้

อธิกรณสมถะ : ธรรมเคร่ืองระงับอธิกรณ์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรสัอธิกรณสมถะไว้ในพระปาฏิ
โมกข์ เพอื่ เป็นหลักให้ ภิกษใุ ชส้ ำหรบั การระงบั อธิกรณท์ เ่ี กิดขึ้นแล้วในพระพทุ ธศาสนาดงั น้ี

1.) สัมมุขาวินัย คือ การระงับอธิกรณ์ในที่พร้อมหน้า หมายถึง พร้อมหน้า สงฆ์, พร้อมหน้าบุคคล
คอื คู่กรณี, พร้อมหน้าวัตถุ คือ ยกเรื่องท่ีเกิด นั้นขน้ึ มาวินิจฉัย และพร้อมหน้าธรรม คือ วินจิ ฉัยถูกตอ้ งตาม
ธรรม วนิ ัย 2.) สติวินยั คือ การระงับอธิกรณโ์ ดยถือวา่ เปน็ ผมู้ ีสติสมบรู ณ์ ใช้ในกรณี ที่จำเลยเปน็ พระอรหันต์
ซึ่งเป็นผู้มีสติสมบูรณ์ 3.) อมูฬหวินัย คือ การระงับอธิกรณ์โดยยกประโยชน์ให้ว่าต้องอาบัติใน ขณะเป็นบ้า
4.) ปฏิญญาตกรณะ คือ การระงับอธิกรณ์ตามคำรับสารภาพของจำเลย 5.) ตัสสปาปิยสิกา คือ การระงับ
อธิกรณ์โดยการลงโทษแก่ผู้ทำผิด 6.) เยภุยยสิกา คือ การระงับอธิกรณ์ตามเสียงข้างมาก โดยเสียงข้างมาก
ในที่น้ีจะต้องเปน็ เสียงข้างมากของภิกษุธรรมวาทเี ท่านน้ั ธรรมวาที คือ ผมู้ ีปกติกล่าวธรรม หรือผ้พู ูดถูกต้อง
ตรงตามหลักธรรม 7.) ติณวัตถารกวินัย คือ การระงับอธิกรณ์โดยการประนีประนอม ใช้ในกรณีที่เป็นเรื่อง
ร้ายแรง หากระงับอธิกรณ์โดยตัดสินให้ฝ่ายใดฝ่ายหน่ึง ผิดอาจจทำให้สงฆ์แตกแยกได้ แต่ยกเว้นอาบัติท่ีมี
โทษหนกั และอาบัติ เนอ่ื งด้วยคฤหสั ถ์

พระมหาสมคิด ชยาภิรโต (2558, หน้า 235-237) ตวั อย่าง229การระงับอธิกรณ์ด้วยอธิกรณสมถะ
การระงับอธิกรณด์ ้วยอธิกรณสมถะมีกรณศี ึกษาจำนวนมาก ในทีน่ ้ีจะยกมา เพียง 1 ตัวอย่าง คือ การระงับวิ
วาทาธิกรณ์ คือ การวิวาทกันเร่ืองพระธรรมวินัยดังนี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า วิวาทาธกิรณ์ระงับด้วย
สมถะ 2 คือ สัมมุขาวินัย และเยภยุยสกิา ในบางกรณีอาศัยสัมมุขาวินัยเพียงอย่างเดียวก็สามารถระงับ
อธกิ รณ์ได้ แต่บางกรณีตอ้ งใชท้ ง้ั สัมมขุ าวนิ ัยและเยภยุ ยสิกา จงึ สามารถระงับอธิกรณ์ได้

1.) การระงับอธิกรณ์ดว้ ยสัมมุขาวินัย เมื่อภิกษุวิวาทกันเรอ่ื ง “พระธรรมวินัย” กใ็ ห้ระงับดว้ ยสัม
มขุ าวนิ ัย กอ่ น คือ การระงบั ในทพี่ รอ้ มหน้า 4 อย่าง คือ พร้อมหน้าสงฆ์, ธรรม, บุคคล และ วัตถุ โดยลำดับ
แรกให้ภิกษุที่เกี่ยวข้องทั้งหมดประชุมกัน เมื่อประชุมกันแล้ว พึงพิจารณาธรรมเนติเม่ือพิจารณาแล้วพึงให้
อธิกรณ์น้ันระงับโดยอาการท่ีเรื่องในธรรมเนติน้ันลงกันได้ ธรรมเนติ มาจากคำาว่า “ธรรม + เนติ” คำว่า
“เนติ” เป็นคำเดียวกับ “นติ ิ” ในคำาวา่ นิตศิ าสตร์ เนติ หมายถึง แบบแผน ขนบธรรมเนียม กฎหมาย เคร่อื ง
แนะนำอุบายอนั ดี 1 การพิจารณาธรรมเนติ ในท่ีน้หี มายถงึ การพิจารณาหวั ขอ้ พระธรรมวนิ ยั ทีภ่ ิกษวุ ิวาทกัน
คล้าย ๆ กับการพิจารณาคดีของผู้พิพากษา ทนายความ หรือนักกฎหมายในทางโลก ประโยคที่ว่า “เม่ือ
พิจารณาแลว้ ให้อธิกรณ์นัน้ ระงบั โดยอาการที่เรอื่ งในธรรมเนตนิ ้ันลงกนั ได้” หมายถึง การท่คี ณะสงฆป์ ระชุม
กนั ระงบั อธกิ รณ์ด้วยการ ตัดสนิ ฝ่ายไหนถูกฝา่ ยไหนผิด โดยยึดความถูกต้องตามพระธรรมวินยั และให้ฝ่ายท่ี
ท่ีผิดยนิ ยอมด้วยดี หากอธิกรณ์ระงบั อย่างนี้แล้ว ผู้ทำร้อื ฟื้นอธิกรณข์ นึ้ อกี จะเปน็ อาบตั ปิ าจติ ตีย์

1.1) กรณรี ะงับอธกิ รณ์ในอาวาสท่อี าศัยอยูไ่ ม่ได้ ถา้ ไม่สามารถระงับอธกิรณน์ ั้นในอาวาสทอ่ี ยู่อาศัย
ได้ ก็ให้พากันไปสู่วัดอื่นหรือสำนักสงฆ์อ่ืนที่มีจำนวนพระภิกษุมากกว่าเมื่อไปถึงแล้วให้กล่าวกับภิกษุเจ้าถิ่น
วา่ อธกิ รณ์นี้แลว้ อยา่ งนี้ ขอโอกาสทา่ นท้งั หลายจงระงบั อธกิ รณ์น้โี ดยธรรมวินัย

229 เรือ่ งเดยี วกัน. หน้า 235-237.

294

สว่ นภิกษุเจ้าถ่ินน้ันพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ให้หลักไว้วา่ หากมีคณะสงฆ์ จากวัดอืน่ มาขอให้ช่วยระงับ
อธิกรณ์ ภิกษุเจ้าถ่ินจะต้องมีความรอบคอบโดยปฏิบัติ ดังนี้ (1) ให้ปรึกษากับสมาชิกในวัดก่อน ถ้าปรึกษา
กนั แล้วคดิ ว่า พวกเราไม่สามารถระงับอธิกรณ์นี้โดยธรรมวินัยได้ ภกิ ษเุ จ้าถ่ินก็ไม่พึง รบั อธิกรณ์น้ันไว้ (2) ถ้า
ปรึกษากันแล้วคิดว่า สามารถระงับอธิกรณ์น้ีโดยพระธรรมวินัย ก็ให้กล่าวกับพวกภิกษุอาคันตุกะน้ันว่า ถ้า
พวกท่านจักแจ้ง อธกิรณ์น้ีตามท่ีเกิดแล้วจริงๆ แกพ่วกเรา พวกเราจักรับอธิกรณ์น้ี แต่ถ้าพวกท่านไม่แจ้งแก่
เราตามเปน็ จรงิ พวกเรากไ็ ม่รบั รับอธิกรณน์ ้ี สำหรบั อาคันตกุ ะน้ันพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าใหห้ ลกั ไว้วา่ เมื่อไป
ขอให้พระวัดอื่นช่วยระงับอธิกรณ์นั้น จะต้องมีความรอบคอบเช่นกันโดยปฏิบัติดังน้ี (1) ให้กล่าวกับพวก
ภกิ ษุเจ้าถิน่ วา่ พวกผมจักแจ้งอธิกรณน์ ้ี ตามท่ี เกิดแล้วจริง ๆ แกท่ ่านท้ังหลาย ถา้ ท่านสามารถระงับอธกิ รณ์
นี้ โดยธรรมวินัย ระหว่างเวลาเท่านี้ได้ อธิกรณ์จักระงับด้วยดีพวก ผมจักมอบอธิกรณ์แก่ท่านทั้งหลาย (2)
หากท่านท้ังหลาย ไม่สามารถระงับอธิกรณ์น้ีโดยธรรมวินัย ระหว่างเวลาเท่านี้ได้ อธิกรณ์จักไม่ระงับด้วยดี
พวกผมจักไม่มอบอธิกรณ์นแ้ี ก่ท่านทง้ั หลาย พวกผมนแ้ี หละจกั เปน็ เจา้ ของ อธกิ รณ์นี้

พระมหาสมคิด ชยาภิรโต (2558, หน้า 238) พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า230 พวกภิกษุอาคันตกุ ะ
พงึ รอบคอบอยา่ งนี้ แล้วจงึ มอบอธกริ ณ์น้ันแก่พวกภกิ ษุเจ้าถ่ิน ถ้าภิกษเุ หล่าน้นั สามารถระงับอธกิ รณน์ ั้นได้ ก็
เป็นการดี ในขึ้นนี้ถือว่ายังระงับด้วยสัมมุขาวินัยอยู่ ผู้ทำการการร้ือฟื้นและติเตียน อธิกรณ์ท่ีระงับแล้วต้อง
อาบตั ปิ าจติ ตยี เ์ ชน่ เดียวกนั

วิธีระงับอธิกรณ์ท่ีมีเสียงเซ็งแซ่ ถ้ายังระงับอธิกรณ์ไม่ได้ และในระหว่างวินิจฉัยอธิกรณ์น้ันอยู่ มีเสียง
เซ็งแซ่เกดิ ขึ้น จนจับใจความคำพูดต่าง ๆ ไม่ได้ พระสัมมาสมั พุทธเจ้าให้ใช้ “อุพพาหิกวิธี” เข้าชว่ ยระงับอธิกรณ์
น้ัน โดยเบ้ืองต้นให้สงฆ์สมมติภิกษุผู้ประกอบ ด้วยองค์คุณ 10 ประการข้ึนก่อน อุพพาหิกวิธี แปลว่า การเลือก
แยกออกไป คล้าย ๆ กับการต้ังคณะ กรรมการพิเศษขึ้นมาเพ่ือช่วยวินิจฉัยคดีความ องค์คุณ 10 ของผู้ควรได้รับ
สมมติ (1) เป็นผู้มีศีล สำารวมระวังในปาฏิโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมารยาทและโคจร มีปรกติเห็นภัยในโทษมีประมาณ
เล็กน้อย ตั้งใจศึกษาและรักษา สิกขาบททุกข้อเป็นอย่างดี (2) เป็นพหูสูต กล่าวคือ เป็นผู้ฟังพระธรรมคำสอนมา
มาก ทรงจำไว้ได้ คลอ่ งปาก และแทงตลอดในพระธรรมคำสอนเหลา่ น้ัน (3) จำปาฏิโมกขไ์ ด้ดีโดยพิสดาร จำแนกดี
สวดดี วินิจฉัยถูกต้อง (4) เป็นผู้ตั้งม่ันในพระวินัย ไม่คลอนแคลน (5) เป็นผู้อาจช้ีแจงให้คู่ต่อสู้ในอธิกรณ์ยินยอม
เข้าใจ เพ่งเห็น เลื่อมใส (6) เป็นผู้ฉลาดเพื่อยังอธิกรณ์อันเกิดขึน้ ให้ระงบั (7) รูอ้ ธิกรณ์ (8) รู้เหตุเกิดอธิกรณ์ (9) รู้
ความระงบั แห่งอธกิรณ์ (10) รทู้ างระงับอธกิ รณ์

วธิ ีแต่งตงั้ และกรรมวาจา เมื่อหาภกิ ษผุ ู้มอี งค์คณุ 10 ประการนี้ได้แล้ว ก็ใหส้ งฆ์สมมตภิ ิกษุนข้ื น้ึ เป็น
ตวั แทนในการระงับอธกิ รณ์โดยให้ภิกษุผ้ฉู ลาดประกาศใหส้ งฆท์ ราบดว้ ยญตั ติทตุ ยิ กรรมวาจาวา่ “ทา่ นเจา้ ข้า
ขอสงฆ์จงฟงั ข้าพเจา้ เมื่อพวกเราวนิ จิ ฉยั อธกิ รณ์นอ้ี ยมู่ ีเสียงเซ็งแซเ่ กดิ ขนึ้ และไม่ทราบเนอ้ื ความแหง่ ถอ้ ยคำท่ี
กล่าวแล้วน้ัน ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงสมมติภิกษุมีช่ือน้ีด้วย มีช่ือน้ีด้วย เพื่อระงับ
อธิกรณ์นี้ด้วย อุพพาหิกวิธี น้ีเป็นญัตติ” “ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า เมื่อพวกเราวินิจฉยั อธิกรณ์นี้อยู่
มีเสยี งเซ็งแซเ่ กดิ ขนึ้ และไมท่ ราบเนื้อความแห่งถอ้ ยคำท่ีกล่าวแลว้ นนั้ สงฆ์สมมติภกิ ษุมชี ่อื น้ี ดว้ ย มีชื่อนี้ดว้ ย
เพื่อระงับอธิกรณ์ด้วย อุพพาหิกวิธี การสมมติภิกษุมีชื่อนี้ด้วย มีชื่อน้ีด้วย เพ่ือระงับอธิกรณ์นี้ด้วยอุพ
พาหกิ วิธี ชอบแกท่ ่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพงึ เปน็ ผนู้ ิง่ ไม่ชอบแก่ท่านผ้ใู ด ท่านผู้น้นั พึงทกั ทว้ ง” “ภกิ ษุมีช่ือนด้ี ว้ ย
มีช่ือนี้ด้วย อนั สงฆ์สมมติแล้ว เพ่ือระงับอธิกรณ์น้ี ด้วย อุพพาหิกวิธีชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงน่ิง ข้าพเจ้าทรง
ความน้ีไว้ด้วยอย่างนี้ฯ” ถ้าภิกษุเหล่านั้นสามารถระงบั อธิกรณ์ด้วยอุพพาหิกวิธี นี้ อธิกรณ์นั้นก็ถือว่า ระงับ
แล้ว แต่ยงั ถือว่าระงับด้วยสัมมขุ าวินัยอยู่ ผูท้ ำการรอ้ื ฟนื้ อธิกรณ์ทรี่ ะงบั แล้ว ตอ้ งอาบัตปิ าจติ ตีย์เชน่ เดยี วกนั

230 เร่ืองเดียวกัน. หน้า 238.

295

พระมหาสมคิด ชยาภิรโต (2558, หน้า 240) การแก้ปัญหาเม่ือมีผู้คัดค้านการวินิจฉัย231 ถ้ายัง
ระงับอธิกรณ์ไม่ได้และขณะวินิจฉัยอธิกรณ์อยู่ มีภิกษุธรรมกถึก กล่าวค้านการวินิจฉัยนั้น คัดค้านโดยที่
ตนเองจำเน้อื หาพระธรรมวนิ ัยในสว่ นที่คดั ค้านน้ันไม่ได้ หรือจำไดบ้ ้างไม่ได้บ้าง เมอ่ื เป็นเช่นนีภ้ ิกษผุ ู้ฉลาดพึง
ประกาศให้ ภิกษุเหล่านั้นทราบด้วยญัตติกรรมวาจา ว่า “ขอท่านท้ังหลายจงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อน้ีรูปนี้
เปน็ ธรรมกถกึ เธอจำเน้ือหาพระธรรมวินัยในส่วนที่คัดคา้ นน้นั ไม่ไดเ้ ลย หรอื จำได้บ้างไมไ่ ดบ้ า้ ง แต่ได้คดั ค้าน
ถ้าความพร้อมพรึงของท่านท้ังหลายถึงท่ีแล้ว พวกเราพึงขับภิกษุอ่ืนให้ออกไป แล้วที่เหลือพึงระงับอธิกรณ์
น้ี” ถ้าภิกษุเหล่านั้นขับภิกษุเหล่านั้นออกไปแล้วสามารถระงับอธิกรณ์นั้น อธิกรณ์นั้นก็ถือวา่ ระงบั แล้ว แต่
ยังถือวา่ ระงับดว้ ยสมั มขุ าวินัยอยู่ ผทู้ ำการรนื้ พื้น อธกิ รณ์ที่ระงับแลว้ ต้องอาบัติปาจิตตียเ์ ช่นเดยี วกัน

การระงบั อธิกรณด์ ้วยสัมมขุ าวินัยและเยภุยยสกิ า ถา้ ภิกษุเหล่านนั้ ไม่สามารถระงับอธิกรณ์นั้นด้วย
อุพพาหิกวิธี ก็พึงมอบอธิกรณ์นั้นแก่สงฆ์ว่า ท่านเจ้าข้า พวกข้าพเจ้าไม่สามารถระงับอธิกรณ์น้ีด้วย อุพ
พาหิกวิธี ขอสงฆ์นั่นแหละจงระงับอธิกรณ์นี้ เมื่อเป็นเช่นน้ีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็อนุญาตให้สงฆ์ระงับ
อธิกรณ์น้ีด้วย “เยภยุยสกิา” หรือด้วยเสียงข้างมาก ซ่ึงจะใช้วิธีการจับสลากโดยลำดับแรกให้สมมติ ภิกษุ
ประกอบด้วยคุณ 5 ให้เป็นผู้ให้จับสลาก คือ (1) ไม่ถึงความลำเอียงเพราะความชอบพอ (2) ไม่ถึงความ
ลำเอียงเพราะความเกลียดชัง (3) ไม่ถึงความลำเอียงเพราะความงมงาย (4) ไม่ถึงความลำเอียงเพราะความ
กลวั (5) เป็นผ้รู ู้จักสลากทจี่ ับแล้วและยงั ไม่จบั

วธิ ีแตง่ ตั้งและกรรมวาจา เมอื่ เลือกภกิ ษุมีคุณสมบัติอย่างนแ้ี ล้วก็ใหภ้ ิกษฉุ ลาดประกาศให้สงฆท์ ราบ
ว่าจะสมมติภิกษรุ ูปนใ้ี ห้เปน็ ผูใ้ ห้จับสลากดว้ ยญตั ติทุตยิ กรรมวาจาดังนี้ “ทา่ นเจา้ ขา้ ขอสงฆ์จงฟงั ขา้ พเจ้า ถ้า
ความพร้อมพร่ังของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์ พึงสมมติภิกษุมีชื่อนี้ ให้เป็นผู้ให้จับสลาก นี้เป็นญัตติ” “ท่านเจ้าข้า
ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สงฆ์สมมติภิกษุมีชื่อน้ี ให้เป็นผู้ให้จับสลาก การสมมติภิกษุมีช่ือน้ี ให้เป็นผู้ให้จับสลาก
ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้น้ันพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้น้ันพึงทักท้วง “ภิกษุมีช่ือน้ีอันสงฆ์สมมติ
แล้ว ให้เป็นผู้ใหจ้ ับสลาก ชอบแก่สงฆ์ เหตุน้ันจึง น่ิง ขา้ พเจา้ ทรงความนี้ไว้ ด้วยอย่างน้ี” ภิกษผุ ู้ใหจ้ ับสลาก
นน้ั พงึ ให้ภกิ ษุทัง้ หลายจับสลาก โดยการจบั สลากน้ัน พระสมั มาสัมพุทธเจ้าทรงให้หลักว่า “ภิกษพุ วกธรรม
วาทีมากกว่า ย่อมกล่าวฉันใด พึงระงับอธิกรณ์น้ัน ฉันน้ัน” หมายถึง แม้จะเป็นการตัดสินด้วยเสียงข้างมาก
แตก่ ็จะต้องยึดธรรมวนิ ยั เปน็ หลัก จะตัดสินจากคะแนนตามใจชอบไม่ได้ การระงับอธกิ รณใ์ นลักษณะนี้ชอื่ ว่า
ระงบั ดว้ ย สัมมุขาวินัย และเยภุยยสิกา เพราะช่วงแรกดำเนินการระงับด้วย สัมมขุ าวินัย แต่ไม่สำเร็จ ตอ่ มา
จึงใช้วิธีเยภุยยสิกา คือ การระงับโดยเสียงข้างมากเข้าช่วยจึงสำเร็จ ผู้ทำาการร้ือฟ้ืนและติเตียนอธิกรณ์ท่ี
ระงบั แลว้ ตอ้ งอาบัตปิ าจิตตยี ์ เช่นเดยี วกนั

9.6 การประยุกตใ์ ช้วิธกี ารทางพระวนิ ัยกบั ตัดสินปญั หา
พระวนิ ัยหรือศีลของพระ เปน็ สงิ่ ท่ีพระพุทธองค์ทรงบัญญัตไิ ว้เพอ่ื เป็นขอ้ หา้ มสำหรบั พระภิกษไุ ม่ให้
ประพฤติหรือกระทำส่ิงใดสิ่งหน่ึง ท่ีจะทำให้มีความเสื่อมเสียหรือเสียหายเกิดขึ้น การกำหนดโทษของภิกษุ
ผูฝ้ ่าฝืนละเมิดพระวินัย เรียกว่าอาบัติ ซ่ึงอาบัตินั้นมี 7 ประการ โดยเรียงลำดบั ตามโทษหนัก ไปหาเบาดังนี้
1. ปาราชิก 2. สังฆาทิเสส 3. ถุลลัจจยั 4. ปาจิตตยี ์ 5. ปาฏิเทสนียะ 6. ทุกกฏ 7. ทพุ ภาสติ
หลักเกณฑ์ในการบัญญัติสิกขาบท หลักเกณฑ์ท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงวางไว้ในการบัญญัติ
สกิ ขาบทคือ เม่ือภิกษุรปู ใดรูปหน่ึงหรือคณะใดคณะหนึ่งมคี วามประพฤตทิ ี่เสอ่ื มเสียเกิดข้ึนเมื่อใด พระองค์
จะทรงบัญญัติสิกขาบทห้ามสงฆ์ทั้งหลายประพฤติสิ่งนั้นอีกเม่ือนั้น หลักเกณฑ์ในการบัญญัติสิกขาบทของ
พระผู้มีพระภาคเจ้าน้ัน สามารถดูได้จากพุทธพจน์ที่พระองค์ตรสั กับพระสารีบุตร ในคร้ังท่ีพระสารีบุตรทูล
ขอให้พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทเพื่อจะทำให้พระพุทธศาสนายืนยาวนาน และพระพุทธองค์

231 เรื่องเดียวกัน. หนา้ 240.

296

ตรสั ตอบว่า (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลของมหามกุฏราชวิทยาลยั เล่มท่ี 1 พระวินยั ปิฎก มหาวภิ ังค์ เล่ม 1
ภาค 1, 2555, หน้าที่ 15 ข้อที่ 8) “ จงรอก่อนสารีบุตร จงยับย้ังก่อนสารีบุตร ตถาคตผู้เดียวจักรู้กาลใน
กรณีนัน้ พระศาสดายังไม่บัญญัติสกิ ขาบท ยังไมแ่ สดงปาตโิ มกขแ์ กส่ าวก ตลอดเวลาทีธ่ รรมอนั เปน็ ทต่ี ้งั แห่ง
อาสวะบางเหล่ายังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนาน้ี ต่อเมื่อใดอาสวัฏฐานิยธรรม(ธรรมอันเป็นท่ีต้ังแห่งอาสวะ)
บางเหล่าปรากฏในสงฆ์ในศาสนาน้ี เม่ือน้ันพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก เพ่ือ
กำจัดอาสวฏั ฐานยิ ธรรมเหลา่ นนั้ แหละ ”232 ในตอนต้นของพุทธกาล ตั้งแต่มพี ระสงฆร์ ูปแรกบงั เกิดขนึ้ นนั่ คือ
พระอัญญาโกณฑญั ญะ พระองค์ยงั ไม่ทรงบญั ญตั ิสิกขาบท เน่อื งจากพระสงฆ์ในยุคเร่ิมแรกยังเป็นพระสงฆท์ ี่
มีจรยิ วตั รงดงาม พระส่วนมากมีคุณธรรมขั้นต่ำก็คือพระโสดาบัน ดังน้นั พระจงึ ยังไม่มีความประพฤตทิ ี่เสื่อม
เสียเกิดข้ึน ต่อมาเม่ือพระพุทธศาสนาได้เผยแพร่ไปกว้างไกลมากข้ึนเรื่อยๆ คนบวชเริ่มมากมายหลากหลาย
ข้นึ ดังนั้นเหตุผลของผทู้ จ่ี ะมาบวชในบวรพุทธศาสนาจึงมากมายแตกตา่ งกันไปดว้ ย ซง่ึ ผมู้ าบวชบางคนก็มา
บวชด้วยเหตุผลที่ผิด นั่นคือมิได้มาเพื่อประพฤติปฏิบัติธรรมเพ่ือการพ้นทุกข์ ดังนั้นพระจึงเร่ิมมีความ
ประพฤติเสื่อมเสียเกิดข้ึน เมื่อมีความประพฤติเส่ือมเสีย จึงเป็นเหตุให้เกิดการบัญญัติสิกขาบทขึ้น
ความสำคัญของพระวินัยพระวินัยเปรียบเหมือนพระศาสดา (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลของมหามกุฏราช
วิทยาลัย เล่มท่ี 13 พระสุตตันตปิฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เล่ม 2 ภาค 1 - หน้าที่ 320 ข้อท่ี 141) พุทธพจน์
ครง้ั นั้น พระผ้มู พี ระภาคเจา้ รับส่ังกะทา่ นพระอานนท์ว่า233

“ดกู ่อนอานนท์ บางทีพวกเธอจะพึงมีความคิดอย่างนี้ว่าปาพจน์มพี ระศาสดาล่วงแล้ว
พระศาสดาของพวกเราไม่มี ข้อนพ้ี วกเธอไมพ่ ึงเห็นอย่างนั้น ธรรมกด็ ี วินัยก็ดี อนั ใดอันเราแสดง
แลว้ ได้บัญญตั ไิ ว้แล้วแก่พวกเธอ ธรรมและวินยั อนั นน้ั จกั เป็นศาสดาแหง่ พวกเธอโดยกาลล่วงไป
แห่งเรา”
เมอื่ อา่ นจากพุทธพจน์แลว้ แสดงว่าพระวินัยท่ีพระพุทธเจ้าทรงบัญญัตไิ ว้ ไมใ่ ชเ่ ป็นแค่เพยี งข้อห้าม
เท่านั้น แต่ในอีกสถานะหนึ่ง พระวินัยเปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของพระองค์ที่พระองค์ทรงวางไว้เพ่ือ
ปกครองคณะสงฆ์หลังจากพระองค์ทรงดับขันธ์ปรินิพพานไปแล้ว ดังนั้นความสำคัญในข้อนี้คือพระวินัย
เปรียบได้ดั่งกับพระผู้มีพระภาคเจ้า เน่ืองจากพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงแต่งตั้งพระวินัยให้เป็นตัวแทน
พระองค์ เพราะฉะน้ันความสำคัญของวินัย จึงมีความสำคัญอย่างที่สุด ใครที่มองข้ามพระวินัย ก็เหมือน
ประหนงึ่ ว่าไดม้ องข้ามพระองค์
ศีลทุกข้อน้ัน ล้วนแล้วแต่มีการเกิดข้ึนโดยมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบัญญัติข้ึนท้ังนั้น
อีกทั้งกระบวนการบัญญัติขึ้นของศีลแต่ละข้อนั้น ก็มีท่ีมาที่ไปอย่างชัดเจนนั่นคือ มีภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง หรือ
คณะใดคณะหนง่ึ กระทำความผิด พระผมู้ ีพระภาคเจ้าทรงเรยี กประชุมสงฆ์
ทรงสอบถาม
ตรสั ถงึ โทษ
ทรงติเตียน
ตรัสถงึ ประโยชนใ์ นการบญั ญตั ิสิกขาบท
หลงั จากน้ันพระองคค์ อ่ ยทรงบัญญัติสกิ ขาบท

232 พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลของมหามกุฏราชวิทยาลัย เล่มท่ี 1 พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม 1 ภาค

1, 2555, หนา้ ท่ี 15 ขอ้ ท่ี 8.
233 พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลของมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั เลม่ ท่ี 13 พระสุตตันตปิฎก ทฆี นกิ าย มหาวรรค

เล่ม 2 ภาค 1 - หนา้ ท่ี 320 ข้อท่ี 141.

297

นอกจากมีที่มาในการบัญญัติอย่างชัดเจน ถงึ ขนาดมีรับสั่งให้เรียกประชุมสงฆ์แล้ว พระองค์ยังตรัส
ถึงประโยชนส์ บิ ประการเหล่านคี้ ือประโยชน์ 10 ประการแห่งการบญั ญัติสกิ ขาบท

พุทธพจน์ “ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัย
อำนาจประโยชน์ 10 ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ 1 เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ 1 เพื่อข่มบุรุษผู้
เก้อยาก 1 เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มศี ีลเป็นที่รัก 1 เพอ่ื ป้องกันอาสวะอันจะบงั เกิดในปัจจบุ ัน 1 เพ่ือกำจัด
อาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต 1 เพ่ือความเล่ือมใสของชุมชนท่ียังไม่เล่ือมใส 1 เพื่อความเลื่อมใสย่ิงของ
ชุมชนท่ีเล่อื มใสแลว้ 1 เพอ่ื ความตง้ั มัน่ แหง่ พระสทั ธรรม 1 เพอื่ ถือตามพระวนิ ยั 1”

หนงั สือพุทธธรรม (ป.อ.ปยุตฺโต)หรอื พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2555, หน้า 436) ได้แปล
ประโยชน์ 10 ประการเป็นภาษาที่เข้าใจง่ายดังนี้234

1. เพอ่ื ความดีงามทเี่ ป็นไปโดยความเหน็ ชอบร่วมกนั ของสงฆ์
2. เพ่อื ความผาสุกแห่งสงฆ์
3. เพื่อกำราบคนหน้าดา้ นไม่รู้จักอาย
4. เพอ่ื ความอย่ผู าสุกแหง่ เหล่าภิกษผุ มู้ ศี ลี ดีงาม
5. เพอ่ื ปิดกนั้ ความเสือ่ มเสีย ความทกุ ข์ ความเดือดรอ้ นทีจ่ ะมีในปัจจุบัน
6. เพอื่ บำบัดความเสอ่ื มเสยี ความทุกข์ ความเดือดรอ้ นที่จะมีในภายหลงั
7. เพื่อความเล่ือมใสของคนท่ียังไม่เล่อื มใส
8. เพอื่ ความเลือ่ มใสย่ิงข้ึนไปของคนท่เี ลือ่ มใสแล้ว
9. เพอ่ื ความดำรงมั่นแห่งสทั ธรรม
10. เพ่อื ส่งเสรมิ ความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย สนับสนุนวนิ ยั ให้หนกั แนน่
ถา้ ทุกคนสังเกตให้ดีในประโยคท่ีพระองคต์ รัสว่า “ เราจักบญั ญัติสิกขาบทแก่ภิกษุท้ังหลาย อาศัย
อำนาจประโยชน์ 10 ประการ ” ประโยคดงั กล่าวน้เี ป็นสง่ิ ท่ีพระองค์ตรสั ในคราวกอ่ นทจี่ ะมีการบญั ญัตพิ ระ
วนิ ัย และไม่ใช่พระองค์จะตรัสแค่ครงั้ เดียวเท่าน้ัน แต่กลบั เปน็ ประโยคท่ีพระองค์ตรสั ย้ำๆซำ้ ๆกันบ่อยมาก
ตรสั แทบทุกคราวที่พระองคจ์ ะทรงบญั ญตั สิ ิกขาบทโดยท่พี ระองคจ์ ะตรัสถงึ ประโยชนส์ บิ ประการเหล่านี้กอ่ น
คอ่ ยบัญญัตสิ ิกขาบท ธรรมดาของพระพุทธเจ้าผ้เู ป็นพระสพั พัญญูน้ันยอ่ มจะตรัสเฉพาะสง่ิ ที่เป็นประโยชน์
ถึงแม้ว่าพระองค์จะตรัสแค่ครั้งเดียว ชาวพุทธก็ต้องให้ความสำคัญอย่างย่ิงยวดอยู่แล้ว แต่นี่กลับเป็นส่ิงท่ี
พระองคต์ รสั ย้ำซำ้ แลว้ ซ้ำอีก
ชาวพุทธส่วนมากจะบอกว่าตนเองเคารพนับถือพระพุทธเจ้า แต่เมื่อพิจารณาในรายละเอียดแล้ว
กลับหาได้เป็นเช่นน้ันไม่ เพราะถ้ามคี วามเคารพต่อพระองค์จริงก็น่าจะเชื่อฟังและปฏิบัติตามสิ่งท่ีพระองค์
บัญญัตไิ ว้อยา่ งเคร่งครัด ซ่ึงในความเป็นจรงิ ชาวพทุ ธส่วนมากกลับไมฟ่ ังและไมป่ ฏบิ ัติตามสิ่งที่พระองค์สัง่ ไว้
ทง้ั ท่สี งิ่ ทพี่ ระองค์ส่งั ไวก้ ็เปน็ สง่ิ ที่สร้างความเจรญิ ให้กบั ผู้ทกี่ ระทำตามนัน่ เอง
ขอถามใจชาวพุทธว่า แล้วชาวพุทธล่ะ เห็นแก่พระองค์บ้างหรือไม่ เห็นแก่ส่ิงท่ีพระองค์ตรัสบ้าง
หรือไม่ ท่ีผ่านมานั้น แต่ละคนมีความยำเกรงในส่ิงท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้หรือไม่ ถ้าแต่ละ
คนตอบว่า แต่ละคนเห็นแก่พระองค์ ก็ขอให้แต่ละคนลองถามใจตัวเองอกี ทีเถิดว่าแต่ละคนเห็นแก่พระองค์
แค่ไหน แต่ละคนให้ความยำเกรงแค่ไหนในส่ิงท่ีพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติ เห็นแก่สิ่งที่พระองค์ทรงบัญญัติ
พระวนิ ยั โดยอาศยั อำนาจประโยชน์ 10 ประการแค่ไหน และจริงๆแลว้ แตล่ ะคนนัน้ เห็นแกส่ ่งิ ท่พี ระองค์ทรง
แต่งตั้งเป็นตัวแทนพระองค์หลังพระองค์ปรินิพพานหรือไม่ ที่ต้องถามย้ำๆหลายคร้ังก็เพราะว่าเรอื่ งเหล่าน้ี

234 พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2555). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย. พิมพ์คร้ังท่ี 35.
กรุงเทพมหานคร : สำนกั พมิ พ์เพท็ แอนด์โฮมจำกดั . หน้า 436.

298

ไม่ใช่เรื่องเล็กน้อย แต่เป็นเรื่องท่ีมีความสำคัญมาก พระผูม้ ีพระภาคเจ้าได้ตรัสถึง เหตุฝ่ายต่ำ 5 ประการ
ซึ่งเป็นสาเหตุให้พระสัทธรรมเสื่อมนั่นคือ235 (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลของมหามกุฏราชวิทยาลัย เล่มท่ี
26 พระสุตตนั ตปิฎก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม่ 2 - หนา้ ท่ี 632 ขอ้ ที่ 533)

“ ดูก่อนกัสสป เหตุฝ่ายต่ำ 5 ประการเหล่าน้ี ย่อมเป็นไป พร้อมเพ่ือความฟ่ัน
เฟือน เพ่ือความเลือนหายแห่งพระสัทธรรม เหตุฝ่ายต่ำ 5 ประการเป็นไฉน คือ ภิกษุ
ภิกษุณี อุบาสกอุบาสิกาในธรรมวินัยน้ี ไม่เคารพยำเกรงใน พระศาสดา 1 ใน พระธรรม 1
ใน พระสงฆ์ 1ใน สิกขา 1 ใน สมาธิ 1 เหตุฝ่ายต่ำ 5 ประการเหล่านี้แล ย่อมเป็นไปพร้อม
เพ่อื ความฟัน่ เฟือนเพ่อื ความเลอื นหายแหง่ พระสทั ธรรม ”
ตามพุทธพจน์นั้น ความไม่ยำเกรงในพระศาสดา ในสิกขา เป็นเหตุให้เกิดท้ังความฟั่นเฟือนและ
ความเลือนหายในพระสัทธรรม ในความคิดของผู้เขียนน้ัน สิ่งท่ีพระองค์ตรัสนั้น อีกนัยหนึ่งเป็นเหมือนกับ
การบอกเตือนกับพุทธบริษัท 4 ไว้ล่วงหน้าเพื่อเตรยี มรับมือกับส่ิงท่ีจะเกิดข้ึนว่า ในภายภาคหน้าหลังจากที่
พระองค์ปรินิพพาน จะมเี หตุการณ์เหล่านีเ้ กิดขึ้น นน่ั คือความไมเ่ คารพยำเกรงในพระศาสดา ความไม่เคารพ
ยำเกรงในสิกขา ซึ่งเป็นเหตุฝ่ายต่ำที่จะทำให้พระสัทธรรมฟั่นเฟือน ซ่ึงพุทธบริษัท4 เม่ือได้รับรู้แล้วก็ต้องมี
ความระมัดระวังสอดส่องและควรเตรียมความพร้อมอย่างเต็มที่ เพ่ือรับมือและยับย้ังกับเหตุฝ่ายต่ำเหล่านี้
เมื่อส่ิงเหล่านี้เกิดข้ึนมา แต่มิใช่ให้พุทธบริษัท4 ไปร่วมผสมโรงสนับสนุน หรือทำตัวกลมกลืนเนียนไปกับ
เหตุการณ์ฝา่ ยต่ำ 5 ประการเหล่าน้ี ซ่งึ เป็นสาเหตทุ ำให้เกิดความฟั่นเฟอื นและเลือนหายแหง่ พระสัทธรรม
พระวินยั เปน็ กฎทางธรรม พระวินยั เปน็ ส่ิงท่ี พระผู้มีพระภาคเจา้ ซึง่ เปน็ พระสพั พญั ญู ผูร้ ู้ทกุ สรรพสิ่ง ผ้มู ี
ปัญญาและเป็นผู้ประเสริฐสูงสุดเป็นผู้บัญญัติ ซึ่งจากที่ได้กล่าวข้างต้นมาแล้วว่า ผู้ท่ีเข้ามาบวชในบวร
พระพทุ ธศาสนานัน้ ตา่ งก็มีจำนวนมากมาย นอกจากมีจำนวนมากมายแลว้ ก็ยงั มคี วามหลากหลายอีกดว้ ย ทงั้ ความ
หลากหลายในดา้ น ต่างเหตุ ตา่ งผล ในการเข้ามาบวช และความหลากหลายทางดา้ น โคตร ตระกลู ชนช้ัน วรรณะ
อัธยาศัย แต่ไม่ว่าผู้ที่เข้ามาบวชจะมาจากท่ีใด หรือจะหลากหลายประมาณไหนก็ตาม เม่ือเข้ามาบวชแล้วก็จะมี
พระวนิ ัยเป็นส่งิ ทห่ี ลอ่ หลอม ให้มีความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ยเกดิ ข้ึนในหมสู่ งฆ์ ยังประโยชน์ใหเ้ กิดข้ึนทัง้ แก่ตนเอง
และคณะสงฆ์ ตัวอย่างเช่นผู้ท่ีเข้ามาบวชจะได้รับการสั่งสอนมารยาทมาก่อนหรือไม่ แต่เมื่อเข้ามาบวชแล้วได้
ประพฤติปฏิบัติตนตามพระวินัย ก็จะมีความประพฤติและกิริยาท่ีงดงาม เช่น การฉันอาหาร ก็จะมีวินัย ในหมวด
รับประทานอาหาร ชอื่ เสขิยวัตร อบรมส่ังสอนหลอ่ หลอมขดั เกลาผู้นั้นให้เป็นผู้มีสติ มีกิริยาและวัตรงดงามในขณะ
รับประทานอาหาร ลองคิดดูว่าถ้าไม่มีวินัยกำหนดเก่ียวกับการรับประทานอาหารแล้ว อีกท้ังคนท่ีเข้ามาบวชบาง
คนเป็นคนทไี่ มไ่ ด้รบั การอบรมมารยาทมาก่อน ขณะทานอาหารกไ็ มส่ ำรวม ไรส้ ติ มูมมาม ตะกละตะกลาม สง่ เสยี ง
ซดู ปาก เค้ียวก็เสียงดงั สร้างความสะอดิ สะเอียนต่อผมู้ าพบเห็น ถ้าเหตุการณ์เป็นเช่นนี้จะสร้างความเสื่อมเสียต่อ
คณะสงฆม์ ากมายแค่ไหน
ดังนั้นการปฏิบัติตามพระวินัย ย่อมเกิดประโยชน์มากมายทั้งต่อตนเอง ผู้อ่ืนและคณะสงฆ์ ทำให้เกิด
สังฆสามัคคีมีความพร้อมเพรียงในหมู่สงฆ์ ในทางกลับกันถ้าพระรูปใด เม่ือไปละเมิดหรือไม่ใส่ใจต่อสิกขาบท
เม่ือใด ย่อมเกิดโทษอย่างมากมาย ท้ังต่อตัวท่านเอง และต่อคณะสงฆ์เมื่อนั้น ทุกท่านลองพิจารณาให้ดีเถิดว่า
กฎหมายทางโลกมีไว้เพ่ือควบคุมประชาชนไม่ให้กระทำผิด แต่ถ้าคนส่วนใหญ่ไม่เคารพยำเกรงกฎหมายแล้ว
บ้านเมืองจะวุ่นวายขนาดไหนเช่นมีการฆ่า ลักขโมย ข่มขืน ฯลฯ เกิดขึ้นอย่างมากมายโดยไม่เกรงกลัวกฎหมาย
และถ้าผู้คนในบ้านเมืองนั้นถือว่าการฆา่ ลกั ขโมย ขม่ ขืน ฯลฯ เป็นเร่ืองปกตทิ ี่ทุกๆคนก็ทำกัน กฎหมายเป็นเพียง
ส่ิงในอุดมคติที่สมควรจะตั้งไว้เฉยๆ บ้านเมืองตอนนั้นก็คงเป็นยุคทมิฬหาความสงบสุขมิได้ หรืออาจจะถึงขั้นล่ม

235 พระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปลของมหามกฏุ ราชวิทยาลยั เลม่ ท่ี 26 พระสตุ ตันตปิฎก สงั ยุตตนิกาย นิทาน

วรรค เล่ม 2 - หน้าท่ี 632 ขอ้ ท่ี 533.

299

สลายเสียด้วยซ้ำไป ฉันใดก็ฉันน้ันสิกขาบทน้ันเปรียบเหมือนกับกฎหมายทางธรรมเพ่ือควบคุมคณะสงฆ์ ซึ่งจะทำ
ให้เกิดประโยชน์อย่างย่ิงทั้งสิบประการ ถ้าชาวพุทธไม่เคารพยำเกรง และคิดว่ากฎหมายทางธรรมเป็นสิ่งท่ีอยู่ใน
อดุ มคติเป็นเพียงสิ่งท่คี นสมยั ก่อนทำขึ้นมา สมควรท่ีจะต้ังไว้เฉยๆ ถ้าทำตามได้ก็จะทำ ถ้าทำตามไม่ไดก้ ็ไม่เปน็ ไร
ไม่จำเป็นต้องมีความเคารพยำเกรง การท่ีพระละเมิดศีลถือเป็นเร่ืองปกติที่ใครๆเขาก็ทำกัน ถ้าเป็นอย่างนี้แล้วก็
ย่อมเกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวงต่อพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่งขอให้ทุกท่านตั้งข้อสังเกตให้ดีว่า วิวัฒนาการ
ของความเลวร้ายมักจะเร่ิมจากส่ิงเล็กๆก่อน แล้วแต่ละคนก็ไม่ใส่ใจ ปล่อยให้มันเป็นไป และเริ่มเห็นเป็นเรื่อง
ปกติ หลังจากน้ันก็เร่ิมลุกลามมากขึ้นเรื่อยๆ ถ้าผู้อ่านเป็นชาวพุทธ ท่านจะปล่อยให้สิ่งเหล่าน้ีเกิดขึ้นกับกฎทาง
ธรรมหรือ และขอให้ทุกคนอย่าลืมว่ากฎหมายทางธรรมนั้นย่งิ ใหญ่ครอบคลุมกว่ากฎหมายทางโลกมาก เนื่องจาก
มีการบัญญัติโดยองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งเป็นผู้รู้กฎแห่งธรรมชาติ ถ้ามีการละเมิดกฎของธรรมชาติน้ี
แล้ว ย่อมได้รับผลซึ่งน่ากลัวทุกข์ทรมานและยาวนานกว่าบทลงโทษของทางโลกมาก นั่นคืออบายภูมิ4 ศีลเป็น
ธรรมที่มีอุปการะมาก และเป็นพื้นฐานของการปฏิบัติ สีลสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค ดังพุทธพจน์
ต่อไปนี้236 (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย., เล่มที่30 พระสุตตันตปิฎก สังยุตต
นิกาย มหาวารวรรค เล่ม 5 ภาค 1 - หน้าท่ี 87 ขอ้ 158)

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมอันหนึ่งมีอุปการะมาก เพื่อความเกิดข้ึนแห่งอริยมรรคอันประกอบด้วย
องค์ 8 ธรรมอันหนึ่งเป็นไฉน คือความถึงพร้อมแห่งศีลฯลฯ (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏ
ราชวิทยาลัย. เล่มที่13 พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่ม 2 ภาค 1 - หน้าที่ 247) พระผู้มีพระภาค
เจ้า เม่ือเสด็จอยู่บนภูเขาคิชฌกูฏใกล้กรุงราชคฤห์ กระทำธรรมีกถาน้ีแลเป็นอันมากแก่ภิกษุทั้งหลายด้วย
พระดำรสั วา่ ศีล มีอยดู่ ว้ ยประการฉะนี้, สมาธิ มอี ยู่ดว้ ยประการฉะน้ี, ปัญญามีอย่ดู ว้ ยประการฉะน้ี, สมาธิ
อันศีลอบรมแล้ว มีผลมาก มีอานิสงส์มาก, ปัญญาอันสมาธิอบรมแล้ว มีผลมาก มีอานิสงส์มาก, จิตอัน
ปัญญาอบรมแล้ว ก็หลุดพ้นด้วยดีโดยแท้จากอาสวะทั้งหลาย กล่าวคือ กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ
ดังน้ี จากพทุ ธพจน์ดังกลา่ ว ศีลเปน็ ธรรมท่ีมีอุปการะมาก และดว้ ยประโยคที่วา่

“ สมาธิอันศลี อบรมแลว้ มผี ลมาก มอี านสิ งส์มาก, ปญั ญาอันสมาธอิ บรมแล้ว มีผลมากมี
อานิสงส์มาก, จิตอนั ปัญญาอบรมแลว้ ก็หลุดพน้ ดว้ ยดีโดยแทจ้ ากอาสวะท้ังหลาย ”
จากพุทธพจน์ข้างต้น ศีลจึงเป็นพื้นฐานสำคัญ ที่จะทำให้เกิดสมาธิ และสมาธิเป็นพ้ืนฐานสำคัญท่ี
ทำให้เกิดปญั ญา ปญั ญากเ็ ป็นปัจจยั สำคัญทที่ ำให้จติ หลดุ พน้ จากอาสวะ
หนา้ ท่กี ารเป็นเนื้อนาบุญ หน้าท่ีของพระภกิ ษอุ ีกหนา้ ทห่ี นง่ึ ซึ่งเปน็ หน้าท่ีที่สำคัญกค็ ือ การเป็นเนื้อ
นาบุญ หน้าท่ีการเปน็ เนื้อนาบุญนี้อาจจะถูกมองข้ามจากพระส่วนมากในสมัยนี้ ทั้งๆทช่ี าวพุทธสว่ นใหญ่ซ่ึง
อาจจะเป็นส่วนมากที่สุดด้วยซ้ำไป ท่ีมาทำบุญตักบาตรโดยมีความคิดที่คาดหวังในบุญ เพ่ือต้องการจะนำ
บญุ ไปใช้ในเหตุผลต่างๆนานาเช่น อาจจะตอ้ งการให้บุญแกผ่ ู้ล่วงลับ หรอื ต้องการให้บุญกับตนเองเพอ่ื ความ
สบายในภายภาคหน้า หรือต้องการบุญเพ่ือจะทำให้พ้นจากสภาพความเป็นทุกข์ในปัจจุบัน ผู้เรียบเรียง
ยกตัวอย่างของพระในสมยั ก่อนนัน้ มาเป็นตวั อยา่ งประกอบ ซึ่งทา่ นเปน็ ตัวอย่างของพระทม่ี ีความรับผดิ ชอบ
ต่อสังคม และหน้าที่ตรงนี้สูงมากครั้งหน่ึงที่พระมหากัสสปเถระหลังจากได้รับการอุปสมบทจากองค์สมเด็จ
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ โดยตรงดว้ ยวิธกี ารรับโอวาท 3 ซง่ึ หลงั จากทีไ่ ดร้ ับการอุปสมบทใหม่ๆ ทา่ นยังไมไ่ ด้บรรลุ
ธรรมอันใด ต่อมาท่านบำเพญ็ เพียรอยู่ได้ 7 วันท่านจงึ บรรลเุ ป็นพระอรหนั ต์ ทา่ นไดก้ ลา่ วดงั น้ีว่า “ ดูกอ่ นผู้

236 พระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปล ของมหามกฏุ ราชวิทยาลยั ., เล่มท3ี่ 0 พระสตุ ตันตปฎิ ก สงั ยตุ ตนิกาย มหา
วารวรรค เล่ม 5 ภาค 1 - หนา้ ท่ี 87 ขอ้ 158.

300

มีอายุ เราเป็นหนี้บริโภค ก้อนข้าวของราษฎรถึง 1 สัปดาห์ วันที่ 8 พระอรหัตผลจึงปรากฏขึ้น ”237
(พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย.เล่มท่ี 26 พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทาน
วรรค เล่ม 2 - หน้าท่ี 596) คำพูดของท่านพระมหากัสสปเถระ ได้แสดงถึงความรับผิดชอบอย่างสงู ต่อหน้าที่
ของท่านวา่ ขณะท่ีท่านยังไม่ไดบ้ รรลุธรรม ทา่ นเปน็ หนี้ก้อนข้าวทผ่ี คู้ นนำมาถวายท่านถงึ 1 สัปดาห์ ในสว่ น
นก้ี เ็ ปน็ ตวั อยา่ งท่ีดีมากเชน่ กัน เหมาะสำหรบั เป็นตัวอย่างให้ผคู้ นปฏบิ ัตติ าม ในความคดิ ของผเู้ ขียนนั้น ไมใ่ ช่
เฉพาะแต่ผู้ท่ีเป็นพระเท่านั้น ที่จะมีความรบั ผิดชอบในส่วนนี้ แม้แต่คฤหัสถ์ก็ยังนำส่วนน้ีมาเป็นตัวอย่างได้
เช่นขณะที่เราทำงานหาเงนิ เงนิ ที่เราไดม้ านนั้ เราได้ทำงานอย่างเต็มทห่ี รือไม่ เราเป็นหน้ีก้อนเงินท่นี ายจ้าง
หรือลูกค้านำมาให้เราหรือไม่ หรือ ขณะท่ีเราได้เงินจากบิดามารดา เราได้เป็นลูกที่ดีหรือไม่ เป็นต้น ความ
รับผดิ ชอบน้นั ควรจะมีอยใู่ นทกุ ส่วนในสังคม เมื่อมีอยู่ในทุกส่วนแล้ว ทกุ สว่ นย่อมมคี วามเจริญ นอกจากเรือ่ ง
พระกัสสปเถระแล้ว ก็ยังมีอีกตัวอย่างหน่ึง ซึ่งเป็นตัวอย่างของพระภิกษุที่ได้รับ อาหารจากชาวบ้านท่ีหา
อาหารมาได้ด้วยความยากลำบาก ท่านจึงมีความเคารพในบิณฑบาตท่ีชาวบ้านถวายด้วยความศรัทธา ซึ่ง
ท่านจะพยายามปฏิบัติตนเพ่ือสมกับได้บิณฑบาตของชาวบ้านน้ัน238 (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของ
มหามกุฏราชวิทยาลัย. เลม่ ที่14 พระสตุ ตันตปิฎก ทีฆนกิ าย มหาวรรค เล่ม 2 ภาค 2 - หนา้ ท่ี 338)

เรื่องพระมหามิตตเถระเล่ากันว่า มีพระเถระรูปหน่ึงอาศัยอยู่ในถ้ำช่ือกสกะ และมีมหาอุบาสิกาผู้
หนึ่งบำรุงพระเถระน้ันเหมือนบุตร วันหนึ่งนางจะตอ้ งเขา้ ไปในป่า จึงสัง่ ลูกสาววา่ “ เมือ่ พระเป็นเจ้ามิตตะ
พชี่ ายของเจ้ามาแลว้ ให้ลูกนำ ขา้ วสาร นำ้ นม เนยใส น้ำอ้อย ที่เก็บไว้ปรุงเป็นอาหารถวายด้วยนะลูก ” ลูก
สาวถามว่า “ ก็แม่จะรับประทานไหมจ๊ะ ” มหาอุบาสิกาตอบว่า “ ก็เม่ือวานนี้ แม่รับประทานอาหาร
สำหรับค้างคืน (ปาริวาสกภัต) ท่ีปรุงกับน้ำส้มแล้ว” ลูกสาวถามว่า “ แม่จะรับประทานกลางวันไหมจ๊ะ ”
มหาอุบาสิกาส่ังว่า “ เจ้าจงใส่ผักดองแล้วเอาปลายข้าวสาร ต้มข้าวต้มมีรสเปร้ียวเก็บไว้ให้แม่เถอะลูก ”
ขณะน้ันเอง พระเถระครองจีวรแล้ว กำลงั นำบาตรออก (จากถลก) ได้ยนิ เสียงน้ันพอดี เมอ่ื ได้ยินเสียงนั้นจึง
สอนตนเองว่า “ ได้ยินว่า มหาอุบาสิการับประทานแต่อาหารสำหรับค้างคืนกับน้ำส้ม แม้กลางวันก็จัก
รับประทานข้าวต้มเปรี้ยวใส่ผักดอง นางบอกให้นำอาหารมี ข้าวสาร น้ำนม เนยใส น้ำอ้อย เพ่ือประโยชน์
แก่ตัวเราเอง ก็มหาอุบาสิกานั้นมิได้หวังท่ีนาที่สวน อาหาร และผ้า เพราะอาศัยเราเลย แต่ปรารถนา
สมบัติ 3 ประการ (มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ นิพพานสมบัติ) จึงถวายแล้วตัวเรา จักสามารถให้สมบัติ
เหล่านนั้ แก่มหาอบุ าสิกานนั้ ไดห้ รือไมเ่ ลา่ ”

เมื่อพระเถระสอนตัวเองเสร็จ จึงคิดต่อไปว่า “บิณฑบาตนี้แล ตัวเรานี้ยังมีราคะ โทสะ โมหะ อยู่ไม่
อาจรบั ได้ ” พระเถระคิดดังน้ีแล้ว จงึ เก็บบาตรเข้าถลก ปลดดุมจีวร กลับไปถ้ำกสกะทันที เก็บบาตรไว้ใต้เตียง
พาดจวี รไวท้ รี่ าวจีวร นั่งลงอธิษฐานความเพียรว่า ถา้ เราไม่บรรลพุ ระอรหันต์ จะไม่ออกไปจากถ้ำดังน้ี ภิกษุผูไ้ ม่
ประมาทอยู่มาช้านานเจริญวิปัสสนา ก็บรรลุพระอรหัตก่อนเวลาอาหารเช้า เป็นพระมหาขีณาสพ (ส้ินอาสวะ
แลว้ ) นั่งยมิ้ อยู่ เหมือนดอกปทุมท่ีกำลงั แย้มฉะนน้ั เทวดาผู้สงิ อยู่ท่ีต้นไมใ้ กล้ประตูถ้ำเปล่งอทุ านว่า “ท่านบุรุษ
อาชาไนย ข้าพเจ้าขอนอบน้อมท่าน ท่านยอดบุรุษ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมท่าน ข้าพเจ้าขอนอบน้อมท่านผู้มีอา
สวะส้ินแล้ว ทา่ นผู้นริ ทุกข์ ท่านเป็นผู้ควรทกั ษณิ าทาน” ดังนีแ้ ล้วเทวดานั้นยังกล่าวเพ่ิมเตมิ อีกว่า “ทา่ นเจ้าข้า
พวกหญงิ แก่ถวายอาหารแกพ่ ระอรหันตท์ งั้ หลาย เชน่ ท่านผเู้ ขา้ ไปบณิ ฑบาต เธอย่อมพ้นจากทกุ ขไ์ ด้”

237 พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย.เล่มที่ 26 พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย

นิทานวรรค เล่ม 2 - หน้าท่ี 596.
238 พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. เล่มท่ี14 พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย

มหาวรรค เลม่ 2 ภาค 2 - หนา้ ท่ี 338.

301

พระเถระลุกข้ึนเปิดประตูเพ่ือดูเวลา ทราบว่า ยังเช้าอยู่ จึงถือบาตร และจีวรเข้าสู่หมู่บ้าน ฝ่าย
เด็กหญงิ จดั เตรียมอาหารเสร็จแลว้ นั่งเฝา้ คอย ดอู ยตู่ รงประตู ด้วยนึกว่า ประเดี๋ยวพชี่ ายเราคงจะมา เมื่อ
พระเถระมาถึงประตูเรือนแล้ว เด็กหญิงนั้น ก็รับบาตรบรรจุเต็มด้วยอาหาร เจือน้ำนม ท่ีปรุงด้วย เนยใส
และน้ำออ้ ยแล้ว วางไว้บนมอื (ของพระเถระ) พระเถระทำอนุโมทนาว่า จงมีสุขเถิด แล้วก็หลกี ไป เดก็ หญิง
น้นั ยืนจ้องดูท่าน ซ่ึงในคราวน้ัน ผิวพรรณของพระเถระบริสุทธ์ยิ ิ่งนัก อินทรีย์ผ่องใส หนา้ ของท่านเปล่งปลั่ง
ย่ิงนัก ประดุจผลตาลสุกหลุดออกจากขั้วฉะนั้น เม่ือมหาอุบาสิกากลับมาจากป่าถามว่า “ พี่ชายของเจ้า
มาแล้วหรอื ลูก” เด็กหญิงนั้นกเ็ ล่าเร่อื งทง้ั หมดใหม้ ารดาฟัง มหาอุบาสิกากร็ ู้ได้วา่ วันนี้ บรรพชติ กจิ แห่งบตุ ร
ของเราถึงท่ีสุดแล้ว ดังน้ี เรื่องราวของพระมิตตเถระเป็นตัวอย่างท่ีดีและมีประโยชน์มาก สามารถนำท่าน
เป็นแบบอย่างให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ จนกระท่ังอรรถกถาจารย์ ได้นำเรื่องนี้มาบรรจุไว้ในส่วนของอรรถ
กถา239 (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555), เล่มที่14 พระสุตตันตปิฎก ทีฆ
นิกาย มหาวรรค เลม่ 2 ภาค 2 - หน้าที่ 338 )เพอ่ื อธิบายธรรมในพระไตรปฎิ กส่วนของหวั ขอ้ ธรรมเปน็ เหตุ
เกิดวิริยสัมโพชฌงค์ ข้อที่ 4 การเคารพยำเกรงต่อบิณฑบาต (ซ่ึงมีเน้ือหาบางส่วนดังน้ีว่าพิจารณาความ
เคารพยำเกรงต่อบิณฑบาตอยา่ งน้ีว่า มนษุ ย์เหล่าใดบำรงุ เธอดว้ ยปจั จัยมบี ิณฑบาตเป็นต้น มนษุ ยเ์ หล่านนั้ น้ี
กไ็ มใ่ ชญ่ าติ ไมใ่ ช่ทาส และคนงานของเธอเลย ทง้ั มนุษยเ์ หลา่ น้นั ที่ถวายปจั จัยอนั ประณีตตา่ งๆแก่เธอ ซึ่งมี
จวี รเป็นตน้ โดยท่มี นษุ ยเ์ หลา่ นน้ั ท่ถี วายกไ็ ม่ได้คิดวา่ จักอาศัยเธอเลยี้ งชีวิต แตแ่ ท้ท่ีจริง เขาหวงั ว่าสิง่ ท่ตี นทำ
แลว้ มีผลมาก จึงถวาย)

เมื่ออ่านเรื่องพระมิตตเถระจบแล้ว ก็รู้ได้ถึงความเคารพในบิณฑบาต ความรับผิดชอบต่อผู้อื่นของ
ท่าน ท่านได้พยายามประพฤติธรรม ปฏิบัติธรรม เพ่ือให้ญาติโยมทหี่ าปัจจัยมาดว้ ยความยากลำบากได้บุญ
อย่างสูงสุด เม่ือเปรียบเทียบกับสมัยนี้ ญาติโยมที่มาถวายอาหารพระ บางคนก็เต็มไปด้วยความทุกข์ต่างๆ
บางคนก็เต็มไปด้วยความเจ็บป่วย บางคนก็เป็นหน้ีเป็นสิน บางคนก็มีปัญหาเร่ืองครอบครัว บางคนก็
ตอ้ งการบุญให้แก่พ่อแมอ่ ันเป็นที่รกั ยิง่ ของเขาเหล่าน้ันซึง่ ไดจ้ ากไปเป็นต้น ถึงแม้ว่าท่านไม่ได้บรรลุคุณธรรม
ขัน้ สงู ข้นึ ไปเรอื่ ยๆตามลำดับ เช่น ฌาน หรือมรรคผลใดๆ แต่อยา่ งน้อยถ้าทา่ นยังเป็นพระที่มีศีล ก็เป็นเน้ือ
นาบุญให้กบั ญาติโยมได้แลว้ ดังในอรรถกถาท่ีอธิบายทักขิณาสตู ร (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหาม
กุฏราชวทิ ยาลยั . (2555), เล่มที่ 35 พระสุตตนั ตปิฎก อังคุตตรนกิ าย จตุกนิบาต เลม่ 2 - หน้าท่ี 238)

ได้กล่าวว่าคร้ังหนึ่ง นายพรานผู้หน่ึงผู้อยู่ บ้านวัฒฑมานะ ต้องการทำบุญอุทิศแก่คนท่ีตายแล้ว
นายพรานน้ันจึงได้ไปทำบุญแก่ภิกษุผู้ทุศีลรูปหน่ึงถึง 3 ครั้ง ซึ่งอมนุษย์(ผู้ตายที่นายพรานพยายามอุทิศบุญ
ไปให้ ซงึ่ อยูใ่ นภพภมู ิเปรต) ท่นี ายพรานอทุ ิศบุญไปให้กลับไม่ไดบ้ ุญ จึงร้องตะโกนขนึ้ ว่า “ ผทู้ ุศีลปล้นฉนั ”
แต่ในเวลาที่พรานนั้นถวายทานแก่ภิกษุผู้มีศีลรูปหนึ่ง ผลของทักขิณาก็ถึงอมนุษย์นั้นได้ ดังน้ันถ้าเป็นพระ
ละเมิดศลี เสียแลว้ ก็ยากที่จะมีบุญให้กับญาตโิ ยมในเวลาทญี่ าตโิ ยมนำปจั จัยมาถวาย หรอื ยากที่จะตอบแทน
บิณฑบาตของชาวบ้านให้ชาวบ้านได้ผลบุญท่ียิ่งๆข้ึนไปด้วย มิหนำซ้ำอย่าว่าแต่จะให้บุญแก่ชาวบ้านเลย
แม้แต่ตัวท่านเองท่ีเป็นพระทุศีลน้ัน ตัวท่านเองก็ยังเอาตัวเองไม่รอดเลย จากท่ีพระองค์ตรัสเตือนภิกษุ
ทั้งหลายไว้ดังน้ี240 (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555), เล่ม 37 พระ
สตุ ตนั ตปฎิ ก อังคุตตรนกิ าย สัตตก-อฏั ฐก-นวกนบิ าต เล่มที่ 4 หน้า 260 ขอ้ 69 อคั คิขันธูปมสตู ร)

239 พระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวทิ ยาลัย. (2555), เล่มที่14 พระสุตตันตปิฎก ทฆี นิกาย

มหาวรรค เล่ม 2 ภาค 2 - หนา้ ที่ 338.
240 พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555), เล่ม 37 พระสุตตันตปิฎก อังคุตตร

นิกาย สตั ตก-อฏั ฐก-นวกนบิ าต เลม่ ที่ 4 หนา้ 260 ขอ้ 69 อัคคขิ ันธปู มสตู ร.

302

(เร่ืองย่อ) พระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ ได้ตรัสเตือนภิกษุดังน้ี ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เราขอ
เตือนทา่ นทั้งหลายว่า การที่บุคคลผู้ทุศีลมีธรรมลามก มีความประพฤติ สกปรกน่ารังเกียจ ปกปิดกรรมชั่ว
มิใช่สมณะ แต่ปฏิญาณวา่ เป็นสมณะ มิใช่ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ แต่ปฏญิ าณว่าประพฤตพิ รหมจรรย์ เน่าใน
มคี วามกำหนัดกลา้ เป็นดังหยากเยือ่

ผทู้ ุศีลนั้น ไปกอดกองไฟกองใหญ่ท่ีลุกโชติช่วงนั้น ยังดีกว่า ไปกอดธิดา หรือบุตรสาวพราหมณ์ ผู้
ทุศลี น้ัน ไปโดนเชือกหนังอันเหนียว พันแข้งทง้ั สองข้าง แล้วชักไปมาจนเชอื กหนงั น้ันบาดผวิ บาดหนัง บาด
เน้ือ ตัดเอ็น ตัดกระดูก ไปจนถึงเยื่อในกระดูก ยังดีเสียกว่า ให้กษัตริย์ พราหมณ์ คฤหบดีมากราบไหว้ผู้
ทุศีลนั้น ไปโดนบุรุษท่ีมีกำลังเอาหอกอันคม ที่ชโลมน้ำมันพุ่งใส่กลางอกยังดีเสียกว่า ให้กษัตริย์ พราหมณ์
คฤหบดมี ากราบอญั ชลผี ูท้ ศุ ลี นน้ั ไปโดนบรุ ุษทม่ี ีกำลงั นำเอาแผน่ เหลก็ แดงมไี ฟกำลัง ลุกโชติช่วงนาบ กายตัว
ยงั ดเี สียกวา่ ไดใ้ ชจ้ ีวรที่เขาถวายด้วยความศรัทธาผ้ทู ุศีลนัน้ ไปโดนบุรษุ ทม่ี กี ำลัง นำตะขอเหลก็ แดง ท่มี ีไฟ
ลุกโชติช่วงเกี่ยว ง้าง ปากให้อ้าไว้ แล้วกรอกด้วย ก้อนเหล็กแดง ท่ีมีไฟลุกโชติช่วง เข้าไป ในปาก ก้อน
เหล็กแดงทเี่ ข้าไปในปากนั้นจะไหม้ริมฝีปาก ไหม้ปาก ไหม้ล้ิน ไหม้คอ ไหม้อก ไหม้เรื่อยไปจนถึง ลำไส้ใหญ่
แล้วออกทางทวารยังดีเสียกว่า บริโภคบิณฑบาตท่ีเขาถวายด้วยศรัทธานั้น ผู้ทุศีลน้ัน ไปโดนบุรุษท่ีมีกำลัง
จับที่ศีรษะหรือที่คอ แล้วให้น่ังทับนอนทับ บนเตียงเหล็กหรือตั่งเหล็กแดงที่มีไฟกำลังลุก โชติช่วงยังดีเสีย
กวา่ ไปใช้เตียงต่ังที่เขาถวาย ด้วยศรัทธาผู้ทุศีลนั้น ไปโดนบุรุษที่มีกำลัง จับมัดเอาเท้าข้ึนเอาหัวลง โยนลง
ในหม้อเหล็กแดง ที่มีไฟกำลังลุกโชติช่วง ผู้น้ันถูกไฟ เผาเดือด ลอยไปลอยมา บางคร้ัง ลอยขึ้นข้างบน
บางคร้ังจมลงข้างล่าง บางครั้งลอยไปทางขวางยังดีเสียกว่า เข้าไปใช้วิหารที่เขาถวายด้วยความศรัทธาเมื่อ
อ่านพุทธพจน์ด้านบนที่พระองค์เตือนพระทุศีล ก็หมายความวา่ ตัวท่านเองก็จะต้องประสบกับความฉิบหาย
กบั การทุศลี นั่นคืออย่าว่าจะเปน็ เนื้อนาบญุ ให้กบั ญาติโยมเลย แม้แต่ตัวท่านเองท่านก็ยงั เอาตัวไมร่ อดอีกท้ัง
เมื่ออ่านเนื้อเร่ืองด้านบนเกี่ยวกับนายพรานผู้หน่ึงผู้อยู่บ้านวัฒมานะ เราก็พอคาดเดาได้ว่า ถ้าทำบุญกับ
พระทุศลี นน่ั ก็หมายความว่า ผู้ท่ที ำบุญหรือผู้ทร่ี อรับบุญก็คงยังลำบากต่อไปเพราะท่านไมไ่ ด้เปน็ เน้ือนาบุญ
ทีด่ ีสรปุ แล้วไมม่ ีใครได้ผลดอี ะไรจากเรื่องดังกล่าวน้ี มีแต่เสียกับเสีย ฝา่ ยญาติโยม เสียหายมาก เพราะ ไม่ได้
ทำบุญกับเน้ือนาบุญที่ดี ฝ่ายผู้รอส่วนบุญจากท่ีญาติโยมทำบุญไปให้ ย่ิงเสยี หายมากเพราะเขาทุกขท์ รมาน
มาก ในสภาพที่เขาได้รบั อยู่ ฝ่ายพระละเมดิ ศีล ยงิ่ เสียหายหนัก เพราะมอี บายภูมิ รอพระเหล่านั้นอยู่ พระ
วินัยเป็นปัจจัยที่สำคัญท่ีทำให้พระพุทธศาสนายืนนาน241 (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราช
วิทยาลัย. (2555), เลม่ ท่ี 1 พระวินัยปฎิ ก มหาวิภังค์ เลม่ 1 ภาค 1 - หน้าที่ 12)

ครั้งหน่ึง พระสารีบุตรไปในที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ได้มีความปริวิตกแห่งจิตเกิดขึ้นอย่างน้ีว่า พระศาสนาของ
พระผู้มพี ระภาคเจ้าทงั้ หลาย พระองค์ไหนดำรงอยูไ่ มน่ าน พระสารีบุตรจงึ ไปทลู ถามเร่อื งดงั กลา่ วกบั พระผ้มู พี ระภาค
เจา้ ซง่ึ พระองค์ตรสั ตอบพระสารีบุตรว่า พระศาสนาของพระผูม้ ีพระภาคเจ้าพระนามวิปสั สี พระนามสิขี และพระ
นามเวสสภู ไม่ดำรงอยู่นาน ส่วนพระศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และ
พระนามกัสสปะ ดำรงอย่นู าน โดยที่พระองค์ตรัสบอกถงึ เหตุท่ีทำให้ศาสนาดำรงอยูน่ านและไม่นานดังนี้ ดูก่อนสารี
บุตร พระผู้มีพระภาคเจา้ พระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ มไิ ด้ทรงท้อพระหฤทัยเพ่ือจะ
ทรงแสดงธรรม โดยพิสดารแก่สาวกท้ังหลาย อนึ่ง สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อติ ิวุตตกะ ชาดก อัพ
ภตู ธรรม เวทลั ละ ของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทงั้ สามพระองคน์ น้ั มีมาก สิกขาบทกท็ รงบัญญัติ ปาติโมกขก์ ท็ รงแสดงแก่
สาวก เพราะอันตรธานแหง่ พระผู้มีพระภาคเจ้าเหล่านนั้ เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้าเหลา่ นั้น

241 พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวทิ ยาลยั . (2555), เลม่ ท่ี 1 พระวินัยปฎิ ก มหาวิภงั ค์ เล่ม

1 ภาค 1 - หน้าท่ี 12.

303

สาวกช้ันหลังที่ต่างช่ือกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงดำรงพระศาสนานั้นไว้ได้ตลอด
ระยะกาลยืนนาน

ดูก่อนสารีบุตร ดอกไม้ต่างพรรณท่ีเขากองไว้บนพ้ืนกระดาน ร้อยดีแล้วด้วยด้ายลมย่อมกระจาย
ไม่ได้ ขจดั ไม่ได้ กำจัดไม่ได้ซึ่งดอกไม้เหล่าน้ันข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเขาร้อยดีแล้วด้วยด้ายฉันใด เพราะ
อันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุ ทธเจ้าเหล่านั้น
สาวกชนั้ หลงั ที่ต่างชอื่ กัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จงึ ดำรงพระศาสนานั้นไวไ้ ด้
ตลอด ระยะกาลยืนนาน ฉันน้นั เหมือนกนั

ดกู ่อนสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันน้ีแลเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนา
มกกสุ ันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนามกสั สปะ ดำรงอยูน่ านหลงั จากท่ไี ดฟ้ งั คำตอบของพระศาสดา
ทา่ นพระสารีบุตรก็ลุกจากอาสนะ ทำผ้าอุตราสงค์ เฉวียงบ่าข้างหน่ึง ประนมอญั ชลี ไปทางพระผู้มีพระภาค
เจ้าแลว้ กราบทลู ว่า “ ถงึ เวลาแลว้ พระพุทธเจา้ ขา้ ข้าแตพ่ ระสคุ ต ถึงเวลาแลว้ ทจี่ ะทรงบัญญัตสิ กิ ขาบท ท่ี
จะทรงแสดงปาติโมกข์แก่สาวก อนั จะเปน็ เหตุให้พระศาสนานี้ย่งั ยนื ดำรงอยู่ได้นาน ”

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบพระสารีบตุ ร (เหมือนดังท่ีได้เขียนบอกไว้ในตอนต้นของบทความ) “ จงรอ
ก่อนสารีบุตร จงยับยั้งก่อนสารีบุตร ตถาคตผู้เดียวจักรู้กาลในกรณีนั้น พระศาสดายังไม่บัญญัติสิกขาบท ยังไม่
แสดงปาติโมกข์แก่สาวก ตลอดเวลาท่ีธรรมอันเป็นท่ีตั้งแห่งอาสวะบางเหล่ายังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนาน้ี ต่อ
เมื่อใดอาสวฏั ฐานิยธรรม(ธรรมอนั เปน็ ทีต่ ้งั แหง่ อาสวะ) บางเหล่าปรากฏในสงฆใ์ นศาสนาน้ี เม่ือนน้ั พระศาสดาจึงจะ
บญั ญัตสิ กิ ขาบท แสดงปาตโิ มกขแ์ กส่ าวก เพ่อื กำจัดอาสวฏั ฐานยิ ธรรมเหล่านั้นแหละ ” หลังจากอ่านข้อความแล้ว
จึงสามารถกล่าวได้ว่า การบัญญัติสิกขาบทเป็นปัจจัยที่สำคัญที่เป็นเหตุให้พระศาสนาดำรงอยู่ได้นาน การที่ได้มี
พระพุทธศาสนาเกิดข้ึนในวัฏสงสาร เปน็ อะไรท่ียากเยน็ สดุ จะพรรณนา เป็นสิ่งมคี ่าทสี่ ดุ หาที่เปรียบมิไดใ้ น 31 ภมู ิ
ดงั นนั้ อายุของพระพทุ ธศาสนาน้นั จึงมคี วามสำคัญเป็นอย่างยง่ิ ตามไปด้วย ซึ่งสกิ ขาบทน้ันก็เป็นปัจจัยสำคัญท่ที ำ
ใหพ้ ระพุทธศาสนาดำรงอยยู่ นื นาน การที่พระพุทธศาสนาสามารถดำรงอยู่ได้ยืนนานยอ่ มเกิดประโยชน์มากมายแก่
สรรพสตั ว์ การทพี่ ระพทุ ธศาสนาดำรงอย่ไู ด้นานขน้ึ 1 วินาทีนั้นยอ่ มมคี า่ มากมายประมาณมไิ ด้ เพราะจำนวนสตั วท์ ี่
ประมาณมิได้ท่ีได้รับประโยชน์ คูณกับจำนวน 1 วินาทีน้ัน ย่อมทำให้เกิดคณุ ค่าท่มี ากมายมหาศาลประมาณมิได้
ตามจำนวนสัตวท์ ่ีคูณเข้าไป ลองคิดดวู ่าการที่เรามีโรงไฟฟ้า โรงประปา หรือสวนสาธารณะนั้นก่อใหเ้ กิดประโยชน์
มากมายมหาศาลแก่ผู้คนแค่ไหน ใน 1 วินาทีท่ีมีสาธารณูปโภคน้ันอยู่ ย่อมทำให้มีคนได้รับประโยชน์มากมาย
มหาศาล อย่างไรก็ตามต่อให้รวมสาธารณูปโภคที่มีอยู่ในโลกท้ังหมดมารวมกัน แล้วนำประโยชน์ที่ได้จาก
สาธารณูปโภคของคนทั้งหมดมารวมกัน ก็ยังไม่ได้เส้ียวหนึ่งของประโยชน์ของบุคคลเดียวได้รับจากการทำบุญท่ี
ถกู ตอ้ งในพระพุทธศาสนา เน่ืองจากแค่คนๆเดียวไดท้ ำบญุ อยา่ งถูกต้องในพระพุทธศาสนา ผลบญุ ทเ่ี ขาจะได้รบั นั้น
มากมายมหาศาลยาวนาน ซง่ึ มีตวั อย่างมากมายในพระไตรปฎิ ก ในที่นีผ้ ู้เขียนจะขอนำเร่ืองอดีตชาตขิ อง พระปัญจ
สีลสมาทานิยเถระ ท่ีเกี่ยวกับการรักษาศีลมากล่าว ณ ที่นี้242 (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราช
วทิ ยาลยั . (2555), เลม่ ท่ี71 พระสตุ ตันตปิฎก ขุททกนกิ าย อปทาน เลม่ 8 ภาค 2 - หน้าที่ 97)

ในอดีตย้อนหลังกลับไป 1 อสงไขย กับอีกแสนมหากัป อยู่ในยุคสมัยขององค์สมเด็จพระสัมมาสัม
พทุ ธเจา้ อโนมทัสสี ซึ่งขณะน้ันผูค้ นในยคุ น้ันมีอายุขยั ประมาณ 1แสนปี พระปัญจสีลสมาทานยิ เถระ ในตอน
น้นั ได้ไปบังเกิดในตระกลู หนึ่งในนครจนั ทวดี เปน็ คนยากจนขัดสน ได้ประกอบอาชีพเปน็ คนรบั จ้างเพื่อเลยี้ ง
ชีพ เน่ืองจากท่านเป็นคนยากจนจึงมีข้าวน้ำและอาหารน้อย ท่านมัวแต่ประกอบอาชีพรับจ้างจึงยังไม่มี
โอกาสได้บวช ถึงแม้ท่านไม่มโี อกาสไดบ้ วช แต่ทา่ นกเ็ หน็ โทษภยั ในวฏั สงสารว่า โลกท้ังหลายถูกความมดื มิด

242 พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555), เล่มที่71 พระสุตตันตปิฎก ขุททก

นกิ าย อปทาน เลม่ 8 ภาค 2 - หน้าที่ 97.

304

(กเิ ลส)อนั ใหญ่หลวงปิดบงั อยู่ ย่อมถูกไฟ 3 กอง เผาผลาญ เราจะหลบออกจากความมืดมดิ ด้วยอุบายอะไรดี
หนอ ไทยธรรม(ของสำหรับทำบญุ )ของเรากไ็ ม่มเี พราะเราเปน็ คนยากไรท้ ำงานแคอ่ าชพี รับจา้ ง อยา่ กระนั้น
เลย เราพึงรักษาเบญศีล(ศีล 5) ให้บริบูรณ์ เมื่อคิดได้ดังนั้น ท่านจึงเข้าไปหาพระภิกษุชื่อนิสภะ(เพื่อรับศีล)
ซ่งึ เป็นสาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อทา่ นได้รับศีล 5 แล้ว ท่านรักษาศีล 5 ให้บริบูรณ์ตลอดสิ้นอายุขัย
เมื่อเวลาใกล้หมดอายุขัย ทวยเทพได้เข้ามาเชื้อเชิญว่า “ท่านผู้นิรทุกข์ รถอันเทียมด้วยม้าพันหนึ่งน้ีปรากฏ
แล้วเพ่อื ท่าน” หลังจากน้ัน ก่อนท่ีจะส้ินชีพ จิตดวงสุดท้าย ท่านไดร้ ะลึกถงึ ศลี ของทา่ น ด้วยผลบุญดังกล่าว
มานี้ ท่านไดไ้ ปสสู่ วรรค์ช้ันดาวดึงส์ ไดเ้ ป็น จอมเทวดาเสวยราชสมบัติในเทวโลก 30 คร้ัง แวดลอ้ มด้วย นาง
อัปสรท้ังหลาย เสวยสุขอันเป็นทิพย์อยู่ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ 75 คร้ัง ได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอัน
ไพบูลย์โดยคณานบั มไิ ด้ ชาติสดุ ทา้ ยกุศลส่งผล ใหม้ าเกิด ในตระกูลพราหมณม์ หาศาลอันม่งั คง่ั ในนครเวสาลี
ซึ่งขณะน้ันพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองอยู่ ในขณะที่ มารดาและบิดา ของท่านกำลังรับศีล 5 ในเวลา
เข้าพรรษา ท่านได้ฟังเรื่องศีลพร้อมกับมารดาบิดา จึงระลึกถึงศีลของท่านในอดีตได้บรรลุอรหัต ซง่ึ ขณะนั้น
ทา่ นอายุเพียง 5 ขวบ เมื่อทา่ นบรรลุอรหนั ต์พระผู้มพี ระภาคเจ้าได้ประทานอุปสมบทให้ท่าน นับต้ังแต่ชาติ
ที่ท่านรักษาศีลห้าให้บริบูรณ์ในครั้งน้ัน ท่านไม่ได้ไปสู่วินิบาต(ภพที่รับทุกข์)เลยตลอด 1อสงไขยกับอีกแสน
มหากปั ทา่ นพระปัญจสลี สมาทานยิ เถระได้กลา่ วคาถาดงั นี้

“เราน้ันได้เสวยยศเพราะกำลังแหง่ ศีลเหล่านัน้ เม่ือจะประกาศผลของศีลทีเ่ ราได้
เสวยแล้ว โดยจะนำมาประกาศตลอดโกฏิกัป ก็พึงประกาศได้เพียงส่วนเดียวเรารักษา
เบญจศีลแล้ว ย่อมได้เหตุ 3 ประการ คือเราเป็นผู้มีอายุยืนนาน 1 มีโภคสมบัติมาก 1 มี
ปัญญาคมกล้า 1 เบญจศีลอันเราผู้เป็นคนรับจ้าง มีความเพียรประพฤติแล้วเราพ้นจาก
เครื่องผูกทั้งปวงได้ในวันนี้ด้วยศีลน้ัน ในกัปอันประมาณมิได้แต่กัปน้ี เรารักษาเบญจศีล
แล้ว ไมร่ ู้จักทุคติเลย นี้เปน็ ผลแห่ง (การรักษา) เบญจศีล”
ด้านบนนเี้ ป็นตวั อย่างของผทู้ ที่ ำบุญได้ถกู ต้องตามหลักธรรม แลว้ ได้ประโยชน์มากมายมหาศาลแต่
ถ้าจะเปรียบเทียบในอีกแง่มุมหนึ่ง สมมติมีผู้หนึ่งเกิดความเจ็บป่วยอย่างหนักเป็นอัมพาต คนท่ีเจ็บป่วยนั้น
ยินยอมท่ีจะจ่ายเงินเท่าไหร่เพ่ือหายจากความเจ็บป่วยนั้น บางท่านก็จ่ายเงินหลายล้านบาทเพื่อหายจาก
โรคภัย สำหรับผู้ท่ีปฏิบัติธรรมจนเข้านิพพาน ก็ไม่จำเป็นต้องมาทนทุกข์กับความเจ็บป่วยอีกตลอดไป นั่น
คือจำนวนเงินที่ต้องรักษาความเจ็บปว่ ย นำมาคูณกบั จำนวนเวลาท่ีต้องเวียนว่ายถ้าไม่ได้เข้านิพพาน น่ันคือ
ถ้าหนงึ่ ปี จ่ายเงิน ร้อยบาทพันบาทหรอื หม่ืนบาทก็แล้วแต่ นำมาคูณกับ อนันต์ (จำนวนเวลาท่ีต้องเวียนว่าย
ถา้ ไมไ่ ด้นิพพาน) สรปุ ไดค้ า่ คอื อนันต์ประเมนิ ค่ามไิ ด้
ค่าของพระพุทธศาสนาในมุมมองพระโพธิสัตว์กเ็ ป็นสงิ่ ที่นา่ นำมากลา่ วถึง ก็เพ่ือว่าถา้ อา้ งอิงในผู้ที่มี
ภูมธิ รรมสูง ยอ่ มจะไดค้ า่ ทใ่ี กลจ้ ากความเปน็ จรงิ มากท่ีสดุ 243 (พระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราช
วิทยาลัย. (2555), เล่มที่62 พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม 4 ภาค 1 - หน้าที่ 679) คร้ังหนึ่งท่ี
พระโพธสิ ตั ว์สุตโสมได้ฟงั ธรรมแค่ 4 คาถาจากพราหมณผ์ ู้หนง่ึ ซ่ึงนำภาษติ ขององค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธ
เจ้ากัสสปมากล่าวให้พระเจ้าสุตโสมฟัง หลังจากท่ีพระองค์ทรงฟังภาษิตดังกล่าวแล้ว ทรงพระด ำริว่า
“คาถาเหล่านี้ไม่ใช่ภาษิตของพระสาวก ไม่ใช่ภาษิตของฤาษี ไม่ใช่ภาษิตของกวี แต่เป็นภาษิตของพระ
สัพพัญญู จะควรค่าเท่าไรหนอ ” ทรงพระดำริต่อไปว่า “ แม้เราจักให้จักรวาลท้ังส้ิน กระทำให้เต็มด้วย
รตั นะ 7 ตลอดถึงพรหมโลก ก็ไม่อาจจะทำให้สมควร ” สิง่ ท่ีพระโพธสิ ัตว์สุตโสมดำริแสดงถึง ความซาบซึ้ง

243 พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555), เล่มที่62 พระสุตตันตปิฎก ขุททก

นิกาย ชาดก เลม่ 4 ภาค 1 - หน้าที่ 679.

305

ถึงคุณคา่ ของพระธรรม ด้วยคดิ ว่าจะนำแก้วแหวนเงินทองมากองใหเ้ ต็มโลก แล้วสูงขึ้นไปถึงพรหมโลก ก็ยัง
เทียบไมไ่ ดก้ บั คา่ ของพระธรรม 4 คาถานัน้ ระยะทางระหว่างพรหมโลกช้ันท่ี 1 กับโลกมนษุ ย์

(พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555), เล่มที่ 25 พระสุตตันตปิฎก สัง
ยุตตนิกาย สคาถวรรค เล่ม 1 ภาค 2 - หน้าที่ 138) มีการเปรียบเทียบไว้ว่า244 นำก้อนศิลาขนาดเท่า
ปราสาท ทิ้งลงมาจากชั้นนี้ จะใชเ้ วลาถงึ 4 เดอื นถงึ ตกมายังโลก นั่นคือนำเพชรแกว้ แหวนเงนิ ทองมาวางกอง
ท่วมทัง้ จกั รวาลสูงข้ึนไปถึงพรหมโลกค่าก็ยงั ไม่คคู่ วรกบั พระธรรม 4 คาถานน่ั เอง ดงั นั้นค่าพระธรรม 4 คาถา
ในมุมมองของพระโพธิสัตว์ ก็ยังไม่สามารถประมาณค่าได้ ดังน้ันถ้าพระพุทธศาสนาท้ังหมดน้ันจะมี
ค่าประมาณไหน ส่วนการประเมินคุณค่าของพระพุทธศาสนาได้อย่างแท้จริงนั้น คงเป็นเร่ืองท่ีเป็นไปไม่ได้
เพราะคณุ คา่ ของพระพทุ ธศาสนาทแ่ี ตล่ ะคนจะสามารถประเมินมูลค่าออกมาได้กแ็ ตกต่างกันไปตามภูมธิ รรม
ของแต่ละคน คนมีภูมิธรรมท่ีสงู กย็ อ่ มประเมนิ ค่าของพระพุทธศาสนาได้ถกู ต้องมากกว่าคนท่ีภูมธิ รรมตำ่ ผู้
ท่ีสามารถประเมินคุณค่าของพระพุทธศาสนาได้ถูกต้องท่ีสุดก็น่าจะมีแต่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เทา่ นั้น ส่วนผอู้ ่ืนก็ลดหลั่นกันตามลำดบั ของภมู ิธรรม

(พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555), เล่มท่ี 56 พระสุตตันตปิฎก ขุ
ททกนิกาย เอกนิบาตชาดก เล่ม 3 ภาค 2 - หน้าท่ี 231) ซึ่งพระพุทธองค์ก็ทรงกล่าวถึงค่าของพระธรรมไว้
ดว้ ยพุทธพจน์ดังน้ี245 ในครัง้ ที่ทา่ นทำนายพระสุบินของพระเจ้าปเสนทิโกศล น่ันคอื “ ธรรมที่ตถาคตแสดง
ไว้ มีมูลค่าควรแก่พระนิพพาน ” เป็นพุทธพจน์ที่กล่าวถึงมูลค่าของพระธรรม พระองค์ตรัสว่า “ มีมูลค่า
ควรแก่พระนพิ พาน ” การใหม้ ลู ค่าของพระผู้มีพระภาคเจ้ายอ่ มมีความสมบูรณ์ที่สุด ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งอธิบายให้
มากมาย คำว่า “ นิพพาน ” นั้นเป็นคำท่ีมีความหมายสูงล้ำประมาณมิได้ ครอบคลุมมูลค่าทุกสรรพส่ิง
ความพยายามท่ีจะอธิบายมูลค่าที่แท้จริงของส่ิงที่ไม่สามารถอธิบายได้ ยิ่งอธิบายก็อาจจะเป็นการทำให้
มูลค่าของสิ่งน้ันลดลงก็เป็นไปได้ อย่างไรก็ตามจากท่ีกล่าวถึงคุณค่าของพระพุทธศาสนาดังท่ีกล่าวมา
ท้ังหมดนน้ั ก็เพอ่ื แสดงใหท้ ุกคนพอจะรับรู้ว่า พระพทุ ธศาสนามคี า่ ประมาณมิได้อย่างแทจ้ ริง ตอ่ ใหพ้ ระธรรม
แค่ 1 ธรรมบท ก็ยังยากที่จะหาที่สุดแห่งคุณของพระธรรมบทน้ันได้เลย ดังนั้นการที่พระพุทธศาสนายืน
ยาวไดก้ วา่ เดมิ แคว่ ินาทเี ดียว ก็เป็นคุณค่าท่ีมากประมาณมิได้ และขอ้ สำคญั พระวินัยน้ันเป็นปัจจยั ทสี่ ำคัญที่
ทำให้พระศาสนายืนนานจากความสำคัญของพระวินัยดังท่ีได้กล่าวมาข้างต้น ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของ พระ
วินัยเปรียบเหมือนตัวแทนของพระศาสดาที่พระองค์ทรงแต่งต้ัง, พระวินัยเป็นกฎทางธรรม, พระวินัยเป็น
พ้ืนฐานในการปฏิบัติธรรม และพระวินัยเป็นปัจจัยสำคัญท่ีทำให้พระพุทธศาสนายืนนาน ดังน้ัน จึงขอให้
ชาวพุทธได้เห็นความสำคัญและตระหนักว่าพระวินัยน้ันเป็นเร่ืองที่ทุกท่านต้องรักษา เคารพยำเกรง เพ่ือ
ประโยชนแ์ หง่ สรรพสตั วท์ ้ังหลายและตัวท่านเอง

(พระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลยั . (2555), เลม่ ที่ 6 พระวินัยปิฎก มหาวรรค
เล่ม 4 ภาค 1 - หน้าท่ี 366) อุทานคาถา พระวินัยมีประโยชน์มาก246 คอื นำมาซึง่ ความสุขแก่พวกภิกษุ ผู้มี
ศีลเป็นที่รัก ข่มพวกที่มีความปรารถนาลามก ยกย่อง พวกท่ีมีความละอายและทรงไว้ซึ่งพระศาสนา เป็น

244 พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555), เล่มท่ี 25 พระสุตตันตปิฎก สังยุตต

นิกาย สคาถวรรค เลม่ 1 ภาค 2 - หน้าท่ี 138.
245 พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555), เล่มท่ี 56 พระสุตตันตปิฎก ขุททก

นกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม่ 3 ภาค 2 - หน้าที่ 231.
246 พระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวทิ ยาลัย. (2555), เลม่ ที่ 6 พระวนิ ยั ปิฎก มหาวรรค เลม่

4 ภาค 1 - หน้าที่ 366.

306

อารมณ์ของพระสัพพัญญชินเจ้า ไม่เปน็ วสิ ยั ของพวกอ่ืน เปน็ แดน เกษม อันพระผู้มพี ระภาคทรงบัญญัติไว้
ดีแล้ว ไม่มีข้อท่ีน่าสงสัย ภิกษุผู้ฉลาดในขันธกะ วินัย บริวาร และมาติกา ปฏิบัติด้วยปัญญาอันหลักแหลม
ช่ือว่าผ้ทู ำประโยชนอ์ ันควรชนใดไมร่ ูจ้ ักโค ชนนั้นยอ่ มรักษาฝงู โคไมไ่ ดฉ้ นั ใด ภิกษกุ ฉ็ ันนน้ั เม่อื ไม่รูจ้ กั ศลี ไฉน
เธอจะพึงรักษาสังวรไว้ได้เม่ือพระสุตตันตะ และพระอภิธรรมเลอะเลือนไปก่อนแต่พระวินัยยังไม่เส่ือมสูญ
พระศาสนาช่ือว่า ยังต้ังอยู่ต่อไป ในส่วนของอรรถกถาได้อธิบายเกี่ยวกับการบริโภคปัจจัย(อาหาร
เคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย ยารักษาโรค ฯลฯ) ที่ชาวบ้านมาถวายด้วยความศรัทธา ของพระภิกษุ ซ่ึงได้คัดมา
โดยย่อดังนี้ (พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555), เล่ม 3 พระวินัยปิฎก มหา
วภิ ังค์ เล่ม 1 ภาค 3 - หนา้ ที่ 951)การบริโภค(ปจั จยั 4)นน้ั มี 4 ประเภท คือ247

1. ไถยบรโิ ภค (บริโภคอยา่ งขโมย ) คอื การบริโภคของภิกษผุ ู้ทุศีลซง่ึ นั่งบรโิ ภคอยู่ แม้ในทา่ มกลางสงฆ์
2. อิณบริโภค (บริโภคอย่างเป็นหนี้ ) คือ การบริโภคไม่พิจารณาของภิกษุผู้มีศีล ชื่อว่า อิณบริโภค
เพราะฉะนัน้ ภิกษุผู้มศี ลี พึงพจิ ารณาจีวรทกุ ขณะที่บริโภคใช้สอย บิณฑบาตพึงพิจารณาทุก ๆ คำกลนื เมือ่ ไม่
อาจอย่างนั้น พึงพิจารณาในกาลก่อนฉัน หลังฉันยามต้น ยามกลาง และยามสุดท้าย หากเม่ือเธอไม่ทัน
พิจารณาอรุณข้ึนย่อมตั้งอยู่ในฐานะบริโภคหน้ีแม้เสนาสนะก็พึงพิจารณาทุก ๆ ขณะที่ใช้สอย ควรจะมีสติ
เป็นปัจจัยทง้ั ในขณะรบั ท้ังในขณะบริโภค ภกิ ษุผู้ทำสติในการรับ ไมท่ ำในการบริโภคอย่างเดียว เป็นอาบัติ
ภกิ ษผุ ไู้ มท่ ำสตใิ นการรบั ทำแตใ่ นเวลาบรโิ ภคไมเ่ ปน็ อาบตั ทิ ก่ี ลา่ วเชน่ น้นั เพราะ พระผู้มพี ระภาคเจา้ ตรัสไว้
โดยนัยมอี าทิวา่ ภิกษยุ ่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วนุ่งหม่ จีวร ดังน้ี เพราะเหตุนนั้ ข้าพเจ้าจงึ กล่าวว่า ไม่
เปน็ อาบัตแิ กภ่ กิ ษุผูไ้ มท่ ำสติในการรบั แต่ทำสติในการบรโิ ภค
3. ทายัชชบรโิ ภค (บริโภคอย่างเป็นผู้รับมรดก) คือ การบริโภคปัจจัยของพระเสขะ 7 จำพวกพระ
เสขะ 7 จำพวกนั้น เป็นพระโอรสของพระผู้มีพระภาคเจ้า (พุทธบุตร) เพราะฉะน้ัน จึงเป็นทายาทแห่ง
ปจั จยั อันเปน็ ของพระพทุ ธบดิ า บรโิ ภคอยซู่ ึง่ ปจั จัยเหลา่ น้ัน ถามว่า ก็พระเสขะเหล่านนั้ บริโภคปัจจัยของ
พระผู้มีพระภาคเจ้า หรือบริโภคปัจจัยของพวกคฤหัสถ์ ? ตอบว่า ปัจจัยเหล่านั้น แม้อันพวกคฤหัสถ์ถวาย
กจ็ ริง แต่ชื่อวา่ เป็นของพระผู้มีพระภาคเจ้า เพราะพระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงอนญุ าตไว้ เพราะฉะน้ัน บัณฑิต
พงึ ทราบวา่ พระเสขะเหล่านัน้ บริโภคปจั จัยของพระผูม้ ีพระภาคเจ้า
4. สามีบริโภค (บริโภคอย่างเป็นเจ้าของ) คือ การบริโภคของพระขีณาสพท้ังหลาย ช่ือว่า สามี
บรโิ ภค พระขีณาสพท้งั หลายเหล่าน้ัน ชอ่ื ว่าเป็นเจา้ ของบริโภคเพราะล่วงความ เป็นทาสแหง่ ตัณหาได้แล้ว
บรรดาการบริโภคทั้ง 4 น้ี สามีบริโภคและทายัชชบริโภค ย่อมควรแม้แก่ภิกษุทุกจำพวก อิณบริโภค ไม่
สมควรเลย ในไถยบริโภคไมม่ ีคำจะพูดถึงเลย
anusit paengpech. (2557). การประยุกต์ใช้วิธีการทางพระวินัยกับการตัดสินปัญหา. สืบค้นเม่ือวันท่ี 28
กนั ยายน 2561.เขา้ ถงึ ได้จาก https://prezi.com/elxakwhvthv4/presentation/ เป็นวิธีทสี่ ามารถจะนำมาประยุกต์
ใช้ในการตัดสินปัญหาได้ทุกๆปัญหา เพราะว่าในพระวินัยน้ัน ก่อนที่จะตัดสินใจวา่ ใครถูกใครผิดน้ันจะต้อง
ตรวจสอบดูเหตุผลของโจทก์และจำเลยแบบตรงไปตรงมากอ่ น การบญั ญัตพิ ระวินัย มีสองแบบคือ248
1.โลกวชั ชะ 2.ปณั ณัตติวัชชะ

247 พระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปล ของมหามกฏุ ราชวิทยาลยั . (2555), เล่ม 3 พระวนิ ัยปิฎก มหาวภิ งั ค์ เลม่
1 ภาค 3 - หนา้ ที่ 951.

248 anusit paengpech. (2557). การประยกุ ตใ์ ชว้ ธิ ีการทางพระวินัยกบั การตัดสนิ ปญั หา. สืบค้นเม่ือวนั ท่ี

28 กนั ยายน 2561.เข้าถึงไดจ้ าก https://prezi.com/elxakwhvthv4/presentation/.

307

วิธีการทางพระวินัยปัญหาด้านสงั คมปัญหาสงั คมในปัจจุบันนี้มมี ากมายหลายชนิด อาจจะกล่าวได้
ว่า มีมาจากการขาดศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมของมนุษย์ ปัญหาคอรับชั่นจุดเด่นของพระวินัยบั ญญัติ
บรรพชิตไม่วา่ จะเป็นภกิ ษุหรือภิกษณีผู้กระทำความผดิ จะไม่พูดโกหกในสำนักของพระสัมมาสัมพุทธเจา้ เม่ือ
พระองค์ตรัสถามพฤติกรรมนั้นๆ การประยุกต์ใช้วิธีการทางพระวินัยกับการตัดสินปัญหาความแตกต่างระ
หวา่ ครงั้ แรกและครัง้ ตอ่ มาภิกษผุ ทู้ ี่กระทำความผิดคร้ังท่ี 1 ได้รับการลดหยอนวา่ เป็นการกระทำคร้ังแรกไม่มี
ความผิด ภกิ ษทุ ่กี ระทำผดิ คร้ังท่ี 2 และ 3 ได้รับโทษหนักเตม็ ท่ีถงึ ข้นั ปาราชกิ ขาดจากความเป็นภิกษุ

ผลดีในการประยุกต์วิธีการทางพระวินัยแก้ปัญหาถ้านำเอาแบบอย่างในพระวินัยมาประยุกต์ใช้ในการ
ตัดสินปัญหาผลท่ีได้ก็คือ การแก้ไขได้อย่างราบคาบ ไม่เกิดปัญหาอื่นขแทรกซ้อนนึ้นมาปัญหาการทำร้ายร่างกาย
ปัญหาประเภทน้ีเกิดจาก การขาดศีลธรรมข้อท่ี 1 ชีวิตุกามา อมริตุกามา สุขกามา ทุกฺขปฏิกูลามีชีวิตอยู่ ไม่
ปราถนาที่จะตาย ปรารถนาความสขุ รักเกียจความทกขค์ ือ การประพฤติไปในทางทุจรติ คดโกง ศีลข้อที่ 2 ปัญหา
โสเภณีประเภทของหญิงท่ีชายไม่ควรละเมิดในเรื่องการมีเพศสัมพันธป์ ัญหาโรคเอดส์ ศีลข้อ 3ปัญหายาเสพติดให้
โทษเก่ยี วเนือ่ งในศีลขอ้ 4 ศีลข้อ 5 มหาปเทศ

สรุปความว่าการแก้ปัญหาท้ังหมดน้ี นอกจากจะแก้ด้วยกระบวนการทางโลกคือ กฎหมาย
กฎเกณฑ์ กติกา ระเบยี บ มารยาทต่างๆแล้ว และที่สำคัญกค็ อื ต้องแก้ไข พฤตกิ รรมของมนษุ ย์ สว่ นพระวินัย
คือ กฎหมายที่พระพทุ ธเจา้ ทรงบัญญตั ขิ นึ้ เพ่อื ป้องกันการละเมิดและการกระทำผิดในครั้งต่อไปของพระภกิ ษุ
จะเห็นได้ว่าพระพุทธเจ้า พระองคท์ รงบัญญตั ิพระวนิ ัยในกรณีทพี่ ระภิกษุรูปนัน้ ๆ กระทำผดิ ที่เปน็ สาเหตใุ ห้
พระพุทธศาสนาของพระองคม์ ัวหมอง ทำใหพ้ ทุ ธศาสนกิ ชนขาดศรทั ธาทจี่ ะทำนุบำรุง และขาดความเล่อื มใส
ในพระพุทธศาสนาของพระองค์ จึงทรงบัญญัติข้อห้ามไว้เพ่ือป้องปรามพระภิกษุรูปอ่ืนท่ีจะละเมิดและ
กระทำผิดในอนาคตเช่นน้ันอีก พระองค์จะไม่ทรงบัญญัติพระวินัยขึ้นบังคับก่อนเหตุการณ์จะเกิดข้ึน จะ
บัญญัติพระวินัยเพื่อลงโทษพระภิกษุรูปน้ัน ๆ หลังกระทำผิดแล้ว เพ่ือไม่ให้ภิกษุรูปอ่ืนยึดถือเป็นเย้ืองอย่าง
ในการกระทำผิดต่อไป แต่ในยุคต่อมา จนถึงยคุ ปัจจบุ ัน การจะควบคมุ พระภิกษุ สามเณร ทลี่ ะเมิดพระวินัย
โดยอาศัยพระวินยั อยา่ งเดียวมาควบคุมลงโทษคงไมเ่ พียงพอ จะตอ้ งอาศัยกฎหมายของบา้ นเมือง โดยเฉพาะ
อย่างย่ิง กฎหมายปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2535 มาควบคุมพฤติกรรมของ
พระภิกษทุ ล่ี ะเมดิ พระวินัยและกฎหมายตอ่ ไป

คำถามทบทวนประจำบทที่ 9
9.1 ในพระพทุ ธศาสนามีการบญั ญัติพระวินัยไวอ้ ยา่ งไรบ้าง
9.2 การบญั ญตั ิกฏหมายมีรปู แบบการบญั ญตั อิ ยา่ งไรบา้ ง จงอธบิ าย
9.3 จงอธิบายการเปรียบเทียบการบัญญตั พิ ระวินัยกบั การบญั ญัติกฎหมายแตกต่างกนั อยางไร
9.4 ในพระพทุ ธศาสนามีวธิ ีการตดั สนิ ปญั หาพระวินยั อยา่ งไรบา้ ง จงอธบิ าย
9.5 ในพระพุทธศาสนามีการประยกุ ตใ์ ช้วธิ กี ารทางพระวินัยกบั ตดั สินปญั หาอยา่ งไรไดบ้ ้าง

308

เอกสารอ้างอิง
1. ภาษาไทย

ก. พระไตรปฎิ ก
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั .
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2555). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย.

พิมพ์ครงั้ ที่ 6. นครปฐม : โรงพิมพม์ หามกุฏราชวิทยาลยั .
ข. หนังสอื ทว่ั ไป
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า. (2533). วนิ ัยมุข เล่ม 1. กรงุ เทพมหานคร : มหามกุฎ
ราชวทิ ยาลยั .
พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์, ผศ. (สมาน กัลยาณธมฺโม). (2549). พุทธบัญญัติ 227. พิมพ์ครั้งท่ี1.
กรงุ เทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณร์ าชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2555). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย. พิมพ์ครั้งท่ี 35. กรุงเทพมหานคร :
สำนกั พมิ พ์เพท็ แอนด์โฮมจำกดั .
สมคิด ชยาภิรโต, พระมหา. (2558). สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งแรก. ปทุมธานี : บริษัท
สำนกั พมิ พ์ทนั โลกทันธรรม จำกัด.
สมจนิ ต์ สมมฺ าปญฺโญ, พระมหา. (2542). เก็บเพชรจากคัมภีรพ์ ระไตรปฎิ ก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพม์ หา
จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย.
2. วิทยานิพนธ/์ รายงานการวิจัย
อธิราช มณีภาค. (2546). เปรียบเทียบกระบวนการยุติธรรมในพระวินัยปิฎกกับกระบวนการยุติธรรมของ
กฎหมายไทย. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา), บัณฑิตวิทยาลัย : มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย.
3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์
anusit paengpech. (2557). การประยุกต์ใช้วิธีการทางพระวินัยกับการตัดสินปัญหา. สืบค้นเม่ือวันที่ 28
กันยายน 2561.เขา้ ถึงได้จาก https://prezi.com/elxakwhvthv4/presentation/
การศึกษายุคดิจิทอล (Social Media). (2555). "หน่วยท่ี 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย". สืบค้นเมื่อวันท่ี 26
กันยายน 2561.เข้าถงึ ได้จาก https://kasmos52.wordpress.com/2013/06/18/.
คนอง วังฝายแก้ว. (2554). “ระบบกฎหมาย และการลงโทษที่สอดคล้องกับพระวินัย และกฎหมายคณะ
สงฆ์”. สบื ค้นเมือ่ วนั ที่ 26 กนั ยายน 2561.เข้าถงึ ได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/450041.
ทักษิณ. (2552). บทความท่ี6 การบัญญัติกฎหมาย. สืบค้นเม่ือวันที่ 26 กันยายน 2561.เข้าถึงได้จาก
http://politics-03.blogspot.com.

309

บรรณานกุ รม

1. ภาษาไทย
ก. พระไตรปฎิ ก

พระไตรปิฎก เล่มที่ 25 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 17 ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-
สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ 12. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
เข้าถงึ เมอ่ื 9-9-61

มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่มท่ี 5.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั .

มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ พระสูตรและอรรถกถา แปล ขุททกนกิ าย อิติวุตตกะ เล่มที่ 1
ภาคที่ 4, พิมพ์เนื่องในวโรกาส ครบ 200 ปี แห่งพระราชวงศ์จักรี กรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศักราช
2525

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). พระวนิ ัย มหาวัคค์ ปฐมภาคและอรรถกถา แปลภาค 1. กรงุ เทพมหานคร
: เฉลาญาการพิมพ์.

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั . (2555). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ของมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย. พมิ พ์ครั้ง
ที่ 6. นครปฐม : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลยั .
ข. หนังสอื ทัว่ ไป

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2550). 80 พรรษาเทิดไทองคราชัน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ
ชมุ นมุ สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2550). พระไตรปฎก ฉบับสําหรับประชาชน ตอน วาดวยพระสูตร.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพชมุ นมุ สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.

กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า. (2533). วินัยมุข เลม่ 1. กรงุ เทพมหานคร : มหามกุฎ
ราชวทิ ยาลัย.

กรมหม่ืนวชิรญาณวโรรส. (2477). พุทธศาสนสภุ าษติ เลม่ 1. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย.
กอ่ สวสั ดพิ์ าณชิ ย์. (2519). ความสัมพนั ธ์ในครอบครวั . กรงุ เทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานชิ .
โกศล วงศส์ วรรค์ และสถิต วงศ์สวรรค์. (2543). ปญหาสงั คม. กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ์.
คณะกรรมการแผนกตำรา. (2525). พระธัมปทัฏฐกถา ภาค 1. กรงุ เทพมหานคร : มหามกฏุ ราชวิทยาลยั .
_______. (2525). พระธัมมปทฏั ฐกถา ภาค 3. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวทิ ยาลยั .
งามพศิ สัตย์สงวน. (2545). สถาบันครอบครัวของกลุ่มชาติพันธุ์ในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาครอบครัว

ไทยโซ่ง. กรุงเทพมหานคร: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
ชัยอนันต สมุทวณิช. (2541). ทฤษฎีใหม : มิติที่ยิ่งใหญทางความคิด. กรุงเทพมหานคร : สถาบันนโยบาย

ศึกษา.
ชุนประเสรฐิ ฐศภุ มาตรา. (2505). ตรรกวิทยา. กรงุ เทพมหานคร : เขษมบคุ สโตร์.
ณรงค์ จิตฺตโสภโณ, พระมหา. (2527).ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

310

เทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี, สมเดจ็ พระ. (2524). ทศบารมใี นพุทธศาสนาเถรวาท. วิทยานพิ นธ์
ปรญิ าอกั ษรศาสตรม์ หาบณั ฑิต ภาควิชาภาษาตะวนั ออก บัณฑติ วิทยาลยั จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั . (อัดสำเนา)

เนตร์พัณณา ยาวิราช, ผศ. ภาวะผู้นำ และผู้นำเชิงกลยุทธ์. พิมพ์ครั้งท่ี 3. (กรุงเทพมหานคร: เซ็นทรลั เอ็กซ
เพรส, 2547), หน้า 1.

บุญมา จติ จรสั . (2533). มงคล 38 ประการ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพก์ ารศาสนา.
ประเวศน วะสี, ศ.นพ. (2541). ปาฐกถาปวย อึ้งภากรณ ยุทธศาสตรชาติเพ่ือความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ

สังคม และศีลธรรม. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พมิ พหมอชาวบาน.
ปัญญา ใช้บางยาง และคณะ. (2548). พระวินัย 227 พุทธบัญญัติจากพระไตรปิฎก. พิมพ์คร้ังที่ 2.

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ธรรมสภา สถาบันบันลอื ธรรม.
ป่นิ มุทกุ ันต.์ (2535). มงคลชีวิตภาค 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวทิ ยาลัย.
พนม กิติวัง. (2543). พฤติกรรมการออมของครัวเรือนในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.
พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์, ผศ. (สมาน กัลยาณธมฺโม). (2549). พุทธบัญญัติ 227. พิมพ์คร้ังที่1.

กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลยั .
พระครูโสภณปริยัติสธุ ี (ศรีบรรดร ถริ ธมฺโม). ทฤษฎีรฐั ศาสตรใ์ นพระไตรปิฎก. หนา้ 78 - 83.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด .

กรุงเทพมหานคร : วัดราชโอรสาราม.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2542). เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหา

จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั .
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุ โต), พุทธศาสนาในฐานะเปน็ รากฐานของวทิ ยาศาสตร์ มูลนธิ ิพุทธธรรม, 2541
พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตโต),. (2559). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิ

การศึกษาเพ่อื สันติภาพ.
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์คร้ังที่ 12.

กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2555). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย. พิมพ์คร้ังที่ 35. กรุงเทพมหานคร :

สำนกั พมิ พ์เพ็ทแอนด์โฮมจำกดั .
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม.(พิมพ์ครั้งที่ 16).

กรงุ เทพมหานคร: เอส. อาร์. พร้นิ ต้ิง แมส โปรดักส.์
พระพรหมคณุ าภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต),. (2543). รจู้ ักพระไตรปิฎกเพื่อเปน็ ชาวพุทธท่แี ท้, กรงุ เทพมหานคร

: โรงพิมพ์มูลนธิ พิ ุทธธรรม.
พระอมรมนุ ี (จบั ฐติ ธมโฺ ม ป. 9). (2535). นำเทยี่ วในพระไตรปฎิ ก. กรงุ เทพมหานคร : สภาการศึกษามหาม

กฏุ ราชวิทยาลัย.
พิณจ์ทอง แมนสุมิตรช์ ัย. (2558). การณุ ยสาร : หนทางสสู่ ันตภิ าพ. วารสารสันติศกึ ษาปรทิ รรศน์ มจร. 3(2),

162-175.
ยศพร ปัตนกุล. (2540). การศึกษาทัศนะในการเปนครอบครัวอุปถัมภ์ ศึกษาเฉพาะกรณีครอบครัวในเคหะ

ชุมชนรงั สติ หมู่ 2 ต.รังสติ อ.ธัญบรุ ี จ.ประทุมธาน.ี วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.
รงั สรรค์ ประเสริฐศรี, ดร. ผศ. (2544). ภาวะผนู้ ำ (Leadership). กรงุ เทพมหานคร : ธนธชั การพิมพ.์

311

ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
ราชบัณฑติ ยสถาน.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2552). พจนานกุ รมศัพทศ์ าสนาสากล องั กฤษ-ไทย ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน. พิมพ์ครงั้ ท่ี
3, ราชบณั ฑติ ยสถาน.

วารีญา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม. (2542). เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ
ราชวทิ ยาลัย. กรงุ เทพมหานคร.

ศริ ิวรรณ เสรรี ัตน์, รศ. และคณะ. (2545). ทฤษฎีองคก์ าร : ฉบับมาตรฐาน. กรงุ เทพมหานคร: ธรรมสาร.
ส.ํ ม. (ไทย) 19/845-846.425.
สมคิด ชยาภิรโต, พระมหา. (2558). สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฎก. พิมพ์คร้ังแรก. ปทุมธานี : บริษัท

สำนักพิมพท์ ันโลกทนั ธรรม จำกดั .
สมจินต์ สมมฺ าปญฺโญ, พระมหา. (2542). เกบ็ เพชรจากคัมภีร์พระไตรปฎิ ก. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหา

จุฬาลงกรณราชวิทยาลยั .
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ). (2551). คัมภีร์วสิ ทุ ธิมรรค พระพุทธโฆสเถระ รจนา. กรุงเทพ:

สำนักพิมพธ์ นาเพรส.
สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ. (2541). แนวคิดและ

ทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดํารใิ นพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. กรุงเทพมหานคร :
บรษิ ทั 21 เซ็นจูร่ี จํากดั .
สุชพี ปุญญานุภาพ. (2539). พระไตรปฎิ ก ฉบับสำหรับประชาชน, กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหามกฏุ ราช
วิทยาลัย.
สุเมธ ตนั ตเิ วชกุล, ดร,. (2544). เบือ้ งพระยุคลบาท. กรุงเทพมหานคร : สํานกั พมิ พมตชิ น.
สุรวิ ตั ร จนั ทร์โสภา. (มปพ). พระพุทธศาสนา ม.1. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน.์
สุวิทย์ ร่งุ วิสยั . (2526). ปญหาสังคม. เชยี งใหม:่ ดวงตะวันการพมิ พ์.
เสฐยี รพงษ์ วรรณปก. (2542). เกบ็ เพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก. โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั .
กรุงเทพมหานคร.
เสถียร โพธนิ นั ทะ. (2548). ประวัตพิ ระไตรปฎิ กฉบับจีนพากย์, มรดกธรรมของเสถยี ร โพธนิ นั ทะ.
แสง จันทรง์ าม, วศิน อนิ ทสระ, อุทยั บุญยืน. (2553). พระไตรปิฎกสำหรับผู้บวชใหม่และชาวพุทธทว่ั ไป.
พมิ พ์คิ ร้ังท่ีส 2. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พเ์ จรญิ วิทยก์ ารพิมพ์.
อภิชัย พันธเสน, ดร,. (2550). พุทธเศรษฐศาสตร : วิวัฒนาการ ทฤษฎี และการประยุกตกับเศรษฐศาสตร
สาขาตางๆ, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พมหาวิทยาลัยศิลปากร.
อำนาจ ยอดทอง. (2558). ศึกษาวิเคราะห์ความอยากในฐานะเป็นบ่อเกิดของความขัดแย้ง.วารสารสันติ
ศึกษาปริทรรศน์ มจร. 3(1), 1-22.

2. วทิ ยานิพนธ์/รายงานการวิจยั
พระประจักษ์ อาภากโร (โฉมเรือง). (2556). “การประยุกต์ใช้หลักพุทธศาสนสุภาษิตในการดำเนนิ ชีวิตของ

สามเณร”. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต(พระพุทธศาสนา). บัณฑิตวทิ ยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย.
อธิราช มณีภาค. (2546). เปรียบเทียบกระบวนการยุติธรรมในพระวินัยปิฎกกับกระบวนการยุติธรรมของ
กฎหมายไทย. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา), บัณฑิตวิทยาลัย : มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลยั .

312

3. ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์
anusit paengpech. (2557). การประยุกต์ใช้วิธีการทางพระวินัยกับการตัดสินปัญหา. สืบค้นเม่ือวันท่ี 28

กันยายน 2561.เข้าถึงไดจ้ าก
https://prezi.com/elxakwhvthv4/presentation/
Dhammakaya Forum. "อานิสงส์ของการรักษาศีล และ ผลของการไม่รักษาศีล". สืบค้นเมื่อวันที่ 18
กันยายน 2561.เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.dhammakaya.org/forum/index.php?topic=342.0.
https://th.wikipedia.org/wiki/ประวัตศิ าสตรพ์ ระพทุ ธศาสนา เขา้ ถงึ ข้อมูลเม่ือวันท่ี 9/9/2561
Shizanu BCY. (2559). "อธิกรณสมถะ แสดงวิธีระงับอธิกรณ์ ด้วยธรรมะ 7 ประการ". สืบค้นเม่ือวันท่ี 26 กันยายน
2561.เข้าถงึ ไดจ้ าก
http://dhammaforlearner.blogspot.com/2015/08/Athikornsamatha.html.
เด็กดี. "พุทธศาสนสุภาษิตกับการประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวัน".สืบคน้ เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561.เขา้ ถงึ ได้
จาก https://my.dek-d.com/valences/blog/.
การศกึ ษายุคดิจิทอล (Social Media). (2555). "หน่วยที่ 1 ความรูท้ ั่วไปเก่ียวกับกฎหมาย". สบื ค้นเม่ือวันท่ี
26 กันยายน 2561.เข้าถึงไดจ้ าก
https://kasmos52.wordpress.com/2013/06/18/.
คนอง วังฝายแก้ว. (2554). “ระบบกฎหมาย และการลงโทษที่สอดคล้องกับพระวินัย และกฎหมายคณะ
สงฆ์”. สบื ค้นเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2561.เข้าถงึ ได้จาก
https://www.gotoknow.org/posts/450041.
คนอง วังฝายแก้ว. (2561). ความเป็นภาวะผู้นำของพระพุทธเจ้าท่ีปรากฎในมหาสีหนาทสูตร. สืบคนเมื่อ
วันที่ 9 กนั ยายน 2561. เขาถึงไดจาก https://www.gotoknow.org/posts/504174.
ค วาม ส ำคั ญ ข อ งพ ระไต รปิ ฎ ก . (2561). สื บ ค น เม่ื อ วัน ที่ 9 กั น ย าย น 25 61. เข าถึ งได จาก
http://oknation.nationtv.tv/blog/arthur04/2011/04/07/entry-2
คัมภีรฎ์ กี า. (2561). สืบคนเมือ่ วันท่ี 9 กันยายน 2561. เขาถงึ ไดจาก https://th.wikipedia.org/wiki
คุณสมถะ. (2561). คัมภีร์ฎีกา คัมภีร์อนุฎีกา คัมภรี ์โยชนา. สบื คนเม่ือวันที่ 9 กันยายน 2561. เขาถงึ ไดจาก
https://www.gotoknow.org/posts/215837.
คุณสมถะ.(2561). ความสำคัญของคัมภีร์ช้ันอรรถกถา. สืบคนเม่ือวันที่ 9 กันยายน 2561. เขาถึงไดจาก
https://www.gotoknow.org/posts/215839
ทักษิณ. (2552). บทความท่ี6 การบัญญัติกฎหมาย. สืบค้นเมื่อวันท่ี 26 กันยายน 2561.เข้าถึงได้จาก
http://politics-03.blogspot.com.
พระไตรปิฎก เล่มที่ 10 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 2 ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร . พระไตรปิฎก
ฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลเม่ือวันท่ี 9/กันยายน/2561 สุตตันตปิฎก ฑีฆนิกาย
มหาวรรค มหาปรนิ ิพพานสตู ร ขอ้ 141
พระไตรปิฎก เล่มที่ 7 พระวินัยปิฎก เล่มท่ี 7 จุลวรรค ภาค 2 ปัญจสติกขันธกะ (เร่ืองพระมหากัสสปเถระ
สังคายนาปรารภคำของพระสุภัททวุฑฒบรรพชิต). พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึง
ไดจ้ าก . เขา้ ถึงเม่อื 9-6-52
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง). (2555). “การตีความข้อเท็จจริงพระธรรมวินัย: กรณีศึกษากลุ่มภิกษุวัชชีบุตร
ช า ว เมื อ ง ไ พ ศ า ลี ” . สื บ ค้ น เม่ื อ วั น ท่ี / 25 กั น ย า ย น 2561. เข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก
https://www.gotoknow.org/posts/511071.

313

พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร,ผู้แปล. (2548). 'ศาสตร์แหง่ การตีความแนวพุทธ'. สบื คน้ เมอื่ วันที่ /25 กันยายน 2561.เข้าถึงได้
จาก
http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=449&articlegroup_id=102.

วารสารประชาไท. (2561). "เรื่อง “เงินทอง” กับ “ทางออก” ของคณะสงฆ์ไทย". สบื ค้นเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2561.
เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://prachatai.com/journal/2018/06/77486

4. วารสาร
พระอภิชยั อภิวฑฺฒโน. (2559). การประยุกต์ใช้หลกั คารวธรรมเพอ่ื การเสริมสรา้ งครอบครัวสันติสขุ . อยุธยา

: บทความวิชาการ. Doi: 10.14456/jmcupeace.2016.11

5. ภาษาองั กฤษ
Featherston, Mike, ed., " Global Culture : Nationalism, Globalization and Modernity", Sage

Publications, 1992.
Harman, Willis W., "An Incomplete Guide To The Future", Stanford A Alumni Association,

Stanford University, U.S.A., 1976.
Harvey, Introduction to Buddhism, Cambridge University Press, 1990, page 3.
Journal of the Pali Text Society, volume XVI, page 114
May 1 9 th, 1 9 3 9 , Albert Einstein’s speech on "Science and Religion" in Princeton, New

Jersey, U.S.A.)

314

ประวัติผูเ้ รียบเรียง
1.ชอื่ – นามสกลุ (ภาษาไทย) พระครวู นิ ัยธรสัญชยั ญาณวีโร (ทิพย์โอสถ), ดร.
ช่อื – นามสกุล (ภาษาองั กฤษ) Phra Sanjaya Nanaviro (Thipo-sot)
2.ตำแหน่งปัจจุบัน
อาจารย์ คณะศาสนาและปรชั ญา วิทยาเขตลา้ นนา สาขาวชิ าพุทธศาสตร์
3.หน่วยงานและสถานที่อยู่ทต่ี ิดต่อไดส้ ะดวก
-มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย เลขที่ 103 ถนนพระปกเกล้า ต.พระสงิ ห์ อ.เมอื ง
จ.เชียงใหม่ E-mail : [email protected], [email protected]
4.ประวตั ิการศึกษา
- ปริญญาตรี : ศน.บ. (พทุ ธศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั , 2545
- ปรญิ ญาโท : ศน.ม. (พุทธศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย, 2550
- ปรญิ ญาเอก : พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2562

นักธรรมชนั้ เอก, ประโยค ป.ธ. 1-2
ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ครู (ปวค.รุ่นท่ี 16 มมร ลา้ นนา)
5. ประสบการณ์ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั งานการบริหารงานวจิ ัย
1. หลักธรรมที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาพฤติกรรมผิดศีลธรรมของเยาวชน 8 จังหวัดภาคเหนือ
ตอนบน 2554 (ผูช้ ่วยวิจยั )
2. ความพึงพอใจของสถานศึกษาท่ีมีต่อครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วทิ ยาลัย วิทยาเขตล้านนา 2555 (ผชู้ ว่ ยวิจัย)
3.หัวหน้าโครงการวิจัยเร่ือง การนําศีล 5 ไปประยุกต์ใชในชีวิตประจําวันของนักศึกษาระดับปริญญา
ตรเี พอ่ื พฒั นาทักษะด้านคณุ ธรรม ในรายวิชาการปฏบิ ัติกรรมฐาน 2557
4. การฟื้นฟูสภาพแวดลอ้ มเพ่ือส่งเสรมิ การทอ่ งเท่ียวของชุมชนบ้านสระลงเรือ อำเภอห้วยกระเจา จัว
หวัดกาญจนบุรี (2559) (ผู้ชว่ ยวจิ ยั )
5. หัวหน้าโครงการวิจัยเร่ือง กระบวนการขัดเกลาพฤติกรรมของสามเณรวัดเจดีย์หลวง วรวิหาร
อำเภอเมอื ง จงั หวดั เชียงใหม่ (2559)
6. หัวหน้าโครงการวิจัยเร่ือง การจัดการท่องเท่ียวเชิงศาสนาและวัฒนธรรมของวัดเจดีย์หลวง
วรวหิ าร อำเภอเมอื ง จังหวดั เชยี งใหม่ (2560)
7.หัวหน้าโครงการวิจัยเร่ือง รูปแบบการเรียนรู้เรื่องไตรสิกขาในรายวิชาพระไตรปิฏกศึกษา 1 ของ
นักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
2561
8. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสน
คำ อำเภอแม่วาง จังหวัดเชยี งใหม่ 2561

315

9. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การส่งเสริมพฤติกรรมเชิงพุทธจริยธรรมของนิสิตและนักศึกษา
มหาวทิ ยาลยั สงฆใ์ นภาคเหนอื 2561
3.2 เอกสารประกอบการสอน

พระสัญชัย ญาณวีโร, ความรูเ้ บอ้ื งต้นเกยี่ วกบั พระไตรปิฎกศึกษา1, เชียงใหม่ : โรงพมิ พ์สยามลา้ นนา
การพมิ พ์, 2561. 314 หนา้ ISBN 978-616-208-149-1
3.3 หนังสือ/ตำรา

พระครูวนิ ัยธรสญั ชยั ญาณวีโร (ทิพยโ์ อสถ) ดร., วเิ คราะห์ทรรศนะของพระพุทธศาสนาท่มี ีต่อ
เดรจั ฉานวิชาหรือไสยศาสตร์ (Analyze the views of Buddhism with the Low arts or
superstition), เชียงใหม่ : โรงพมิ พส์ ยามล้านนาการพิมพ,์ 2562. 106 หน้า.
3.4 บทความวชิ าการ

1. พระสัญชัย ญาณวีโร, ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดเร่ืองทุกข์ในพุทธปรัชญาเถรวาท กับแนวคิด
ทุกขนิยมของโชเป็นเฮาเออร์. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา มจร ปีท่ี 6 ฉบับที่ 2 2558 TCI
Group 1, หน้า 46.

2. พระสัญชัย ญาณวีโร, การท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนาและวัฒนธรรมกับการสร้างมูลค่าเพ่ิมทาง
การตลาด. วารสาร มมร วิชาการล้านนา ISSN 2286-8267 ปีท่ี 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม –
ธนั วาคม 2559 TCI Group 2 , หนา้ 159.

3. พระสัญชยั ญาณวีโร, กระบวนการขัดเกลาพฤติกรรมของสามเณร วดั เจดีย์หลวง วรวิหาร อำเภอ
เมือง จังหวัดเชียงใหม่: ในการประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ
“วชิ าการลา้ นนาเพื่อการศึกษาและพัฒนายุค 4.0” 13 กุมภาพันธ์ 2562 TCI Group 2 หน้า
159

4. พระสัญชัย ญาณวีโร, หลักธรรมที่เหมาะสมในการแก้ปญัหาพฤติกรรมผิดศีลธรรมของเยาวชน 8
จังหวัด ภาคเหนือตอนบน. ในการประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ
“วิชาการล้านนาเพื่อการศึกษาและพัฒนายุค 4.0” 13 กุมภาพันธ์ 2562 TCI Group 2
หน้า 136

5. พระสัญชัย ญาณวีโร, การส่งเสรมิ พฤติกรรมเชิงพทุ ธจริยธรรมของนสิ ิตและนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัย
สงฆ์ในภาคเหนือEncouragement on the Buddhist Ethical Behaviors of Buddhist
University Students in Northern Region. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 5 (กรกฎาคม 2562)
TCI Group 1. หน้า 2271.

316

6. Phrakhu Vinaidhorn Sanchai Ñãnavĩro (Thiposot) Dr. Strengthening Buddhist ethics
in Thai society. วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตพะเยา 2562 (กำลังตพี มิ พ์ทีพ่ ะเยา)

7. พระสัญชัย ญาณวีโร, ดร. การเสริมสร้างความเข้มแข็งตามหลักบุญกิริยาวัตถุของชุมชนบ้านแสน
คำ อำเภอแม่วาง จังหวัดเชยี งใหม่. 2562 วารสาร มมร วิชาการลา้ นนา ISSN 2286-8267 ปี
ท่ี (กำลังดำเนินการตีพิมพท์ ีม่ มร ลา้ นนา)

8. พระครูวินัยธรสัญชัย ญาณวีโร (ทิพย์โอสถ) ดร. การนําศีล 5 ไปประยุกต์ใชในชีวิตประจําวันของ
นักศึกษาระดับปริญญาตรีเพ่ือพัฒนาทักษะด้านคุณธรรม ในรายวิชาการปฏิบัติกรรมฐาน:
Applying the five precepts into practice in daily life of undergraduate
students to develop the skills of learning for Morality in Practice Meditation
subjects. ทพี่ ิมพว์ ารสารปรัชญาปริทรรศน์ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั


Click to View FlipBook Version